The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ป้องกันการทุจริต 6

แผนการจัดการเรียนรู้ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

Keywords: หลักสูตร ต้านทุจริต ป้องกัน

แบบสังเกตพฤติกรรม
“มงุ่ มัน่ ในการทำางาน”

คำาชแ้ี จง ท�ำเคร่ืองหมำย � ในช่องทีต่ รงกับควำมเป็นจรงิ ตำมเกณฑก์ ำรประเมนิ

เกณฑ์การประเมิน (ใช้ขอ้ มูลจำกกำรสงั เกตตำมสภำพจรงิ ของครผู ู้สอน)

เลขท่ี ชื่อ - สกุล ต้ังใจและรบั ผิดชอบ ทำางานดว้ ยความเพยี ร รวม
ในการปฏิบัตหิ นา้ ท่ีการงาน พยายาม และอดทนเพื่อให้
งานสำาเรจ็ ตามเป้าหมาย

๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๘ คะแนน











เกณฑ์การใช้คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ
๔ คะแนน เทำ่ กบั ดีมำก
๓ คะแนน เทำ่ กับ ดี ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ
๒ คะแนน เท่ำกับ พอใช้
๑ คะแนน เท่ำกบั ปรับปรงุ ๗ - ๘ ดมี ำก

๕ - ๖ ดี

๓ - ๔ พอใช้

๑ - ๒ ปรับปรุง

ลงชือ่ .................................................ครูผูป้ ระเมนิ
(.................................................)
................/................/...............

ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๖ 93

ภาคผนวก

รปู ภาพ

ภาพชาวเขา
ท่มี า : http://fb1-cb.lnwfile.com/_/
cb/_raw/0b/7r/j2.jpg

ผลู้ ้ีภัยชาวโรฮงิ ญา
ทม่ี า : http://media.komchad-
luek.net/img/size1/2017/07/08/
L_8gie5afbbj85kiigfabbb.jpg

ภาพพระสงฆ์
ทีม่ า: http://www.pali.mcu.ac.th/wp-
content/uploads/2014/12/10848766_
814481975284654_246222479970083
1380_o.jpg

ภาพชาวคริสต์
ท่มี า : http://www.pali.mcu.ac.th/wp-
content/uploads/2014/12/10848766_
814481975284654_246222479970083
1380_o.jpg

94 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพิม่ เติม การป้องกันการทุจรติ ”

ภาพเด็กชาวมสุ ลมิ
ทม่ี า: http://www.thailandexhibi-
tion.com/images/fileupload_pr/
PR_news3149.jpg

ภาพเดก็ ดอ้ ยโอกาส ภาพขอทาน
ท่มี า: http://4.bp.blogspot.com/- ทม่ี า: https://img.pptvhd36.com/
bStiEFQ6RnM/Ud-B3crLUJI/ resize/XvrSZaHSYb-WnIncq5-gApm-
AAAAAAAAVE4/0BrJ0YnANlQ/s1600/ PWg=/0x0/smart/filters:quality(75)/
free-school-under-bridge-slum-new- Y29udGVudHMlMkZmaWxlcyUyRl-
dehli-india1.jpg BvcFN1cmklMkYxNjc1OSUyRjU3OTk-
ภาพคนพกิ าร 5MDMxYjRjODcuanBn
ที่มา: http://fepdthailand.org/sites/de-
fault/files/images/basic/working-1.JPG ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ 95

ภาพนักธุรกจิ ภาพเด็ก
ทม่ี า: http://www.stock2morrow.com/up- ทม่ี า: http://img.tnews.co.th/userfiles/im-
load/book/469_make-money-fast.png ages/20150910_1509290.jpg

ภาพผสู้ งู อายุ
ทีม่ า: http://122.155.92.12/centerapp/
Common/GetFile.aspx?FileUrl=~/
Uploads/Image/2560/06/14/
PNOHT600614001014601.JPG

ภาพผู้ชาย ภาพผู้หญงิ
ท่ีมา: https://koreaboo-cdn.storage. ทมี่ า: http://www.popcornfor2.com/
googleapis.com/2017/07/c6dq6Y8- upload/82/news-full-81767.JPG
1531x2048.jpg

96 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพิม่ เตมิ การปอ้ งกันการทจุ รติ ”

ใบความรู้
การเคารพสิทธิและเสรภี าพของตนเองและผู้อน่ื

การปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นการปกครองท่ีมีรัฐธรรมนูญเป็นแม่บทก�ำหนดกรอบ
ให้ทุกภาคส่วนของสังคมยึดถือและปฏิบัติร่วมกัน โดยกรอบที่ส�ำคัญในการด�ำรงตนอย่างเหมาะสม
ของประชาชน คอื การยดึ มนั่ ในสทิ ธิ เสรีภาพ และหนา้ ท่ีตามทรี่ ัฐธรรมนูญก�ำหนด หากประชาชนทกุ คน
รู้ถึงสทิ ธิ เสรภี าพ และหน้าที่ท่ีรัฐธรรมนูญบญั ญัตไิ ว้และตา่ งปฏบิ ตั ไิ ด้อยา่ งถกู ตอ้ งครบถว้ น ประชาชน
ในชาตยิ ่อมอยู่ร่วมกนั อยา่ งมีความสุขและชาติบา้ นเมอื งกจ็ ะพัฒนาและเจรญิ ก้าวหนา้ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว
สิทธิของตนเองและผู้อื่นตามท่ีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย การปฏิบัติตน
ตามสทิ ธขิ องตนเองภายใตก้ รอบรฐั ธรรมนญู โดยไมก่ ระทบสทิ ธบิ คุ คลอน่ื ยอ่ มไดช้ อื่ วา่ บคุ คลนนั้ เปน็ ผมู้ สี ว่ น
น�ำพาบา้ นเมอื งให้พฒั นา ในทน่ี ้จี ะกลา่ วถงึ การปฏบิ ตั ติ นในการรักษาและเคารพสทิ ธเิ สรภี าพของตนเอง
และผู้อื่น ต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติตามท่ีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ก�ำหนดไว้ ดังน้ี
๑. การเคารพสิทธิของตนเองและผ้อู ่ืนทมี่ ตี อ่ ครอบครวั
ครอบครัวประกอบด้วยพ่อ แม่ และลูก ทุกครอบครัวมีสิทธิที่จะได้รับความคุ้มครองตาม
รัฐธรรมนูญ ในหลายประเด็นด้วยกัน โดยเฉพาะเร่ืองการใช้ความรุนแรงและการปฏิบัติอันไม่เป็นธรรม
หมายความวา่ พอ่ แม่ และลูกจะต้องไมใ่ ช้ความรุนแรงหรือปฏิบัตติ อ่ กนั อยา่ งไมเ่ ป็นธรรม กรณรี ะหวา่ ง
สามภี รรยาจะตอ้ งเคารพและรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของกนั และกนั ไมต่ ดั สนิ ปญั หาโดยใชก้ ำ� ลงั กรณรี ะหว่าง
บตุ รกบั บดิ ามารดา บตุ รตอ้ งเชอื่ ฟงั คำ� สง่ั สอนของบดิ ามารดา บดิ ามารดาจะตอ้ งอบรมสงั่ สอนบตุ รโดยใช้
เหตผุ ล ไมใ่ ชก้ ารแกไ้ ขพฤตกิ รรมลกู ดว้ ยการเฆยี่ นตี เลยี้ งลกู ดว้ ยรกั ความเขา้ ใจ และใชส้ ทิ ธเิ สรภี าพในการ
แสวงหาความสุขส่วนตัว แต่ต้องอยู่ในขอบเขตและไม่ท�ำให้เกิดความเดือดร้อนหรือสร้างปัญหาใด ๆ
ใหแ้ กบ่ ดิ ามารดา
๒. การเคารพสิทธิของตนเองและผูอ้ ื่นทมี ตี อ่ ชมุ ชนและสังคม
สมาชิกทุกคนในสังคมมีสิทธิเท่าเทียมกันในการด�ำรงชีวิตในสังคม โดยสิทธิดังกล่าวจะต้อง
ไมล่ ะเมดิ สทิ ธขิ องสมาชกิ คนอนื่ ในสงั คม ในทนี่ ข้ี อยกตวั อยา่ งสทิ ธขิ องตนเองทมี่ ตี อ่ ชมุ ชนบางประการ ดงั นี้
๑) เสรภี าพในเคหสถาน ชาวไทยทกุ คนย่อมมเี สรีภาพในเคหสถาน ที่จะสามารถอาศัยและ
ครอบครองเคหสถานของตนโดยปกตสิ ุข ไมว่ ่าจะเกดิ จาการเชา่ หรอื เปน็ เจา้ ของกรรมสิทธ์ิ ซ่งึ บคุ คลอนื่
จะต้องให้ความเคารพในสิทธิน้ี แม้แต่เจ้าหน้าท่ีของรัฐหากจะต้องเข้าไปด�ำเนินการตามกฏหมายใด ๆ
เชน่ การตรวจคน้ เคหสถานของประชาชนก็จะทำ� การมิได้ เวน้ แตจ่ ะมีหมายคน้ ทอ่ี อกโดยศาลเท่าน้นั

ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ 97

๒) เสรีภาพในการเดินทางและการติดต่อสื่อสาร ชาวไทยทุกคนมีเสรีภาพท่ีจะเดินทางไป
ในท่ีต่าง ๆ บนผืนแผ่นดินไทยได้ทกุ พ้ืนที่ของประเทศไทย และสามารถเลอื กถน่ิ ที่อย่อู าศยั ณ ทีใ่ ดกไ็ ด้
ในประเทศไทย รวมท้ังชาวไทยทุกคนสามารถท่ีจะติดต่อส่ือสารกับบุคคลอ่ืนไม่ว่าจะเป็นทางจดหมาย
โทรศพั ท์ หรอื อินเทอรเ์ นต็
๓) เสรีภาพในการนับถือศาสนา สมาชิกทุกคนในสังคมมีสิทธิ เสรีภาพท่ีจะนับถือศาสนา
แตกต่างกันได้ ซงึ่ บคุ คลอนื่ ในสงั คมรวมทัง้ รัฐจะต้องใหค้ วามเคารพสิทธเิ สรภี าพในเรื่องนีด้ ้วย
๔) เสรีภาพในทางวชิ าการ เยาวชนไทยทุกคนจะตอ้ งไดร้ บั การศกึ ษาข้ึนพื้นฐานไม่นอ้ ยกวา่
๑๒ ปี โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย นอกจากนี้คนไทยทุกคนยังมีสิทธิในการที่จะศึกษาค้นหว้าหรือท�ำวิจัย
ตามทต่ี อ้ งการ โดยไม่ขดั ต่อกฏหมาย
๕) เสรีภาพในการชุมนุมอย่างสงบโดยปราศจากอาวุธ หมายถึง ประชาชนทุกคนมี
สิทธิเสรีภาพในการชุมนุมแต่ต้องเป็นไปโดยสงบ ปราศจากอาวุธ และต้องไม่รบกวนสิทธิของผู้อ่ืน
การปราศจากอาวธุ น้นั หมายรวมถงึ หา้ มทกุ คนท่มี ารว่ มชมุ นุมพกพาอาวุธเขา้ มามาในที่ชุมนมุ เดก็ ขาด
บุคคลใดพกพาอาวุธเข้ามา ในที่ชุมนุม บุคคลนั้นจะไม่ได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญในกรณี
ทไ่ี ดก้ ล่าวมาข้างต้น
๖) สิทธิเสรีภาพในการอนุรักษ์และฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทุกคนย่อมมี
ส่วนร่วมในการอนุรักษ์ และร่วมสบื สานศิลปะหรือวฒั นธรรมอันดงี ามของทอ้ งถิ่นและของประเทศชาติ
เพ่ือใหด้ ำ� รงอยูต่ อ่ ไปกบั อนุชนรุน่ หลงั
๗) สิทธิเสรีภาพในการประกอบอาชีพ โดยเสรีภาพในการประกอบอาชีพจะต้องไม่เอารัด
เอาเปรียบผู้อื่น เช่น ผู้ประกอบการจะต้องเคารพและซื่อสัตย์ต่อผู้บริโภค และไม่เอาเปรียบผู้บริโภค
เป็นตน้
๓. การเคารพสิทธขิ องตนเองและผ้อู ื่นท่ีมตี ่อประเทศชาติ
๑) สิทธิในการมีส่วนร่วมในท่ีน้ี หมายถึง สิทธิการมีส่วนร่วมในกระบวนการพิจารณาของ
เจ้าหน้าท่ีรัฐเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการด้านการปกครอง อันมีผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของคน
ในสังคมโดยตรง
๒) สิทธิที่จะฟ้องร้องหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถ่ิน
เชน่ เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำ� บล องคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัด หรือองคก์ รของรฐั ท่ีเป็นนิตบิ คุ คล
ประชาชนมสี ทิ ธทิ ่ีจะฟอ้ งรอ้ งหนว่ ยงานตา่ ง ๆ เหลา่ นีใ้ หร้ ับผิดชอบ หากการกระท�ำใด ๆ หรอื การละเว้น
การกระท�ำใด ๆ ของข้าราชการ พนกั งาน หรือลกู จ้างของหนว่ ยงานน้ัน ส่งผลกระทบตอ่ การดำ� เนินชวี ติ
ของประชาชนต่อศาลปกครอง
๓) สิทธิท่ีจะต่อต้านโดยสันติวิธี การกระท�ำใดท่ีจะเป็นไปเพ่ือให้ได้มาซ่ึงอ�ำนาจในการ
ปกครองประเทศ โดยวธิ กี ารซึง่ มไิ ดเ้ ปน็ ไปตามวถิ ีทางท่บี ญั ญตั ิไดใ้ นรัฐธรรมนูญ เช่น การต่อต้านการท�ำ
ปฏิวตั ริ ัฐประหาร เปน็ ส่งิ ทีป่ ระชาชนมสี ทิ ธิทีจ่ ะออกมาต่อต้าน แต่ต้องเปน็ ไปโดยสนั ตวิ ธิ ี
98 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพม่ิ เตมิ การปอ้ งกันการทจุ รติ ”

