ความจ�ำเป็นของการท่ีไม่ทนต่อการทุจริตถือเป็นสิ่งส�ำคัญ เพราะการทุจริตไม่ว่าระดับ
เล็กหรือใหญ่ย่อมก่อให้เกิดความเสียหายต่อสังคม ประเทศชาติ ดังเช่นตัวอย่างคดีรถและเรือดับเพลิง
ของกรุงเทพมหานคร ผลของการทจุ รติ สรา้ งความเสียหายไว้อย่างมาก รถและเรอื ดับเพลิงก็ไม่สามารถ
น�ำมาใช้ได้ รัฐต้องสูญเสียงบประมาณไปโดยเปล่าประโยชน์ และประชาชนเองก็ไม่ได้ใช้ประโยชน์ด้วย
เชน่ กนั หากเกิดเพลงิ ไหมพ้ ร้อมกนั หลายแห่ง รถ เรือและอปุ กรณ์ดับเพลิงจะมไี ม่เพยี งพอทจี่ ะดบั ไฟได้
ทนั เวลา เพยี งแคค่ ดิ จากมลู คา่ ความเสยี หายทร่ี ฐั สญู เสยี งบประมาณไป ยงั ไมไ่ ดค้ ดิ ถงึ ความเสยี หายทเ่ี กดิ
จากความเดือดร้อนหากเกิดเพลงไม้แล้ว ถือเป็นความเสียหายที่สูงมาก ดังน้ัน หากยังมีการปล่อยให้มี
การทุจริต ยินยอมให้มีการทุจริตโดยเห็นว่าเป็นเรื่องของคนอ่ืน เป็นเร่ืองของเจ้าหน้าท่ีรัฐ ไม่เก่ียวข้อง
กับตนเองแล้ว สุดท้ายความสูญเสียที่จะได้รับตนเองก็ยังคงท่ีจะได้รับผลน้ันอยู่ แม้ไม่ใช่ทางตรงก็เป็น
ทางออ้ ม
ดงั นน้ั การท่บี คุ คลจะเกดิ ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ ได้ จ�ำเป็นอยา่ งยิ่งที่
จะต้องสร้างให้เกิดความตระหนักและรับรู้ถึงผลกระทบที่เกิดข้ึนจากการทุจริตในทุกรูปแบบ ทุกระดับ
ซ่ึงหากสังคมเป็นสังคมท่ีมีความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริตแล้ว จะท�ำให้เกิดสังคมที่น่าอยู่
และมกี ารพัฒนาในทุก ๆ ด้าน
ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ 43
ใบความรู้
ฐานท่ี ๕ ตวั อยา่ งความละอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ
๑.๒.๓ ตวั อย่างความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ ริต
กำรทจุ รติ มผี ลกระทบตอ่ กำรพฒั นำประเทศ ทำ� ใหเ้ กดิ ควำมเสยี หำยอยำ่ งมำกในดำ้ นตำ่ ง ๆ
หำกน�ำเอำเงินที่ทุจริตไปมำพัฒนำในส่วนอ่ืน ควำมเจริญหรือกำรได้รับโอกำสของผู้ท่ีด้อยโอกำสก็จะมี
มำกขน้ึ ควำมเหลอ่ื มลำ�้ ทำงดำ้ นโอกำส ทำงดำ้ นสงั คม ทำงดำ้ นกำรศกึ ษำ ฯลฯ ของประชำชนในประเทศ
กจ็ ะลดน้อยลง ดงั ท่ีเหน็ ในปัจจุบันว่ำควำมเจริญต่ำง ๆ มกั อยกู่ ับคนในเมอื งมำกกวำ่ ชนบท ทั้ง ๆ ทคี่ น
ชนบทก็คือประชำชนส่วนหน่ึงของประเทศ แต่เพรำะอะไรท�ำไมประชำชนเหล่ำนั้นถึงไม่ได้รับโอกำส
ให้ทัดเทียมหรือใกลเ้ คียงกับคนในเมอื ง ปัจจยั หน่งึ คือ กำรทจุ รติ สำเหตุกำรเกดิ ทุจรติ มีหลำยประกำร
ตำมทก่ี ลำ่ วมำแลว้ ขำ้ งตน้ แตท่ ำ� อยำ่ งไรถงึ ทำ� ใหม้ กี ำรทจุ รติ ไดม้ ำก อยำ่ งหนง่ึ คอื กำรลงทนุ เมอ่ื มกี ำรลงทนุ
ก็ย่อมมีงบประมำณ เม่ือมีงบประมำณก็เป็นสำเหตุให้บุคคลท่ีคิดจะทุจริตสำมำรถหำช่องทำงดังกล่ำว
ในทำงทุจริตได ้ แม้วำ่ ประเทศไทยจะมีกฎหมำยหลำยฉบบั เพื่อปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรทุจรติ แตน่ ั่น
ก็คือตัวหนังสือที่ได้เขียนเอำไว้ แต่กำรบังคับใช้ยังไม่จริงจังเท่ำท่ีควร และยิ่งไปกว่ำน้ัน หำกประชำชน
เห็นว่ำเรื่องดังกล่ำวไม่เก่ียวข้องกับตนเองก็มักจะไม่อยำกเข้ำไปเกี่ยวข้อง เน่ืองจำกตนเองก็ไม่ได้รับ
ผลกระทบท่ีเกดิ ขนึ้ แต่กำรคดิ ดังกล่ำวเป็นสิ่งทีผ่ ดิ เน่อื งจำกวำ่ ตนเองอำจจะไมไ่ ดร้ ับผลกระทบโดยตรง
ต่อกำรท่มี คี นทุจริต แตโ่ ดยอ้อมแลว้ ถอื วำ่ ใช่ เชน่ เมื่อมกี ำรทจุ ริตมำก งบประมำณของประเทศทจ่ี ะใช้
พัฒนำหรือลงทุนก็น้อย อำจสง่ ผลให้ประเทศไม่สำมำรถจ้ำงแรงงำนหรือลงทุนได้
ควำมเสียหำยทเ่ี กดิ จำกกำรทุจริต หำกเปน็ กำรทจุ รติ ในโครงกำรใหญ ่ ๆ แล้ว ปรมิ ำณ
เงินทีท่ ุจรติ ย่อมมมี ำก ควำมเสียหำยกย็ ่อมมมี ำกตำมไปดว้ ย โดยในบทน้ีไดย้ กกรณตี วั อย่ำงทีเ่ กดิ ขนึ้ จำก
กำรทจุ รติ ไวใ้ นทำ้ ยบท ซง่ึ จะเหน็ ไดว้ ำ่ ควำมเสยี หำยทเ่ี กดิ ขน้ึ นนั้ มมี ลู คำ่ มำกมำย และนเี้ ปน็ เพยี งโครงกำร
เดียวเทำ่ นนั้ หำกรวมเอำกำรทจุ ริตหลำย ๆ โครงกำร หลำย ๆ กรณีเข้ำดว้ ยกนั จะพบว่ำควำมเสยี หำย
ทเ่ี กดิ ขน้ึ มำนนั้ มำกมำยมหำศำล ดงั นน้ั เมอ่ื เปน็ เชน่ นแี้ ลว้ ประชำชนจะตอ้ งมคี วำมตน่ื ตวั ในกำรทจี่ ะรว่ มมอื
ในกำรปอ้ งกันและปรำบปรำมกำรทุจริต กำรรว่ มมือกนั ในกำรเฝ้ำระวังเหตุกำรณ ์ สถำนกำรณ์ที่อำจเกิด
กำรทจุ ริตได ้ เมือ่ ประชำชนรวมถงึ ภำคเอกชนภำคธุรกิจมคี วำมตืน่ ตวั ทจี่ ะรว่ มมือกันในกำรแกไ้ ขปญั หำ
ดังกล่ำว ปัญหำกำรทุจริตจะถือเป็นปัญหำเพียงเล็กน้อยของประเทศไทย เพรำะไม่ว่ำจะท�ำอย่ำงไร
กจ็ ะมกี ำรสอดสอ่ ง ตดิ ตำม เฝำ้ ระวงั เรอ่ื งกำรทจุ รติ อยำ่ งตอ่ เนอื่ ง ดงั นน้ั แลว้ สง่ิ สำ� คญั สงิ่ แรกทจี่ ะตอ้ งสรำ้ ง
ใหเ้ กดิ ขน้ึ คอื ควำมตระหนกั รถู้ งึ ผลเสยี ทเ่ี กดิ ขนึ้ จำกกำรทจุ รติ สรำ้ งใหเ้ กดิ ควำมตน่ื ตวั ตอ่ กำรปรำบปรำม
กำรทุจรติ กำรไมท่ นตอ่ กำรทจุ ริต ให้เกิดข้นึ ในสังคมไทย
44 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพิม่ เตมิ การป้องกนั การทุจรติ ”
เมอ่ื ประชาชนในประเทศมคี วามตน่ื ตวั ทว่ี า่ “ไมท่ นตอ่ การทจุ รติ ” แลว้ จะทำ� ใหเ้ กดิ กระแส
การต่อต้านต่อการกระท�ำทุจรติ และคนทีท่ ำ� ทจุ รติ กจ็ ะเกดิ ความละอายไม่กลา้ ที่จะท�ำทจุ รติ ต่อไป เช่น
หากพบเหน็ วา่ มกี ารทจุ รติ เกดิ ขนึ้ อาจมกี ารบนั ทกึ เหตกุ ารณห์ รอื ลกั ษณะการกระทำ� แลว้ แจง้ ขอ้ มลู เหลา่ นน้ั
ไปยังหน่วยงานหรือส่ือมวลชนเพื่อร่วมกันตรวจสอบการกระท�ำที่เกิดข้ึน และยิ่งในปัจจุบันเป็นสังคม
สมยั ใหม่ และก�ำลังเดนิ หนา้ ประเทศไทยกา้ วสยู่ ุคไทยแลนด์ ๔.๐ แตก่ ารจะเปน็ ๔.๐ ใหส้ มบูรณ์แบบได้
นนั้ ปญั หาการทจุ รติ จะตอ้ งลดนอ้ ยลงไปดว้ ย เมอ่ื ประชาชนมคี วามตนื่ ตวั ตอ่ การทไ่ี มท่ นตอ่ การทจุ รติ แลว้
ผลที่เกิดขึ้นจะเปน็ อยา่ งไร ตวั อย่างที่จะน�ำมากล่าวถึงต่อไปนี้เป็นกรณที เี่ กิดขนึ้ ในตา่ งประเทศ แสดงให้
เหน็ ถงึ ความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ ทปี่ ระชาชนไดล้ กุ ขน้ึ มาตอ่ สู้ ตอ่ ตา้ นตอ่ นกั การเมอื งทที่ ำ� ทจุ รติ จนในทสี่ ดุ
นักการเมอื งเหล่าน้ันหมดอำ� นาจทางการเมอื งและได้รับบทลงโทษทง้ั ทางสังคมและทางกฎหมาย ดงั น้ี
๑. ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ถือเป็นประเทศหนึ่งที่ประสบความส�ำเร็จในด้านของ
การปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แตก่ ย็ งั คงมปี ญั หาการทจุ รติ เกดิ ขน้ึ อยบู่ า้ ง เชน่ เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๙
มขี ่าวกรณขี องประธานาธบิ ดีถูกปลดออกจากตำ� แหนง่ เพราะเข้าไปมสี ว่ นเกย่ี วขอ้ งในการเอือ้ ประโยชน์
ให้พวกพ้อง โดยการถูกกล่าวหาว่าให้เพื่อนสนิทของครอบครัวเข้ามาแทรกแซงการบริหารประเทศ
รวมถงึ ใชค้ วามสมั พนั ธท์ ใี่ กลช้ ดิ กบั ประธานาธบิ ดแี สวงหาประโยชนส์ ว่ นตวั ผลทเี่ กดิ ขน้ึ คอื ถกู ดำ� เนนิ คดี
และตงั้ ขอ้ หาว่าพัวพนั การทุจริตและ ใชอ้ ำ� นาจหนา้ ทีใ่ นทางมชิ อบ เพ่อื เอื้อผลประโยชนใ์ หแ้ ก่พวกพ้อง
กรณีที่เกิดขึ้นน้ีประชาชนเกาหลีใต้ได้มี การรวมตัวกันประท้วงกว่าพันคนเรียกร้องให้ประธานาธิบดี
คนดงั กลา่ วลาออกจากตำ� แหนง่ หลังมีเหตอุ ้ือฉาวทางการเมือง
อีกกรณีท่ีจะกล่าวถึงเพื่อเป็นตัวอย่างการต่อต้านการกระท�ำที่ไม่ถูกต้อง คือ การท่ี
นักศึกษาคนหนึ่งได้เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยท้ังท่ีผลคะแนนที่เรียนมาน้ันไม่ได้สูง และการท่ีคุณสมบัติ
ของนักศึกษาดังกล่าว มีคุณสมบัติไม่ตรงกับการคัดเลือกโควต้านักกีฬาที่ก�ำหนดไว้ว่าจะต้องผ่าน
การแขง่ ขนั ประเภทเดย่ี ว แตน่ กั ศกึ ษาคนดงั กลา่ วผา่ นการแขง่ ขนั ประเภททมี เทา่ กบั วา่ คณุ สมบตั ไิ มถ่ กู ตอ้ ง
แตไ่ ดร้ บั เข้าเรยี น ในมหาวทิ ยาลยั ดงั กลา่ ว การกระทำ� เชน่ นจี้ งึ เปน็ สาเหตหุ นง่ึ ของการนำ� ไปสกู่ ารประทว้ ง
ต่อต้านจากนักศึกษาและอาจารย์ของมหาวิทยาลัยดังกล่าว ซึ่งทางมหาวิทยาลัยก็ไม่สามารถให้ค�ำตอบ
ท่ีชัดเจนแกก่ ลมุ่ ผู้ประท้วงได้ จนในท่ีสุดประธานของมหาวทิ ยาลยั ดงั กลา่ วจึงลาออกจากต�ำแหน่ง
๒. ประเทศบราซลิ ปลายปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ประชาชนในประเทศบราซลิ ไดม้ กี ารชมุ นุม
ประท้วง การทจุ ริตทีเ่ กดิ ขึน้ เป็นการแสดงออกถงึ ความไมพ่ อใจตอ่ วัฒนธรรมการโกงของระบบราชการ
ของประเทศ โดยมีประชาชนจ�ำนวนหลายหมื่นคนเข้าร่วมการชุมนุมในคร้ังน้ี และมีการแสดงภาพหนู
เพื่อเป็นสญั ลักษณ์ ในการประณามต่อนักการเมืองท่ีทุจรติ การประทว้ งดงั กล่าวยังถือว่ามีขนาดเล็กกว่า
คร้ังก่อน เพราะที่ผ่านมาได้มีการทุจริตเกิดขึ้นและมีการประท้วง จนในที่สุดประธานาธิบดีได้ถูกปลด
จากตำ� แหน่ง เนอ่ื งจากการกระท�ำท่ีละเมิดตอ่ กฎระเบียบเร่ืองงบประมาณ
ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ 45
จากตัวอย่างข้างต้น แสดงให้เห็นถึงความต่ืนตัวของประชาชนที่ออกมาต่อต้าน
ตอ่ การทจุ รติ ไมว่ า่ จะเปน็ การทจุ รติ ในระดบั หนว่ ยเลก็ ๆ หรอื ระดบั ประเทศ เปน็ การแสดงออกซงึ่ การไมท่ น
ตอ่ การทจุ รติ การไมท่ นตอ่ การทจุ รติ สามารถแสดงออกมาไดห้ ลายระดบั ตงั้ แตก่ ารเหน็ คนทท่ี ำ� ทจุ รติ แลว้
ตนเองรสู้ ึกไม่พอใจ มกี ารสง่ เรอื่ งตรวจสอบ รอ้ งเรียน และในทีส่ ุด คือ การชมุ นมุ ประท้วง ตามตัวอยา่ ง
ท่ีได้น�ำมาแสดงให้เหน็ ขา้ งต้น ตราบใดที่สามารถสร้างให้สงั คมไมท่ นต่อการทจุ ริตได้ เม่ือน้ันปัญหาการ
ทุจริตก็จะลดน้อยลง แต่หากจะให้เกิดผลดีย่ิงขึ้น จะต้องสร้างให้เกิดความละอายต่อการทุจริต ไม่กล้า
ท่ีจะท�ำทุจริต โดยน�ำเอาหลักธรรมทางศาสนามาเป็นเคร่ืองมือในการส่ังสอน อบรม ในขณะเดียวกัน
หากมกี ารทจุ รติ เกดิ ขนึ้ กระบวนการในการแสดงออกตอ่ การไมท่ นตอ่ การทจุ รติ จะตอ้ งเกดิ ขน้ึ และมกี าร
เปิดเผยชื่อบุคคลที่ทุจริตให้กับสาธารณะชนได้รับทราบอย่างทั่วถึง เม่ือสังคมมีทั้งกระบวนการในการ
ป้องกันการทุจริต การปราบปรามการทุจริตท่ดี ี รวมถึงการสร้างให้สังคมเปน็ สงั คมทไ่ี มท่ นต่อการทจุ ริต
มคี วามละอายตอ่ การทำ� ทจุ รติ แลว้ ปญั หาการทจุ รติ จะลดนอ้ ยลง ประเทศชาตจิ ะสามารถพฒั นาไดม้ ากขน้ึ
ส�ำหรับระดับการทุจริตที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นในระดับใดล้วนแล้วแต่ส่งผลกระทบ
ต่อสังคมและประเทศชาติทั้งส้ิน บางคร้ังการทุจริตเพียงนิดเดียวอาจน�ำไปสู่การทุจริตอย่างอื่นที่มาก
กว่าเดิมได้ การมีวัฒนธรรม ค่านิยม หรือความเช่ือที่ไม่ถูกต้องก็ส่งผลให้เกิดการทุจริตได้เช่นกัน เช่น
การมอบเงินอุดหนุนแก่สถานศึกษาเพื่อให้บุตรของตนได้เข้าศึกษาในสถานที่แห่งนั้น หากพิจารณาแล้ว
อาจพบวา่ เปน็ การชว่ ยเหลอื สถานศกึ ษาเพอื่ ทสี่ ถานศกึ ษาแหง่ นนั้ จะไดน้ ำ� เงนิ ทไ่ี ดไ้ ปพฒั นาสภาพแวดลอ้ ม
การเรียนการสอนของทางสถานศึกษาต่อไป แต่การกระทำ� ดงั กลา่ วนีไ้ มถ่ กู ต้อง เปน็ การปลกู ฝังสง่ิ ทไี่ มด่ ี
ให้เกดิ ขึ้นในสังคม และตอ่ ไปหากกระทำ� เชน่ น้ีเรือ่ ย ๆ จะมองว่าเป็นเรื่องปกติท่ที กุ คนท�ำกนั ไม่มีความ
ผดิ แตอ่ ยา่ งใด จนทำ� ใหแ้ บบแผนหรอื พฤตกิ รรมทางสงั คมทด่ี ถี กู กลนื หายไปกบั การกระทำ� ทไี่ มเ่ หมาะสม
เหลา่ น้ี ตวั อยา่ งการมอบเงนิ อดุ หนนุ แกส่ ถานศกึ ษายงั คงเกดิ ขน้ึ ในประเทศไทยอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยเฉพาะ
ในสถานศึกษาที่มีช่ือเสียงซ่ึงหลายคนอยากให้บุตรของตนเข้าศึกษาในสถานที่แห่งน้ัน แต่ด้วยข้อจ�ำกัด
ทไี่ ม่สามารถรับนกั เรียน นักศึกษาไดท้ ้ังหมด จึงทำ� ให้ผูป้ กครองบางคนตอ้ งใหเ้ งนิ กบั สถานศึกษาเพือ่ ให้
บตุ รของตนเองได้เข้าเรยี น
46 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเตมิ การปอ้ งกนั การทจุ รติ ”
ใบกจิ กรรมระดมพลังความคิดประเดน็
“การละอายและการแสดงออกถงึ การเปน็ ผู้ไม่ทนต่อการทจุ ริตในการสอบ”
ผลการระดมพลงั ความคิดกลมุ่ ท่.ี ........... ชัน้ .................
