The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mthawat, 2015-11-24 02:14:50

HowcomeLearning

ให้โอกาสนกั ศึกษาไดฝ้ กึ ประยุกต์ในหลากหลายบรบิ ท
การฝึกฝนใช้ทกั ษะชดุ นัน้ ๆ ในหลากหลายบริบท จะชว่ ยใหน้ กั ศึกษา
สามารถประยกุ ตท์ กั ษะชดุ นน้ั ในบริบทใหมท่ แี่ ตกต่างออกไปได้

ใหน้ กั ศกึ ษาตคี วามยกระดับความเข้าใจสูห่ ลักการ (Generalize)
การมีทักษะ คือทำ�ได้ ยังไม่ใช่การรู้จริง  จะรู้จริงต้องท้ังทำ�ได้และ
อธิบายได้ วา่ ทำ�ไมท�ำ เช่นนน้ั จึงสำ�เรจ็ หากทำ�แตกต่างท�ำ ไมไมส่ �ำ เร็จ คอื
ต้องมีท้ังทกั ษะและทฤษฎ ี จะร้จู รงิ ได้นกั ศึกษาจึงตอ้ งฝกึ ทงั้ ทักษะ และฝกึ
การตคี วามทกั ษะและผลทีเ่ กิดขน้ึ ดว้ ยทฤษฎี

ใชก้ ารเปรียบเทียบ เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษาเข้าใจลึก
นักศึกษาจะประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะได้ดี นักศึกษาต้องมี
ความเขา้ ใจความหมายของเรอื่ งนน้ั ในมติ ทิ ล่ี กึ ซงึ้ และเชอื่ มโยง ไมใ่ ชส่ มั ผสั
หรอื เขา้ ใจเพยี งมติ ผิ วิ เผนิ  วธิ ชี ว่ ยใหเ้ ขา้ ใจความหมายในมติ ทิ ล่ี กึ ท�ำ ไดโ้ ดย
ใหน้ กั ศกึ ษาเปรยี บเทยี บปญั หา/กรณ/ี ฉากสถานการณ/์ กจิ กรรม ตามกรอบ
แนวทางท่ีกำ�หนด เช่นในรายวิชาฟิสิกส์ ให้นักศึกษาเปรียบทียบระหว่าง
ทางลาดกับลูกรอก  เพ่ือให้นักศึกษาเรียนรู้เรื่องแรงโน้มถ่วงและความฝืด
(Friction) ในมิติที่ลึก ว่าการใช้ทางลาดกับใช้รอกเพื่อยกของขึ้นท่ีสูง
ใช้หลักการเอาชนะแรงโน้มถว่ งหลกั การเดยี วกัน 
     
กำ�หนดสถานการณ์  แล้วให้นักศึกษาบอกว่าจะใช้ความรู้หรือ
ทักษะใด
น่ีคือแบบฝึกหัดให้นักศึกษาเชื่อมโยงระหว่างงานหรือกิจกรรม
กบั ทกั ษะ รวมทง้ั ฝกึ บรู ณาการทกั ษะองคป์ ระกอบหลายตวั เพอื่ ใชใ้ นบรบิ ท
หรือสถานการณน์ ้นั ๆ ในแบบฝกึ หัดนี้ คำ�ถามท่ีดี ท่ีกระตุ้นและยั่วยุ ของครู 
จะช่วยให้เป็นการเรียนรู้ที่สนุกและเร้าใจ และที่สำ�คัญ ช่วยให้นักศึกษา
เข้าใจแต่ละทักษะ/ความรู้ ในมิติท่ลี ึกซง้ึ  และเรยี นรกู้ ารประยกุ ตใ์ ชท้ ักษะ/
ความร้เู หลา่ นนั้ ตามความหมายท่ีลึกเหลา่ น้นั
ครทู ่เี กง่ คอื ครทู ต่ี ้ังค�ำ ถามเก่ง ไม่ใช่ครูทส่ี อนเน้อื หาเก่ง

ศ.นพ.วิจารณ์ พานชิ 101

กำ�หนดความรู้และทักษะ ให้นักศึกษาบอกว่าจะนำ�ไปใช้ใน
สถานการณใ์ ด
นค่ี อื การกลบั ทางเทคนคิ ทผี่ า่ นมา คอื แทนทจ่ี ะใหน้ กั ศกึ ษาตอบโจทย์
กลบั ใหน้ กั ศกึ ษาเปน็ ผตู้ ง้ั โจทย ์ วา่ หากตอ้ งการใหฝ้ กึ ประยกุ ตท์ กั ษะ/ความรู้
หนึ่งชดุ  จะกำ�หนดเรอื่ งราว/กจิ กรรม/โจทยใ์ ดใหน้ ักศกึ ษาลงมือท�ำ  
ผมมีความเห็นว่า การฝึกทักษะเช่นนี้ สามารถจัดนักศึกษาเป็นทีม
ให้แข่งขันกันตั้งโจทย์และตอบโจทย์ จะสนุกมาก โดยครูทำ�หน้าท่ีชักชวน
นกั ศกึ ษาตง้ั กตกิ าของการแขง่ ขัน

มตี วั ชีน้ �ำ /เตอื นความจ�ำ ให้นกั ศกึ ษานึกถึงความรทู้ เ่ี หมาะสม
ตวั ชน้ี �ำ ในภาษาองั กฤษเขาเรยี ก Prompt เปน็ ตวั ชว่ ยเชอ่ื มโยงความคดิ
จากสิ่งทีน่ ักศกึ ษาร้ดู ีและคลอ่ งแคล่วแลว้ ไปสู่ส่ิงใหม ่ ตัวช้ีนำ�ทีด่ ีอยใู่ นรูป
คำ�ถาม ไม่ใช่คำ�ตอบ เช่น “เรื่องน้ีเช่ือมโยงกับเรื่องหน่ึงท่ีเราเรียนสัปดาห์
ทแ่ี ลว้ นกั ศกึ ษาคดิ วา่ เปน็ เรอ่ื งอะไร เชอื่ มโยงอยา่ งไร” “เรอ่ื งนเี้ กย่ี วขอ้ งกบั
ปรากฏการณ์ธรรมชาติท่เี ป็นขา่ วใหญเ่ มือ่ ปที ีแ่ ล้ว นักศึกษาบอกได้ไหมว่า
เป็นข่าวอะไร เก่ยี วขอ้ งกบั เรอ่ื งทเ่ี ราก�ำ ลงั เรียนอยา่ งไร”

สรปุ
เพอ่ื ใหเ้ กดิ การเรยี นแบบรจู้ รงิ ในเรอื่ งใดเรอ่ื งหนงึ่ นกั ศกึ ษาตอ้ ง
เรียนรูท้ ักษะย่อยๆ ของเรือ่ งน้นั จนทำ�ไดอ้ ยา่ งเป็นอัตโนมัติ เรยี นรู้
วธิ ปี ระกอบทักษะย่อยเข้าเป็นชดุ ท่ีเหมาะสมตอ่ การใชง้ านในแต่ละ
บริบท เพ่ือประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับกาลเทศะหรือสถานการณ์
น้ันๆ  ซ่ึงเท่ากับ นักศึกษาต้องเรียนรู้ ๓ อย่าง จึงจะเกิดการเรียนแบบ
“รจู้ รงิ ” (Mastery) คอื เรยี นร ู้ (๑) ทกั ษะยอ่ ย (๒) การบรู ณาการทกั ษะยอ่ ย
เปน็ ชดุ ทกั ษะ/ความรู้ ทเี่ หมาะสม (๓) บรบิ ท หรอื กาละเทศะ ในการใชท้ กั ษะ
แตล่ ะชดุ อย่างเหมาะสม

วิจารณ์ พานชิ
๑ ม.ค. ๕๖

102 การเรียนรู้เกดิ ข้นึ อยา่ งไร

ศ.นพ.วจิ ารณ์ พานิช 103

104 การเรยี นรู้เกดิ ข้นึ อยา่ งไร

๑๐.การเรียนรเู้ กดิ ขึน้ อย่างไร

การท�ำ หนา้ ท่ี “ครูฝึก”

ตอนท่ี ๑๐ และ ๑๑ มาจากบทที่ ๕  What Kind of Practice and
Feedback Enhance Learning?  ซ่งึ ผมตคี วามวา่ เปน็ บททวี่ ่าด้วย
การเปน็ “ครูฝกึ ” ทด่ี ี วธิ ีใช้เวลาทมี่ จี �ำ กดั ในการฝึกนักศกึ ษาและ
ใหข้ ้อมูลป้อนกลับแกน่ ักศึกษาใหฝ้ กึ ฝนเรยี นรู้ อยา่ งไดผ้ ลแท้จรงิ  

ไมห่ ลงใช้วิธีการผดิ ๆ 

ศ.นพ.วจิ ารณ์ พานชิ 105

ครตู อ้ งชว่ ยใหน้ ักศกึ ษาฝกึ โดยเข้าใจ
เปา้ หมายของการฝกึ เปน็ ขน้ั เปน็ ตอนอยา่ งน ้ี
หลายกรณี ครูเขา้ ใจผดิ วา่ ตนบอกนกั ศึกษา
ชดั เจนแลว้ แตช่ ดั เจนส�ำ หรบั ครู ไมช่ ดั เลย
สำ�หรบั ศิษย์ การฝึกจึงเปะปะไรค้ วามหมาย
สำ�หรบั ศิษย์

106 การเรยี นรเู้ กิดขน้ึ อย่างไร

นักศึกษามีเวลาและความสามารถทางสมองจำ�กัด แต่ครูก็สามารถ
เอ้ืออำ�นวยให้เกิดการเรียนรู้ท่ีดีได้ คือเป้าหมายของหนังสือบทนี้  กล่าว
อีกนัยหนึ่ง บทนี้วา่ ดว้ ยวิธีท่คี รชู ่วยให้นักศกึ ษา “Learn Smarter” น่ันเอง 
การฝึกปฏบิ ตั ิ และการให้ค�ำ แนะน�ำ ปอ้ นกลบั

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช จากหนังสอื How Learning Works:
7 Research-Based Principles for
Smart Teaching เขยี นโดย Susan
A. Ambrose และคณะ

107

การจัดโจทย์สำ�หรับการฝึกปฏิบัติท่ีดี และการให้ข้อมูลป้อนกลับท่ีดี 
คอื การชว่ ยใหน้ กั ศกึ ษาฝกึ ทกั ษะแบบลงทนุ นอ้ ย ไดผ้ ลมาก นค่ี อื หนา้ ทขี่ อง
“ครฝู ึก”
จากรปู การ “ฝกึ ปฏิบัติ” ทด่ี ตี ้องมี “เป้าหมาย” ท่ตี ้องการบรรลชุ ดั เจน
วดั หรอื รสู้ กึ ได ้ ระหวา่ งฝกึ มกี าร “ประเมนิ สมรรถนะ” อยตู่ ลอดเวลา มกี ารน�ำ
ผลประเมิน “ป้อนกลับ” มาสร้างความมุ่งม่ันไปให้ถึงเป้าหมาย และสร้าง
ปตี สิ ขุ เมอ่ื บรรล ุ สภาพเชน่ นเี้ ปน็ วงจรยกระดบั เปา้ หมายสมรรถนะทสี่ งู ขน้ึ ๆ
จน “รูจ้ ริง”  
การฝึกปฏิบัติมที ้งั วิธที ดี่ ี และวธิ ที ีเ่ ลว

ขยนั ฝึก แตไ่ มไ่ ดอ้ ะไร
ขยนั ฝกึ แต่ไม่ไดอ้ ะไร เป็นสภาพของกรณีตวั อยา่ งทผี่ เู้ ขยี นนำ�มาเลา่
เปน็ ค�ำ พร่ำ�บ่นของศาสตราจารย์ผูห้ นง่ึ  ท่ีให้นกั ศึกษา “เรยี นโดยลงมือทำ�” 
แต่เวลานำ�เสนอผลงานนักศึกษาเน้นที่การทำ� Slide Presentation ที่
สวยงาม มลี กู เลน่ แพรวพราว แตส่ าระทน่ี �ำ เสนอตนื้ เขนิ  แนะน�ำ ทไี ร ผลกไ็ ด้
เหมอื นเดมิ ทกุ ที ไมม่ ีการยกระดบั เปา้ หมาย  
เพราะขยนั ฝกึ แตส่ งิ่ ทตี่ นท�ำ ไดด้ อี ยแู่ ลว้ และไมใ่ ชท่ กั ษะหลกั ทต่ี อ้ งการ 
ทักษะหลักที่ต้องการส่วนท่ีต้อง “รู้จริง” มันลึกและยาก นักศึกษาจึงเลี่ยง
เอาทกั ษะผิวเผนิ และไม่ยากมาบงั หนา้
ผมเหน็ สภาพนเ้ี ตม็ ไปหมดในสังคมไทย  โดยเฉพาะในวงการศกึ ษา

การฝกึ ปฏบิ ัตทิ ถ่ี ูกตอ้ ง
การฝกึ ปฏบิ ตั ทิ ใ่ี หผ้ ลเรยี นรแู้ ละพฒั นาทกั ษะ/สมรรถนะ ไดด้ ที สี่ ดุ ตอ้ ง
มีลกั ษณะครบ ๓ ประการ คือ (๑) เน้นหรอื พงุ่ เปา้ ไปท่ีเป้าหมายหรอื ทักษะ
จ�ำ เพาะ (๒) มเี ปา้ หมายพฒั นาทกั ษะเพม่ิ จากทนี่ กั ศกึ ษามอี ยแู่ ลว้ ในระดบั
ความท้าทายทีพ่ อเหมาะ (๓) มกี ารฝกึ นานพอเหมาะ และบอ่ ยพอเหมาะ
เพอื่ การบรรลทุ กั ษะ/สมรรถนะ เปา้ หมาย