แนวทางการปฏิบตั ติ นในการเคารพสทิ ธิของตนเองและผู้อน่ื
การปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเองและผู้อ่ืนในสังคม เป็นส่ิงที่ช่วยจัดระเบียบให้กับสังคมสงบสุข
โดยมีแนวทางปฏิบัติ ดงั นี้
๑. เคารพสิทธิของกันและกัน โดยไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพของผู้อื่นสามารถแสดงออกได้
หลายประการ เชน่ การแสดงความคิดเหน็ การยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อน่ื เป็นต้น
๒. รู้จักใชส้ ิทธขิ องตนเองและแนะน�ำให้ผูอ้ นื่ รจู้ ักใชส้ ทิ ธขิ องตนเอง
๓. เรียนรู้และท�ำความเข้าใจเก่ียวกับหลักสิทธิเสรีภาพตามท่ีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ เช่น
สิทธเิ สรภี าพของความเปน็ มนษุ ย์ สิทธเิ สรภี าพในเคหสถาน เปน็ ต้น
๔. ปฏิบัติตามหน้าที่ของชาวไทยตามท่ีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ เช่น การออกไปใช้สิทธิ์เลือกต้ัง
การเสยี ภาษใี ห้รฐั เพอ่ื น�ำเงนิ มาพัฒนาประเทศ เปน็ ตน้
ผลที่ได้รบั จากการปฏิบัตติ นเคารพสทิ ธิของตนเองและผ้อู ่ืน
๑. ผลที่เกิดกับประเทศชาติ หากประชาชนมีความสมัครสมานรักใคร่สมัคคี ไม่มีความแตกแยก
ไมแ่ บ่งเป็นพวกเปน็ เหล่า บา้ นเมืองก็จะสงบสุขเกดิ สวสั ดภิ าพ บรรยากาศโดยรวมก็จะสดใส ปราศจาก
การระแวงต่อกัน การด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ สามารถด�ำเนินไปอย่างราบร่ืน นักลงทุน นักท่องเท่ียว
กจ็ ะเดินทาง มาเยือนประเทศของเราด้วยความมนั่ ใจ
๒. ผลท่ีเกิดข้ึนกับชุมชนหรือสังคม เมื่อประชาชนในสังคมรู้จักสิทธิของตนเองและของคนอื่น
กจ็ ะนำ� พาใหช้ มุ ชนหรอื สงั คมเกดิ การพฒั นา เมอื่ สงั คมมน่ั คงเขม้ แขง็ กจ็ ะมสี ว่ นทำ� ใหป้ ระเทศชาตเิ ขม้ แขง็
เพราะชุมชนหรอื สังคมเปน็ สว่ นหนึง่ ของประเทศชาตบิ ้านเมอื งโดยรวม
๓. ผลท่ีเกิดข้ึนกับครอบครัว ครอบครัวเป็นสถาบันแรกของสังคม เมื่อครอบครัวเข้มแข็ง และ
อบรมสัง่ สอนให้สมาชิกในครอบครวั ทกุ คนรบู้ ทบาท สทิ ธิ เสรีภาพของตนเองและปฏิบตั ติ ามท่กี ฎหมาย
และรัฐธรรมนูญได้ให้ความคุ้มครองได้อย่างเคร่งครัด โดยไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพของสมาชิกอ่ืนในสังคม
กจ็ ะนำ� พาให้สังคมและประเทศชาติเข้มแข็งตามไปด้วย

ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ 99

กรณศี กึ ษา



แหล่งข้อมูล : เมนคู อร์รัปชนั และการแสวงหาประโยชน์
เรียบเรยี งจากโครงการ คมู่ อื ประชาชนรู้ทันคอรร์ ปั ชันและการแสวงหาผลประโยชน์
โดย สมเกียรติ ต้ังกิจวานชิ ย์ ปกป้อง จนั วทิ ย์ อสิ รก์ ุล อณุ หเกตุ ศุภณัฏฐ์ ศศิรว์ ุฒวิ ฒั น์
กิตตพิ งศ์ สนธิสมั พนั ธ์ และสาโรช ศรีใส มลู นธิ ิสถาบันวจิ ยั เพื่อการพฒั นาประเทศ
100 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพมิ่ เติม การปอ้ งกนั การทจุ รติ ”

-
ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ 101

102 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพม่ิ เตมิ การป้องกันการทจุ ริต”

แผนการจดั การเรยี นรู้

หนว่ ยท่ี ๔ ช่อื หนว่ ย พลเมืองกบั ความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๖
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๒ เรื่อง พลเมืองท่มี คี วามรับผิดชอบตอ่ การปอ้ งกนั การทุจริต เวลา ๓ ช่ัวโมง
๑. ผลการเรยี นรู้
๑) มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับพลเมืองและมีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม
๒) ปฏบิ ัตติ นตามหน้าท่พี ลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม
๓) ตระหนกั และเหน็ ความสำ� คญั ของการต่อตา้ นและป้องกนั การทจุ ริต
๒. จุดประสงค์การเรยี นรู้
๑) นกั เรียนสามารถวเิ คราะห์ความสำ� คัญของการปฏิบัตติ ามระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมายได้
๒) นักเรียนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติตามระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย
กบั ความรับผิดชอบต่อสงั คมได้
๓) นักเรียนสามารถจัดทำ� ส่อื เผยแพร่และรณรงค์ในการปฏิบตั ติ ามระเบยี บ กฎ กตกิ า กฎหมายได้
๔) นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั ิตนตามระเบียบ กฎ กติกา กฎหมายได้
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
๑) ความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติตามระเบียบ กฎ กติกา กฎหมายกับความรับผิดชอบ
ต่อสงั คม
๒) ความสำ� คัญของปฏบิ ตั ิตามระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย
๓) แนวทางการปฏบิ ตั ติ นในการปฏบิ ตั ติ นตามระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กดิ )
๑) ความสามารถในการสอ่ื สาร
- การฟัง พดู เขียน
๒) ความสามารถในการคดิ
- การคดิ วเิ คราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคดิ เป็นระบบ และการคดิ อยา่ งสร้างสรรค์
๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา
- การแกป้ ญั หาและอปุ สรรคอยา่ งมเี หตผุ ล และความเขา้ ใจความสมั พนั ธแ์ ละเหตกุ ารณ์
ต่าง ๆ ในสังคม
๔) ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
- การท�ำงานกลุ่ม

ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ 103

๓.๓ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค/์ คา่ นิยม
คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
- มวี นิ ยั
๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้
๔.๑ ขนั้ ตอนการเรียนรู้
ช่ัวโมงท่ี ๑
๑) ครูถามนักเรียนว่า ท�ำไมสังคมต้องมีกฎหมาย นักเรียนร่วมกันตอบค�ำถาม จากนั้น
ครูและนักเรยี นรว่ มกนั วิเคราะห์ความสำ� คัญของกฎหมาย
(กฎหมายสรา้ งความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ยแกส่ งั คมและประเทศชาติ ทำ� ใหส้ งั คมจะสงบสขุ
เม่ือทุกคนปฎิบัติตามกฎหมายและรู้ว่าตนมีสิทธิของตนอยู่เพียงไร ไม่ไปล่วงล้�ำสิทธิของผู้อื่น กฎหมาย
สร้างความเท่าเทียมในความเป็นมนุษย์ ระงับข้อพิพาท และก่อให้เกิดความยุติธรรมเม่ือมีความขัดแย้ง
ในสงั คม)
๒) แบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น ๔ กลุ่ม เพื่อวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นว่ากฎของโรงเรียน
แต่ละข้อนน้ั มีจดุ ประสงค์เพ่ืออะไร และถ้าทกุ คนไม่ปฏบิ ัติตาม จะเกิดผลกระทบอยา่ งไรบา้ ง
กลุ่มท่ี ๑ การแต่งกายใหถ้ กู ระเบยี บ
กลุม่ ที่ ๒ การห้ามนำ� อาหารและเครื่องดืม่ ขน้ึ ไปทานบนอาคารเรยี น
กลมุ่ ที่ ๓ การทำ� เวรประจ�ำวัน
กลุม่ ท่ี ๔ การเก็บถาดอาหารทกุ ครัง้ หลังรับประทานอาหาร
(ครอู าจเลือกกฎโรงเรยี นข้ออน่ื ๆ มาประกอบการวเิ คราะห)์
๓) ครูอธิบายให้นักเรียนเห็นความส�ำคัญของการปฏิบัติการตามกฎระเบียบของโรงเรียน
จากน้ัน เชอ่ื มโยงไปยงั การปฏบิ ัติตามกฎหมายระดบั ชุมชน สงั คมและประเทศ
๔) นกั เรยี นดคู ลปิ วดิ โี อ เรอ่ื ง “เหลอื อด!! เพจดงั ผดุ ไอเดยี สดุ เจง๋ แกป้ ญั หามอไซตข์ บี่ นทางเทา้
ความมกั งา่ ยทเ่ี กลอ่ื นสงั คม” ซงึ่ เปน็ คลปิ วดิ โี อเกย่ี วกบั มาตรการการแกไ้ ขปญั หาการขบั รถจกั รยานยนต์
บนทางเท้า จากน้ันนกั เรียนแตล่ ะกลุ่มตอบคำ� ถามต่อไปน้ี
ก. เพราะเหตุใดจงึ เกดิ การกระทำ� ที่ผิดกฎหมายดังกล่าว
ข. แตล่ ะมาตรการการแกป้ ญั หานั้น ประสบความส�ำเร็จหรือไม่ เพราะเหตุใด
ค. เพราะเหตุใด วธิ กี ารสดุ ทา้ ยจึงประสบความส�ำเรจ็
๕) ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ความส�ำคัญของพลเมืองที่ท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลง
ในสงั คมได้อย่างไร จากนน้ั ครอู ธบิ ายความหมายและความสำ� คญั ของพลเมอื ง
104 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพิ่มเติม การป้องกนั การทจุ ริต”