สถำนกำรณ์ที ่ ๑ นักเรียนจะท�ำอย่ำงไร เมื่อรู้มำว่ำเพื่อนในห้องส่วนใหญ่วำงแผนจะทุจริตในกำรสอบ
และไดช้ วนให้นักเรยี นเขำ้ ร่วมกระบวนกำรทจุ รติ ดว้ ย
ระดมความคดิ กล่นั กรองความคิด สรุปความคิด
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๖ 47
ใบกจิ กรรมระดมพลังความคิดประเดน็
“การละอายและการแสดงออกถงึ การเปน็ ผไู้ ม่ทนต่อการทุจรติ ในการสอบ”
ผลการระดมพลงั ความคดิ กลุ่มที่............ ชัน้ .................
สถำนกำรณท์ ี่ ๒ นกั เรยี นจะทำ� อยำ่ งไร เมอื่ เพอื่ นคนหนง่ึ ไมร่ ะมดั ระวงั ในกำรวำงกระดำษคำ� ตอบ ทำ� ให้
นักเรียนมองเห็นค�ำตอบของเพ่ือน นอกจำกน้ีนักเรียนยังเห็นเพ่ือนคนอื่นแอบช�ำเลืองมองค�ำตอบของ
เพือ่ นคนนั้นด้วย
ระดมความคิด กลน่ั กรองความคดิ สรปุ ความคดิ
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
48 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพ่ิมเติม การปอ้ งกนั การทุจริต”
ใบกจิ กรรมระดมพลังความคิดประเด็น
“การละอายและการแสดงออกถึงการเป็นผ้ไู มท่ นต่อการทุจรติ ในการสอบ”
ผลการระดมพลังความคดิ กลมุ่ ท.ี่ ........... ช้นั .................
สถำนกำรณท์ ่ี ๓ นกั เรยี นจะทำ� อยำ่ งไร เมอื่ ขณะทำ� ขอ้ สอบ เพอ่ื นสนทิ แอบสะกดิ นกั เรยี นเพอื่ ถำมคำ� ตอบ
ระดมความคดิ กลนั่ กรองความคดิ สรุปความคดิ
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษำปีท่ ี ๖ 49
ใบกจิ กรรมระดมพลังความคิดประเดน็
“การละอายและการแสดงออกถึงการเป็นผู้ไมท่ นต่อการทจุ รติ ในการสอบ”
ผลการระดมพลงั ความคดิ กลุ่มท่ี............ ชนั้ .................
สถำนกำรณท์ ่ี ๔ นักเรียนจะท�ำอย่ำงไร เมื่อนักเรียนเรียนไม่เข้ำใจ และไม่ได้เตรียมตัวส�ำหรับ
กำรสอบ เมอื่ ถงึ เวลำสอบ คณุ ครคู มุ สอบตอ้ งเขำ้ หอ้ งนำ้� กะทนั หนั คณุ ครคู มุ สอบสำ� รองยงั เดนิ ทำงมำไมถ่ งึ
เพื่อนสนิทของนักเรียนกลัวว่ำนักเรยี นจะสอบตก จงึ ยื่นกระดำษค�ำตอบของตนมำให้ลอก
ระดมความคิด กล่ันกรองความคิด สรปุ ความคดิ
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
50 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพิ่มเติม การปอ้ งกนั การทจุ ริต”
ใบกิจกรรมระดมพลงั ความคิดประเด็น
“การละอายและการแสดงออกถึงการเป็นผ้ไู ม่ทนตอ่ การทจุ ริตในการสอบ”
ผลการระดมพลงั ความคิดกลมุ่ ท่.ี ........... ชน้ั .................
สถำนกำรณ์ที่ ๕ นกั เรยี นจะทำ� อยำ่ งไร เมอื่ หมดเวลำสอบ นกั เรยี น และเพอ่ื น ๆ สว่ นใหญย่ งั ทำ� ขอ้ สอบ
ไม่เสรจ็ หัวหนำ้ หอ้ งจึงขอตอ่ เวลำกับครคู ุมสอบ ประกอบกบั ครคู ุมสอบมที ่ำทีอนโุ ลมใหท้ �ำต่อได้
ระดมความคดิ กล่ันกรองความคิด สรปุ ความคิด
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
............................................... ............................................... ...............................................
ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษำปที ่ ี ๖ 51
แบบบนั ทกึ กจิ กรรมการศกึ ษาคน้ คว้า
สง่ิ ทไ่ี ดจ้ ำกกำรศึกษำคน้ คว้ำ
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
แหล่งที่มำของขอ้ มลู
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
สิ่งทีไ่ ดจ้ ำกกำรศกึ ษำคน้ คว้ำ
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
แหล่งทมี่ ำของขอ้ มลู
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
สิ่งทไ่ี ด้จำกกำรศกึ ษำคน้ ควำ้
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
แหลง่ ท่ีมำของข้อมลู
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
52 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพ่มิ เตมิ การป้องกนั การทุจรติ ”
แบบประเมนิ ผลการระดมพลงั ความคดิ
“การละอายและแสดงออกถึงการเปน็ ผไู้ มท่ นต่อการทจุ ริตในการสอบ”
คาำ ชแ้ี จง ทำ� เคร่ืองหมำย � ลงในช่องคะแนนตำมเกณฑก์ ำรประเมิน
กล่มุ ช่อื - สกุล สมาชิกทุกคนในกลุ่ม มกี ารกล่นั กรอง ขอ้ สรุปของกลมุ่ รวม
ที่ ร่วมแสดง ความคิดรว่ มกัน เหมาะสม แสดงให้
ความคดิ เหน็ โดยยดึ หลกั เหตุ เห็นถงึ การละอาย
อยา่ งหลากหลาย และผล และไม่ทนต่อ
๔๓๒๑ ๔๓๒๑ การทจุ รติ ในการสอบ
๔ ๓ ๒ ๑ ๑๒ คะแนน
๑ ๑)
๒)
๓)
๔)
๕)
๒
เกณฑก์ ารใชค้ ะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ
๔ คะแนน เท่ำกับ ดมี ำก
๓ คะแนน เท่ำกับ ดี ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
๒ คะแนน เทำ่ กบั พอใช้
๑ คะแนน เท่ำกับ ปรบั ปรงุ ๑๐ - ๑๒ ดมี ำก
๗ - ๙ ดี
๔ - ๖ พอใช้
๑ - ๓ ปรับปรุง
ลงชอื่ .................................................ครผู ปู้ ระเมิน
(.................................................)
................/................/...............
ระดับชัน้ มธั ยมศึกษำปที ี่ ๖ 53
แบบสงั เกตพฤติกรรม
“ม่งุ มัน่ ในการทำางาน”
คาำ ช้แี จง ท�ำเครอ่ื งหมำย � ในช่องทีต่ รงกบั ควำมเปน็ จรงิ ตำมเกณฑก์ ำรประเมนิ
เกณฑ์การประเมิน (ใชข้ ้อมูลจำกกำรสงั เกตตำมสภำพจริงของครผู ูส้ อน)
เลขที่ ชื่อ - สกลุ ตงั้ ใจและรบั ผิดชอบ ทาำ งานด้วยความเพียร รวม
ในการปฏิบตั ิหน้าทกี่ ารงาน พยายาม และอดทนเพื่อให้
งานสำาเรจ็ ตามเป้าหมาย
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๘ คะแนน
๑
๒
๔
๔
๕
เกณฑก์ ารใชค้ ะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ
๔ คะแนน เท่ำกับ ดมี ำก
๓ คะแนน เทำ่ กบั ดี ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ
๒ คะแนน เทำ่ กับ พอใช้
๑ คะแนน เท่ำกับ ปรบั ปรงุ ๗ - ๘ ดีมำก
๕ - ๖ ดี
๓ - ๔ พอใช้
๑ - ๒ ปรบั ปรงุ
ลงชือ่ .................................................ครผู ูป้ ระเมนิ
(.................................................)
................/................/...............
54 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพิ่มเตมิ การปอ้ งกันการทุจริต”
แบบประเมินผลงานแผนผังความคิด
คาำ ช้แี จง ท�ำเคร่อื งหมำย � ลงในชอ่ งคะแนนตำมเกณฑ์กำรประเมิน
เลขที่ ช่อื - สกุล สรุปความรคู้ รบถว้ น เชอื่ มโยงความรกู้ บั รูปแบบเป็นไปตาม รวม
ถูกต้องทุกประเดน็ ประสบการณ์ของตน หลักการทำาแผนผัง
ไดถ้ ูกต้องตามลาำ ดับ
ความคิด
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑๒ คะแนน
๑
๒
๓
๔
๕
เกณฑก์ ารใช้คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ
๔ คะแนน เทำ่ กับ ดมี ำก
๓ คะแนน เท่ำกบั ดี ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
๒ คะแนน เท่ำกบั พอใช้
๑ คะแนน เทำ่ กับ ปรับปรงุ ๑๐ - ๑๒ ดีมำก
๗ - ๙ ดี
๔ - ๖ พอใช้
๑ - ๓ ปรับปรงุ
ลงช่อื .................................................ครผู ปู้ ระเมิน
(.................................................)
................/................/...............
ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษำปีท ่ี ๖ 55
แผนการจัดการเรียนรู้
หน่วยท่ี ๒ ชอ่ื หน่วย ความละอายและความไมท่ นต่อการทุจริต เวลา ๔ ช่วั โมง
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๒ เรื่อง แนวทางการแก้ปัญหาและวิธกี ารปฏบิ ตั ิ
๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ ปฏิบตั ิตนเปน็ ผูล้ ะอายและไมท่ นต่อการทจุ รติ ทกุ รปู แบบ
๑.๒ ตระหนกั และเห็นความสำ� คญั ของการต่อตา้ นและป้องกนั การทจุ รติ
๒. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๒.๑ นกั เรียนสามารถอธบิ ายความหมายของ “การลงโทษทางสังคม (Social Sanctions)” ได้
๒.๒ นกั เรยี นสามารถเสนอวธิ กี ารปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผไู้ มท่ นตอ่ การทจุ รติ การเลอื กตง้ั โดยใชก้ ารลงโทษ
ทางสังคมได้
๒.๓ นกั เรียนสามารถบอกผลกระทบที่เกดิ จากการทจุ รติ ได้
๒.๔ นักเรียนสามารถท�ำโครงงานเพื่อสร้างความตระหนักและเห็นความส�ำคัญของการต่อต้าน
และปอ้ งกันการทุจรติ ในโรงเรียนผา่ นกจิ กรรมนกั เรยี นได้
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
๑) ความหมายของ “การลงโทษทางสังคม (Social Sanctions)”
๒) วิธกี ารปฏบิ ัตติ นเปน็ ผู้ไมท่ นต่อการทจุ รติ การเลอื กตง้ั โดยใชก้ ารลงโทษทางสังคม
๓) ผลกระทบที่เกิดจากการทจุ ริต
๔) การทำ� โครงงานเพอ่ื สรา้ งความตระหนกั และเหน็ ความสำ� คญั ของการตอ่ ตา้ นและปอ้ งกนั
การทจุ รติ ในโรงเรยี นผา่ นกิจกรรมนักเรียนได้
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กิดขึ้น)
๑) ความสามารถในการสอื่ สาร
๒) ความสามารถในการคดิ
๓) ความสามารถในการแกป้ ัญหา
๔) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
๓.๓ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์/คา่ นยิ ม
มงุ่ ม่ันในการท�ำงาน
๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้
๔.๑ ขัน้ ตอนการเรยี นรู้
ช่ัวโมงท่ี ๑
นกั เรียนท�ำกิจกรรม “ทจุ ริตแคเ่ ร่อื งสมมติ ถ้าชว่ ยกันหยดุ ทั้งสงั คม” โดยมขี ้นั ตอนดงั นี้
56 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพิ่มเติม การปอ้ งกันการทจุ ริต”
ขน้ั เตรียม
- ครูแจ้งวัตถุประสงค์ของกิจกรรม เพ่ือให้นักเรียนจ�ำลองสถานการณ์ท่ีตนเองอยู่ในการ
ทจุ รติ การเลอื กตงั้ รปู แบบตา่ ง ๆ ซง่ึ มบี ทบาทของนกั การเมอื ง กกต. ประชาชน และอน่ื ๆ ตามสถานการณ์
ทไี่ ดร้ บั อยา่ งไรกต็ ามเมอื่ กลมุ่ ใดแสดง นกั เรยี นกลมุ่ ทไ่ี มไ่ ดแ้ สดงจะรว่ มสวมบทบาทเปน็ ประชาชนสามารถ
ร่วมแสดงไดเ้ นื่องจากเปน็ สถานการณจ์ ำ� ลองทัง้ หอ้ งเรยี น
- ตวั แทนกล่มุ จบั สลากสถานการณ์การทุจรติ การเลือกตั้ง กลุม่ ละ ๑ สถานการณ์
- นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ อภปิ ราย พจิ ารณาเลอื กตวั อยา่ งการลงโทษทางสงั คมทไ่ี ดศ้ กึ ษา คน้ ควา้
มา ๑ ตัวอยา่ งให้สอดคล้องกบั สถานการณท์ ี่ไดร้ บั
- นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ เตรยี มแสดงสถานการณ์จำ� ลองหน้าชนั้ เรยี น
ขั้นน�ำเสนอ
- แต่ละกลุ่มแสดงบทบาทตามสถานการณ์ทต่ี นได้รับ โดยครูดูแลความเรยี บร้อยให้อยู่ใน
ระเบยี บ และสังเกต บันทกึ สถานการณจ์ �ำลองของนกั เรยี น
ขัน้ สรปุ
- นกั เรยี นและครูร่วมกนั สรปุ สิง่ ทไี่ ด้จากสถานการณจ์ ำ� ลอง
- นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั พจิ ารณาความเหมาะสมของการนำ� กระบวนการลงโทษทางสงั คม
ไปใชจ้ รงิ กบั สถานการณ์ทุจริตการเลอื กตงั้
*หมายเหตุ จำ� นวนกล่มุ นักเรียน ข้นึ อยูก่ ับดลุ ยพนิ ิจของครผู ู้สอน
ชั่วโมงที่ ๒
ขน้ั น�ำเสนอ
๑) นักเรียนชมวิดีโอคลิป “มือสะอาด ชาติไม่ล่มจม” ซ่ึงเป็นการประกวดการพูดรณรงค์
ตอ่ ตา้ นการทุจรติ
๒) นักเรียนทบทวนเรื่อง ประเภท/รูปแบบของการทุจริต โดยครูเป็นผู้ซักถาม จากน้ันครู
เชือ่ มโยงถึงกจิ กรรมในโรงเรยี นแล้วถามคำ� ถามพัฒนาการคิด
ตัวอย่างค�ำถาม
- การเลอื กตงั้ สภานกั เรยี น กจิ กรรมกฬี าสสี มั พนั ธก์ จิ กรรมวนั สำ� คญั ตา่ ง ๆ กจิ กรรมเหลา่ น้ี
มีโอกาสทีน่ ักเรยี นจะประพฤติทจุ ริตได้หรือไม่ อยา่ งไร
(หมายเหตุ ครอู าจชแ้ี นะเพิม่ เตมิ ค�ำตอบ หรอื กล่าวเชื่อมโยงในหนว่ ยการเรยี นรู้เดมิ คอื
เรือ่ งการคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม)
- ถ้าการท�ำกิจกรรมตา่ ง ๆ ในโรงเรยี นมีการทจุ ริตเกิดขึ้น จะส่งผลต่อใคร อยา่ งไร
๓) นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น ๕ กลุ่ม ท�ำแผนผังความคิดประเด็น ผลกระทบที่เกิดจาก
การทุจริตในการท�ำกิจกรรมในโรงเรียน
กลุม่ ท่ี ๑ ผลกระทบตอ่ ตนเอง
กล่มุ ท่ี ๒ - ๓ ผลกระทบต่อโรงเรียน
กลมุ่ ที่ ๔ ผลกระทบตอ่ ประเทศ
กลมุ่ ที่ ๕ ผลกระทบตอ่ โลก
ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๖ 57
๔) นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ น�ำเสนอแผนผงั ความคดิ หน้าชน้ั เรียน กลุ่มละ ๕ นาที
๕) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลกระทบของการทุจริต โดยครูซักถามและเน้นย�้ำผล
ทีจ่ ะเกิดขึ้น จากนั้นนักเรยี นตอบค�ำถามดงั นี้
- นกั เรยี นคนอนื่ ๆ ในโรงเรยี นจะรหู้ รอื ไมว่ ่า การทจุ รติ เพยี งเลก็ นอ้ ยกส็ ง่ ผลกระทบใหญ่
หลวงได้ (หากรู้ ร้ลู ึกเพยี งใด)
- ในฐานะทน่ี กั เรยี นเปน็ พใี่ หญข่ องโรงเรยี น จะทำ� อยา่ งไรใหน้ อ้ ง ๆ และอาจรวมถงึ เพอื่ น
ครู และบคุ ลากรในโรงเรยี น ไดต้ ระหนกั และเหน็ ความสำ� คญั ของการตอ่ ต้านและปอ้ งกนั การทจุ รติ ทเี่ กดิ
ขน้ึ จากการท�ำกิจกรรมในโรงเรียน
๖) ครูมอบหมายให้นักเรียนจัดท�ำโครงงาน กิจกรรมเพื่อสร้างความตระหนักและเห็น
ความสำ� คญั ของการตอ่ ต้านและปอ้ งกนั การทุจรติ ในโรงเรยี น
ชั่วโมงท่ี ๓
ขน้ั วางแผน
๗) นักเรียนร่วมกันวางแผนระดมความคิดหาข้อสรุปของกลุ่มเพ่ือน�ำไปปฏิบัติ โดยบันทึก
ลงในใบกิจกรรมวางแผนการทำ� โครงงาน ท้ังน้คี รเู ปน็ ผชู้ ีแ้ นะ ใหค้ �ำแนะนำ� เพ่มิ เตมิ
ค�ำถามสำ� หรบั ครเู พอ่ื ชี้แนะนกั เรียน
- นกั เรยี นสนใจประเด็นใดบา้ ง ความถนดั ของกลุม่ คืออะไร (กำ� หนดเนื้อหา)
- นักเรียนท�ำหวั ขอ้ นเ้ี พ่ืออะไร (กำ� หนดวัตถุประสงค์)
- นักเรียนมวี ธิ กี ารทำ� อยา่ งไร (กำ� หนดวิธีศึกษา/การทำ� กิจกรรม)
- นกั เรยี นต้องใช้เครอ่ื งมอื /อปุ กรณอ์ ะไร (ก�ำหนดเครอ่ื งมือ)
- นักเรียนจะศึกษาหรือค้นควา้ ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ จากท่ใี ด (กำ� หนดแหล่งขอ้ มูล)
- กิจกรรมโครงงานของนักเรยี นจะทำ� ใหเ้ กิดผลดอี ยา่ งไร (กำ� หนดผลท่คี าดว่าจะไดร้ ับ)
- นักเรียนจะทราบได้อย่างไรว่ากิจกรรมของนักเรียนได้ผลตามท่ีคาดหวัง (ก�ำหนดการ
วดั ประเมนิ ผล)
- นกั เรยี นจะนำ� เสนอ หรอื เผยแพร่ผลงานอย่างไร (กำ� หนดวิธนี �ำเสนอผลงาน รายงาน)
ขน้ั ปฏบิ ตั ิ
๘) นักเรยี นลงมือปฏบิ ัติท�ำโครงงานตามแผนท่วี างไว้*
*หมายเหตุ ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ นกั เรยี นจำ� เปน็ ตอ้ งทำ� นอกคาบเรยี น ครกู ำ� หนดระยะเวลา
ด�ำเนนิ โครงงาน ๓ สัปดาห์
ชั่วโมงที่ ๔
ขัน้ ประเมนิ ผล
๙) นักเรียนน�ำเสนอผลการท�ำโครงงาน โดยน�ำเสนอตามแผนที่นักเรียนวางไว้ เช่น ใช้ส่ือ
เทคโนโลยีประกอบการน�ำเสนอ หรอื การจดั ท�ำหนังสือเล่มเล็ก เป็นต้น
๑๐) ขณะท่ีกลุ่มนักเรียนก�ำลังน�ำเสนอ ครูและเพื่อน ๆ กลุ่มอื่น ร่วมกันประเมินโครงงาน
ตามแบบประเมนิ
๑๑) นักเรยี นและครรู ่วมกันวพิ ากษ์ สรปุ และประเมินผลการจดั ทำ� โครงงาน
58 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพิ่มเตมิ การป้องกนั การทุจริต”
๔.๒ ส่ือการเรยี นร้/ู แหลง่ การเรยี นรู้
๑) สลากสถานการณป์ ระกอบการทำ� กจิ กรรม “ทจุ รติ แคเ่ รอ่ื งสมมติ ถา้ ชว่ ยกนั หยดุ ทง้ั สงั คม”
๒) อินเทอรเ์ น็ต
๓) คลิปวดิ โี อ “มือสะอาด ชาตไิ มล่ ม่ จม”
๔) ใบกิจกรรมวางแผนการทำ� โครงการ
๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๕.๑ วิธีการประเมนิ
๑) ตรวจผลงานแผนผังความคดิ
๒) ตรวจผลงานโครงงาน
๓) สังเกตพฤติกรรม “มุ่งมน่ั ในการท�ำงาน”
๔) ตรวจแบบบนั ทกึ กิจกรรม“ทจุ รติ แคเ่ รอ่ื งสมมติ ถา้ ชว่ ยกนั หยดุ ท้งั สังคม”
๕.๒ เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการประเมิน
๑) แบบประเมนิ ผลงานแผนผงั ความคดิ
๒) แบบประเมินการปฏิบัตงิ านโครงงาน
๓) แบบสังเกตพฤตกิ รรม“มุ่งมั่นในการท�ำงาน”
๔) แบบประเมนิ การบนั ทกึ กจิ กรรม“ทุจริตแคเ่ ร่อื งสมมติ ถ้าช่วยกันหยุดทง้ั สังคม”
๕.๓ เกณฑก์ ารตัดสนิ
- ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินได้คะแนนระดบั ดีข้นึ ไป
- ผ่านเกณฑ์การประเมนิ พฤติกรรมระดบั ดขี ึ้นไป
๖. บันทกึ หลังสอน
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ลงชอื่ ..............................................ครผู สู้ อน
(..................................................)
ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๖ 59
๗. ภาคผนวก
ใบความรู้
เร่ือง “การลงโทษทางสังคม”
การลงโทษทางสงั คม (Social Sanctions)
คำ� ว่ำ “กำรลงโทษโดยสงั คม” หรือเรยี กว่ำ “กำรลงโทษทำงสังคม” ซงึ่ ตรงกบั ภำษำองั กฤษคำ� วำ่
“Social Sanctions”
พจนำนุกรมศพั ทส์ ังคมวทิ ยำฉบบั รำชบณั ฑิตยสถำน (๒๕๓๒ : ๓๖๑ - ๓๖๒) ไดใ้ หค้ วำมหมำย
ของ คำ� วำ่ “Social Sanctions” เป็นภำษำไทยวำ่ สทิ ธำนุมัตทิ ำงสงั คม หมำยถึง กำรขวู่ ำ่ จะลงโทษ
หรือกำรสัญญำว่ำจะให้รำงวัลตำมที่กลุ่มก�ำหนดไว้ส�ำหรับกำรประพฤติปฏิบัติของสมำชิก เพ่ือชักน�ำ
ให้สมำชกิ กระท�ำตำมข้อบงั คบั และกฎเกณฑ์
Radcliffe-Brown (๑๙๕๒ : ๒๐๕) อธิบำยกำรลงโทษโดยสังคมว่ำเป็นปฏิกิริยำตอบสนอง
ทำงสังคมอย่ำงหน่ึงและเป็นกำรแสดงออกถึงพฤติกรรมที่เป็นด้ำนตรงกันข้ำมระหว่ำงกำรเห็นชอบ
กับกำรไม่เห็นชอบพูดอีกอย่ำงหน่ึงก็คือ กำรลงโทษโดยสังคมนั้นมีคุณลักษณะวิภำษ (Dialectic) คือ
มีทั้งด้ำนบวกและด้ำนลบอยู่ภำยในควำมหมำยของตัวเอง ส�ำหรับกำรลงโทษโดยสังคมเชิงบวก
(Positive Social Sanctions) จะอยู่ในรูปของกำรให้กำรสนับสนุนหรือกำรสร้ำงแรงจูงใจ ฯลฯ
ให้แก่ปัจเจกบุคคลและสังคมให้ประพฤติปฏิบัติให้สอดคล้องกับปทัสถำนของชุมชนหรือของสังคม
จำกกำรศึกษำยังพบด้วยว่ำกำรลงโทษโดยสังคมเชิงบวกนั้นอำจเป็นกำรสร้ำงแรงจูงใจให้แก่สังคม
เพอ่ื ยกระดบั ปทสั ถำนของสงั คมในระดบั ทอ้ งถนิ่ ใหไ้ ปสอดคลอ้ งกบั ปทสั ถำนใหมใ่ นระดบั ระหวำ่ งประเทศ
Whitmeyer (๒๐๐๒ : ๖๓๐-๖๓๒) กล่ำวว่ำ กำรลงโทษโดยสังคม มีทั้งเชิงบวกและเชิงลบ
เป็นกำรท�ำงำนตำมกลไกของสังคม กำรลงโทษโดยสังคมเป็นมำตรกำรควบคุมทำงสังคมท่ีต้องกำร
ใหส้ มำชกิ ในสงั คมประพฤติปฏิบัตติ ำมมำตรฐำนหรอื กฎเกณฑ์ทีส่ งั คมยอมรับร่วมกนั เมอ่ื สมำชิกปฏบิ ัติ
ตำมกจ็ ะมกี ำรใหร้ ำงวลั เปน็ แรงจงู ใจ และลงโทษเมอ่ื สมำชกิ ไมป่ ฏบิ ตั ติ ำมกฎเกณฑข์ องสงั คมและจะแสดง
กำรไมย่ อมรับสมำชิกคนหนงึ่ หรอื กลมุ่ คนกลุ่มหนึง่
โดยสรุปแล้ว กำรลงโทษโดยสังคม (Social Sanctions) หมำยถึง ปฏิกิริยำปฏิบัติทำงสังคม
เปน็ มำตรกำรควบคมุ ทำงสงั คมทต่ี อ้ งกำรใหส้ มำชกิ ในสงั คมประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ำมมำตรฐำนหรอื กฎเกณฑท์ ี่
สงั คมกำ� หนด โดยมที ง้ั ดำ้ นลบและดำ้ นบวก การลงโทษโดยสงั คมเชงิ ลบ (Negative Social Sanctions)
เป็นกำรลงโทษ โดยกำรกดดันและแสดงปฏิกิริยำต่อต้ำนพฤติกรรมของบุคคลที่ไม่ปฏิบัติตำมกฎเกณฑ์
ของสังคม ท�ำให้บุคคลนั้นเกิดควำมอับอำยขำยหน้ำ ส�ำหรับกำรลงโทษโดยสังคมเชิงบวกหรือ
60 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพิม่ เตมิ การปอ้ งกนั การทุจริต”