108 การเรยี นร้เู กิดขึ้นอยา่ งไร

พุ่งเป้าการฝึกไปท่ีเป้าหมายหรือเกณฑ์ความสำ�เร็จที่จำ�เพาะ
และชดั เจน
ผลการวิจัยบอกว่า การฝึกฝนมีหลายแบบ แบบที่จะนำ�ไปสู่ความ
พากเพียรพยายาม ฝึกฝนต่อเนื่องเรียกว่าการฝึกอย่างมีเป้าหมายแจ่มชัด
(Deliberate Practice) ซง่ึ หมายความวา่ นกั ศกึ ษามเี ปา้ หมายของตนชดั เจน
วา่ การฝกึ ขนั้ ตอนนต้ี อ้ งการบรรลอุ ะไร รไู้ ดอ้ ยา่ งไรวา่ บรรลุ เพอ่ื เปน็ พนื้ ฐาน
ไปสู่การฝึกทกั ษะขัน้ สูงอะไรตอ่ ไป โดยรู้วา่ เป้าหมายสุดทา้ ยคืออะไร 
ครตู อ้ งชว่ ยใหน้ กั ศกึ ษาฝกึ โดยเขา้ ใจเปา้ หมายของการฝกึ เปน็ ขนั้
เป็นตอนอย่างนี้ หลายกรณี ครูเข้าใจผิดว่าตนบอกนักศึกษาชัดเจน
แล้ว  แต่ชัดเจนสำ�หรับครู ไม่ชัดเลยสำ�หรับศิษย์ การฝึกจึงเปะปะ
ไร้ความหมายสำ�หรับศษิ ย์ 
เป้าหมายเป็นตัวให้พลังในการพุ่งเป้าความพยายาม ไม่ว่าทำ�อะไร
เราควรฝึกตัวเองให้ทำ�อย่างมีเป้าหมายเสมอ จะช่วยให้ทำ�ได้ดีกว่าปกติ 
เวลาผมอ่านหนังสือ ผมจะใช้วิธี “ถามหนังสือ” ไม่ใช่อ่านไปเรื่อยๆ การ
“ถาม” เป็นการกำ�หนดเป้าหมายน่ันเอง 
ทักษะของครู ในการทำ�ให้ศิษย์มีความชัดเจนของเป้าหมายของการ
ฝึกแต่ละข้ันตอน จึงมีความสำ�คัญย่ิง ย่ิงให้นักศึกษาได้เข้าใจการฝึกตอน
ตอ่ ๆ ไปข้างหน้า อกี ๒ - ๓ ข้ันตอน  และเขา้ ใจว่า ขัน้ ตอนเหล่านั้นจะน�ำ ไป
สเู่ ป้าหมายใหญข่ องนกั ศึกษาอยา่ งไร นกั ศึกษาจะยิ่งมกี �ำ ลังใจและมีพลงั
ในการฝกึ  ซง่ึ หมายความวา่ ครตู อ้ งรเู้ ปา้ หมายในชวี ติ ของนกั ศกึ ษาแตล่ ะคน 
และท�ำ ใหเ้ ปา้ หมายของการฝกึ เลก็ ๆ นน้ั เปน็ สว่ นหนง่ึ ของเปา้ หมายทกั ษะ/
สมรรถนะชดุ ใหญ ่ ทจ่ี ะปทู างไปสเู่ ปา้ หมายอนั ยง่ิ ใหญข่ องชวี ติ ของนกั ศกึ ษา
แต่ละคน
อ่านและตีความหนังสือมาถึงตอนน้ี ผมคิดว่าน่ีคือส่วนหน่ึงของการ
สร้างแรงบันดาลใจในการเรียนและในชีวิต และทำ�ให้ผมคิดถึงครูเรฟ
ผเู้ ขยี นหนงั สอื ครนู อกกรอบกบั หอ้ งเรยี นนอกแบบ ซง่ึ ดวู ดี ทิ ศั นแ์ สดงวธิ สี รา้ ง
แรงบันดาลใจแก่ศษิ ย์วยั ๑๐ ขวบ ใน YouTube ได้ท่นี ี่ (http://www.you-
tube.com/watch?v=T77NzAcBijQ)
          ถ้อยค�ำ (ท้งั ทีเ่ ปน็ ข้อเขยี น และเป็นค�ำ พดู ) ท่คี รคู ิดวา่ ชัดเจน  อาจ

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช 109

ไมช่ ดั เจนพอส�ำ หรบั ศษิ ย ์ อาจท�ำ ใหศ้ ษิ ยเ์ ขา้ ใจผดิ และฝกึ ฝนตนเองผดิ เปา้
ท่ีแท้จริง ดังนั้น ครูต้องส่ือสารให้ชัดเจนว่าการฝึกช่วงน้ันต้องการให้
นกั ศกึ ษาท�ำ อะไรไดบ้ า้ ง วดั ความส�ำ เรจ็ อยา่ งไร  อาจตอ้ งบอกวา่ เปา้ หมาย
ที่แทจ้ ริงไมใ่ ช่อะไรบ้าง เพอื่ ให้ชดั เจนถงึ ขนาด   
ระดับความท้าทายพอเหมาะ
ในการฝกึ ฝน นอกจากนกั ศกึ ษามเี ปา้ หมายชดั แลว้ ประเดน็ ฝกึ หดั ตอ้ ง
มรี ะดบั ความยากงา่ ย หรอื ทเ่ี รยี กในสมยั ใหมว่ า่ ความทา้ ทาย (Challenge)
เหมาะสมดว้ ย รวมทงั้ มตี วั ชว่ ยทเ่ี หมาะสมใหน้ กั ศกึ ษาใชค้ วามอดทนมานะ
พยายามกา้ วข้ามความยาก ไปสคู่ วามส�ำ เรจ็ ได้ 
นค่ี อื ส่ิงท่ีครูพึงจัดให้แก่ศษิ ย์ 
มีผู้ให้นิยามการฝึกอย่างมีเป้าหมายแจ่มชัด (Deliberate Practice)
วา่ หมายถึงการท�ำ งานเพือ่ บรรลเุ ป้าหมายทีส่ มเหตุสมผล และท้าทาย  คอื
ต้องมีความท้าทายเป็นส่วนผสมอยู่ด้วย จึงจะถือว่าเป็นการฝึกอย่างมี
เป้าหมายแจ่มชัด  หากไม่ทา้ ทาย นกั ศกึ ษากจ็ ะขาดความสนใจ  หันไปทำ�
อยา่ งอื่น
ในทางตรงกันข้าม ผลการวิจัยบอกว่า หากความท้าทาย ใหญ่/ยาก
เกินไป หรือมีหลายอย่างเกินไป จะเกินแรงสมองของนักศึกษาผลการฝึก
จะไม่ดี
ความท้าทายที่เหมาะสมจึงเป็นโจทย์สำ�หรับครู ท่ีจะศึกษาทำ�ความ
เข้าใจ เช่ือมโยงกับศิษย์แต่ละคน และเช่ือมโยงกับการทำ�หน้าที่
“ครูฝึก” ผมหลับตาเห็นโจทย์วิจัยวิชาการด้านการจัดการเรียนรู้มากมาย
จากเรือ่ งน้ี 
เร่ืองการฝึกภายใต้ความท้าทายพอเหมาะนี้ หนังสือเอ่ยถึงคำ� Zone
of Proximal Development ซ่งึ น่าสนใจมาก คนเปน็ คร/ู อาจารย์ ควรศกึ ษา
รายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ  และพงึ ตระหนกั วา่ ความทา้ ทายทเ่ี หมาะสมตอ้ งคกู่ บั
ความชว่ ยเหลือทเี่ หมาะสมด้วย 

110 การเรียนรูเ้ กิดขึน้ อย่างไร

หนังสือเล่าเรื่องวิธีการสร้าง “ตัวช่วย” มากมาย หลายวิธีเป็นการให้
นกั ศกึ ษาชว่ ยกนั เอง ไมก่ นิ แรงคร ู เปน็ เรอ่ื งทน่ี า่ ทดลองน�ำ มาใชแ้ ละท�ำ งาน
วิจยั ควบคู่ไปดว้ ย

ส่ังสมการฝกึ ฝน
ตอ้ งไมล่ มื วา่ เปา้ หมายของการฝกึ ฝนคอื ท�ำ ไดอ้ ยา่ งเปน็ อตั โนมตั  ิ คอื
ไม่ต้องคิด ดังน้ัน การฝึกฝนซ้ำ�แล้วซำ้�อีกจึงเป็นส่ิงจำ�เป็น แต่เวลาเป็น
ทรัพยากรทีจ่ �ำ กดั   ครพู ึงเข้าใจขอ้ จำ�กดั นี้ของนักศกึ ษา
ครูพึงตระหนักว่า การฝึกฝนของนักศึกษาเป็นช่วงของผู้ฝึกใหม่ 
นกั ศกึ ษาจะคอ่ ยๆ เรยี นรสู้ ง่ั สมทกั ษะ ครตู อ้ งระมดั ระวงั ไมเ่ รง่ รอ้ น และควร
หาโอกาสให้นักศึกษาได้ฝึกแต่ละทักษะซำ้� ไม่ใช่ฝึกครั้งเดียวผ่านไปเลย 
เพราะจะมนี กั ศกึ ษาส่วนใหญ่ที่ยงั ฝึกไมไ่ ดท้ กั ษะจรงิ
 


จากหนงั สอื How Learning Works:
7 Research-Based Principles for
Smart Teaching เขียนโดย Susan
A. Ambrose และคณะ

แผนภาพขา้ งบนมาจากผลการวจิ ยั ทแ่ี สดงวา่ ชว่ งเวลาของการฝกึ ฝน
ใหผ้ ลเพม่ิ สมรรถนะไมเ่ ทา่ กนั คอื เพม่ิ นอ้ ยในชว่ งตน้ และชว่ งปลายทชี่ �ำ นาญ

ศ.นพ.วิจารณ์ พานชิ 111

แล้ว เพิ่มมากในช่วงกลาง ท่ีฝึกฝนทักษะเบ้ืองต้นมาอย่างดีแล้ว หนังสือ
บอกว่าสภาพนีม้ ีท้งั ส่วนจรงิ และสว่ นทีเ่ ป็นความรูส้ กึ ของนักศึกษา ที่เป็น
ความรู้สึกลวงว่า ช่วงเร่ิมต้นฝึกไม่ค่อยได้อะไร ก็เพราะเป็นช่วงฝึกทักษะ
องค์ประกอบย่อย ตัวผู้ฝึกจะไม่รู้สึกว่าได้สมรรถนะ จะรู้สึกว่าได้เพ่ิม
สมรรถนะเมื่อไดท้ กั ษะบรู ณาการ ส่วนตอนท้าย เมอื่ ฝกึ มานาน นกั ศกึ ษา
ไม่ค่อยรู้สึกว่ามีสมรรถนะเพ่ิมขึ้น ก็เพราะส่วนท่ีเพิ่มจะเป็นรายละเอียด
มากๆ ความรสู้ กึ ลวงของนกั ศกึ ษานบ้ี อกวา่  ครตู อ้ งเอาใจใสใ่ หก้ ารประเมนิ
ป้อนกลับความก้าวหน้าของสมรรถนะแก่นักศึกษาในช่วงน้ีมากเป็นพิเศษ 
เพ่อื ใหน้ กั ศกึ ษาได้เห็นคณุ คา่ ของการฝึกชว่ งน้นั  
เทคนิคการเปน็ “ครฝู กึ ”

ประเมินพื้นความรู้ของนักศึกษาสำ�หรับใช้กำ�หนดระดับความ
ทา้ ทาย
ครูต้องตระหนักเสมอว่านักศึกษาในชั้นมีพื้นความรู้แตกต่างกัน 
การทดสอบพ้นื ความรตู้ อนต้นเทอม โดยการให้กรอกแบบสอบถาม ใหท้ �ำ
Pre-Test หรือให้ทำ�การบ้านโดยไม่คิดคะแนน จะช่วยให้ครูรู้จุดแข็งและ
จดุ ออ่ นของนกั ศกึ ษาส�ำ หรบั น�ำ มาใชก้ �ำ หนดระดบั ความยากงา่ ยของการฝกึ

จงระบเุ ป้าหมายของรายวชิ าให้แจม่ ชัด
อย่าปล่อยให้นักศึกษาคิดเอาเองเกี่ยวกับเป้าหมายและรายละเอียด
ของรายวิชา จงระบเุ ป็นข้อเขยี นลงไวใ้ นรายละเอยี ดของรายวิชา (Course
Description)  รวมทงั้ ระบเุ ปา้ หมายของแตล่ ะงานทม่ี อบหมายใหน้ กั ศกึ ษา
ทำ�ด้วย โดยเน้นระบุเป็น “วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม” คือระบุว่าเม่ือจบ
รายวชิ า (หรอื เมอื่ จบงานนนั้ ๆ) นกั ศกึ ษาจะท�ำ อะไรได้  ส�ำ หรบั ใหน้ กั ศกึ ษา
ใชเ้ ปน็ ธงนำ�การเรียนรูข้ องตน


112 การเรียนรูเ้ กดิ ขนึ้ อยา่ งไร

ใช้ Rubric ของการประเมินเพื่อส่ือสารเกณฑ์ของสมรรถนะท่ี
ต้องการอยา่ งชดั เจน
ขอ้ ดขี อง Rubric คอื ชว่ ยแยกแยะงานนน้ั ๆ ออกเปน็ องคป์ ระกอบยอ่ ย 
และบอกเกณฑช์ ดั เจนวา่ สมรรถนะระดบั ต�ำ่ ระดบั ปานกลาง และระดบั สงู
เป็นอย่างไร นักศึกษาจะใช้เป็นเคร่ืองมือนำ�ทางและตรวจสอบการเรียนรู้
ของตนได้
จดั ให้มโี อกาสฝกึ ฝนหลายชอ่ งทาง
ธรรมชาติของการเรียนรู้ คือมีการส่ังสมอย่างช้าๆ ไปกับการฝึกฝน 
ดงั นน้ั การฝกึ ฝนท�ำ โจทยห์ รอื งานเลก็ ๆ หลายๆ ครง้ั จะชว่ ยใหผ้ ลการเรยี นรู้
ดกี วา่ การให้ท�ำ งานใหญ่เพียงครง้ั เดียว 
ครพู งึ ตระหนกั วา่ การฝกึ ทกั ษะใดทกั ษะหนง่ึ เพยี งครง้ั เดยี ว ไมเ่ พยี งพอ
ต่อการเรยี นใหร้ จู้ รงิ

