The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือเพื่อการศึกษาและฝึกอบรมด้านวารสารศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by GM, 2020-02-19 03:37:06

คู่มือเพื่อการศึกษาและฝึกอบรมด้านวารสารศาสตร์

คู่มือเพื่อการศึกษาและฝึกอบรมด้านวารสารศาสตร์

United Nations
Educational, Scientific and

Cultural Organization

การเสนอขา่ ว

‘ขา่ วปลอม’ &
ขอ้ มลู บดิ เบือน

จัดพมิ พใ์ นปี พ.ศ. 2562 โดย องค์การการศึกษา วทิ ยาศาสตร์
และวัฒนธรรมแหง่ สหประชาชาติ 7, place de Fontenoy, 75352 Paris 07 SP, France

© UNESCO 2019
ISBN: 978-92-9223-646-5 (Print version)
ISBN: 978-92-9223-647-2 (Electronic version)

หนังสือเล่มน้เี ป็น Open Access ภายใต้สญั ญาของครเี อทฟี คอมมอนสแ์ บบแสดงที่มา-อนญุ าตแบบเดยี วกนั 3.0 IGO (CC-BY-
SA 3.0 IGO) (http://creativecommons.org/licenses/by-sa/3.0/igo/) ในการใช้เนื้อหาในหนังสือเล่มน้ี ผู้ใช้ยอมรับ
เงือ่ นไขการใช้เอกสารเปดิ ของ UNESCO Open Access Repository (http://www.unesco.org/open-access/terms-
use-ccbysa-en) ชือ่ ทใ่ี ช้และการนาเสนอเอกสารประกอบทใี่ ชภ้ ายในสงิ่ พมิ พ์ นี้ มไิ ด้สะท้อนการแสดงออกทางด้านความคิด
ใด ๆ ขององค์ การยเู นสโกเกีย่ วกับสถานภาพทางกฎหมายของประเทศ อาณาเขต เมือง หรือพนื้ ทกี่ ารควบคุม
หรอื เกยี่ วข้องกับ การกาหนดพรมแดนหรืออาณาเขตใด ๆ ทงั้ ส้ิน
แนวความคิดและความคิดเหน็ ในสิ่งพิมพ์นเ้ี ป็นความคดิ เหน็ สว่ นตัวของผ้เู ขียน ไมจ่ าเป็นต้องสะทอ้ นความคิดเห็นขององค์การ
ยูเนสโกและไมเ่ ปน็ ขอ้ ผูกมดั ตอ่ องคก์ ารฯ

บรรณาธกิ าร: เชอริลิน ไอรต์ ัน และ จูลี่ โพเซ็ตติ
ผเู้ ขียนร่วม: จลู ี่ โพเซ็ตติ, เชอรลิ นิ ไอร์ตนั , แคลร์ วอรเ์ ดลิ , โฮสเ์ ซน เดรัคห์ชาน, อลซิ แมทธิวส์, แมกดา อาบ-ู ฟาดลิ , ทอม ทรนุ
เนริ ์ด, เฟอรก์ สั เบลล์, อเล็กซอิ อส มนั ทซ์ าร์ลสิ
ค้นควา้ เพมิ่ เติม: ทอม ลอว์
ออกแบบกราฟกิ : มสิ เตอร์ คลนิ ตนั
ออกแบบปก: มสิ เตอร์ คลนิ ตนั
ภาพประกอบ: UNESCO First Draft และ Poynter
เรียงพิมพ:์ ยูเนสโก
จดั พมิ พ์โดย: ยเู นสโก
พมิ พ์ในประเทศไทย

TH/C-3883/CI/19/001 TH

2

เชอรลิ ิน ไอรต์ ัน
และจลู ่ี โพเซต็ ติ

การเสนอขา่ ว
ขา่ วปลอม และ

ขอ้ มลู บิดเบอื น

ค่มู ือเพอ่ื การศกึ ษาและอบรมดา้ นวารสารศาสตร์

3

สารบัญ 7

คานยิ มโดย กาย เบอรเ์ กอร์ 14

บทนา โดย เชอริลิน ไอร์ตนั และ จูล่ี โพเซต็ ติ 26

การใช้คู่มอื เลม่ นเี้ ป็นตน้ แบบหลักสตู ร โดย จูลี่ โพเซ็ตติ 32

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เหตุใดความจริง ความเช่ือถือ และ การเสนอขา่ ว จงึ สาคัญ 33
โดย เชอรลิ ิน ไอรต์ ัน 35
41
สาระสาคัญ 41
เคา้ โครงเน้ือหา 41
เปา้ หมายของหน่วยการเรยี นรู้ 43
ผลการเรยี นรู้ 43
รปู แบบของหนว่ ยการเรียนรู้
งานทีค่ วรมอบหมาย 44
เอกสารสาหรับอา่ นเพิม่ เติม
45
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การพิจารณาเรอ่ื ง “ความผดิ ปกติของขอ้ มูลข่าวสาร’: 45
รปู แบบของขอ้ มูลทีผ่ ดิ ขอ้ มลู บดิ เบอื น และ ขอ้ มลู ที่แฝงเจตนารา้ ย 52
โดย แคลร์ วอร์เดิล และ โฮส์เซน เดรคั ห์ชาน 53
53
สาระสาคญั 55
เค้าโครงเน้อื หา 55
เป้าหมายของหนว่ ยการเรียนรู้ 55
ผลการเรยี นรู้
รปู แบบของหนว่ ยการเรียนรู้ 57
งานทีค่ วรมอบหมาย
เอกสารประกอบ 58
เอกสารสาหรบั อา่ นเพิ่มเตมิ 60
68
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเปล่ียนแปลงในอตุ สาหกรรมขา่ ว: เทคโนโลยดี ิจทิ ลั สื่อสงั คม 68
และการแพรก่ ระจายของขอ้ มลู ทผี่ ดิ และขอ้ มลู บดิ เบือน 69
70
โดย จลู ่ี โพเซต็ ติ 71
สาระสาคญั
เค้าโครงเนอ้ื หา
เปา้ หมายของหนว่ ยการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้
รูปแบบของหนว่ ยการเรียนรู้
งานทค่ี วรมอบหมาย

เอกสารสาหรับอา่ นเพิม่ เตมิ

4

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 4 การตอ่ สกู้ ับขอ้ มลู บิดเบือน และขอ้ มลู ท่ีผิด ดว้ ยการรู้เทา่ ทนั ส่ือและสารสนเทศ 73
โดย แมกดา อาบ-ู ฟาดลิ
74
สาระสาคัญ 75
เคา้ โครงเนือ้ หา 79
เป้าหมายของหนว่ ยการเรยี นรู้ 80
ผลการเรียนรู้ 80
รปู แบบของหนว่ ยการเรียนรู้ 83
งานท่คี วรมอบหมาย 83
เอกสารประกอบ 83
เอกสารสาหรบั อา่ นเพม่ิ เตมิ
85
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 การตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริง 101
โดย อเล็กซิออส มนั ท์ซาร์ลสิ 86
86
สาระสาคัญ 92
เค้าโครงเนื้อหา 93
เปา้ หมายของหนว่ ยการเรียนรู้ 93
ผลการเรียนรู้ 97
รปู แบบของหนว่ ยการเรยี นรู้ 98
งานท่ีควรมอบหมาย
เอกสารสาหรับอา่ นเพิ่มเตมิ 101

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 6 การพิสจู นค์ วามจรงิ ในสอื่ สงั คม: การประเมนิ แหลง่ ทม่ี าและเนือ้ หาทเ่ี ป็น 102
ภาพ 108
โดยทอม ทรุนเนิรด์ และเฟอรก์ สั เบลล์ 108
109
เค้าโครงเนอื้ หา 110
เปา้ หมายของหน่วยการเรียนรู้ 110
ผลการเรียนรู้ 111
รูปแบบของหนว่ ยการเรียนรู้
งานทีค่ วรมอบหมาย 115
เอกสารประกอบ
เอกสารสาหรบั อา่ นเพม่ิ เติม 116
117
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 7 การตอ่ สู้กบั การล่วงละเมดิ สิทธบิ นโลกออนไลน์: เม่ือนักขา่ วและแหลง่ ข่าวตกเป็นเปา้ หมาย 123
โดย จูล่ี โพเซ็ตติ 123
124
สาระสาคัญ 126
เคา้ โครงเน้อื หา 126
เปา้ หมายของหน่วยการเรยี นรู้
ผลการเรียนรู้ 128
รปู แบบของหนว่ ยการเรียนรู้ 128
งานทคี่ วรมอบหมาย
เอกสารสาหรบั อา่ นเพม่ิ เติม

ผู้รว่ มเขียน
เครดิตภาพ

5

คานา

องค์การยูเนสโกมุ่งม่ั นในการทางานเพ่ือสร้างความแข็งแกร่งในการศึกษาด้านวารสารศาสตร์ และหนังสือเล่มนี้นับเป็นผลงาน
ล่าสดุ ท่ีถือเปน็ แหล่งข้อมูลความร้ทู ที่ ันยคุ สมยั

หนังสือเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของ “โครงการระดับโลกเพ่ือความเป็นเลิศในด้านการศึกษาด้านวารสารศาสตร์” ซ่ึงเป็นความสนใจ
ของโครงการนานาชาติว่าด้วยการพัฒนาการสื่อสารของยูเนสโก หรือ IPDC (International Programme for the
Development of Communication) โดยมีเป้าหมายเพื่อการเข้าไปมีส่วนร่วมในด้านการสอน การปฏิบัติ และการวิจัยด้าน
วารสารศาสตร์โดยใชม้ ุมมองสากล ตลอดจนการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้วิธกี ารปฏิบัตทิ ี่ไดผ้ ลระหวา่ งนานาประเทศ

ด้วยเหตุน้ี คู่มือฉบับนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ใช้เป็นหลักสูตรต้นแบบท่ีประเทศต่าง ๆ สามารถนาไปใช้หรือประยุกต์ เป็นการ
ตอบโต้กบั ขอ้ มูลบิดเบือนที่กาลงั เป็นประเด็นปญั หาระดบั โลกท่ีสังคมส่วนรวมโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ วงการข่าวกาลังเผชิญ

หนังสือเล่มนี้พยายามหลีกเลยี่ งคาว่า “ข่าวลวง” ในความหมายตรงตัวหรือในความหมายที่เข้าใจกันโดยท่ัวไป1 ด้วยเหตุทคี่ าวา่
“ข่าว” นั้น หมายถึงข้อมูลข่าวสารที่สามารถตรวจสอบได้และเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ และข้อมูลข่าวสารท่ีไม่เป็นไปตาม
มาตรฐานนี้ย่อมไม่สมควรเรียกว่าข่าว ดังน้ัน ในกรณีนี้ คาว่า “ข่าวลวง” จึงเป็นคาท่ีขัดแย้งในตัวเองที่บ่ันทอนความน่าเชื่อถือ
ของข้อมลู ขา่ วสารท่แี ท้จรงิ ทเ่ี ปน็ ไปตามมาตรฐานการตรวจสอบความจรงิ และเปน็ ประโยชน์ต่อสาธารณะอยา่ งขา่ วท่ีแทจ้ ริง

เพอ่ื ใหส้ ง่ เสริมความเข้าใจเก่ียวกบั กรณีการจัดการการใช้ภาษาทผี่ ิดและแบบแผนต่าง ๆ ของขอ้ มูลประเภทขา่ ว หนงั สอื เลม่ น้ีจึง
มุ่งเน้นไปที่ลักษณะการหลอกลวงเหล่านี้อย่างเคร่งครัด นั่นคือในฐานะที่เป็นข้อมูลข่าวสารปลอมประเภทหน่ึงท่ีแอบแฝงอยู่ใน
ข้อมูลบิดเบือน (Disinformation) ที่มีหลากหลายรูปแบบมากขึ้นเร่ือย ๆ รวมทั้งในรูปแบบของความบันเทิงอย่างภาพ Meme
(ภาพล้อเลยี น) ด้วย

โดยทั่วไป หนังสือเล่มนี้ใช้คาว่า ข้อมูลบิดเบือน เพ่ือหมายถึงความพยายามในการจงใจ (ส่วนใหญ่เป็นการจัดฉาก) สร้างความ
สับสนหรอื ควบคุมประชาชนดว้ ยการให้ขอ้ มูลท่ีไมต่ รงกับความเป็นจรงิ ซ่งึ มกั เกิดขน้ึ ควบคูแ่ ละคาบเก่ียวไปกบั กลยทุ ธ์การสอื่ สาร
ต่าง ๆ และชุดกลวิธีอ่ืน ๆ เช่น การแฮ็กหรือทาให้ผู้อื่นตกอยู่ในอันตราย ส่วนคาว่า ข้อมูลท่ีผิด โดยท่ัวไปใช้เพ่ือหมายถึงข้อมูล
ข่าวสารท่ีทาให้เกิดความเข้าใจผิดที่ผลิตข้ึนหรือเผยแพร่ออกไปโดยปราศจากการดัดแปลงแก้ไขหรือเจตนาร้าย ข้อมูลท้ังสอง
ประเภทต่างก็เป็นปัญหาของสังคม แต่ข้อมูลบิดเบือนนั้นมีอันตรายมากเพราะมักเกิดจากการวางแผนอย่างเป็นระบบ มี
ทรพั ยากรในการดาเนนิ การ และมีเทคโนโลยีระบบอัตโนมัตเิ ขา้ มาชว่ ยเสรมิ

ผเู้ ผยแพรข่ อ้ มูลบดิ เบือนมเี ป้าหมายอยทู่ คี่ วามเปราะบางหรือความเอนเอียงของผ้รู บั ทีม่ แี นวโนม้ วา่ จะเป็นผู้ช่วยกระจายข่าวและ
เพิ่มจานวนผู้แพร่กระจายข่าวได้ ด้วยวิธีน้ี ผู้เผยแพร่ข้อมูลบิดเบือนจึงพยายามใช้คนกลางในการกระจายข้อมูลโดยฉวยโอกาส
จากแนวโนม้ ในการสง่ ต่อข้อมลู ขา่ วสารของเราด้วยเหตุผลที่แตกตา่ งกันไป อนั ตรายก็คือวา่ “ขา่ วปลอม”

1 ดู Tandoc E; Wei Lim, Z and Ling, R. (2018). “Defining ‘Fake News’: A typology of scholarly definitions” in Digital Journalism (Taylor
and Francis) Volume 6, 2018 - Issue 2: ‘Trust, Credibility, Fake News’.

6

ในลักษณะนี้มักได้มาฟรี หมายความว่าคนที่ไม่สามารถจ่ายเงินเพื่อซ้ือข่าวคุณภาพ หรือคนที่ขาดช่องทางการเข้าถึงข่าวที่ผลิต
โดยส่ือสาธารณะอสิ ระมคี วามเสยี่ งต่อการไดร้ ับทง้ั ข้อมูลบดิ เบือนและข้อมูลท่ีผิดได้มากกว่า

การแพร่กระจายของข้อมลู บิดเบือนและข้อมลู ท่ีผดิ ส่วนใหญ่เกิดข้ึนเพราะส่อื เครือข่ายสังคมและการสง่ ข้อความในสอื่ สงั คม ซ่ึง
นาไปสู่การต้ังข้อสงสัยในเร่ืองขอบเขตของการกากับดูแลและการกากับดูแลตนเองของผู้ประกอบการท่ีให้บริการเหล่าน้ี ท้ังน้ี
ด้วยลักษณะธรรมชาติในการเป็นตวั กลางในการให้บริการพื้นท่ีไม่ใช่ผผู้ ลติ เนือ้ หาเอง ผู้ประกอบการเหล่านจ้ี ึงถูกกากบั ดูแลแบบ
หลวม ๆ มาโดยตลอด (ยกเว้นเร่ืองลิขสิทธ์ิ) อย่างไรก็ตาม ในสถานการณ์ท่ีแรงกดดันเพ่ิมสูงข้ึนและมีความเสี่ยงที่จะถูกจากัด
เสรีภาพในการแสดงออกอันเป็นผลของการกากับดูแลที่เข้มงวดจนเกินไปนั้น พบว่าข้ันตอนต่าง ๆ ในกรอบของการกากับดูแล
ตนเองนั้นมีเพ่ิมมากข้ึนแม้จะเป็นบางส่วน2 โดยในปี พ.ศ. 2561 ผู้ตรวจการพิเศษแห่งสหประชาชาติด้านสิทธิเสรีภาพในการ
แสดงความคิดเห็นและการแสดงออกแห่งสหประชาชาติได้เน้นย้าประเด็นน้ีในรายงานประจาปี โดยเร่งรัดให้ผู้ให้บริการ
อินเทอร์เน็ตเรียนรู้การกากับดูแลตนเองจากองค์กรข่าว และให้ปฏิบัติตามมาตรฐานของสหประชาชาติในประเด็นสิทธิในการ
เปิดเผย แสวงหา และรับข้อมูลข่าวสาร3 ในระบบนิเวศน์ของมาตรการต่าง ๆ ของภาครัฐและบริษัทเอกชนท่ีมีการพัฒนาอย่าง
รวดเร็ว ผู้สอ่ื ข่าวและองค์กรขา่ วยงั คงมบี ทบาททีส่ าคัญอยา่ งยิ่งยวดซ่ึงเป็นทม่ี าของการจัดทาหนงั สอื เลม่ นี้

การแยกแยะความแตกตา่ ง

ข้อมลู บิดเบอื นและข้อมูลทผี่ ดิ แตกตา่ งจากงานข่าว (ที่มคี ุณภาพ) ท่ีเป็นไปตามมาตรฐานและจริยธรรมวิชาชีพ ในขณะเดยี วกนั ก็
ไม่เหมือนกับงานข่าวทอี่ อ่ นแอและไมเ่ ปน็ ไปตามคามนั่ สญั ญาท่ีให้ไว้ ตวั อย่างงานขา่ วที่เป็นปญั หาไดแ้ ก่ ขอ้ ผดิ พลาดตา่ ง ๆ ที่พบ
เห็นได้ในปัจจบุ ัน (และไม่ได้รับการแก้ไข) อันเกิดจากการขาดการคน้ คว้าหาข้อมูลหรอื ความหละหลวมในการพิสจู นข์ ้อเท็จจรงิ
ตลอดจนการกระตุ้นอารมณ์ความรู้สึกด้วยการใช้ถ้อยคาเกินจริงเพื่อสร้างกระแส ตลอดจนความเอนเอียงในการเลือกนาเสนอ
ข้อเทจ็ จรงิ จนขาดความเปน็ ธรรม

ทั้งน้ี มิได้หมายความว่าหลักวารสารศาสตร์ในอุดมคติต้องอยู่เหนือกว่าการเล่าเร่ืองและมุมมองที่แฝงอยู่ในเน้ือข่าว และข่าวท่ี
ดอ้ ยมาตรฐานตอ้ งถูกเดียดฉนั ทเ์ พราะอดุ มการณ์ แต่ตอ้ งการชใ้ี หเ้ ห็นว่าทกุ อยา่ งประกอบไปด้วยการเลา่ เร่ือง และปญั หาของการ
ทาข่าวท่ีด้อยมาตรฐานไม่ใช่เพราะการเล่าเร่ือง แต่เป็นเพราะขาดความเป็นมืออาชีพ ซึ่งเป็นเหตุผลที่ทาให้การข่าวท่ีอ่อนแอ
แตกต่างจากขอ้ มูลบดิ เบอื นหรอื ข้อมลู ทผ่ี ิด

อย่างไรก็ตาม บางคร้ังงานข่าวท่ีด้อยคณุ ภาพก็อาจเป็นจุดเริ่มตน้ หรือการเริ่มร่ัวไหลของข้อมูลบิดเบือนและขอ้ มูลท่ีผิดในระบบ
การทาขา่ วทแี่ ทจ้ ริงได้ แตส่ าเหตแุ ละการเยยี วยางานข่าวท่ดี อ้ ยคณุ ภาพแตกต่างจากกรณีของข้อมูลบดิ เบอื นและข้อมลู ท่ีผิด

2 Manjoo, F. (2018). What Stays on Facebook and What Goes? The Social Network Cannot Answer. New York Times, 19 July, 2018.
https:// www.nytimes.com/2018/07/19/technology/facebook-misinformation.html [accessed on 20/07/2018];
https://www.rt.com/usa/432604youtube-invests-reputable-news/ [accessed on 15/07/2018]; https://youtube.googleblog.com/
[accessed on 15/07/2018]; https://sputniknews. com/asia/201807111066253096-whatsapp-seeks-help-fake-news/ [accessed on
15/07/2018].

3 Report of the Special Rapporteur on the promotion and protection of the right to freedom of opinion and expression. UN Human
Rights Council 6 April 2018. A/HRC/38/35. https://documents-dds-
ny.un.org/doc/UNDOC/GEN/G18/096/72/PDF/G1809672.pdf?OpenElement [accessed on 20/07/2018].

7

ในขณะเดียวกัน เห็นได้ชัดว่าจริยธรรมวารสารศาสตร์ท่ีแข็งแกร่งมีความจาเป็นเพ่ือเป็นทางเลือกและการกาจดั การปนเปื้อนใน
สิ่งแวดล้อมของข้อมลู ขา่ วสารและการกระจายความแปดเปอื้ นส่วู งการขา่ วโดยรวม

ปัจจุบันนักข่าวไม่ได้เป็นเพียงผู้พบเห็นการโหมกระหน่าของขอ้ มูลบิดเบือนและข้อมูลที่ผิด แต่เป็นผู้ตกอยู่ในสถานการณ์นั้นเสยี
เองดว้ ย4 ซ่งึ หมายความว่า

➢ วงการขา่ วกาลงั เผชิญกับความเสี่ยงทจี่ ะถูกกลนื ไปกบั ความขัดแยง้

➢ นักข่าวมีความเส่ียงที่จะถูกบงการโดยผู้ละเมดิ จรรยาบรรณของการประชาสมั พันธ์ด้วยการพยายามชักจูง
หรือตดิ สนิ บนนกั ข่าวทจุ รติ ใหเ้ ผยแพร่ข้อมลู ทเ่ี ปน็ เท็จ5

➢ นักข่าวที่เป็นนักส่ือสารที่ทางานรับใช้ความจริงท่ีรวมถึง “ความจริงท่ีไม่มีใครอยากรู้” อาจตกเป็น
เป้าหมายของการโกหก ข่าวลือ และข่าวลวง ที่ถูกออกแบบมาเพ่ือข่มขู่หรือทาลายความน่าเชื่อถือของ
นักข่าวและงานข่าว โดยเฉพาะเม่ือข่าวน้ันเป็นภัยต่อการเปิดเผยตัวตนของผู้รับจ้างหรือผู้เผยแพร่ข่าว
บิดเบือน6

นอกจากนี้ นักข่าวยังจาเปน็ ตอ้ งรู้ดว้ ยว่าแม้พ้ืนที่ของข้อมลู บิดเบอื นสว่ นใหญ่จะอยู่ในสือ่ สังคม แต่ทุกวันน้ีผู้ผลติ ข่าวท่ีมีอทิ ธิพล
กาลังใช้ความเป็น “ข่าวปลอม” เพื่อสกัดก้ันส่ือข่าวที่แท้จริง กฎหมายใหม่ที่เข้มงวดทาให้สถาบันส่ือกลายเป็นแพะรับบาป
ประหน่ึงว่าสถาบันสื่อเป็นผู้สร้างข่าวขึ้นมาเสียเอง หรือไม่ก็ทาให้สถาบันสื่อตกอยู่ภายใต้กฎครอบจักรวาลที่กาหนดข้ึนมาใหม่
เพื่อจากัดชอ่ งทางกิจกรรมการสือ่ สารทงั้ หมดโดยไมแ่ ยกแยะ กฎระเบียบประเภทน้ีมกั ไมเ่ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑส์ ากลทีก่ าหนดให้
การจากัดเสรีภาพในการแสดงออกน้ันต้องพิสูจน์ได้ว่าเกิดจากความจาเป็น มีความเหมาะสม และด้วยเจตนาที่ถูกต้อง และผล
จากการจากัดเสรภี าพดงั กล่าวประหนึ่งว่าตอ้ งการให้องคก์ รขา่ วทแ่ี ทจ้ ริงสังกดั อยูภ่ ายใต้ “กระทรวงแหง่ ความจริง” (เปน็ การใช้
คาเพื่ออุปมาอุปมัยแบบคู่ตรงข้าม กับการนาเสนอโฆษณาชวนเชื่อ Ministry of Propaganda เพ่ือเสียดสีการนาเสนอข่าวลวง
เพือ่ เปา้ หมายทางการเมือง: สรุปโดยผู้แปล) โดยใช้อานาจในการจากดั ขอ้ มูลขา่ วสารเพื่อเหตผุ ลทางการเมืองเพียงประการเดียว
เทา่ นัน้ แม้วา่ อาจจะไม่ใชต่ ลอดเวลากต็ าม

ในบริบทปัจจุบันของข้อมูลบิดเบือนและข้อมูลท่ีผิด สิ่งท่ีอันตรายที่สุดไม่ใช่กฎระเบียบในการทาข่าวท่ีไมส่ มเหตสุ มผล แต่เป็น
เร่อื งของการทป่ี ระชาชนอาจไม่เชื่อถอื เน้ือหาสอ่ื ท้ังหมด รวมไปถงึ เนื้อหาท่ีเปน็ ขา่ วด้วย กรณเี ช่นน้ี เปน็ ไปได้ท่คี นจะหันไปเชื่อ
เนือ้ หาตามเครอื ขา่ ยสื่อสงั คมของตนทต่ี รงกบั ใจโดยไม่คิดไตรต่ รองใหถ้ ่ีถ้วน ซึง่ เราได้เห็นผลกระทบเชงิ ลบเชน่ นี้เปน็ จานวนมาก
ในเรื่องที่เก่ียวกับความเชื่อด้านสุขภาพ วิทยาศาสตร์ ความเข้าใจระหว่างวัฒนธรรม และสถานภาพความเป็นผู้เชี่ยวชาญท่ี
แท้จริง

4 แม้จะมีความเสีย่ ง แต่จากการวิจยั พบว่าหอ้ งขา่ วของประเทศหน่งึ ไมม่ รี ะบบ งบประมาณ และพนกั งานท่ีผ่านการฝึกอบรมเพื่อการรับมือกับขอ้ มลู บิดเบือน
โดยเฉพาะ ดู Penplusbytes. 2018. Media Perspectives on Fake News in Ghana. http://penplusbytes.org/publications/4535/ [เข้าถึงเมอื่
12/06/2018].

5 Butler, P. 2018. How journalists can avoid being manipulated by trolls seeking to spread disinformation.
http://ijnet.org/en/blog/howjournalists-can-avoid-being-manipulated-trolls-seeking-spread-disinformation. See also Module Three of
this handbook.