การกระตนุ้ สงั คมเชงิ บวก (Positive Social Sanctions) เปน็ การแสดงออกในเชงิ สนบั สนนุ หรอื ใหร้ างวลั
เปน็ แรงจงู ใจเพ่อื ให้บุคคลในสงั คมประพฤตปิ ฏิบัติตามกฎเกณฑข์ องสังคม
การลงโทษทางสังคม เป็นการลงโทษกับบุคคลที่ปฏิบัติตนฝ่าฝืนกับธรรมเนียม ประเพณี หรือ
แบบแผนท่ีปฏิบัติต่อ ๆ กันมาในชุมชน มักใช้ในลักษณะการลงโทษทางสังคมเชิงลบมากกว่าเชิงบวก
การฝ่าฝนื ดงั กลา่ วอาจจะไม่ผิดกฎหมาย แตด่ ว้ ยธรรมเนยี มท่ปี ฏบิ ัตสิ ืบต่อกนั มานัน้ ถกู ละเมดิ ถูกฝา่ ฝนื
หรือถูกดูหมิ่นเกี่ยวกับความเชื่อของชุมชน ก็จะน�ำไปสู่การต่อต้านจากคนในชุมชน แม้ว่าการฝ่าฝืน
ดังกล่าวจะไม่ผิดกฎหมายก็ตาม และท่ีส�ำคัญไปกว่าน้ัน หากการกระท�ำดังกล่าวผิดกฎหมายด้วยแล้ว
อาจสรา้ งใหเ้ กดิ ความไมพ่ อใจขนึ้ ได้ ไมเ่ พยี งแตใ่ นชมุ ชนนน้ั แตอ่ าจเกย่ี วเนอ่ื งไปกบั ชมุ ชนอน่ื รอบขา้ ง หรอื
เปน็ ชมุ ชนทใ่ี หญท่ สี่ ดุ นน่ั คอื ประชาชนทง้ั ประเทศ ซงึ่ การลงโทษทางสงั คมมที งั้ ดา้ นบวกและดา้ นลบ ดงั น้ี
การลงโทษโดยสังคมเชิงบวก (Positive Social Sanctions) จะอยู่ในรูปของการให้การสนับสนุน
หรือการสร้างแรงจูงใจ หรือการให้รางวัล ฯลฯ แก่บุคคลและสังคม เพื่อให้ประพฤติปฏิบัติสอดคล้อง
กบั ปทสั ถาน (Norm) ของสงั คมในระดบั ชุมชนหรอื ในระดับสังคม
การลงโทษโดยสงั คมเชงิ ลบ (Negative Social Sanctions) จะอยู่ในรปู แบบของการใช้มาตรการ
ต่าง ๆ ในการจัดระเบียบสังคม เช่น การว่ากล่าวตักเตือน ซึ่งเป็นมาตรการขั้นต�่ำสุดเร่ือยไปจนถึง
การกดดนั และบบี คนั้ ทางจติ ใจ (Moral Coercion) การตอ่ ตา้ น (Resistance) และการประทว้ ง (Protest)
ในรปู แบบต่าง ๆ ไมว่ ่าจะโดยปัจเจกบุคคลหรือการชมุ นุมของมวลชน
การลงโทษทางสังคมทางลบ จะสร้างใหเ้ กิดการลงโทษตอ่ บุคคลที่ถกู กระท�ำ การลงโทษประเภท
นเ้ี ปน็ ลงโทษเพอ่ื ใหห้ ยดุ กระทำ� ในสงิ่ ทไี่ มถ่ กู ตอ้ ง และบคุ คลทถ่ี กู ลงโทษจะเกดิ การเขด็ หลาบ ไมก่ ลา้ ทจ่ี ะ
ท�ำในส่ิงน้ันอีก การลงโทษประเภทน้ีมีความรุนแรงแตกต่างกัน ตั้งแต่การว่ากล่าวตักเตือน การนินทา
การประจาน การชุมนุมขับไล่ ซึ่งเปน็ การแสดงออกถึงการไมท่ น ไม่ยอมรับต่อสงิ่ ทบี่ ุคคลอ่ืนได้กระทำ� ไป
ดังนั้น เมอื่ มใี ครท่ที ำ� พฤติกรรมเหลา่ นั้นขน้ึ จึงเปน็ การสรา้ งให้เกดิ ความไมพ่ อใจแกบ่ คุ คลรอบขา้ ง หรอื
สังคม จนน�ำไปสกู่ ารตอ่ ต้านดังกลา่ ว
การลงโทษทางสงั คมจะมคี วามรนุ แรงมากหรอื นอ้ ย กข็ น้ึ อยกู่ บั การกระทำ� ของบคุ คลนน้ั วา่ รา้ ยแรง
ขนาดไหน หากเปน็ เรอื่ งเลก็ นอ้ ยจะถกู ตอ่ ตา้ นนอ้ ย แตห่ ากเรอ่ื งนน้ั เปน็ เรอ่ื งรา้ ยแรง เรอ่ื งทเี่ กดิ ขนึ้ ประจำ�
หรอื มผี ลกระทบต่อสังคม การลงโทษก็จะมีความรุนแรงมากขึ้นด้วย เช่น หากมีการทจุ ริตเกิดข้ึนก็อาจ
น�ำไปเปน็ ประเดน็ ทางสังคมจนนำ� ไปส่กู ารต่อตา้ นจากสงั คมได้ เพราะการทจุ ริตถอื วา่ เปน็ สง่ิ ท่ีไม่ถกู ตอ้ ง
ผิดกฎหมาย และผิดต่อศีลธรรม บ่อยคร้ังท่ีมีการทุจริตเกิดข้ึนจนเป็นสาเหตุของการชุมนุมประท้วง
เพอ่ื กดดัน ขับไล่ใหบ้ ุคคลนัน้ หยุดการกระทำ� ดงั กลา่ ว หรอื การออกจากต�ำแหน่งนน้ั ๆ หรือการนำ� ไปสู่
การตรวจสอบและลงโทษโดยกฎหมาย โดยในหัวข้อสุดท้ายของชุดวิชานี้ ได้น�ำเสนอตัวอย่างท่ีได้
แสดงออกถึงความไม่ทนต่อการทุจริตท่ีมีการชุมนุมประท้วง บางเหตุการณ์ผู้ที่ถูกกล่าวหาได้ลาออก
จากต�ำแหน่ง ซ่งึ การลาออกจากต�ำแหน่งน้ันถือเปน็ ความรับผิดชอบอยา่ งหนงึ่ และเป็นการแสดงออกถึง
ความละอายในส่ิงท่ตี นเองไดก้ ระท�ำ
ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ 61
สลากสถานการณป์ ระกอบการทำากิจกรรม
“ทุจริตแคเ่ รือ่ งสมมติ ถ้าชว่ ยกันหยุดทัง้ สังคม”
๑. แจกเงนิ ซื้อเสยี งรายหวั - กล่มุ
เปน็ ปฏบิ ตั กิ ำรขนั้ สดุ ยอด (classic) โดยหวั คะแนนนำ� ไปแจกจำ่ ยใหป้ ระชำชนกอ่ นวนั เลอื กตงั้
รำคำค่ำหัวขึ้นอยู่กับพื้นที่และองค์กร เช่น อบต. หรือเทศบำลต�ำบล อำจแจกจ่ำยหัวละ
๑๐๐ - ๕๐๐ บำท เทศบำลใหญ่ อำจมรี ำคำหัวสูงถงึ ๑,๐๐๐ - ๒,๐๐๐ บำท ส่วนรำยกลุ่มนนั้
ประมำณกลุ่มละ ๒๐,๐๐๐ - ๓๐,๐๐๐ บำท (กลุ่มแม่บ้ำน กลุ่มอำชีพ กลุ่มเยำวชน) ปัจจุบัน
หัวคะแนน ๑ คน จะรับผิดชอบจ่ำยเงินให้ผู้มีสิทธิเลือกต้ัง ท่ีรู้จักคุ้นเคยและไว้ใจได้ประมำณ
๒๐ - ๕๐ คน เป็นกำรจ่ำยเงินเฉพำะกลุ่มแบบหวังผล ส่วนกำรจ่ำยเงิน แบบปูพรมให้แก่ทุกคน
ปจั จบุ นั เหลือนอ้ ย เน่อื งจำกเส่ียงทจ่ี ะถูกรอ้ งคัดคำ้ น
๒. จ้างเป็นผ้ชู ่วยหาเสียง/ตดิ ปา้ ย/แจกเอกสาร
เป็นวิธีกำรดูเหมือนจะไม่น่ำจะมีผลต่อกำรเลือกตั้ง แต่จริง ๆ เป็นไม้เด็ดอีกอย่ำงหนึ่ง
ที่น�ำมำใช้ เพรำะกำรจ้ำงแรงงำนดังกล่ำว มีกำรกระจำยกำรจ้ำงงำนจ้ำงคน เช่น จ้ำงติดป้ำย
หรือแจกใบปลิวหำเสียงหมู่บ้ำนละ ๒๐ คน ๆ ละ ๑๕๐ บำทต่อวัน ซึ่งกลุ่มคนท่ีถูกจ้ำง
พร้อมด้วยบุตร ภรรยำและญำติพี่น้อง ก็จะเทคะแนนให้ผู้จ้ำง เป็นกำรซ้ือเสียงทำงอ้อม
เพื่อหลกี เล่ยี งกฎหมำย
๓. พิมพผ์ ลงานเกา่ โชว์
วิธีกำรนี้ส่วนใหญ่จะเป็นกำรกระท�ำของผู้บริหำรท้องถ่ินกับทีมงำนที่ใกล้ครบวำระแล้ว
จะสมัครใหม่ โดยใช้งบประมำณหลวง (งบของท้องถ่ินในรูปแบบของโครงกำรหรือแผนงำน)
พมิ พเ์ ล่มรวมผลงำนเกำ่ ๔ ป ี หรือ ๘ ป ี หรือ ๑๐ ปี ยอ้ นหลัง (แล้วแตจ่ ะท�ำ) หรอื พมิ พ์ปฏทิ นิ
ของเทศบำล/อบต. โดยมีรูปภำพของตนเอง และหรือผลงำนเกำ่ ทเี่ คยท�ำมำ (เฉพำะทดี่ ี ๆ เด่น ๆ)
เพื่อให้ประชำชนเห็นเป็นท่ีประจักษ์ชัดแล้วน�ำเอำเอกสำร รวมผลงำนหรือปฏิทินไปแจกจ่ำย
ให้ประชำชนฟรี หวังสร้ำงคะแนนนิยม บำงคร้ังมีกำรจัดท�ำป้ำยขนำดใหญ่ ท่ีมีภำพของผู้บริหำร
ท้องถ่ินไปติดต้ังตำมสถำนท่ีต่ำง ๆ เช่น ป้ำยสวัสดีปีใหม่ ป้ำยแสดงควำมยินดีในวำระต่ำง ๆ
ปำ้ ยประชำสัมพันธ์ของทอ้ งถิ่น
62 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเติม การป้องกันการทุจริต”
๔. ใบปลวิ /ปลอ่ ยข่าวสกปรก
วิธีกำรแบบนี้น้�ำเน่ำท่ีสุดแต่ก็ได้ผลไม่น้อย เป็นกำรปล่อยข่ำวลือ ลวง ใส่ร้ำย หรือแฉ
เบอ้ื งหนำ้ เบอื้ งหลงั คแู่ ขง่ ขนั บำงทกี โ็ จมตกี ำรทำ� งำน หรอื กำรใสร่ ำ้ ยแบบไมม่ มี ลู (แบบหนำ้ ดำ้ น ๆ )
กำรโจมตีเรื่องส่วนตัว เช่น มีภรรยำหลำยคน ชอบเที่ยว ชอบเล่นกำรพนัน ส่วนใหญ่จะพิมพ์
แล้วถ่ำยเอกสำรโปรยตำมถนนหรือวำงในท่ีสำธำรณะในช่วงกลำงคืน หรือบำงคร้ังก็กระซิบ
ผำ่ นตัวผู้นำ� พูดต่อไปเรื่อย ๆ
๕. พาเท่ียว/ดูงาน
วิธีกำรนี้ส่วนใหญ่มำจำกนักกำรเมืองที่เป็นผู้บริหำรเก่ำ ใช้งบประมำณหลวงขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อจัดโครงกำรศึกษำดูงำนนอกพ้ืนที่ให้แก่กลุ่มแม่บ้ำน กลุ่มอำชีพ
กลุม่ ผู้สงู อำยุ กลุม่ เยำวชน แตจ่ รงิ ๆ แล้วไปเทีย่ วทะเล ภเู ขำ รสี อร์ทหรอื ล่องแก่ง กนิ เหลำ้ เมำ
ส�ำรำญ กินฟรีเท่ียวฟรี นอกจำกน้ียังแถมเงินสด ๆ ติดไม้ติดมือให้ด้วย ส่วนใหญ่จะจัดในช่วงที่
ใกล้ครบวำระกำรด�ำรงตำ� แหนง่ ของผูบ้ รหิ ำรท้องถ่ิน
๖. ซอ้ื ผแู้ ข่งขนั ไมใ่ หล้ งแขง่ /ไมใ่ หร้ ้องคดั คา้ น
ก่อนสมัครรับเลือกต้ังจะมีกำรตรวจสอบว่ำใครจะสมัครบ้ำง ถ้ำมีผู้เสนอตัวสมัครท่ีอำจ
ท�ำตนให้แพ้กำรเลือกตั้งได้ ก็จะมีกำรไปเจรจำจ่ำยเงินก้อนใหญ่เพื่อตัดคู่แข่ง ซึ่งลงทุนท่ีเดียว
ไม่ต้องล�ำบำก รำคำจ่ำย ก็แล้วแต่ต�ำแหน่งหรือพื้นที่ จำกหลักหมื่นถึงหลักล้ำนก็มี อีกอย่ำงหนึ่ง
ท่ีก�ำลังปรำกฏในขณะนี้คือ ผู้สมัครที่ชนะกำรเลือกตั้งจะไปเจรจำกับผู้ท่ีแพ้กำรเลือกต้ัง โดยยอม
จ่ำยเงินให้จ�ำนวนหน่ึงเพื่อไม่ให้ผู้สมัครที่แพ้กำรเลือกตั้งร้องคัดค้ำนผลกำรเลือกต้ัง ในกรณีน้ี
บำงแหง่ มกี ำรตกลงกนั ตงั้ แตช่ ว่ งกำรหำเสยี งวำ่ ใหท้ กุ คนใชย้ ทุ ธวธิ หี ำเสยี งไดท้ กุ รปู แบบ โดยไมต่ อ้ ง
รอ้ งคัดค้ำนกนั
ระดับชน้ั มัธยมศึกษำปที ่ ี ๖ 63
แบบประเมนิ ผลกิจกรรม
“ทุจริตแคเ่ ร่อื งสมมติ ถ้าช่วยกนั หยุดท้งั สงั คม”
ประเมินผลกจิ กรรมกลมุ่ ท.ี่ .........เร่อื ง.........................................................................ชัน้ ................
คาำ ชแี้ จง ท�ำเคร่อื งหมำย � ลงในชอ่ งว่ำงทต่ี รงกับควำมคดิ เหน็ ๓ หมำยถึง ปำนกลำง
เกณฑก ารประเมิน ๕ หมำยถึง ดีมำก ๔ หมำยถึง ด ี
๒ หมำยถึง พอใช้ ๑ หมำยถงึ ควรปรบั ปรงุ
ขอ้ ความ ระดบั การประเมิน
๕๔๓๒๑
เนอ้ื หา
๑. เลอื กใชก้ ระบวนกำรลงโทษทำงสังคมไดเ้ หมำะสม สอดคลอ้ งกบั
สถำนกำรณท์ ไ่ี ดร้ บั
๒. แสดงกระบวนกำรลงโทษทำงสงั คมไดเ้ ขำ้ ใจ เป็นขั้นตอน ชดั เจน
๓. แสดงให้เหน็ ถงึ ผลทตี่ ำมมำของกำรลงโทษทำงสงั คมต่อผทู้ ีท่ ุจริต
๔. แสดงใหเ้ ห็นถงึ ผลกระทบต่อผูท้ ่เี กยี่ วขอ้ ง
๕. แสดงใหเ้ หน็ ถึงควำมสมจรงิ ของบทบำททไ่ี ด้รับ
กระบวนการทาำ งาน
๖. วำงแผนบทบำทให้แก่สมำชิกในกลุม่ อยำ่ งเปน็ ระบบ
๗. สมำชกิ นอกกลุ่มมีส่วนร่วมในสถำนกำรณ์จำ� ลองของกลุ่ม
๘. สมำชกิ ทกุ คนมีสว่ นร่วมในกำรท�ำงำน
การนาำ เสนอ
๙. กำรแสดงน่ำสนใจ สมจริง สรำ้ งสรรค์
๑๐. รกั ษำเวลำในกำรแสดง
เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ
ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
๔๑ - ๕๐ ดมี ำก ลงช่ือ.................................................ครูผ้ปู ระเมิน
๓๑ - ๔๐ ดี (.................................................)
๒๑ - ๓๐ ปำนกลำง ................/................/...............
๑๑ - ๒๐ พอใช้
๑ - ๑๐ ปรับปรงุ
64 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพม่ิ เตมิ การปอ้ งกนั การทจุ ริต”
ใบกิจกรรมวางแผนการทำาโครงงาน
คณะทำ� งำนกลุ่มท่ี.............
หัวหน้ำโครงงำน: ......................................................................
รองหัวหน้ำโครงงำน : ...............................................................
เลขำนกุ ำร : ..............................................................................
ผ้ชู ว่ ยเลขำนกุ ำร: ......................................................................
สมำชกิ : ............................................................ สมำชิก: ............................................................
สมำชกิ : ............................................................ สมำชกิ : ............................................................
สมำชกิ : ............................................................ สมำชิก: ............................................................
ชอื่ โครงงาน
..................................................................................................................................................................
แนวคดิ /ทม่ี า/ความสาำ คญั
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
วตั ถปุ ระสงค์ของโครงงาน
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
เป้าหมายเชงิ ปรมิ าณ
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ระยะเวลาดาำ เนนิ งาน
..................................................................................................................................................................
ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษำปที ่ ี ๖ 65
สถานท่ีดำ�เนินงาน
..................................................................................................................................................................
แหล่งขอ้ มูลศกึ ษาค้นคว้า
..................................................................................................................................................................