ใชเ้ ทคนคิ Scaffolding ในการมอบหมายงาน
เป็นเทคนิคที่ครูช่วยมากหน่อยในตอนต้นท่ีนักศึกษาทำ�งานท่ีได้รับ
มอบหมาย แล้วครูค่อยๆ ลดการช่วยเหลือลง ใหน้ ักศึกษาชว่ ยตนเอง หรือ
เป็นตวั ของตวั เองมากขน้ึ  
ก�ำ หนดความคาดหวังต่อการฝกึ
นักศึกษามักคิดว่าการฝึกใช้เวลาไม่มาก ซึ่งไม่ตรงความเป็นจริง
ส�ำ หรบั คนฝกึ ใหมท่ ตี่ อ้ งใชเ้ วลาฝกึ อยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน ครจู งึ ตอ้ งมเี อกสารระบุ
แนวทางการฝกึ   บอกรายละเอยี ดเกย่ี วกบั จ�ำ นวนครง้ั  ระยะเวลาแตล่ ะครง้ั  
ชนิดของการฝึก และระดับการฝึก ท่ีต้องการสำ�หรับบรรลุทักษะในระดับ
ที่ต้องการ
ครูมีแนวทางได้ข้อมูลน้ี ๒ วิธี วิธีแรกคือสอบถามจากนักศึกษา
ร่นุ ก่อนๆ  วธิ ีหลังคือ นกั ศึกษาทีเ่ ป็นคนฝกึ ใหม่จะใช้เวลา ๓ - ๔ เท่าของครู
ทีถ่ อื เป็นผู้ช�ำ นาญ

ศ.นพ.วิจารณ์ พานชิ 113

ยกตัวอย่างสมรรถนะทเี่ ป็นเปา้ หมาย
การใหน้ กั ศกึ ษาดตู วั อยา่ งผลงานทดี่ ขี องนกั ศกึ ษารนุ่ กอ่ นๆ จะชว่ ยให้
นกั ศกึ ษานึกออกง่ายขน้ึ ว่าสมรรถนะท่ดี เี ปน็ อยา่ งไร ครคู วรอธบิ ายด้วยวา่
ลกั ษณะสว่ นไหนของผลงานตรงตามเกณฑส์ มรรถนะไหน 
ใหน้ กั ศึกษาไดป้ ระจักษ์สง่ิ ทคี่ รูไม่ต้องการ
เป็นการให้ตัวอย่างท่ีตรงกันข้ามกับหัวข้อก่อน นักศึกษาจะได้เข้าใจ
ชดั เจนวา่ ความเขา้ ใจผดิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ บอ่ ยๆ คอื อะไรบา้ ง นกั ศกึ ษาจะไดไ้ มห่ ลง
ฝึกฝนผดิ ๆ หรอื หลงสรา้ งผลงานท่ีคณุ ภาพต่�ำ
วิธีหนึ่งท่ีจะช่วยให้นักศึกษาเข้าใจเกณฑ์คุณภาพของผลงานชัดคือ
ให้นักศึกษาใช้ Rubric ประเมินให้คะแนนผลงานตัวอย่างของนักศึกษา
รุ่นก่อนๆ
ปรบั ปรงุ เปา้ หมายใหช้ ดั และเหมาะสมยง่ิ ขน้ึ ในระหวา่ งทก่ี ารเรยี น
ก้าวหน้าไประหว่างเทอม
เป้าหมายการเรียนรู้ไม่ควรเป็นเป้าน่ิง ควรปรับไปตามสภาพของ
ผลการเรียนของชั้น  เช่น เมื่อเรียนไปได้ระยะหนึ่ง และนักศึกษาบรรลุ
เป้าหมายการฝึกทักษะแล้ว ครูอาจเพิ่มเป้าหมายให้นักศึกษาประยุกต์
ทักษะไดเ้ รว็ ยิ่งข้ึน   

วิจารณ์ พานิช
๑ ม.ค. ๕๖

114 การเรียนรเู้ กดิ ขึ้นอย่างไร

ศ.นพ.วจิ ารณ์ พานิช 115

116 การเรยี นรู้เกดิ ข้นึ อยา่ งไร

๑๑.การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร

ค�ำ แนะนำ�ป้อนกลับ
(Feedback)

ในตอนท่แี ล้ว สาระสว่ นใหญ่ เนน้ เรอ่ื งวธิ ฝี กึ  สำ�หรับตอนที่ ๑๑ น้ี
จะเน้นเรือ่ งการใหค้ �ำ แนะนำ�ปอ้ นกลบั (Feedback) 

ศ.นพ.วจิ ารณ์ พานชิ 117

ค�ำ แนะนำ�ปอ้ นกลับที่ดี จึงไม่ใชแ่ ค่มี
ผลต่อการเรยี นรใู้ นปัจจบุ ัน แตม่ ผี ลต่อการ
เรยี นร้ใู นอนาคตด้วย ค�ำ แนะนำ�ปอ้ นกลบั
ท่ดี ีของครจู ึงมคี า่ ย่งิ  
...การให้คำ�แนะน�ำ ปอ้ นกลับทีด่ ีท่ีสุด
คือ วธิ กี ารท่ใี นทีส่ ุดแลว้ นักศกึ ษาไม่จำ�เป็น
ตอ้ งรบั ค�ำ แนะน�ำ ป้อนกลับอีกตอ่ ไป

118 การเรยี นร้เู กดิ ขน้ึ อยา่ งไร

ความรู้เก่ยี วกบั ค�ำ แนะนำ�ปอ้ นกลับ (Feedback) 
การฝกึ ปฏบิ ตั อิ ยา่ งมเี ปา้ หมาย (Goal-Directed Practice)  ตอ้ งควบคู่
ไปกับการได้รับการป้อนกลับอย่างมีเป้าหมาย (Targeted Feedback)
การเรียนรจู้ งึ จะบรรลผุ ลดี  
ค�ำ แนะนำ�ป้อนกลบั เปรยี บเสมอื นแผนท่ี เขม็ ทศิ และ GPS  สำ�หรบั
ใช้บอกตำ�แหน่งท่ีอยู่ของนักศึกษาระหว่างการเดินทางของการพัฒนา
ทักษะ/สมรรถนะท่ตี อ้ งการ โดยบอก What, Where และ How คือ บอกส่ิง
ทน่ี กั ศกึ ษารแู้ ลว้ และสง่ิ ทนี่ กั ศกึ ษายงั ไมร่ แู้ ตจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งรู้ (What); บอกวา่
ขนั้ ตอนการพฒั นาสมรรถนะของนกั ศกึ ษาอยตู่ รงไหน ก�ำ ลงั กา้ วหนา้ ดี หรอื
ไม่ค่อยก้าวหน้า (Where); และบอกว่านักศึกษาจะต้องใช้ความพยายาม
ต่อไปอย่างไร (How) 
คำ�แนะนำ�ป้อนกลับที่ดี ช่วยให้การเรียนรู้ง่ายขึ้น เดินตรงทาง และ
สิ้นเปลืองเวลาและแรงสมองน้อยลง รวมทั้งช่วยให้บรรลุผลการเรียนรู้ใน
ระดบั “รจู้ รงิ ” ไมห่ ลงเรยี นรเู้ พยี งผวิ เผนิ หรอื ยง่ิ กวา่ นนั้ คอื ไมห่ ลงเรยี นรผู้ ดิ ๆ 
คำ�แนะนำ�ป้อนกลับที่ดี จึงไม่ใช่แค่มีผลต่อการเรียนรู้ในปัจจุบัน
แต่มีผลต่อการเรียนรู้ในอนาคตด้วย คำ�แนะนำ�ป้อนกลับที่ดีของครู
จึงมคี า่ ย่งิ  
ผลการวิจัยบอกว่า การให้คำ�แนะนำ�ป้อนกลับมีความสำ�คัญท่ี
๒ ปัจจยั คอื สาระ (Content) กับ กาละ (Time)  
ในเรื่องสาระ การส่ือสารคำ�แนะนำ�ป้อนกลับต่อนักศึกษาเป็นการ
ส่ือสารเพ่ือบอกว่านักศึกษาอยู่ตรงไหนแล้วตามเป้าหมายที่ระบุไว้  และ
นกั ศกึ ษาควรปรับปรงุ อะไรบ้างเพ่ือใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายได้อย่างดี 

ศ.นพ.วิจารณ์ พานชิ 119

ในเร่อื งกาละ การใหค้ ำ�แนะน�ำ ปอ้ นกลับ ควรให้ ณ เวลาท่ีนักศึกษา
ใชป้ ระโยชนไ์ ดม้ ากทีส่ ดุ   ตามเป้าหมายการเรยี นรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้
ทีก่ ำ�หนดไว้ 
การให้ค�ำ แนะนำ�ปอ้ นกลบั เปน็ ทั้งศาสตรแ์ ละศลิ ป ์ คือมหี ลักการ แต่
ไมต่ ายตวั ต้องปรับใชใ้ หเ้ หมาะตามสถานการณห์ รอื บริบท 
การสอื่ สารความคบื หน้า และแนะน�ำ ใหพ้ ยายามตอ่ ไป
น่ีคอื เรือ่ งสาระของการใหค้ ำ�แนะนำ�ป้อนกลับ 
ค�ำ แนะน�ำ ปอ้ นกลบั ทมี่ คี า่ ตอ่ นกั ศกึ ษาทสี่ ดุ คอื ค�ำ แนะน�ำ ปอ้ นกลบั เพอ่ื
การปรบั ปรุง (Formative Feedback) ซ่งึ หมายถงึ ค�ำ แนะน�ำ ปอ้ นกลบั เพือ่
การปรบั ปรงุ การเรียนระหว่างทาง ตรงกันข้ามกบั Summative Feedback  
ซง่ึ หมายถึงการบอกผลสุดท้ายของการเรยี น 
การใหค้ �ำ แนะน�ำ ปอ้ นกลบั เพอ่ื ปรบั ปรงุ จะไดผ้ ลดที สี่ ดุ หากสอื่ สารแก่
นักศึกษาในประเด็นท่ีจำ�เพาะมากๆ ในเรื่องสมรรถนะของนักศึกษา
เมอ่ื เทยี บกบั เปา้ หมายการฝกึ /เรยี น และเปน็ การใหส้ ารสนเทศทจ่ี ะชว่ ยให้
นักศกึ ษากา้ วหนา้ ไปบรรลเุ กณฑ์ของเปา้ หมายนน้ั  
ยำ�้ วา่ คำ�แนะนำ�ป้อนกลบั ท่ีดี ต้องไม่เพยี งบอกวา่ นกั ศกึ ษายังอยูไ่ กล
จากเป้าหมายเพียงไร แตต่ อ้ งแนะทางไปสู่เป้าหมายดว้ ย   
ค�ำ แนะนำ�ปอ้ นกลับท่ีดี ชว่ ยบอกจุดทีต่ ้องแกไ้ ขอย่างจำ�เพาะเจาะจง 
ในขณะที่คำ�แนะนำ�ป้อนกลับที่ไม่ดี บอกเพียงกว้างๆ ว่าผลการเรียนเป็น
อย่างไร หรอื เพียงใหค้ ำ�ชม  
ผลการวิจัยบอกว่า คำ�แนะนำ�ป้อนกลับจะให้ผลดีต่อเมื่อมันช่วยให้
นักศึกษาเห็นลู่ทางปรับปรุงการฝึกปฏิบัติของตนเอง และนักศึกษามีขีด
ความสามารถท่ีจะนำ�คำ�แนะนำ�ป้อนกลับน้ันไปใช้ปรับปรุงการฝึกของตน 
ต้องมีท้ัง ๒ ปัจจยั น้ี การให้คำ�แนะน�ำ ป้อนกลบั จงึ จะมีคณุ คา่    
กำ�หนดเวลาใหค้ �ำ แนะนำ�ปอ้ นกลับอยา่ งเหมาะสม
นี่คอื เร่อื งกาละในการใหค้ ำ�แนะน�ำ ปอ้ นกลับ
หนงั สอื ใหค้ �ำ ๓ ค�ำ เกยี่ วกบั เรอ่ื งเวลาทเี่ หมาะสม คอื How early, How

120 การเรียนรเู้ กดิ ขน้ึ อย่างไร

often และ Timeliness  สะทอ้ นวา่ ไมม่ กี ำ�หนดเวลาตายตัว ต้องพิจารณา
ให้เหมาะสมกับเหตุปจั จัย โดยให้กลบั ไปอา่ นตอนสาระข้างบน
ค�ำ ตอบหลกั ตอ่ How early คอื ยง่ิ ใหต้ งั้ แตต่ อนตน้ ๆ ยง่ิ ดี ค�ำ ตอบหลกั
ตอ่ How often คอื ยง่ิ บ่อยยง่ิ ดี แตไ่ มม่ ีค�ำ ตอบหลักตอ่ Timeliness โดย
ให้กลับไปยึดหลักประโยชน์ที่จะเกิดต่อการปรับปรุงการฝึกปฏิบัติของ
นกั ศกึ ษาเป็นส�ำ คัญ 
จริงๆ แล้วมคี ำ�ตอบส�ำ คญั ตอ่ Timeliness จากผลการวิจยั วา่ การให้
คำ�แนะนำ�ป้อนกลับทันทีท่ีพบข้อบกพร่อง มีผลต่อผลลัพธ์สุดท้ายของ
การเรียนสู้การให้คำ�แนะนำ�ป้อนกลับที่ช้ากว่าน้ันไม่ได้ เขาเรียกการให้
คำ�แนะนำ�ป้อนกลับ ๒ แบบนี้ว่า Immediate Feedback กับ Delayed
Feedback เขาใหค้ �ำ อธบิ ายวา่  การรอใหน้ กั ศกึ ษาตรวจสอบประเมนิ ผลเอง
และปรบั ปรงุ เองไดม้ โี อกาสพยายามแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งของตนเองหลายๆครง้ั
จนเหลอื สว่ นขอ้ บกพรอ่ งทน่ี กั ศกึ ษาไมร่ ตู้ วั หรอื แกไ้ ขไมไ่ ดด้ ว้ ยตนเอง จงึ คอ่ ย
ให้คำ�แนะน�ำ ปอ้ นกลับ ช่วยใหก้ ารเรยี นรขู้ องนักศึกษาสงู กวา่
ทำ�ให้ผมคิดคำ� Auto-Feedback หรือ Self-Feedback ขึ้นมา ว่า
คนท่ีรู้จักให้คำ�แนะนำ�ป้อนกลับแก่ตนเอง จะเป็นบุคคลที่เรียนรู้ได้ดี  จึง
ขอแนะนำ�วา่ ครูตอ้ งพยายามใช้ Delayed Feedback และหาทางส่งเสรมิ
ให้นักศึกษาพัฒนา Auto-Feedback/Self-Feedback ของตนเองให้
แข็งแรงขึ้นเรื่อยๆ คือช่วยให้นักศึกษาสามารถฝึกฝนตนเองอย่างอิสระได้
ดีข้นึ ตามท่รี ะบุไว้ในหนังสอื
การให้คำ�แนะนำ�ป้อนกลับที่ดีท่ีสุดคือ วิธีการที่ในท่ีสุดแล้ว
นกั ศึกษาไมจ่ ำ�เปน็ ต้องรบั ค�ำ แนะนำ�ปอ้ นกลบั อกี ตอ่ ไป
          จะเห็นว่า เรื่องการให้คำ�แนะน�ำ ปอ้ นกลับ กเ็ ปน็ เร่อื งท่อี าจารยไ์ ทย
ทำ�วจิ ัยได้มากมาย  เพราะเป็นเรอ่ื งซบั ซ้อนมาก 
เทคนคิ การให้คำ�แนะนำ�ป้อนกลบั
มองหาแบบแผน (Pattern) ที่นกั ศกึ ษาทำ�ผดิ ซ้ำ�ๆ
ครูพึงสังเกตหาแบบแผนของความเข้าใจผิด หรือทำ�ผิดซำ้�หลายคน