ชั่วโมงท่ี ๒
๖) นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รบั แถบประโยคตอ่ ไปนี้ และรว่ มกนั พจิ ารณาความหมายของถอ้ ยความ
ในแถบประโยค
- พลเมืองขาดความสนใจและความรู้เกยี่ วกับกฎหมาย
- พลเมอื งไม่เลือกผ้ทู ่ีมีสว่ นในการร่างกฎหมาย
- พลเมอื งไมม่ ีวนิ ยั ในการปฏบิ ัติตนตามกฎหมาย
- พลเมืองไม่ให้ความรว่ มมือกับเจ้าหน้าทพี่ นกั งาน
- พลเมอื งเปิดชอ่ งทางให้ตนเองตกเป็นเหยอื่ ของกฎหมาย
๗) นักเรียนแต่ละกลุ่มนั่งเป็นวงกลม จากน้ันให้ตอบค�ำถามต่อไปน้ี โดยครูจะให้สัญญาณ
ในการตอบค�ำถาม เมื่อสัญญาณดังขึ้น ให้สมาชิกในกลุ่มคนต่อไปเป็นคนพูด โดยทุกคนจะได้พูด
จนครบทัง้ กลุม่
คำ� ถามรอบท่ี ๑ ตนเองเคยมีสว่ นในการทำ� ผิดกฎหมายเพราะสาเหตใุ ดบ้าง
ค�ำถามรอบที่ ๒ นักเรียนรสู้ ึกอยา่ งไรเมื่อตวั เองทำ� ผดิ กฎหมาย
ค�ำถามรอบที่ ๓ นักเรียนคิดว่าสาเหตุจากพลเมืองในข้อใดท่ีสร้างปัญหาการใช้และ
การบังคับใชก้ ฎหมายมากท่สี ุด โดยให้เรียงลำ� ดบั
๘) ครูและนกั เรียนร่วมกนั ยกตัวอย่างเหตุการณใ์ นชีวิตประจ�ำวัน หรือขา่ วทเ่ี กดิ จากสาเหตุ
จากแถบประโยคจากนน้ั ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพื่อจัดลำ� ดบั สาเหตทุ ี่เป็นปัญหามากทีส่ ดุ ตามลำ� ดับ
๙) นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ความส�ำคัญของการปฏิบัติตามกฎหมาย จากน้ันให้นักเรียน
รว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ ขอ้ ความที่วา่ “ไม่เห็นเป็นอะไรเลย ใคร ๆ เขาก็ทำ� กนั ” ตลอดจนวเิ คราะห ์
ผลกระทบท่ีเกิดข้ึนจากน้ันครูอธิบายถึงความส�ำคัญในการปฏิบัติตนของนักเรียนในฐานะพลเมืองเกี่ยว
กับบทบาทในการท�ำตามกฎหมาย
ชว่ั โมงท่ี ๓
๑๐) แบง่ นกั เรยี นออกเปน็ คู่ และใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั ทำ� โปสเตอรร์ ณรงคเ์ ชญิ ชวนใหเ้ พอ่ื นปฏบิ ตั ิ
ตนตามระเบียบ กฎโรงเรยี น นำ� เสนอหน้าชั้นเรียนและติดรอบบรเิ วณโรงเรยี น
๑๑) นักเรียนในช้ันเรียนร่วมกันสร้างแบบประเมินพฤติกรรมของตนเองในการปฏิบัติตาม
ระเบยี บ กฎโรงเรียน กติกา กฎหมายและจากนั้นประเมนิ ตนเองในแบบประเมนิ ทส่ี ร้างขน้ึ
๔.๒ ส่อื การเรียนร/ู้ แหลง่ การเรียนรู้
๑) คลิปวิดีโอ เรื่อง “เหลืออด!! เพจดังผุดไอเดียสุดเจ๋ง แก้ปัญหามอไซต์ขี่บนทางเท้า
ความมกั งา่ ยทีเ่ กลื่อนสงั คม” (URL : http://youtu.be/4FyJwBYJRIA)
๒) แถบประโยคกฎของโรงเรยี น ๔ ข้อและพลเมอื งในสถานการณ์ ๕ สถานการณ์
๓) บัตรค�ำถามเกยี่ วกบั มาตรการการแก้ไขปญั หาการขบั รถจกั รยานยนต์บนทางเท้า
๔) โปสเตอร์รณรงค์
๕) อนิ เทอรเ์ น็ต

ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๖ 105

๕. การประเมินผลการเรยี นรู้
๕.๑ วธิ ีการประเมนิ
๑) ตรวจผลงานการประเมินพฤติกรรมตนเองในการปฏิบัติตามระเบียบ กฎ กติกาและ
กฎหมาย
๒) ตรวจโปสเตอร์
๓) สังเกตพฤตกิ รรมมีวนิ ัย
๕.๒ เคร่อื งมือที่ใช้ในการประเมิน
๑) แบบประเมนิ ผลงานการประเมนิ พฤตกิ รรมของตนเอง
๒) แบบให้คะแนนโปสเตอร์
๓) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมมีวนิ ัย
๕.๓ เกณฑ์การตดั สนิ
- นักเรียนผ่านการประเมินทกุ กจิ กรรม ได้คะแนนระดับดีขน้ึ ไปถอื ว่าผ่าน
- นักเรียนผา่ นการประเมนิ พฤติกรรมระดบั ดขี นึ้ ไปถือวา่ ผา่ น
๖. บันทึกหลงั สอน
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

ลงช่อื ..............................................ครูผ้สู อน
(..................................................)

106 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพม่ิ เตมิ การปอ้ งกันการทจุ รติ ”

๗. ภาคผนวก

เกณฑ์การให้คะแนนโปสเตอร์
เกณฑ์การใหค้ ะแนน

เนอ้ื หา ๒๐ คะแนน
- ความเหมาะสมของเน้อื หา ๑๐ คะแนน
สอดคลอ้ งกบั หัวขอ้ เรอ่ื งชัดเจน ตรงประเดน็ ๑๐ คะแนน
สอดคล้องกับหัวขอ้ เร่ืองบางสว่ น เน้ือหาออ้ มค้อม ๘ คะแนน
สอดคลอ้ งกับหัวข้อเรอื่ งบางสว่ น เนอ้ื หาอ้อมค้อม วกวน ๕ คะแนน
เนื้อหาไม่สอดคลอ้ งกับหวั ข้อเรอื่ ง เน้ือเร่ืองไม่ตรงประเดน็ ๐ คะแนน
- ความครบถ้วนของเนือ้ หา ๑๐ คะแนน
เนอ้ื หาครบถว้ น ถกู ต้องตามหลักวิชาการโดยทว่ั ไป มกี ารอ้างองิ จากแหลง่ ทีเ่ ชือ่ ถอื ได้
และระบแุ หล่งท่ีมาของขอ้ มลู ๑๐ คะแนน
เนอ้ื หาครบถว้ น ถูกต้องตามหลักวชิ าการโดยทัว่ ไป แหล่งอา้ งองิ สบื คน้ จากอนิ เตอรเ์ น็ต
และหนงั สือแต่ไม่ไดร้ วบรวมแหลง่ อ้างอิง ๘ คะแนน
เนอื้ หาคลมุ เครือ แตม่ กี ารอ้างอิงจากแหล่งทเี่ ช่ือถือได้ ๖ คะแนน
เนอ้ื หาคลุมเครอื ไมม่ ีการอา้ งองิ จากแหลง่ อ้างองิ ๕ คะแนน
ความสวยงาม ๒๐ คะแนน
ความคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ ๒๐ คะแนน
- รปู แบบการด�ำเนนิ เร่ือง และส่อื ความหมาย (๑๐ คะแนน)
มกี ารดำ� เนินเร่ืองที่ชัดเจนสามารถสอ่ื ให้ผ้ชู มเข้าใจได้ดี ๑๐ คะแนน
มีการด�ำเนนิ เรอื่ งที่ดี สอ่ื ใหผ้ ชู้ มเขา้ ใจได้ดี ๘ คะแนน
มีการด�ำเนนิ เร่อื งพอใช้ได้ แต่ไม่สามารถส่อื รายละเอยี ดของเนอ้ื หาท้งั หมด ๖ คะแนน
สื่อความหมายไดน้ อ้ ย รปู แบบของเรื่องไม่ไดแ้ สดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสำ� คญั ของเนือ้ หา ๕ คะแนน
รูปแบบการด�ำเนนิ เรื่อง ไม่ไดส้ ่ือใหเ้ หน็ ถึงองค์ประกอบของเน้ือหา ๐ คะแนน

ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๖ 107

- เสรมิ สร้างเอกลกั ษณ์ สญั ลกั ษณ์ และทัศนคติ (๑๐ คะแนน)
สามารถถา่ ยทอดเนอื้ หาให้ผ้ชู มเกดิ ความคลอ้ ยตาม และเห็นความส�ำคญั ๑๐ คะแนน
สามารถถา่ ยทอดเน้ือหาใหผ้ ชู้ มเกิดความรู้สึกตามได้บางส่วน เน่ืองจากเนื้อหายังคลุมเครือ
ไม่ชดั เจน ๘ คะแนน
ไม่สามารถทำ� ใหผ้ ชู้ มเกดิ การคล้อยตามได้ เนอื่ งจากเน้อื หาไมต่ ่อเน่อื ง ไม่เข้าใจการส่ือ
ความหมายของเนื้อหา แตโ่ ดยรวมผู้ชมสามารถสรุปสาระส�ำคัญได้บางสว่ น ๕ คะแนน
ไม่สามารถท�ำใหเ้ กดิ ทศั นคติทีด่ ี เกดิ การคล้อยตามไดอ้ ย่างส้ินเชงิ ๐ คะแนน
เทคนคิ และการจัดองค์ประกอบ ๒๐ คะแนน
- เทคนิค ๑๐ คะแนน
- องคป์ ระกอบ ๑๐ คะแนน
ความสำ� เร็จโดยรวมของผลงาน ๑๐ คะแนน
ครบถ้วนสมบรู ณ์ ๑๐๐ % ๑๐ คะแนน
ขาดองคป์ ระกอบบางสว่ น ๘ คะแนน
ขาดองคป์ ระกอบส่วนใหญ่ ๖ คะแนน
กระบวนการและการนำ� เสนอ ๑๐ คะแนน
- ทำ� งานเปน็ ทีมแบง่ ภาระงานชดั เจน ๕ คะแนน
- การน�ำเสนอ ๕ คะแนน

108 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเติม การปอ้ งกันการทุจริต”

แบบสงั เกตพฤติกรรม
“มวี นิ ยั ”

คาำ ชแี้ จง ท�ำเคร่อื งหมำย � ในช่องท่ตี รงกับควำมเปน็ จรงิ ตำมเกณฑก์ ำรประเมิน

เลขที่ ช่ือ - สกุล ปฏิบัติตนตาม ตรงต่อเวลาในการ รวม ผลการประเมิน
ขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ปฏิบตั กิ ิจกรรมต่าง ๆ คะแนน ผา่ น ไมผ่ ่าน
๑ ระเบยี บ ข้อบงั คบั
๒ ในชวี ิตประจำาวัน
๔ ของครอบครวั และรบั ผิดชอบ
๔ โรงเรยี นและสงั คม ในการทำางาน

ไม่ละเมดิ สทิ ธ์ิ ๔ ๓ ๒ ๑ ๘ คะแนน
ของผู้อนื่

๔๓๒๑

เกณฑก์ ารใชค้ ะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ
๔ คะแนน เท่ำกบั ดมี ำก ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ
๓ คะแนน เทำ่ กบั ดี ๗ - ๘ ดีมำก
๒ คะแนน เท่ำกบั พอใช้ ๕ - ๖ ดี
๑ คะแนน เท่ำกับ ปรบั ปรงุ ๓ - ๔ พอใช้
๑ - ๒ ปรบั ปรุง

ลงชอ่ื .................................................ครูผ้ปู ระเมิน
(.................................................)
................/................/...............

ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษำปีท ่ี ๖ 109

แผนการจัดการเรยี นรู้

หนว่ ยท่ี ๔ ช่ือหนว่ ย พลเมืองกบั ความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๖
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๓ เรื่อง พลเมืองท่มี ีความรับผิดชอบตอ่ การปอ้ งกันการทจุ ริต เวลา ๓ ชวั่ โมง
๑. ผลการเรยี นรู้
๑) มคี วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกบั พลเมืองและมีความรบั ผิดชอบต่อสังคม
๒) ปฏิบตั ติ นตามหน้าทพ่ี ลเมอื งและมีความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม
๓) ตระหนักและเหน็ ความสำ� คัญของการตอ่ ตา้ นและปอ้ งกนั การทุจริต
๒. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
๑) นกั เรยี นสามารถระบพุ ฤติกรรมของพลเมอื งทม่ี ีความรบั ผดิ ชอบต่อการป้องกนั การทุจรติ ได้
๒) นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั ิตนตามหนา้ ท่ีพลเมืองทมี่ ตี อ่ การปอ้ งกันการทุจริตได้
๓) นักเรียนสามารถจัดท�ำส่ือเผยแพร่และรณรงค์ให้การส่งเสริมให้พลเมืองรับผิดชอบต่อ
การปอ้ งกนั การทุจรติ ได้
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
ลกั ษณะพฤตกิ รรมของพลเมอื งทมี่ ีความรับผดิ ชอบตอ่ การป้องกนั การทจุ ริต
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กดิ )
๑) ความสามารถในการสือ่ สาร
- การฟัง พูด และเขียน
๒) ความสามารถในการคิด
- การคิดวเิ คราะห์ การคิดสงั เคราะห์
๓) ความสามารถในการแก้ปญั หา
- การแกป้ ญั หาและอปุ สรรคอยา่ งมเี หตผุ ล และความเขา้ ใจความสมั พนั ธแ์ ละเหตกุ ารณ์
ตา่ ง ๆ ในสังคม
๔) ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
- การทำ� งานกล่มุ
๓.๓ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์/ค่านิยม
คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
- มวี นิ ัย

110 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพ่ิมเตมิ การป้องกนั การทุจริต”