ข้นั ตอนการดำ�เนินงาน
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
วสั ด/ุ อุปกรณ์
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
งบประมาณ
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
การติดตามและประเมนิ ผล
ที่ ตวั ช้ีวดั ความส�ำเรจ็ วธิ กี ารประเมิน เครือ่ งมือทใ่ี ช้ประเมนิ
ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ บั
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
66 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพมิ่ เตมิ การป้องกันการทุจริต”
แบบสังเกตพฤตกิ รรมคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
“มุง่ มน่ั ในการทำางาน”
คำาชี้แจง ท�ำเครอื่ งหมำย � ในช่องทต่ี รงกบั ควำมเป็นจรงิ ตำมเกณฑก์ ำรประเมนิ
เกณฑก์ ารประเมิน (ใชข้ อ้ มลู จำกกำรสังเกตตำมสภำพจริงของครผู ู้สอน)
เลขท่ี ชื่อ - สกุล ตั้งใจและรับผิดชอบ ทาำ งานดว้ ยความเพยี ร รวม
ในการปฏิบัติหน้าที่การงาน พยายาม และอดทนเพ่อื ให้
งานสาำ เรจ็ ตามเปา้ หมาย
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๘ คะแนน
๑
๒
๔
๔
๕
เกณฑ์การใช้คะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ
๔ คะแนน เทำ่ กับ ดีมำก
๓ คะแนน เทำ่ กบั ดี ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ
๒ คะแนน เท่ำกับ พอใช้
๑ คะแนน เท่ำกบั ปรับปรงุ ๗ - ๘ ดีมำก
๕ - ๖ ดี
๓ - ๔ พอใช้
๑ - ๒ ปรับปรุง
ลงชื่อ.................................................ครผู ูป้ ระเมนิ
(.................................................)
................/................/...............
ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษำปที ่ ี ๖ 67
แบบประเมนิ ผลงานแผนผังความคิด
คำาช้แี จง ท�ำเครอ่ื งหมำย � ในช่องคะแนนตำมเกณฑ์กำรประเมนิ
เลขท่ี ชือ่ - สกุล สรปุ ความรคู้ รบถ้วน เช่ือมโยงความรู้กบั รูปแบบเปน็ ไปตาม รวม
ถกู ตอ้ งทุกประเดน็ ประสบการณ์ของตน หลักการทาำ แผนผัง
ได้ถกู ต้องตามลาำ ดับ
ความคดิ
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑๒ คะแนน
๑
๒
๔
๔
๕
เกณฑ์การใชค้ ะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ
๔ คะแนน เทำ่ กับ ดีมำก
๓ คะแนน เท่ำกบั ดี ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
๒ คะแนน เท่ำกับ พอใช้
๑ คะแนน เทำ่ กับ ปรบั ปรุง ๑๐ - ๑๒ ดีมำก
๗ - ๙ ดี
๔ - ๖ พอใช้
๑ - ๓ ปรบั ปรงุ
ลงช่อื .................................................ครผู ้ปู ระเมนิ
(.................................................)
................/................/...............
68 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพ่มิ เติม การป้องกันการทจุ รติ ”
แบบประเมนิ การปฏิบัติงานโครงงาน
ประเมนิ ผลกิจกรรมกลมุ่ ท่.ี .........เรื่อง.........................................................................ชัน้ ................
คำาชแ้ี จง ทำ� เครอื่ งหมำย � ลงในช่องวำ่ งท่ตี รงกับควำมคดิ เหน็
ผปู้ ระเมิน ครู นกั เรยี น
เกณฑการประเมิน ๕ หมำยถงึ ดีมำก ๔ หมำยถึง ด ี ๓ หมำยถงึ ปำนกลำง
๒ หมำยถึง พอใช ้ ๑ หมำยถึง ควรปรับปรงุ
ข้อความ ระดับการประเมนิ
๕๔๓๒๑
เนือ้ หาของโครงงาน
๑. ควำมถูกตอ้ งสมบรู ณข์ องเนอ้ื หำ
๒. ควำมเหมำะสมในกำรใชแ้ นวคิด
๓. เลอื กใช้กิจกรรมได้เหมำะสม สอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค์
๔. เนอื้ หำมคี วำมนำ่ เชื่อถือ
๕. ข้อสรุปของโครงงำนบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ทต่ี ง้ั ไว้
กระบวนการทำางาน
๖. วำงแผนหนำ้ ท่สี มำชกิ ในกลมุ่ อย่ำงเป็นระบบ
๗. ด�ำเนินงำนตำมแผนท่วี ำงไว้
๘. สมำชิกทุกคนมีส่วนร่วมในกำรท�ำงำน
๙. ศกึ ษำคน้ คว้ำเพิม่ เตมิ เพอื่ ปรับปรุง/แกป้ ญั หำกำรดำ� เนนิ งำน
๑๐. มีกำรประเมนิ ผลกำรดำ� เนนิ งำน
การนำาเสนอโครงงาน
๑๑. สือ่ ควำมหมำย ไดช้ ดั เจน
๑๒. มกี ำรเตรยี มควำมพรอ้ ม
๑๓. รูปแบบกำรน�ำเสนอนำ่ สนใจ สร้ำงสรรค์
๑๔. มกี ำรสรปุ ที่ชดั เจน ตรงประเดน็
๑๕. รกั ษำเวลำในกำรน�ำเสนอ
เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ
ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ
๔๑ - ๕๐ ดมี ำก ลงชื่อ.................................................ครผู ้ปู ระเมิน
๓๑ - ๔๐ ดี (.................................................)
๒๑ - ๓๐ ปำนกลำง ................/................/...............
๑๑ - ๒๐ พอใช้
๑ - ๑๐ ปรบั ปรุง ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษำปีที ่ ๖ 69
หนว่ ยที่ ๓
STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทุจริต
แผนการจัดการเรียนรู้
หนว่ ยที่ ๓ ช่อื หนว่ ย STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทจุ ริต เวลา ๔ ช่ัวโมง
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรอื่ ง STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทุจริต
๑. ผลการเรียนรู้
มีความร้คู วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั STRONG : จิตพอเพยี งต้านทุจริต
๒. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๒.๑ นกั เรียนมีความรูค้ วามเขา้ ใจ เร่อื ง ความพอเพียงกบั การตา้ นทจุ รติ
๒.๒ นักเรียนสามารถประยกุ ตใ์ ช้ความพอเพยี งเพ่ือตา้ นทุจริต
๒.๓ ยกตวั อย่างเหตกุ ารณ์การใช้ความพอเพยี งต้านทจุ รติ ในชวี ิตประจำ� วนั ได้
๒.๔ นักเรียนมคี วามรคู้ วามเข้าใจเรอ่ื งความโปร่งใสกับการตา้ นการทจุ รติ
๒.๕ นกั เรยี นสามารถยกตวั อยา่ งเหตกุ ารณก์ ารใชค้ วามโปรง่ ใสตา้ นการทจุ รติ ในชวี ติ ประจำ� วนั ได้
๒.๖ นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั ิตนเป็นผูท้ ี่มีความโปรง่ ใสเพือ่ ตา้ นการทจุ ริตได้
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
๑) ความพอเพียงกับการตา้ นทุจริต
๒) การประยุกต์ใชค้ วามพอเพียงเพ่อื ต้านทุจริต
๓) เหตุการณก์ ารใช้ความพอเพยี งต้านทุจริต
๔) ความโปร่งใสกับการต่อต้านทุจรติ
๕) เหตกุ ารณ์การใชค้ วามโปร่งใสต้านทจุ ริต
๖) แนวการปฏิบัตติ นเปน็ ผทู้ ี่มคี วามโปรง่ ใสเพ่ือตา้ นทจุ ริต
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กดิ )
๑) ความสามารถในการคดิ
๒) ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
๓.๓ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์/ค่านยิ ม
๑) ซ่ือสัตย์ สุจริต
๒) อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
70 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกนั การทจุ รติ ”
๔. กิจกรรมการเรียนรู้
๔.๑ ขน้ั ตอนการเรียนรู้
ชัว่ โมงท่ี ๑
๑) นกั เรยี นดคู ลปิ วดิ โี อภาพยนตรส์ นั้ โรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. เรอื่ ง “เลอื ก” แลว้ ตอบคำ� ถาม
ตอ่ ไปนี้
- จากเรื่อง “เลอื ก” หลานทำ� พฤติกรรมใด เพราะเหตใุ ดหลานจึงท�ำเชน่ นนั้
- นกั เรยี นเหน็ ดว้ ยหรอื ไมก่ บั ความคดิ ของหลานทจี่ ะนำ� เงนิ ทไ่ี ดไ้ ปซอ้ื ขา้ วหรอื กลอ่ งดนิ สอ
- นกั เรยี นคิดว่า การท่ีหลานเลือกตดั สนิ ใจดังกลา่ วในตอนทา้ ยถกู ตอ้ งหรอื ไม่ อยา่ งไร
๒) แบง่ กลุ่มนกั เรยี น กลุ่มละ ๔ – ๕ คน จากนน้ั ใหน้ กั เรียนศกึ ษาใบความรู้ “ความพอเพยี ง
กบั การตา้ นทจุ รติ ” แลว้ ตอบคำ� ถามลงในใบงานเรอ่ื ง “ความพอเพยี ง ประสานเสยี งตา้ นทจุ รติ ” ๑๕ นาที
๓) นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั พจิ ารณาความถกู ตอ้ งของคำ� ตอบ จากนน้ั นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั
สรปุ ในประเด็น ความพอเพียงกบั การต้านทุจรติ
ชั่วโมงที่ ๒
๔) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันคิดการประยุกต์ใช้ความพอเพียงเพื่อต้านทุจริต โดยท�ำ
ลงในใบกิจกรรม เรื่อง “พอเพียงเรียนรู้ สู่การปฏิบัติ” ๑๕ นาที จากนั้นนักเรียนและครูร่วมกัน
สรุปองค์ความร้จู ากการทำ� ใบกจิ กรรม
๕) สมุ่ นกั เรยี น ๑ - ๒ คน ยกตวั อยา่ งเหตกุ ารณก์ ารใชค้ วามพอเพยี งตา้ นทจุ รติ ในชวี ติ ประจำ� วนั
นักเรียนและครรู ่วมกนั ตอบค�ำถามวา่ จากเหตุการณข์ า้ งตน้ เปน็ การต้านทุจรติ อย่างไร
๖) นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกนั ยกตวั อยา่ งเหตกุ ารณใ์ ชค้ วามพอเพยี งตา้ นทจุ รติ ในชวี ติ ประจำ� วนั
จากน้นั ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรปุ
ชัว่ โมงท่ี ๓
๗) ครูใหน้ กั เรียนดูคลปิ วิดโี อ เรอ่ื ง “หลักความโปร่งใส” https://www.youtube.com/
watch?v=AYI3oldTIHI แลว้ ตอบคำ� ถามต่อไปน้ี
- จากเร่ืองข้างต้น มปี ัญหาอะไรเกดิ ขนึ้
- ท�ำไมชาวบ้านถงึ ทำ� พฤตกิ รรมเช่นนั้น
- คณุ เกียรติและคณะ แกไ้ ขปญั หาน้อี ยา่ งไร
- นกั เรียนไดร้ บั ขอ้ คดิ อะไร
จากน้ันครแู ละนกั เรียนชว่ ยกนั สรปุ เน้อื หาจากการดคู ลิปวดิ โี อ
(แนวค�ำตอบ ชาวบ้านประท้วงการติดต้ังเสาไฟฟ้า ตัวแทนจาก กฟผ. จึงเข้ามาสร้าง
ความเขา้ ใจให้แกช่ าวบ้าน ดังน้นั ความโปร่งใส หมายถงึ การมองเหน็ ภาพโดยตลอดปราศจากประเด็น
แอบแฝง ซอ่ นเรน้ มขี อ้ มลู ชดั เจน ละเอยี ด ประกอบการประสานงาน การรว่ มมอื รว่ มใจและการตดั สนิ ใจ
ท�ำใหเ้ ราสบายใจและเข้าใจกันทุกฝ่าย)
ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ 71
ชัว่ โมงที่ ๔
๘) แบ่งกลุ่มนกั เรียน กลมุ่ ละ ๔ – ๕ คน จากนั้นครใู หน้ ักเรยี นดูคลปิ วิดีโอ เร่ือง “สโมสร
สุจริต ตอน บุคคลต้นแบบความโปร่งใส” ร่วมกันระดมความคิดว่าบุคคลต้นแบบความโปร่งใส
ต้องมคี ุณสมบัตอิ ยา่ งไร แลว้ น�ำเสนอหนา้ ช้นั เรยี น (ใหเ้ วลาในการนำ� เสนอ ๕ นาที)
๙) นักเรียนแต่ละกลุ่มท�ำแผนผังความคิด เรื่อง “จากแบบแผน สู่การปฏิบัติ” แล้วครู
และนักเรยี นชว่ ยกนั สรุป (ให้เวลาในการน�ำเสนอ ๑๐ นาที)
(แนวค�ำตอบ ตนเองต้องเป็นผู้มีคุณธรรม ยึดม่ันในระเบียบวินัย ถ้าเป็นหัวหน้า
ตอ้ งเปน็ แบบอยา่ งทด่ี แี กล่ กู นอ้ ง ถา้ เปน็ ลกู นอ้ งกป็ ฏบิ ตั ติ นใหถ้ กู ตอ้ ง ไมเ่ หน็ แกผ่ ลประโยชน์ ควรรกั องคก์ ร
และรักษาผลประโยชนข์ ององค์กร)
๔.๒ สอ่ื การเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้
๑) คลิปวดิ โี อภาพยนตร์ส้นั โรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. เร่อื ง “เลอื ก”
๒) ใบความรู้ “ความพอเพียงกบั การตา้ นการทุจริต”
๓) ใบงาน เรอื่ ง “ความพอเพยี ง ประสานเสียงตา้ นความทุจรติ ”
๔) ใบกิจกรรม เรอ่ื ง “พอเพียงเรยี นรู้ สู่การปฏิบตั ิ”
๕) คลปิ วิดโี อ เรือ่ ง “หลกั ความโปร่งใส”
๖) คลปิ วดิ ีโอ เรือ่ ง “สโมสรสจุ รติ ตอน บุคคลต้นแบบความโปร่งใส”
๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้
๕.๑ วธิ กี ารประเมนิ
๑) ตรวจใบงาน เรือ่ ง “ความพอเพยี ง ประสานเสยี งต้านความทจุ ริต”
๒) ตรวจใบกจิ กรรม เรื่อง “พอเพียงเรยี นรู้ สกู่ ารปฏบิ ัติ”
๓) ตรวจผลงานผงั ความคดิ เรือ่ ง “จากแบบแผน ส่กู ารปฏบิ ตั ิ”
๕.๒ เครือ่ งมอื ทใี่ ช้ในการประเมนิ
๑) แบบใหค้ ะแนนใบงานการเรยี นรู้ “ความพอเพยี ง ประสานเสียงต้านความทุจริต”
๒) แบบให้คะแนนใบงานกจิ กรรม “พอเพียงเรยี นรู้ สกู่ ารปฏบิ ัติ”
๓) แบบให้คะแนนผลงานผังความคิดเรือ่ ง “จากแบบแผน สกู่ ารปฏิบัต”ิ
๕.๓ เกณฑ์การตดั สิน
- ผา่ นเกณฑ์การประเมินไดค้ ะแนนระดับดีถือวา่ ผา่ น
- ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินพฤตกิ รรมระดับดถี ือว่าผา่ น
๖. บันทกึ หลงั สอน
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ลงชือ่ ..............................................ครผู ู้สอน
(..................................................)
72 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพิม่ เตมิ การป้องกนั การทุจริต”
๗. ภาคผนวก
ใบความรู้ “ความพอเพยี งกบั การต้านการทุจรติ ”
ความพอเพียง (sufficient)
พระราชดาำ รัสพระราชทานแกบ่ คุ คลตา่ ง ๆ ทีเ่ ขา้ เฝ้าฯ ถวายชยั มงคลเนือ่ งในโอกาสวันเฉลิม
พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย สวนจิตรลดาฯ พระราชวังดุสติ วนั ศุกร์ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑
“...ค�ำว่ำพอเพียง มีควำมหมำยกว้ำงออกไปอีก ไม่ได้หมำยถึงกำรมีพอส�ำหรับใช้ของตัวเอง
มคี วำมหมำยวำ่ พอม ี พอกิน พอมพี อกนิ น้ ี ถำ้ ใครได้มำอยู่ท่ีน ่ี ในศำลำนเี้ มอื่ ๒๔ ปี ๒๕๑๗ ถึง ๒๕๔๑
ก ็ ๒๔ ปใี ชไ่ หม วนั นนั้ ไดพ้ ดู ถงึ วำ่ เรำควรจะปฏบิ ตั ใิ หพ้ อมพี อกนิ พอม ี พอกนิ นก้ี แ็ ปลวำ่ เศรษฐกจิ พอเพยี ง
นั่นเองถ้ำแต่ละคนพอมี พอกินก็ใช้ได้ ยิ่งถ้ำทั้งประเทศพอมีพอกินก็ย่ิงดีและประเทศไทยก็เวลำน้ัน
กเ็ รมิ่ จะเปน็ ไมพ่ อม ี พอกนิ บำงคนกม็ มี ำก บำงคนกไ็ มม่ เี ลย สมยั กอ่ นนพี้ อมพี อกนิ มำสมยั นชี้ กั จะไมพ่ อมี
พอกิน จงึ ตอ้ งมีนโยบำยที่จะท�ำเศรษฐกจิ พอเพียง เพอ่ื ที่จะให้ทุกคนมีพอเพยี งได.้ ..”