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช 121

ของนักศึกษาจากการตอบคำ�ถามในช้ันเรียน จากการบ้าน การตอบ
แบบทดสอบ การท�ำ โครงงาน และการสอบ รวมทงั้ หากมนี กั ศกึ ษาชว่ ยสอน
ครูควรถามหาข้อมูลนี้จากนักศึกษาช่วยสอนด้วย สำ�หรับนำ�มาพิจารณา
ใหค้ �ำ แนะนำ�ปอ้ นกลับตามยุทธศาสตร์ต่อไปน้ี
จดั ล�ำ ดับความส�ำ คญั ของคำ�แนะนำ�ปอ้ นกลับ
หลักการคือ อย่าให้คำ�แนะนำ�ป้อนกลับแบบเปรอะ ไร้เป้าหมายที่
ชดั เจนวา่ จะใหค้ �ำ แนะน�ำ ฯ เรอื่ งอะไร เพราะครเู องกม็ ภี าระมาก และถา้ ให้
คำ�แนะนำ�ฯ มากเรื่องเกินไป นักศึกษาจะสับสนและไม่สามารถปรับปรุง
การฝกึ ของตนเองอย่างได้ผลได้ 
ครูพึงจัดลำ�ดับความสำ�คัญของประเด็นท่ีจะให้คำ�แนะนำ�ป้อนกลับ
ในเร่ืองท่ีนักศึกษากำ�ลังฝึก และเลือกให้คำ�แนะนำ�ฯ เพียงประเด็นเดียวที่
คดิ แล้ววา่ มปี ระโยชนต์ ่อการปรบั ปรุงทักษะของนักศกึ ษามากท่สี ดุ
สรา้ งดลุ ยภาพระหวา่ งจดุ แขง็ และจดุ ออ่ นในค�ำ แนะน�ำ ปอ้ นกลบั
นค่ี อื ดลุ ยภาพระหวา่ งการใหก้ ารปอ้ นกลบั เชงิ บวก(PositiveFeedback)
และการปอ้ นกลบั เชงิ ลบ (Negative Feedback) ครพู งึ ตระหนกั วา่ มอื ใหม่
อยา่ งนกั ศกึ ษาอาจไมร่ ตู้ วั วา่ ตนฝกึ ฝนกา้ วหนา้ ไปถงึ ไหนแลว้ การมผี มู้ าให้
ข้อมลู นเ้ี ปน็ การป้อนกลับเชิงบวก จะชว่ ยให้ความมั่นใจและกำ�ลงั ใจวา่ ตน
เดินมาถูกทาง และได้รับการยืนยันว่าความรู้/ทักษะใดท่ีฝึกได้แล้วท่ีควร
คงไวอ้ ย่างเดิม และยกระดับข้ึนไป เสรมิ ด้วยการปอ้ นกลับเชงิ ลบ บอกว่า
ตรงไหนท่ียังทำ�ได้ไม่ถูกต้อง จำ�เป็นต้องแก้ไข ส่วนใดที่ทำ�ได้บ้างแล้ว
แตต่ ้องฝกึ ให้ไดผ้ ลดยี ง่ิ ขน้ึ  
ส่วนผสมของการป้อนกลับเชิงบวก กับการป้อนกลับเชิงลบ โดยมี
ความจริงใจ ความเมตตากรุณาเป็นน้�ำ กระสาย จะชว่ ยใหพ้ ลังความมุ่งม่ัน
ทีจ่ ะฝกึ ฝนพัฒนาตอ่ เนอื่ งแก่ศษิ ย์   
ออกแบบให้มีโอกาสใหค้ ำ�แนะน�ำ ปอ้ นกลบั บ่อยๆ
นนั่ คอื ควรแบง่ ชน้ิ งานออกเปน็ งานยอ่ ยๆ เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษาบรรลทุ กั ษะ

122 การเรยี นรเู้ กดิ ข้นึ อย่างไร

ยอ่ ยๆ เปน็ ขนั้ ตอน โอกาสใหค้ �ำ แนะน�ำ ปอ้ นกลบั กบ็ อ่ ยขนึ้ ดว้ ย  ชว่ ยใหภ้ าระ
งานของครูและของนักศึกษาไมห่ นกั เกนิ ไป 
ในเรื่องลดภาระของครูนั้น การให้คำ�แนะนำ�ป้อนกลับจำ�นวนหน่ึง
ไมจ่ ำ�เป็นตอ้ งให้แกน่ กั ศึกษารายคน ให้แก่นักศกึ ษาเป็นกล่มุ หรอื ท้ังช้นั ได้

ให้คำ�แนะนำ�ปอ้ นกลบั ในระดบั กล่มุ
ครูอาจลดภาระงานของตนโดยหาทางให้คำ�แนะนำ�ป้อนกลับแก่
นักศึกษาทั้งช้ัน โดยนำ�เอาข้อผิดพลาดท่ีมีบ่อยท่ีสุดในการทำ�การบ้าน
๓ อย่าง มาอภปิ รายกบั นกั ศึกษาทง้ั ช้นั
ในทางตรงกนั ขา้ ม ครอู าจยกตวั อยา่ งค�ำ ตอบทด่ี ที ส่ี ดุ ๒ - ๓ ราย น�ำ มา
อภปิ รายในช้ันว่าท�ำ ไมคำ�ตอบนน้ั จงึ ควรได้เกรดเอ

ใหค้ �ำ แนะนำ�ปอ้ นกลบั ทนั ที (Real-Time) แกก่ ลมุ่
น่ีคือวิธีให้คำ�แนะนำ�ป้อนกลับแก่ชั้นเรียนขนาดใหญ่  ทำ�โดยครู
ตั้งคำ�ถามให้นักศึกษาตอบลงกระดาษแล้วเก็บคำ�ตอบมาตรวจสอบหา
ค�ำ ตอบทเ่ี ขา้ ใจผดิ ในกรณที สี่ ถาบนั มี Clicker กจ็ ะสามารถไดค้ �ำ ตอบทนั ที
ว่านักศึกษาตอบคำ�ตอบใดเป็นสัดส่วนเท่าใด แล้วครูนำ�แต่ละคำ�ตอบมา
อภิปรายในช้ัน หรือถ้าครูเห็นว่ามีผู้ตอบคำ�ถามผิดเป็นส่วนใหญ่ อาจให้
นักศึกษาจับกลุ่ม ให้ปรึกษาหารือกัน แล้วให้ตอบใหม่ พร้อมทั้งอภิปราย
ทั้งช้นั ในภายหลงั  

จัดให้มคี �ำ แนะนำ�ป้อนกลับจากเพือ่ น
นค่ี อื Peer Feedback ซงึ่ จะชว่ ยลดภาระงานของคร ู รวมทง้ั ชว่ ยสรา้ ง
ทกั ษะการใหค้ �ำ แนะน�ำ ปอ้ นกลบั แกน่ กั ศกึ ษาส�ำ หรบั น�ำ ไปใชใ้ นโอกาสอน่ื ๆ
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใช้กับตนเอง 
นอกจากนั้น ยังช่วยให้นักศึกษาได้เข้าใจชัดเจนข้ึนว่าเกณฑ์ของการ
ปฏบิ ัติงานท่ดี เี ป็นอย่างไร 
ก่อนใช้ “เพ่ือนแนะนำ�ป้อนกลับเพ่ือน”  ครูต้องอธิบายให้นักศึกษา
เขา้ ใจหลกั การและวธิ กี ารของการใหค้ �ำ แนะน�ำ ปอ้ นกลบั ใหน้ กั ศกึ ษาเขา้ ใจ

ศ.นพ.วิจารณ์ พานชิ 123

ถ่องแท้ และให้เข้าใจชัดเจนว่ากิจกรรม “เพ่ือนแนะนำ�ป้อนกลับเพ่ือน”
จะเกิดประโยชน์แก่นักศึกษาอยา่ งไร 
ให้นักศึกษาระบุว่าตนใช้ข้อแนะนำ�จากคำ�แนะนำ�ป้อนกลับ
พฒั นางานของตนอย่างไรบา้ ง
น่ีคอื กิจกรรม “ทบทวนสะท้อนกลับ” (Reflection) หรอื AAR (After
Action Review) ที่นักศึกษาร่วมกันสะท้อนความคิดหลังได้รับคำ�แนะนำ�
ปอ้ นกลบั และมรี อบการฝกึ งานหลงั จากนน้ั แลว้  นกั ศกึ ษามาจบั กลมุ่ AARกนั
ว่าได้นำ�ข้อแนะนำ�ป้อนกลับส่วนใดไปใช้ ใช้ทำ�อะไร ส่วนไหน อย่างไร 
และเกดิ ผลอยา่ งไร 
ผมมีขอ้ แถมของผมเอง วา่ ควรแถม BAR (Before Action Review)
เข้าไปด้วย คือให้สะท้อนความคิดในกลุ่มต่อเน่ืองจาก AAR ว่า ในรอบ
การฝกึ งานครง้ั ต่อไป จะเอาค�ำ แนะน�ำ ปอ้ นกลับสว่ นไหนไปใชอ้ ีกบ้าง 
สรุป
ในบนั ทึกที่ ๑๐ และ ๑๑ ไดช้ ีใ้ ห้เห็นคณุ ค่า และวธิ กี ารใหค้ �ำ แนะนำ�
ป้อนกลับท่ีถูกต้องเหมาะสม โดยวิธีให้คำ�แนะนำ�ป้อนกลับท่ีดีมีลักษณะ
(๑) พุ่งเป้าที่เป้าหมายการบรรลุสมรรถนะที่จำ�เพาะ (๒) มีระดับความ
ท้าทายเหมาะสม (๓) ให้ในจำ�นวนและความถ่ีเหมาะสมต่อการนำ�ไปใช้
ปรับปรุงตนเองของนักศกึ ษา
การให้คำ�แนะนำ�ป้อนกลับจะมีพลังเมื่อ (๑)​ ส่ือสารต่อนักศึกษาใน
ขณะที่นักศึกษากำ�ลังต่อสู้ดิ้นรนไปสู่เป้าหมาย และต้องการคำ�แนะนำ�ให้
ปรับปรุงเพ่ือบรรลุเป้าหมายน้ัน (๒) ให้คำ�แนะนำ� ณ เวลาที่นักศึกษา
สามารถนำ�ไปใชป้ ระโยชน์มากท่สี ดุ  
การเรยี นรู้ ที่นำ�ไปสู่การ “รูจ้ รงิ ” ได้จากการฝกึ ปฏบิ ตั  ิ และการได้รับ
คำ�แนะน�ำ ปอ้ นกลบั ทด่ี ี

วจิ ารณ์ พานชิ
๒ ม.ค. ๕๖

124 การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร

ศ.นพ.วจิ ารณ์ พานิช 125

126 การเรยี นรู้เกดิ ข้นึ อยา่ งไร

๑๒.การเรยี นรเู้ กิดขึ้นอยา่ งไร

พฒั นาการของนกั ศกึ ษา
และบรรยากาศในชั้นเรียน : ทฤษฎี

ตอนท่ี ๑๒ และ ๑๓ มาจากบทท่ี ๖ Why Do Student Development
and Course Climate Matter for Student Learning?  ซงึ่ ผม

ตีความวา่ เป็นการมอง “การเรยี นร”ู้ ของนักศึกษาจากมมุ ที่กว้างกว่า
“การเรยี นวชิ า” เชอ่ื มโยงไปสู่ “การเรยี นรชู้ วี ติ ” สวู่ ฒุ ภิ าวะในทกุ ๆ ดา้ น 

และมองวา่ ปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ ง นักศกึ ษากบั นักศึกษา
และระหวา่ ง นักศกึ ษากบั ครูมีผลต่อการเรียนรู้มาก 

ศ.นพ.วิจารณ์ พานชิ 127

มีความจริง ๒ ประการเกี่ยวกับ
การเรียนรู้ด้านสังคมและด้านอารมณ์
ทไี่ ดจ้ ากผลการวิจยั คือ (๑)​ในช่วงชวี ิต
ในมหาวทิ ยาลยั นักศกึ ษาได้รบั ประโยชน์
ดา้ นการเรียนรูเ้ ชงิ สงั คมและดา้ นอารมณ์ 
มากกวา่ ประโยชนด์ า้ นปญั ญา (Intellectual)
(๒) หากพฒั นาการ/การเรียนรดู้ ้านสงั คม
และอารมณไ์ มร่ าบรน่ื จะมผี ลท�ำ ใหก้ ารเรยี น
ด้านปญั ญาหรือวิชาการล้มเหลว