6 ดู หนว่ ยการเรยี นรทู้ ีเ่ จ็ด

8

ผลกระทบตอ่ ประชาชนเช่นน้ีน่าเปน็ หว่ งเป็นพิเศษสาหรับการเลอื กต้ังและแนวคดิ ประชาธิปไตยท่ีเป็นสิทธิมนุษยชนอย่างหนึง่
สงิ่ ที่เป็นเปา้ หมายของข้อมลู บิดเบือนโดยเฉพาะในชว่ งการทาโพลสารวจความนยิ มไมใ่ ช่การชกั จูงใหเ้ ชือ่ วา่ เน้ือหาเปน็ ความจริง
เสมอไป แต่ต้องการสรา้ งผลในการกาหนดประเดน็ (เร่ืองที่คนคิดวา่ มีความสาคญั ) และเพอ่ื กวนนา้ ใหข้ นุ่ เพอ่ื ลดทอนปัจจยั การ
ใช้เหตุผลในการลงคะแนนเสยี ง7 ในทานองเดียวกัน ประเด็นด้านการอพยพ การเปล่ียนแปลงของสภาวะอากาศ และอื่น ๆ ก็
อาจได้รับผลกระทบเป็นอย่างมากจากความไมแ่ น่นอนท่เี ปน็ ผลมาจากขอ้ มูลบิดเบือนและข้อมูลทผ่ี ดิ

อันตรายเหล่าน้ีคือเหตุผลที่การเผชิญหน้ากับการเพิ่มขึ้นของ “ข่าวปลอม” เป็นเรื่องจาเป็นต่อวงการข่าวและการศึกษาด้าน
วารสารศาสตร์ ในขณะเดียวกนั ภัยคุกคามเหล่าน้ี ก็ทาให้เดมิ พนั ในคุณค่าของสื่อท่ีนาเสนอข่าวสูงขน้ึ เป็นทวคี ูณ ด้วยการตอก
ย้าจุดเด่นของวิชาชีพในการนาเสนอข้อมูลท่ีตรวจสอบได้และความคิดเห็นที่ผ่านการไตร่ตรองเป็นอย่างดี เพ่ือประโยชน์
สาธารณะ8

สิง่ ท่วี งการข่าวตอ้ งทา

ด้วยสภาวะแวดลอ้ มเช่นนี้ ถึงเวลาแล้วท่สี ่ือที่นาเสนอข่าวจะปฏบิ ัติตามมาตรฐานและจริยธรรมวิชาชีพใหม้ ากข้ึน เพ่ือหลีกเลี่ยง
การตีพิมพ์ข้อมูลข่าวสารโดยไม่ได้ตรวจสอบ และถอยห่างจากข้อมูลข่าวสารท่ีอยู่ในความสนใจของคนบางส่วนแต่ไม่ได้เป็น
ประโยชนต์ ่อสาธารณะ

หนังสือเล่มน้ีจึงถือได้ว่าตีพิมพ์ออกมาได้อย่างทันท่วงทีเพ่ือย้าเตือนว่าสถาบันส่ือและนักข่าวไม่ว่าจะมีจุดยืนทางการเมืองใน
ทิศทางใด ควรหลกี เล่ียงการเผยแพร่ขอ้ มูลทเี่ ป็นเท็จและข้อมลู ท่ผี ดิ ท้งั โดยความผดิ พลาดและโดยปราศจากวจิ ารณญาณ การลด
ตาแหน่งพนักงานท่ีมีหน้าที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงภายในองค์กรข่าวปัจจุบัน ทาให้หน้าท่ีนี้ตกเป็นของ “ฐานันดรที่ห้า” อย่าง
บล็อกเกอร์และบุคคลภายนอกที่คอยจับตาดูความผิดพลาดของนักข่าว แม้ว่าจะเป็นการตรวจสอบภายหลังจากการเผยแพร่
ขอ้ มูลแลว้ ก็ตาม

ปรากฏการณน์ ีอ้ าจได้รับการตอบรับจากสอ่ื ทีน่ าเสนอข่าวเพราะเปน็ การช่วยใหส้ ังคมสนใจในข้อมูลข่าวสารที่พสิ ูจนไ์ ดม้ ากย่ิงขึ้น
นกั ขา่ วจงึ ควรเผยแพรผ่ ลงานของกลุม่ ตรวจสอบความจริงอิสระเหลา่ น้ี แต่พึงระลกึ ไว้วา่ เม่ือใดก็ตามทีค่ นภายนอกแสดงให้เหน็ วา่
องค์กรสื่อใดมีความล้มเหลวเชิงระบบ ย่อมสร้างความคลางแคลงใจอย่างน้อยก็ต่อภาพลักษณ์ขององค์กรน้ันในฐานะแหล่งข่าว
อาชีพ ส่ือจึงควรระมัดระวังไม่ให้การแก้ไขข้อผิดพลาดภายหลังจากการตีพิมพ์เผยแพร่ไปแล้วโดยบุคคลภายนอกเข้ามาแทนที่
กระบวนการควบคุมคณุ ภาพภายใน เพราะนักขา่ วต้องทาใหด้ ีกว่า และ “ทาให้ถูกตอ้ ง” ตั้งแต่แรก ไม่เช่นนนั้ ก็จะกลายเป็นการ
ลิดรอนโอกาสทีส่ งั คมจะมสี ่ือที่เชื่อถอื ได้
กล่าวโดยสรปุ ก็คือเกมไล่ตรวจแก้ข้อผดิ พลาดของสนุ ัขเฝา้ บ้านภายนอกน้ัน ไม่ใช่เกมท่ีวงการข่าวเป็นผชู้ นะ นักข่าวจะปล่อยให้
หนว่ ยงานตรวจสอบข้อเท็จจริงเขา้ มาทาหนา้ ทขี่ องนักขา่ วในการตรวจสอบข้อความนา่ สงสัยทแี่ หล่งข่าวกลา่ วไว้

7 Lipson, D (2018) Indonesia’s ‘buzzers’ paid to spread propaganda as political elite wage war ahead of election, ABC News:
http://mobile.abc.net.au/news/2018-08-13/indonesian-buzzers-paid-to-spread-propaganda-ahead-of-election/9928870?pfmredir=sm
[accessed 17/8/18].

8 ดูเพมิ่ เติม: Nordic Council of Ministers. 2018. Fighting Fakes - the Nordic Way. Copenhagen: Nordic Council of Ministers.
http://www.nordicom.gu.se/en/latest/news/fighting-fakes-nordic-way [accessed 12/06/2018].

9

ไม่ได้ (ไม่ว่าข้อความน้ันสื่อจะเป็นผู้รายงานเองหรือปรากฏให้เห็นตามสือ่ สังคมโดยไม่ผ่านกระบวนการทาข่าวตามหลักวารสาร
ศาสตร์ก็ตาม) โดยต้องมกี ารพัฒนาความสามารถของวชิ าชีพข่าวในการเป็นมากกว่าการทาข่าวแบบ “เขากลา่ ว เธอกลา่ ว” และ
การสืบหาความจรงิ ของข้อความของผูท้ ีส่ อื่ อา้ งถึงให้ดีขึน้

วงการข่าวยังจาเป็นต้องหม่ันเฝ้าจับตาและเปิดโปงประเด็นและรูปแบบของข้อมูลบิดเบือนใหม่ ๆ อย่างเป็นนิจ ภารกิจน้ีมี
ความสาคญั อย่างยิ่งยวดต่อสอื่ ทน่ี าเสนอขา่ วและนบั วา่ เปน็ วิธีการกากับดแู ล “ข่าวปลอม” ไดอ้ ีกทางหน่ึงดว้ ย เพราะนอกจากจะ
เป็นการตอบโต้ประเด็นร้อนท่ีก่อให้เกิดความเสยี หายอย่างทันท่วงทีแล้ว ยังทาหน้าท่ีเติมเต็มและสร้างความแข็งแกร่งให้กับกล
ยุทธ์ระยะกลาง อย่างเช่นการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศที่สร้างความเข้มแขง็ ใหก้ ับผู้ใช้สื่อในการแยกแยะว่าอะไรเป็นข่าว อะไร
เป็นข้อมูลบิดเบือน และอะไรเป็นข้อมลู ท่ีผิด ทั้งนี้ ประเด็นข้อมลู บิดเบือนเป็นเรอ่ื งที่สาคัญ และการนาเสนอข่าวเกยี่ วกับข้อมูล
บดิ เบอื นอย่างจริงจงั กจ็ ะช่วยใหก้ ารทาขา่ วตอบโจทย์การรบั ใช้สังคมได้ดยี ง่ิ ข้นึ
หนังสือคู่มือเล่มนี้จึงเป็นการเรียกร้องให้เกิดการปฏิบัติ และยังเป็นการส่งเสริมให้นักข่าวเข้าร่วมในการเสวนาของสังคมเพอ่ื
จะไดร้ ู้วา่ ประชาชนส่วนใหญ่มีความเหน็ อย่างไรตอ่ ความนา่ เช่อื ถือ และเพราะเหตุใดคนบางส่วนจึงมีพฤติกรรมเผยแพร่ข้อมูล
ท่ีไม่ได้ตรวจสอบ น่ีเป็นโอกาสสาคัญสาหรับสถานศกึ ษาและผ้เู รียนวารสารศาสตร์ ตลอดจนผู้ให้การอบรมและผ้เู ข้าร่วมการ
อบรมด้านสื่อเช่นเดียวกับสื่อท่ีนาเสนอข่าวในการเข้าไปมีส่วนร่วมในฐานะพลเมืองร่วมกับประชาชนท่ัวไป ยกตัวอย่างเช่น
“การระดมความเหน็ ” (crowd-sourcing) ซง่ึ มีความสาคัญมากหากสอื่ ต้องการเปิดโปงและรายงานข้อมลู บิดเบือนที่เลด็ ลอด
จากการตรวจพบดว้ ยการแพรก่ ระจายอยตู่ ามสือ่ สงั คมหรืออเี มล

บทบาทของยเู นสโก

ด้วยทุนสนับสนุนจากโครงการนานาชาติว่าด้วยการพัฒนาการส่ือสารขององค์การยูเนสโก หรือ IPDC (International
Programme for the Development of Communication) หนังสือเล่มนี้จึงเป็นแหล่งข้อมูลแบบองค์รวมท่ีมีเอกลักษณ์
เกีย่ วกับเรื่องราวที่เปน็ ขอ้ มูลบดิ เบอื นในแงม่ ุมตา่ ง ๆ ร่วมกับการเพิ่มพนู ทักษะเชิงปฏบิ ตั เิ พอื่ เสริมสร้างความรู้และความเข้าใจใน
เน้ือหาให้สมบูรณ์มากยิ่งข้ึน9 หนังสือเล่มน้ีเป็นส่วนหนึ่งของเอกสารขององค์การยูเนสโกในการส่งเสริมการทางานอย่างมี
ประสิทธิภาพสูงสุดและการกากับดูแลตนเองของนักข่าว เพื่อเป็นทางเลือกในการหลกี เลี่ยงความเสี่ยงจากการถูกแทรกแซงของ
ภาครฐั ในการจดั การกับปญั หา ซ่งึ อยูใ่ นขอบเขตของเสรีภาพในการแสดงออก

หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานต่อเนื่องจากงานสองเล่มแรกของยูเนสโก อันได้แก่ “Teaching Journalism for Sustainable
Development: New Syllabi”10 ทต่ี พี ิมพใ์ นปี พ.ศ. 2556 และ “Model Curriculum for Journalism Education: A

9 การประชุมครั้งที่ 61 ของโครงการ IPDC Bureau ในปี 2017 มีมติใหก้ ารสนบั สนนุ โครงการเพอ่ื ความเปน็ เลศิ ทางด้านการศกึ ษาวารสารศาสตรโ์ ลก เดว้ ยการ
จดั สรรงบประมาณพเิ ศษเพอ่ื พัฒนาหลกั สตู รใหม่สาหรับหวั ขอ้ หลกั การวารสารศาสตร์ โดยมีการรายงานความคบื หน้าในการประชมุ IPDC เคร้ังท่ี 62 ในปี
2018 ซง่ึ มีมตใิ หจ้ ัดสรรงบประมาณเพิ่มเตมิ เพอื่ สนบั สนุนหลกั สตู รน้ี

10 http://www.unesco.org/new/en/communication-and-information/resources/publications-and-communication-materials
/publications/full-list/teaching-journalism-for-sustainable-development/ [accessed 12/06/2018].

10

Compendium of New Syllabi” ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2556 ซึ่งต่างเป็นผลสืบเน่ืองจากผลงานชิ้นเอกของยูเนสโกเรอ่ื ง “Model
Curriculum on Journalism Education11” ที่ได้รับการตีพิมพใ์ นปี พ.ศ. 2550 ใน 9 ภาษา

เอกสารอ่นื ๆ ท่ีทรงคุณค่าและอยใู่ นเครอื สงิ่ พิมพ์ของยเู นสโกที่เกย่ี วข้องกบั การศึกษาและการฝกึ อบรมด้านวารสารศาสตร์ ไดแ้ ก่

• หลกั สตู รต้นแบบเก่ยี วกบั ความปลอดภยั ของนกั ข่าว (พ.ศ. 2560)12
• การกอ่ การรา้ ยและสอื่ : คู่มอื สาหรบั นกั ขา่ ว (พ.ศ. 2560)13
• การเปลยี่ นแปลงสภาวะอากาศในแอฟริกา: คมู่ อื สาหรบั นักขา่ ว (พ.ศ. 2556)14
• กรณีศกึ ษาท่ัวโลกในการทาขา่ วเชงิ สืบสวน (พ.ศ. 2555) 15
• การสืบสวนจากเรอื่ งเลา่ : คมู่ ือสาหรับนักข่าวเชงิ สบื สวน (พ.ศ. 2552)16
• การรายงานข่าวอ่อนไหวตอ่ ความขัดแย้ง: ศาสตร์แหง่ ศลิ ป;์ หลกั สูตรสาหรับนักข่าวและผสู้ อนดา้ น

วารสารศาสตร์ (พ.ศ. 2552)17

หนังสือเหล่าน้ีทุกเล่มได้รับการพิสูจน์คุณค่าจากนานาประเทศท่ัวโลกที่พบว่าผู้ให้การศึกษาและการอบรมด้านวารสารศาสตร์
ตลอดจนนักศึกษาและนักข่าวอาชีพ ได้นาไปปรับใช้เพ่ือพัฒนาการทางานหลากหลายด้าน บางแห่งสามารถดัดแปลงหลักสูตร
ต่อเน่ืองหลายปีท้ังหมดให้สอดคล้องกับความรู้และแรงบันดาลใจใหม่ ๆ ได้เป็นอย่างดี ในขณะที่บางแห่งใช้วิธีการบูรณาการ
องค์ประกอบต่าง ๆ จากแหล่งข้อมลู ของยูเนสโกเข้ากับหลักสตู รเดิมทมี่ ีอยู่ ท้ังนี้ เช่ือว่าคุณภาพและความสอดคลอ้ งของหนงั สือ
เลม่ น้จี ะสามารถสรา้ งคณุ ค่าตอ่ ผู้อา่ นได้เฉกเช่นเดยี วกนั

เนื่องจากองค์การยูเนสโกเป็นองค์การระหว่างประเทศระดับรัฐบาลจึงไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดในความขัดแย้งด้านสารสนเทศเชิงภูมิ
รฐั ศาสตร์ ดังเปน็ ท่ที ราบกนั ดีวา่ มีขอ้ ความและการโต้ตอบข้อมลู บดิ เบอื นทหี่ ลากหลาย ซงึ่ ความเข้าใจนี้จะชว่ ยในการอ่านหนงั สอื
เลม่ นีแ้ ละเป็นแรงบนั ดาลใจใหผ้ ูอ้ า่ นชว่ ยกนั ค้นหาหลักฐานเพ่มิ เติมเกยี่ วกบั ประเด็นตา่ ง ๆ

11ddhttp://www.unesco.org/new/en/communication-and-information/resources/publications-and-communication-
dmaterials/publications/full-list/ zmodel-curricula-for-journalism-education/ [accessed 12/06/2018].

12 https://en.unesco.org/news/unesco-releases-model-course-safety-journalists [accessed 12/06/2018].
13 https://en.unesco.org/news/terrorism-and-media-handbook-journalists [accessed 12/06/2018].
14ddhttp://www.unesco.org/new/en/communication-and-information/resources/publications-and-communication-

dmaterials/publications/full-list/ climate-change-in-africa-a-guidebook-for-journalists/ [accessed on 12/06/2018].
15 http://www.unesco.org/new/en/communication-and-information/resources/publications-and-communication-

materials/publications/full-list/the-global-investigative-journalism-casebook/ [accessed 12/06/2018].
16 http://unesdoc.unesco.org/images/0019/001930/193078e.pdf [accessed 12/06/2018].
17 http://www.unesco.org/new/en/communication-and-information/resources/publications-and-communication-

dmaterials/publications/full-list/ conflict-sensitive-reporting-state-of-the-art-a-course-for-journalists-and-journalism-educators/
d[accessed on 12/06/2018].

11

ในขณะเดยี วกัน เพอ่ื หลีกเล่ียงแนวคดิ แบบสัมพทั ธนยิ ม คู่มือนจ้ี งึ ปลกู ฝังชุดทักษะต่อไปน้ไี ว้ในทกุ ๆ หน้าเพือ่ วางรากฐานทีม่ ่ันคง
สาหรบั การนาไปใชเ้ พื่อการประเมนิ และปฏบิ ตั ิ ดังน้ี

1. ความรู้ที่ว่าข่าว ที่ผลิตโดยผู้ท่ีมีความโปร่งใสและสามารถพิสูจน์ได้น้ัน เป็นสิ่งท่ีจาเป็นอย่างย่ิงยวดต่อระบอบ
ประชาธปิ ไตย การพัฒนา ความกา้ วหน้าทางวิทยาศาสตร์ สขุ ภาพ และ-มวลมนุษย์

2. ความสามารถในการแยกแยะได้ว่า ขอ้ มูลบิดเบอื น ไม่ใชเ่ รอ่ื งเล็กและการต่อสกู้ ับข้อมูลบิดเบือนถอื เป็นภารกิจท่ี
สาคญั ยิ่งต่อสื่อที่นาเสนอขา่ ว

3. ความยึดม่ันต่อการยกระดับทักษะความสามารถของวิชาชีพวารสารศาสตร์เป็นสิ่งสาคัญ หากต้องการให้การ
เสนอขา่ วท่ีครอบคลมุ และแมน่ ยาเป็นตวั เลือกท่เี ชอ่ื ถอื ได้เพอื่ แข่งขันกบั เนอ้ื หาที่ถูกอุปโลกนข์ น้ึ มา

หนังสือเล่มน้ียังได้รวบรวมทักษะการรอบรู้เท่าทันด้านอื่น ๆ ที่มีสมรรถภาพและจาเป็นสาหรับนักข่าวและส่ือท่ีนาเสนอข่าว
ช่องทางต่าง ๆ ไดแ้ ก่

1. ความรู้และทักษะในการสร้างระบบห้องข่าวเพื่อการเฝ้าระวัง การสืบสวน และการแจ้งรายงานการบิดเบือน
ขอ้ มูลข่าวสารอย่างเป็นระบบ

2. ความรู้ในเรอ่ื งคณุ คา่ ของการเป็นพันธมิตรระหว่างสถาบันส่ือ สถานศกึ ษาด้านวารสารศาสตร์ องคก์ รที่ไม่หวังผล
กาไร ผู้ตรวจสอบข้อเทจ็ จรงิ ชุมชน ผู้ให้บริการอินเทอร์เนต็ และหน่วยงานกากับดูแล เพ่ือจัดการกบั มลพิษของ
ขอ้ มลู ข่าวสาร

3. ความรเู้ กีย่ วกบั ความจาเป็นในการทาใหป้ ระชาชนรับร้แู ละเขา้ ใจความสาคัญของการดูแลและปกปอ้ งวงการข่าว
จากการถูกกลนื โดยข้อมูลบิดเบือน หรือตกเปน็ เปา้ หมายของผู้ไม่ประสงคด์ ที ี่เจตนาสร้างขบวนการแพร่กระจาย
ขอ้ มูลบดิ เบอื นเพ่ือทาลายนักข่าวโดยเฉพาะ

ในภาพรวมหนังสือเล่มน้ีช่วยให้สังคมได้รับรู้มากขึ้นว่ามีการโต้ตอบทางสังคมต่อกรณีปัญหาข้อมูลบิดเบือนอย่างไรบ้าง ทั้งจาก
ภาครัฐบาล องคก์ ารระหว่างประเทศ กลุ่มปกปอ้ งสทิ ธมิ นุษยชน กลุ่มผใู้ ห้บรกิ ารอินเทอร์เน็ต และผทู้ ่ที างานด้านการส่งเสริมการ
รูเ้ ทา่ ทันสอ่ื และสารสนเทศ โดยเนน้ ไปท่ีส่ิงที่นักขา่ วเองและผูใ้ หก้ ารศึกษาและฝกึ อบรมด้านวารสารศาสตร์ควรทา
เราหวังว่าอย่างน้อยท่ีสุดหนงั สอื คู่มือเล่มน้ีจะช่วยเน้นย้าความสาคัญของบทบาทของวารสารศาสตรต์ ่อสังคม และเป้าหมายการ
พัฒนาท่ีย่ังยืนของโลก ในการ “เข้าถึงข้อมูลข่าวสารของประชาชนและเสรีภาพข้ันพ้ืนฐาน” องค์การยูเนสโกขอขอบคุณทีม
บรรณาธกิ าร และผู้มีส่วนรว่ มในการทาหนังสอื เล่มนี้ และขอมอบหนังสอื เล่มนี้แดผ่ ูอ้ ่านทุกทา่ น และเรายนิ ดนี ้อมรับเสียงสะท้อน
จากทา่ น

กาย เบอร์เกอร์
ผอู้ านวยการดา้ นเสรีภาพในการแสดงความคดิ เห็นและการพฒั นาสอื่ องค์การยเู นสโก
เลขาธิการ โครงการนานาชาตวิ า่ ดว้ ยการพฒั นาการส่อื สาร (IPDC)

12

บทนา
เชอรลิ ิน ไอรต์ ัน และ จลู ่ี โพเซต็ ต1ิ 18

เพ่ือให้หนังสือเล่มน้ีเป็นหลักสูตรต้นแบบ จึงได้ออกแบบมาเพื่อเป็นกรอบการทางานและบทเรียนสาหรับผู้สอนและผู้ให้การ
ฝึกอบรมด้านวารสารศาสตร์ รวมถึงผู้เรียนวารสารศาสตร์ ในการศึกษาประเด็นต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับ ‘ข่าวปลอม’ และเรายัง
หวังให้เปน็ หนงั สือแนะแนวทเ่ี ป็นประโยชนส์ าหรับนกั ขา่ วอาชีพได้อกี ดว้ ย
หนังสือเล่มนี้เขียนโดยผู้สอนวารสารศาสตร์ นักวิจัย และนักคิดระดับแนวหน้าจากนานาประเทศที่รว่ มกนั พัฒนาปฏิบัติการดา้ น
การทาข่าวใหท้ นั ยุคสมยั เพ่ือรับมือกับปญั หาข้อมูลท่ผี ิดและข้อมลู บิดเบือน บทเรียนในหนงั สอื เลม่ นีอ้ งิ กับบริบทและทฤษฎี และ
สามารถใช้งานได้จริงโดยเฉพาะส่วนที่เกี่ยวกับการพิสูจน์เนื้อหาออนไลน์ บทเรียนทุกบทไม่ว่าจะใช้สอนรวมกันเป็นหลักสูตร
หรือสอนแยกรายบทก็สามารถช่วยปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนเดิมหรือสร้างบทเรียนใหม่ได้เป็นอย่างดี โดยสามารถ
ศึกษาข้อแนะนา “การใช้คู่มอื ฉบบั น้ีเป็นหลักสตู รต้นแบบ” ได้ในหวั ขอ้ ถัดไป
การใช้คาว่า ‘ข่าวปลอม’ ในช่ือหนังสือและในบทเรียนทาให้เกิดข้อถกเถียง เพราะปัจจุบันคาว่า ‘ข่าวปลอม’ มีความหมาย
มากกว่าการตีตราข้อมลู ท่ีไม่ถูกต้องและทาให้เกิดความเข้าใจผดิ ถูกอาพรางและเผยแพร่ออกไปในรูปแบบของข่าว กลายเป็น
คาท่ีใช้เป็นอาวุธในการสร้างอารมณ์เพื่อสกัดกั้นและบ่อนทาลายความน่าเช่ือถือของวงการข่าว ด้วยเหตุนี้ จึงใช้คาว่า ข้อมูลท่ี
ผิด ข้อมูลบิดเบือน และ “ความผิดปกติของข้อมูลข่าวสาร” ดังท่ี วอร์เดิลและเดรัคห์ชาน2 ได้เสนอไว้ โดยไม่ถือเป็นคาศัพท์

19

บญั ญตั ิ3 420 21

ปฏิญญาร่วมวา่ ดว้ ยหลกั เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น และ ‘ขา่ วปลอม’ ขอ้ มลู บดิ เบือน และ โฆษณาชวนเชอื่

หนังสือคู่มือเล่มนี้เกิดขึ้นจากความกังวลของนานาชาติต่อกรณี “สงครามข้อมูลบิดเบือน” ที่มีเป้าหมายหลักคือวงการข่าวและ
นักข่าว ในช่วงต้นปี พ.ศ. 2560 องค์การยูเนสโกจัดให้มีการทาโครงการนี้ข้ึน และประกาศปฏิญญาร่วมกันระหว่าง ผู้รายงาน
พเิ ศษของสหประชาชาตดิ ้านเสรภี าพการแสดงออก ตัวแทนดา้ นเสรภี าพของสือ่ จากองค์การว่าด้วยความม่ันคงและความร่วมมือ
ในยุโรป (OSCE) ผู้รายงานพิเศษด้านเสรีภาพของส่ือจากองค์การนานารัฐอเมริกัน และ ผู้รายงานพิเศษด้านเสรีภาพในการ
แสดงออกของสื่อและการเขา้ ถึงสารสนเทศแหง่ คณะกรรมาธิการวา่ ด้วยสิทธิมนุษยชนและสทิ ธิประชาชนแหง่ แอฟรกิ า โดยปฏญิ ญา
ฉบับน้ีแสดงความกังวลต่อการแพร่กระจายของข้อมูลบิดเบือนและโฆษณาชวนเชื่อ รวมท้ังการโจมตีส่ือที่นาเสนอข่าวว่าเป็น
‘ข่าวปลอม’ ซง่ึ ผ้รู ายงานพิเศษและตวั แทนได้แสดงการยอมรบั ผลกระทบที่เกิดขนึ้ ต่อนกั ขา่ วและวงการวารสารศาสตร์ดังนี้

1 อลิศ แมทธวิ ส์ จากสถานโี ทรทศั น์ ABC ออสเตรเลีย และ ทอม ลอว์ จากเครอื ขา่ ยจริยธรรมนกั ขา่ วรว่ มกนั ทาวิจยั ใหแ้ นวคดิ และทรัพยากรในบทนานี้
2 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี สอง
3 นกั เขียนจานวนมากและแมแ้ ตน่ กั ข่าวเองมขี อ้ โตแ้ ยง้ เกยี่ วกบั การใชค้ าวา่ ‘ข่าวปลอม’ รวมถงึ Basson, A. (2016) If it’s fake, it’s not news.

https://www.news24.com/Columnists/AdriaanBasson/lets-stop-talking-about-fake-news-20170706 [accessed 12/06/2018].
4 Wardle, C et al. (2018). “Information Disorder: the essential glossary”. Shorenstein Center, Harvard University. Available at:

https://firstdraftnews.org/wp-content/uploads/2018/07/infoDisorder_glossary.pdf?x25702 [accessed 21/07/2018].

13

“(พวกเรา) ไม่สบายใจต่อกรณีที่ภาครัฐกล่าวหา คุกคาม และข่มขู่ส่ือ รวมถึงกล่าวว่าส่ือเป็น “ฝ่ายตรงข้าม” หรือ
“โกหก” และมีเจตนาทางการเมืองแอบแฝง ซึ่งเป็นการทาให้นักข่าวมีความเสี่ยงต่อภัยคุกคามและความรุนแรงเพ่ิม
มากขน้ึ อีกทง้ั ยังเป็นการทาลายความเช่อื ถือและความม่นั ใจทป่ี ระชาชนมีต่อวงการข่าวในฐานะสุนัขเฝ้าบ้าน และอาจ
ชักนาให้ประชาชนเข้าใจผิดด้วยการนาข้อมูลบิดเบือนเข้ามาปะปนกับผลผลติ ของส่ือท่ีเปน็ ข้อเท็จจริงท่สี ามารถพสิ จู น์
ได้อยา่ งเปน็ อสิ ระ” 522

ขอ้ มูลบิดเบอื นคือเรอ่ื งเกา่ ที่ขับเคล่ือนด้วยเทคโนโลยีใหม่
การขับเคลื่อนและการดัดแปลงข้อมูลเป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์มาช้านานต้ังแต่ก่อนการหนังสือพิมพ์สมัยใหม่จะกาหนด
มาตรฐานคานิยามข่าวว่าเป็นรูปแบบท่ีมีพื้นฐานบนกฎแห่งความชอบธรรม หลักฐานยุคต้นถูกค้นพบในสมัยจักรวรรดิโรมัน
โบราณ23 เมอ่ื แอนโทนไ่ี ด้พบกับพระนางคลโี อพตั รา และถกู ออ็ กตาเวียนผเู้ ป็นศตั รทู างการเมืองรณรงคต์ ่อตา้ นดว้ ย “สโลแกนสน้ั
ๆ และเฉียบคม ที่สลักไว้บนเหรียญกษาปณด์ จุ ขอ้ ความทวีตแห่งยุคโบราณ”7 จนผู้ร้ายกลับได้เป็นจกั รพรรดิโรมันองค์แรก และ

24

‘ขา่ วปลอม’ ทาให้อ็อกตาเวียน เจาะระบบสาธารณรฐั ไดอ้ ยา่ งเบ็ดเสรจ็ ”825

ทว่า ในศตวรรษท่ี 21 ข้อมูลข่าวสารใช้เป็นอาวุธอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน เทคโนโลยใี หม่ท่ีทรงอานุภาพทาให้การดัดแปลง

และสร้างเน้ือหาทาได้โดยง่าย ในขณะที่เครือข่ายสังคมเป็นตัวกระจายข้อความเท็จท่ีรัฐบาล นักการเมืองประชานิยม และ

องค์การธุรกิจท่ีฉอ้ ฉลเป็นผู้ให้การสนับสนุน ผ่านการส่งตอ่ ของกลุ่มเปา้ หมายท่ีขาดวิจารณญาณ ส่ือเครือข่ายสงั คมยังกลายเปน็

ดินแดนที่เอื้อโฆษณาชวนเชื่อทางคอมพิวเตอร์9 เกรียนอินเทอร์เน็ตหรือโทรลลงิ 10 และกองทัพโทรลล์11 เครือข่ายซ็อค-พัพเพ็ท
26 27 28

12 และสปูฟเฟอร์13 ตลอดจนกลุ่มแสวงหากาไรท่ีทากันเป็นเครือข่ายที่เรียกฟาร์มโทรลล์ซึ่งมักออกปฏิบัติการในช่วงเลือกต้ัง14 31
29 30

อีกดว้ ย

5 UN/OSCE/OAS/ACHPR (2017). Joint Declaration on Freedom of Expression and “Fake News”, Disinformation, Propaganda:
ddddhttps://www.osce.org/fom/302796?download=true [accessed 29/03/2017]. See also: Kaye, D (2017) Statement to the UN General
ddddAssembly on October 24th, 2017: https://www.ohchr.org/en/NewsEvents/Pages/DisplayNews.aspx?NewsID=22300&LangID=E
dddd[accessed: 20/8/18].
6 ดพู ฒั นาลาดับเหตกุ ารณ์ของกรณี ‘ควมปน่ั ปว่ นทางขอ้ มลู ข่าวสาร’ ทเี่ ลอื กมาตัง้ แตย่ ุคคลโี อพัตราถงึ ปัจจบุ ันในคมู่ อื ทจี่ ดั พิมพโ์ ดยศูนยน์ กั ข่าวนานาชาติ (ICFJ)

Posetti, J & Matthews, A (2018): https://www.icfj.org/news/short-guide-history-fake-news-anddisinformation-new-icfj-learning-module
[accessed 23/07/2018].
7 Kaminska, I. (2017). A lesson in fake news from the info-wars of ancient Rome. Financial Times.
https://www.ft.com/content/aaf2bb08-dca211e6-86ac-f253db7791c6 [accessed 28/03/2018].
8 ในเรอื่ งเดียวกนั
9 ดู โครงการโฆษณาชวนเชอ่ื ทางอนิ เทอรเ์ นต็ ของสถาบันอนิ เทอรเ์ น็ตแห่งออ็ กซ์ฟอร์ด http://comprop.oii.ox.ac.uk/ [accessed 20/07/2018].
10 ดู หนว่ ยการเรยี นรทู้ เี่ จ็ด ของคมู๋ อื เล่มนส้ี าหรบั กรณีศกึ ษาทแี่ สดงถงึ ภยั คุกคามเหลา่ น้ี
11 Rappler.com (2018) Fake News in the Philippines: Dissecting the Propaganda Machine
https://www.rappler.com/newsbreak/richmedia/199895-fake-news-documentary-philippines-propaganda-machine [accessed
20/07/2018].
12 Gent, E. (2017). Sock puppet accounts unmasked by the way they write and post. https://www.newscientist.com/article/2127107-
sockpuppet-accounts-unmasked-by-the-way-they-write-and-post/ [accessed 19/07/2018].
13 Le Roux, J. (2017). Hidden hand drives social media smears. https://mg.co.za/article/2017-01-27-00-hidden-hand-drives-social-media-
smears [accessed 19/07/2018].
14 Silverman, C et al (2018) American Conservatives Played a Role in the Macedonian Fake News Boom of 2016 Buzzfeed
https://www. buzzfeednews.com/article/craigsilverman/american-conservatives-fake-news-macedonia-paris-wade-libert [accessed
20/07/2018].