“...ค�ำว่ำพอก็เพียง พอเพียงน้ีก็พอดังนั้นเอง คนเรำถ้ำพอในควำมต้องกำร ก็มีควำมโลภน้อย
เมื่อมีควำมโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย ถ้ำทุกประเทศใดมีควำมคิด อันน้ีไม่ใช่เศรษฐกิจมีควำม
คิดวำ่ ทำ� อะไร ต้องพอเพยี ง หมำยควำมวำ่ พอประมำณ ไม่สุดโตง่ ไมโ่ ลภอยำ่ งมำก คนเรำกอ็ ยเู่ ป็นสุข
พอเพียงนี้อำจจะมีมำก อำจจะมีของหรูหรำก็ได้ แต่ว่ำต้องไม่ไปเบียดเบียนคนอื่น ต้องให้พอประมำณ
พดู จำกพ็ อเพียง ท�ำอะไรกพ็ อเพียง ปฏบิ ตั ติ นกพ็ อเพยี ง…”
“...อย่ำงเคยพดู เหมือนกันว่ำ ทำ่ นทัง้ หลำยท่ีน่ังอยูต่ รงนี ้ ถำ้ ไมพ่ อเพียงคอื อยำกจะไปนั่งบนเก้ำอี้
ของผู้ที่อยู่ข้ำง ๆ อันนั้นไม่พอเพียงและท�ำไม่ได้ ถ้ำอยำกนั่งอย่ำงน้ันก็เดือดร้อนกันแน่เพรำะว่ำอึดอัด
จะทำ� ใหท้ ะเลำะกนั และเมอ่ื มกี ำรทะเลำะกนั กไ็ มม่ ปี ระโยชนเ์ ลย ฉะนน้ั ควรทจ่ี ะคดิ วำ่ ทำ� อะไรพอเพยี ง...”
“...ถ้ำใครมีควำมคิดอย่ำงหนึ่งและต้องกำรให้คนอ่ืนมีควำมคิดอย่ำงเดียวกับตัวซึ่งอำจจะไม่ถูก
อันนี้ก็ไม่พอเพียง กำรพอเพียงในควำมคิดก็คือแสดงควำมคิด ควำมเห็นของตัวและปล่อยให้อีกคน
พูดบ้ำง และมำพิจำรณำว่ำท่ีเขำพูดกับที่เรำพูด อันไหนพอเพียงอันไหนเข้ำเร่ือง ถ้ำไม่เข้ำเร่ืองก็แก้ไข
เพรำะว่ำถ้ำพูดกันโดยที่ไม่รู้เรื่องกัน ก็จะกลำยเป็นกำรทะเลำะ จำกกำรทะเลำะด้วยวำจำก็กลำยเป็น
กำรทะเลำะดว้ ยกำย ซง่ึ ในทสี่ ดุ กน็ �ำมำสู่ควำมเสยี หำย เสียหำยแก่คนสองคนท่ีเปน็ ตัวกำร เป็นตัวละคร
ท้ังสองคน ถ้ำเป็นหมู่ก็เลยเป็นกำรตีกันอย่ำงรุนแรง ซ่ึงจะท�ำให้คนอื่นอีกมำกเดือดร้อน ฉะนั้น
ควำมพอเพียงน้ีก็แปลวำ่ ควำมพอประมำณและควำมมเี หตุผล...”
ระดับชนั้ มัธยมศึกษำปีที ่ ๖ 73
ส�ำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ไดป้ ระมวลและกลนั่ กรองจาก
พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง และ
ขอพระราชทานพระบรมราชานญุ าตนำ� ไปเผยแพร่ ซง่ึ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช
ทรงพระกรณุ าปรบั ปรงุ แกไ้ ขและทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม พระราชทานพระบรมราชานญุ าต
ตามทขี่ อพระมหากรุณาโดยมีใจความว่า
“เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการด�ำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ
ตั้งแต่ ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ด�ำเนินไป
ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง
หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจ�ำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
พอสมควร ตอ่ การมผี ลกระทบใด ๆ อนั เกดิ จากการเปล่ียนแปลงท้ังภายนอกและภายใน ท้งั น้ี จะต้อง
อาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัด ระวังอย่างยิ่งในการน�ำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการ
วางแผนและการดำ� เนนิ การทุกข้นั ตอน และขณะเดยี วกนั จะตอ้ งเสรมิ สร้างพ้นื ฐานจติ ใจของคนในชาติ
คณุ ลกั ษณะทส่ี �ำคญั ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประกอบดว้ ย ๓ หว่ ง ๒ เงอื่ นไข คอื แนวทาง
การดำ� เนนิ ชวี ติ ใหอ้ ยบู่ นทางสายกลางตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพอ่ื พน้ จากภยั และวกิ ฤตกิ ารณ์
ต่าง ๆ ทีเ่ กิดขนึ้ กอ่ ให้เกดิ คุณภาพชีวติ ทด่ี ีอยา่ งมน่ั คงและย่ังยนื
• ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีต่อความจ�ำเป็นไม่มากเกินไป ไม่น้อยเกินไปและ
ต้องไมเ่ บียดเบยี นตนเองและผู้อืน่
• ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจด�ำเนินการเร่ืองต่าง ๆ อย่างมีเหตุผลตามหลัก
วชิ าการ หลกั กฎหมาย หลกั ศลี ธรรม จรยิ ธรรมและวฒั นธรรมทีด่ ีงาม คิดถึงปจั จัยท่เี กยี่ วขอ้ งอยา่ งถถี่ ว้ น
โดยคำ� นึงถงึ ผลทีค่ าดว่าจะเกิดข้นึ จากการกระท�ำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ
• มภี มู คิ มุ้ กนั ทด่ี ใี นตวั เอง หมายถงึ การเตรยี มตวั ใหพ้ รอ้ มรบั ผลกระทบและการเปลยี่ นแปลง
ด้านเศรษฐกิจ สังคม สง่ิ แวดลอ้ มทีจ่ ะเกิดขน้ึ เพอ่ื ใหส้ ามารถปรบั ตวั และรับมือไดอ้ ย่างทนั ท่วงที
เงอ่ื นไขในการตัดสินใจในการด�ำเนนิ กจิ กรรมต่าง ๆ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
๑. เง่ือนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เก่ียวกับวิชาการต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องรอบด้าน
ความรอบคอบท่ีจะน�ำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผนและ
ความระมัดระวังในการปฏิบตั ิ
๒. เงอื่ นไขคณุ ธรรม ทจี่ ะตอ้ งเสรมิ สรา้ ง ประกอบดว้ ย มคี วามตระหนกั ในคณุ ธรรม มคี วามซอ่ื สตั ย์
สุจริตและมีความอดทน มีความเพยี ร ใชส้ ติปญั ญาในการดำ� เนนิ ชวี ติ
74 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพิ่มเตมิ การป้องกันการทจุ ริต”
ท่มี า: สำ� นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
*หมายเหตุ ศึกษาขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ ศูนย์สถานศึกษาพอเพยี ง มูลนิธยิ วุ สถริ คุณ
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นแนวทางดำ� เนนิ ชีวิตทางสายกลาง การพง่ึ ตนเอง รจู้ กั ประมาณตน
อย่างมีเหตผุ ล อยู่บนพืน้ ฐานความรแู้ ละคณุ ธรรมในการพจิ ารณา ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งด�ำเนนิ การ
ไมไ่ ดเ้ ฉพาะเจาะจงในเรอื่ งของเศรษฐกจิ แตเ่ พยี งอยา่ งเดยี วแตย่ งั ครอบคลมุ ไปถงึ การดำ� เนนิ ชวี ติ ดา้ นอน่ื ๆ
ของมนษุ ยใ์ หอ้ ยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมไดอ้ ยา่ งปกตสิ ขุ อยา่ งเชน่ หากเรามคี วามพอเพยี ง เราจะไมท่ จุ รติ คดโกง
ไมล่ กั ขโมยของ เบียดเบียนผอู้ ืน่ ก็จะสง่ ผลใหผ้ ูอ้ ื่นไมเ่ ดอื ดรอ้ น สงั คมก็อยู่ได้อยา่ งปกตสิ ุข
ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ 75
การต้านการทุจรติ
การทุจรติ (Corruption) หมายถงึ การใช้อํานาจทไี่ ดม้ าหรือการใช้ทรัพยส์ นิ ทม่ี อี ยู่ในทางมชิ อบ
เพ่ือประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว เพื่อน คนรู้จัก หรือประโยชน์อ่ืนใดอันมิควรได้ ซ่ึงก่อให้เกิดความ
เสียหายต่อประโยชน์ของผู้อ่ืน การทุจริตอาจเกิดได้หลายลักษณะ เช่น การติดสินบนเจ้าพนักงาน
ดว้ ยการใหห้ รอื การรบั สนิ บน ทง้ั ทเี่ ปน็ เงนิ และสงิ่ ของ การมผี ลประโยชนท์ บ้ั ซอ้ น การฟอกเงนิ การยกั ยอก
การปกปิดขอ้ เท็จจริง การขัดขวางกระบวนการยุติธรรม เปน็ ต้น
บรษิ ทั และบรษิ ทั ยอ่ ยไดต้ ระหนกั และใหค้ วามสําคญั ในการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั ซง่ึ ทผ่ี า่ นมา
บริษัทได้กําหนด แนวทางในการประพฤติปฏิบัติที่เหมาะสมของ คณะกรรมการ ฝ่ายบริหาร และ
พนักงาน ในจรรยาบรรณทางธุรกิจและการกํากับดูแลกิจการ นอกจากนั้น บริษัทได้คํานึงถึงความเสีย
หายทจ่ี ะเกดิ จากการทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั จงึ ไดก้ ําหนดนโยบายตอ่ ตา้ นการทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั โดยหา้ มกรรมการ
ผบู้ รหิ าร พนกั งาน และลกู จา้ งของบรษิ ทั และบรษิ ทั ยอ่ ย กระทําการอนั ใดทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การทจุ รติ คอรปั ชนั่
ทกุ รูปแบบ เพอ่ื ประโยชน์ทางตรงหรอื ทางอ้อมตอ่ ตนเอง ครอบครวั เพอื่ น และคนรู้จัก ไมว่ ่าตนจะอยู่
ในฐานะผู้รับหรือผู้ให้ ท้ังที่เป็นตัวเงินหรือท่ีไม่เป็นตัวเงิน แก่หน่วยงานของรัฐ หรือหน่วยงานเอกชน
ทบ่ี รษิ ทั และบริษทั ย่อยได้ดําเนินธรุ กจิ หรอื ตดิ ต่อดว้ ย โดยมีแนวทางปฏบิ ัติ ดังนี้
๑. สรา้ งวฒั นธรรมองค์กรท่ีซอ่ื สตั ยแ์ ละยดึ ม่นั ในความเปน็ ธรรม
๒. ไมร่ ับสนิ บนหรอื ตดิ สนิ บน แกผ่ มู้ ีส่วนไดเ้ สยี ในเรื่องที่ตนทําหน้าทีร่ บั ผดิ ชอบ ทง้ั โดยตรงหรอื
โดยอ้อม เพื่อให้ได้มาซ่งึ ประโยชน์ในทางมชิ อบ
๓. ในการจดั ซอ้ื จดั จา้ ง/การจา่ ยคา่ คอมมชิ ชนั่ ตอ้ งดําเนนิ การผา่ นขน้ั ตอนตามระเบยี บของบรษิ ทั
มีความโปร่งใสสามารถตรวจสอบได้
๔. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ซึ่งอาจนํามาซ่ึงการทุจริตคอร์รัปชัน เช่น ไม่ถือหุ้น
ในบริษัทคู่แข่ง หลีกเล่ียงการใช้ข้อมูลภายใน เพ่ือประโยชน์ของตนในการซื้อ หรือขายหุ้นของบริษัท
หรอื ให้ข้อมลู ภายในแก่ผอู้ ื่น
๕. มีความรบั ผิดชอบต่อการจัดทํารายงานทางการเงินทม่ี ีความถกู ต้อง ครบถว้ น ตามมาตรฐาน
การบัญชีที่รับรอง ท่วั ไป
๖. จัดให้มีระบบการควบคุมภายในท่ีรัดกุมมีประสิทธิภาพ และมีการประเมินความเพียงพอ
ของระบบการควบคุมภายในทุกปี ทั้งน้ีบริษัทได้มีการว่าจ้างบริษัทภายนอก (Outsource) ทําหน้าท่ี
เป็นผู้ตรวจสอบภายใน เพ่ือประเมินความเสี่ยงและรายการท่ีผิดปกติ โดยจะนําเสนอผลการตรวจสอบ
ภายในตอ่ คณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อยทุก ๆ ๓ เดือน
๗. หากพบเห็นการกระทําท่ีเข้าข่ายการทุจริตท่ีมีผลเกี่ยวข้องกับบริษัทท้ังทางตรงหรือทางอ้อม
ควรแจ้งให้ประธาน เจ้าหน้าที่บริหารทราบทันที โดยบริษัทจะรักษาความลับของผู้แจ้งหรือร้องเรียน
การทุจริต เพื่อให้ทุกคนในองค์กรได้รับทราบนโยบายการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชัน บริษัทจะเผยแพร่
นโยบายดังกลา่ ว
76 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพม่ิ เติม การป้องกนั การทจุ รติ ”
ใบงาน เรื่อง “ความพอเพยี ง ประสานเสยี งต้านความทุจรติ ”
คำาชีแ้ จง ศกึ ษำใบควำมร ู้ เรอื่ ง ควำมพอเพยี งกับกำรตำ้ นทุจริต แล้วตอบคำ� ถำมต่อไปนี้
๑. ควำมพอเพยี ง หมำยถึง
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒. ๓ หว่ ง ๒ เงอื่ นไข คอื อะไร ประกอบดว้ ยอะไรบ้ำง จงอธิบำยพอสังเขป
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓. กำรตำ้ นทจุ ริต หมำยถึง
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔. จงบอกวธิ ีกำรต้ำนทจุ รติ มำกล่มุ ละ ๓ วธิ ี พรอ้ มอธิบำยพอสงั เขป
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
ชื่อกล่มุ ............................................
๑. ..........................................................................................ช้ัน........................เลขที.่ .................
๒. ..........................................................................................ชั้น........................เลขท่.ี .................
๓. ..........................................................................................ช้นั ........................เลขที.่ .................
๔. ..........................................................................................ชั้น........................เลขที่..................
๕. ..........................................................................................ชัน้ ........................เลขท.่ี .................
ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษำปที ี ่ ๖ 77
ใบกิจกรรม “พอเพยี งเรียนรู้ สกู่ ารปฏิบัติ”
คำาช้แี จง ใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั ระดมควำมคดิ จะนำ� หลกั ควำมพอเพยี งลงสกู่ ำรปฏบิ ตั ิ แลว้ เตมิ คำ� ลงในชอ่ งวำ่ ง
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
พอเพียงเรียนรู้
สู่การปฏิบตั ิ
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
ชอ่ื กลุ่ม............................................
๑. ..........................................................................................ชัน้ ........................เลขที่..................
๒. ..........................................................................................ช้ัน........................เลขท.่ี .................
๓. ..........................................................................................ชั้น........................เลขที่..................
๔. ..........................................................................................ช้ัน........................เลขท.ี่ .................
๕. ..........................................................................................ชน้ั ........................เลขที.่ .................
78 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพิม่ เติม การป้องกนั การทจุ ริต”
แบบใหค้ ะแนนใบงานและใบกจิ กรรม
ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ /............. กลมุ่ ท.ี่ ......................