128 การเรยี นรเู้ กิดขน้ึ อย่างไร

ในตอนที่ ๑๒ นจี้ ะวา่ ดว้ ยทฤษฎ ี และตอนที่ ๑๓ จะกลา่ วถงึ ภาคปฏบิ ตั ิ
หรอื ยทุ ธศาสตร์ 
บทที่ ๖ เร่ิมต้นด้วยคำ�บ่นผิดหวังขัดข้องของศาสตราจารย์ ๒ คน  
ท่ีบรรยากาศในห้องเรียนไม่ราบร่ืน ไม่เอื้อต่อการเรียนรู้ เป็นการวางฉาก
สถานการณ์ในห้องเรียนท่ีสะท้อนความเป็น “ผู้เยาว์” ของนักศึกษาและ
เร่ืองท่ี ๒ สะทอ้ นสภาพ “หวังดกี ลบั ไดโ้ ทษ” ต่ออาจารย ์
การพฒั นานกั ศกึ ษาอย่างเป็นองค์รวม
สัจธรรมเก่ียวกับนักศึกษาก็คือ  นักศึกษาไม่ได้เป็นแค่สัตว์ปัญญา
(Intellectual Being) แตย่ งั เปน็ สตั วส์ งั คม (Social Being) และสตั วอ์ ารมณ์
(Emotional Being) ดว้ ย ๓ ปจั จยั นบ้ี รู ณาการกนั เปน็ ตวั นกั ศกึ ษาแตล่ ะคน
และมีผลต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียน ทั้งของตัวนักศึกษาเป็นรายคน และ
ตอ่ ชั้นเรยี น 
นนั่ คอื กจิ กรรมตา่ งๆทเ่ี กดิ ขนึ้ ในชน้ั เรยี น ไมไ่ ดม้ ปี ระโยชนต์ อ่ นกั ศกึ ษา
เฉพาะด้านการเรียนวิชาเท่าน้ัน แต่มีประโยชน์เป็นการเรียนรู้องค์รวม
ซึ่งหมายถึงการเรียนรู้ชีวิต ที่เรียกว่าการพัฒนานักศึกษา (Student
Development)  หรอื การเออื้ อ�ำ นวยใหน้ กั ศกึ ษาเปลยี่ นสถานะจากนกั เรยี น
มธั ยม มาสกู่ ารเปน็ นกั ศกึ ษาซง่ึ ตอ้ งฝกึ รบั ผดิ ชอบตนเองในทกุ ดา้ น ไดเ้ รยี นรู้
รอบดา้ น ได้แก่ ดา้ นการมีชีวิตไกลบา้ น ออกจากออ้ มอกพอ่ แม่ ฝกึ บงั คบั
ควบคมุ ตนเอง การเขา้ สงั คมกบั เพอ่ื น การตอ่ รองรอมชอมกบั เพอ่ื นรว่ มหอ้ ง
รว่ มชน้ั การสรา้ งความเปน็ ตวั ตนของตนเองการสรา้ งการยอมรบั ในหมเู่ พอ่ื น 
การจดั การดา้ นการเงนิ  ตดั สนิ ใจตอ่ เรอ่ื งสรุ า ยาเสพตดิ  เรอื่ งทางเพศ และ

ศ.นพ.วจิ ารณ์ พานิช 129

อน่ื ๆ แลว้ ยงั ตอ้ งตดั สนิ ใจเรอ่ื งการเรยี น จะลงเรยี นวชิ าใดบา้ ง จะเลอื กวชิ าใด
เปน็ วิชาเอก วิชาโท วิชาเลือก จะเข้าเป็นสมาชกิ ชมรมใดบา้ ง จะเล่นกีฬา
อะไร ฯลฯ
ช่วงชีวติ ของนกั ศกึ ษา ระดบั ปริญญาตรี (อายุ ๑๗ - ๒๔ ป)ี เปน็ ช่วง
ที่กำ�ลังเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะทางสังคมและทักษะทางอารมณ์  หรือ
กล่าวใหม่ว่า เป็นช่วงท่ีนักศึกษายังไม่พัฒนาเต็มท่ีใน ๒ ด้านนี้  ซ่ึงตาม
ความรู้ด้านประสาทวิทยาศาสตร์บอกว่า จะพัฒนาเต็มที่เมื่ออายุ ๒๕ ปี
แต่ประสบการณ์ชีวติ บอกผมวา่ ยงั มีพฒั นาการเรือ่ ยไปตลอดชวี ิต 
มีความจริง ๒ ประการเกี่ยวกับการเรียนรู้ด้านสังคมและด้าน
อารมณ์  ที่ได้จากผลการวิจัย คือ (๑)​ ในช่วงชีวิตในมหาวิทยาลัย
นักศึกษาได้รับประโยชน์ด้านการเรียนรู้เชิงสังคม และด้านอารมณ์ 
มากกว่าประโยชน์ด้านปัญญา (Intellectual) (๒) หากพัฒนาการ/
การเรียนรู้ด้านสังคมและอารมณ์ไม่ราบรื่น จะมีผลทำ�ให้การเรียน
ด้านปัญญาหรือวิชาการลม้ เหลว 
หลกั การส�ำ คญั  พฒั นาการของนกั ศกึ ษามปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั บรรยากาศ
ของรายวิชาในดา้ นสังคม อารมณ์ และปญั ญา และมีผลตอ่ การเรียนร ู้
การพัฒนานกั ศึกษา (Student Development)
พัฒนาการของนักศึกษาเป็นประเด็นท่ีครูต้องเอาใจใส่  ดังหลักการ
ของการศึกษาแนวถือนักศึกษาเป็นศูนย์กลาง (Student-Centered) ว่า
“ครูสอนศิษย์ ไมใ่ ช่สอนวชิ า” 
    ครูจึงต้องทำ�ความเข้าใจและเอาใจใส่ส่ิงท้าทายต่อนักศึกษาในด้าน
สังคม อารมณ์ และปัญญา แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าครูต้องรับผิดชอบ
ทำ�หน้าท่ีฝึกทุกเร่ืองแก่นักศึกษา เรื่องที่ไม่ต้องทำ�หน้าที่คือเร่ืองเงิน กับ
เร่ืองปัญหาหัวใจ ความเข้าใจนี้ จะช่วยให้ครูจัดบรรยากาศการเรียนรู้ได้
เหมาะสมขนึ้
ความหมายของการพัฒนานักศึกษาในท่ีน้ี นิยามว่าหมายถึง
การตอบสนองต่อความท้าทายด้านปัญญา สังคม หรืออารมณ์ ท่ีมีผลต่อ
ความเจรญิ กา้ วหนา้ ของนกั ศกึ ษา โดยเนน้ มองนกั ศกึ ษาเปน็ กลมุ่ ในภาพรวม 

130 การเรียนรูเ้ กดิ ขึ้นอยา่ งไร

และตระหนักว่า ระดับวุฒิภาวะของนักศึกษาแต่ละคนไม่เท่ากัน และ
นักศึกษาแต่ละคนอาจมีระดับวุฒิภาวะบางด้านด้อยกว่าด้านอื่นๆ เช่น
นักศึกษาบางคนอาจมีระดับวุฒิภาวะทางปัญญาและทางสังคมสูง แต่
อ่อนด้อยดา้ นวฒุ ภิ าวะทางอารมณ์ 
ผมขอหมายเหตุความเห็นของตนเองไว้ ณ ที่นี้ว่า วงการศึกษาไทย
มกั ไมไ่ ดม้ องอยา่ งทร่ี ะบใุ นหนงั สอื บทน ้ี วา่ คร/ู สถาบนั การศกึ ษาตอ้ งเอาใจใส่
การพฒั นานกั ศกึ ษารอบดา้ น ไมใ่ ชเ่ อาใจใสแ่ คส่ อนวชิ า ระบบการศกึ ษาไทย
ยังเอาใจใส่เฉพาะที่การสอนวิชากันอยู่   
ทฤษฎพี ฒั นาการของนกั ศกึ ษาแนว Chickering (The Chickering Mod-
el of Student Development)
เป็นทฤษฎีท่ีเสนอว่าในช่วงเวลาในมหาวิทยาลัยนักศึกษาระดับ
ปรญิ ญาตรี มพี ฒั นาการรวม ๗ ดา้ น ทเ่ี ขาเรยี กวา่ เปน็ 7 Vectors ทม่ี อี ทิ ธพิ ล
หรือเป็นพน้ื ฐานต่อกันและกัน คือ
๑. การพัฒนาสมรรถนะ ซึ่งรวมสมรรถนะด้าน ปัญญา กายภาพ
และปฏสิ ัมพันธร์ ะหวา่ งบคุ คล
สมรรถนะด้านปัญญา รวมถึงการพัฒนาทักษะด้านการเรียนรู้
ในบรรยากาศมหาวทิ ยาลยั ไปจนถงึ ทกั ษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และ
ทักษะแกป้ ัญหา 
สมรรถนะดา้ นกายภาพ รวมถงึ การเลน่ กฬี า ทกั ษะในการรบั ผดิ ชอบ
ชีวิตและสุขภาพของตนเอง (ไม่ใช่อยู่ในปกครองของพ่อแม่อีกต่อไป) 
การมรี า่ งกายแข็งแรง
สมรรถนะดา้ นปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลรวมถงึ ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สาร 
ดา้ นกลุ่ม และดา้ นภาวะผู้น�ำ  
สมรรถนะท้งั ๓ กลุ่มนี้ จะชว่ ยสรา้ งความมน่ั ใจใหแ้ ก่นกั ศกึ ษาวา่
ตนจะสามารถเผชญิ ความทา้ ทายตา่ งๆ ได้
๒. การจัดการอารมณ์ คือรู้เท่าทันอารมณ์ของตนเอง (ได้แก่
ความกังวล ความสุข ความโกรธ ความขัดใจ ความต่ืนเต้น ความหดหู่
เป็นตน้ ) และมที กั ษะในการแสดงออกอย่างเหมาะสม ในตัวอย่างทย่ี กมา

ศ.นพ.วิจารณ์ พานชิ 131

ตอนต้นบทของหนังสือ การเรียนเรอ่ื งผลกระทบทางเศรษฐกิจจากผ้อู พยพ
เขา้ เมอื งของสหรฐั อเมรกิ าลม่ ลงกลางคนั เพราะนกั ศกึ ษาไมม่ คี วามสามารถ
ในการจัดการอารมณ์   
๓. พฒั นาความเปน็ ตวั ของตวั เอง เปน็ ทกั ษะในการแยกตวั ออกมา
จากพ่อแม่ เข้ามาอยู่ในกลุ่มเพื่อน และกลายเป็นตัวของตัวเองในท่ีสุด 
ประเดน็ ส�ำ คญั ทสี่ ดุ คอื การพฒั นาความสามารถพงึ่ ตนเองทางอารมณ ์ และ
พึ่งตนเองในเรื่องต่างๆ ในชีวิต ผลการวิจัยบอกว่า วัยรุ่นสมัยใหม่มีความ
ยากลำ�บากในการพัฒนาเรื่องนี้มากกว่าวัยรุ่นสมัยก่อน  โดยกลไกการ
พฒั นาตอ้ งผา่ นการเชอื่ มโยงซง่ึ กนั และกนั (Interconnectedness) เสยี กอ่ น 
แลว้ จึงเคลอ่ื นสูส่ ภาพ พึ่งพาซง่ึ กันและกัน (Interdependence) 
ครูต้องเข้าใจจิตวิทยาข้อนี้ สำ�หรับระมัดระวังไม่จัดสภาพห้องเรียน
ให้เข้าไปรบกวนข้ันตอนการพัฒนาตนเองของนักศกึ ษาข้อน้ี  
๔. สรา้ งอตั ตลกั ษณ ์ เปน็ ประเดน็ ส�ำ คญั ทส่ี ดุ ของทฤษฎี Chickering  
โดยพฒั นาบนฐานของ 3 Vector ทผ่ี า่ นมา และเปน็ ฐานของการพฒั นาอกี
3 Vector ท่ีเหลือ เป็นการพัฒนาความพึงพอใจ และความภาคภูมิใจ
ในตนเอง ท้ังด้านร่างกาย รูปลักษณ์ เพศและเพศสภาพ เชื้อชาติ และ
ชาตพิ นั ธุ์ ของตน 
นักศึกษาทม่ี วี ฒุ ิภาวะดา้ นอตั ลกั ษณ์ จะมีความมั่นใจในตนเอง และ
มที กั ษะในการเคารพและรบั ฟงั ความเหน็ ของคนอน่ื ทแ่ี ตกตา่ งไดด้  ี ไมร่ สู้ กึ
ถกู คกุ คามจากความคิดเหน็ ทีแ่ ตกตา่ ง ชว่ ยให้กจิ กรรมการเรยี นรเู้ ปน็ กล่มุ
และในชั้นเรียนมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นท่ีแตกต่างกันได้อย่าง
ราบร่ืน ไมเ่ กิดความขัดแย้งหรอื ทะเลาะเบาะแว้ง
๕.  พัฒนาความเป็นอิสระจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล  เป็น
วฒุ ภิ าวะดา้ นความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คล ไดแ้ ก่ ตระหนกั ในความแตกตา่ ง
ระหว่างบุคคล  และอดทน/ยอมรับความแตกต่างนั้น วุฒิภาวะด้าน
ความสัมพนั ธ์เชงิ ความรัก ก็จัดอยใู่ นข้อน้ี
๖. พฒั นาจดุ ม่งุ หมายในชวี ิต (Purpose) พฒั นาจาก “ฉันเป็นใคร”
ในขนั้ ตอนพฒั นาอตั ลกั ษณ ์ สู่ “ฉนั จะเปน็ คนแบบไหน” ในขนั้ ตอนน ี้ ไดแ้ ก่
การพัฒนาความสนใจ อาชีพ และลีลาชีวิต โดยสามารถผ่านอุปสรรค