14

แม้จะต่างเวลาและเทคโนโลยี แต่ประวัติศาสตร์ช่วยให้เราเข้าใจอย่างลึกซ้ึงถึงสาเหตุและผลที่เกิดจากปรากฏการ ณ์ ‘ความ
ผิดปกติของข้อมูลข่าวสาร’ ในยุคปัจจุบันที่กล่าวถึงในหนังสือเล่มนี้ เพื่อให้มั่นใจว่าการรายงานวิกฤตการณ์น้ีจะเป็นไปในทาง
เดยี วกนั มากทีส่ ดุ นักข่าว ผู้สอนและฝกึ อบรมด้านวารสารศาสตร์ (ร่วมกบั ผู้เรียน) จงึ ควรศกึ ษาเร่ืองของข้อมูลบิดเบือน โฆษณา
ชวนเชอ่ื เร่ืองหลอกลวง และเรือ่ งเสยี ดสี เป็นส่วนหนงึ่ ของประวัตศิ าสตร์ของระบบนิเวศของการส่อื สารดว้ ย1532

ดว้ ยเหตุน้ี การพฒั นากลยทุ ธ์ทางการขา่ วเพือ่ ตอ่ ส้กู บั ข้อมลู บิดเบอื นจึงควรเกดิ จากพืน้ ฐานความรทู้ ่ีว่าการดัดแปลงข้อมลู ขา่ วสาร
มีมาช้านานนับศตวรรษ ในขณะที่วิชาชีพการหนังสือพิมพ์เพิ่งจะเกิดข้ึนเม่ือไม่นานมาน้ีเอง16 ในขณะที่ การหนังสือพิมพ์พัฒนา

33

จนมีบทบาทเป็นบรรทัดฐานของสังคมในปัจจุบัน ส่ือท่ีนาเสนอข่าวส่วนใหญ่สามารถแยกตัวออกจากโลกของการสร้างข่าวและ
การลอบโจมตีได้ โดยอาศัยหลักวารสารศาสตร์ท่ีมีเป้าหมายคือมาตรฐานวิชาชีพในการนาเสนอความจริง กระบวนการพิสูจน์
ข้อเท็จจริง และจริยธรรมเพ่ือประโยชน์สาธารณะ วงการข่าวเองผ่านข้ันตอนและการตอกย้ามามากมายหลายครั้งเพื่อแยกตัว
ออกมา ทกุ วนั นี้ แม้ว่าจะมี “การข่าว” หลายรปู แบบ แต่ยังเปน็ ไปได้ท่ีจะแยกแยะขอ้ ความที่มีความหลากหลายของรายงานข่าว
ท่แี ทจ้ รงิ ทเี่ ปน็ สว่ นหน่งึ ของสายงานด้านการสอื่ สารทมี่ ีจรรยาบรรณทีช่ ัดเจนและต้องการเปน็ อสิ ระจากการเมืองและผลประโยชน์
ทางการคา้ ในการบรรณาธิการขา่ ว ซงึ่ กอ่ นหนา้ การพัฒนามาตรฐานเหลา่ น้ี กฎระเบยี บเก่ยี วกับความถกู ตอ้ งเช่ือถอื ได้ของข้อมูล
ข่าวสารที่เผยแพรส่ ่มู วลชนนนั้ มอี ย่นู ้อยมาก

การแพร่หลายของเคร่ืองพิมพ์กูเทนเบิร์กต้ังแต่ช่วงกลางศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมามีความสาคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการหนังสือพิมพ์

อาชีพ แต่เทคโนโลยกี ท็ าใหก้ ารระบาดของโฆษณาชวนเชอื่ และข่าวหลอกลวงทบ่ี างครัง้ ทาให้คนเขา้ ใจไปวา่ สถาบนั สื่อเปน็ ตวั การ

17เปน็ ไปได้อย่างสะดวกงา่ ยดายขึ้น การเกิดขนึ้ ของการกระจายเสยี งวิทยุและโทรทัศน์ทาให้การแพร่กระจายของโฆษณาชวนเชอ่ื
34

เรือ่ งลวงโลก และเร่ืองเสียดสีพัฒนาขนึ้ ไปอกี ขนั้ ดังท่เี หน็ ได้จากรายการละครวิทยุเรอ่ื ง War of the Worlds ในปีพ.ศ. 248118
35

การกระจายเสยี งวิทยแุ ละโทรทัศนข์ า้ มประเทศยังเปน็ ชอ่ งทางใหข้ อ้ มลู ขา่ วสารถูกใช้เปน็ เครอื่ งมือเกินกวา่ ขอบเขตของความเปน็

ข่าวอาชพี ที่เป็นอสิ ระ แมว้ า่ เรอื่ งที่ “ประดิษฐ์” ข้นึ มาลว้ น ๆ และการจงใจดดั แปลงขา่ วมกั ถูกแยกออกไปเปน็ ขอ้ ยกเวน้ มากกว่า

จะเป็นกฎระเบียบในเนือ้ หาทผี่ ลติ โดยฝา่ ยต่าง ๆ

เราเรียนรู้อะไรบางอย่างได้เช่นกันจากประวัติศาสตร์อันยาวนานของคนท่ีถูกหลอกด้วยมุก “วันเมษาหน้าโง่” ที่บางคร้ังนักข่าว
เองกย็ ังถูกหลอกไปด้วย19 แม้แต่ทกุ วนั นก้ี ย็ งั มตี วั อย่างใหเ้ หน็ เสมอวา่ ข่าวเสียดสีซงึ่ มีบทบาทสาคญั ต่อความ

36

15 Posetti, J and Matthews, A (2018) A short guide to the history of ‘fake news’: A learning module for journalists and journalism
educators ICFJ https://www.icfj.org/news/short-guide-history-fake-news-and-disinformation-new-icfj-learning-module [accessed
23/07/2018].

16 ดูหนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี สาม ในหนงั สอื เลม่ นี้
17 ดตู ัวอยา่ งเชน่ ข่าวหลอกลวงคร้งั ใหญค่ รัง้ แรกคอื อะไร นนั่ กค็ อื ‘ขา่ วลวงเรอ่ื งดวงจันทรค์ รง้ั ใหญ่’ ในปี 1835. รายละเอียดอา่ นได้ใน Thornton, B. (2000).

The Moon Hoax: Debates About Ethics in 1835 New York Newspapers, Journal of Mass Media Ethics 15(2), pp. 89-100.
http://www.tandfonline. com/doi/abs/10.1207/S15327728JMME1502_3 [accessed 28/03/2018].

18 Schwartz, A.B. (2015). The Infamous “War of The Worlds” Radio Broadcast Was a Magnificent Fluke, The Smithsonian. http://www.
smithsonianmag.com/history/infamous-war-worlds-radio-broadcast-was-magnificent-fluke-180955180/#h2FAexeJmuCHJfSt.99 [accessed
28/03/2018].

19 Laskowski, A. (2009). How a BU Prof April-Fooled the Country: When the joke was on the Associated Press, BU Today.
https://www.bu.edu/ today/2009/how-a-bu-prof-april-fooled-the-country/ [accessed 01/04/2018].

15

รับผิดชอบของการทาข่าว20 ยังถูกผู้ใช้ส่ือสังคมเข้าใจผิดและส่งต่อประหนึ่งว่าเป็นข่าวจริง21 22 และเช่นเดียวกับที่เคยเกิดขึ้น
37 38 39

มาแล้วในอดีตคอื บางกรณีมคี วามซบั ซอ้ นหลายช้ัน อย่างท่ีเวบ็ ไซต์ที่อา้ งตัวเป็นเวบ็ เสยี ดสีกลบั กลายเป็นสว่ นหน่ึงของเครอื ข่ายท่ี
ออกแบบมาเพ่ือกอบโกยผลกาไรจากโฆษณาทางอินเทอร์เน็ตจากผู้บริโภคท่ีคลิกและส่งต่อโดยไม่รู้ ซึ่งไม่เพียงส่งผลกระทบต่อ
เน้ือหาที่ “สวมรอย” มา แต่ยังส่งผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือของข่าวด้วย23 จึงยิ่งเป็นเหตุผลที่นักข่าวต้องพยายามมุ่งมั่น

40

เพ่ือให้รายงานข่าวมีความเท่ียงตรงตงั้ แต่แรก และยังเปน็ เหตผุ ลท่ีสงั คมควรตดิ ต้งั ชุดทักษะการร้เู ท่าทันสื่อและสารสนเทศให้แก่
ผู้รับขา่ วสาร24 เพอ่ื ให้สามารถเข้าใจเนือ้ หาสาระนานารปู แบบตลอดจนธรรมเนยี มปฏบิ ตั ขิ ององค์กรข่าว โฆษณา บันเทงิ และส่อื

41

สงั คมได้อยา่ งชดั เจนถ่องแทแ้ ละมีวจิ ารณญาณ

ประวัติศาสตร์ยังสอนเราอีกด้วยว่าอิทธิพลที่อยู่เบ้ืองหลังข้อมูลบิดเบือนไม่จาเป็นต้องเพ่ือชักจูงนักข่าวหรือคนทั่วไปให้เช่ือว่า
ข้อความเท็จเหล่านน้ั เป็นความจริงเสมอไป แต่ยังต้องการสร้างความคลางแคลงใจในข้อมูลท่ีตรวจสอบได้ของผู้ผลติ ข่าวอาชพี
มากกว่า เพราะเม่ือเกิดความสับสนแล้วผู้บริโภคข่าวจานวนมากก็จะเกิดความรู้สึกว่าต้องเลือกหรือสร้าง “ความจริง” ของ
ตัวเองขึ้นมามากขึ้นเร่ือย ๆ บางคร้ังก็ด้วยความช่วยเหลือจากบรรดานักการเมืองท่ีต้องการปกป้องตนเองจา กเสียง
วิพากษ์วจิ ารณ์ที่แท้จรงิ

ข้ามมาท่ีปี พ.ศ. 2561 กับความรุ่งเรืองของเคร่ืองมือทางเทคโนโลยีใหม่ ๆ ร่วมด้วยคุณลักษณะของส่ือสังคมและช่องทางการ
รับส่งข้อความต่าง ๆ ท่ียังขาดมาตรฐานการควบคุมคุณภาพของความเป็นข่าว ทาให้การปลอมแปลงและลอกเลียน แบรนด์
ข่าวของแทใ้ หด้ เู หมอื นจริงทาได้ง่ายดาย และยังมคี วามเป็นไปได้เพิม่ มากขึน้ ทจ่ี ะดดั แปลงภาพและเสยี งทเ่ี กินกว่าการตดั ต่อภาพ
ข่าว เพื่อให้ดูเหมือนว่าบุคคลในภาพน้ันกล่าวหรือทาสิ่งใด ณ สถานที่ใด ๆ และนาไปเผยแพร่ว่าเป็นเร่ืองจริง25 จนกลายเป็น

42

ไวรลั ในสง่ิ แวดล้อมการสือ่ สารในสงั คม

ทุกวันนี้ส่ือสังคมมีอิทธิพลมากขึ้นด้วยเนื้อหาหลากประเภท ตั้งแต่เรื่องส่วนบุคคลไปจนถึงเร่ืองการเมือง หลายเรื่องสั่งการโดย
รัฐบาลทงั้ โดยเปิดเผยและโดยลบั และ/หรือบริษทั ในอตุ สาหกรรมการประชาสมั พันธ์ที่รับงานจากรัฐบาลหรือภาคธรุ กจิ ดว้ ยเหตุ
น้ี บล็อกเกอร์ ผู้นาทางความคิดในอินสตาแกรม และบุคคลผู้มีชื่อเสียงจากยูทูบนับไม่ถ้วนต่างก็พากันโปรโมตสินค้าและ
นักการเมอื งโดยไม่เปิดเผยเรื่องการรบั ค่าตอบแทน นอกจากน้ี ยังมีการแอบจา่ ยเงนิ ให้กบั นักวิจารณ์ (ซึ่งมกั ใชช้ ่ือปลอม) เพื่อ

20 Baym, G (2006) The Daily Show: Discursive Integration and the Reinvention of Political Journalism in Political Communication Taylor
and Francis Volume 22, 2005 - Issue 3 pp 259-276 https://www.tandfonline.com/doi/abs/10.1080/10584600591006492 [accessed
20/07/2018].

21 Woolf, N. (2016) As fake news takes over Facebook feeds, many are taking satire as fact, The Guardian. https://www.theguardian.com/
media/2016/nov/17/facebook-fake-news-satire [accessed 01/04/2018].

22 Abad-Santos, A. (2012). The Onion Convinces Actual Chinese Communists that Kim Jong-Un is Actually the Sexiest Man Alive,
The Atlantic.
https://www.theatlantic.com/entertainment/archive/2012/11/onion-convinces-actual-chinese-communists-kim-jong-un-actually-
sexiest-manalive/321126/ [accessed 28/03/2018].

23 ดู หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี สาม ในหนงั สอื เลม่ นี้สาหรบั คาอธิบายเพิม่ เติมเกีย่ วกบั แนวคดิ น้ี
24 ดู หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี สี่
25 Solon, O (2017) The future of fake news: Don’t believe everything you see, hear or read in The Guardian:

https://www.theguardian.com/ technology/2017/jul/26/fake-news-obama-video-trump-face2face-doctored-content [accessed
20/07/2018].

16

ช่วยยืนยันข่าว ทาลายความน่าเชื่อถือ หรือข่มขู่ในเวทีออนไลน์อีกด้วย ส่ิงต่าง ๆ เหล่าน้ีทาให้วงการข่าวเสียหลัก และไม่เพียง

กลายเป็นหัวขอ้ ของการวจิ ารณ์โดยชอบธรรม แตย่ งั ตกเป็นเปา้ หมายของการโจมตีทางอารมณอ์ ีกดว้ ย

ปัจจุบันสิ่งท่ีอันตรายก็คือการพัฒนา “การแข่งขันด้านอาวุธ” ของข้อมูลบิดเบือนทั้งระดับชาติและนานาชาติที่ถูกเผยแพร่ผ่าน

องค์กร “ขา่ ว” ที่เลือกขา้ ง และชอ่ งทางสอ่ื สงั คมต่าง ๆ กลายเปน็ มลภาวะในสิ่งแวดล้อมของข้อมูลข่าวสารสาหรบั ทุกฝ่ายที่อาจ

ย้อนกลับมาทาร้ายตัวผสู้ ร้างข่าวเองไดด้ ว้ ย26 เพราะเม่อื ใดกต็ ามที่ขบวนการแพร่กระจายขอ้ มลู บดิ เบือนถูกเปิดโปง ผลท่เี กิดขึ้น
43

ย่อมสร้างความเสียหายให้กับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานท่ีเป็นผู้ดาเนินการและลูกค้าท่ีมาจากการเมือง (ดู

กรณศี ึกษาทเ่ี พ่ิงเกิดเมือ่ ไมน่ านมาน้ี ไดแ้ ก่ แบลล์-พอ็ ตทงิ เกอร์27 28 29 30 และเคมบริดจอ์ นาไลตกิ า31 32 )44 45 46 4748 49

ส่ิงที่เกิดขึ้นตามมาในภาวะการแบง่ ข้ัวทางการเมอื งเช่นนี้ก็คือข้อมูลบิดเบือนที่หนุนโดยเทคโนโลยีดิจิทัลทาใหบ้ ทบาทของงาน

ข่าวลดลง ยิ่งไปกว่าน้ี การเสนอข่าวท่ีตรวจสอบได้และเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ (ซ่ึงถือเป็นความสาเร็จล่าสุดท่ีบันทึกไว้ใน
ประวัติศาสตร์ แต่ก็ไม่ใช่หลักประกันใด ๆ) อาจถูกทาลายความน่าเชื่อถือได้หากไม่มีมาตรการป้องกันเพ่ือหลีกเลี่ยงการถูก
แก้ไขดัดแปลง เม่ือการทาข่าวกลายเป็นช่องทางสาหรับข้อมูลบิดเบือน ก็ยิ่งทาให้ความไว้วางใจของสาธารณะลดลง และ

ส่งเสริมความคิดถากถางที่ว่าข้อความที่อยู่ในข่าวและในข้อมูลบิดเบือนไม่มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน นี่จึงเป็นเหตุผลว่า
ทาไมการใช้เน้ือหาที่เป็นปัญหาในอดีตและรูปแบบท่ีหลากหลายของเนื้อหาเหล่านี้จึงเป็นบทเรียนสอนเรา และการให้
ความสาคัญกับวิวัฒนาการ “ความผิดปกติของข้อมูลข่าวสาร” ในแง่มุมต่าง ๆ ในยุคศตวรรษท่ี 21 น่าจะช่วยให้เข้าใจท่ีมาและ
ผลจากภยั คุกคามระดบั โลกทไี่ มม่ ีใครคาดคิดมากอ่ นนี้ได้ดยี ่ิงขึน้ ตงั้ แต่การให้รา้ ยนักขา่ วโดยกองทัพโทรลล์ทรี่ ฐั เป็นผู้จดั จา้ งเพ่ือ
ควบคุมผลการเลือกต้ัง การสร้างความเสียหายต่อสาธารณสุข และความล้มเหลวในมองเห็นอันตรายของการเปลี่ยนแปลง
สภาพอากาศ

คู่มือชว่ ยรับมือกับวกิ ฤตขิ อ้ มูลบิดเบอื น
คมู่ อื เลม่ นเี้ ม่ือนาไปใชใ้ นหลักสตู รการเรยี นการสอน สามารถแบง่ ออกเปน็ สองส่วนใหญ่ ๆ คอื 3 หนว่ ยการเรียนรู้แรกเปน็ การให้
แนวทางปัญหาและบริบท ในขณะท่ีอีก 4 หน่วยการเรียนรู้เน้นการตอบโตต้ ่อ “ความผิดปกติของข้อมลู ข่าวสาร” และผลท่ีเกิด
ตามมา

26 Winseck, D (2008). Information Operations ‘Blowback’: Communication, Propaganda and Surveillance in the Global War on Terrorism.
International Communication Gazette 70 (6), 419-441

27 The African Network of Centers for Investigative Journalism, (2017).The Guptas, Bell Pottinger and the fake news propaganda
machine, TimeLive. https://www.timeslive.co.za/news/south-africa/2017-09-04-the-guptas-bell-pottinger-and-the-fake-news-
propaganda-machine/ [accessed 29/03/2018].

28 Cameron, J. (2017) Dummy’s guide: Bell Pottinger – Gupta London agency, creator of WMC, BizNews
https://www.biznews.com/globalcitizen/2017/08/07/dummys-guide-bell-pottinger-gupta-wmc [accessed 29/03/2018] and Segal, D.
(2018) How Bell Pottinger, P.R. Firm for Despots and Rogues, Met Its End in South Africa. New York Times, 4 Feb 2018.
https://www.nytimes.com/2018/02/04/business/bell-pottingerguptas-zuma-south-africa.html [accessed 29/03/2018].

29 Haffajee, F. (2017). Ferial Haffajee: The Gupta fake news factory and me. HuffPost South Africa. [online] Available at: https://www.
huffingtonpost.co.za/2017/06/05/ferial-haffajee-the-gupta-fake-news-factory-and-me_a_22126282/ [accessed 06/04/2018].

30 ดหู น่วยการเรียนรทู้ ่ี เจ็ด

31 Lee, G. (2018). Q&A on Cambridge Analytica: The allegations so far, explained, FactCheck, Channel 4 News.
https://www.channel4.com/news/ factcheck/cambridge-analytica-the-allegations-so-far [accessed 29/03/2018].

32 Cassidy, J. (2018). Cambridge Analytica Whistleblower claims that cheating swung the Brexit vote,
The New Yorker. https://www.newyorker.
com/news/our-columnists/a-cambridge-analytica-whistleblower-claims-that-cheating-swung-the-brexit-vote [accessed 29/03/18].

17

หน่วยการเรียนรู้ที่หนึ่ง เหตุใดความจริง ความเชื่อมั่น และ การเสนอข่าว จึงมีความสาคัญ33 ส่งเสริมให้คิดอย่างรอบด้านถึง
50

ความสาคัญและผลท่ีเกิดจากข้อมลู บดิ เบือนและข้อมูลที่ผดิ และกระตุ้นให้คิดว่าข้อมูลเหลา่ น้ีมสี ่วนเพิ่มวิกฤติความมนั่ ใจตอ่ การ
เสนอข่าวอยา่ งไร
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ีสอง การพิจารณาเรือ่ ง “ความผดิ ปกตขิ องข้อมูลขา่ วสาร’: รปู แบบของขอ้ มลู ทีผ่ ดิ ขอ้ มลู บิดเบอื น และ ข้อมูล
ทแ่ี ฝงเจตนารา้ ย34 เปดิ ประเดน็ ปญั หาและให้กรอบการทางานเพอื่ ทาความเข้าใจปัญหาในมติ ิต่าง ๆ

51

ในศตวรรษท่ี 21 นี้ ความไว้วางใจต่อสื่อในหลายพื้นที่ท่ัวโลกท่ีน้อยอยู่แล้วเร่ิมลดน้อยลงอีกตั้งแต่ก่อนที่ส่ือสังคมจะก้าวเข้าสู่
สนามข่าวและกลายเป็นพ้ืนที่และเครื่องมือส่งต่อข้อมูลข่าวสาร35 ด้วยเหตุผลอันหลากหลายและซับซ้อน โลกออนไลน์ที่ไม่มี

52

วันหยุดกับความต้องการเสพข่าวสารท่ีไม่มีวันส้ินสุดในช่วงเวลาที่ห้องข่าวตัดรายจ่ายทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงในวงการข่าว
ดงั ทป่ี รากฏในหนว่ ยการเรียนรทู้ สี่ าม การเปลย่ี นแปลงในอตุ สาหกรรมขา่ ว: เทคโนโลยดี ิจิทลั สื่อสงั คม และการแพร่กระจายของ
ข้อมูลท่ีผิด และข้อมูลบิดเบือน36 สิ่งท่ีเกิดข้ึนในขณะน้ีก็คือ ความย่ิงใหญ่ของประเด็นปัญหา แผนการและการแพร่กระจายของ

53

ข่าวหลอกลวงในโลกออนไลน์สู่คนจานวนมาก ทาให้เกิดวิกฤติใหม่ในวงการวารสารศาสตร์ท่ีเก่ียวข้องกับท้ังนักข่าว ส่ือ และ
สังคม3754
ถ้าเช่นน้ันแล้ว ผู้ที่ต้องการส่งเสริมวารสารศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นผู้ให้การศึกษา ผู้อยู่ในวิชาชีพ และผู้วางนโยบายสื่อควรต้องทา
อยา่ งไร ประเดน็ นจ้ี ึงใช้เปน็ หวั ข้อ การตอ่ สู้กับข้อมลู บดิ เบอื น และขอ้ มูลทีผ่ ิด ดว้ ยการรู้เท่าทันสือ่ และสารสนเทศ38 ในหนว่ ยการ

55

เรยี นรทู้ ส่ี ี่
ทา้ ยทสี่ ุดแลว้ การพิสูจนข์ ้อเทจ็ จรงิ นัน่ เองทีเ่ ป็นความแตกตา่ งระหว่างนักข่าวอาชพี กบั คนอนื่ 39 ซงึ่ เป็นหวั ใจของหนว่ ยการเรียนรู้

56

ท่ี ห้า การตรวจสอบข้อเท็จจริง 10140 ในขณะที่หน่วยการเรียนรู้ที่หก การพิสูจน์ความจริงในสอ่ื สังคม: การประเมินแหลง่ ที่มา
57

และเนื้อหาท่ีเป็นภาพ41 เน้นเร่ืองของการปฏิบัติ เช่น การจัดการกับปัญหาเรื่องการพิสูจน์ข้อเท็จจริงและการทาข่าวท่ีอาศัย
58

ข้อมลู หลกั ฐานท่ีหายไปพร้อมเทคโนโลยีดจิ ิทลั และสือ่ สงั คม
แม้ว่าทุกคนจะสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการทาข่าว แต่ก็ทาให้เว็บไซต์เครือข่ายสังคมขาดผู้รักษาประตูข่าว สาร
(gatekeeper) ท่ีเป็นศูนย์รวมในการกลั่นกรองข้อมูลข่าวสาร42 และวงการข่าวก็รู้สึกได้ถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นน้ี แต่การวัดและ

59

ประเมินความเสยี หายตลอดจนการคิดหาทางแก้ไขเป็นกระบวนการท่ีต้องใช้เวลา เช่นเดียวกับการเปลี่ยนแปลงอ่ืน ๆ ท่ีเป็นผล
จากเทคโนโลยีดิจิทัล ที่จาเป็นต้องไล่ตามความเปลยี่ นแปลงให้ทันเสียก่อนท่ีจะมีงานวิจัยหรือทางแก้ไขเชิงปฏิบัติท่ีดีท่ีสดุ อย่าง
เป็นรูปธรรมได้

33 ดหู นว่ ยการเรียนรูท้ ่ี หนึ่ง

34 ดหู น่วยการเรยี นรทู้ ี่ สอง
35 Edelman. (2017). 2017 Edelman Trust Barometer- Global Results. Available at https://www.edelman.com/global-results/ [accessed

03/04/2018].
36 ดหู นว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี สาม
37 Viner, K. (2017). A mission for journalism in a time of crisis. [online] The Guardian. Available at

https://www.theguardian.com/news/2017/ nov/16/a-mission-for-journalism-in-a-time-of-crisis [accessed 03/04/2018].
38 ดหู นว่ ยการเรียนรทู้ ีส่ ่ี
39 Kovach, B. & Rosenstiel, T. (2014). The elements of journalism: What newspeople should know and the public should expect. New York:

Crown Publishers.
40 ดูหนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ห้า
41 ดูหนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ หก

42 Colón, A. (2017). You are the new gatekeeper of the news. [online] The Conversation. Available at https://theconversation.com/you-are-thenew-
gatekeeper-of-the-news-71862 [accessed 03/04/2018].