รายการประเมนิ
ท่ี กลุม่ ท่ี ความถกู ตอ้ ง การสื่อสารชัดเจน มีความพรอ้ ม มีการใช้ รวม
ตรงตามประเดน็ เข้าใจง่าย ในการน�ำเสนอ กระบวนการกลมุ่
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑๖ คะแนน
๑
๒
๓
๔
๕
เกณฑก์ ารใช้คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ
๔ คะแนน เท่ากับ ดมี าก
๓ คะแนน เทา่ กับ ดี ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ
๒ คะแนน เท่ากับ พอใช้
๑ คะแนน เท่ากบั ปรับปรงุ ๑๓ - ๑๖ ดีมาก
๙ - ๑๒ ดี
๕ - ๘ พอใช้
๑ - ๔ ปรับปรุง
ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ 79
แบบประเมินผลงานแผนผงั ความคิด
เร่ือง “จากแบบแผน ส่กู ารปฏบิ ัต”ิ
คาำ ชีแ้ จง ท�ำเครอื่ งหมำย � ลงในชอ่ งคะแนนตำมเกณฑก์ ำรประเมิน
เลขที่ ชอื่ - สกุล สรปุ ความร้คู รบถว้ น เช่ือมโยงความรู้กับ รูปแบบเปน็ ไปตาม รวม
ถูกตอ้ งทุกประเด็น ประสบการณข์ องตน หลกั การทาำ แผนผัง
ไดถ้ กู ตอ้ งตามลาำ ดบั
ความคดิ
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑๒ คะแนน
๑
๒
๔
๔
๕
เกณฑก์ ารใช้คะแนน เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ
๔ คะแนน เท่ำกบั ดมี ำก
๓ คะแนน เทำ่ กับ ดี ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
๒ คะแนน เท่ำกบั พอใช้
๑ คะแนน เทำ่ กับ ปรบั ปรุง ๑๐ - ๑๒ ดีมำก
๗ - ๙ ดี
๔ - ๖ พอใช้
๑ - ๓ ปรบั ปรงุ
ลงชือ่ .................................................ครูผปู้ ระเมนิ
(.................................................)
................/................/...............
80 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพม่ิ เติม การป้องกนั การทจุ รติ ”
แผนการจัดการเรยี นรู้
หน่วยท่ี ๓ ช่อื หนว่ ย STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทจุ ริต
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เรือ่ ง จติ พอเพียงต้านทจุ ริต เวลา ๔ ช่วั โมง
๑. ผลการเรยี นรู้
ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ผู้ที่ STRONG : จติ พอเพยี งต้านทุจริต
๒. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๒.๑ นกั เรียนสามารถบอกวธิ กี ารต้านทุจริตได้
๒.๒ นักเรยี นสามารถสร้างจิตสำ� นึกของตนเพอื่ ตา้ นทุจริตได้
๒.๓ นักเรยี นมีความรูค้ วามเข้าใจเกยี่ วกบั การต้านทจุ รติ
๒.๔ นกั เรยี นสามารถบอกผลกระทบทเี่ กิดขึ้นจากการทุจรติ ได้
๒.๕ นักเรยี นสามารถบอกแนวทางการป้องกนั การทจุ ริตได้
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
๑) วิธีการต้านทุจรติ
๒) การสรา้ งจติ ส�ำนึกของตนเพื่อต่อตา้ นทุจรติ
๓) ความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกับต้านทุจริต
๔) ผลกระทบทเี่ กิดขึ้นจากตา้ นทุจริต
๕) แนวทางการปอ้ งกันทจุ ริต
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะท่เี กิด)
๑) ความสามารถในการคดิ
๒) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
๓.๓ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค/์ คา่ นยิ ม
- ซือ่ สตั ย์ สจุ ริต
๔. กจิ กรรมการเรียนรู้
๔.๑ ขน้ั ตอนการเรยี นรู้
ชว่ั โมงท่ี ๑
๑) ครูให้นักเรียนดูคลิปวิดีโอแอนิเมชันต่อต้านทุจริต เรื่อง “ส�ำนึก” (https://www.
youtube.com/watch?v=R-8fPPt1o-c) แล้วให้นกั เรียนตอบคำ� ถามต่อไปน้ี
- นายประชากระทำ� ผดิ อะไรบา้ ง
- การทพ่ี ทิ ักษ์ไม่บอกความจรงิ เรอื่ งพอ่ นกั เรยี นคิดวา่ เปน็ การกระทำ� ทถ่ี ูกต้อง
- ผลจากการท่นี ายประชาเจอยมทตู เป็นอย่างไร
ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ 81
- ในตอนทา้ ยของเร่อื ง นายประชา ส�ำนึกได้หรอื ไม่ อย่างไร
จากนัน้ ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรุปเนอ้ื หาจากการชมวดิ ีโอ
(แนวคำ� ตอบ นายประชา นายกรฐั มนตรที มี่ ชี อ่ื เสยี ง เมอื่ ตอนมชี วี ติ เขาไดท้ จุ รติ ตอ่ หนา้ ที่
รบั สนิ บน ซื้ออำ� นาจ เพอ่ื ให้ตนเองสบาย พอฟ้นื มาอกี ครง้ั ก็สำ� นกึ ผิดและพร้อมรับโทษตามกฎหมาย)
๒) ครูน�ำสนทนาเก่ียวกับการต้านทุจริตในปัจจุบัน จากนั้นครูให้นักเรียนดูวีดิทัศน์
เร่ือง “รณรงค์ต้านทุจริตคอร์รัปชัน” (https://www.youtube.com/watch?v=ms9EYGsI8Zk)
แลว้ ตอบค�ำถามว่า จากวิดโี อขา้ งต้นมกี ารทจุ ริตเรอ่ื งใดบ้าง
คำ� ถามทค่ี รนู �ำสนทนา
- นักเรยี นคิดว่า การทุจรติ เป็นปัญหาส�ำคัญหรือไม่
- นกั เรยี นยกตวั อย่างปญั หาการทจุ ริตมา ๑ ปัญหา พร้อมเสนอแนะวิธีการแก้ไข
๓) ครใู หน้ กั เรยี นชว่ ยกนั เขียนค�ำขวญั รณรงค์การสร้างจติ สำ� นึกของตนเพื่อตา้ นทุจรติ
(แนวค�ำตอบ เยาวชนรุ่นใหม่ สร้างเสริมใส่ใจ ต้านภัยทุจริต/ร่วมส�ำนึก ผนึกหัวใจ
ตา้ นภัยทุจริต)
๔) แบง่ กลุ่มนกั เรียน ออกเป็นกลมุ่ ละ ๔ - ๕ คน แลว้ ชว่ ยกันหาขา่ วเกยี่ วกับการต้านทุจริต
ในสังคมเพื่อใชใ้ นการเรยี นการสอนครัง้ ตอ่ ไป
ช่ัวโมงท่ี ๒
๕) แบ่งกลุ่มนกั เรียน กล่มุ ละ ๔ - ๕ คน รว่ มกันวิเคราะหข์ ่าวที่ไปค้นคว้าจากชั่วโมงท่ีแล้ว
จากนัน้ ช่วยกันเขยี นแผนผงั ความคดิ จากขอ้ มูลทไี่ ด้ลงกระดาษฟลปิ ชารท์ ในประเด็นตอ่ ไปน้ี
- ลกั ษณะของปัญหา
- ผลกระทบทีเ่ กดิ ข้ึน
- ผู้ได้รบั ผลกระทบ
- แนวทางการแก้ไขปญั หา
- การสร้างจิตส�ำนึกของตนเพือ่ ตอ่ ตา้ นการทุจรติ
๖) ตวั แทนนกั เรยี นนำ� เสนอแผนผงั ความคดิ หนา้ ชนั้ เรยี น จากนนั้ ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ
ชว่ั โมงท่ี ๓
๗) ครูน�ำสนทนาเก่ียวกับการทุจริตในสังคมไทย จากนั้นครูสุ่มนักเรียน ๑ - ๒ คน
ตอบค�ำถามว่า จากส่อื สังคมปจั จบุ นั มีข่าวการทุจริตอยา่ งไรบา้ ง
๘) ครใู หน้ ักเรยี นดูคลิปวิดีโอ “Animation Anti-Corruption by KPI ๒ - ๓” (https://
www.youtube.com/watch?v=5sshzqeFBI๐) จากนั้นครูให้นกั เรยี นตอบค�ำถามต่อไปนี้
- นักเรยี นได้รับความรู้อะไรบ้างจากการชมคลปิ วดิ โี อ
- นกั เรียนคิดวา่ การตอ่ ตา้ นและป้องกนั การทจุ รติ มีความสำ� คญั หรือไม่ อย่างไร
ชั่วโมงที่ ๔
๙) แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๔ - ๕ คน ระดมความคิดในประเด็น ปัญหา
การทุจรติ ผลกระทบ และแนวทางการปอ้ งกันการทจุ รติ แลว้ ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรปุ ลงในตาราง
82 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพิ่มเติม การป้องกันการทุจริต”
ปญั หาการทจุ รติ ทพี่ บ ผลกระทบท่เี กดิ ขนึ้ ผไู้ ดร้ บั ผลกระทบ แนวทางการป้องกัน
การทุจรติ
๑๐) นักเรียนแต่ละกลุ่มน�ำเสนอผลการระดมความคิดในข้อ ๓ และน�ำผลงานไปติดท่ี
ปา้ ยนิเทศหนา้ โรงเรียน เพอื่ เผยแพรใ่ ห้นกั เรียนและผูป้ กครองได้เรียนรู้
๔.๒ สอ่ื การเรียนร/ู้ แหลง่ การเรียนรู้
๑) คลปิ วิดีโอแอนิเมชันตอ่ ตา้ นการทจุ ริต เรอ่ื ง “สำ� นึก”
๒) คลปิ วดิ ีโอ เรื่อง “รณรงค์ตา้ นทจุ ริตคอรัปชัน”
๓) ค�ำขวญั รณรงคก์ ารสรา้ งจิตส�ำนึกของตนเพ่ือตอ่ ต้านการทจุ รติ
๔) แผนผังความคดิ ในกระดาษฟลิปชารท์
๕) คลิปวิดโี อ เร่ือง “Animation Anti - Corruption by KPI ๒ - ๓”
๖) ปา้ ยนเิ ทศหนา้ โรงเรียน
๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๕.๑ วธิ ีการประเมิน
๑) ตรวจสอบผลงานการเขยี นคำ� ขวัญ
๒) ตรวจสอบผลงานแผนผงั ความคดิ
๕.๒ เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการประเมนิ
๑) แบบประเมนิ ผลงานการเขียนคำ� ขวัญ
๒) แบบประเมินผลงานผังความคิด
๓) แบบประเมนิ การระดมความคดิ
๕.๓ เกณฑก์ ารตัดสนิ
- ผ่านเกณฑ์การประเมินไดร้ ะดับดีถือวา่ ผา่ น
- ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ พฤตกิ รรมระดบั ดถี อื วา่ ผา่ น
๖. บนั ทึกหลังสอน
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ลงช่อื ..............................................ครผู ู้สอน
(..................................................)
ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๖ 83
๗. ภาคผนวก
แบบประเมินผลงานแผนผงั ความคิด
คาำ ช้แี จง ท�ำเครอื่ งหมำย � ลงในช่องคะแนนตำมเกณฑ์กำรประเมนิ
เลขที่ ชอ่ื - สกลุ สรุปความรคู้ รบถว้ น เชอื่ มโยงความรกู้ ับ รปู แบบเป็นไปตาม รวม
ถกู ตอ้ งทุกประเดน็ ประสบการณ์ของตน หลักการทำาแผนผัง
ได้ถูกตอ้ งตามลาำ ดับ
ความคดิ
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑๒ คะแนน
๑
๒
๔
๔
๕
เกณฑ์การใชค้ ะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
๔ คะแนน เทำ่ กบั ดีมำก
๓ คะแนน เทำ่ กับ ดี ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
๒ คะแนน เท่ำกับ พอใช้
๑ คะแนน เท่ำกบั ปรบั ปรุง ๑๐ - ๑๒ ดีมำก
๗ - ๙ ดี
๔ - ๖ พอใช้
๑ - ๓ ปรบั ปรุง
ลงชือ่ .................................................ครูผปู้ ระเมิน
(.................................................)
................/................/...............
84 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพิ่มเติม การป้องกนั การทจุ รติ ”
แบบประเมนิ ผลงานการเขียนค�ำ ขวัญ
กลุ่มที่..............................เร่ือง...................................................................................................................
วนั ท.่ี ..........................................................................................................................................................
ค�ำชแ้ี จง ใหผ้ สู้ อนประเมนิ ผลงานการเขยี นคำ� ขวญั ของนกั เรยี นตามรายการทกี่ ำ� หนด แลว้ ทำ� เครอื่ งหมาย
� ลงในช่องทตี่ รงกบั ระดบั คะแนน
ที่ รายการ คะแนน ผลการตัดสิน
เต็ม ได้ ผ่าน ไมผ่ า่ น
๑ ความถกู ต้องสมบูรณ์ของเน้อื หา ๔
๒ การเรยี บเรยี งภาษา กะทัดรัด เขา้ ใจง่าย ๔
๓ ใหแ้ นวคดิ ทีส่ อดคลอ้ งกบั เรื่องท่ีเขียน ๔
๔ ความคิดสร้างสรรค์ ค�ำขวญั ๔
๕ รปู แบบการนำ� เสนอน่าสนใจ ๔
๒๐
รวม
รายชอื่ สมาชิก
๑. .................................................................................................................................................
๒. .................................................................................................................................................
๓. .................................................................................................................................................
๔. .................................................................................................................................................
๕. .................................................................................................................................................
เกณฑก์ ารใชค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ
ผลงานหรือพฤตกิ รรมสมบรู ณช์ ดั เจน ให ้ ๔ คะแนน
ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมขี อ้ บกพรอ่ งบางสว่ น ให้ ๓ คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
ผลงานหรอื พฤติกรรมมขี ้อบกพร่องเป็นสว่ นใหญ ่ ให้ ๒ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก
ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมขี ้อบกพร่องมาก ให้ ๑ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี
๑๐ - ๑๓ พอใช้
ตำ�่ กว่า ๑๐ ปรับปรุง
ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ 85
แบบประเมนิ ผลการระดมความคดิ
“ปญั หาการทุจริต ผลกระทบและแนวทางการปอ้ งกนั การทุจรติ ”
คำาชี้แจง ทำ� เครือ่ งหมำย � ลงในช่องคะแนนตำมเกณฑก์ ำรประเมนิ
กล่มุ ชือ่ - สกุล สมาชกิ ทุกคนในกลุม่ มกี ารกลนั่ กรอง ข้อสรุปของกลมุ่ รวม
ท่ี รว่ มแสดง ความคิดรว่ มกนั เหมาะสม แสดงให้
ความคดิ เหน็ โดยยึดหลักเหตุ เหน็ ถงึ การละอาย
อย่างหลากหลาย และผล และไม่ทนต่อ
๔๓๒๑ ๔๓๒๑ การทจุ รติ ในการสอบ
๔ ๓ ๒ ๑ ๑๒ คะแนน
๑ ๑)
๒)
๓)
๔)
๕)
๒
เกณฑ์การใช้คะแนน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ
๔ คะแนน เท่ำกับ ดมี ำก
๓ คะแนน เท่ำกับ ดี ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ
๒ คะแนน เท่ำกับ พอใช้
๑ คะแนน เท่ำกับ ปรับปรุง ๑๐ - ๑๒ ดีมำก
๗ - ๙ ดี
๔ - ๖ พอใช้
๑ - ๓ ปรับปรงุ
ลงช่ือ.................................................ครูผ้ปู ระเมิน
(.................................................)
................/................/...............