132 การเรียนร้เู กดิ ขน้ึ อย่างไร

ความยากล�ำ บาก ความไม่เห็นพอ้ ง ได้ 
๗. พัฒนาความมั่นคงในคุณธรรม (Integrity) เป็นประเด็นของ
ความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวม หรือ
ของสงั คม ความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม เมื่อพฒั นาจนเกดิ วฒุ ภิ าวะ กจ็ ะเกิด
การให้คุณค่าภายในจิตใจ ที่จะกำ�หนดพฤตกิ รรมตา่ งๆ 
พัฒนาการท้ัง ๗ ด้านน้ี นักศึกษายังอยู่ในช่วงของการฝึกหัดไป
พร้อมๆ กันกับบทเรียนตามหลักสูตรและรายวิชา และมีผลซ่ึงกันและกัน
อยา่ งซบั ซอ้ น ครพู งึ เขา้ ใจความซบั ซ้อนน้ี ทก่ี �ำ ลงั เกิดขน้ึ ในชัน้ เรียนและใน
สงั คมมหาวทิ ยาลยั อยทู่ กุ ขณะ สงิ่ เหลา่ นี้ มผี ลตอ่ ความตง้ั ใจเรยี น แรงจงู ใจ
ความขยัน ความเป็นส่วนหนง่ึ ของหมู่คณะ และเอกลกั ษณใ์ นสาขาวชิ าชพี
ทตี่ นเลือก 
ผมเถียง Chickering ว่าพฒั นาการทง้ั ๗ ดา้ นน้ี ไมใ่ ช่มาพฒั นาเอา
ตอนเข้ามหาวิทยาลัย คนเราพัฒนาเรื่องน้ีมาตั้งแต่อยู่ท่ีบ้านและเรียน
อนุบาลเร่ือยมา แต่จะต้องมาพัฒนาให้มั่นคง สู่ความเป็นผู้ใหญ่ในช่วง
มหาวทิ ยาลยั  
พฒั นาการทางปัญญา (Intellectual Development)
ฝรั่งเขาศึกษาพัฒนาการทางปัญญาในช่วงของการเป็นนักศึกษา
มหาวิทยาลัยมาตั้งแต่ช่วงปี 1950s แต่หนังสือเล่มนี้ยึดตามทฤษฎีของ
Perry (Perry W. (1968). Forms of intellectual and ethical development
in the college years : A scheme. New York : Holt Rinehart & Winston.) 
และคนอ่ืนๆ หลังจากนั้น ทไ่ี ด้ข้อค้นพบคลา้ ยคลึงกนั
หวั ใจส�ำ คญั คอื ในชว่ งน้ีนกั ศกึ ษามพี ฒั นาการหลายขน้ั ตอน ในชว่ งตน้
นักศึกษาจะคิดเป็น ๒ ขวั้ ดำ�-ขาว ถูก-ผิด หรือทวิภาพ (Duality) ในชว่ งนี้
นักศึกษามองความร้เู ป็นส่ิงสัมบรู ณ์ (Absolute) ที่เขยี นข้นึ โดย “ผรู้ ”ู้   มคี รู
เปน็ “ผรู้ ”ู้ นกั ศกึ ษามหี นา้ ทเ่ี รยี นและดดู ซบั ความรไู้ ว ้ และเมอ่ื ถกู ถามกต็ อบ
ใหต้ รงกบั ที่เรียนมา 
เขาบอกวา่ แนวคดิ แบบนเี้ รยี กวา่ มมุ มองเชงิ ปรมิ าณตอ่ ความรู้(Quan-
titative View)  มองวา่ การศกึ ษาคอื การถา่ ยทอด “ความรทู้ ถ่ี กู ตอ้ ง” ภายใต้

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช 133

ความเชื่อวา่ ส่ิงท่ีรไู้ ด้เขา้ ใจได้ เป็นทีร่ ู้กนั หมดแล้ว และครูเป็นผทู้ ่มี คี วามรู้
ตอบไดท้ กุ ค�ำ ถาม 
ในข้ันตอนนี้ นักศึกษาไม่เห็นคุณค่าของการอภิปรายแลกเปล่ียน
ขอ้ คิดเหน็
หลงั จากน้ัน มมุ มองตอ่ ความรู้และการเรยี นรู้ของนักศึกษาเปล่ยี นไป
เป็นแบบหลากหลาย (Multiplicity) ความรูก้ ลายเป็นข้อคิดเห็น ใครๆ กม็ ี
ข้อคิดเห็นต่อเรื่องใดเรื่องหน่ึงตามแนวคิดของตนเองได้ ในข้ันนี้นักศึกษา
จะไม่พอใจเรื่องการสอบ หากตนไม่ได้คะแนนดี  เพราะนักศึกษายังแยก
ไมอ่ อกระหวา่ งความเหน็ ทถี่ กู ตอ้ ง กบั ความเหน็ ทผ่ี ดิ ครไู มใ่ ช่ “ผรู้ ู้ ผตู้ ดั สนิ ”
อกี ต่อไป กลายเปน็ ความเห็นหน่ึงเท่านัน้  
ในข้ันตอนน้ี ความก้าวหน้าสำ�คัญ ๒ ประการ คือ (๑) นักศึกษา
มีใจเปิดรับความเห็นท่ีแตกต่าง  ไม่ยึดม่ันถือมั่นต่อ “ความรู้ท่ีถูกต้อง”
(๒) การเรียนร้เู ป็นสิ่งทเ่ี กิดข้นึ ภายในแต่ละคน (Personal) แตล่ ะคนเรยี นร ู้
ไม่เหมอื นกัน  นักศกึ ษาแตล่ ะคนมีสิทธิท์ ่ีจะสร้างความรขู้ องตนเอง 
ต่อจากนั้น นักศึกษาจะพัฒนาก้าวสู่มุมมองเชิงสัมพัทธภาพ
(Relativism) นกั ศกึ ษาเรม่ิ ตระหนกั วา่ ความเหน็ ทต่ี า่ งกนั นน้ั ไมเ่ ทา่ เทยี มกนั  
ความน่าเชื่อถือข้ึนกับข้อมูลหลักฐาน มุมมองต่อความรู้กลายเป็นมุมมอง
เชงิ คณุ ภาพ (Qualitative View) ครกู ลายเปน็ ผชู้ ที้ างและเปน็ “คณุ อ�ำ นวย” 
 และนกั ศกึ ษาตระหนักวา่ ไม่มคี วามรู้หรอื ทฤษฎใี ดสมบูรณ์
ข้ันตอนสุดท้ายของพัฒนาการนักศึกษาเกิดความผูกพัน (Commit-
ment) มีความเข้าใจว่า แม้ไม่มีทฤษฎีใดสมบูรณ์ ก็ต้องเลือก ๑ ทฤษฎี
หรือแนวคิดเป็นฐานสำ�หรับเรียนรู้ต่อไป เท่ากับความคิดของนักศึกษาวน
กลบั มาคลา้ ยทวภิ าพ คอื เลอื กหนง่ึ แนวทาง แตไ่ มเ่ หมอื น เพราะในขน้ั ตอนน้ี
ความคดิ ของนกั ศกึ ษาเขา้ ใจความแตกตา่ งหลากหลายแลว้  และเลอื กหนงึ่
แนวทาง (โดยมขี อ้ มลู หลกั ฐานประกอบการเลอื ก) ส�ำ หรบั เดนิ ทางเรยี นรตู้ อ่
ในท่ามกลางความหลากหลายนั้น 
พัฒนาการทางปัญญานี้ ไม่แยกจากพัฒนาการทางศีลธรรม 
เม่ือพัฒนาการทางปัญญาเข้าสู่วุฒิภาวะ พัฒนาการทางศีลธรรมก็
ยกระดบั ขน้ึ ดว้ ย เพราะขนั้ ตอนของพฒั นาการทกี่ ลา่ วมาแลว้ เปน็ การ

134 การเรยี นรเู้ กดิ ข้นึ อย่างไร

เรยี นร ู้ การเรยี นรู้ท่แี ทจ้ รงิ มีธรรมชาตบิ ูรณาการไมแ่ ยกดา้ น
ยังมีผลงานวิจัยลงรายละเอียด เพ่ือท�ำ ความเข้าใจข้ันตอนพฤตกิ รรม
การเรยี นรสู้ พู่ ฒั นาการทางปญั ญาอกี มากมาย แตจ่ ะไมน่ �ำ มาลงในบนั ทกึ น้ี
ควรย้ำ�ไว้ ณ ท่ีน้ีด้วยว่า นักศึกษาบางคนอาจจบออกไปเป็นบัณฑิต
โดยที่พัฒนาการนยี้ ังไปไมส่ ดุ และผมขอสารภาพวา่ ผมเปน็ คนหนึง่ ในนั้น
ครูต้องหม่ันทำ�ความเข้าใจขั้นตอนของพัฒนาการน้ี  สำ�หรับใช้
ท�ำ ความเขา้ ใจพฤตกิ รรมของนักศกึ ษา และใช้ความเข้าใจน้ีในการจดั การ
ช้นั เรยี นใหม้ ีบรรยากาศเอ้ือตอ่ การเรยี นรู้ ให้ “รู้จรงิ ”
การพัฒนาอตั ลกั ษณท์ างสงั คม (Social Identity Development)
ทฤษฎีด้านอัตลักษณ์บอกว่า อัตลักษณ์ไม่ใช่สิ่งท่ีมีมาแต่กำ�เนิด 
แต่เป็นสิ่งท่ีต้องไขว่คว้า และต้องจัดสมดุลระหว่างการพัฒนาอัตลักษณ์
กับการทำ�งาน ตลอดชวี ิต
อัตลักษณ์เป็นส่ิงท่ีจะต้องสร้างให้ตัวเอง และปรับแต่ง ตลอดชีวิต 
ผมขอแถมตรงนว้ี ่า โปรดอยา่ สบั สนกับการ “สรา้ งภาพ”
ข้ันตอนสำ�คัญในการสร้างอตั ลกั ษณ์ เกดิ ขนึ้ เมื่อบคุ คลนั้นตัง้ คำ�ถาม
ต่อเกณฑ์คุณค่า และสมมติฐานท่ีกำ�หนดโดยพ่อแม่และสังคม นำ�มาใช้
กำ�หนดเกณฑ์คุณคา่ ของตนเอง และมีลำ�ดบั ความส�ำ คญั ของตนเอง
ทฤษฎีพัฒนาอัตลักษณ์ทางสังคมของ Hardiman& Jackson (อ่าน
ไดท้ นี่ ี่ (http://www.library.wisc.edu/EDVRC/docs/public/pdfs/LIRead-
ings/Jackson_Hardiman_Model_of_Social_Identity_Development
.pdf)และ Hardiman R, Jackson B (1992). Racial idendity development 
: Understanding racial dynamics in college classrooms and on
campus. In M Adams (Ed.).Promoting diversity in college classrooms
: Innovative responses for the curriculum, faculty and institutions.
(Vol. 52, pp. 21-37). San Francisco : Jossey-Bass.) อธิบายว่า
มี ๓ ขนั้ ตอนของการพฒั นาอตั ลักษณ์ทางสงั คมของนกั ศึกษาแต่ละคน
๑. ช่วงเป็นเด็กเล็ก อาจเรียกว่าเป็นช่วงไร้เดียงสา (Naiive) คือ
มองเห็นความแตกตา่ งของผ้คู น แตไ่ ม่มกี ารตีความหรอื ให้คุณคา่ ใดๆ 

ศ.นพ.วิจารณ์ พานชิ 135

๒. ช่วงยอมรับ (Acceptance) เกิดขึ้นหลังจากได้มีประสบการณ์
ทางสังคมกับคนหลากหลายกลุ่ม ได้รับรู้แนวคิดสมมติทางสังคม (Social
Construct) หลากหลายแบบ นกั ศกึ ษาสว่ นใหญจ่ ะบรรลวุ ฒุ ภิ าวะอยทู่ ช่ี ว่ งน ้ี
คอื มคี วามพอใจ มัน่ ใจกบั สภาพความเปน็ จรงิ ของตน
๓. ช่วงต่อต้าน (Resistance) เกิดขึ้นหากนักศึกษามีประสบการณ์
ความอยตุ ิธรรมในสงั คม
ผมอา่ นเรอ่ื งราวของทฤษฎนี แ้ี ลว้ มคี วามเหน็ วา่ เปน็ ทฤษฎที พ่ี ฒั นาขน้ึ
จากสภาพสังคมอเมริกัน ซ่ึงแตกต่างจากสภาพสังคมไทย ดังน้ัน จึงเป็น
โอกาสท่ีอาจารย์ไทยจะทำ�วิจัยเร่ืองการพัฒนาอัตลักษณ์นี้ในบริบทไทย
ไดอ้ ีกมาก 
บรรยากาศทม่ี ผี ลต่อการเรียนรู้
การเรียนรู้ไม่ได้เกิดในสุญญากาศ แต่เกิดข้ึนในบรรยากาศจริงของ
รายวิชา และสถาบันการศึกษา บรรยากาศท่ีดีมีผลเพิ่มผลสัมฤทธ์ิทาง
การศกึ ษา และบรรยากาศท่ีไมด่ ีมีผลลบ
นอกจากน้นั บรรยากาศยังมผี ลตอ่ พัฒนาการของนักศกึ ษาอีกด้วย
บรรยากาศในท่ีนี้มี ๔ ส่วน คือสภาพแวดล้อมด้านปัญญา สังคม
อารมณ์ และกายภาพ ท่ีนักศึกษาเผชิญในช้ันเรียน และภายในสถาบัน
การศกึ ษาตวั ก�ำ หนดบรรยากาศคอื ปฏสิ มั พนั ธต์ า่ งๆ ทซ่ี บั ซอ้ นเชน่ ปฏสิ มั พนั ธ์
ระหวา่ งอาจารยก์ บั นกั ศกึ ษา การก�ำ หนดระดบั ความยากงา่ ย เครง่ ขรมึ หรอื
สนกุ สนานทค่ี รกู �ำ หนด ความเอาจรงิ เอาจงั หรอื ทา่ ทผี กั ชโี รยหนา้  ลกั ษณะ
ของประชากรในชั้นเรียน (เช่น จำ�นวนนักศึกษาต่างกลุ่มชาติพันธ์ุ) 
ปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหวา่ งนักศึกษาและมุมมองทีแ่ ตกต่างทนี่ ำ�เสนอในชัน้ เรยี น  
มุมมองต่อบรรยากาศแบบคิดง่ายๆ คือมองเป็น ๒ ข้ัว ดี-ไม่ดี
ดีหมายถึง เท่าเทียมกัน เกิดการเรียนรู้ดี ไม่ดีหมายถึง เย็นชา เหยียดผิว
เปน็ ต้น 
ประเด็นสำ�คัญคือ บรรยากาศเดียวกัน นักศึกษาต่างคนอาจรู้สึก
ต่างกันเป็นคนละขวั้ กไ็ ด้ 
ในความเปน็ จรงิ ความแตกต่างของบรรยากาศ ไมไ่ ด้แบ่งเป็น ๒ ขว้ั  