๔. กจิ กรรมการเรียนรู้
๔.๑ ขน้ั ตอนการเรียนรู้
ช่วั โมงท่ี ๑
๑) นักเรียนรว่ มกันนิยามความหมายของค�ำวา่ การทจุ ริต ลงในกระดาษโนต๊ ของตนเอง
๒) นกั เรยี นจบั คกู่ บั เพ่ือ และแลกเปล่ยี นกนั อา่ นความหมายของคำ� ว่า การทจุ ริต ท่ีตนเอง
นิยาม หลงั จากนัน้ ให้นกั เรยี นจับกลุม่ ๔ - ๕ คน เพือ่ นิยามความหมายของ การทุจรติ ที่สมบรู ณท์ สี่ ดุ
๓) แตล่ ะกลมุ่ ออกมาเขยี นความหมายของการทจุ รติ บนกระดานดำ� จากนน้ั นกั เรยี นรว่ มกนั
พจิ ารณาและนิยามความหมายของคำ� วา่ การทจุ รติ รว่ มกัน
๔) ครูและนกั เรยี นร่วมกนั ยกตวั อย่างการทจุ ริตในชีวิตประจำ� วนั
๕) ครใู หน้ กั เรยี นทำ� กจิ กรรม “การปอ้ งกนั การทจุ รติ เรมิ่ ทต่ี วั เรา” ดว้ ยการแจกกระดาษโนต๊
ชนดิ มกี าวในตัว (post-it) คนละ ๓ แผ่น ด้วยสีเขียว เหลอื ง และฟา้ จากนน้ั ครใู ห้นกั เรยี นรว่ มกันคิดว่า
ลกั ษณะพลเมืองทีร่ บั ผดิ ชอบตอ่ การป้องกนั การทุจริต ตอ้ งมีลกั ษณะใด โดยกำ� หนดให้
สเี ขียว คอื HEAD (ตอ้ งมีความรูเ้ รือ่ งอะไรบา้ ง)
สีเหลือง คอื HEATH (ตอ้ งมีคา่ นยิ มและความรู้สกึ อยา่ งไรบ้าง)
สีฟา้ คือ HAND (ต้องมกี ารแสดงออกทางกายและวาจาอย่างไรบา้ ง)
๖) นกั เรยี นเขยี นคำ� ตอบลงบนกระดาษจากนนั้ ใหน้ ำ� มาตดิ บนตวั การต์ นู รปู เดก็ ทคี่ รวู าดหรอื
ภาพคน/หุน่ จ�ำลองบนกระดาน
๗) ครูแบ่งนักเรียนเปน็ ๓ กลุ่ม ช่วยจัดกล่มุ และสรุปคำ� ตอบลักษณะพลเมอื งทีร่ ับผดิ ชอบ
ตอ่ การป้องกนั การทุจรติ กลมุ่ ละ ๑ ด้าน แล้วน�ำเสนอหน้าช้นั เรียน
๘) นักเรียนร่วมกันสรุปลักษณะพลเมืองที่รับผิดชอบต่อการป้องกันการทุจริต และเขียน
การปฏิบตั ติ นที่เปน็ พลเมืองทส่ี ง่ เสรมิ ให้เกดิ สนั ติภาพในสงั คม
ช่ัวโมงที่ ๒
๙) แบง่ นักเรยี นออกเป็น ๓ กล่มุ ใหญ่ ร่วมวางแผนทำ� คลปิ วิดโิ อเชิญชวนเพอ่ื นในโรงเรียน
มาร่วมสรา้ งสังคมทีป่ ราศจากการทจุ ริต ในหัวขอ้ ที่ว่า “ชวนเพือ่ นมาทำ� ดี ปลอดวถิ ีคนโกง” และถ่ายทำ�
คลิปวิดีโอ
ช่วั โมงท่ี ๓
๑๐) นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ น�ำเสนอผลงาน และรว่ มกนั สรุปพฤตกิ รรมของพลเมืองท่รี บั ผิดชอบ
ตอ่ การปอ้ งกนั การทุจริต และผลท่ีเกิดข้นึ เม่อื พลเมืองมีความรบั ผิดชอบต่อการปอ้ งกันการทุจรติ
๑๑) น�ำคลปิ วดิ ีโอเผยแพร่ในโรงเรยี นและสาธารณชน

ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖ 111

๔.๒ ส่อื การเรยี นร/ู้ แหล่งการเรยี นรู้
๑) ภาพคน/หุ่นจ�ำลอง
๒) กระดาษโน้ตชนิดมกี าวในตัว (post-it) ๓ สี ไดแ้ ก่ สเี ขยี ว เหลอื ง และฟ้า
๓) กระดานด�ำ
๔) คลปิ วดิ โี อ เรอ่ื ง “ชวนเพือ่ นมาทำ� ดี ปลอดวิถีคนโกง”
๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๕.๑ วธิ กี ารประเมิน
๑) ตรวจผลงานการเขยี นปฏบิ ัตติ นเป็นพลเมอื งท่สี ่งเสริมใหเ้ กิดสันตภิ าพในสงั คม
๒) ตรวจคลปิ วิดโี อ เรอ่ื ง “ชวนเพือ่ นมาทำ� ดี ปลอดวถิ ีคนโกง”
๓) สังเกตพฤตกิ รรมมวี นิ ัย
๕.๒ เครอื่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการประเมิน
๑) แบบใหค้ ะแนนการตรวจผลงานการเขยี นปฏบิ ตั ติ นเปน็ พลเมอื งทสี่ ง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ สนั ตภิ าพ
ในสงั คม
๒) แบบใหค้ ะแนนตรวจคลิปวิดีโอ
๓) แบบสังเกตพฤตกิ รรมมวี ินยั
๕.๓ เกณฑก์ ารตดั สนิ
- นักเรียนผ่านการประเมินทกุ กิจกรรมไดค้ ะแนนระดบั ดีข้ึนไป ถอื ว่า ผ่าน
- นกั เรยี นผ่านการประเมินพฤตกิ รรมระดับดีขึน้ ไป
๖. บันทึกหลังสอน
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

ลงชื่อ..............................................ครูผสู้ อน
(..................................................)

112 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพมิ่ เติม การปอ้ งกนั การทจุ ริต”

๗. ภาคผนวก แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
“มวี นิ ยั ”

คาำ ชี้แจง ทำ� เครอ่ื งหมำย � ในชอ่ งทตี่ รงกับควำมเป็นจรงิ ตำมเกณฑ์กำรประเมนิ

เลขท่ี ช่ือ - สกลุ ปฏิบตั ติ นตาม ตรงต่อเวลาในการ รวม ผลการประเมิน
ขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ปฏิบัตกิ ิจกรรมตา่ ง ๆ คะแนน ผา่ น ไมผ่ ่าน
๑ ระเบยี บ ข้อบังคับ
๒ ในชวี ิตประจำาวัน
๔ ของครอบครัว และรับผดิ ชอบ
๔ โรงเรยี นและสงั คม ในการทาำ งาน

ไม่ละเมดิ สทิ ธ์ิ ๔ ๓ ๒ ๑ ๘ คะแนน
ของผู้อืน่

๔๓๒๑

เกณฑก์ ารใช้คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ
๔ คะแนน เทำ่ กบั ดีมำก ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ
๓ คะแนน เทำ่ กบั ดี ๗ - ๘ ดีมำก
๒ คะแนน เทำ่ กบั พอใช้ ๕ - ๖ ดี
๑ คะแนน เท่ำกบั ปรบั ปรงุ ๓ - ๔ พอใช้
๑ - ๒ ปรบั ปรุง

ลงชือ่ .................................................ครูผ้ปู ระเมิน
(.................................................)
................/................/...............

ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษำปีท ่ี ๖ 113

แบบใหค้ ะแนนการตรวจผลงานการเขยี นปฏิบัติตน
เป็นพลเมอื งทีส่ ง่ เสริมให้เกิดสันตภิ าพในสังคม

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ /............. กลมุ่ ท.ี่ ......................

รายการประเมิน

ท่ี กล่มุ ที่ ความถกู ตอ้ ง การสอ่ื สารชัดเจน มคี วามพร้อม มีการใช้ รวม
ตรงตามประเดน็ เข้าใจง่าย ในการน�ำเสนอ กระบวนการกลุ่ม

๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑๖ คะแนน











เกณฑก์ ารใช้คะแนน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ
๔ คะแนน เทา่ กบั ดีมาก
๓ คะแนน เทา่ กับ ดี ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ
๒ คะแนน เทา่ กับ พอใช้
๑ คะแนน เทา่ กบั ปรับปรุง ๑๓ - ๑๖ ดมี าก

๙ - ๑๒ ดี

๕ - ๘ พอใช้

๑ - ๔ ปรบั ปรงุ

114 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพมิ่ เตมิ การป้องกนั การทุจรติ ”

แบบให้คะแนนตรวจคลิปวดิ ีโอ
เร่ืองชวนเพือ่ นมาท�ำ ดปี ลอดวถิ คี นโกง

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ /............. กล่มุ ท.ี่ ......................

รายการประเมนิ

ที่ กลุม่ ที่ ความถูกต้อง มีความคดิ รเิ รม่ิ เนอื้ หาสอดคล้อง รวม
ตรงตามประเดน็ ของ สรา้ งสรรค์ แสดงสมบทบาท

เนือ้ หา

๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑๒ คะแนน











เกณฑก์ ารใชค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ
๔ คะแนน เทา่ กบั ดีมาก
๓ คะแนน เทา่ กบั ดี ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
๒ คะแนน เทา่ กับ พอใช้
๑ คะแนน เทา่ กับ ปรับปรุง ๑๐ - ๑๒ ดมี าก

๗ - ๙ ดี

๔ - ๖ พอใช้

๑ - ๓ ปรับปรุง

ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ 115

แผนการจัดการเรยี นรู้

หน่วยท่ี ๔ ชือ่ หน่วย พลเมืองกับความรับผดิ ชอบต่อสงั คม เวลา ๓ ชั่วโมง
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖
แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๔ เร่อื ง ความเป็นพลเมืองไทยท่สี มบูรณ์

๑. ผลการเรียนรู้
๑) มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับพลเมอื งและมคี วามรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม
๒) ปฏบิ ตั ติ นตามหน้าที่พลเมืองและมคี วามรบั ผิดชอบต่อสังคม
๓) ตระหนกั และเหน็ ความสำ� คัญของการตอ่ ตา้ นและปอ้ งกันการทุจรติ
๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
๑) นักเรยี นสามารถระบพุ ฤติกรรมของพลเมอื ง/พลโลกทม่ี คี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ การทจุ รติ ได้
๒) นักเรยี นสามารถวเิ คราะห์พฤตกิ รรมของพลเมือง/พลโลกท่มี ีความรับผิดชอบตอ่ การทจุ รติ ได้
๓) นักเรียนสามารถเสนอแนวทางในการสร้างเสริมส�ำนึกความเป็นพลเมืองที่ความรับผิดชอบ
ตอ่ การทุจรติ ได้
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
๑) ลกั ษณะพฤติกรรมของพลเมอื ง/พลโลกทีม่ ีความรับผิดชอบตอ่ การทุจรติ
๒) แนวทางในการสร้างเสริมส�ำนกึ ความเปน็ พลเมอื งท่มี คี วามรับผิดชอบตอ่ การทจุ ริต
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กิด)
๑) ความสามารถในการสอื่ สาร
- การฟัง พูดและเขียน
๒) ความสามารถในการคดิ
- การคิดวิเคราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคิดเป็นระบบ และการคิดอย่างสรา้ งสรรค์
๓) ความสามารถในการแกป้ ัญหา
- การแกป้ ญั หาและอปุ สรรคอยา่ งมเี หตผุ ล และความเขา้ ใจความสมั พนั ธแ์ ละเหตกุ ารณ์
ต่าง ๆ ในสังคม
๔) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
- การทำ� งานกล่มุ
๓.๓ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์/ค่านิยม
คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
- มวี ินัย

116 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพิม่ เติม การปอ้ งกันการทจุ ริต”