86 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพมิ่ เตมิ การป้องกันการทุจริต”
หนว่ ยท่ี ๔
พลเมืองกับความรบั ผิดชอบต่อสังคม
แผนการจัดการเรยี นรู้
หนว่ ยที่ ๔ ชอื่ หนว่ ย พลเมืองกบั ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม เวลา ๓ ชว่ั โมง
ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๖
แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๑ เรอ่ื ง ความเปน็ พลเมืองไทยกบั ความเปน็ พลเมอื งโลก
๑. ผลการเรียนรู้
๑) มคี วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกบั พลเมืองและมีความรับผดิ ชอบต่อสังคม
๒) ปฏบิ ตั ิตนตามหนา้ ท่ีพลเมอื งและมีความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม
๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
๑) นักเรียนสามารถอธิบายเก่ยี วกบั การละเมิดสทิ ธิและหน้าที่ของพลเมืองได้
๒) นกั เรยี นสามารถวเิ คราะหส์ ถานการณก์ ารทจุ รติ จากการละเมดิ สทิ ธหิ นา้ ทข่ี องตนเองและผอู้ น่ื ได้
๓) นกั เรยี นสามารถบอกแนวทางในการแกป้ ญั หาการละเมดิ สทิ ธิหนา้ ท่ตี ่อตนเองและผู้อ่ืนได้
๔) นักเรียนสามารถยกตวั อยา่ งพฤตกิ รรมทแี่ สดงถงึ การเคารพสิทธหิ น้าทตี่ อ่ ตนเองและผอู้ นื่ ได้
๕) นักเรยี นสามารถปฏบิ ตั ิตนในการเคารพสทิ ธิหน้าทต่ี อ่ ตนเองและผู้อน่ื ได้
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
๑) การละเมิดสิทธิและหนา้ ที่ของพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย
๒) แนวทางในการแก้ปัญหาการละเมิดสิทธิหนา้ ทตี่ อ่ ตนเองและผ้อู นื่
๓) แนวทางการปฏิบตั ติ นในการเคารพสิทธิของตนเองและผอู้ ่นื
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะที่เกดิ )
๑) ความสามารถในการส่ือสาร
- การฟัง พดู เขียน
๒) ความสามารถในการคดิ
- การคิดวิเคราะห์ การคิดสงั เคราะห์ การคดิ เปน็ ระบบ และการคดิ อยา่ งสร้างสรรค์
๓) ความสามารถในการแกป้ ัญหา
- การแกป้ ญั หาและอปุ สรรคอยา่ งมเี หตผุ ล และความเขา้ ใจความสมั พนั ธแ์ ละเหตกุ ารณ์
ต่าง ๆ ในสงั คม
๔) ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
- การทำ� งานกล่มุ
ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๖ 87
๓.๓ คุณลักษณะอันพึงประสงค/์ ค่านยิ ม
คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
- ม่งุ มัน่ ในการทำ� งาน
๔. กจิ กรรมการเรียนรู้
๔.๑ ขั้นตอนการเรยี นรู้
ช่ัวโมงที่ ๑
๑. นกั เรียนดรู ปู ภาพตอ่ ไปนแ้ี ล้วรว่ มกันตอบคำ� ถาม
(ภาพชาวเขา ผู้ล้ีภัยชาวต่างชาติ ผู้นับถือศาสนาต่าง ๆ ผู้ชาย ผู้หญิง เด็ก ผู้สูงอายุ
นกั ธรุ กจิ คนพกิ าร ขอทาน เดก็ ด้อยโอกาส)
ค�ำถาม
๑.๑ เราแตกต่างกันอยา่ งไร
(แนวค�ำตอบ ชาติพนั ธ์ุ ถิน่ ท่อี ยู่ ศาสนา คา่ นยิ ม ความเชอ่ื เพศ วยั ฐานะทางสงั คม
การศกึ ษา อาชพี ความเปน็ อยู่ ภาษา ฯลฯ)
๑.๒ เรารับรู้ถึงความแตกต่างได้อย่างไร
(แนวค�ำตอบ ลักษณะทางกายภาพ การแสดงออกทางพฤติกรรม ความเป็นอยู่
การใช้ชวี ติ )
๑.๓ เรารสู้ กึ อย่างไรตอ่ ความแตกต่าง
(พจิ ารณาตามคำ� ตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ยู่ในดลุ ยพนิ จิ ของครผู สู้ อน)
๑.๔ ความรู้สกึ ที่เรามีต่อความแตกต่างทำ� ใหผ้ ู้อน่ื รู้สึกอยา่ งไร
(พจิ ารณาตามคำ� ตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)
๒. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายถึง การปฏบิ ัตติ นหรือพฤติกรรมท่เี กดิ ข้นึ เมอื่ เรารูส้ ึกถงึ
ความแตกตา่ ง (แนวค�ำตอบ หลกี หนี เพกิ เฉย ชว่ ยเหลือ ชืน่ ชม รังเกียจ รงั แก ฯลฯ)
๓. นักเรียนร่วมกันพิจารณาความหมายของค�ำศัพท์ต่อไปนี้ และร่วมกันส�ำรวจว่าตนเอง
เคยมีพฤติกรรมเหลา่ น้ีหรือไม่
- การรบั รูท้ มี่ ีมากอ่ น
(การทำ� ความเขา้ ใจส่ิงแวดลอ้ มผา่ นประสาทสมั ผสั ประสบการณ์เดิม)
- การตดั สนิ คณุ ค่า
(การพจิ ารณาวา่ สง่ิ ใดดี ไมด่ ี ควร ไม่ควร)
- อคติ
(ความไมเ่ ที่ยงธรรม ความลำ� เอยี ง)
- การเหมารวม
(คตินิยมหรือทัศนคติของสงั คมทัว่ ไปทม่ี ีต่อกลุ่มคนอื่น ชาติอื่น)
- อคติทางวัฒนธรรม
(การแบ่งแยกทางวัฒนธรรม)
88 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพ่ิมเติม การป้องกันการทจุ รติ ”
- การขาดความอดทนอดกล้นั
(การไม่สามารถรักษาปกติภาวะต่อสง่ิ ทีต่ นเองไมพ่ อใจได้)
- การทำ� ใหก้ ลายเป็นกล่มุ อืน่
(การผลักดนั ใหผ้ ู้อ่นื ทแ่ี ตกต่างเปน็ บุคคลท่ีอยู่นอกกลุ่ม)
จากนนั้ ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั วเิ คราะหผ์ ลกระทบจากการมพี ฤตกิ รรมตามคำ� ศพั ทข์ า้ งตน้
(ความขดั แยง้ การเบียดเบยี น การเอารัดเอาเปรียบ ฯลฯ)
๔. นักเรยี นวิเคราะหค์ วามจำ� เปน็ ในการปฏบิ ัติตนเพื่ออาศยั อยรู่ ่วมกัน การพงึ่ พาอาศัยกัน
และการรว่ มมือกันในสังคม
(แนวค�ำตอบประโยชนต์ อ่ ตนเอง : ทำ� ให้อย่ใู นสังคมอยา่ งมคี วามสขุ และรู้สึกปลอดภยั
จากอนั ตรายตา่ ง ๆ มผี คู้ อยใหค้ วามชว่ ยเหลอื เมอื่ ตกยาก หรอื ประสบกบั ความยากลำ� บากจากเหตกุ ารณ์
ตา่ ง ๆ และทำ� ให้ไมร่ ูส้ กึ โดดเดี่ยว หรือไร้ทีพ่ ่งึ เม่ือเจอปญั หา ประสบความสำ� เรจ็ ในการประกอบหนา้ ท่ี
การงาน เพราะได้รบั ความชว่ ยเหลือเก้ือกลู จากบคุ คลรอบขา้ ง
ประโยชนต์ อ่ สงั คมและประเทศชาติ : สงั คมเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ยและสงบสขุ ปราศจาก
ปัญหาความแตกแยกขัดแย้งใด ๆ เกิดการพัฒนาที่รวดเร็วและย่ังยืน เพราะความสงบสุขในสังคม
จะกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การลงทนุ ทางเศรษฐกจิ ทำ� ใหป้ ระเทศชาตมิ รี ายไดเ้ พมิ่ ขนึ้ เพยี งพอตอ่ การนำ� มาปรบั ปรงุ
โครงสรา้ งทางสงั คมใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ และพรอ้ มรบั มอื กบั ความเสยี่ งหรอื การเปลย่ี นแปลงของสถานการณ์
ความสุขของคนในชาติเพ่ิมมากข้ึน เพราะมีความอยู่ดีกินดี รู้สึกปลอดภัยในการด�ำเนินชีวิต มีหน้าที่
การงานและรายได้ทีม่ ่นั คง)
๕. ครูอธิบายความหมายของสิทธิมนุษยชน และหน้าท่ีพลเมือง จากน้ันแบ่งนักเรียน
ออกเป็นกลุ่ม ๓ - ๔ กลุ่มแล้วให้นักเรียนเลือกบัตรค�ำพร้อมค�ำอธิบายด้านหลังเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
และหน้าที่ของพลเมอื ง ดังต่อไปนี้ คนละ ๑ บตั รคำ�
สทิ ธเิ สรภี าพในชีวิตและรา่ งกาย สิทธิในการร้ือฟ้นื คดีอาญา
สิทธิของผ้บู รโิ ภค สิทธิในการเขา้ ร่วมพิธกี รรมและประเพณี
สิทธแิ รงงาน สทิ ธคิ วามหลากหลายทางเพศ
สทิ ธสิ ตร ี สทิ ธิของผลู้ ี้ภัย
หนา้ ทีใ่ นการป้องกนั ชาติบา้ นเมอื ง หน้าที่ในการเคารพและปฏบิ ัตติ ามกฎหมายบา้ นเมอื ง
หนา้ ทใ่ี นการช่วยเหลือราชการตามกฎหมาย หนา้ ทีใ่ นการรับราชการทหาร
หน้าที่ในการเสยี ภาษีอากรตามกฎหมาย หนา้ ทใ่ี นการเข้ารับการศกึ ษาภาคบังคับ
หนา้ ทใี่ นการใช้สทิ ธิเลอื กตัง้ โดยสุจรติ
หน้าทธ่ี ำ� รงรักษาไว้ซ่งึ ความมนั่ คงของชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ แ์ ละ
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ เ์ ป็นประมขุ
ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ 89
๖. นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มศึกษาข้อความอธิบายด้านหลังบัตรค�ำของตนเอง จากนั้น
ให้นักเรียนยกตัวอย่างเหตุการณ์จากข่าว หรือชีวิตประจ�ำวันท่ีเป็นการละเมิดสิทธิและหน้าที่
ตามบัตรค�ำ คนละ ๑ เหตุการณ์ จนครบสมาชิกทุกคนในแต่ละกลุ่ม แล้วร่วมกันแสดงความคิดเห็น
เก่ียวกับการละเมดิ สิทธิและหนา้ ท่ีดังกลา่ ว
๗. ครอู ธบิ ายหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การปอ้ งกนั การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน จากนน้ั ใหน้ กั เรยี น
ยกตวั อยา่ งบตั รค�ำทีเ่ ก่ียวข้องหนว่ ยงาน
ชั่วโมงที่ ๒
๘. แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น ๔ กลมุ่ และศึกษาข่าว/สถานการณก์ ารทุจรติ ในกรณดี งั ตอ่ ไปนี้
ก. กรณีนมโรงเรยี นบดู
ข. กรณีสมารท์ การด์
ค. กรณีอมเงนิ ช่วยเหลอื นำ�้ ทว่ ม
ง. กรณีใบอนญุ าตซานตกิ า
๙. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายภายในกลุ่มโดยให้นักเรียนทุกคน ผลัดกันอภิปราย จ�ำนวน
๓ รอบ ดังนี้
รอบท่ี ๑ บอกความคดิ เหน็ ของนักเรยี นท่ีมีตอ่ สถานการณ/์ ข่าว
รอบท่ี ๒ การรบั ร/ู้ ความรสู้ กึ /หลกั คดิ อะไรทที่ ำ� ใหบ้ คุ คลในขา่ วกระทำ� ในลกั ษณะดงั กลา่ ว
รอบที่ ๓ บคุ คลทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบคอื ใคร และรสู้ กึ อยา่ งไรตอ่ การกระทำ� ของบคุ คลตามขา่ ว
๑๐. นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์ว่าสถานการณ์การทุจริตต่อไปนี้เกิดจากการละเมิดสิทธิ
มนษุ ยชนอยา่ งไร ผลทเี่ กดิ ขน้ึ จากการละเมดิ คอื อะไร และมแี นวทางในการแกป้ ญั หาอยา่ งไร ทง้ั ในระดบั
ตนเองและระดบั รฐั เขยี นคำ� ตอบลงในกระดาษฟลปิ ชารท์ จากนนั้ กลมุ่ นำ� เสนอตวั แทนใหเ้ พอ่ื นรว่ มหอ้ งฟงั
ช่ัวโมงที่ ๓
๑๑. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั วเิ คราะหค์ วามสำ� คญั ของการแกป้ ญั หาจากระดบั ตนเองทม่ี ผี ลตอ่
การเปล่ียนแปลงในภาพรวมของสังคม
๑๒. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นำ� เสนอแนวทางปฏบิ ตั ติ นในชวี ติ ประจำ� วนั อย่างไร ทส่ี ง่ เสรมิ การอยู่
รว่ มกนั ในสงั คมทม่ี คี วามหลากหลาย ดว้ ยการเคารพสทิ ธหิ นา้ ทตี่ อ่ ตนเองและผอู้ นื่ ในสงั คม โดยเขยี นตอบ
ลงในกระดาษฟลิปชารท์
๑๓. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มผลัดกันตรวจค�ำตอบของเพื่อนกลุ่มอ่ืน ๆ โดยผลัดกันรอบละ
๒ - ๓ นาที จากน้ันให้นักเรียนกลับเข้ากลุ่มตนเองศึกษาใบความรู้ เร่ือง การเคารพสิทธิและเสรีภาพ
ของตนเองและผอู้ น่ื และรว่ มกนั สรปุ แนวทางการปฏบิ ตั ิ จำ� นวน ๓ ขอ้ โดยเขยี นลงในกระดาษฟลปิ ชารท์
และน�ำมาติดหน้าหอ้ ง
๑๔. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั พจิ ารณาคำ� ตอบทตี่ ดิ หนา้ หอ้ งรว่ มกนั ทง้ั หอ้ ง และจดั กลมุ่ คำ� ตอบ
เพอ่ื สรปุ เปน็ คำ� วา่ Respect , Share และ Care เพอื่ อธบิ ายหลกั ในการปฏบิ ตั ติ นในการเคารพสทิ ธหิ นา้ ที่
ต่อตนเองและผู้อื่นในสังคมทีม่ ีความหลากหลาย
90 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพมิ่ เตมิ การป้องกันการทุจรติ ”
๑๕. นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายวา่ ปจั จบุ นั นกั เรยี นไดป้ ฏบิ ตั ติ นในการเคารพสทิ ธหิ นา้ ทตี่ อ่ ตนเอง
และผู้อื่นหรือไม่ อย่างไรบ้าง และในอนาคต นักเรียนจะแสดงออกถึงการเคารพสิทธิหน้าท่ีต่อตนเอง
และผ้อู น่ื และเชญิ ชวนให้คนในสังคมเคารพสิทธิหน้าท่ีต่อตนเองและผู้อ่นื ได้อย่างไรบ้าง
๑๖. นักเรียนในช้ันเรียนร่วมกันสร้างแบบประเมินพฤติกรรมของตนเองในการเคารพสิทธิ
หนา้ ทตี่ ่อตนเองและผูอ้ ่นื ในสังคมจากนัน้ ประเมนิ ตนเองจากแบบประเมินทสี่ ร้างขนึ้
๔.๒ ส่ือการเรยี นรู้/แหลง่ การเรยี นรู้
๑) รปู ภาพ
๒) บตั รค�ำ
๓) เนอ้ื ข่าว/สถานการณจ์ �ำลอง
(เมนูคอร์รัปชันและการแสวงหาประโยชน์ เรียบเรียงจากโครงการ คู่มือประชาชน
รูท้ ันคอรร์ ปั ชันและการแสวงหาผลประโยชน์ โดย สมเกยี รติ ตง้ั กิจวานชิ ย์ และคณะ มลู นธิ ิสถาบันวจิ ยั
เพอื่ การพัฒนาประเทศ)
๔) กระดาษฟลปิ ชารท์
๕) ใบความรูเ้ รอื่ งการเคารพสทิ ธแิ ละเสรภี าพของตนเองและผอู้ ืน่
๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๕.๑ วธิ กี ารประเมนิ
๑) ตรวจผลงานการน�ำเสนอผลงานในกระดาษฟลิปชาร์ท
๒) สงั เกตพฤติกรรมม่งุ มน่ั ในการทำ� งาน
๕.๒ เครือ่ งมือทใ่ี ชใ้ นการประเมิน
๑) แบบใหค้ ะแนนผลงานในกระดาษฟลิปชารท์
๒) แบบสังเกตพฤติกรรมมุ่งมั่นในการท�ำงาน
๕.๓ เกณฑ์การตัดสิน
- นกั เรยี นผา่ นการประเมนิ ทกุ กจิ กรรม รอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป จงึ จะถอื วา่ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ
- นักเรยี นผา่ นการประเมินพฤตกิ รรมระดบั ดขี น้ึ ไปถือว่าผ่าน
๖. บันทกึ หลังสอน
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
ลงชือ่ ..............................................ครูผูส้ อน
(..................................................)
ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ 91
๗. ภาคผนวก
แบบใหค้ ะแนนการตรวจผลงานการอธิบายความหมาย
ของสิทธิมนษุ ยชนและหนา้ ที่พลเมือง
ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๖ /............. กลุ่มท.่ี ......................
รายการประเมิน
ที่ กลมุ่ ที่ ความถกู ต้อง การส่อื สารชดั เจน มีความพร้อม มกี ารใช้ รวม
ตรงตามประเด็น เขา้ ใจงา่ ย ในการน�ำเสนอ กระบวนการกลุ่ม
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑๖ คะแนน
๑
๒
๓
๔
๕
เกณฑก์ ารใชค้ ะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ
๔ คะแนน เทา่ กบั ดมี าก
๓ คะแนน เท่ากับ ดี ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
๒ คะแนน เท่ากบั พอใช้
๑ คะแนน เท่ากบั ปรับปรุง ๑๓ - ๑๖ ดมี าก
๙ - ๑๒ ดี
๕ - ๘ พอใช้
๑ - ๔ ปรบั ปรงุ
92 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพ่มิ เติม การปอ้ งกนั การทจุ รติ ”