136 การเรยี นรู้เกิดขนึ้ อย่างไร

แต่มีลกั ษณะลดหลัน่ ลงมาทีละนอ้ ย ตั้งแต่ ด�ำ เทาแก่ และลดความเทาลง
เรอื่ ยๆ จนขาว 
ลกั ษณะท่าทางเฉพาะ (Sterotype)
ลักษณะท่าทางเฉพาะบางอย่างก่อกวนช้ันเรียน เช่น ก้าวร้าว 
เหยียดผิว พูดมาก คุยโว ซึ่งบ่อยครั้งผู้มีลักษณะเช่นน้ีไม่รู้ตัว ย่ิงถ้าครู
มลี กั ษณะนซี้ อ่ นอย ู่ และนกั ศกึ ษาบางคนรสู้ กึ และความรสู้ กึ นนั้ อาจกอ่ กวน
ใหไ้ ม่อยากเรยี น
ลักษณะท่าทางเฉพาะ มีท้ังแบบที่ก่อผลลบต่อบรรยากาศการเรียน 
และทก่ี อ่ ผลบวกเชน่ ครทู ม่ี มี ขุ ตลกชว่ ยใหบ้ รรยากาศการเรยี นไมเ่ ครง่ เครยี ด
ท่าที (Tone)
นี่คือท่าทีการส่ือสารของครูต่อนักศึกษาทั้งในช้ันเรียน และนอก
ชั้นเรยี น ทงั้ การสื่อสารเปน็ ลายลักษณ์อักษร ส่อื สารดว้ ยวาจา และส่อื สาร
ด้วยสหี นา้ ท่าทาง และพฤติกรรมอ่นื ๆ (Non-Verbal Communication) ครู
พงึ ตระหนกั วา่ นกั ศกึ ษามคี วามไวตอ่ การสอ่ื สารแบบไมใ่ ชถ้ อ้ ยค�ำ เปน็ พเิ ศษ 
และครูทม่ี คี วามรักความเตตาต่อศิษย์ ก็จะสือ่ สารความรกั ความเมตตาให้
ศษิ ย์สัมผัสไดโ้ ดยง่าย
ผมมีความเห็นเพ่ิมเติมจากในหนังสือว่า ท่าทีของครูท่ีเอ้ือต่อ
บรรยากาศการเรยี นรอู้ ยา่ งบรู ณาการของศษิ ย์ มที ง้ั ทา่ ทเี ชงิ บวกตามทก่ี ลา่ ว
ไปแล้ว กับท่าทีเชิงลบ ตัวอย่างเช่น ครูควรแสดงท่าทีหรือจุดยืนท่ีชัดเจน
ต่อพฤติกรรมทุจริต เช่น การลอกเลียนผลงานของผู้อ่ืนโดยไม่อ้างอิง
(Plagiarism) การลักขโมยส่ิงของ การลอกข้อสอบ ว่าเป็นพฤติกรรมที่จะ
ตอ้ งไดร้ บั โทษหนกั หากสอบสวนแล้วพบว่าทำ�จริง 
  
ปฏิสมั พันธ์ระหวา่ ง นักศกึ ษา-นักศกึ ษา และ นักศกึ ษา-อาจารย์
ผลงานวจิ ยั เรอื่ งนบี้ อกวา่ ปจั จยั ดา้ นนที้ มี่ ผี ลตอ่ บรรยากาศการเรยี นรู้
เรียกว่า “ความรู้สึกต่อกันระหว่างอาจารย์-นักศึกษา” (Faculty Student
Orientation) ซง่ึ หมายความรวมถงึ การทน่ี กั ศกึ ษารสู้ กึ วา่ อาจารยเ์ อาใจใส่

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช 137

ปญั หาการเรยี นของนกั ศกึ ษา ครเู ออ้ื เฟอ้ื ตอ่ นกั ศกึ ษาชนกลมุ่ นอ้ ย เขา้ พบได้
นอกเวลาเรยี น ปฏิบตั ติ ่อนกั ศึกษาในฐานะคน ไม่ใช่หมายเลข เปน็ ตน้  
ผลการวิจัยบอกว่า ปัจจัยเหล่าน้ีมีผลต่อการเรียนในระดับท่ีลึกซ้ึง
มาก  
สาระ (Content)
ปัจจัยท่ีมีผลกระทบต่อบรรยากาศการเรียนที่กล่าวแล้วข้างบน
เป็นปัจจัยด้านกระบวนการทั้งส้ิน ผลการวิจัยบอกว่า ตัวสาระหรือเนื้อหา
ท่ีเรียน ก็มีผลกระทบต่อบรรยากาศการเรียนด้วย ท้ังสาระ และวิธีการจัด
การเรยี นการสอน จดุ ส�ำ คญั คอื ชว่ ยใหน้ กั ศกึ ษารสู้ กึ วา่ วชิ านน้ั มคี วามหมาย
ต่อชวี ิตของเขา
ผมขอย�้ำ อกี ทวี า่ เมอื่ อา่ นหนงั สอื บทนจี้ บ ผมเหน็ โจทยว์ จิ ยั หรอื โอกาส
ทำ�วิจัยในหอ้ งเรียนไทยมากมาย

วิจารณ์ พานิช
๓ ม.ค. ๕๖

138 การเรียนรเู้ กดิ ข้นึ อยา่ งไร

ศ.นพ.วจิ ารณ์ พานิช 139

140 การเรยี นรู้เกดิ ข้นึ อยา่ งไร

๑๓.การเรยี นรเู้ กดิ ขึน้ อยา่ งไร

พัฒนาการของนักศึกษา
และบรรยากาศในช้นั เรยี น : ภาคปฏบิ ัติ

ตอนที่ ๑๒ วา่ ดว้ ยทฤษฎไี ปแลว้  
ตอนท่ี ๑๓ จึงขอวา่ ดว้ ยภาคปฏิบตั ิ หรือยทุ ธศาสตร์ 

ศ.นพ.วจิ ารณ์ พานิช 141

ครูต้องหาทางทำ�ให้บรรยากาศใน
ชัน้ เรยี นเปน็ บรรยากาศทเี่ ปิดกว้าง ไม่เน้น
ถกู -ผิด และให้คณุ คา่ ความคิดเห็นทอี่ าจ
ไม่สมเหตสุ มผล เพือ่ ใช้เปน็ ขน้ั ตอนของการ
เรยี นร.ู้ ..
...ครูพงึ ย�้ำ วา่ ความเป็นจริงต่างๆ
ในโลก ไมแ่ ยกแยะเป็นขาว-ด�ำ และหลาย
กรณมี ีความไมช่ ัดเจน การเรียนรูท้ ี่แท้จรงิ
ไม่ใช่ความพยายามเข้าไปหาจุดเดียว
หรอื ความจริงแทห้ น่ึงเดยี ว แต่เปน็ การ
ท�ำ ความเขา้ ใจ... แงม่ มุ ตา่ งๆ ทห่ี ลากหลาย 
และแตกต่างกนั ตามมมุ มอง 

142 การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร

ยุทธศาสตร์ส่งเสริมพัฒนาการของนักศึกษาและสร้างบรรยากาศ
การเรยี นรู้

ท�ำ ให้รสู้ กึ ปลอดภยั ในสถานการณไ์ มแ่ น่นอน
ครูต้องหาทางทำ�ให้บรรยากาศในช้ันเรียนเป็นบรรยากาศท่ี
เปดิ กวา้ ง ไม่เน้นถกู -ผิด และใหค้ ณุ คา่ ความคิดเหน็ ทอี่ าจไม่สมเหตุ
สมผล เพื่อใชเ้ ปน็ ขน้ั ตอนของการเรยี นรู้
ครูพงึ ย้ำ�ว่าความเปน็ จริงตา่ งๆ ในโลก ไมแ่ ยกแยะเปน็ ขาว-ด�ำ  
และหลายกรณีมีความไม่ชัดเจน การเรียนรู้ที่แท้จริงไม่ใช่ความ
พยายามเข้าไปหาจุดเดียว หรือความจริงแท้หนึ่งเดียว แต่เป็นการ
ท�ำ ความเขา้ ใจแงม่ มุ ตา่ งๆ ทห่ี ลากหลาย และแตกตา่ งกนั ตามมมุ มอง 
ในห้องเรียน ครูพึงให้ความสำ�คัญและชวนกันทำ�ความเข้าใจทุกมุม
มองทน่ี กั ศกึ ษาเสนอ แมม้ มุ มองนนั้ จะไมถ่ กู ตอ้ ง ทง้ั หมดนน้ั กเ็ พอ่ื การเรยี น
ให้รู้จรงิ  

พยายามไม่ให้มคี ำ�ตอบถกู เพยี งคำ�ตอบเดยี ว
ครูพึงทำ�ความเข้าใจกับนักศึกษาว่า ความรู้ในตำ�ราเป็นความรู้ที่
แบนราบและเปน็ เส้นตรง ความรู้ทีแ่ ท้จริงมมี ติ คิ วามลึก และมมี ติ ิท่สี ีท่ ีห่ า้
คอื กาลเทศะดว้ ยดงั นน้ั ความรทู้ แี่ ทจ้ รงิ จะมไี ด้ณจดุ นน้ั และเวลานน้ั เทา่ นน้ั  
คำ�ถามใดคำ�ถามหน่ึงทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั สถานการณ์จริง จงึ ไมม่ คี �ำ ตอบเดยี ว 
ครูพึงฝึกให้นักศึกษาฝึกให้คำ�ตอบให้มากและหลากหลายท่ีสุดต่อ
ค�ำ ถามหนงึ่ ๆ  รวมทง้ั ส่งเสรมิ ให้มคี �ำ ตอบที่คัดคา้ นทฤษฎีท่เี ช่ือถอื กนั ด้วย 
ครคู วรใหน้ กั ศึกษาท�ำ แบบฝึกหดั ทีม่ ีหลายค�ำ ตอบ

ศ.นพ.วิจารณ์ พานชิ 143

ใหม้ ีขอ้ มูลหลักฐานอยู่ในเกณฑ์ประเมิน
ตอ้ งฝกึ ใหน้ กั ศกึ ษาใชข้ อ้ มลู หลกั ฐานอา้ งองิ ในการเสนอความเหน็ หรอื
โตแ้ ยง้ วธิ หี นง่ึ คอื ใช้ Rubrics หรอื เครอ่ื งมอื อน่ื เพอ่ื คอ่ ยๆ ดงึ หลกั ฐานออกมา 
อาจให้นักศึกษาตรวจผลงานซ่ึงกันและกันโดยใช้ Rubrics และวงข้อมูล
หลักฐานของแต่ละส่วนให้เห็นชัดเจน

ตรวจสอบสมมตฐิ านของตวั ครเู อง ต่อนักศึกษา
สมมติฐานของครู ต่อนักศึกษาท้ังช้ัน และต่อนักศึกษาเป็นรายคน
มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของครู โดยครูไม่รู้ตัว และพฤติกรรมน้ีมีผลต่อการ
เรียนรู้ของนักศึกษา ครูจึงพึงตรวจสอบสมมติฐานของตนให้อยู่บนฐาน
ความเปน็ จรงิ
วธิ ที งี่ า่ ยและตรงไปตรงมาทสี่ ดุ คอื จดั กระบวนการท�ำ ความรจู้ กั กนั ใน
วนั แรกของเทอม ทงั้ ในเรอ่ื งสว่ นตวั และเรอ่ื งพนื้ ความรู้ เทคนคิ ท�ำ ความรจู้ กั
นักศึกษานม้ี มี ากมายใหค้ ้นควา้ ได้  
     
ระมัดระวงั คำ�พูดที่ระบวุ ่า นักศกึ ษามีความสามารถตำ่�
ครูมีหน้าที่ให้กำ�ลังใจ ให้นักศึกษามีความมานะพยายาม  โดยช่วย
ชี้ช่องทางและวิธีการเรียนท่ีเหมาะสมให้  ครูไม่ควรใช้ถ้อยคำ�ที่พาดพิงถึง
เร่ืองทไี่ ม่มีใครแกไ้ ขได ้ เชน่ ไม่ควรพดู วา่ “ครูยินดชี ว่ ยเสมอ เพราะครรู วู้ า่
ผหู้ ญงิ มกั ไมเ่ กง่ คณติ ศาสตร”์ การเปน็ ผหู้ ญงิ ไมม่ ที างแกไ้ ขได้ ครจู งึ ไมค่ วรพดู
แต่ควรพูดวา่ “หากเธอพยายาม ขยนั ทำ�แบบฝกึ หัดอีกสกั วันละครึง่ ชั่วโมง 
ครคู ิดวา่ เธอจะเรียนวิชาน้ไี ด้ส�ำ เร็จ” ความขยนั เปน็ ส่ิงทีแ่ กไ้ ขได้
เรอ่ื งค�ำ พดู ของครทู ค่ี วรพดู และไมค่ วรพดู น้ีครทู กุ คนควรเอาใจใสศ่ กึ ษา

อยา่ บอกใหน้ กั ศึกษาคนใดคนหน่งึ พดู แทนกลุ่ม
ในหนังสือระบุถึงนักศึกษาทเ่ี ป็นชนกลุ่มนอ้ ย ว่าหากให้พูดแทนกลมุ่
อารมณ์ บ่ จอย ของเขาอาจท�ำ ใหเ้ ขาพดู ได้ไม่ดี หรือระเบดิ อารมณ์ ท�ำ ให้
บรรยากาศในห้องเรยี นเสยี

144 การเรียนรเู้ กิดข้นึ อย่างไร

แตผ่ มคดิ ต่าง  ผมคิดวา่ ในหลายกรณี ความเห็นของนกั ศึกษาในห้อง
อาจมคี วามแตกตา่ งหลากหลาย ไมไ่ ดเ้ ปน็ เอกภาพ ซง่ึ ในดา้ นเปา้ หมายของ
การเรียน เราต้องการมีหลากหลายความเห็นอยู่แล้ว การให้พูดแทนกลุ่ม
โดยไมไ่ ดแ้ ยกกลมุ่ ไมไ่ ด้ปรึกษาหารอื หาข้อยุตใิ นกลุม่ เปน็ สง่ิ ท่ีไมค่ วรทำ� 
     
ลดการปกปดิ ตวั ตน
บรรยากาศของการเรยี นรทู้ ดี่ คี อื บรรยากาศเปดิ กวา้ ง และมกี ารยอมรบั
นบั ถอื ตวั ตนของนกั ศกึ ษาแตล่ ะคน การทคี่ รทู �ำ ความรจู้ กั และเรยี กชอ่ื ศษิ ย์
เป็นรายคน การที่มีกระบวนการช่วยให้นักศึกษารู้จักคุ้นเคยกัน จะช่วยให้
มีบรรยากาศทีด่ ใี นห้องเรยี น