๔. กจิ กรรมการเรียนรู้
๔.๑ ข้นั ตอนการเรยี นรู้
ช่ัวโมงที่ ๑
๑) ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายและทบทวนความหมายของคำ� วา่ พลเมืองและพลโลก
๒) ครูและนักเรยี นร่วมกนั สนทนาเกีย่ วกบั ข่าว เหตกุ ารณ์ เกี่ยวกบั ความเสียหาย ภยั พิบตั ิ
หรือการทุจรติ ทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ ครูกลา่ วเชอ่ื มโยงเขา้ สูบ่ ทเรยี นโดยใช้ค�ำถามว่า ใครคือผ้ทู ี่
ต้องรบั ผิดชอบตอ่ เหตุการณ์ท่เี กดิ ขน้ึ บ้าง
๓) แบง่ กลมุ่ นกั เรยี นเปน็ ๓กลมุ่ จากนน้ั ศกึ ษากรณศี กึ ษาความเปน็ พลเมอื งทม่ี คี วามรบั ผดิ ชอบ
ต่อสงั คมในประเดน็ ตอ่ ไปนี้
ก. การเกิดแผ่นดินไหวทปี่ ระเทศญีป่ ุ่น
ข. การอบั ปางของเรอื เฟอรร์ าร่ี ประเทศเกาหลใี ต้
ค. การลาออกของนายกรัฐมนตรเี กาหลีใต้
๔) นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงการกระท�ำของพลเมืองท่ีแสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
จากกรณีศึกษา และร่วมกันหาข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งท่ีสร้างให้พลเมืองในประเทศมีความรับผิดชอบ
ต่อเหตุการณ์ทเี่ กดิ ข้ึน
ชว่ั โมงที่ ๒
๕) ให้นักเรียนจับคู่ และหาข่าวเหตุการณ์เกี่ยวกับการทุจริตท่ีเกิดข้ึนท้ังในประเทศ และ
ต่างประเทศ คู่ละ ๑ เหตุการณ์ จากนั้นนักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ว่าจากการทุจริตท่ีเกิดขึ้น พลเมือง
ที่มีความรับผิดชอบต่อการทจุ ริตจะแสดงพฤติกรรมอยา่ งไร
๖) นักเรียนน�ำเสนอข้อสรุปของแต่ละคู่ในกระดาษฟลิบชาร์ทแล้วน�ำมาติดบนกระดาน
จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั พจิ ารณาขอ้ สรปุ ทเี่ หมอื นกนั และตา่ งกนั แลว้ รวบรวมพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกถงึ
ความรับผิดชอบต่อการทุจริตที่สรุปได้ในชนั้ เรียน
ชว่ั โมงท่ี ๓
๗) แบง่ นกั เรยี นออกเปน็ ๔ กลมุ่ กลมุ่ ละเทา่ ๆ กนั จากนนั้ นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั อภปิ ราย
และเสนอกจิ กรรมและแนวทางในการสรา้ งเสรมิ สำ� นกึ ความเปน็ พลเมอื งทค่ี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ การทจุ รติ
โดยเขยี นลงในกระดาษฟลปิ ชารท์ และน�ำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น
๘) ครูและนักเรียนร่วมกันถอดบทเรียนเก่ียวกับความเป็นพลเมืองกับความรับผิดชอบต่อ
สังคมและสรปุ เป็นแผนผงั ความคิด
๙) นกั เรยี นแต่ละคนทำ� ใบงาน เร่อื งพลเมืองทร่ี บั ผิดชอบตอ่ การป้องกนั การทุจรติ

ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖ 117

๔.๒ ส่อื การเรยี นร/ู้ แหล่งการเรยี นรู้
๑) เน้ือขา่ ว/กรณศี ึกษา
๒) กระดาษฟลิปชารท์
๓) สเี มจกิ
๔) ใบงาน เรือ่ งพลเมืองทรี่ บั ผดิ ชอบต่อการปอ้ งกนั การทุจริต
๕) ถอดบทเรยี น เรอื่ ง ความเป็นพลเมืองกบั ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม
๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้
๕.๑ วิธกี ารประเมนิ
๑) ตรวจแผนผังความคิดการถอดบทเรียน เร่ือง ความเป็นพลเมืองกับความรับผิดชอบ
ต่อสังคม
๒) ตรวจใบงาน เรื่อง พลเมอื งทีร่ ับผิดชอบต่อการป้องกันการทจุ ริต
๓) สังเกตพฤตกิ รรมมีวนิ ยั
๕.๒ เคร่ืองมอื ทใี่ ช้ในการประเมนิ
๑) แบบให้คะแนนแผนผังความคิดการถอดบทเรียน เรื่อง ความเป็นพลเมืองกับ
ความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม
๒) แบบประเมินใบงาน เรอื่ ง พลเมอื งท่รี ับผิดชอบต่อการป้องกนั การทจุ ริต
๓) แบบสังเกตพฤตกิ รรมมีวินัย
๕.๓ เกณฑก์ ารตัดสิน
- นักเรียนผา่ นการประเมินทกุ กิจกรรม ไดค้ ะแนนระดับดีขนึ้ ไปถอื ว่าผา่ น
- นักเรียนผ่านการประเมนิ พฤติกรรมระดบั ดขี ้นึ ไป
๖. บันทึกหลงั สอน
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

ลงช่ือ..............................................ครผู ้สู อน
(..................................................)

118 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพมิ่ เติม การปอ้ งกนั การทุจรติ ”

๗. ภาคผนวก

กรณศี ึกษา

กรณศี กึ ษา การเกิดแผน่ ดนิ ไหวที่ประเทศญ่ปี ุน
ประเทศญ่ีปุ่นเป็นประเทศท่ีเกิดภัยพิบัติทำงธรรมชำติบ่อยคร้ัง แต่ละคร้ังมีควำมรุนแรง
และสร้ำงควำมเสียหำยต่อชีวิตและทรัพย์สินเป็นจ�ำนวนมำก แต่จำกควำมยำกล�ำบำกจำก
ส่ิงท่ีเกิดข้ึน ก็ได้เกิดส่ิงท่ีน่ำสนใจจำกพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงควำมเป็นพลเมือง ทั้งในส่วนของ
ควำมรับผิดชอบตอ่ สงั คม จติ สำธำรณะ ควำมมีวนิ ัย และอน่ื ๆ โดยจะนำ� เสนอเปน็ เรอื่ งรำวสน้ั ๆ
เพื่อง่ำยตอ่ กำรทำ� ควำมเข้ำใจ ดงั นี ้ โดยเน้ือหำนำ� มำจำกบทควำมเรอื่ ง “เร่อื งรำวด ี ๆ ของคนญป่ี ่นุ
ยำมภำวะฉกุ เฉิน”(“เรือ่ งรำวด ี ๆ ”, ๒๕๕๔)
กรณีท่ี ๑ ท่ีสวนสนุกแห่งหน่ึง เกิดเหตุกำรณ์ซ่ึงท�ำให้นักท่องเท่ียวจ�ำนวนมำกไม่สำมำรถ
ออกไปขำ้ งนอกได ้ และทำงร้ำนขำยของก็ไดเ้ อำขนมมำแจกนักทอ่ งเท่ยี ว มนี กั เรียนชัน้ มัธยมปลำย
หญงิ กลมุ่ หนง่ึ ไปเอำมำเปน็ จำ� นวนมำก ซง่ึ มำกเกนิ กวำ่ ทจี่ ะบรโิ ภคหมด ขำ้ พเจำ้ รสู้ กึ ทนั ทวี ำ่ “ทำ� ไม
เอำไปเยอะ” แตว่ นิ ำทีต่อมำกลำยเปน็ ควำมรูส้ กึ ตืน้ ตนั ใจ เพรำะ “เด็กกล่มุ นนั้ เอำขนมไปใหเ้ ด็ก ๆ
ซง่ึ พอ่ แมไ่ ม่สำมำรถไปเอำเองได้ เนอื่ งจำกตอ้ งอยู่ดูแลลกู
จำกเหตุกำรณ์นี้แสดงให้เห็นถึงควำมเอื้อเฟื้อ กำรช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และมี
ควำมรบั ผิดชอบต่อผู้อ่นื
กรณที ี่ ๒ ในซุปเปอรม์ ำรเ์ ก็ตแหง่ หน่งึ มีของตกระเกะระกะเต็มพ้ืนเพรำะแรงแผน่ ดนิ ไหว
แตค่ นทีเ่ ขำ้ ไปซือ้ ของได้ช่วยกันเกบ็ ของข้นึ ไวบ้ นชน้ั แลว้ ก็หยิบส่วนทต่ี นอยำกซ้อื ไปตอ่ คิวจ่ำยเงิน
จำกเหตกุ ำรณน์ แ้ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ ควำมเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย กำรชว่ ยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั และ
มีควำมรบั ผิดชอบตอ่ ผอู้ น่ื
กรณีท่ี ๓ ในจังหวัดจิบะเกิดแผ่นดินไหวบ้ำนเรือนพังเสียหำย คุณลุงคนหนึ่งที่หลบภัยอยู่
ก็ไดเ้ ปรยออกมำวำ่ ตอ่ จำกนี้ไปจะเป็นอยำ่ งไร เด็กหนุ่ม ม.ปลำย กต็ อบกลับไปวำ่ “ไม่เป็นไรครับ
ไม่ต้องหว่ ง ต่อจำกนีไ้ ปเมอื่ เปน็ ผใู้ หญ่ พวกผมจะทำ� ให้มนั กลับมำเหมือนเดมิ แนน่ อน

ระดบั ช้ันมัธยมศึกษำปที ี่ ๖ 119

กรณศี กึ ษา การอปั ปางของเรือเฟอรร์ ่ีของเกาหลใี ต้
กรณีกำรอัปปำงของเรือเฟอร์ร่ีของเกำหลีใต้ท่ีช่ือเซวอล ซ่ึงจมลงระหว่ำงกำรเดินทำง
จำกกรงุ โซลไปยงั เกำะเซจทู ง้ั สำเหตขุ องกำรลม่ ของเรอื ควำมรบั ผดิ ชอบของกปั ตนั เรอื นำยลจี นู เซย๊ี ก
(Lee Joon-seok) และผู้ช่วยกัปตันเรือ กำรปฏิบัติกำรและกำรกระจำยค�ำส่ังของลูกเรือ
หลังเกดิ อบุ ัตเิ หตุ รวมทงั้ กำรกู้ภยั ที่ยังคงดำ� เนนิ อยู่ซง่ึ พบศพผโู้ ดยสำร ๕๔ คนสญู หำย ๒๔๘ คน
รอดชวี ติ ๑๗๔ คนจำกจำ� นวนผโู้ ดยสำรและลกู เรอื ทง้ั หมด ๔๗๖ คน ผเู้ สยี ชวี ติ และสญู หำยสว่ นใหญ่
เปน็ นกั เรยี นมธั ยมจำกโรงเรยี น Danwon High School ในเมอื งอนั ซนั ชำนกรงุ โซลทไ่ี ปทศั นศกึ ษำ
ถึง ๓๕๐ คน
รอ้ ยเอกนำยแพทย ์ ยงยทุ ธ มยั ลำภ ไดเ้ ขยี นเรอ่ื งทน่ี ำ่ สนใจประเดน็ หนง่ึ ไว ้ คอื กำรปฏบิ ตั ขิ อง
นักเรยี นทอ่ี ยู่บนเรอื หลงั จำกมคี ำ� ส่ังจำกลกู เรือไปยงั ผโู้ ดยสำรเมือ่ เกิดเหตแุ ลว้ กค็ อื “ให้นั่งอยกู่ บั ที่
หำ้ มเคล่อื นไหวไปไหน ขณะทเี่ จ้ำหนำ้ ทีก่ �ำลังดำ� เนินกำรแกไ้ ขปญั หำกันอย่ซู ง่ึ ผ้โู ดยสำรจำ� นวนมำก
ก็ปฏบิ ตั ติ ำมคำ� สงั่ น้”ี จนกระท่ังเรือเอียงและจมลงแมว้ ำ่ จะมีเวลำถึง ๒ ชั่วโมงกวำ่ ก่อนท่ีเรือจะจม
ซง่ึ ผโู้ ดยสำรนำ่ จะมเี วลำเพยี งพอทจ่ี ะสำมำรถชว่ ยเหลอื ตวั เองออกมำจำกเรอื ได ้ ซงึ่ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ
วนิ ัยของเดก็ ๆ นักเรียนทฟ่ี ังค�ำสั่งของ “ผู้ใหญ่” และสะท้อนถึงควำมมรี ะเบยี บวนิ ัยของคนเกำหลี
ท่ีเชื่อฟังค�ำส่ังแม้ตนทรำบดีว่ำอันตรำย ใกล้ตัวเข้ำมำมำกแล้วแต่คร้ังน้ี “ผู้ใหญ่” คงประเมิน
สถำนกำรณ์ผิดพลำดอย่ำงร้ำยแรง มีรำยงำนว่ำลูกเรือ ได้พยำยำมกระจำยค�ำส่ังสละเรือในช่วง
ครึ่งช่ัวโมงต่อมำหลังจำกเกิดอุบัติเหตุแต่เข้ำใจว่ำค�ำส่ังน้ีกระจำยไปไม่ทั่วถึง และเชื่อว่ำผู้โดยสำร
จ�ำนวนมำกโดยเฉพำะเดก็ ๆ ก็ยงั คงนัง่ อยู่กบั ท ่ี (ยงยุทธ มัยลำภ, ม.ป.ป.)
กรณศี ึกษา การลาออกของนายกรัฐมนตรีชาวเกาหลใี ต้
กำรลำออกของนำยกรัฐมนตรี ชอง ฮง วอน เพ่ือรับผิดชอบต่อกำรล่มของเรือเซลวอน
และไม่สำมำรถช่วยเหลือได้อย่ำงรวดเร็ว ทั้ง ๆ ที่นำยกรัฐมนตรีไม่ใช่คนขับเรือและก็ไม่ใช่คน
ท่เี ขำ้ ไปชว่ ยเหลอื
เดือนธันวำคม ๒๕๔๘ นายฮูห์ จุนยัง ผู้บัญชำกำรต�ำรวจเกำหลีใต้ ได้ยื่นหนังสือลำออก
จำกต�ำแหน่งเพื่อรับผิดชอบกรณีท่ีต�ำรวจปรำบปรำมกลุ่มผู้ประท้วงจนถึงแก่ควำมตำยกรณี
เจำ้ หนำ้ ทต่ี ำ� รวจทบุ ตกี ลมุ่ เกษตรกรทม่ี ำรวมตวั ประทว้ งเรอื่ งกำรเปดิ เสรขี ำ้ วในกรงุ โซล จนเปน็ เหตุ
ใหม้ ชี ำวนำเสยี ชีวิต ๒ คน พรอ้ มกับขอโทษต่อกรณีดงั กลำ่ ว (เมธำ มำสขำว, ๒๕๕๗)
เดือนมนี ำคม ๒๕๔๙ นำยกรัฐมนตรีล ี เฮชอน แห่งเกำหลีใต ้ ประกำศลำออกจำกต�ำแหน่ง
ภำยหลังจำกท่ีเขำแอบไปร่วมตีกอล์ฟกับกลุ่มนักธุรกิจ ที่เมืองปูซำนเม่ือวันท่ี ๑ มีนำคม ๒๕๔๙
แม้จะเป็นวันหยุดของเกำหลีใต้ แต่ก็ฟังไม่ขึ้น ในขณะท่ีทั้งประเทศก�ำลังประสบปัญหำเนื่องจำก
กำรประทว้ ง ของพนกั งำนรถไฟ (เมธำ มำสขำว, ๒๕๕๗)
120 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพมิ่ เตมิ การป้องกนั การทจุ รติ ”