18

ข้อมลู บดิ เบือน ถอื เป็นปญั หาระดบั โลกอยา่ งแท้จรงิ เพราะมันขยายขอบเขตจากการเมืองออกไปสู่ทกุ แงม่ มุ ของสารสนเทศ ไม่ว่า

จะเป็นการเปลยี่ นแปลงของบรรยากาศ ความบนั เทิง ฯลฯ อย่างไรกด็ ี กรณศี ึกษาทมี่ กี ารบันทกึ ไวจ้ นถงึ ณ วันน้ี การแก้ไขปญั หา

เบื้องต้น และการใหเ้ งนิ สนับสนุนงานวจิ ัยและเครอื่ งมอื อย่างทนั ท่วงที เริ่มต้นข้นึ ในประเทศสหรัฐอเมรกิ าซ่งึ เปน็ ศนู ยร์ วมบริษัท

ผ้นู าด้านเทคโนโลยียกั ษ์ใหญร่ ะดบั โลก และคากลา่ วหาของประธานาธิบดี โดนลั ด์ ทรัมป์ ของสหรัฐที่วา่ สถาบนั สอื่ และนกั ข่าว

เป็นกระบอกเสยี งของ “ข่าวปลอม” กไ็ ดก้ ระตนุ้ ใหเ้ กดิ การลงมือปฏบิ ตั ิและการใหท้ ุนสนบั สนนุ

การดาเนนิ งานระดบั โลกในภาพรวมเกิดขึน้ ในทุก ๆ วนั โดยเฉพาะการตอบรับจากรัฐบาลของแต่ละประเทศ หลายประเทศอยใู่ น

ระหว่างการพิจารณามาตรการทางกฎหมายและการกากับดแู ลเพอ่ื แก้ไขปญั หานี้ ในขณะเดียวกนั บรษิ ทั เทคโนโลยยี กั ษใ์ หญ่กเ็ รง่

เพมิ่ มาตรการกาจัดขอ้ มลู บดิ เบือนและข้อมูลท่ีผดิ ออกจากช่องทางของตน ซึง่ ในระหวา่ งการจดั ทาหนงั สือเล่มนี้ คณะกรรมาธิการ

ยโุ รปไดจ้ ัดทารายงาน43 ผลการสารวจ44 ทา่ มกลางความวิตกกังวลว่าขอ้ มลู บิดเบือนและข้อมูลทีผ่ ิดจะเป็นภยั ต่อสังคมส่วนรวม45 62
60 61

ส่วนนักการเมอื งและหน่วยงานด้านนโยบายสาธารณะในแต่ละประเทศ ต้ังแต่ ออสเตรเลีย ไปจนถึงฟิลิปปินส์ แคนาดา ฝร่ังเศส

สหราชอาณาจกั ร บราซิล อนิ เดีย และอินโดนเี ซยี ต่างกอ็ ยใู่ นระหว่างพิจารณาหามาตรการแก้ไขปัญหา46 ในส่วนของนิติบัญญัติ
63

ประเทศเยอรมนีเป็นประเทศแรกที่ตรากฎหมายเพอื่ ลงโทษปรับสอื่ ดิจิทัลอย่างหนักหากไม่ลบ ‘เนื้อหาที่ผิดกฎหมาย’ ซึ่งรวมถึง

‘ข่าวปลอม” และคาพูดท่ีสร้างความเกลียดชังภายใน 24 ชั่วโมงหลังจากได้รับแจ้ง47 ทางด้านรัฐสภาของประเทศมาเลเซียก็ได้
64

ผ่านกฎหมายต่อต้านข่าวปลอม (Anti-Fake News Bill) ไปเม่ือเดอื นเมษายน พ.ศ. 2561 แต่ถูกยกเลิกไปในเดอื นสงิ หาคมในปี

เดียวกัน48 สาหรับรายช่ือรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ที่มีการตอบสนองต่อการจัดการข่าวปลอมได้ถูกรวบรวมไว้โดยสถาบัน
65

Poynter4966

กล่มุ ผู้สนบั สนนุ เสรภี าพในการแสดงออกมคี วามวิตกวา่ การออกกฎหมายจะเปน็ การทาลายความเป็นประชาธปิ ไตยเกีย่ วกับข้อมูล

ข่าวสารและการแสดงความคิดเห็นด้วยเทคโนโลยใี หม่ เนอ่ื งจากในบางประเทศกฎหมายถูกใช้เปน็ เครื่องมือของรัฐบาลในการปิด

ปากสื่อที่วพิ ากษ์วิจารณ์การทางานของรัฐบาล5067

สาหรับนักขา่ วจานวนมากซ่ึงเช่ือม่ันในเสรภี าพในการแสดงความคดิ เห็นและมองตนเองเป็นหัวเร่ียวหัวแรงในการสนับสนุนสังคม
ประชาธิปไตยแล้ว51 การจัดการกับ “ความผิดปกติของข้อมูลข่าวสาร” เป็นปัญหาที่ซับซ้อน อีกท้ังยังเป็นเรื่องส่วนบุคคลด้วย

68

43 European Commission (2018). Final report of the High-Level Expert Group on Fake News and Online Disinformation. http://ec.europa.eu/
newsroom/dae/document.cfm?doc_id=50271 [accessed 03/04/2018].

44 European Commission (2017). Next steps against fake news: Commission sets up High-Level Expert Group and launches public consultation.
[online] Available at http://europa.eu/rapid/press-release_IP-17-4481_en.htm [accessed 03/04/2018].

45 Ansip, A. (2017). Hate speech, populism and fake news on social media – towards an EU response. Available at https://ec.europa.eu/
commission/commissioners/2014-2019/ansip/announcements/statement-vice-president-ansip-european-parliament-strasbourg-plenarydebate-hate-
speech-populism_en [accessed 03/04/2018].

46 Malloy, D. (2017). How the world’s governments are fighting fake news. [online] ozy.com. Available at http://www.ozy.com/politics-andpower/how-
the-worlds-governments-are-fighting-fake-news/80671 [accessed 03/04/2018].

47 Federal Ministry of Justice and Consumer Protection. (2017). Act to Improve Enforcement of the Law in Social Networks (Network Enforcement Act,
netzdg). [online]. Available at: http://www.bmjv.de/DE/Themen/fokusthemen/netzdg/_documents/netzdg_englisch.html [accessed 03/04/2018].

48 Malaysia scraps ‘fake news’ law used to stifle free speech. The Guardian. https://www.theguardian.com/world/2018/aug/17/malaysia-
scrapsfake-news-law-used-to-stifle-free-speech [accessed 18/08/2018].

49 Funke, D. (2018). A guide to anti-misinformation actions around the world (Poynter). Available at https://www.poynter.org/news/guide-
antimisinformation-actions-around-world [accessed 13/07/2018].

50 Nossel, S. (2017). FAKING NEWS: Fraudulent News and the Fight for Truth. [ebook] PEN America Available at https://pen.org/wp-
content/ uploads/2017/10/PEN-America_Faking-News-Report_10-17.pdf [accessed 03/04/2018].

51 McNair, B. (2009). Journalism and Democracy. In: K. Wahl-Jorgensen and T. Hanitzsch, ed., Handbook of Journalism Studies, 6th ed. [online] New York: Routledge

19

เช่น การโจมตีนักข่าวผ่านสื่อออนไลน์ซ่ึงพบเห็นได้ท่ัวไปโดยเฉพาะกับนักข่าวท่ีเป็นผู้หญิง ซึ่งหลายกรณีก็เป็นภัยท้ังกายและใจ
และสะเทือนวงการข่าวไปดว้ ยในเวลาเดยี วกัน ดงั ทพ่ี บได้ใน หน่วยการเรยี นรู้ทเ่ี จ็ด การต่อสกู้ ับการลว่ งละเมิดสิทธิออนไลน์: เม่ือ
นกั ขา่ วและแหล่งขา่ วตกเป็นเป้าหมาย5269

ข้อมลู บิดเบอื นและข้อมลู ท่ีผิดยงั เป็นมากกวา่ ปัญหาชอ่ื เสยี งและความปลอดภัยของนักข่าว เพราะมันทาใหเ้ กดิ ข้อกังขาในเจตนา
และความมีประสิทธิภาพของการทางานด้วย รวมถึงทาให้วงการข่าวตกเป็นฝ่ายเสียเปรียบในวาทกรรมทางสังคมอย่างไม่รู้จบ
ดังน้ัน การพัฒนามาตรฐานและความสัมพันธ์กับสังคมจึงเป็นเรื่องที่นักวารสารศาสตร์ในอนาคตทุกคนและสงั คมโดยรวมควรให้
ความสนใจ หนงั สอื คมู่ ือเลม่ น้ี จะช่วยกระตนุ้ ใหน้ ักวิจัย นกั ศึกษา และผปู้ ระกอบวิชาชีพ ไดพ้ ิจารณาถกเถียงว่าการทาขา่ วควรมี
บทบาทหนา้ ที่อยา่ งไรในสังคมเปิดและประชาธิปไตยในบรบิ ทใหม่ เน่ืองจาก

“หนังสือพิมพ์และประชาธิปไตยท่ีทาตามหน้าที่ของตนต้องมีการวิพากษ์วิจารณ์ ความโปร่งใส และยอมรับผลที่เกิดจากความ
ผดิ พลาดทางการข่าว เราทกุ คนกจ็ าเปน็ ตอ้ งสามารถแยกแยะขา่ วออกจากการโกหกหลอกลวงให้ได้ มิเช่นนนั้ แลว้ ....ขอ้ มลู ข่าวสาร
ทแ่ี ทจ้ รงิ กจ็ ะถูกป้ายสีให้เปน็ ความเท็จ และเร่อื งท่ีถกู กขุ น้ึ มา (ขยะ) จะถูกนาไปเสนอเปน็ ข้อเทจ็ จริง” เครก ซลิ เวอรแ์ มน5370

หมายเหตุเรอ่ื งจริยธรรมและการกากับดแู ลตนเอง

มาตรฐานจริยธรรมวิชาชีพและความรับผิดชอบของการเสนอข่าวเป็นเกราะที่สาคัญสาหรับการป้องกันข้อมูลบิดเบือนและข้อมูลท่ีผิด
โดยมีการพฒั นาบรรทัดฐานและคา่ นิยมที่เปน็ แนวทางใหก้ ับคนทาขา่ วมานานนับปีเพื่อให้การหนังสือพมิ พ์มภี ารกิจและรูปแบบการทางาน
ท่ีชัดเจน ผลก็คือการยึดถือข้อมูลข่าวสารที่ตรวจสอบได้และความคิดเห็นท่ีผ่านการศึกษาข้อมูลมาเป็นอย่างดีถูกเผยแพร่ออกไปเพ่ือ
ประโยชน์สาธารณะ นคี่ ือปัจจัยทคี่ ้าจนุ ความนา่ เชื่อถอื ของวงการขา่ ว ซึง่ ถูกเรยี งรอ้ ยไว้ในทุกอณขู องหนงั สอื เล่มนี้

ในบริบทน้ี เห็นควรอ้างคากล่าวสรุปของศาสตราจารย์ชาร์ลี เบ็คเก็ตต์ จากวิทยาลัยเศรษฐศาสตร์และรัฐศาสตรแ์ ห่งลอนดอน ถึงสิ่งท่ี
นา่ จะถอื ได้ว่าเป็นขอ้ ดขี องวิกฤติ “ข่าวปลอม” สาหรบั วงการขา่ ว ดังนี้

“…ข่าวปลอมถือเป็นส่ิงท่ีดีที่สดุ ในรอบหลายสบิ ปีทีผ่ ่านมา เพราะมนั เปิดโอกาสให้วงการข่าวกระแสหลักทมี่ ีคุณภาพ
ได้แสดงใหเ้ หน็ ว่าคณุ คา่ ของการทาข่าวนนั้ มาจากความเช่ยี วชาญ จรยิ ธรรม หน้าท่ี และประสบการณ์ เปน็ การปลุกสื่อ
ให้ทางานด้วยความโปร่งใสตรงประเด็นมากยิ่งข้ึน และเพ่ิมคุณค่าให้กับชีวิตของประชาชน ส่ืออาจจะพัฒนาต้นแบบ
ทางธุรกิจขึ้นใหม่เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจรงิ สยบข่าวลือ และสร้างตัวเองให้เป็นทางเลอื กที่ดีกว่าข่าวที่ถูกปลอมแปลง
ข้นึ มา”5471
แม้จะพยายามเป็น “ผู้เล่าความจริง” แต่นักข่าวก็ไม่อาจรับประกัน “ความจริง” ได้เสมอไป แม้กระน้ันการพยายามดิ้นรนเพ่ือให้ได้
ข้อเท็จจริงท่ีถูกต้องและผลิตเน้ือหาที่สะท้อนข้อเท็จจริงดว้ ยความเที่ยงตรงก็ยังคงเป็นหลักการพื้นฐานของวารสารศาสตร์ แล้วการทา
ขา่ วทมี่ จี ริยธรรมในยคุ ดจิ ทิ ลั น้นั เลา่ ควรเป็นอยา่ งไร

52 ดูหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี เจ็ด
53 Silverman, C. (2018). I Helped Popularize The Term “Fake News” And Now I Cringe Every Time I Hear It. BuzzFeed. Available at

https://www. buzzfeed.com/craigsilverman/i-helped-popularize-the-term-fake-news-and-now-i-cringe [accessed 03/04/2018].
54 Beckett, C. (2017). ‘Fake news’: The best thing that’s happened to Journalism at Polis. http://blogs.lse.ac.uk/polis/2017/03/11/fake-

news-thebest-thing-thats-happened-to-journalism/ [accessed 04/03/2018].

20

จริยธรรมวารสารศาสตร์ท่ีใหค้ ณุ ค่ากับการปฏิบตั หิ น้าทดี่ ้วยความโปร่งใสและมีความรับผิดชอบคือชิ้นสว่ นท่สี าคัญย่ิงของอาวุธสาหรับ
สมรภูมิแห่งการปกป้องข้อเท็จจริงและความจริงในยุคของ “ความผิดปกติของข้อมูลข่าวสาร” นักข่าว ต้องเป็นเสียงท่ีมีความอิสระ
หมายถึงต้องไม่เป็นตัวแทนของผลประโยชน์ใดเป็นการเฉพาะไม่ว่าจะเป็นทางการหรือไม่เป็นทางการ และยังหมายความรวมถึงการ
ยอมรับและประกาศให้ทราบโดยท่ัวกันหากมีส่ิงใดที่อาจนาไปสู่ความขัดแย้งในเร่ืองผลประโยชน์ ซึ่งเป็นหัวใจของความโปร่งใส ดังที่
ศาสตราจารย์ เอมิลี เบลล์ จากศูนย์ Tow Center for Digital Journalism แห่งมหาวทิ ยาลยั โคลัมเบยี ไดอ้ ธิบายไว้ว่า คุณค่าของวชิ าชพี

นักขา่ วเปน็ เรอื่ งของ

“การทาให้แน่ใจว่าข่าวมีความถูกต้อง และแสดงความรับผิดชอบเม่ือเกิดความผิดพลาด การมีความโปร่งใสในเร่ืองของ
แหล่งข่าวและแหล่งข้อมูล การเผชิญหน้ากับรัฐบาล กลุ่มกดดันทางการเมือง ผลประโยชน์ทางการค้า ตารวจ เม่ือถูกข่มขู่
หรือถูกเซ็นเซอร์ การปกป้องแหล่งข่าวจากการถูกจับกุมและถูกเปิดเผย รู้ว่าเม่ือไรท่ีต้องยอมละเมิดกฎหมายเพื่อปกป้อง
ประโยชน์ของสาธารณะและเตรียมพร้อมที่จะเขา้ คุกเพื่อปกป้องข่าวและแหล่งข่าว รู้ว่าเม่ือใดที่การตีพิมพ์เร่ืองบางเร่ืองเป็น
การละเมดิ จรยิ ธรรม และหาสมดลุ ระหวา่ งสทิ ธิความเปน็ สว่ นตัวของบุคคลกับสิทธิของประชาชนโดยรวม”5572

ท่ามกลางการทุจริตทางการเมือง วิกฤติ “ความปั่นป่วนทางข้อมูลข่าวสาร” การแสดงความเกลียดชังในโลกออนไลน์
การเฟอ่ื งฟูของ “การตลาดเน้ือหา” โฆษณา และการป่นั กระแสเพ่อื การประชาสมั พันธ์ส่วนตัว องค์กรข่าวและนักขา่ วยังคงต้อง
ยึดถือจริยธรรมของการทาข่าวเป็นเสาหลักในการปฏิบัติหน้าท่ี แม้จะประสบภาวะทางการเงินและวิกฤติความไว้วางใจ
ประชาธิปไตยเองกเ็ ชน่ กัน ควรมีบทบาทในการยนื หยัดเพ่ือวงการขา่ ว และปกป้องการทาขา่ วและแหลง่ ขา่ วเพื่อผลประโยชน์ของ
สาธารณะ

จรรยาบรรณ56 ท่ีมีข้ึนเพ่ือรองรับกระบวนการหาข้อมูลและตรวจสอบความจริงเพื่อประโยชน์สาธารณะเป็นส่ิงที่ทาให้การเสนอ
73

ขา่ วตามหลักวารสารศาสตร์โดยเฉพาะในด้านการรายงานขา่ วแตกตา่ งจากการส่ือสารประเภทอ่ืน และย่งิ มีความสาคญั มากขนึ้ ใน
ยุคดิจิทัลทีไ่ มเ่ พยี งทาใหเ้ กดิ ประชาธปิ ไตยในการสอื่ สาร แต่ยงั ทาใหเ้ กดิ การไหลเวียนอย่างต่อเน่ืองของขอ้ มลู บิดเบอื น ขอ้ มูลทีผ่ ดิ
การโกหก และการลว่ งละเมิดสิทธิอีกด้วย ซ่ึงยิ่งทาให้จริยธรรมการเสนอข่าวมคี วามสาคญั มากข้ึนไปอีกในฐานะท่ีเป็นกรอบการ
ทางานเพ่ือการสร้างต้นแบบการเสนอข่าวท่ีเน้นความเชื่อถือและการแสดงความรบั ผิดชอบในการสร้างความสัมพันธ์ท่ีแน่นแฟ้น
กบั ผู้รบั ข่าวสาร

ความเชื่อถือในการรายงานท่ีเท่ียงตรงแม่นยา การแสดงความรบั ผดิ ชอบ และการเป็นอิสระ มีความสาคญั อยา่ งยิง่ ตอ่ การชนะใจ
คนและสร้างพื้นที่สาธารณะร่วมสาหรับการอภิปรายโดยใช้ข้อเท็จจริงชุดเดียวกัน ดังน้ัน ผู้อ่านที่มีข้อมูลซึ่งได้เข้าไปมีส่วนร่วม
และส่งตอ่ เนื้อหาที่เชือ่ ถอื ไดจ้ งึ ถือเปน็ ยาตา้ นการแพรก่ ระจายของข้อมลู บดิ เบือนและขอ้ มูลท่ผี ิดทสี่ าคัญ

ในการปลูกฝังและสร้างความแข็งแกร่งให้กับค่านิยมหลักเหล่าน้ีท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของส่ิงแวดล้อมสื่อ ห้องข่าวและ
องค์การสื่อจึงใช้และประยุกต์หลักจรรยาบรรณและสร้างกลไกเพ่ือแสดงความรับผิดชอบต่อสาธารณะ ไม่ว่าจะเป็นสภาการ
หนังสือพมิ พ์ ผตู้ รวจข่าวภายใน นโยบายด้านการบรรณาธิการ และผูต้ รวจสอบภายใน ต่างก็เปน็ สว่ นหนง่ึ ของโครงสร้างการ

55 Bell, E. (2015). Hugh Cudlipp Lecture (Full text), The Guardian https://www.theguardian.com/media/2015/jan/28/emily-bells-2015-
hughcudlipp-lecture-full-text [accessed 01/04/2018].

56 ดตู วั อยา่ งเชน่ ‘จรรยาบรรณนกั ข่าว’ ของสหพนั ธส์ อื่ การบนั เทงิ และศิลปะแห่งออสเตรเลยี ไดท้ ่ี https://www.meaa.org/ meaa-media/code-of-ethics/
[เขา้ ถงึ เมื่อ 04/03/2018].

21

กากับดูแลตนเองท่ีช่วยชี้ข้อผิดพลาดในลักษณะของการตรวจสอบโดยผู้ร่วมวิชาชีพ เอ้ืออานวยต่อการยอมรับผิดต่อสาธารณะ
และแก้ไขขอ้ ผิดพลาด และสร้างเสรมิ บรรทัดฐานทางวิชาชพี ในด้านมาตรฐานการตีพมิ พ์ทีเ่ ป็นที่สนใจของประชาชน แมจ้ ะถกู นัก
วิจารณ์ท่ีชอบการกากับดูแลส่ือด้วยองค์กรภายนอกมากกว่าดูแคลนว่าเป็น “เสือท่ีไร้เข้ียวเล็บ” แต่โครงสร้างเช่นน้ีกลับมี
ประโยชน์ต่อจุดมุ่งหมายสาคัญท่ามกลางวิกฤติข้อมูลบิดเบือนเช่นน้ี เพราะทาให้การแสดงความรับผิดชอบของวิชาชีพมีความ
แข็งแกร่งและโปร่งใสมากข้ึน ซึ่งจะย่ิงส่งผลให้ความเช่ือถือในการเสนอข่าวของชุมชนแข็งแรงขึ้นไปด้วย อีก ทั้งยังทาให้เห็น
คุณลักษณะที่โดดเด่นของการเสนอข่าวที่ปฏิบัตติ ามระเบียบของการตรวจสอบความจริงเพื่อให้เกิดความเที่ยงตรงและเช่ือถอื ได้
ซึง่ แตกต่างจากข้อมูลบิดเบือน โฆษณาชวนเช่อื การโฆษณา และการประชาสมั พันธ์

จากนกั ขา่ วสู่การทาขา่ ว

ช่วงเวลาทจ่ี ริยธรรมสอ่ื ถูกจากัดเพราะธรุ กจิ (แม้อาจจะไมเ่ สมอไป) ของการงาน อาชพี /วิชาชพี นน้ั ไดก้ ลายเปน็ อดีตไปแลว้ ดงั เปน็
ที่รูโ้ ดยท่ัวกนั รวมทัง้ สหประชาชาติ ดงั ทปี่ รากฏในรายงานของเลขาธิการสหประชาชาติ ฉบับปี พ.ศ. 2560 เรอื่ งความปลอดภัย
ของนกั ข่าว เลขท่ี A/72/29057 ความว่า

74

“คาว่า “นักข่าว” นน้ั หมายถึงนกั ข่าวและผูท้ ีท่ างานดา้ นสอ่ื อืน่ ๆ ดว้ ย มีการใหค้ านยิ ามคาว่า การทาข่าวไวใ้ นเอกสาร
เลขท่ี CCPR/C/GC/34 ย่อหนา้ ที่ 44 ว่าคือ “หน้าที่รว่ มกันระหว่างผูเ้ ก่ียวขอ้ งจานวนมาก ซึง่ หมายความรวมถึง
ผู้สอ่ื ขา่ วและนักวิเคราะห์ที่ทางานประจาเชน่ เดียวกับบล็อกเกอร์และคนอืน่ ๆ ที่ตีพิมพ์ผลงานในรปู แบบตา่ ง ๆ ด้วย
ตนเองทางส่ือสงิ่ พมิ พ์ อนิ เทอร์เนต็ หรอื อ่นื ๆ”5875

ในทานองเดียวกัน การประชุมใหญส่ ามญั ขององค์การยูเนสโกไดใ้ ห้ความหมายว่า “นักข่าว คือ ผู้ที่ทางานด้านสื่อ และผู้ผลิต
ทางส่อื สงั คมท่ีทาใหเ้ กดิ งานด้านการข่าวเป็นจานวนมาก ท้ังออนไลนแ์ ละออฟไลน์” (มตทิ ่ปี ระชมุ สามัญครัง้ ท่ี 39, พฤศจิกายน
พ.ศ. 2560)59 ท้ังน้ี มีการบันทึกไว้ในแผนปฏิบัติการของสหประชาชาติเก่ียวกับความปลอดภัยของนักข่าวและการไม่ต้องรับ

76

โทษท่ีรับรองโดยคณะกรรมการบรหิ ารแห่งสหประชาชาติในปี พ.ศ. 2555 ว่า “การคุ้มครองนักข่าวไม่ควรจากัดเพียงบคุ คลที่
รู้จักกันในนามนักข่าว หากแต่ควรครอบคลุมถึงบุคคลอ่ืนอันประกอบไปด้วยกลุ่มผู้ท่ีทางานสื่อและนักข่าวพลเมืองและบคุ คล
อืน่ ที่อาจใช้สอ่ื ใหม่เปน็ ชอ่ งทางในการสง่ ขา่ วสารถงึ กล่มุ เปา้ หมาย60
การทาข่าวในมิติน้ีอาจมองได้ว่าคือกิจกรรมที่เป็นไปตามมาตรฐานจรยิ ธรรมของการตรวจสอบความจรงิ ของข้อมูลที่เผยแพร่
เพื่อประโยชน์สาธารณะ ดังน้ัน ผู้ท่ีเรียกตนว่าเป็นผู้ปฏิบัติด้านการทาข่าวอาจมีความหมายนอกเหนือไปกว่านักข่าวอาชีพ
ในขณะท่ีผู้ที่รับจ้างหรือถูกมองว่าเป็นนักข่าวอาจไม่ได้ผลิตเน้ือหาข่าวท่ีถูกต้องแม่นยา ยุติธรรม เป็นมืออาชีพและเป็นอิสระ

57 เข้าถงึ ไดท้ าง https://digitallibrary.un.org/record/1304392?ln=en [เข้าถงึ เมอ่ื 16/06/2018].
58 ดูเพิม่ เติมในเอกสารของยเู อ็นเลขท่ี A/HRC/20/17 ยอ่ หนา้ 3-5, A/HRC/20/22 และ Corr.1 ยอ่ หน้า 26 A/HRC/24/23 ยอ่ หนา้ 9 A/HRC/27/35 ย่อหนา้

9 A/69/268 ย่อหน้า 4 และ A/HRC/16/44 และ Corr.1 ยอ่ หนา้ 47.
59 Records of the General Conference. 39th session. Paris, 30 October – 14 November 2017.

http://unesdoc.unesco.org/images/0026/002608/260889e.pdf [accessed 02/07/2018].

22

เพื่อประโยชนสาธารณะก็เป็นได้ ส่ิงสาคัญไม่ใช่สถานภาพอย่างเป็นทางการหรือตามท่ีกล่าวอ้าง หากแต่เป็นคุณลักษณะของ
เนื้อหาท่ีผลติ ขนึ้ มา
ในขณะที่การทาข่าวเป็นเรื่องของการใช้สิทธิเสรีภาพในการแสดงออกซึ่งเป็นสิทธิของทุกคน แต่ก็เป็นปฏิบัติการเฉพาะทางท่ี
กาหนดให้ต้องยึดม่ันกับเกณฑ์บางอย่างเพื่อให้แตกต่างจากการแสดงออกในรูปแบบอ่ืน (เช่น บทกวี การประชาสัมพันธ์ การ
โฆษณา ข้อมูลบดิ เบอื น ฯลฯ) เกณฑเ์ หลา่ นีม้ คี วามเกย่ี วโยงอย่างใกลช้ ดิ กับจรยิ ธรรมของการปฏบิ ัติงานในวิชาชีพขา่ ว

ความโปรง่ ใสคอื ความเปน็ กลางสมัยใหม่หรอื ไม่
ความเป็นกลาง อาจมีความหมายได้หลายอย่าง สาหรับในความหมายของการห่างไกลจากความเอนเอียง ความเป็นกลางคือ
แนวคิดท่ียังเป็นท่ีถกเถียงในวิชาชีพข่าว ซึ่งอาจกระทาได้แต่เป็นไปได้ยากมาก และอาจไม่เป็นท่ีพึงประสงค์ในกรณีที่เกี่ยวกับ
ความโหดร้ายทารุณหรือมนุษยธรรม (ตัวอย่างเช่น การรายงานท่ียุติธรรมและเป็นอิสระไม่สามารถสร้างความน่าเช่ือถือให้กับ
ถ้อยคาของคนที่มีความผิดฐานก่ออาชญากรรมสงครามได้ ดังเช่น ถ้อยคาของคนท่ีรอดชีวิตจากอาชญากรรมสงคราม แม้ว่า
ผู้รอดชีวิตน้ันไม่ควรจะอยู่เหนือการไต่สวนความจริง) แต่ความยุติธรรม ความเป็นอิสระ ความถูกต้องแม่นยา การให้บริบท
ความโปร่งใส การปกปอ้ งแหล่งข่าว และการใชส้ ตปิ ญั ญา61 ในการรายงานข่าวนน้ั ทาใหเ้ กิดความไวใ้ จ ความเชอ่ื ถือ และความ
มั่นใจ
ในปี พ.ศ. 2552 ดร.เดวิด ไวร์เบอร์เกอร์ นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ประกาศว่า “ความโปร่งใสคือความเป็นกลาง
สมัยใหม่”62 ในปีเดียวกันนี้เอง ริชาร์ด แซมบรูค อดีตผู้อานวยการฝ่ายข่าวต่างประเทศของสานักข่าวบีบีซี ก็ได้อธิบายว่าความ
โปร่งใสตา่ งหาก ไมใ่ ช่ความเป็นกลาง ทีท่ าใหเ้ กดิ ความเชื่อถอื ใน “ยคุ สือ่ ใหม่”

“...ข่าวทุกวันน้ียังคงมีความถูกต้องและยุติธรรม แต่การที่ผู้อ่าน ผู้ฟัง และผู้ชม เข้าใจว่าข่าวถูกผลิตขึ้นมาได้อย่างไร
ข้อมูลมาจากทใ่ี ด และมันทาใหเ้ กิดผลใด น้ันมคี วามสาคัญดว้ ยเชน่ กัน การเกดิ ข้ึนของข่าวนั้นสาคญั พอ ๆ กบั การนาเสนอ
ข่าวเลยทเี ดยี ว”63

60 UN Plan of Action on the Safety of Journalists and the Issue of Impunity. 1CI-12/CONF.202/6
https://en.unesco.org/sites/default/files/un-planon-safety-journalists_en.pdf [accessed 03/11/2017].

61 ดู ‘หลกั วารสารศาสตร’์ ในบทถดั ไป
62 Weinberger, D. (2009). Transparency is the new objectivity. http://www.hyperorg.com/blogger/2009/07/19/transparency-is-the-

newobjectivity/ [accessed 28/03/2018].
63 Bunz, M. (2009). How Social Networking is Changing Journalism. https://www.theguardian.com/media/pda/2009/sep/18/oxford-social-

mediaconvention-2009-journalism-blogs [accessed 28/03/2018].