ใชท้ า่ ที ภาษา พฤตกิ รรม ทส่ี ะทอ้ นการเปดิ กวา้ ง ยอมรบั ชนทกุ กลมุ่
อย่างเทา่ เทียมกัน
ครตู อ้ งพยายามทกุ วถิ ที างทจ่ี ะท�ำ ใหน้ กั ศกึ ษาทกุ คนในชน้ั เรยี นรสู้ กึ วา่
ตนเปน็ สมาชกิ ของหอ้ งเรยี นทมี่ ศี กั ดศ์ิ รเี ทา่ เทยี มกบั คนอน่ื  ครพู งึ ระมดั ระวงั
การใชถ้ อ้ ยค�ำ ทส่ี ะทอ้ นจติ ใตส้ �ำ นกึ วา่ คนบางกลมุ่ เหนอื คนอกี บางกลมุ่  เชน่
ใชส้ รรพนามเพศชาย สอ่ วา่ ใหค้ วามส�ำ คญั ผชู้ ายเหนอื ผหู้ ญงิ หรอื เมอื่ มกี าร
ใชค้ �ำ American Idiom ครกู ช็ ว่ ยอธบิ ายใหน้ กั ศกึ ษาตา่ งชาตทิ ราบวา่ ค�ำ นน้ั
มีความหมายวา่ อยา่ งไร  เพ่อื ชว่ ยให้นกั ศกึ ษาผู้นัน้ ไดเ้ ขา้ ใจร่วมไปกับชนั้

ใชต้ ัวอย่างท่ีแตกต่างหลากหลาย
ตวั อยา่ งทแี่ ตกตา่ งหลากหลาย ชว่ ยใหน้ กั ศกึ ษาเหน็ วา่ ทฤษฎนี นั้ ใชไ้ ด้
ในสถานการณ์ที่แตกต่างกัน เช่น ตัวอย่างที่ใช้ในคนเพศใดก็ได้  ที่ใช้ใน
ผหู้ ญงิ  ทใี่ ชใ้ นคนตา่ งเศรษฐฐานะ  จะชว่ ยใหน้ กั ศกึ ษาตดิ ตามได ้ และเหน็
คุณค่าของความรูน้ ้ันในสถานการณ์จรงิ
กำ�หนดและบังคับใชก้ ตกิ าให้เกดิ ปฏสิ มั พนั ธท์ ีด่ ี
กติกาของปฏิสัมพันธ์ในช้ันเรียนต้องมีการกำ�หนดเพ่ือให้เกิด
ปฏสิ มั พนั ธท์ ดี่  ี มที า่ ทเี ปดิ กวา้ ง (Inclusive) นกั ศกึ ษาทกุ คนไดร้ บั การพฒั นา 

ศ.นพ.วิจารณ์ พานชิ 145

 วธิ ีท่ีดีคือให้นกั ศึกษาระดมความคดิ ชว่ ยกนั ก�ำ หนด เพื่อป้องกนั พฤติกรรม
ของบางคนท่ีมีอคตติ ่อคนบางกล่มุ

ระมดั ระวงั วา่ สาระในวชิ าไมท่ �ำ ใหน้ กั ศกึ ษาบางกลมุ่ ถกู ผลกั ออกไป
ชายขอบ
ครูต้องระมัดระวังตรวจสอบสาระของวิชา ว่ามีการละเว้นสาระ
บางส่วนไปหรือไม่ การละเว้นนั้น มีผลเท่ากับไม่ให้ความสำ�คัญแก่คน
บางกลุ่ม ทำ�ให้นักศึกษาบางคนรู้สึกเหมือนถูกผลักออกไปนอกวง
(Marginalized) และมผี ลปดิ กน้ั การสรา้ งอตั ลกั ษณข์ องนกั ศกึ ษา คน/กลมุ่
น้นั หรือไม่  
สร้างบรรยากาศท่ีดีของรายวิชาในวันแรก
ครพู งึ ใชว้ นั แรกสรา้ งความประทบั ใจ และวางแนวทางของบรรยากาศ
ในชั้นเรียน  แสดงดุลยภาพระหว่างสมรรถนะและอำ�นาจ กับความเป็นคน
ท่ีเข้าถึงง่าย หาวิธีทำ�ให้นักศึกษารู้จักกัน และรู้สึกสบายใจกับครูและ
รายวิชา รวมทัง้ สามารถเรยี นเนื้อหารายวิชาได้อย่างมีความหมาย

จัดใหม้ กี ารสะทอ้ นกลบั เรือ่ งบรรยากาศการเรียน
ครตู อ้ งหาวธิ ไี ดร้ บั การสะทอ้ นกลบั (Feedback) บรรยากาศในชน้ั เรยี น
วา่ ทกุ คนรสู้ กึ วา่ ไดร้ บั ความเอาใจใส่ ใหค้ ณุ คา่ และรบั ฟงั อยา่ งเทา่ เทยี มกนั
โดยวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีต่อไปนี้ (๑) ถามจากตัวแทนนักศึกษาที่มา
พบครูเป็นระยะๆ อย่างสมำ่�เสมอ โดยครูถามประเด็นจำ�เพาะท่ีเป็นเรื่อง
อ่อนไหวสำ�หรับชั้นเรียนนั้น (๒) จัดให้นักศึกษากรอกแบบสอบถามเรื่อง
ประเด็นอ่อนไหวในช่วงต้นเทอม (๓) บันทึกวีดิทัศน์ของช้ันเรียน นำ�มา
พิจารณา (๔) หาคนมาน่ังสังเกตการณ์ชั้นเรียนและใหค้ วามเหน็ ปอ้ นกลบั  
คนผนู้ น้ั อาจเปน็ เพอ่ื นครู นกั ศกึ ษาชว่ ยสอน หรอื ทป่ี รกึ ษาจากศนู ยพ์ ฒั นา
การเรียนการสอน 
ประเดน็ รายละเอยี ดท่นี ่าจะตรวจสอบ เชน่ ครถู ามหรือมปี ฏสิ ัมพันธ์
กบั นกั ศกึ ษากลมุ่ ไหนมากเปน็ พเิ ศษ นกั ศกึ ษากลมุ่ ไหนไมไ่ ดร้ บั ปฏสิ มั พนั ธ์

146 การเรียนรูเ้ กดิ ขนึ้ อยา่ งไร

จากครูเลย ปฏิสัมพันธ์แบบท่ีพึงเอาใจใส่คือ ถามคำ�ถามขัดจังหวะ ถาม
ค�ำ ถามที่งา่ ย แสดงความชน่ื ชมเปน็ พิเศษ เปน็ ตน้  
     
ระมดั ระวังเร่อื งท่อี ่อนไหวล่อแหลม
ครตู อ้ งระมดั ระวงั เรอื่ งทอี่ อ่ นไหวลอ่ แหลมตอ่ ความรสู้ กึ ของนกั ศกึ ษา
บางคนหรอื บางกลมุ่ และเมอื่ เหตกุ ารณใ์ นชน้ั เรยี นเรม่ิ สอ่ ไปในทางทจี่ ะเกดิ
บรรยากาศการเรยี นทไี่ มพ่ งึ ประสงค์ ครตู อ้ งรบี ตดั ไฟแตห่ วั ลม ครตู อ้ งศกึ ษา
และปรึกษาเร่ืองน้ีเอาไว้เตรียมตัวป้องกันบรรยากาศท่ีทำ�ลายการเรียนรู้
เรื่องทส่ี �ำ คญั จำ�เป็น แตเ่ ป็นเรอ่ื งออ่ นไหว 
ตรวจหาความตึงเครยี ดให้พบแต่เนิน่ ๆ
เมอ่ื ครจู อ้ งสังเกตระมัดระวังอยู่แล้ว  ครกู จ็ ะเห็นการเร่ิมกอ่ หวอดของ
บรรยากาศที่ไมด่  ี เช่น มีการบอกใหเ้ พอื่ นหยุดพูด  มนี กั ศึกษาบางคนเลย่ี ง
ออกไปจากหอ้ งหรอื จากกลมุ่ เกดิ มกี ารโตเ้ ถยี งกนั โดยตรง ครตู อ้ งรบี หาวธิ ี
ระงบั เหตกุ อ่ นจะลกุ ลามใหญโ่ ต วธิ กี ารมไี ดห้ ลากหลาย เชน่ กลา่ วค�ำ ขอโทษ
ดว้ ยตนเอง หรือแทนนักศกึ ษาบางคน “ครูขอโทษ ท่คี รูจดั บทเรียนน้ี และ
นำ�ไปสู่ความรู้สึกไม่ดีของนักศึกษาจำ�นวนหนึ่ง” และช้ีให้เห็นว่าเป็นเร่ือง
การตคี วามหมายแตกต่างกัน 
หลงั เวลาเรยี น ครูควรเชิญนกั ศกึ ษาทมี่ คี วามรู้สกึ ไมด่ ี หรอื นักศกึ ษา
ทเ่ี ปน็ ตวั จดุ ชนวน มาคยุ  ท�ำ ความเขา้ ใจประเดน็ ความลอ่ แหลม และวธิ พี ดู
ที่ไมร่ ะคายความรู้สึกของคนท่ีความอดทนในเรือ่ งน้ันต�ำ่
เหตกุ ารณ์ยงุ่ ยาก เปน็ สถานการณจ์ รงิ ส�ำ หรบั การเรียนรู้
เปล่ยี นความตึงเครยี ดและไม่เห็นพ้องเป็นโอกาสเรียนรู้
นกั ศกึ ษาควรไดเ้ รยี นรวู้ า่ การโตเ้ ถยี ง ความขดั แยง้ ความไมล่ งรอยกนั  
และการตีความต่างกัน เป็นโอกาสขยายมุมมอง ทำ�ความเข้าใจเร่ืองนั้น
ในมติ ทิ ล่ี กึ ขน้ึ ท�ำ ความเขา้ ใจมมุ มองตรงกนั ขา้ ม ฯลฯ คอื เปน็ โอกาสเรยี นรู้
ใหร้ จู้ รงิ นนั่ เอง จงึ ไมค่ วรมองสภาพขา้ งตน้ เปน็ สงิ่ ไมพ่ งึ ประสงค ์ และไมค่ วร
หลีกเล่ยี งไมใ่ หเ้ กิด 

ศ.นพ.วิจารณ์ พานชิ 147

แต่ด้วยความอ่อนเยาว์ของนักศึกษาที่พัฒนาการด้านสังคมและ
อารมณย์ งั ไปไมบ่ รรลวุ ฒุ ภิ าวะสงู สดุ จงึ มโี อกาสทนี่ กั ศกึ ษาบางคนควบคมุ
ตวั เองไมอ่ ยแู่ ละลแุ กโ่ ทสะ ท�ำ ให้ “บอ่ นแตก” ท�ำ ลายบรรยากาศการเรยี นร ู้
ครตู อ้ งฝกึ ก�ำ กบั ควบคมุ บรรยากาศทลี่ อ่ แหลมเหลา่ น ้ี ใหอ้ ยใู่ นสภาพ
ที่ “พอทน” สำ�หรับนักศึกษา ไม่ให้ลุกลามกลายเป็นความขัดแย้ง
หรือทะเลาะกัน  ให้เป็นบรรยากาศของ “ความตึงเครียดท่ีสร้างสรรค์”
(Constructive Tension) ซง่ึ เป็นส่วนหนึง่ ของการเรียนรทู้ ่ีส�ำ คัญมาก
     
ส่งเสริมให้มกี ารฟังอย่างตงั้ ใจ (Active Listening)
ความตึงเครียดส่วนใหญ่เกิดจากนักศึกษาไม่ได้ฟังเพื่อนอย่างต้ังใจ 
ไม่ได้ฟังส่ิงที่เพ่ือนพูดอย่างแท้จริง พอมีบางคำ�ที่ตนรู้สึกแสลงหู หรือ
แทงใจดำ� อารมณ์ววู่ ามกพ็ ลุ่งออกมา ดงั น้ันทกั ษะการฟังทเี่ รยี กว่า Active
Listening จึงมีความส�ำ คญั อย่างย่งิ ตอ่ การปอ้ งกนั ไมใ่ ห้เกิดความขัดแย้ง 
นกั ศกึ ษาจงึ ควรไดม้ โี อกาสฝกึ ทกั ษะการฟงั วธิ หี นง่ึ คอื Paraphrasing
หรือการทวนคำ�พูดของเพ่ือนในสำ�นวนใหม่ของตนเอง ครูเองอาจแสดง
ตวั อยา่ ง โดยทวนค�ำ พดู ของนกั ศกึ ษาและถามผพู้ ดู วา่ ตรงกบั ความหมายที่
นกั ศกึ ษาต้งั ใจหรือไม ่
สรุป
ระดับพัฒนาการของนักศึกษามีผลต่อการจัดรูปแบบการเรียนรู้ให้
รู้จริง และการเรียนรู้ในมหาวิทยาลัย ต้องเอาใจใส่ส่งเสริมพัฒนาการของ
นักศึกษาไปพร้อมๆ กันด้วย นั่นคือ ระดับพัฒนาการของนักศึกษาเป็นทั้ง
Means และ End ของกระบวนการเรียนรู ้
บรรยากาศของการเรียนรู้ ต้องไม่ใช่เอาใจใส่เฉพาะบรรยากาศทาง
ปัญญา หรือการเรียนรู้วิชาเท่าน้ัน แต่ต้องเอาใจใส่บรรยากาศทางสังคม
และทางอารมณ์ด้วย บรรยากาศทั้ง ๓ ด้านน้ี มีผลต่อการเติบโตหรือ
พฒั นาการรอบด้าน 
บรรยากาศ และระดับพัฒนาการของนักศึกษามีปฏิสัมพันธ์กับ
กจิ กรรมการเรยี นรอู้ ยา่ งซบั ซอ้ น ทา้ ทายครเู พอ่ื ศษิ ยใ์ นการจดั การสง่ิ เหลา่ นน้ั

148 การเรยี นรเู้ กิดข้ึนอยา่ งไร

เพือ่ เอ้อื อำ�นวยให้ศษิ ย์เกดิ การเรียนรูแ้ บบ “ร้จู รงิ ”
ผมขอเพิ่มเติมว่า บรรยากาศการเรียนรู้ของนักศึกษามหาวิทยาลัย
ตอ้ งค�ำ นงึ ถงึ พฒั นาการดา้ นรา่ งกายของนกั ศกึ ษาดว้ ย สภาพแวดลอ้ มควร
เอื้อให้นักศึกษาได้สร้างสุขนิสัย ด้วยการออกกำ�ลังกายสมำ่�เสมอ ติดตัว
ไปตลอดชีวิต การออกกำ�ลังกายแบบแอโรบิก ช่วยให้สมองแจ่มใส
ลดความเครยี ด ชว่ ยการเรียนรู้ 

วิจารณ์ พานชิ
๓ ม.ค. ๕๖

ศ.นพ.วจิ ารณ์ พานชิ 149

150 การเรยี นรู้เกดิ ข้นึ อยา่ งไร


Click to View FlipBook Version