ใบงาน
พลเมืองทรี่ ับผดิ ชอบต่อการปอ้ งกันการทุจรติ

ค�ำชีแ้ จง ให้นักเรียนเขียนลักษณะพลเมืองท่ีรับผิดชอบต่อการป้องกันการทุจริต ๓ ด้าน คือ ความรู้/
ความคิด การกระทำ� และค่านยิ ม ความรู้สกึ

ค�ำช้ีแจง ให้นักเรียนเขียนเล่าเรื่องการปฏิบัติตนของตนเองท่ีแสดงถึงความเป็นพลเมือง
ทีร่ บั ผิดชอบต่อการป้องกันการทุจริตมาอย่างนอ้ ย ๑ เหตกุ ารณ์
....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ 121

ถอดบทเรียนความเปน็ พลเมอื งกับความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม

ค�ำชแ้ี จง ให้นักเรียนเขียนแผนผังมโนทัศน์ถอดบทเรียนเกี่ยวกับความเป็นพลเมืองกับความรับผิดชอบ
ต่อสังคม

122 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพ่มิ เติม การป้องกันการทุจริต”

แบบประเมนิ การน�ำ เสนอผลงาน

กลมุ่ ท่.ี .............................เร่ือง...................................................................................................................
วนั ท.่ี ..........................................................................................................................................................

ค�ำชแ้ี จง ใหผ้ สู้ อนประเมนิ การนำ� เสนอผลงานของนกั เรยี นตามรายการทก่ี ำ� หนด แลว้ ทำ� เครอ่ื งหมาย �
ลงในช่องทตี่ รงกบั ระดับคะแนน

ที่ รายการ คะแนน ผลการตัดสนิ
เตม็ ได้ ผ่าน ไมผ่ า่ น
๑ ความพรอ้ มในการนำ� เสนอ ๔
๒ ความถกู ตอ้ งสมบูรณข์ องเนือ้ หา ๔
๓ กระบวนการน�ำเสนอ ๔
๔ ความคดิ สร้างสรรค์ ๔
๕ ความส�ำเรจ็ โดยรวมของผลงาน ๔
๒๐
รวม

รายชื่อสมาชกิ
๑. .................................................................................................................................................
๒. .................................................................................................................................................
๓. .................................................................................................................................................
๔. .................................................................................................................................................
๕. .................................................................................................................................................

เกณฑก์ ารใชค้ ะแนน เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ
ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสมบูรณช์ ดั เจน ให้ ๔ คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพรอ่ งบางสว่ น ให้ ๓ คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ

ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพรอ่ งเป็นส่วนใหญ ่ ให้ ๒ คะแนน ๑๘ - ๒๐ ดีมาก

ผลงานหรอื พฤติกรรมมขี ้อบกพร่องมาก ให ้ ๑ คะแนน ๑๔ - ๑๗ ดี

๑๐ - ๑๓ พอใช้

ต�่ำกว่า ๑๐ ปรบั ปรงุ

ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๖ 123

แบบสงั เกตพฤติกรรม
“มีวินยั ”

คำาชแ้ี จง ทำ� เคร่ืองหมำย � ในช่องท่ีตรงกับควำมเป็นจริงตำมเกณฑ์กำรประเมนิ

เลขท่ี ชอื่ - สกลุ ปฏิบตั ิตนตาม ตรงตอ่ เวลาในการ รวม ผลการประเมนิ
ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ปฏิบตั กิ จิ กรรมต่าง ๆ คะแนน ผ่าน ไมผ่ า่ น
๑ ระเบียบ ขอ้ บงั คับ
๒ ในชวี ิตประจำาวัน
๔ ของครอบครัว และรับผดิ ชอบ
๔ โรงเรียนและสังคม ในการทาำ งาน

ไม่ละเมิดสทิ ธิ์ ๔ ๓ ๒ ๑ ๘ คะแนน
ของผอู้ ื่น

๔๓๒๑

เกณฑ์การใชค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ
๔ คะแนน เทำ่ กับ ดีมำก ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ
๓ คะแนน เทำ่ กบั ดี ๗ - ๘ ดมี ำก
๒ คะแนน เท่ำกบั พอใช้ ๕ - ๖ ดี
๑ คะแนน เทำ่ กับ ปรบั ปรงุ ๓ - ๔ พอใช้
๑ - ๒ ปรับปรุง

ลงชอ่ื .................................................ครูผู้ประเมนิ
(.................................................)
................/................/...............

124 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพม่ิ เติม การปอ้ งกนั การทุจริต”

ภาคผนวก

ค�ำ สัง่ คณะกรรมการ ป.ป.ช.

ที่ ๖๔๖/๒๕๖๐
เรือ่ ง แต่งต้งั คณะอนุกรรมการจัดท�ำ หลักสูตร หรอื ชุดการเรยี นร้แู ละส่ือประกอบการเรียนรู้

ดา้ นการป้องกันการทจุ ริต

--------------------------------

ดว้ ย คณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการประชุมครงั้ ที่ ๘๕๕-๒๖/๒๕๖๐ เมือ่ วนั ท่ี ๑๑ เมษายน ๒๕๖๐
ไดม้ มี ติเหน็ ชอบใหแ้ ตง่ ตงั้ คณะอนกุ รรมการจดั ทำ�หลกั สูตรหรอื ชดุ การเรียนร้แู ละสือ่ ประกอบการเรยี นรู้
ด้านการป้องกันการทุจริต เพื่อดำ�เนินการจัดทำ�หลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้
ด้านการป้องกันการทุจริต สำ�หรับใช้เป็นเนื้อหามาตรฐานกลางให้สถาบันการศึกษาหรือหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องนำ�ไปพิจารณาปรับใช้ในการเรียนการสอนให้กับกลุ่มเป้าหมายครอบคลุมทุกระดับช้ันเรียน
เพ่ือปลูกฝังจิตสำ�นึกในการแยกแยะประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม จิตพอเพียง
และสรา้ งพฤตกิ รรมทไ่ี มย่ อมรบั และไมท่ นตอ่ การทจุ รติ อนั เปน็ การดำ�เนนิ งานตามยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ย
การปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ “สร้างสังคม
ไม่ทนต่อการทุจริต” กลยุทธ์ท่ี ๑ ปรับฐานความคิดทุกช่วงวัยต้ังแต่ปฐมวัยให้สามารถแยกระหว่าง
ผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม และกลยุทธ์ที่ ๓ ประยุกตห์ ลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เปน็ เครอ่ื งมอื ต้านทจุ ริต
ฉะนนั้ อาศยั อำ�นาจตามมาตรา ๑๙(๑๖)แหง่ พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั
และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๙ จึงขอแต่งตั้ง
คณะอนกุ รรมการจดั ทำ�หลกั สตู รหรอื ชดุ การเรยี นรแู้ ละสอื่ ประกอบการเรยี นรู้ ดา้ นการปอ้ งกนั การทจุ รติ
โดยมอี งค์ประกอบ ดังน้ี
๑. รองศาสตราจารย์ ดร.มาณี ไชยธรี านุวัฒศิริ ประธานอนุกรรมการ
๒. รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. อนกุ รรมการ
(นายประหยัด พวงจำ�ปา)
๓. ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. อนกุ รรมการ
(นายกติ ติ ลมิ้ พงษ)์
๔. ผ้ชู ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. อนกุ รรมการ
(นายอทุ ิศ บวั ศร)ี
๕. ผอู้ ำ�นวยการสำ�นักป้องกนั การทจุ ริตภาคการเมือง อนกุ รรมการ

126 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพิ่มเตมิ การป้องกันการทจุ รติ ”

๖. ผอู้ ำ�นวยการสำ�นกั ปอ้ งกนั การทจุ ริตภาครฐั วิสาหกิจ อนกุ รรมการ
และธุรกิจเอกชน อนกุ รรมการ
๗. ผอู้ ำ�นวยการสำ�นักปอ้ งกนั การทจุ ริตภาคประชาสังคม อนกุ รรมการ
และการพฒั นาเครอื ข่าย อนกุ รรมการ
๘. ผู้แทนสำ�นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ อนุกรรมการ
(ดา้ นการสร้างหลักสตู รและสอื่ การเรยี นรู้) อนกุ รรมการ
๙. ผแู้ ทนสำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน อนุกรรมการ
(ด้านการสรา้ งหลกั สตู รและส่อื การเรียนร)ู้ อนุกรรมการ
๑๐. ผู้แทนสำ�นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
(ด้านการสร้างหลกั สตู รและสื่อการเรยี นรู้) อนกุ รรมการ
๑๑. ผแู้ ทนสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา อนกุ รรมการ
(ดา้ นการสร้างหลักสูตรและสอ่ื การเรยี นร)ู้ อนกุ รรมการ
๑๒. ผู้แทนสำ�นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา อนุกรรมการ
(ด้านการสร้างหลักสตู รและสอ่ื การเรยี นร)ู้
๑๓. ผแู้ ทนสำ�นกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและ อนกุ รรมการ
การศกึ ษาตามอธั ยาศยั
(ดา้ นการสรา้ งหลักสูตรและสื่อการเรยี นรู้) อนกุ รรมการ
๑๔. ผู้แทนสำ�นกั งานลูกเสอื แหง่ ชาติ อนุกรรมการ
(ด้านการสร้างหลกั สตู รและสอ่ื การเรยี นร)ู้ อนุกรรมการ
๑๕. ผู้แทนท่ปี ระชุมอธิการบดแี หง่ ประเทศไทย
(ดา้ นการสร้างหลักสตู รและสอ่ื การเรยี นร้)ู
๑๖. ผู้แทนทป่ี ระชุมอธิการบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั
(ดา้ นการสรา้ งหลกั สตู รและสอ่ื การเรียนร้)ู
๑๗. ผแู้ ทนคณะกรรมการอธกิ ารบดีมหาวิทยาลยั
เทคโนโลยีราชมงคล
(ด้านการสรา้ งหลักสูตรและสื่อการเรียนร)ู้
๑๘. ผู้แทนสถาบนั วชิ าการป้องกนั ประเทศ
กองบัญชาการกองทพั ไทย
(ด้านการสรา้ งหลักสูตรและสื่อการเรียนรู้)
๑๙. ผู้แทนกรมยทุ ธศกึ ษาทหารบก
(ด้านการสรา้ งหลกั สตู รและสื่อการเรียนร)ู้
๒๐. ผูแ้ ทนกรมยทุ ธศึกษาทหารเรอื
(ดา้ นการสรา้ งหลกั สูตรและส่อื การเรียนร)ู้
๒๑. ผแู้ ทนกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ
(ด้านการสร้างหลกั สูตรและสื่อการเรยี นร)ู้

ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ 127

๒๒. ผแู้ ทนกองบัญชำกำรศึกษำ สำ� นักงำนตำ� รวจแหง่ ชำติ อนุกรรมกำร
(ดำ้ นกำรสรำ้ งหลักสตู รและสอ่ื กำรเรยี นรู)้
๒๓. พลโท ดร.ชยั ฤกษ์ แกว้ พรหมมำลย ์ อนุกรรมกำร
๒๔. นำยเสฏฐนันท ์ องั กูรภำสวชิ ญ ์ อนุกรรมกำร
๒๕. นำยสเุ ทพ พรหมวำศ อนุกรรมกำร
๒๖. ผอู้ �ำนวยกำรส�ำนักป้องกันกำรทจุ ริตภำครัฐ อนุกรรมกำรและเลขำนุกำร
๒๗. นำยสมพจน ์ แพ่งประสทิ ธิ ์ ผูช้ ว่ ยเลขำนกุ ำร
๒๘. นำงสำวกลั ยำ สวนโพธิ ์ ผชู้ ่วยเลขำนุกำร
๒๙. นำยสรำวฒุ ิ เศรษฐกร ผู้ช่วยเลขำนุกำร
๓๐. นำยกำญจน์บณั ฑิต สนนชุ ผชู้ ว่ ยเลขำนุกำร
๓๑. นำยเทอดภูม ิ ทัศนพิมล ผชู้ ่วยเลขำนุกำร
๓๒. นำยธนวฒั น ์ มะแม้น ผชู้ ว่ ยเลขำนกุ ำร
โดยคณะอนกุ รรมกำรฯ มอี �ำนำจหน้ำทด่ี งั นี้
๑. ศึกษำ วิเครำะห์ และรวบรวมข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับกำรจัดท�ำหลักสูตรหรือชุดกำรเรียนรู้
และสื่อประกอบกำรเรียนร ู้ ด้ำนกำรปอ้ งกนั กำรทจุ รติ
๒. กำ� หนดแนวทำงและขอบเขตในกำรจดั ทำ� หลกั สตู รหรอื ชดุ กำรเรยี นรแู้ ละสอ่ื ประกอบกำรเรยี นร ู้
ดำ้ นกำรปอ้ งกนั กำรทจุ รติ ตำมกรอบยทุ ธศำสตรช์ ำตวิ ำ่ ดว้ ยกำรปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำรทจุ รติ ระยะท ่ี ๓
(พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ยุทธศำสตร์ท่ี ๑ “สรำ้ งสังคมไมท่ นต่อกำรทจุ ริต”
๓. พิจำรณำยกร่ำงและจัดท�ำเนื้อหำหลักสูตรหรือชุดกำรเรียนรู้และสื่อประกอบกำรเรียนรู้
ด้ำนกำรป้องกันกำรทุจริต โดยก�ำหนดโครงสร้ำงหลักสูตร วัตถุประสงค์ของหลักสูตร จุดประสงค์ของ
รำยวิชำ เนื้อหำสำระ จัดระเบียบ/ล�ำดับของเนื้อหำสำระ วิธีกำรประเมินผลกำรเรียนรู้ รวมทั้งอื่น ๆ
ทเี่ กี่ยวขอ้ ง
๔. พิจำรณำให้ควำมเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับกำรจัดท�ำหลักสูตรหรือชุดกำรเรียนรู้และส่ือประกอบ
กำรเรียนรู้ ด้ำนกำรป้องกันกำรทุจริต เพ่ือให้มีเนื้อหำที่ครอบคลุมและสมบูรณ์ พร้อมทั้งน�ำเสนอ
คณะกรรมกำร ป.ป.ช. พิจำรณำให้ควำมเหน็ ชอบ ทง้ั น้ ี ใหด้ ำ� เนนิ กำรแลว้ เสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๖๐
๕. ก�ำหนดแผนหรือแนวทำงกำรน�ำหลักสูตรหรือชุดกำรเรียนรู้และสื่อประกอบกำรเรียนรู้
ดำ้ นกำรปอ้ งกันกำรทจุ รติ ไปใช้ในหน่วยงำนทเ่ี กย่ี วข้อง
๖. ดำ� เนนิ กำรอนื่ ๆ ตำมท่ีคณะกรรมกำร ป.ป.ช. มอบหมำย
ทงั้ น ้ี ต้ังแตบ่ ดั น้เี ป็นต้นไป
สั่ง ณ วันท ี่ ๒๖ เดอื น เมษำยน พ.ศ. ๒๕๖๐

พลตำ� รวจเอก
(วชั รพล ประสำรรำชกจิ )
ประธำนกรรมกำรปอ้ งกันและปรำบปรำมกำรทจุ รติ แห่งชำติ
128 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพ่มิ เติม การปอ้ งกนั การทจุ ริต”

รายชอ่ื คณะทำ�งาน
จดั ท�ำ หลักสูตร หรอื ชุดการเรียนรู้ และสื่อประกอบการเรยี นรู้

ด้านการป้องกันการทุจรติ กลุม่ การศึกษาขั้นพื้นฐาน
--------------------------------

ที่ปรึกษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
๑. นายบุญรักษ์ ยอดเพชร รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
๒. นางสาวอุษณยี ์ ธโนศวรรย์ ผ้อู ำ�นวยการสำ�นกั พัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
๓. นายสุรศักด์ิ อนิ ศรีไกร ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปราม
๔. นายอทุ ิศ บวั ศร ี การทจุ รติ แห่งชาติ


คณะทำ�งาน ครู โรงเรยี นอนบุ าลเสาไห้ สพป.สระบุรี เขต ๑
กลมุ่ ที่ ๑ หลกั สูตรปฐมวัย ครู โรงเรียนอนบุ าลบอ่ พลอย สพป.กาญจนบรุ ี เขต ๔
๑. นางธารณี พรมหนู ครู โรงเรยี นอนบุ าลบ่อพลอย สพป.กาญจนบุรี เขต ๔
๒. นางสมบัตร สืบศกั ด์ิ ครู โรงเรียนอนบุ าลบอ่ พลอย สพป.กาญจนบุรี เขต ๔
๓. นางสาวนภัสสร ภริ มยร์ กั ษ์ ครู โรงเรยี นวดั เกา้ ช่งั สพป.สงิ หบ์ รุ ี
๔. นางสาวลักขณา โคบตุ ร ครู โรงเรยี นวดั ระนาม สพป.สงิ ห์บรุ ี
๕. นางสมใจ จนี เท่ห ์ ครู โรงเรียนวัดบ้านป้องน้อย สพป.ราชบรุ ี เขต ๒
๖. นางสาวกชกร จนี เทห์ ครู โรงเรยี นอนบุ าลเดมิ บางนางบวช (วดั ทา่ ชา้ ง)
๗. นางสุพิกา ต้นสอน สพป.สพุ รรณบรุ ี เขต ๓
๘. นายพัฒนา พวงมาลี ครู โรงเรียนวัดบ่อกรุ “คุรปุ ระชาสรรค”์
สพป.สพุ รรณบรุ ี เขต ๓
๙. นางสภุ คั ษร พรอดุ มประเสรฐิ ครู โรงเรยี นวดั บอ่ กรุ “คุรุประชาสรรค์”
สพป.สุพรรณบรุ ี เขต ๓
๑๐. นางฐิติพร ศรแี จ่ม ครู โรงเรียนวดั น�ำ้ พุ สพป.สุพรรณบุรี เขต ๓

๑๑. นางอารยี ์วรรณ เขม็ เงนิ

กลุ่มที่ ๒ หลกั สตู รประถมศกึ ษาตอนต้น ครู โรงเรียนชลประทานอนุเคราะห์
๑. นางสาวสุภัสสร สุภาพ สพป.พระนครศรอี ยธุ ยา เขต ๑
ครู โรงเรยี นชลประทานอนุเคราะห์
๒. นางสาวกนกนพ วรัฏธร สพป.พระนครศรีอยุธยา เขต ๑


ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๖ 129

๓. นางอารี พวงวรนิ ทร ์ ผอู้ ำ�นวยการโรงเรยี นวดั ทงุ่ คอก (สวุ รรณสาธกุ จิ )
สพป.สพุ รรณบรุ ี เขต ๒
๔. นางละเอียด สะอิ้งทอง ครู โรงเรียนวัดทงุ่ คอก (สุวรรณสาธกุ ิจ)
สพป.สุพรรณบรุ ี เขต ๒
๕. นางสาวเรณู กศุ ลวงษ์ ครู โรงเรียนอนบุ าลวัดอ่างทอง สพป.อา่ งทอง
๖. นางสุจิรา อาบู ครู โรงเรียนบา้ นนาดา สพป.นราธิวาส เขต ๑
๗. นางสาววิไลวรรณ ทองไหม ครู โรงเรยี นเมอื งนราธวิ าส สพป.นราธิวาส เขต ๑
๘. นางสาวนิตยา อาหมาด ครู โรงเรียนบ้านมะนงั กาหยี สพป.นราธวิ าส เขต ๑
๙. นางสาวกสั มานี มามะ ครู โรงเรยี นบา้ นบอื เจา๊ ะ สพป.นราธวิ าส เขต ๑
๑๐. นางสาวนิสริน เทพลักษณ ์ ครู โรงเรยี นบ้านโคกพนอม สพป.นราธิวาส เขต ๑
๑๑. นายยูกฟิ ลี มาหะ ครู โรงเรียนบ้านฮูแตยือลอ สพป.นราธวิ าส เขต ๑
๑๒. นางสาวซาฮาเราะ เจะย ิ ครู โรงเรยี นบ้านยอื สาแม สพป.นราธวิ าส เขต ๑

กลมุ่ ที่ ๓ หลักสูตรประถมศึกษาตอนปลาย ผอู้ ำ�นวยการโรงเรยี นวดั นางแก้ว สพป.ราชบุรี เขต ๒
๑. นายกิตตพิ งศ์ ศรทั ธาวาณชิ ย ์ ครู โรงเรยี นวดั สมถะ (สมถวทิ ยาคาร) สพป.ราชบรุ ี เขต ๒
๒. นางพรทพิ ย์ อิ่มศิลป ์ ครู โรงเรียนวัดนางแก้ว สพป.ราชบรุ ี เขต ๒
๓. นางอัจฉราวดี บญุ โต ครู โรงเรียนวัดนางแกว้ สพป.ราชบุรี เขต ๒
๔. นางสาวศริ เิ พ็ญ จนั ทร์ทอง ครู โรงเรยี นวัดนางแก้ว สพป.ราชบรุ ี เขต ๒
๕. นางสาวเสาวรส แสนแซว ครู โรงเรยี นวดั นางแก้ว สพป.ราชบุรี เขต ๒
๖. นางสมพร คำ�นชุ ครู โรงเรยี นบ้านกูวา สพป.นราธิวาส เขต ๑
๗. นางรสุ นานี ยะโก๊ะ ครู โรงเรยี นบา้ นยะหอ สพป.นราธวิ าส เขต ๑
๘. นางซเี ตาะห์ นมิ ะ ครู โรงเรียนสายน้�ำทพิ ย์ สพป.กรุงเทพมหานคร
๙. นางสนุ ทรี ทองชติ ร์ ครู โรงเรยี นสายนำ�้ ทพิ ย์ สพป.กรุงเทพมหานคร
๑๐. นางสาวพชิ ญดา ไชยด ี ครู โรงเรียนสายน�ำ้ ทพิ ย์ สพป.กรงุ เทพมหานคร
๑๑. นางสาวศศิธร ค�ำนึง ครู โรงเรียนสายน�้ำทิพย์ สพป.กรุงเทพมหานคร
๑๒. นางสาวณชิ นนั ทน์ สวุ รรณาภยั

กลุม่ ที่ ๔ หลกั สูตรมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ครู โรงเรียนวดั นางแก้ว สพป.ราชบุรี เขต ๒
๑. นางสาวสุธรี า ศิรพิ ิรุณ ครู โรงเรียนวัดนางแกว้ สพป.ราชบุรี เขต ๒
๒. นางสลติ ตา มะโนวัฒนา ครู โรงเรยี นวัดดอนกระเบอ้ื ง สพป.ราชบุรี เขต ๒
๓. นางทวิ าพร อณุ ยเกียรต ิ ครู โรงเรยี นชมุ ชนวัดบา้ นเลือก สพป.ราชบรุ ี เขต ๒
๔. นางสาววรรณดี ศรีอินสวสั ด์ิ ครู โรงเรยี นบ้านลาดวถิ ี สพป.ประจวบครี ขี นั ธ์ เขต ๒
๕. นางสาวฉวีวรรณ หอธรรมกลุ ครู โรงเรยี นบ้านตะพานหนิ (ประชาสามคั ค)ี
๖. นางสาวชนาธปิ เทยี นวรรณ สพป.ชัยนาท


130 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพิ่มเตมิ การปอ้ งกันการทุจรติ ”

๗. นายวิทยา ศริ ดิ ำ�รง ครู โรงเรยี นบ้านไพรนกยูง (วนั ชยั ประชาสรรค)์
สพป.ชยั นาท
๘. นางสาวขจร สังข์ประเสรฐิ ครู โรงเรยี นบ้านหนองตอ่ สพป.ชยั นาท
๙. นายเมธา สรุ ะจิตร ครู โรงเรยี นวดั บางปนู สพป.สงิ ห์บรุ ี
๑๐. นายนพรัตน์ บุญอน้ ครู โรงเรียนบา้ นบอ่ กะปุง สพป.นครสวรรค์ เขต ๒
๑๑. นางสาวบษุ ยพรรณ พรหมวาทย์ จนั ทรา ครู โรงเรยี นสุรศักดมิ์ นตรี สพม. เขต ๒
๑๒. นางสาวลกั ษกิ า มกี ศุ ล ครู โรงเรียนสาคลวี ิทยา สพม. เขต ๓