23

สิง่ ที่แตกตา่ ง
องค์ประกอบหลักของการปฏิบัติงานในวิชาชีพข่าวข้างต้นไม่ได้หมายความว่าการเสนอข่าวทาได้เพียงรูปแบบเดียว การบรรลุ
เป้าหมายของการเสนอข่าวมีรปู แบบและวิธีการเล่าเรอ่ื งได้หลากหลาย แต่ละวิธีก็ประกอบไปด้วยข้อความท่ีมาจากคา่ นิยมและ
มุมมองเก่ียวกับความยุติธรรม บริบท ข้อเท็จจริงท่ีเกี่ยวข้อง ฯลฯ ที่แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น ส่ือต่างกัน อาจมีมุมมองท่ีแตกต่าง
กันต่อประเดน็ ข่าวหน่ึง (บางรายอาจมองขา้ มไปเลยเสยี ดว้ ยซ้า) โดยไม่ไดก้ ้าวออกจาก “ธรุ กิจข้อมลู ขา่ วสาร” ไปสู่อาณาจักรของ
ข้อมูลบิดเบือนและข้อมูลท่ีผดิ (ดูบทต่อไป เร่ือง การใช้คู่มือเล่มน้ีเป็นหลักสตู รต้นแบบ และ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 2 และ3) แต่
เมื่อใดก็ตามที่เน้ือหาก้าวข้ามหลักวารสารศาสตร์ในตัวของมันเอง และโดยเฉพาะเม่ือยังคงถูกนาเสนอในรูปแบบของข่าว น่ัน
หมายถงึ วา่ เนือ้ หาน้นั มใิ ชก่ ารเสนอข่าวตามหลกั วารสารศาสตรอ์ ีกต่อไป หากแต่เปน็ ขอ้ มลู บดิ เบอื นรปู แบบหน่ึง
บทนานีไ้ ด้ชใี้ หเ้ หน็ ประเดน็ สาคญั ทีเ่ กดิ จากข้อถกเถียงเกย่ี วกับ ‘ขา่ วปลอม’ และให้บรบิ ทสาหรบั การทาความเขา้ ใจ การ
วเิ คราะห์ และ เรยี นรจู้ ากหน่วยการเรยี นรตู้ า่ ง ๆ

24

การใชค้ มู่ ือนี้เปน็ หลกั สูตรตน้ แบบ
จูลี่ โพเซต็ ติ

หลกั สตู รน้ีใชว้ ิธกี ารเรียนการสอนดว้ ยวิธีการเรยี นรจู้ ากประสบการณ์1 หมายถึงส่งเสริมให้ผูใ้ ช้นาประสบการณส์ ว่ นตนเข้ามาใช้
ในกระบวนการเรียนการสอนด้วย แต่ละบทเรียนไม่มีความตายตัว สามารถและควรท่ีจะนามาปรับเพื่อให้เหมาะสมกับบรบิ ท
ของการเรยี นการสอนในแตล่ ะประเทศ แต่ละวฒั นธรรม สถาบนั และอตุ สาหกรรม อยา่ งไรก็ตาม แมจ้ ะพยายามทาใหห้ ลักสตู ร
มีความน่าสนใจสาหรับท่ัวโลกแต่ก็ยังมีข้อจากัดอยู่บ้าง คณะผู้เขียนจึงขอแนะนาให้ผู้ให้การศึกษา ผู้บรรยาย และผู้เข้าร่วม
หลกั สูตร เพ่ิมเตมิ กรณศี กึ ษา ตวั อย่าง และแหล่งขอ้ มลู ท่ีสะท้อนประสบการณ์ในทอ้ งที่และภาษาของตนรว่ มด้วย
ด้วยเหตุนี้ จงึ เสนอวธิ ีทอ่ี าจนามาใชก้ ับคูม่ ือเลม่ นไ้ี ด้ ดงั ตอ่ ไปน้ี

ɒ ใชเ้ ป็นรายวิชา/หัวข้อแบบเร่งรดั สาหรบั หลักสูตร/วิชาเอก ในด้านวารสารศาสตร์ นเิ ทศศาสตร์ สือ่ ดิจิทัลหรือสื่อ
ศึกษา สาหรับระดับอุดมศึกษาท่ีมีอยู่แล้ว หรืออาจใช้เป็นวิชาเลือกของหลักสูตรการเมืองและสังคมศาสตร์ที่
เก่ยี วข้องกับประเด็นสอื่ และการสื่อสาร

ɒ ใช้เป็นแหล่งข้อมูลเพื่อเสริมหลักสูตร/รายวิชาท่ีมีอยู่ (เช่น ประวัติศาสตร์ส่ือ จริยธรรมส่ือ การหาแหล่งข่าวและ
ตรวจสอบข่าว การวิจารณ์สื่อ การใช้สื่อดิจิทัล วารสารศาสตร์เพื่อสังคม โดยอาจนากรณีศึกษา เอกสาร
ประกอบการบรรยาย และเอกสารสาหรับอ่านเพ่ิมเติม มาบูรณาการเข้ากับหลักสูตร/รายวิชาท่ีมีอยู่เพ่ือใช้เป็น
วธิ ีการปรับปรุงเนือ้ หาให้ทนั สมยั ในการจัดการกบั วกิ ฤติขอ้ มูลบดิ เบอื นทีเ่ กดิ ขึน้ อยา่ งรวดเร็ว

ɒ ใช้เป็นรายวิชาโดดหรือหลักสูตรเร่งรัดสาหรับนักข่าว กลุ่มปกป้องสิทธิมนุษยชน และผู้ปฏิบัติงานด้านข่าว ของ
องคก์ รสอื่ หน่วยงานในอุตสาหกรรมขา่ ว หรอื หน่วยงานพัฒนาดา้ นส่อื

ɒ ใช้เป็นคู่มือการอบรม โดยผู้เข้าร่วมการอบรมด้านการทาข่าวอาจนาหน่วยการเรียนรู้เหล่าน้ีไปประยุกต์ใช้กับ
ตนเองโดยอาศัยรายการเอกสารท่ีแนะนาให้อ่าน และกรณีศึกษาร่วมกับแหล่งข้อมูลเฉพาะทางชุดอื่นสาหรับ
นกั ข่าวโดยเฉพาะ

ɒ ใช้เป็นแรงบันดาลใจในการเขียนบล็อกขององค์กรในอุตสาหกรรมข่าว ช่องทางส่ือต่าง ๆ หรือหน่วยงานเพ่ือการ
พฒั นาสือ่ สาหรับกจิ กรรมแบง่ ปันความรู้

ɒ ใช้เปน็ แหลง่ การอ่านสาหรบั นกั ข่าวอาชีพเพือ่ เพ่ิมพูนความร้แู ละการพฒั นาทางวิชาชีพ ตัวอย่างเชน่ เทคนคิ หลาย
อย่างท่ีกล่าวถึงในคูม่ ือ อาจนามาใช้ในการรายงานข่าวดว้ ย ‘การเรียนรู้ด้วยตนเอง’ บางกรณีศึกษาอาจช่วยสรา้ ง
แรงบนั ดาลใจสาหรบั การรายงานข่าวทลี่ ึกซึ้งยง่ิ ขึ้น โดยศกึ ษาหัวข้อขา่ วในท้องถน่ิ ในบรบิ ททซ่ี ับซ้อนข้ึน (เช่น ข่าว
เก่ียวกบั เรือ่ งลวงโลกที่หลอกนกั ขา่ วท้องถน่ิ จนหลงเชื่อ อาจนามารายงานในบรบิ ทของประวตั ศิ าสตร์เรอ่ื งลวงโลก

1 Banda, F (Ed) 2015 Teaching Journalism for Sustainable Development: New Syllabi (UNESCO, Paris http://unesdoc.unesco.org/
images/0023/002338/233878e.pdf) [accessed: 28/03/2018].

25

ระดบั นานาชาติ โดยเนน้ พัฒนาการลา่ สุดของการแพร่กระจายแบบไวรลั ของข้อมูลบดิ เบือนและข้อมูลทีผ่ ิดทางสื่อ
สงั คม)

ɒ ใช้เป็นพ้ืนฐานสาหรับการอ่าน แหล่งข้อมูล และเคร่ืองมือ ท่ีออกแบบมาให้ใช้ต่อยอดได้ ในขณะท่ีการวิจัยและ
การปฏบิ ัติงานในสาขาน้ีขยายตวั

หลกั วารสารศาสตร์

ด้วยการใช้กระบวนการเพ่ือความโปร่งใสและการมีมาตรฐานจริยธรรมท่ีชัดเจนทาให้บทบาทท่ีเด่นชัดของก ารเสนอข่าวใน
ปัจจุบันน้ัน อยู่ท่ีความสามารถในการให้ความกระจ่างและสร้างความเช่ือถือในเนื้อหาที่ตรวจสอบได้ หลักวารสารศาสตร์เจ็ด
ประการด้านลา่ งซ่งึ มีระดับของจริยธรรมท่ีแตกต่างกัน สามารถใช้เป็นแนวทางการเรียนการสอนและแบบฝึกปฏบิ ัติ ตลอดจน
การอภิปรายและการประเมินผลได้2

ɒ ความถูกต้อง: นักข่าวไม่สามารถรับประกัน ‘ความจริง’ ได้เสมอไป แต่การให้ข้อมูลท่ีถูกต้องแม่นยายังคงเป็น
หลกั การที่สาคัญท่ีสดุ ของวารสารศาสตร์

ɒ ความเป็นอิสระ: นักข่าวต้องเป็นเสียงท่ีเป็นอิสระ หมายความว่าต้องไม่เป็นตัวแทนผลประโยชน์ไม่ว่าจะเป็น
ทางการหรือไม่เปน็ ทางการ และไมก่ ลา่ วส่ิงใดที่อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ความขัดแยง้ เรือ่ งผลประโยชน์ เพอ่ื ความโปร่งใส

ɒ ความยุติธรรม: การรายงานข้อมูล เหตุการณ์ แหล่งข่าวและคาให้การของแหล่งข่าวด้วยความยุติธรรม
ประกอบด้วยการกล่ันกรอง การช่ังน้าหนัก และการประเมินค่าของข้อมูลด้วยการเปิดใจกว้างและไตร่ตรอง
ด้วยสติปัญญา การให้บริบทท่ีมาท่ีไปและนาเสนอมุมมองท่ีแตกต่างเป็นส่ิงท่ีช่วยสร้างความเช่ือถือและความ
ม่นั ใจใหก้ บั การรายงาน

ɒ การรักษาความลับ: หลักการพ้ืนฐานประการหนึ่งของการทาข่าวเชิงสืบสวนคือการปกป้องแหล่งข่าว(ด้วย
ข้อยกเวน้ ท่ีน้อยทีส่ ุด) ซึ่งมคี วามสาคญั ต่อการรกั ษาความไวใ้ จของแหล่งข่าว (รวมถงึ ผ้ทู ี่นาขอ้ มูลลบั ท่เี ก่ียวกับ
การกระทามิชอบขององค์กรเผยแพร่สู่สาธารณะ และในบางกรณีก็เป็นการรักษาความปลอดภัยของแหล่งข่าว
ด้วย3

ɒ มนุษยธรรม: ส่ิงที่นักข่าวตีพิมพ์หรือออกอากาศอาจสร้างความเจ็บปวดได้ (เช่นความอับอายท่ีนักการเมืองท่ี
ทุจริตต้องเผชิญเม่ือถูกเปิดโปงจากการทาข่าวเชิงสืบสวน) แต่ก็ต้องคานึงถึงผลของการเสนอข่าวที่อาจเกิดข้นึ
ต่อชีวิตผู้อ่ืนอีกมากมายด้วยเช่นกัน ซึ่งในกรณีน้ีสามารถนาหลักการเพื่อประโยชน์ของส่วนรวมมาใช้เป็น

2 ขอ้ สงั เกต: หลกั การหา้ ในเจด็ ข้อนีน้ ามาจาก ‘หลักวารสารศาสตรห์ ้าขอ้ ’ ของเครอื ข่ายจรยิ ธรรมวารสารศาสตร์ http://
ethicaljournalismnetwork.org/who-we-are/5-principles-of-journalism [เขา้ ถงึ เมอ่ื 22/4/2018] อยา่ งไรกต็ าม ในทน่ี ้ี ‘ความยตุ ธิ รรม’ ถกู เลอื กใช้
แทนคาวา่ ‘ความเปน็ กลาง’ เนื่องจากคาว่าความเปน็ กลาง (impartiality) มกั ปะปนกบั คาว่า การไมม่ ีอคติ (objectivity) และมกั ถกู เขา้ ใจผิดว่าตอ้ งมีการ
ช่ังนา้ หนกั แหลง่ ขา่ วและขอ้ เทจ็ จรงิ อยา่ งเทา่ เทยี มกันท้งั หมด ซ่ึงนบั เปน็ แนวคดิ ทีเ่ ปน็ ปัญหาด้วยเหตผุ ลเดียวกับการท่ี ‘ความไมม่ อี คต’ิ กลายเปน็ แนวคิดที่
ถูกตัง้ คาถามในปจั จุบัน

3 Posetti, J. (2017). Protecting Journalism Sources in the Digital Age (UNESCO)
http://unesdoc.unesco.org/images/0024/002480/248054E.pdf [accessed 28/03/2018].

26

แนวทางได้4 นอกจากนี้ มนุษยธรรมยังหมายถึงการพิจารณาปัญหาของกลุ่มที่เป็นฝ่ายเสียเปรียบด้วย แม้ว่า
อาจไมจ่ าเปน็ ต้องถงึ ขนาดม่งุ ใช้แต่การทาข่าวทเี่ น้นความเปน็ ธรรมของสังคมเพียงอย่างเดยี ว
ɒ การแสดงความรับผิดชอบ: คือสัญญาณของความเป็นมืออาชีพและจริยธรรมวารสารศาสตร์5 ได้แก่ การแก้ไข
ข้อผิดพลาดอย่างทันท่วงที ชัดเจน และด้วยความจริงใจ การรับฟังและตอบสนองต่อความวิตกกังวลของผูร้ บั
ข่าวสาร6 การปฏิบัติเช่นน้ีอาจกาหนดไว้ในบันทึกแนวทางปฏิบัติขององค์กรข่าว และหน่วยงานกากับดูแล
ตนเองทใ่ี หแ้ สดงความรบั ผดิ ชอบดว้ ยการปฏบิ ัตติ ามจรรยาบรรณวิชาชีพโดยสมคั รใจ
ɒ ความโปร่งใส ในทางปฏิบัติเป็นการสนับสนุนการแสดงความรับผิดชอบและช่วยในการพัฒนาและดูแลรักษา
ความเชอ่ื ถือในวงการข่าว7

ในบริบทนี้ ประกอบกับความเป็นอิสระของการทาข่าว ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับเสรีภาพส่ือและความเป็นพหุนิยมก็มี
ความสาคัญเช่นเดยี วกัน ความเป็นพหุนิยมของสถาบันและความหลากหลายของพนักงาน แหล่งข่าว และเอกสารค้นคว้ามี
ความสาคัญหากวงการข่าวต้องการมีสว่ นร่วมในการสง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตยและความยัง่ ยืนของสงั คมเปดิ สื่อที่ส่งเสริมการมี
ส่วนร่วม เช่น วิทยุชุมชน และสื่อสงั คม ก็มีความสาคญั เช่นเดียวกันในการสรา้ งความมั่นใจว่าเสียงของกล่มุ ท่ีไม่ได้รบั โอกาส
หรือเสียเปรียบจะไม่ถูกละเลยในกระบวนการผลิตข่าว พหุนิยมยังหมายถึงการสามารถแยกแยะความถูกต้องของเนื้อข่าว
ตามหลักจรยิ ธรรมวารสารศาสตรต์ ลอดจนความสามารถในการแยกแยะขอ้ มูลบิดเบือน โฆษณาชวนเชือ่ และเนื้อหารปู แบบ
อน่ื ทอี่ ย่นู อกเหนือจากมาตรฐานของความเป็นวชิ าชพี ไดอ้ กี ดว้ ย (ดหู น่วยการเรียนรู้ท่ี 1 2 และ 3)

คาถามเพื่อพิจารณา

การอภิปรายเกี่ยวกบั การปฏิบัตติ ามจริยธรรมวชิ าชพี ในโลกที่ขอ้ มลู บดิ เบือน ขอ้ มลู ที่ผิด และโฆษณาชวนเช่ือ แพร่กระจายเปน็
ไวรัลด้วยการเริม่ จากการพจิ ารณาคาถามตอ่ ไปนี้ อาจเป็นประโยชน์

ɒ วารสารศาสตร์ในยคุ ดิจิทัลคอื อะไรกันแน่ (คาถามท่ีเริ่มจาก ‘นักข่าวคือใคร’ ไปสู่ความเข้าใจที่ลึกซึ้งข้ึนเกี่ยวกับ
การทาขา่ วในปัจจุบนั )

4 สาหรับแบบจาลองจริยธรรมใหมท่ ใี่ ชค้ วามเข้าอกเขา้ ใจในยคุ ดจิ ทิ ลั ดู Shelton, A. G., Pearson, M. & Sugath, S. (2017) Mindful Journalism and
News Ethics in the Digital Era: A Buddhist Approach. Routledge, London. https://www.crcpress.com/Mindful-Journalism-and-News-
Ethics-inthe-Digital-Era-A-Buddhist-Approach/Gunaratne-Pearson-Senarath/p/book/9781138306066 [accessed 01/04/2018].

5 ดู http://ethicaljournalismnetwork.org/what-we-do/accountable-journalism [accessed 22/4/2018].
6 Locker, K. & Kang, A. (2018). Focused listening can help address journalism’s trust problem, at American Press Institute.

https://www.americanpressinstitute.org/publications/focused-listening-trust/ [accessed 28/03/2018].
7 Aronson-Rath, R. (2017). Transparency is the antidote to fake news on NiemanLab, December 2017

http://www.niemanlab.org/2017/12/transparency-is-the-antidote-to-fake-news/ [accessed 15/06/2018].

27

ɒ การทาข่าวตามหลักวารสารศาสตร์แตกต่างจากการผลิตและตีพิมพ์เน้ือหาในขอบเขตท่ีกว้างขึ้น (ไม่ว่าจะเป็น
โฆษณา การตลาด การประชาสัมพันธ์ ข้อมูลบดิ เบือน และขอ้ มลู ที่ผิด) อย่างไร ท้ังทางออนไลน์และออฟไลน์

ɒ ผูป้ ระกอบวชิ าชีพข่าวควรทาเพอื่ ผลประโยชนข์ องใคร
ɒ ผปู้ ระกอบวิชาชพี ขา่ วสมควรแสดงความรบั ผดิ ชอบต่อเนื้อหาท่ีผลติ หรอื ตีพิมพ์หรือไม่ หากควร เป็นเพราะเหตุใด

และโดยใคร หากไมค่ วร เพราะเหตใุ ดจงึ ไมค่ วร
ɒ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ข่าวตอ้ งปฏิบัตติ ามหลกั จริยธรรมใดบา้ งต่อแหล่งข่าว บุคคลในขา่ ว และผูร้ ับขา่ ว
ɒ ในบริบทของ “ความผิดปกตขิ องข้อมลู ข่าวสาร” ผูป้ ระกอบวชิ าชีพข่าวตอ้ งพิจารณาทางเลือกจริยธรรมใดบา้ ง
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล

วัตถปุ ระสงค์หลกั ของหนังสือเล่มน้คี ือการเพิม่ ความสามารถในการคดิ ด้วยวจิ ารณญาณใหล้ กึ ซึ้งข้ึน และสรา้ งเกราะทแ่ี ข็งแกร่ง
ให้กับนักเรียนวารสารศาสตร์ นักข่าวอาชีพ และบุคคลอื่น ๆ ที่ “ทางานด้านข่าว” ดังนั้น จึงควรใช้เกณฑ์ความถูกต้องและ
มาตรฐานในการตรวจสอบตลอดจนการยึดหลักค่านิยมด้านจริยธรรม การค้นคว้าเชิงลึก และการวิเคราะห์ด้วยวิจารณญาณ
เป็นหลักในการประเมนิ ผล
ขอ้ เสนอแนะเกณฑ์การพจิ ารณาประเมินผลสาหรับงานมอบหมายเชงิ ทฤษฎี

ɒ ความถูกต้องและการตรวจสอบความจริง (เช่น การอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลถูกต้องหรือไม่ มีการใช้วิธีการ
ตรวจสอบความจริงท่ีเหมาะสมหรอื ไม่ เปน็ ต้น)

ɒ ความเข้มข้นของการค้นคว้า (เชน่ ผู้เรยี นใช้ความพยายามมากนอ้ ยเพยี งใดในการหาข้อมูล/แหลง่ ขอ้ มูลที่แน่นพอ
และมคี วามเก่ียวขอ้ งเพ่อื สนบั สนุนมุมมอง/ข้อค้นพบของตน)

ɒ คุณภาพของการเสนอมุมมองและการวิเคราะห์ (มุมมองและการวิเคราะห์ที่นาเสนอมีความแปลกใหมแ่ ละลึกซึ้ง
มากเพียงใด)

ɒ การแสดงออกผ่านการเขยี น (ตัวสะกด ไวยากรณ์ การเวน้ วรรคตอน โครงสรา้ งประโยค)
ɒ บทความ/รายงานแสดงถงึ ผลการเรียนรู้ของแต่ละหน่วยการเรียนรู้อยา่ งมีประสิทธิภาพมากน้อยเพยี งใด
ขอ้ เสนอแนะเกณฑ์การพจิ ารณาประเมนิ ผลสาหรบั งานมอบหมายเชงิ ปฏิบัติ/เชงิ ขา่ ว
ɒ ความถูกตอ้ งและการตรวจสอบความจรงิ (เชน่ การอา้ งองิ แหล่งที่มาของข้อมูลมถี กู ต้องหรอื ไม่ มกี ารใช้วิธีการ

ตรวจสอบความจรงิ ทีเ่ หมาะสมหรอื ไม่ เป็นตน้ )
ɒ ความเข้มข้นของการคน้ ควา้ (เชน่ ผ้เู รียนใชค้ วามพยายามมากนอ้ ยเพยี งใดในการหาขอ้ มลู /แหล่งข้อมูลทแ่ี นน่

พอและมคี วามเก่ียวข้องเพ่ือสนบั สนุนมุมมอง/ขอ้ ค้นพบของตน)

28

ɒ การวิเคราะห์ด้วยวจิ ารณญาณ (เชน่ ผเู้ รียนมคี วามรอบคอบมากเพยี งใดในการต้งั คาถามประเดน็ สาคัญใหก้ ับ
ผูอ้ า่ น)

ɒ ความแปลกใหม/่ ความคดิ สรา้ งสรรค์
ɒ ความแข็งแกรง่ ของเน้ือหา (เร่อื ง/ผลงานการผลติ มผี ลตอ่ ผู้อา่ น/ผ้ชู ม/ผฟู้ ังเพยี งใด)
ɒ คณุ คา่ ดา้ นการผลิต (ศกั ยภาพในการตัดตอ่ เสียง/ภาพ และองคป์ ระกอบมลั ติมเี ดีย)
ɒ การแสดงออกผา่ นการเขยี น (ตวั สะกด ไวยากรณ์ การเว้นวรรคตอน โครงสรา้ งประโยค)
ɒ การยึดม่ันในคณุ ค่าของหลักจรยิ ธรรมตามแนวปฏบิ ตั ขิ องวิชาชพี
วิธีการสอน

หน่วยการเรยี นรเู้ หลา่ นส้ี ามารถใชส้ อนไดท้ ้งั ในห้องเรียนและช่องทางออนไลน์ ผเู้ รยี นจะได้ประโยชนจ์ ากการเรยี นรู้จากการ
ทางานรว่ มกันจากหลาย ๆ บทเรยี นในนี้ ท้ังออนไลน์ (เช่น จากการใชพ้ ้ืนท่กี ารเรียนรู้อย่าง ระบบจดั การเรียนการสอนใน
ระบบออนไลน์ เช่น Moodle หรอื กลุ่มเฟซบกุ๊ ) และการเรียนในหอ้ งเรยี น
บทเรียนส่วนใหญแ่ บ่งออกเป็นสองส่วน ได้แก่การเรียนรู้ในเชิงทฤษฎี (เช่น การสัมมนา การอ่าน หรือ การสอนแบบบรรยาย)
เสริมด้วยแบบฝึกปฏิบัตทิ ่ีนาไปใช้งานไดจ้ ริง (เช่น กลุ่มทางานในแบบฝึกปฏิบัติเร่ืองการตรวจสอบความจรงิ ) โดยทั่วไปมักใช้
เวลา 60-90 นาที สาหรับภาคทฤษฎี และ 90 นาที ถึง สองช่ัวโมง สาหรับภาคปฏิบัติหรือการเรียนการสอนแบบเร่งรัด ซ่ึง
สามารถปรับขยายหรือลดเวลาหรือแบ่งเป็นส่วน ๆ ในแต่ละวันได้ตามกรอบการสอน/การเรียนของสถาบัน และยังมี
ขอ้ เสนอแนะสาหรบั งานทีค่ วรมอบหมายผ้เู รียนในแต่ละหน่วยการเรยี นรดู้ ว้ ย
หากเปน็ ไปได้ ผบู้ รรยายและผสู้ อนควรเชิญนักวิชาชีพและผเู้ ชี่ยวชาญเข้าร่วมในการบรรยายแบบมีส่วนรว่ มในช้ันเรียนและการ
อภปิ ราย และควรรวมกรณศี ึกษายุคปจั จุบนั ประเดน็ ปัญหา และขอ้ ถกเถียงไว้ในการเรยี นการสอนด้วย
นอกจากนี้ ผู้ออกแบบหลักสตู รยังสนบั สนุนให้ผู้บรรยาย/ผสู้ อนใชเ้ อกสารประกอบการสอนและตวั อยา่ งทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ท้องถนิ่ /
ภมู ภิ าค ทง้ั เชงิ ภาษาและวัฒนธรรมไวใ้ นบทเรียนด้วยเช่นกนั

เอกสารประกอบและแหลง่ ขอ้ มลู

ผู้สอนและผเู้ รียนจาเปน็ ตอ้ งใชก้ ารเชอ่ื มต่ออินเทอรเ์ นต็ และจะไดป้ ระโยชน์จากการเขา้ ฐานขอ้ มลู วิชาการ และ/หรอื เวบ็ กูเกลิ
สกอลาร์
เว็บไซต์สาคัญสาหรบั แหล่งข้อมลู การเรียนการสอนเพ่มิ เติมทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การผลการเรียนรโู้ ดยรวมทีใ่ ช้ไดใ้ นภาคปฏบิ ัติคือ เวบ็
ขา่ ว First Draft News8

8 https://firstdraftnews.com/ [accessed 28/03/2018].

29

โปรดสงั เกต: ควรมกี ารอา้ งอิงบรรณาธิการหลกั สตู รและผู้เขียนอย่างเหมาะสมเมอ่ื นาเน้อื หาและแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ในคู่มือฉบบั
นี้ไปใช้งาน

เทคนคิ การเรยี นการสอน

หลกั สตู รต้นแบบเฉพาะด้านเลม่ นเ้ี ป็นไปตามหลักสตู รตน้ แบบสาหรบั การศึกษาวารสารศาสตรห์ ลายหลักสตู ร9 ท่พี ฒั นาขึ้นโดย
องค์การยเู นสโกโดยเรม่ิ ทามาตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2550 ส่วนเทคนิคการเรยี นการสอนนามาจากหลกั สูตรการรู้เทา่ ทันสื่อและ
สารสนเทศสาหรับผูส้ อน10 และรายวชิ าตน้ แบบเร่ืองความปลอดภยั ของนกั ข่าว11 ขององค์การยเู นสโก ซง่ึ เสนอแนะใหผ้ สู้ อนใช้
เทคนคิ การสอนดงั ต่อไปน้ี

ɒ วิธีการเรียนรู้โดยการสบื หา
ɒ วธิ ีการเรียนรโู้ ดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (PBL)
ɒ การเรยี นรู้โดยวธิ ที างวทิ ยาศาสตร์
ɒ กรณศี กึ ษา
ɒ การเรียนร้โู ดยการทางานร่วมกนั
ɒ การวเิ คราะห์ตัวบท
ɒ การวเิ คราะหบ์ รบิ ท
ɒ การแปล
ɒ การจาลองเหตุการณ์
ɒ การผลติ
นอกจากน้ี ผู้สอนท่ีใช้หลักสูตรน้ียังควรศึกษาแนวคิด “การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน” สาหรับงานวารสารศาสตร์12
เพิ่มเติม โดยวิธีน้ีเป็นการพัฒนาผลการเรียนรู้ด้วยการทดลองใช้และฝึกฝนทักษะดา้ นการผลิตเน้ือหาทางวารสารศาสตร์ โดย
ผู้เรียนควรคานึงถึงการผลิตเน้ือหาด้วยความรวดเร็วฉับไวและแพร่กระจายได้อย่างรวดเร็วเพื่อตอบโต้ข้อมูลบิดเบือน และ
โอกาสในการทดลองฝึกปฏบิ ัตจิ รงิ 13

9 UNESCO’s Model Curricula for Journalism Education (2007). http://unesdoc.unesco.org/images/0015/001512/151209E.pdf [accessed
28/03/2018]. ดเู พิ่มเตมิ UNESCO’s Model Curricula For Journalism Education: a compendium of new syllabi (2013). [accessed
28/03/2018: http://unesdoc.unesco.org/images/0022/002211/221199E.pdf; and Teaching Journalism for Sustainable Development:
new syllabi (2015). http://unesdoc.unesco.org/images/0023/002338/233878e.pdf [accessed 28/03/2018].

10 Wilson, C., Grizzle, A., Tuazon, R., Akyempong, K. and Cheung, C. (2011). Media and Information Literacy Curriculum for Teachers.
[ebook] Paris: UNESCO. http://unesdoc.unesco.org/images/0019/001929/192971e.pdf [accessed 28/03/2018].

11 UNESCO (2017) Model Course on Safety of Journalists: A guide for journalism teachers in the Arab States.:
http://unesdoc.unesco.org/images/0024/002482/248297e.pdf [accessed 28/03/2018].

12 Posetti, J & McHugh, S (2017) Transforming legacy print journalism into a successful podcast format: An ethnographic study of The
Age’s Phoebe’s Fall. Peer reviewed conference paper presented at the International Association of Media and Communications
Researchers conference in Cartagena, Colombia 18/07/2017

13 ตวั อย่างท่ีนา่ สนใจไดแ้ กค่ ลิปจากเพจ hashtag our stories https://www.facebook.com/hashtagoursa/videos/679504652440492/ [เข้าถึงเมอื่
15/06/2018].

30

Author

31

สาระสาคัญ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เหตใุ ดความจริง ความเช่อื ถอื และการเสนอขา่ วจงึ สาคญั

ความเช่ือถือในส่ือและการเสนอข่าวในหลายประเทศทั่วโลกมีความเปราะบางและอ่อนแอลงก่อนท่ีส่ือสังคมจะถือกาเนิดข้ึน
เสียอีก1 แนวโน้มนี้เป็นเร่ืองเดยี วกับการลดความเช่ือถือท่ีมีต่อสถาบันข่าวซึ่งพบได้ในหลาย ๆ สังคม อย่างไรก็ตาม การเข้าถึง
และปริมาณข้อมูลบิดเบือนและข้อมูลท่ีผิดจานวนมหาศาลท่ีสวมรอยมาในรูป แบบของข่าวและเผยแพร่ตามสื่อสังคมได้แพร่
ระบาดจนกลายเป็นภัยคุกคามต่อภาพลักษณ์ของวงการข่าวให้เพิ่มขึ้นไปอีก โดยเก่ียวพันกับทั้งนักข่าว ส่ือท่ีนาเสนอข่าว
ประชาชน และสงั คมเปิด214
ในสื่อสังคมและอินเทอร์เน็ตท่ีข้อมูลเกิดข้ึนอย่างรวดเร็วและเข้าถึงได้ง่ายทาให้ใคร ๆ ก็ผลิตส่ือได้ ผลที่ตามมาคือประชาชน
ต้องด้ินรนเพื่อแยกแยะให้ออกว่าอะไรเป็นความจริงและอะไรที่ไม่จริงและอยู่กับความหวาดระแวงและความไม่ไว้วางใจ
มุมมองความคดิ แบบสุดข้วั ทฤษฎสี มคบคดิ และประชานยิ มเติบโตงอกงาม ส่วนสถาบันและความจริงท่เี คยเปน็ ทยี่ อมรับกลับ
ถูกสงสัย ในโลกนี้ห้องข่าวต้องต่อสู้เพ่ือประกาศบทบาทด้ังเดิมตามประวัติศาสตร์ในการเป็นผู้รักษาประตูข่าวสาร315 ผู้สร้าง
ผลผลิตท่ีทาให้ความจริงเป็นท่ียอมรบั ในขณะเดียวกัน การเติบโตของตลาด “การส่ือสารเชิงกลยุทธ์” และ “ปฏิบัติการด้าน
สารสนเทศ” ซึ่งรวมไปถึงข้อมูลบิดเบือนและข้อมูลท่ีแฝงเจตนาร้ายนั้นได้กลายเป็นปัจจัยสาคัญในระบบนิเวศของข้อมูล
ขา่ วสาร416

เมื่อระดับความรุนแรงและผลกระทบของ ‘ความผิดปกติของข้อมูลข่าวสาร’ ต่อสังคมเริ่มชัดเจนมากขึ้น แม้แต่
สถาปนิกผู้สร้างสอ่ื สังคมยังมีความกังวล สามิธ จักราบาร์ติ ผู้จัดการผลิตภัณฑ์เพื่อการสร้างการมสี ่วนรว่ มทางสังคม
ของเฟซบุ๊ก กล่าวไวว้ ่า ถ้าจะมีความจริงอะไรสักอย่างที่เกย่ี วกับผลกระทบของสอื่ สงั คมต่อประชาธิปไตย ส่ิงนั้นกค็ ือ
การชว่ ยขยายเจตนาของมนษุ ย์ทั้งดแี ละไม่ดี ในด้านดกี ็คอื มนั ทาใหเ้ ราไดแ้ สดงออกและลงมือปฏิบัติ ในด้านไมด่ ี กค็ อื
มนั ทาใหค้ นเผยแพร่ขอ้ มลู ผิดและบ่อนทาลายประชาธปิ ไตย517
เห็นไดช้ ัดว่าในการจัดการกับปัญหาน้ีจาเป็นจะตอ้ งมีการแทรกแซงท้ังในระดับใหญแ่ ละระดับย่อย วิธีที่น่าสนใจวิธี
หน่ึงคือพยายามแก้ปญั หาด้วยการกากับดูแล และหลายประเทศก็เลือกเดินเส้นทางนี้ 618 แต่กลุ่มผ้สู นบั สนุนเสรภี าพในการ
แสดงออกเตือนว่าอาจส่งผลเสยี ตอ่ การเปดิ กวา้ งและการมสี ว่ นร่วมท่ีเกดิ ขึน้ ไดด้ ้วยเทคโนโลยีสมยั ใหม่719

1 Edelman. (2017). Edelman Trust Barometer - Global Results. [online].
Available at: https://www.edelman.com/global-results/ [accessed 03/04/2018].

2 Viner, K. (2017). A mission for journalism in a time of crisis. [online] the Guardian. Available at:
dhttps://www.theguardian.com/news/2017/nov/16/a-mission-for-journalism-in-a-time-of-crisis [accessed 03/04/2018].

3 Singer, J. (2013). User-generated visibility: Secondary gatekeeping in a shared media space. New Media & Society, [online] 16(1),
pp.55-73. Available at: https://pdfs.semanticscholar.org/0d59/6a002c26a74cd45e15fbc20e64173cf2f912.pdf [accessed 0/3/04/2018].

4 ดูตัวอยา่ งกรณศี กึ ษาทอี่ ธบิ ายไวใ้ น Gu, L; Kropotov, V and Yarochkin, F. (nd). The Fake News Machine How Propagandists Abuse the
Internet and Manipulate the Public. https://documents.trendmicro.com/assets/white_papers/wp-fake-news-machine-how-
propagandistsabuse-the-internet.pdf [accessed 16/06/2018]. Another study is published by the Data & Society Research Institute,
New York (2017) Media Manipulation and Disinformation Online, https://datasociety.net/output/media-manipulation-and-disinfo-
online/ [accessed 15/06/2018].

5 Chakrabarti, S. (2018). Hard Questions: What Effect Does Social Media Have on Democracy? Facebook Newsroom.
[online]Newsroom. fb.com. Available at: https://newsroom.fb.com/news/2018/01/effect-social-media-democracy/ [accessed
03/04/2018].

6 Funke, D. (2018) A guide to anti-misinformation actions around the world Poynter https://www.poynter.org/news/guide-anti-
misinformationactions-around-world [accessed 22/05/2018].

7 Nossel, S. (2017). Faking News: Fraudulent News and the Fight for Truth. [ebook] PEN America. Available at: https://pen.org/wp-
content/ uploads/2017/10/PEN-America_Faking-News-Report_10-17.pdf [accessed 03/04/2018].

32

โดยเฉพาะหากผนู้ าทมี่ คี วามคดิ แบบอานาจนิยมเข้ามาบรหิ าร ก็จะทาใหม้ อี าวุธพร้อมมอื ท่รี ้ายแรงและถกู กฎหมายในการใช้ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เหตใุ ดความจริง ความเช่อื ถอื และการเสนอขา่ วจงึ สาคญั
ตดั สินว่าอะไรเปน็ หรือไม่เปน็ เรอ่ื งท่ี “เท็จ” ในรายงานขา่ วที่วิพากษว์ จิ ารณ์การทางานของตน
อีกทางเลือกหน่ึงซึ่งเสนอโดยประชาสังคมและโครงการริเริ่มของภาคธุรกิจเน้นไปท่ีการทาให้ผู้รับส่ือรู้เท่าทันมากขึ้นด้วย การ
ติดตัง้ เครื่องมือสาหรบั ตีความและประเมินข้อมลู ขา่ วสารท่ีได้รับ โดยมีตัวอยา่ งตง้ั แตแ่ อฟรกิ าใต้820 ไปจนถึงเม็กซิโก921 ในขณะ
ทอ่ี งคก์ รตรวจสอบขอ้ เท็จจริงกเ็ พ่มิ จานวนขึ้นอย่างรวดเรว็ ดังท่ไี ด้อธิบายไว้ในคมู่ ือน้ี

ด้วยบรบิ ทนี้ นักข่าวและนักศกึ ษาวารสารศาสตรจ์ งึ จาเป็นต้องรู้จักโครงการรเิ ร่มิ เหล่านี้ ตลอดจนบทบาทหนา้ ทีข่ องตนใน
ปจั จุบนั ซ่งึ เปน็ ทม่ี าของคู่มือฉบับนี้

สาหรับนักข่าวที่ถือว่าตนเองเป็นผู้มีบทบาทสาคัญในสังคมเปิดและเป็นประชาธิปไตย ข้อมูลบิดเบือนและข้อมูลที่ผิด เป็น
ปัญหามากกว่าผลกระทบด้านช่ือเสียง เพราะ ‘ความผิดปกติของข้อมูลข่าวสาร’ สร้างความกังขาในเจตนารมณ์และความมี
ประสิทธิภาพของสื่อ อีกทัง้ ยังตอกยา้ ความจาเป็นพื้นฐานของการเปน็ อสิ ระและมาตรฐานวชิ าชีพอนั สูงส่งของสือ่ ด้วย อยา่ งไรก็
ดี ไม่ได้หมายความว่างานข่าวจะปลอดจากอุดมการณ์ทางความคิด หรืออคติทางเพศ เชื้อชาติ ภาษา ชนช้ัน ฯลฯ หรือภูมิหลังของ
ผู้ผลิตข่าว และไม่ได้ละเลยประเดน็ อิทธพิ ลของสถาบันสือ่ ในบรบิ ทของเจ้าของกจิ การ การประกอบธุรกจิ ความสนใจของผู้รับ
สื่อ “ร่างแห” ข่าวจากแหล่งข่าวราชการและประชาสัมพันธ์ที่รู้ ๆ กันอยู่ ฯลฯ แต่เป็นเร่ืองของการยึดมั่นในความสาคัญของ
จริยธรรมในการบรรณาธิการเพื่อเป็นแนวทางในการทาข่าว และเพื่อให้นักข่าวได้สะท้อนโลกทัศน์และบริบทของตน เพื่อส่ง
สญั ญาณว่าการเสนอขา่ วไมใ่ ช่ “ทัศนะท่ีไรท้ ่มี าทไี่ ป” แต่เป็นวิถีปฏบิ ตั ทิ ี่ต้องมีความโปร่งใสหากจะให้ประชาชนเชื่อถอื วา่ มีการ
ปฏิบัติตามมาตรฐานของการตรวจสอบข้อเท็จจริงและประโยชน์สาธารณะ ไม่ว่าเรื่องและมุมมองของการนาเสนอจะเป็น
อย่างไร1022

ในบทเรียนนี้ ผู้สอนควรสง่ เสริมให้ผู้เรยี นคิดอย่างมีวิจารณญาณว่าวงการข่าวสามารถรับใช้สงั คมและประชาธิปไตยได้อยา่ งไร
‘ความผิดปกตขิ องขอ้ มูลขา่ วสาร’ สง่ ผลกระทบและอาจยงิ่ ทวคี วามเสีย่ งตอ่ สงั คมเปดิ และเป็นประชาธปิ ไตยอยา่ งไร วงการขา่ ว
จะพัฒนาข้ึนและกอบกู้ความเช่ือม่ันให้กลับมาด้วยการแสดงให้เห็นว่าวิธีการและมาตรฐานในการนาเสนอข้อมูลข่าวสารท่ี
ตรวจสอบได้และเพ่ือประโยชน์สาธารณะเปน็ ลกั ษณะเดน่ ของการเสนอข่าวเชงิ วารสารศาสตร์ได้อย่างไร ซึง่ ไม่ไดเ้ พ่ือบอกใหป้ ดิ
หูปิดตาเช่ือผู้ผลิตข่าว แต่เพื่อให้สามารถแยกแยะคุณลักษณะและความแตกต่างรวมถึงเป้าหมายของการทางานท่ีเป็นไปตาม
กระบวนการและมาตรฐานของข้อมูลท่ีตรวจสอบได้เพ่ือประโยชน์สาธารณะ และการประเมินคุณค่าของข่าวตามความ
เหมาะสม และเสนอให้มองเหน็ ประโยชนข์ องความชา่ งสงสยั ไม่ใชค่ วามหวาดระแวง และความสามารถของประชาชนในการ

8 #KnowNews คอื สว่ นขยายในเวบ็ บราวเซอร์ของที่พัฒนาโดย องคก์ รณ์เฝ้าระวงั สอื่ ของประเทศแอฟรกิ าใตท้ ี่เปน็ องคก์ รท่ีไมห่ วังผลกาไร โดยมเี ป้าหมาย
เพือ่ ช่วยผรู้ บั ข่าวสารใหท้ ราบว่าเเน้ือหาขา่ วในวบ็ ไซตท์ ี่กาลังดอู ยูน่ นั้ เชอื่ ถอื ได้หรอื ไม่ https://chrome.google.com/webstore/search/KnowNews
[accessed 15/06/2018].

9 ดูเว็บไซต์ https://verificado.mx/ ซ่ึงเป็นตวั อย่างการรว่ มมอื เป็นพนั ธมติ รระหวา่ งส่ือ ภาคประชาสงั คม และมหาวทิ ยาลัย 60 แหง่ โดยม่งุ เน้นการพิสูจน์
ขอ้ เทจ็ จริงให้กบั เนอ้ื หาขา่ วท่ีน่าสงสัยในช่วงการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2561 ของประเทศเมกซโิ กปี พ.ศ. 2561 [เขา้ ถึงเมอ่ื 04/07.2018]

10 ดู Rosen, J. (2010). The View from Nowhere: Questions and Answers. PressThink. http://pressthink.org/2010/11/the-view-from-
nowherequestions-and-answers/ [accessed 15/06/2018].

33

แยกแยะคนทแี่ อบอ้างเป็นนักข่าวออกจากผู้ท่ีมุ่งมั่นทางานข่าวอย่างแท้จรงิ (และผู้ที่แสดงความโปร่งใสตามข้อกาหนดหลัก มี หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เหตใุ ดความจริง ความเช่อื ถอื และการเสนอข่าวจงึ สาคญั
การกากบั ดูแลตนเองด้วยการแสดงความรับผดิ ชอบ และรักษาชือ่ เสยี งในเร่ืองคุณภาพ) สาหรบั นกั ข่าวและผเู้ รียนดา้ นวารสาร
ศาสตร์ นั่นหมายถึงการทาความเขา้ ใจการเปล่ยี นแปลงสภาพแวดล้อมของขอ้ มลู และวิธีการตอบรับความทา้ ทายตา่ ง ๆ

เคา้ โครงเนือ้ หา

เพื่อให้นักข่าวและสังคมเข้าใจผลกระทบของ ‘ความผิดปกติของข้อมูลข่าวสาร’ ผู้เรียนจาเป็นต้องคานึงถึงการเปลี่ยนแปลง
ขนานใหญ่ในวงการข่าวและส่ือด้ังเดิม ทั้งระดับโครงสร้าง วัฒนธรรม และธรรมเนียมปฏิบัติ ที่เปลี่ยนไปตามความก้าวหน้า
อยา่ งรวดเรว็ ของเทคโนโลยีดิจทิ ัลและอปุ กรณ์สว่ นบุคคลทเ่ี ชอ่ื มต่อกับอินเทอรเ์ นต็ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง
ปญั หาเร่อื งความน่าเช่ือถอื ต่อการเสนอขา่ วท่เี พม่ิ มากขน้ึ กับการใช้สอ่ื สงั คม1123

การกล่าวโทษปัญหาทุกอยา่ งในการทาข่าวว่าเป็นเพราะสอื่ สังคมน้ันไม่ถกู ต้องเสียทีเดียว เพราะความเชื่อถือเก่ียวพันโดยตรง
กับความสามารถในเชิงวารสารศาสตร์ และยังมีความสมั พันธผ์ กผันกับความไว้วางใจในรัฐบาล ธุรกิจ และสถาบันท่ีลดน้อยลง
ในหลาย ๆ พื้นที่ทว่ั โลกอกี ดว้ ย1224

การเปล่ียนแปลงโครงสร้างของวิธีการหาข้อมูลและการเผยแพร่ข่าวตลอดจนการล่มสลายของภาคธุรกิจท่ีทาข่าวเป็นธุรกิจ
หลัก ทาให้อตุ สาหกรรมข่าวละทิ้งศกั ยภาพด้านวารสารศาสตร์ของหอ้ งข่าวและสง่ ผลกระทบตอ่ ความลมุ่ ลกึ ความหลากหลาย
และคุณภาพของการนาเสนอข่าว1325 ในขณะท่ีเงินกองทุนสาหรับส่ือสาธารณะที่ลดลงและการควบคุมจากภาครัฐอย่าง
ตอ่ เน่ืองกย็ ่ิงส่งผลใหก้ ารนาเสนอข่าวออ่ นแอมากขนึ้

ในขณะที่การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีดิจิทัลทาให้เกิดวิธีการเล่าเรื่องใหม่ ๆ และทาให้การมีส่วนร่วมของผู้รับส ารใน
กระบวนการข่าวเพ่มิ ขึน้ แต่ก็กอ่ ให้เกดิ ปัญหามากขึ้นตามมาด้วยสาหรับผู้ผลติ ขา่ วยุคเก่าท่อี ่อนแอลง อีกทั้งองค์กรที่ทาเฉพาะ
ขา่ วดิจิทัลสว่ นใหญ่ก็ยังไมไ่ ดร้ บั การพฒั นาทักษะด้านวารสารศาสตรใ์ นระดับทจ่ี ะชว่ ยหยดุ ยงั้ การเสอื่ มถอยของวงการข่าวได1้ 426

ในระบบนิเวศอันเป็นประชาธิปไตยและประกอบด้วยข้อมูลท่ีหลากหลาย การป้องกันผลกระทบที่เป็นอันตรายของข้อมูล
บดิ เบอื นและขอ้ มลู ทผ่ี ดิ ไม่ได้เป็นเพียงความท้าทายสาหรบั ผู้ท่ีอยู่ในแวดวงข่าวเท่านน้ั หากแต่ยังเป็นปัญหาของทุกคนในสังคม
ด้วย1527

11 ดู หน่วยการเรยี นรทู้ ่ีสาม
12 Edelman. (2017) op cit
13 ดู หนว่ ยการเรยี นร้ทู สี่ าม
14 Greenspon, E. (2017). The Shattered Mirror: News, Democracy and Trust in the Digital Age. [ebook] Ottowa: Public Policy Forum,

Canada. Available at: https://shatteredmirror.ca/download-report/ [accessed 03/04/2018].
15 Ansip, A. (2017). Hate speech, populism and fake news on social media – towards an EU response.

https://ec.europa.eu/commission/ commissioners/2014-2019/ansip/announcements/statement-vice-president-ansip-european-
parliament-strasbourg-plenary-debate-hatespeech-populism [accessed 03/04/2018].

34

การปฏิบัติงานและวิธีการทาข่าวก่อนยุคดิจิทัลประกอบด้วย มาตรฐานวิชาชีพ และ ขั้นตอนการตรวจสอบและการควบคุม หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เหตใุ ดความจริง ความเช่อื ถอื และการเสนอขา่ วจงึ สาคญั
หลายขั้นตอนจากส่วนกลางเพ่ือจัดการเรื่องความถูกต้อง คุณภาพและความยุติธรรมของข่าว ส่วนผู้สื่อข่าวภาคสนามก็ได้รับ
การสนับสนุนจากทีมงานในห้องข่าวในการตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาก่อนการตีพิมพ์เผยแพร่ แบบจาลอง ‘ผู้รักษา
ประตขู ่าวสาร’ เชน่ น้เี องทค่ี อยปลูกฝงั ความรู้สกึ ของการเป็นนกั ข่าวอาชพี 1628
ในด้านการนาเสนอข่าวสาธารณะและปัญหาในชุมชน การสืบหาข้อเท็จจริง การแสดงความคิดเห็นและการวิเคราะห์นั้น
นกั ขา่ วเคยมีเคร่ืองมอื ทีม่ ีประสิทธภิ าพในการเรยี กร้องใหน้ ักการเมอื งและเจา้ หน้าที่แสดงความรบั ผดิ ชอบ เคยช่วยประชาชน
ให้มีทางเลือกว่าจะอยู่ภายใต้การปกครองและกฎระเบียบแบบใด แม้ว่าในความจริงแล้วก็ไม่ใช่ทุกสถาบันส่ือจะเป็นไปตาม
อดุ มคติและมาตรฐานของการทาข่าว แต่โดยท่วั ไปกย็ ังประกอบกจิ การโดยมุ่งเน้นขา่ วท่แี ทจ้ รงิ ทผ่ี ่านการคดั สรรและนาเสนอ
ในรูปแบบของเรื่องราวท่ีเป็นความสนใจเฉพาะด้าน ห่างไกลจากข้อเท็จจริงที่สรา้ งขึ้นดว้ ยวัตถุประสงคท์ างการเมอื ง ธุรกิจ หรือ
ความบันเทงิ
ในระดับวัฒนธรรม การทาให้ภาคส่วนอื่นมีอานาจในการพบเห็น บันทึก ออกความเห็น และเผยแพรข่ ่าวทางช่องทางส่ือ
สงั คมไมเ่ พียงแตท่ าใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงในระบบขา่ วแบบรวมศูนยเ์ ท่านัน้ แต่ยงั มีผลตอ่ การอภิปรายในพืน้ ท่ีสาธารณะ
อีกด้วย1729 ทุกวันน้ี ส่ือสังคมกลายเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่สาคัญของวาทกรรมสาธารณะและการเมืองซึ่งบ้างก็แย้งว่าน่ี
เปน็ สงิ่ ทท่ี าใหป้ ระชาธิปไตยและสังคมเปิดเกดิ ‘การขาดดลุ ประชาธิปไตย’1830
บริษัทเทคโนโลยีและส่ือสังคมหลีกเลี่ยงภาระหน้าท่ีเฉกเช่นที่นักข่าวและสานักพิมพ์ต้องรับผิดชอบ1931 โดยยืนยันว่าตนไม่ใช่
สานักข่าว แต่ถึงแม้ว่าจะไม่มีการใช้นักข่าวในการผลิตข่าวแต่วิธีการรวบรวมเรียบเรียงข้อมูลและการบรรณาธิการน้ันก็ไม่ได้
เป็นเพียง ‘ช่องทาง’ หรือคนกลางแตอ่ ยา่ งใด
สิ่งที่ขับเคล่ือนข้อมูลบิดเบือน และข้อมูลที่ผดิ หรือท่ีสถาบันวิทยาการคอมพิวเตอรแ์ ห่งออกซฟอร์ดเรียกว่า “ข้อมูลขยะ” คือ
พื้นท่ีส่ือสังคมและอัลกอริทึมของเครื่องมือค้นหาโดยใช้ประโยชน์จากข้อมูลในหน้าเครือข่ายสังคมออนไลน์ของเพ่ือนและ
ครอบครัวของผ้ใู ช้ ทาให้ข้อมลู บิดเบือนและข้อมลู ที่ผิดมตี ัวตนและกลายเปน็ ส่ิงท่ถี กู ตอ้ ง2032
ดังน้ัน เน้ือหาท่ีมีเจตนาทาให้เกิดความเข้าใจผิดท่ีแพร่กระจายอยู่ในพ้ืนท่ีเหล่าน้ีจึงส่งผลกระทบต่อการเข้าใจความจริงของ
ประชาชน2133 และบ่อนทาลายความนา่ เช่อื ถือ การพูดคุยทม่ี าจากการรูข้ ้อมูลและการรบั ร้คู วามเปน็ จรงิ เดยี วกัน ความเหน็ พ้อง
ตอ้ งกนั และการมีส่วนร่วม2234 สื่อสังคมยงั ถูกกล่าวหาว่าบ่อนทาลายประชาธปิ ไตยด้วยวิธกี ารอีกหลายรปู แบบ อาทิ

16 Kovach, B. and Rosenstiel, T. (2010). Blur: How To Know What’s True In The Age of Information Overload. 1st ed. New York: Bloomsbury,
pp.171-184.

17 Nossel, S. (2017). Faking News: Fraudulent News and the Fight for Truth. [ebook] PEN America. Available at: https://pen.org/wp-
content/ uploads/2017/10/PEN-America_Faking-News-Report_10-17.pdf [accessed 03/04/2018].

18 Howard, P. (2017) เหมือนข้างต้น
19 Howard, P. (2017) Ibid. ดู หน่วยการเรียนรทู้ ส่ี าม ประกอบ
20 Pariser, E. (2011). The filter bubble: what the Internet is hiding from you. London, Viking/Penguin Press.

21 European Commission (2017). Next steps against fake news: Commission sets up High-Level Expert Group and launches public consultation.
[online] Available at: http://europa.eu/rapid/press-release_IP-17-4481_en.htm [accessed 13/06/2018].

22 Deb, A., Donohue, S. & Glaisyer, T. (2017). Is Social Media A Threat To Democracy? [ebook] Omidyar Group. Available at: https://www.
omidyargroup.com/wp-content/uploads/2017/10/Social-Media-and-Democracy-October-5-2017.pdf [accessed on 03/04/2018].

35

ɒ เปน็ ห้องกระจายข่าว ทาให้เกดิ ขว้ั ทางความคิด และ การเลือกข้างแบบสุดโตง่ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เหตใุ ดความจริง ความเช่อื ถอื และการเสนอขา่ วจงึ สาคญั
ɒ เปลย่ี นความนยิ มให้กลายเปน็ ความชอบธรรม
ɒ ปล่อยให้เกิดการบดิ เบือนโดยผ้นู าประชานิยม รฐั บาล และกลุ่มนอกกระแส
ɒ สง่ เสริมการเกบ็ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คลและมเี ป้าหมายในการแฝงข้อมูลขา่ วสารหรอื โฆษณาท่แี ยบยล2335
ɒ ทาใหเ้ กดิ ความขดั แย้งบนพน้ื ท่สี าธารณะ2436
เรอ่ื งแบบน้ีไมจ่ าเป็นตอ้ งเกดิ ขึ้น เพราะสือ่ สังคมสามารถเปน็ พน้ื ท่ีหลกั ใหค้ นในสังคมไดม้ สี ว่ นร่วมในการทาข่าวเพอ่ื ส่งเสริมการ
อภิปราย ค่านิยมของสังคม และการมีส่วนร่วมตามระบอบประชาธิปไตยในสภาพแวดล้อมท่ีช่วยให้สิทธิมนุษยชน ความ
หลากหลายทางวัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ ความรู้ และการตดั สินใจอยา่ งมเี หตผุ ลมคี วามแข็งแกรง่ ด้วยเหตนุ ี้ การเสนอข่าวไม่วา่
จะบนพื้นท่ีใดก็ตามควรนาเสนอประเด็นท่ีซับซ้อนต่อสาธารณะโดยไม่ขาดตกบกพร่องเร่ืองกระบวนการท่ีเที่ยงตรง และไม่
ลดทอนบริบทที่ซับซ้อนซึ่งอาจทาให้เกิดความเข้าใจผิด ความท้าทายสาหรับนักข่าวคือการยืนยันความถูกต้อง หลีกเลี่ยงการ
สร้างกระแส และระมัดระวังการรายงานเรื่องที่อาจส่งผลกระทบในอนาคต รวมทั้งสามารถสรุปและนาเสนอทัศนะหรือข้อ
ค้นพบท่แี ตกต่างของผู้เชี่ยวชาญได้อยา่ งสมดลุ โดยเฉพาะในเรือ่ งการแพทย์ระดับสูง (เชน่ การโคลนนงิ่ ) และความก้าวหน้าทาง
วทิ ยาศาสตร์ใหม่ ๆ (เชน่ ปญั ญาประดษิ ฐ)์
วงการข่าวสามารถตอบโต้ข้อมูลบิดเบือนและข้อมูลที่ผิดแบบตรงไปตรงมาได้หลายวิธี ต้ังแต่การต่อต้านการแก้ไขดัดแปลง
เน้ือหาไปจนถึงการสืบสวนและเปิดโปงข้อมูลบิดเบือนโดยตรง แต่ต้องกระทาควบคู่ไปกับความพยายามในการพัฒนาวงการ
ข่าวโดยรวมด้วย (ดงั อธบิ ายไว้ดา้ นล่าง)
ปฏิกริ ิยาของสงั คมตอ่ ‘ความผิดปกตขิ องข้อมลู ขา่ วสาร’ และปญั หาทเ่ี กิดจากสอื่ สังคมนน้ั มีความหลากหลายและเกิดขึ้นใน
หลายระดับและมีการพัฒนาวิธีการแก้ปัญหาอย่างต่อเน่ือง ซึ่งบางคร้ังก็เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว หลายวิธีมีต้นกาเนิดใน
สหรัฐอเมริกา ประเทศที่เป็นศูนย์รวมผู้ให้บริการสื่อสังคมมากมายรวมทั้งกูเกิล โดยแนวคิดริเริ่มด้านเทคโนโลยีเพ่ือ
แก้ปัญหาขอ้ มูลทผ่ี ิดทก่ี าลังอยู่ระหว่างการพัฒนา ไดแ้ ก่
ɒ ความม่งุ มนั่ ในการกาจดั ผลการค้นหาและฟีดข่าวทผ่ี ้ใู ห้บริการถือเป็นขา่ วหลอกลวง (ซึง่ ย่อมมีข้อโตแ้ ยง้ ) 252627

37 38 39

23 Cadwalladr, C. and Graham-Harrison, E. (2018). How Cambridge Analytica turned Facebook ‘likes’ into a lucrative political tool. The
Guardian. [online] Available at: https://www.theguardian.com/technology/2018/mar/2017/facebook-cambridge-analytica-kogan-
dataalgorithm [accessed 03/04/2018].