กลมุ่ ท่ี ๕ หลกั สูตรมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
๑. นายภธู ร จนั ทะหงษ์ ปุณยจรัสธำ�รง ผอู้ ำ�นวยการกลมุ่ วจิ ยั และพฒั นาองคก์ รแหง่ การเรยี นรู้สนก.
๒. นายจักรพงษ์ วงคอ์ า้ ย นกั วชิ าการศกึ ษา สนก.
๓. นายฐาปณฐั อดุ มศร ี นกั วิชาการศึกษา สนก.
๔. นายศุภกร มรกต ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.ราชบุรี เขต ๒
๕. นายสพลกติ ติ์ สังขท์ ิพย ์ ครู โรงเรียนตากฟ้าวิชาประสิทธ์ิ ชว่ ยราชการ สนก.
๖. นางสาวพรรณราย ธนสตั ยส์ ถติ ย ์ ครู โรงเรยี นเสาไห้ “วมิ ลวิทยานุกูล” สพม. เขต ๔
๗. นายวรนิ ทร ตนั ติรัตน์ ครู โรงเรยี นหนองแคสรกจิ วทิ ยา สพม. เขต ๔
๘. นางเยาวลักษณ์ หงส์หริ ญั เรอื ง ครู โรงเรยี นสายนำ้ �ผงึ้ ในพระอุปถมั ภ์ สพม. เขต ๒
๙. นางสาวขวญั วภิ า ภ่แู ส ครู โรงเรยี นอนิ ทรบ์ ุรี สพม. เขต ๕
๑๐. นายธรรมสรณ์ สศุ ิร ิ ครู โรงเรียนอินทร์บุรี สพม. เขต ๕
๑๑. นางสาววภิ า ทวีวงศ์ ครู โรงเรียนชมุ ชนวดั ใหญ่โพหกั สพป.ราชบรุ ี เขต ๒
๑๒. นางสาวดวงจนั ทร์ บัวเบา ครู โรงเรยี นชมุ ชนวดั ใหญ่โพหัก สพป.ราชบุรี เขต ๒

คณะท�ำ งานส่วนกลาง ขา้ ราชการบำ�นาญ กระทรวงศึกษาธิการ
๑. นายไชยวฒั น์ สคุ นั ธวิภตั ิ ข้าราชการบำ�นาญ กระทรวงศึกษาธกิ าร
๒. นางสาธุพร สุคนั ธวภิ ตั ิ ข้าราชการบำ�นาญ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
๓. นางสาวสรรเสรญิ สวุ รรณ์ ข้าราชการบำ�นาญ กระทรวงศึกษาธกิ าร
๔. นางสณุ ิสาห์ ม่วงคราม เจ้าพนกั งานธรุ การชำ�นาญงาน สนก.
๕. นางสจุ ิตรา พิชยั นักจัดการงานท่วั ไป สนก.
๖. นางสาวณัฐรดา เนตรสว่าง นักจดั การงานทัว่ ไป สนก.
๗. นางสาวมณฑาทิพย์ ศิริสุมทุม พนักงานบันทกึ ขอ้ มลู สนก.
๘. นางสาวศรัญญา โชต ิ เจา้ หนา้ ทบี่ รหิ ารทั่วไป สนก.
๙. นายสหัสพล ษรบณั ฑิต เจ้าหนา้ ทบี่ รหิ ารทวั่ ไป สนก.
๑๐. นายภรู ติ ะ ปราศกาเมศ เจา้ หนา้ ที่บริหารทว่ั ไป สนก.
๑๑. นางสาวอรอมุ า เสือเฒา่

ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ 131

รายชอื่ คณะบรรณาธกิ ารกจิ
หลักสูตร หรือชุดการเรยี นรแู้ ละสื่อประกอบการเรียนรู้
ดา้ นการป้องกนั การทจุ รติ กลมุ่ การศึกษาข้นั พื้นฐาน
--------------------------------
ทปี่ รกึ ษา
๑. นายบุญรกั ษ์ ยอดเพชร เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
๒. นางสาวอุษณยี ์ ธโนศวรรย ์ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน
๓. นายสรุ ศกั ดิ์ อนิ ศรไี กร ผอู้ ำ�นวยการสำ�นักพัฒนานวตั กรรมการจัดการศกึ ษา
๔. นายอุทิศ บวั ศรี ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปราม
การทจุ รติ แหง่ ชาติ

คณะท�ำ งาน ขา้ ราชการบำ�นาญ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
๑. นางสาวสรรเสรญิ สุวรรณ ์ ข้าราชการบำ�นาญ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
๒. นางจำ�นงค์ ศรมี ังกร ศึกษานเิ ทศก์ ศึกษาธกิ ารจงั หวัดชัยนาท
๓. นายธนบดพี พิ ัฒน์ ดำ�นลิ ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.พษิ ณโุ ลก เขต ๓
๔. นางณัฐพร พว่ งเฟื่อง ศึกษานเิ ทศก์ สพป.ราชบรุ ี เขต ๒
๕. นายศภุ กร มรกต ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.อุดรธานี เขต ๑
๖. นายวนิ ัย อสณุ ี ณ อยธุ ยา ศึกษานเิ ทศก์ สพป.มหาสารคาม เขต ๓
๗. นายณัฐพล คมุ้ วงศ์ ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.นนทบุรี เขต ๒
๘. นางเพ็ญจา เสมอเหมอื น ศึกษานเิ ทศก์ สพม. เขต ๑๗
๙. นางบังอร ควรประสงค ์ ผอู้ ำ�นวยการโรงเรยี นสายน้ำ�ทพิ ย์ สพป.กรงุ เทพมหานคร
๑๐. นางนิรมล บัวเนยี ม ผู้อำ�นวยการโรงเรียนบา้ นหนองปลาตอง
๑๑. นายวชิรเมษฐ์ บำ�รงุ ผดงุ วทิ ย์ (ประชาวทิ ยาคาร) สพป. สกลนคร เขต ๑
ผู้อำ�นวยการโรงเรียนบ้านแบง สพป.หนองคาย เขต ๒
๑๒. นายไกรสร พมิ พป์ ระชา ผอู้ ำ�นวยการโรงเรยี นบา้ นโคกเฟอื ง สพป.บรุ รี มั ย์ เขต ๓
๑๓. นายธนกฤติ พรมบตุ ร ผอู้ ำ�นวยการโรงเรยี นบางมดวทิ ยา
๑๔. นายบุณยพงศ์ โพธวิ ฒั นธ์ นตั “สสี กุ หวาดจวนอปุ ถมั ภ”์ สพม. เขต ๑
ผอู้ ำ�นวยการโรงเรยี นผกั ไห่ “สทุ ธาประมขุ ” สพม. เขต ๓
๑๕. นางนันทนา ชมชน่ื ผอู้ ำ�นวยการโรงเรยี นบา้ นรบั ร่อ สพป.ชุมพร เขต ๑
๑๖. นางสาวปยิ นชุ เป่ยี มวริ ิยวงศ์ ผู้อำ�นวยการโรงเรียนบ้านหินกบ สพป.ชุมพร เขต ๑
๑๗. นางทพิ าภรณ์ หญตี ศรีคำ� ครู โรงเรียนอนบุ าลลพบุรี สพป.ลพบรุ ี
๑๘. นางสุจิตรา จรรยา ครู โรงเรียนคิชฌกฏู วิทยา สพม. เขต ๑๗
๑๙. นางสาวภัณฑลิ า บ้านด่าน ครู โรงเรียนวดั บางปนู สพป.สงิ หบ์ รุ ี
๒๐. นางสุวรรณี ศกั ด์ชิ ัยสมบูรณ์

132 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพ่มิ เติม การป้องกนั การทุจรติ ”

๒๑. นางลดั ดา คำ�วจิ ติ ร ครู โรงเรยี นวัดโบสถ์ สพป.สิงหบ์ ุรี
๒๒. นางสาวชัญญานุช รัตนวิชัย ครู โรงเรียนบางมดวิทยา “สีสกุ หวาดจวนอุปถมั ภ”์
สพม. เขต ๑
๒๓. นางสาวอรสา อิษฐเจริญ ครู โรงเรยี นบางมดวิทยา “สีสกุ หวาดจวนอุปถัมภ”์
สพม. เขต ๑
๒๔. นางสาวรัตนากร ศรีคุณ ครู โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สสี กุ หวาดจวนอปุ ถัมภ”์
สพม. เขต ๑
๒๕. นางสาวกัญญาพัชร หมมู่ ่วง ครู โรงเรยี นบางมดวทิ ยา “สีสกุ หวาดจวนอุปถมั ภ”์
สพม. เขต ๑
๒๖. นางสาวประภาลักษณ์ เพียมะ ครู โรงเรียนบางมดวิทยา “สีสุกหวาดจวนอปุ ถมั ภ”์
สพม. เขต ๑
๒๗. นางสาวณฐั ทติ า รกั ษา ครู โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สสี กุ หวาดจวนอปุ ถัมภ์”
สพม. เขต ๑
๒๘. นางสาวเบญจวรรณ ศริ ิหัตถ์ ครู โรงเรยี นบางมดวทิ ยา “สสี กุ หวาดจวนอุปถมั ภ์”
สพม. เขต ๑
๒๙. นางสาวรงั สมิ า ไกรนรา ครู โรงเรยี นบางมดวิทยา “สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ์”
สพม. เขต ๑
๓๐. นางสาวสุวรรณี สมประเสรฐิ ครู โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สีสุกหวาดจวนอุปถมั ภ์”
สพม. เขต ๑
๓๑. นายบริบรู ณ์ พรหมสว่าง ครู โรงเรียนบางมดวทิ ยา “สีสกุ หวาดจวนอุปถมั ภ”์
สพม. เขต ๑
๓๒. นางนติ ยา ภิรมย์กจิ นกั ทรพั ยากรบคุ คล สพร.
๓๓. นายภธู ร จนั ทะหงษ์ ปณุ ยจรสั ธำ�รง ผอู้ ำ�นวยการกลมุ่ บริหารทัว่ ไป สนก.
๓๔. นายจกั รพงษ์ วงค์อา้ ย นักวิชาการศกึ ษา สนก.
๓๕. นายสพลกิตติ์ สังข์ทิพย์ ครู โรงเรยี นตากฟา้ วิชาประสทิ ธ์ิ ช่วยราชการ สนก.
๓๖. นายฐาปณัฐ อดุ มศรี นักวิชาการศึกษา สนก.
๓๗. นางสุจติ รา พชิ ยั เจ้าพนักงานธุรการ สนก.
๓๘. นางสาวณัฐรดา เนตรสวา่ ง นักจัดการงานท่วั ไป สนก.
๓๙. นางสาวศรัญญา โชติ พนกั งานบันทึกขอ้ มลู สนก.
๔๐. นายสหสั พล ษรบณั ฑิต เจ้าหนา้ ทบ่ี ริหารทวั่ ไป สนก.
๔๑. นางสาวอรอุมา เสอื เฒ่า เจ้าหนา้ ทบี่ ริหารท่วั ไป สนก.

ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ 133

รายชือ่ คณะผปู้ ระสานงาน
การจดั ท�ำ หลกั สูตร หรอื ชดุ การเรยี นรู้และสอ่ื ประกอบการเรียนรู้
ด้านการป้องกนั การทจุ รติ กลุม่ การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
สำ�นักงาน ป.ป.ช.
--------------------------------
ท่ปี รกึ ษา
๑. นายวรวิทย์ สขุ บญุ เลขาธิการคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ
๒ . นายประหยดั พวงจำ�ปา รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ
๓ . นายกิตติ ลิ้มพงษ์ ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ
๔ . นายอุทิศ บวั ศรี ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ
๕ . นางสาวจนิ ตนา พลอยภัทรภญิ โญ ผ้อู ำ�นวยการสำ�นกั ปอ้ งกนั การทุจรติ ภาครฐั

คณะผูป้ ระสานงาน เจา้ พนกั งานปอ้ งกนั การทจุ รติ เชี่ยวชาญ
๑. นายสมพจน์ แพ่งประสิทธ์ ิ เจ้าพนักงานป้องกันการทจุ ริตชำ�นาญการ
๒ . นายสราวุฒิ เศรษฐกร เจา้ พนักงานป้องกันการทจุ รติ ชำ�นาญการ
๓ . นายธนวัฒน์ มะแม้น เจ้าพนกั งานป้องกนั การทุจรติ ปฏิบตั กิ าร
๔. นายณฐั พงศ์ มณีจักร ์ นักศึกษาฝึกงาน มหาวยิ าลยั ราชภัฏจนั ทรเกษม
๕ . นางสาวจดิ าภา แสงหิรัญ นกั ศกึ ษาฝึกงาน มหาวิยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
๖. นางสาววัลภา บุญชู

134 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพ่มิ เติม การป้องกนั การทุจริต”




Click to View FlipBook Version