24 Deb, A., Donohue, S. & Glaisyer, T. (2017) Ibid
25 Ling, J. (2017). Eric Schmidt Says Google News Will ‘Engineer’ Russian Propaganda Out of the Feed. Motherboard Vice.com.

[online]
Available at: https://motherboard.vice.com/en_us/article/pa39vv/eric-schmidt-says-google-news-will-delist-rt-sputnik-russia-fake-
news?utm_campaign=buffer&utm_content=buffer41cba&utm_medium=social&utm_source=facebook.com+Motherboard
[accessed on 03/04/2018]; https://www.rt.com/news/411081-google-russia-answer-rt/
26 Mosseri, A. (2018). Helping ensure news on Facebook is from trusted sources. Facebook.
https://newsroom.fb.com/news/2018/01/trustedsources/ [accessed on 03/04/2018].
27 Stamos, A. (2018) Authenticity matters: Why IRA has no place on Facebook. Facebook.
https://newsroom.fb.com/news/2018/04/authenticitymatters/ [accessed on 03/04/2018].

36

ɒ หยุดแหล่งข้อมลู บดิ เบือนทีต่ อ้ งการรายไดจ้ ากการคลิกโฆษณา2840 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เหตใุ ดความจริง ความเช่อื ถอื และการเสนอขา่ วจงึ สาคญั

ɒ ใชเ้ ทคโนโลยีในการตรวจสอบความจรงิ ของเน้อื หาและภาพดจิ ิทลั 2941

ɒ ให้เงินทุนสนับสนุนแนวคิดริเร่ิมในการเสนอข่าวที่เป็นจุดร่วมของการวิจัยด้านวารสารศาสตร์ เทคโนโลยี และ
วชิ าการ3042

ɒ การพัฒนาและใช้มาตรฐานด้านเทคนิคหรือสญั ญาณท่ีบ่งบอกความเชื่อถือได้ (trust signals) เพ่ือช่วยให้ผู้บรโิ ภค
(และอลั กอริทึม) รูว้ ่าข่าวนนั้ มาจากผใู้ ห้บริการข่าวทเ่ี ชอ่ื ถอื ได้3143

ณ วันท่ีเขียนหน่วยการเรียนรู้น้ีในช่วงตน้ ปี พ.ศ. 2561 หนึ่งในโครงการลา่ สุดที่เก่ียวกับมาตรฐานทางด้านเทคนิคที่สาคญั ทส่ี ดุ
สาหรับองค์กรข่าวคือ โครงการเดอะทรัสต์โปรเจกต์ ซ่ึงเป็นโครงการร่วมระหว่างเว็บเครื่องมือค้นหารายใหญ่ สื่อสังคม และ
ผูป้ ระกอบการสอ่ื กวา่ 70 รายทัว่ โลก มพี ันธกจิ คือการทาให้สาธารณชนรวู้ ่าขา่ วใดผลติ อยา่ ง “ถกู ตอ้ ง มคี วามรับผิดชอบ และมี
จริยธรรม” ด้วยการดสู ัญลกั ษณ์ความนา่ เช่ือถือ โดยมีมาตรฐานทางเทคนคิ เบือ้ งตน้ 8 ประการ3244 ที่ผูใ้ หบ้ รกิ ารขา่ วควรใช้และ
ทาให้สังเกตได้ง่ายบนพ้ืนทอ่ี อนไลน์ของตน เพ่ือให้ได้รับการยอมรับว่าเป็นผใู้ ห้บรกิ ารข่าวท่ีเช่ือถือได้ ตัวบ่งช้ีความไว้ใจไดข้ อง
เดอะทรัสต์โปรเจกต์3345 มีดงั นี้

ɒ แนวทางปฏิบัติท่ดี :ี
› เกณฑ์มาตรฐานของทา่ นคอื อะไร
› ใครเปน็ ผใู้ ห้เงินสนบั สนนุ ช่องทางเผยแพรข่ ่าว
› พนั ธกจิ ของช่องทางเผยแพร่ข่าวคอื อะไร
› ความแนว่ แน่ในจรยิ ธรรม เสียงทีห่ ลากหลาย ความถูกตอ้ ง แกไ้ ขสง่ิ ทีผ่ ดิ ให้ถกู และมาตรฐานอน่ื ๆ

ɒ ความชานาญของผู้เขยี นหรอื ผู้สือ่ ขา่ ว: ใครทาขา่ วน้ี รายละเอียดเกี่ยวกับนักขา่ ว ความเช่ียวชาญ และเร่ืองที่เคย
เขยี น

ɒ ประเภทของงาน: เป็นงานรูปแบบใด แยกแยะความคิดเห็น บทวิเคราะห์ และโฆษณา (หรือผู้สนับสนุน หรือ
เน้ือหาทไี่ ดร้ บั เงนิ สนบั สนุน) อย่างชัดเจน

28 Love, J. & Cooke, C. (2017). Google, Facebook move to restrict ads on fake news sites. Reuters. [online]
Available at: https://www.reuters.com/article/us-alphabet-advertising/google-facebook-move-
to-restrict-ads-on-fake-news-sites-idUSKBN1392MM [accessed 15/06/2018].

29 ดูหน่วยการเรียนรทู้ ี่ 6. ตวั อย่างที่ http://www.truly.media/ [เขา้ ถึงเมือ่ 15/06/2018].
30 ดหู นว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 5
31 The Trust Project (2017). The Trust Project – News with Integrity. [online] Available at: https://thetrustproject.org/?nr=0 [accessed on

03/04/2018].
32 The Trust Project (2017). Ibid
33 The Trust Project (2017). Ibid

37

ɒ การอา้ งแหลง่ ข่าวและเอกสารอา้ งองิ : สาหรับข่าวเชงิ สืบสวนหรอื เชิงลึก การเขา้ ถึงแหลง่ ท่มี าของข้อเท็จจริงและ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เหตใุ ดความจริง ความเช่อื ถอื และการเสนอขา่ วจงึ สาคญั
การยนื ยันขอ้ มูล

ɒ วิธีการ: สาหรับข่าวเชิงลึกเช่นกัน โดยเป็นข้อมูลที่บ่งบอกว่าเพราะเหตุใดนักข่าวจึงเลือกติดตามเร่ืองนี้ และมี
กระบวนการเก็บข้อมลู อยา่ งไร (ชว่ ยในเรือ่ งของความโปร่งใส)

ɒ แหล่งข้อมูลท้องถิ่นหรือไม่: ทาให้รวู้ ่าเร่ืองนี้เกดิ ข้ึนในพื้นท่ีหรือมีความเชี่ยวชาญ เป็นการรายงานข่าวในสถานที่
เกิดเหตโุ ดยใช้ความรู้อย่างลึกซงึ้ เกี่ยวกับสถานการณ์ในทอ้ งทีห่ รือชุมชนหรือไม่

ɒ เสียงที่หลากหลาย: ความพยายามและความยึดมั่นของห้องข่าวต่อการนาเสนอมุมมองที่หลากหลาย (ผู้อ่าน/
ผู้ชม/ผ้ฟู ัง ยอ่ มสังเกตเมอ่ื เสยี งของคนบางกลมุ่ เชอื้ ชาติ หรือการโน้มนา้ วทางการเมอื งขาดหายไป)

ɒ เสียงสะท้อนที่นาไปสู่การกระทา: ความพยายามของห้องข่าวที่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดลาดับ
ความสาคัญของข่าว มีสว่ นชว่ ยในกระบวนการรายงานข่าว สรา้ งความม่ันใจเรือ่ งความถูกตอ้ งแมน่ ยา และอน่ื ๆ
โดยผู้อ่าน/ผู้ชม/ผู้ฟังมีความต้องการมีส่วนร่วมและให้เสียงสะท้อนที่อาจนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงหรือการขยาย
เรอ่ื งราวของข่าวได้

ความเชื่อถือไว้วางใจในงานข่าวยังช่วยเพ่ิมปริมาณ ความหลากหลาย และคุณภาพของแหล่งข้อมูลสาหรับนักข่าว ซ่ึงมี
ผลกระทบตอ่ เน่อื งไปถึงผู้รบั ข่าวสารดว้ ย

การตอบรับจากรฐั บาล ภาคประชาสังคม และผ้สู อน ม่งุ เน้นทกี่ ารรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ ซ่งึ จะไดก้ ลา่ วถงึ อย่างละเอียดใน
หนว่ ยการเรียนรู้ตอ่ ไป3446

ประเด็นเหลา่ นยี้ ังถูกหยิบยกข้ึนมาในปี พ.ศ. 2560 ในงานประชุมบรรณาธิการโลกโดยประธานคือ มาร์เซลโล เร็ช เป็นผู้เสนอ
ว่าบรรณาธิการทัว่ โลกควรยอมรับหลักการ 5 ข้อต่อไปน3้ี 547

ɒ ในโลกของข้อมูลมหาศาลน้ี ความนา่ เชื่อถือ ความเป็นอิสระ ความถูกต้องแม่นยา จริยธรรมวชิ าชีพ ความโปร่งใส และ
ความเปน็ พหนุ ยิ มเป็นค่านิยมทจ่ี ะช่วยกระชับความสมั พันธท์ ่ตี ้ังอยู่บนความเช่อื ถือกับสาธารณชน

ɒ ก้าวตอ่ ไปของการทาขา่ วคือสรา้ งความแตกต่างจากเนื้อหาอ่ืน ๆ ดว้ ยการหมน่ั ต้งั คาถามและการตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ
ของเรื่องที่ส่งต่อกันทางสื่อสังคมอย่างระมัดระวัง โดยยอมรับส่ือสังคมเป็นแหล่งข้อมูลอย่างหนึ่งที่ใช้ในการ
ตรวจสอบข้อเท็จจรงิ และเป็นพ้ืนทีเ่ พ่ือการใช้ประโยชนข์ องเนอ้ื หาที่ผลติ โดยมอื อาชพี

ɒ พันธกิจสาหรับก้าวต่อไปของการทาข่าวคือการรับใช้สังคมด้วยการนาเสนอข้อมูลข่าวสารคุณภาพที่ผ่านการ
ตรวจสอบแล้วและการสร้างอตั ลกั ษณ์ข่าวทไี่ ด้รบั การรับรองว่าเป็นผู้ผลติ เนอ้ื หาท่ีเชือ่ ถือได้

34 ดหู น่วยการเรียนรทู้ ส่ี ่ี
35 Ireton, C. (2016). World Editors Forum asks editors to embrace 5 principles to build trust https://blog.wan-

ifra.org/2016/06/14/world-editorsforum-asks-editors-to-embrace-5-principles-to-build-trust [accessed 15/06/2018].

38

ɒ ข้อกาหนดของก้าวต่อไปในการทาข่าว คือการให้มากกว่าข้อมูลทั่วไป การส่งเสริมและทาให้เกิดการวิเคราะห์ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เหตใุ ดความจริง ความเช่อื ถอื และการเสนอขา่ วจงึ สาคญั
การรายงานเชิงบริบทและเชิงสืบสวน และการแสดงความคิดเห็นให้ผู้อื่นรับรู้ เป็นการพัฒนาจากการเสนอข่าว
ไปสูก่ ารใหค้ วามร้ทู เ่ี ปน็ พลงั

ɒ ก้าวตอ่ ไปของการทาข่าวควรเปน็ ไปบนความเช่อื ถอื และใช้หลักการเพ่ือประโยชน์ต่อสังคม ผลประโยชน์ท่ีชอบ
ด้วยกฎหมาย และการพูดความจริง

ในส่วนของนกั ข่าวและห้องข่าวต้องใหค้ วามสนใจกับการพฒั นาคณุ ภาพ ดว้ ยการปรบั ปรงุ
ɒ การแสดงความรับผดิ ชอบ การเสนอข่าวอยา่ งมีจรยิ ธรรม และการรายงานตามหลกั ฐาน3648
ɒ การตรวจสอบขอ้ เท็จจริงและเปิดโปงขอ้ มลู บดิ เบอื นและขอ้ มลู ท่ีผดิ ให้ทราบโดยท่ัวกัน3749
ɒ การตรวจสอบขอ้ มลู แหลง่ ขอ้ มูล และภาพดิจิทัล3850
ɒ การมีส่วนร่วมกับชุมชนท่ีนักข่าวอยู่และสร้างความม่ันใจว่าวาระของข่าวเป็นไปตามความต้องการของสังคม

3951

ในประเด็นสุดท้ายข้างต้น หลักฐานแสดงการขาดการเชื่อมต่อระหว่างส่ือกระแสหลักและผู้รับส่ือเห็นได้ชัดเจนในช่วงการ
ลงคะแนนเสยี งในสหราชอาณาจกั รเพ่อื ออกจากสหภาพยุโรป หรือ Brexit และในการเลือกต้ังของสหรฐั ในปี พ.ศ. 2559 จดุ แขง็
ของการส่ือสารผ่านสื่อสังคมคือการมีส่วนร่วมโดยตรง ผู้สอนจึงควรศึกษาว่าสื่อจะให้บริการท่ีดีขึ้นและสร้างความเช่ือมั่น
เสริมสร้างความสมั พนั ธ์และชุมชนในวงกวา้ งไดอ้ ย่างไรบ้าง
หกหรอื เจด็ ประการทขี่ า่ วสามารถทาเพื่อประชาธปิ ไตย ของ ชดั สัน4052 สามารถนามาใช้เป็นกรอบการทางานไดเ้ ป็นอย่างดี
สาหรบั การอภิปรายเรื่องนี้ ไดแ้ ก่

1. ขอ้ มลู : ให้ข้อมลู ทค่ี รบถว้ นและยตุ ธิ รรมเพ่อื ให้ประชาชนสามารถตดั สนิ ใจทางเลอื กทางการเมอื งไดอ้ ยา่ งเดด็ ขาด
2. การตรวจสอบ: ตรวจสอบการกระจุกตัวของศูนยร์ วมอานาจ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งอานาจของรัฐ
3. การวิเคราะห์: ให้ขอบเขตที่แน่นอนในการตคี วามเพ่ือให้ชว่ ยใหป้ ระชาชนเข้าใจโลกที่ซบั ซอ้ น
4. ความใส่ใจต่อสังคม: บอกเล่าเรื่องราวในสงั คมและโลกเพ่ือให้เกิดการรับร้ทู ัศนะตา่ ง ๆ และชีวิตความเปน็ อยขู่ อง

ผอู้ ืน่ โดยเฉพาะอย่างย่งิ ผ้ทู ่ดี ้อยโอกาสกว่า
5. เวทีสาธารณะ: เป็นพ้ืนท่ีสาหรับการเสวนาของพลเมืองโดยใช้วิธีท่ีมีความเป็นพหุนิยมและสหวิทยาการเพื่อ

แกป้ ญั หา และเปน็ ตัวแทนในการถ่ายทอดมุมมองของกล่มุ ตา่ ง ๆ ในสังคมทว่ั ไป

36 Wales, J. (2017). What do we mean by evidence-based journalism? Wikitribune. https://medium.com/wikitribune/what-do-we-
mean-byevidence-based-journalism-3fd7113102d3 [accessed on 03/04/2018].

37 ดหู น่วยการเรียนรทู้ หี่ า้
38 Bell, F. (2018). In an age of data-journalism, verification is all the more complex. For instance, in cases of massive data troves it is

likely that not just inaccurate information exists, but also that it is entirely possible that deliberately planned disinformation may
be included within the records. See also Module Six of this course
39 Batsell, J. (2015). Engaged journalism: connecting with digitally empowered news audiences. New York. Columbia University Press.
40 Schudson, M. (2008). Why Democracies Need an Unlovable Press. Polity. Chapter Two: Six or Seven Things News Can
Do For Democracy. Available at: https://books.google.co.uk/
books?id=hmYGMe9ecKUC&printsec=frontcover&dq=schduson+michael+6+or+seven+ways&hl=en&sa=X&ved=0ahU
KEwju_ ZGI6ozZAhWELsAKHc0vBlUQ6AEIKTAA - v=onepage&q&f=false [accessed on 03/04/2018].

39

6. การขบั เคลอ่ื น: ทาหนา้ ที่ (เม่อื เปน็ ทตี่ อ้ งการ) เปน็ ผสู้ นับสนนุ โครงการและจดุ ยืนทางการเมือง และขบั เคลือ่ นการ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เหตใุ ดความจริง ความเช่อื ถอื และการเสนอขา่ วจงึ สาคญั
สนับสนนุ โดยไมส่ ง่ ผลกระทบต่อมาตรฐานการตรวจสอบความจรงิ และประโยชน์สาธารณะ

เปา้ หมายของหนว่ ยการเรยี นรู้
ɒ สง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณเก่ียวกับการเสนอข่าวและสอื่ สังคม
ɒ สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นประเมินสถานะของตนเองในระบบนิเวศของ ‘ความผิดปกติของข้อมลู ขา่ วสาร’
ɒ ให้ผู้เรียนคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณถึงผลกระทบของ ‘ความผิดปกตขิ องข้อมลู ขา่ วสาร’ ตอ่ สงั คม

ผลการเรียนรู้
เมอ่ื เรียนจบหนว่ ยการเรยี นร้นู ้ี ผเู้ รยี นควร

1. มีความเข้าใจมากขึ้นว่าวงการข่าวสามารถรับใช้ประชาธิปไตยและสังคมเปิดได้อย่างไร ในสภาพแวดล้อมสื่อที่
ขยายตัวขนึ้ อยา่ งกวา้ งขวางและภัยของ ‘ความผดิ ปกตขิ องขอ้ มลู ขา่ วสาร’ ต่อประชาธปิ ไตย

2. เข้าใจปัจจัยที่ขับเคล่ือนความเชื่อถือต่อการเสนอข่าว และเข้าใจว่าจะสามารถรักษาหรือกอบกู้ความเช่ือม่ัน
ดังกลา่ วได้อย่างไร

3. สามารถอธบิ ายใหผ้ ู้อ่นื เข้าใจได้วา่ ทาไมการทาขา่ วตามหลักวารสารศาสตร์จึงมีความสาคญั
รูปแบบของหน่วยการเรยี นรู้
ข้อมูลที่อยู่ในเค้าโครงเน้ือหาของหน่วยการเรียนรู้นี้สามารถใช้เป็นเนื้อหาสาหรับการบรรยายความยาว 30 นาที ควบคู่กับ
การติวเข้มหรือการอภิปรายโต๊ะกลมความยาว 30 นาทีในประเด็นว่าเพราะเหตุใดวารสารศาสตร์จึงมีความสาคัญและ
สามารถรับใช้ประชาชนได้อย่างไร และใช้เป็นแบบฝึกหัดเชิงปฏิบัติความยาว 90 นาที โดยใช้การสนทนาอย่างมีระบบใน
การศึกษาว่าจะสามารถโนม้ น้าวคนท่ไี ม่ไว้วางใจการทาขา่ วใหท้ ราบว่าขอ้ มลู ข่าวสารใช่วา่ จะเชอ่ื ถอื ไมไ่ ด้เหมอื นกนั ทั้งหมดได้
อย่างไร และส่ือท่ีนาเสนอข่าวจะทาอะไรได้บ้างเพื่อสร้างความน่าเช่ือถือของตนในสภาพแวดล้อมของส่ือสังคมที่ข้อมูล
ขา่ วสารตา่ งกด็ ูเทา่ เทยี มกนั ไปหมด

40

การเชือ่ มโยงแผนการเรียนการสอนส่ผู ลการเรียนรู้ จานวนชวั่ โมง ผลการเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เหตใุ ดความจริง ความเช่อื ถือ และการเสนอขา่ วจงึ สาคญั
30 นาที
ก. ภาคทฤษฎี 1, 2
แผนของหน่วยการเรียนรู้ 30 นาที 1, 2, 3

การบรรยายและอภิปรายโตต้ อบเกี่ยวกับ ผลการเรียนรู้
ความจรงิ และความเชอื่ มน่ั
การอภปิ รายโตะ๊ กลมถึงความสาคญั และการ 3
รับใชป้ ระชาชนของวารสารศาสตร์

ข. ภาคปฏบิ ัติ จานวนชวั่ โมง
แผนของหน่วยการเรียนรู้ 90 นาที
แบบฝึกหดั ภาคปฏิบตั ิ

งานมอบหมาย

งานมอบหมายมสี ามองคป์ ระกอบ และผเู้ รียนต้องทางานเปน็ คหู่ รอื กลุ่มขนาดเล็ก

ɒ ให้ผู้เข้าเรียน (ทางานเป็นกลุ่มย่อยหรือจับคู่) สัมภาษณ์ผู้บริโภคข่าวโดยขอให้บอกแหล่งข่าวและสารสนเทศ
เกย่ี วกบั สังคมในระดับท้องถน่ิ หรือระดบั ชาติท่เี ช่อื ถอื มากที่สุด จากนั้นใหใ้ ช้แบบจาลอง หกหรือเจ็ดประการทขี่ า่ ว
สามารถทาเพื่อประชาธิปไตย ของ ชัดสัน เป็นแนวทางศึกษาส่ิงพิมพ์หนึ่งฉบับหรือเรื่องหลายเรื่องที่เป็นแนวคิด
เดียวกันในสื่อท่ีกาหนด เพ่ือค้นหาและวิเคราะห์ว่าสิ่งที่อ่านน้ันรับใช้ชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพเพียงใด ซ่ึ ง
เทคนิคการวิเคราะห์ตัวบทก็เป็นวิธีหน่ึงที่นามาใช้ประโยชน์ได้ องค์ประกอบที่สอง คือกาหนดให้ระบุว่าสิ่งที่อ่าน
นั้นมีตัวบ่งช้ีความเชื่อมั่น 8 ข้อของ เดอะทรัสต์ โปรเจกต์หรือไม่ หากมีคือตัวใดบ้าง องค์ประกอบที่สาม นาผล
การศึกษาท่ีได้ไปจัดทาเป็นรายงานข่าวหรือความคิดเห็นในบทบรรณาธิการ โดยทาได้ท้ังในรูปแบบของการเขยี น
หรือผลติ คลิปวิดีโอสน้ั ๆ หรือคลิปเสยี งเพื่ออธบิ ายวา่ ทาไมการเสนอขา่ วตามหลกั วารสารศาสตรจ์ ึงสาคัญ

41

เอกสารสาหรับอ่าน หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เหตใุ ดความจริง ความเช่อื ถอื และการเสนอขา่ วจงึ สาคญั

Deb, A., Donohue, S. & Glaisyer, T. (2017). Is Social Media A Threat To Democracy? [ebook] Omidyar Group.
Available at: https://www.omidyargroup.com/wp-content/ uploads/2017/10/Social-Media-and-Democracy-
October-5-2017.pdf

Edelman. (2017). 2017 Edelman TRUST BAROMETER - Global Results. [online] Available at:
https://www.edelman.com/global-results/

Howard, P. (2017) Is social media killing democracy? Oxford. Available at https://www. oii.ox.ac.uk/videos/is-social-
media-killing-democracy-computational-propagandaalgorithms-automation-and-public-life/

Nossel, S. (2017). FAKING NEWS: Fraudulent News and the Fight for Truth. [ebook]
PEN America. Available at: https://pen.org/wp-content/uploads/2017/10/PEN-America_ Faking-News-Report_10-
17.pdf

Schudson, M. (2008). Why Democracies Need an Unlovable Press. Polity. Chapter 5: Six or Seven Things News can
do for Democracies, Available at https://books.google.co.uk/
books?id=hmYGMe9ecKUC&printsec=frontcover&dq=schduson+michael+6+or+seven+ways&hl=en&sa=X&ved=0
ahUKEwju_ZGI6ozZAhWELsAKHc0vBlUQ6AEIKTAA - v=onepage&q&f=false

Viner, K. (2017). A mission for journalism in a time of crisis. [online] the Guardian. Available at:
https://www.theguardian.com/news/2017/ nov/16/a-mission-for-journalism-in-a-time-of-crisis

42

ห น่ ว ย ก า ร เ รี ย น รู้ ท่ี 2

43

สาระสาคัญ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2

คาวา่ “ข่าวปลอม” และแมก้ ระท่งั “สอื่ ปลอม” ถูกใช้อย่างแพรห่ ลายเพ่อื เรียกการรายงานข่าวทไ่ี ม่เห็นดว้ ย ในแผน
ทก่ี ูเกลิ เทรนด์ แสดงให้เห็นวา่ มีการใชค้ าน้ีในการค้นหาอยา่ งกว้างขวางในช่วงคร่ึงหลังของปี พ.ศ. 2559153 ในหนว่ ย
การเรียนรู้น้ี ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ว่าทาไมคานี้จึง ก) ไม่เพียงพอสาหรับการอธิบายความรุนแรงของมลภาวะทาง
สารสนเทศ และ ข) ทาไมคานจ้ี งึ เปน็ ปัญหาจนควรหลีกเลี่ยงการใช้

โชคไม่ดีที่คานี้เส่ียงต่อการถูกนาไปใช้เพื่อเหตุผลทางการเมืองและเป็นอาวุธในการทาลายอุตสาหกรรมข่าวเพื่อบ่ันทอนการ
รายงานข่าวที่ผู้มีอานาจไม่พอใจ ด้วยเหตุนี้ จึงแนะนาให้ใช้คาว่าข้อมูลท่ีผิด (misinformation) และข้อมูลบิดเบือน
(disinformation) แทน หน่วยการเรียนรู้นี้จะกล่าวถึงข้อมูลท่ีผิดและข้อมูลบิดเบือนประเภทต่าง ๆ และระดับของ ‘ความ
ผิดปกตขิ องขอ้ มลู ข่าวสาร’ ของขอ้ มลู ท้งั สองประเภทน้ี
นอกจากน้ี ยังครอบคลมุ ถึงการเสยี ดสแี ละล้อเลยี น พาดหวั ขา่ วทลี่ ่อให้คนเขา้ ไปดู และการใช้คาบรรยายภาพ ภาพ หรอื สถติ ใิ น
ลกั ษณะท่ที าให้เกิดการเข้าใจผดิ ตลอดจนเนอ้ื หาดัง้ เดมิ ท่ถี กู แชรห์ รอื ส่งตอ่ จนผดิ ไปจากบรบิ ทเดมิ การแอบอา้ งเนือ้ หา (เมื่อช่ือ
ของนักข่าวหรือโลโก้ข่าวถูกนาไปใช้โดยบุคคลภายนอก) และเนื้อหาท่ีบิดเบือนและแต่งข้ึนมา ท้ังหมดน้ีแสดงให้เห็นว่า
วิกฤตการณ์นี้มีความซับซ้อนกวา่ คาว่า “ข่าวปลอม” มากมายนัก
หากเราจะคิดวิธีแก้ไขปัญหาจากการที่ข้อมูลเหล่าน้ีกลายเป็นมลพิษในสื่อสังคมและสกัดกั้นไม่ให้ลุกลามเข้าไปในช่องทา งส่ือ
ด้ังเดมิ เราจาเป็นต้องคิดใหถ้ ถี่ ้วนมากขนึ้ ตอ้ งนึกถึงผ้ทู สี่ รา้ งเนือ้ หาแบบนดี้ ้วย อะไรคอื แรงจูงใจ เนือ้ หาประเภทใด คนตอบรับ
อยา่ งไร และเพราะอะไรถงึ สง่ ตอ่ ซึง่ ประเด็นนก้ี ็มีหลากหลายแง่มมุ และผู้ทถี่ กเถียงเรือ่ งน้ตี ่างก็ไม่สามารถเขา้ ถึงความซับซ้อน
ของมันได้ ท้ังนี้ เม่ือจบหน่วยการเรียนรู้นี้ ผู้เรียนควรสามารถใช้คาศัพท์และคานิยามในการอภิปรายปัญหาท่ีเก่ียวข้องกับ
‘ความผิดปกติของขอ้ มูลข่าวสาร’ ไดอ้ ย่างเหมาะสม

เคา้ โครงเน้อื หา

คมู่ ือเลม่ นี้ใช้คาว่า ‘ข้อมูลบิดเบอื น’ และ ‘ขอ้ มลู ทผ่ี ิด’ เพือ่ แยกจากข้อมูลท่ีตรวจสอบได้และเปน็ ประโยชน์ตอ่ สาธารณะ ซงึ่
เป็นสิง่ ทกี่ ารทาขา่ วเชงิ วารสารศาสตรท์ ีแ่ ทจ้ รงิ บญั ญัติไว้ โดยหนว่ ยการเรียนร้นู จี้ ะเน้นทลี่ กั ษณะเด่นของข้อมูลบิดเบือน
วาทกรรมเก่ียวกับ 'ข่าวปลอม' ส่วนใหญ่เป็นการรวบสองแนวคิดเข้าไว้ด้วยกัน คือแนวคิดเกี่ยวกับข้อมูลที่ผิดและแนวคิด
เก่ียวกบั ขอ้ มูลบิดเบอื น อย่างไรก็ตาม อาจจะเปน็ ประโยชน์มากกวา่ หากจะเสนอแนะวา่ ข้อมลู ที่ผิด หรือ misinformation คือ

1 Google Trend Map of the term Fake News https://trends.google.com/trends/explore?date=today%205-y&q=fake%20news
[accessed 06/04/2018].

44

ข้อมูลสารสนเทศที่ปลอมข้นึ มาหรือเป็นเท็จ แตบ่ คุ คลทเ่ี ผยแพร่เช่ือว่าเป็นความจริง สว่ นขอ้ มลู บิดเบือน หรอื disinformation หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2
คือข้อมูลที่ถูกบิดเบือนและบุคคลท่ีเผยแพร่ก็รู้แก่ใจว่าไม่เป็นความจริง เป็นการเจตนาโกหก และมีเป้าหมายคือกลุ่มคนที่ถูก
หลอกไดง้ ่ายโดยผูไ้ ม่ประสงคด์ ี254
ประเภทท่ีสาม อาจเรียกว่า ข้อมูลท่ีแฝงเจตนาร้าย หรือ malinformation คือข้อมูลท่ีมีพื้นฐานของความจริงแต่ถูกนาไปใช้
เพ่ือทาร้ายบุคคล องค์กร หรือประเทศ ตัวอย่างเช่น รายงานที่เปิดเผยรสนิยมทางเพศของบุคคลโดยไม่ก่อให้เกิดประโยชน์
สาธารณะ การแยกแยะข้อความที่เป็นจริงจากข้อความท่ีเป็นเท็จมีความสาคัญ ทว่าการแยกแยะข้อความท่ีเป็นจริง (และ
ข้อความท่ีมีความจริงเพียงบางส่วน) แต่ถูกสร้าง ผลิต หรือเผยแพร่โดย ‘ตัวแทน’ ที่มีเจตนาร้ายมากกว่ารับใช้ประชาชนก็มี
ความสาคัญเช่นกัน ข้อมูลท่ีแฝงเจตนาร้ายดังกล่าว เช่น ข้อมูลที่เป็นความจริงท่ีมีการละเมดิ ความเป็นส่วนตัวของบุคคลโดยไม่
ก่อให้เกิดประโยชนส์ าธารณะถอื เปน็ สิ่งที่ขัดต่อมาตรฐานและจรยิ ธรรมของการเสนอข่าว
หากไม่แยกแยะความแตกต่างดังข้างต้นแล้ว ผลท่ีเกิดขึ้นตามมาท้ังด้านสภาพแวดล้อมของสารสนเทศและด้านสังคมอาจ
คล้ายกนั (เชน่ ทาให้บรู ณภาพของกระบวนการประชาธปิ ไตยเสยี หาย อตั ราการเข้ารับการฉีดวัคซีนลดลง เปน็ ตน้ ) นอกจากนี้
บางกรณีก็เป็นการรวมแนวคิดทั้งสามน้ีไว้ด้วยกัน และมีหลักฐานว่าแนวคิดหนึ่งมักเกิดร่วมกับอีกแนวคดิ หน่งึ (เช่น เกิดขึ้นใน
พื้นท่ีสื่ออ่ืน ๆ หรือเกิดเรียงลาดับกันไป) ตามแผนกลยุทธ์ทางข้อมูลของใครบางคน อย่างไรก็ดี การคานึงถึงความแตกต่าง
เหล่านี้มีประโยชนเ์ พราะข้อมลู เหลา่ นอี้ าจมสี าเหตุ เทคนิคและวธิ กี ารแก้ไขทแี่ ตกตา่ งกนั

เนื้อหาชักนาใหเ้ ขา้ ใจผดิ ขา่ วปล่อย (บาง
กรณ)ี (บางกรณี)
(บางกรณ)ี

ภาพท่ี 1 ‘ความผิดปกตขิ องขอ้ มูลขา่ วสาร’
การเลือกต้ังประธานาธบิ ดฝี รงั่ เศสในปี พ.ศ. 2560 เปน็ ตัวอย่างของ “ความผดิ ปกตขิ องขอ้ มลู ขา่ วสาร” ทั้งสามประเภท

2 รายละเอียดเพม่ิ เตมิ ของคานยิ ามตา่ ง ๆ พบไดใ้ นงานวิจัยของ Karlova and Fisher (2012).

45

1. ตวั อย่างขอ้ มลู บดิ เบอื น หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2
หน่ึงในความพยายามสรา้ งเรื่องหลอกลวงเกยี่ วกับแผนรณรงค์เลอื กตัง้ ของฝรงั่ เศส คือการปลอมหนังสือพมิ พ์ เลอ ซัวร์355 ของเบล
เยยี่ มขึน้ มาอยา่ งแยบยล พรอ้ มกบั บทความเท็จทบ่ี อกว่านายเอม็ มานูเอล มาครง ผูส้ มัครรบั เลือกตั้งประธานาธิบดี รบั เงินสนบั สนุน
จากประเทศซาอุดิอาระเบีย อีกตัวอย่างหนึ่งคือเอกสารที่ส่งต่อกันในโลกออนไลน์ท่ีสรา้ งเรื่องข้ึนมาว่า นายมาครงมีบญั ชีธนาคาร
ต่างประเทศในบาฮามาส456 และตัวอย่างสุดท้ายคือข้อมูลบิดเบือนท่ีแพร่กระจายผ่าน 'การโจมตีทวิตเตอร์” โดยเครือข่ายของ
บุคคลกลุม่ หน่งึ ซึ่งทวีตขอ้ ความในเวลาเดยี วกนั และใชแ้ ฮชแท็กเดยี วกัน เพื่อปล่อยขา่ วลือเก่ียวกับชีวิตส่วนตวั ของนายมาครง
2. ตวั อย่างข้อมลู ท่ผี ิด
การก่อการร้ายบนถนนชองส์ เอลิเซ่ ในกรุงปารีส เม่ือวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2560 ทาให้เกิดข้อมูลท่ีผิดเป็นจานวนมาก557
เช่นเดียวกับกรณีรายงานข่าวด่วนเกือบทง้ั หมดทคี่ นจานวนมากในสอื่ สงั คมเผยแพร่ข่าวลือไปโดยไมร่ ู้ เช่นข่าวที่ตารวจรายที่
สองถกู สงั หาร คนท่ีสง่ ตอ่ เนอ้ื หาประเภทนสี้ ว่ นมากไมม่ เี จตนาร้าย เพยี งแตม่ ีความสนใจในเหตกุ ารณป์ ัจจุบนั และพยายามจะ
ชว่ ย แตไ่ ม่ได้ตรวจสอบและค้นหาวา่ ขอ้ มูลท่สี ่งต่อเปน็ ความจรงิ หรือไม่
3. ตวั อย่างของขอ้ มลู ทแ่ี ฝงเจตนารา้ ย
ตัวอย่างท่ีเห็นได้ชัดของข้อมูลที่แฝงเจตนารา้ ย คือเหตุการณ์ปล่อยอีเมลของนายเอ็มมานูเอล มาครง ในช่วงก่อนการเลือกตั้ง
รอบสองเม่ือวันท่ี 7 พฤษภาคม โดยที่อีเมลน้ันเป็นของจริง แต่การปล่อยข้อมูลส่วนตัวในพ้ืนท่ีสาธารณะเพียงไม่กี่นาทีก่อน
มาตรการสงั่ ห้ามรายงานข่าวการเลอื กต้งั ช่วงก่อนการลงคะแนนเสยี ง เป็นการปล่อยข่าวที่ออกแบบมาเพื่อสร้างความเสียหาย
ให้กบั แผนการรณรงค์ของนายมาครงให้ได้มากที่สุด
คาวา่ โฆษณาชวนเชอ่ื ไมเ่ หมอื นกบั ข้อมูลบดิ เบอื น แม้ว่าข้อมูลบดิ เบือนอาจถูกใช้เพ่ือส่งเสริมโฆษณาชวนเชอ่ื ได้ แตโ่ ฆษณาชวน
เชื่อมักมีการดัดแปลงที่เห็นได้ชัดกว่าข้อมูลบิดเบือน เพราะส่วนใหญ่โฆษณาชวนเชื่อเน้นการส่งเนื้อความท่ีมีผลต่อความรู้สึก
และอารมณ์มากกว่าการให้ขอ้ มลู 658
ในหน่วยการเรียนรู้น้ี เราเน้นไปที่ข้อมูลท่ีผิดและโดยเฉพาะอย่างย่ิงข้อมูลบิดเบือน โดยให้ตัวอย่างประเภทของข้อมูลทั้งสอง
แบบเพมิ่ เติม
ทง้ั นไ้ี ม่ควรนาประเภทของข้อมูลบดิ เบือน ขอ้ มูลทผี่ ิด ขอ้ มูลทีแ่ ฝงเจตนารา้ ย ดงั กลา่ วขา้ งต้น มาปะปนกับเนื้อหาข่าวท่แี ท้จริง
ท่มี วี ธิ กี ารบอกเล่าทไ่ี ม่เหมือนกนั

3 CrossCheck, 2017. Was Macron’s campaign for French Presidency financed by Saudi Arabia?: Available at
https://crosscheck.firstdraftnews. org/checked-french/macrons-campaign-french-presidency-financed-saudi-arabia/ [accessed
03/04/2018].

4 CrossCheck, 2017. Did Emmanuel Macron Open an Offshore Account? CrossCheck, Available at
https://crosscheck.firstdraftnews.org/checked-french/emmanuel-macron-open-offshore-account/ [accessed 03/04/2018].

5 ตัวอย่างหน่งึ ไดแ้ กข่ ่าวลอื วา่ ชาวมุสลิมในประเทศองั กฤษเฉลมิ ฉลองการโจมตนี ี้ ซึง่ ถกู หักลา้ งโดยโครงการ CrossCheck: CrossCheck, (April 22, 2017) Did
London Muslims ‘celebrate’ a terrorist attack on the Champs-Elysees? CrossCheck, Available at https://crosscheck.
firstdraftnews.com/checked-french/london-muslims-celebrate-terrorist-attack-champs-elysees / [accessed 03/04/2018].

6 Neale, S. (1977). Propaganda. Screen 18-3, pp 9-40

46

ตัวอย่างเช่น นักข่าวอาจเขียนว่า "แม้จะเทียบกับกรณีของ เบอร์น่ี แมดอฟฟ์ ไม่ได้ แต่ข้อกล่าวหาเร่ืองการทุจริตในคดีใหม่นี้ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2
ส่งผลต่อนักลงทุนรายย่อยเป็นอย่างมาก" ในขณะที่ผู้เขียนคนอ่ืนอาจเขยี นไปอีกแบบโดยไม่ผิดกไ็ ด้ เช่น "ข้อกล่าวหาเรื่องการ
ทจุ ริตในกรณีใหม่นมี้ ีผลตอ่ นักลงทนุ รายย่อยเป็นอยา่ งมาก แต่ยังเทียบไมไ่ ด้กับกรณีของเบอรน์ ี่ แมดอฟฟ"์ การเรยี บเรียงคาพดู
แบบที่สองลดทอนความสาคัญของการทุจริตในกรณีใหม่เม่ือเปรียบเทียบกับแบบแรก ความแตกต่างในเร่ืองการเน้น
ความสาคัญในตวั อยา่ งเหล่าน้ี ไม่ไดท้ าใหข้ ้อมูลที่ผดิ หรือขอ้ มลู บดิ เบือนคงอยู่ถาวรเสยี ทเี ดยี วดังที่อธิบายไว้ดา้ นล่าง ตวั อย่างน้ี
อาจเป็นวิธที ถี่ ูกต้องทั้งคใู่ นการใหค้ วามหมายตอ่ เหตุการณ์เดยี วกนั
ประเด็นคือไม่ว่าจะเป็นข่าว ข้อมูลบิดเบือน ข้อมูลท่ีผิด หรือข้อมูลที่แฝงเจตนาร้าย ต่างก็มีการเล่าเร่ืองด้วยกันทั้งส้ิน ดังน้ัน
การเล่าเร่ืองจึงแฝงอยู่ในข้อเท็จจริงท่ีเห็นอยู่ในข่าว (หรือในข้อเท็จจริงที่ถูกแต่งข้ึนมาหรืออยู่นอกบริบทในกรณีที่การส่ือสาร
เป็นพิษ) บางคร้ัง ข่าวอาชญากรรมท่ีไม่ใช่ข้อมูลบิดเบือนหรือข้อมูลประเภทอ่ืน ๆ ในตระกูลเดียวกัน อาจมองว่าการกลา่ วถงึ
เชอ้ื ชาตหิ รือสญั ชาติของผกู้ ระทาผดิ และผ้เู คราะหร์ า้ ยโดยคาดวา่ ขอ้ สันนษิ ฐานนั้นมีความเก่ียวข้อง ซ่ึงอาจเป็นความจรงิ ก็ได้ทผ่ี ู้
ถกู กล่าวหาว่าเป็นโจรจะเป็นผอู้ พยพและเป็นเพศชาย ส่วนผทู้ ตี่ กเปน็ เหยอ่ื เปน็ ผู้หญงิ และเป็นคนในชาติ แตไ่ ม่ว่าเรอ่ื งนจ้ี ะเป็น
จุดเด่นของเนื้อหาหรือไมก่ ็ใช่หน้าท่ีของนักข่าวผู้มีอานาจในการสืบสวน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นส่วนหน่ึงของหลักการวารสาร
ศาสตร์เป็นมุมมอง การให้ความสาคัญในการเล่าเรื่อง และความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลท่ีผู้สื่อข่าวหยิบยกขึ้นมากล่าวไม่ว่าจะ
โดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม น่ีเป็นหนึ่งในหลายเหตุผลว่าเพราะเหตุใด “การตรวจสอบข้อเท็จจริง” จึงสามารถทาร่วมกับ “การ
แยกส่วนประกอบเร่ือง” ซ่ึงหมายถึงการตรวจสอบโครงสร้างความหมายเพ่ือดูว่าการจัดเรียงข้อเท็จจริงและส่ิงที่ไม่ใช่
ขอ้ เทจ็ จริงในเรื่องมจี ดุ ม่งุ หมายใด การเลา่ เร่อื งในงานขา่ วท่ีถูกต้องอาจมีได้หลายแบบ และการเล่าเรอื่ งในขา่ วกไ็ ม่ไดท้ าให้การ
เสนอข่าวตามหลักวารสารศาสตร์ไมแ่ ตกตา่ งจากการเล่าเรือ่ งในรูปแบบอื่น ๆ ทง้ั เจด็ แบบดา้ นล่างน้ี

1. เร่ืองเสียดสแี ละลอ้ เลียน
การรวมเรอ่ื งเสียดสเี ข้าไว้ในประเภทข้อมูลบดิ เบอื นและขอ้ มูลท่ีผิดอาจดูแปลก เพราะอาจถอื ไดว้ า่ เร่ืองเสยี ดสแี ละลอ้ เลยี นเปน็
ศิลปะรูปแบบหนึ่ง แต่ในโลกที่คนได้รับข้อมูลข่าวสารผ่านทางสือ่ สงั คมมากข้ึน ทาให้เกิดความสับสนเมื่อผู้รบั ข่าวสารไมเ่ ข้าใจ
ว่าเปน็ ข่าวจากเว็บไซต์เสียดสี ตวั อยา่ งเชน่ เวบ็ ไซต์ คาบารสิ ถาน ไทมส์ ซึ่งเปน็ คอลมั นแ์ ละสว่ นหน่งึ ของเวบ็ ข่าว ปากีสถาน ทู
เดย์759 ซง่ึ ถูกบลอ็ กในปากีสถานเม่ือมกราคม พ.ศ. 2560 และได้ปิดตวั ลงไปแล้ว860

7 Pakistan Today (2018). Anthropologists make contact with remote cut-off tribe still thanking Raheel Sharif. [online] p.Khabaristan Today.
Available at: https://www.pakistantoday.com.pk/2017/01/11/anthropologists-make-contact-with-remote-cut-off-tribe-still-thanking-raheelsharif/
[accessed 06/04/2018].

8 หนึ่งในแหลง่ ขอ้ มลู สาหรบั การปรกึ ษาคืองานที่เขยี นโดย จูล่ี โพเซต็ ติ ซึ่งเป็นบรรณาธกิ ารรว่ มของหนังสือเลม่ น้ี รว่ มดว้ วย อลิซ แมทธิวส์ อา่ นได้ใน: (รอติดตาม)

47

2. การเชอ่ื มโยงทีเ่ ป็นเท็จ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2
ตัวอย่างของการเช่ือมโยงที่เป็นเท็จคอื เมือ่ พาดหวั ข่าว ภาพ หรือคาอธิบายภาพไม่สอดคล้องกบั เนื้อหา ท่ีพบบ่อยท่ีสุดคือพาด
หัวข่าวที่หลอกให้คลิกเข้าไปดู เน่ืองจากการแย่งความสนใจของผรู้ ับสารมเี พ่ิมมากข้ึน บรรณาธิการจึงจาเปน็ ตอ้ งเขยี นพาดหัว
ข่าวที่ดึงดูดให้คนคลิกเข้าไปดูมากย่ิงขึ้น แม้ว่าผู้อ่านจะรู้สึกว่าถูกหลอกเม่ือคลิกเข้าไปอ่านเน้ือหาก็ตาม ตัวอย่างที่ร้ายแรง
มหนั ตค์ อื เวบ็ ไซต์ เดอะ โพลิตคิ ัล อินไซด์เดอร์ 961 นอกจากน้ี การเชื่อมโยงทีเ่ ป็นเท็จยังรวมถงึ การใชภ้ าพและคาอธิบายภาพท่ี
ทาให้เกดิ ความเข้าใจท่ไี มต่ รงกับเนอื้ หาโดยเฉพาะในเวบ็ อย่างเฟซบุ๊ก ซึ่งเมื่อผใู้ ชเ้ ล่ือนดฟู ีดในหน้าสือ่ สงั คมโดยไมไ่ ด้อ่านเนอ้ื หา
(ซ่งึ เกิดข้ึนบ่อย) ภาพและคาอธิบายภาพที่ทาให้เข้าใจผิดน้ันกจ็ ะย่ิงเปน็ การหลอกลวง
3. เนื้อหาทีท่ าใหเ้ ขา้ ใจผิด
เน้ือหาประเภทนี้คือการใช้ข้อมูลในลักษณะท่ีทาให้เกิดการเข้าใจผิดเพ่ือตั้งประเด็นหรอื ใสร่ ้ายบุคคลให้เสยี หาย ด้วยการตัด
ต่อภาพถ่าย หรือเลือกท่ีจะอ้างคากล่าวหรือสถิติที่จงใจคัดสรรมา เรียกว่าทฤษฎีการตีกรอบ หรือ Framing Theory1062
ตัวอย่างดูได้ในเว็บ Rappler.com1163 ที่แสดงให้เห็นว่าสอื่ ภาพเปน็ เคร่ืองมือที่มปี ระสิทธิภาพโดยเฉพาะในการเผยแพรข่ ้อมลู
ที่ก่อให้เกิดการเข้าใจผิด เพราะสมองของคนเรามีแนวโน้มที่จะจับผิดสื่อท่ีเป็นภาพน้อยกว่า1264 โฆษณาที่มีรูปแบบเน้ือหา
เลียนแบบบทบรรณาธิการ ท่ีเรียก Native advertising ก็นับเป็นข้อมูลประเภทนี้ด้วยเช่นกันหากไม่มีการระบุให้เห็นอย่าง
ชดั เจนวา่ ไดร้ ับเงินสนบั สนนุ 1365
4. บรบิ ททเี่ ปน็ เท็จ
หนึง่ ในเหตุผลหลกั ท่ีคาว่า 'ข่าวปลอม' ใชไ้ ม่ไดน้ ั้น เปน็ เพราะบอ่ ยครัง้ ท่เี นื้อหาจริงถูกนามาเผยแพร่นอกบรบิ ทเดมิ ตัวอย่างเช่น
ภาพที่ถ่ายในเวียดนามในปี พ.ศ. 2550 ถูกส่งต่อในอีกเจ็ดปีต่อมาโดยอ้างว่าเป็นภาพหลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เนปาลในปี
พ.ศ. 2558 1466

9 The Political Insider (2015). First time voter waited 92 years to meet Trump... what happened next is AMAZING! [online] Available
at: https:// thepoliticalinsider.com/first-time-voter-waited-92-years-to-meet-trump-what-happened-next-is-amazing/ [accessed
06/04/2018].

10 Entman, R., Matthes, J. and Pellicano, L. (2009). Nature, sources, and effects of news framing. In: K. Wahl-Jorgensen and T.
Hanitzsch (Contributor), ed., Handbook of Journalism studies. [online] New York: Routledge, pp.196-211. Available at:
https://centreforjournalism.co.uk/ sites/default/files/richardpendry/Handbook%20of%20Journalism%20Studies.pdf [accessed 03/04/
2018].

11 Punongbayan, J. (2017). Has change really come? Misleading graphs and how to spot them. Rappler.com.
[online] Available at: https://www.
rappler.com/thought-leaders/20177731-duterte-change-fake-news-graphs-spot [accessed 06/04/2018].

12 ดูบทความของ ฮนั นาห์ กาย ในสว่ นเอกสารทต่ี อ้ งอา่ นของบทน้ี
13 ดู หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี สาม
14 Pham, N. (2018). Haunting ‘Nepal quake victims photo’ from Vietnam. BBC. [online] Available at:

http://www.bbc.co.uk/news/worldasia-32579598 https://www.rappler.com/thought-leaders/20177731-duterte-change-fake-news-
graphs-spot [accessed 06/04/2018].

48

5. เน้อื หาทเี่ ป็นการแอบอ้าง หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2
ปญั หาเกิดข้นึ เม่อื สงิ่ ทนี่ ักขา่ วเขยี นถกู คนอน่ื นาไปใช้ในบทความอ่ืน หรือการที่โลโกข้ ององคก์ รถูกนาไปใชใ้ นวดี ิทัศนห์ รือภาพที่
องคก์ รนั้นไม่ได้เปน็ ผผู้ ลติ ตัวอยา่ งเชน่ กอ่ นหน้าการเลอื กตง้ั ที่เคนยาในปี พ.ศ. 2560 บีบซี แี อฟริกาพบว่ามีคนทาวดิ โี อทมี่ ีโลโก้
และสโลแกนของบีบีซีท่ีถูกตัดต่อใส่เข้าไป และถูกส่งต่อกันใน WhatsApp1567 จนบีบีซีต้องผลิตวิดีโอเผยแพร่ทางส่ือสงั คมเพ่ือ
เตอื นไมใ่ หค้ นหลงเช่ือวิดโี อปลอมดงั กล่าว
6. เน้ือหาท่ถี ูกดดั แปลง
เน้ือหาที่ถูกดัดแปลง คือเน้ือหาจริงท่ีถูกดัดแปลงเพ่ือหลอกลวง ตัวอย่างจากแอฟริกาใต้เป็นภาพตัดต่อของ เฟเรียล ฮัฟฟาจี
นกั ขา่ วอสิ ระของเว็บ Huffpost หนึง่ ในนัน้ เปน็ ภาพของเธอนั่งอยูบ่ นตักของนักธรุ กิจที่ช่ือ โจฮัน รูเพริ ต์ เพอ่ื กลา่ วหาวา่ ท้งั สองมี
ความสัมพันธ์กัน1668

7. เน้อื หาท่กี ขุ ึน้ มา
เนื้อหาประเภทนี้อาจอยู่ในรูปของข้อความ เช่น “เว็บข่าว” ที่กุข่าวข้ึนเองท้ังหมดอย่าง WTOE5 News ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่
ประกาศตัวว่าเป็นเว็บข่าวกุท่ีตีพิมพ์บทความว่าสมเด็จพระสนั ตปาปาทรงรับรองให้โดนลั ด์ ทรัมป์เป็นประธานาธิบดี หรืออาจ
เปน็ รปู ภาพ อย่างในกรณที ่ีมีการทาภาพกราฟิกขึ้นมาเพ่ือบอกประชาชนวา่ สามารถลงคะแนนให้ฮลิ ลารี คลนิ ตันผ่านทาง SMS
ได้ ซึ่งไม่ใช่ความจริงแต่อย่างใด1769 กราฟิกเหล่านี้มีเป้าหมายที่ชนกลุ่มน้อยตามเครือข่ายสังคมในช่วงการเลือกตั้ง
ประธานาธิบดีสหรฐั
ประชาชนท่ัวไปโดยเฉพาะอย่างย่ิงนักข่าวจาเป็นต้องแยกแยะ “องค์ประกอบ” ของ “ความผิดปกติของข้อมูลข่าวสาร” อัน
ไดแ้ ก่ ตัวการผลติ ขอ้ ความ และผู้ตคี วาม โดยมีคาถามสาหรับแต่ละองค์ประกอบ ตวั การทก่ี ุเนื้อหาขึ้นมาเองอาจเปน็ คนละคน
กับตัวการท่ีผลิตเนื้อหา และอาจเป็นคนละคนกับตัวการท่ีส่งต่อข้อความ ในทานองเดียวกัน ก็ต้องเข้าใจอย่างถ่องแท้ด้วยว่า
ตัวการเหลา่ น้เี ป็นใครและมแี รงจูงใจอะไร อกี ท้ังยังต้องเขา้ ใจขอ้ ความประเภทต่าง ๆ ที่ส่งต่อดว้ ยเพ่ือให้สามารถประเมนิ ความ
รา้ ยแรงและดาเนินการแก้ไขต่อไปได้ (ข้อถกเถียงจนถงึ ปจั จบุ ันเน้นไปท่ีเว็บไซตข์ ่าวกุเป็นอยา่ งมาก แต่เนอื้ หาท่ีเป็นภาพกม็ ีการ
แพร่กระจายอยา่ งกวา้ งขวางไมแ่ พ้กนั อีกท้งั ยังระบุท่ีมาและหักล้างได้ยากกวา่ )
สุดท้ายน้ี จาเป็นต้องพิจารณา “ข้ันตอน” ทั้งสามของ ‘ความผิดปกติของข้อมูลข่าวสาร’ อันได้แก่ การสร้าง การผลิต และ
การเผยแพร่ (ภาพท่ี 2) การพิจารณาขนั้ ตอนต่าง ๆ ของตัวอย่าง ‘ความผิดปกติของข้อมูลข่าวสาร’ เป็นเรื่องสาคัญท่ีต้องทา
ควบคูไ่ ปกบั การพจิ ารณาองค์ประกอบ เนือ่ งจากตัวการทเ่ี ปน็ ผูบ้ งการเนอื้ หามักเปน็ คนละคนกับผผู้ ลิตและผเู้ ผยแพร่

15 BBC (2017). Kenya election: Fake CNN and BBC news reports circulate. [Online] Available at: http://www.bbc.co.uk/news/worldafrica-
40762796 [accessed 06/04/2018]

16 Haffajee, F. (2017). Ferial Haffajee: The Gupta fake news factory and me. HuffPost South Africa. [online] Available at: https://www.
huffingtonpost.co.za/2017/06/05/ferial-haffajee-the-gupta-fake-news-factory-and-me_a_22126282/ [accessed 06/04/2018].

17 Haltiwanger, J. (2016). Trump Trolls Tell Hillary Clinton Supporters They Can Vote Via Text. Elite Daily. Available at
https://www.elitedaily. com/news/politics/trump-trolls-hillary-clinton-voting-text-message/1680338 [accessed on 23/03/2018].

49

เปน็ ทางการ / ไมเ่ ป็นทางการ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2

ตวั แทน ระดบั ของกระบวนการอตั โนมตั ิ:
Automation:
เจตนาในการทาร้าย:

ระยะเวลา:
ความชอบด้วยกฎหมาย:

ภาพที่ 2 องค์ประกอบ 3 ประการ ‘ความผดิ ปกตขิ องขอ้ มลู ขา่ วสาร’
ตัวอย่างเช่น แรงจูงใจของผบู้ งการท่ี 'สร้าง' ข้อมูลบิดเบือนโดยการสนับสนุนของรัฐ ย่อมแตกตา่ งจากงาน 'ก่อกวน' ที่จ้างมา
ในราคาถูกเพ่ือใหน้ าแนวคิดของแคมเปญไปทาเป็นโพสต์ และเม่ือข้อความแพรก่ ระจาย ย่อมสามารถทาซา้ และแจกจา่ ยโดย
ไม่มีทส่ี นิ้ สดุ โดยบุคคลมากมายท่มี แี รงจูงใจแตกต่างกัน ตวั อยา่ งเช่น โพสต์ในสื่อสังคมสามารถเผยแพร่โดยกลมุ่ ตา่ ง ๆ เพอื่ ให้
สื่อหลัก (ท่ีทางานโดยขาดการตรวจสอบที่เพียงพอ) หยิบไปผลิตซ้าและเผยแพร่ต่อไปยังกลุ่มอื่น ๆ ต่อไป ซ่ึงการจาแนก
‘ความผดิ ปกติของขอ้ มูลข่าวสาร’ ในลักษณะนี้เท่าน้ันทจ่ี ะทาใหเ้ ราเขา้ ใจข้อแตกต่างเหล่านไี้ ด้1870

18 หมายเหตุจากกองบรรณาธกิ าร: กราฟกิ เพิ่มเตมิ ทีอ่ าจนามาพจิ ารณารว่ มดว้ ยสามารถแสดงได้ดังนี้

ผู้กระทา: รัฐบาล, การปฏิบัติการดา้ น การใชโ้ ปรแกรม
จิตวิทยา, พรรคการเมือง, ผปู้ ระกอบการ,
บริษัทประชาสัมพนั ธ์, บุคคลทั่วไป, ส่อื

ผลิตเนอื้ หา เช่น เรอื่ งราว ความ มักไม่เปิดเผยตัวตน แอบอา้ งผู้อ่ืน หรอื ใช้ หน้าจอแบบอนิ เทอร์แอค็ ทฟี
คิดเห็น “ไลก”์ วิดีโอ มมี หรอื ภาพ ตวั ตนปลอม
ล้อเลยี น

ส่งตอ่ เน้ือหา เช่น การแชร์ หรอื ให้ลิงก์ไป ควบคมุ และนาบอทมาใช้ บอทส์
ยงั เนือ้ หา

“ตดั ต่อ” เนื้อหา เช่น แก้ไขดดั แปลง การแฮก็ ข้อมลู และ การจัดการเนอื้ หา อลั กอรทิ มึ
ลดทอน และ รวบรวมเนื้อหา

ตาราง กรอบของความเปน็ พษิ – ความนา่ เช่อื ถอื ของขอ้ มลู ถูกทาใหเ้ สยี หายอยา่ งไรไดบ้ า้ ง

50


Click to View FlipBook Version