The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือเพื่อการศึกษาและฝึกอบรมด้านวารสารศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by GM, 2020-02-19 03:37:06

คู่มือเพื่อการศึกษาและฝึกอบรมด้านวารสารศาสตร์

คู่มือเพื่อการศึกษาและฝึกอบรมด้านวารสารศาสตร์

ทม่ี า: Berger, G. 2017. https://en.unesco.org/sites/default/files/fake_news_berger.pdf [เขา้ ถึงเมอ่ื 22/04/2018]. หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2
ตัวอยา่ งเว็บไซต์ทต่ี ีพิมพ์ขา่ วไวรลั ที่วา่ สมเด็จพระสันตปาปาทรงสนบั สนุนโดนลั ด์ ทรมั ป์ผสู้ มคั รรับเลอื กตาแหนง่ ประธานาธิบดี
เปน็ หน่ึงในตวั อย่างทร่ี ู้จักกันดที ่ีสดุ 1971 ถือเปน็ กรณศี ึกษาทเี่ ป็นประโยชน์ตอ่ การพิจารณาขั้นตอนของ ‘ความผดิ ปกตขิ องข้อมูล
ข่าวสาร’ (ดูภาพท่ี 3)

การสร้าง______ การผลิต______ การกระจาย______

กาบบรทคุสคครวลา้ านงมริ ทนเ่ีาขมยี นโดย บซทง่ึ เคปกว็นาารสมผว่ ถนลูกหิตตนพี ่งึ มิ ขพอบ์งเนคเรวอื บ็ ขไ่าซยตเว์ Wบ็ ขTา่OวEกSุ 453Nเeวwบ็ sท่ี บทความถูกสง่ ต่อผ่านทาง
การแจกจา่ ย เฟซบุ๊กโดยผทู้ ท่ี างานใหก้ บั
ตพี มิ พไ์ ปแลว้ มากกกว่า 750 บทความ เครอื ขา่ ยเวบ็ ขา่ วกนุ ้ี

การสรา้ ง

การผลิตซา้ ________

บทความถูกส่งต่อโดยผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เครอื ขา่ ยเวบ็ ไซตข์ า่ วกเุ พอ่ื ขยายผลเพอ่ื เพม่ิ ผลประโยชน์

บทความถูกสง่ ต่อทางเฟสบุ๊คโดยผสู้ นบั สนุนทรมั ป์

บทความถูกส่งต่อโดยกลมุ่ ทไ่ี ดป้ ระโยชน์จากการทท่ี รมั ป์ ชนะ (เชน่ เป็นเน้อื หาทถ่ี ูกขยายโดย
กลมุ่ ก่อกวนหรอื เครอื ขา่ ยบอ็ ต)

บทความถูกสง่ ต่อโดยโดยผสู้ นบั สนุนฮลิ ลารี คลนิ ตนั เพอ่ื ใชเ้ ป็นหลกั ฐานวา่ ผสู้ นบั สนุนทรมั ป์ ถกู
หลอก

ภาพที่ 3 ขน้ั ตอนของ ‘ความผดิ ปกตขิ องข้อมลู ข่าวสาร’

เป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้

ɒ เพื่อใหผ้ ู้บริโภคใช้วจิ ารณญาณพจิ ารณาข้อมูลออนไลนม์ ากขึ้น โดยคานึงถึงขอบเขตอย่างกว้างของข้อมลู บิดเบือน
และขอ้ มลู ท่ผี ดิ

ɒ เพ่ือให้คิดวิเคราะห์เก่ียวกับคนที่สร้างข้อมูลประเภทน้ี (ซึ่งมักไม่เปิดเผยตัวตนหรือแอบอ้างเป็นผู้อ่ืน) ดูข้อมูลว่า
เปน็ รูปแบบใด สามารถตีความได้อยา่ งไรบา้ ง และมีวิธีการแพร่กระจายอยา่ งไร

19 WTOE 5News (2016). Pope Francis shocks world, endorses Donald Trump for President, releases statement. [online] Available at:
https://web.archive.org/web/20161115024211/http://wtoe5news.com/us-election/pope-francis-shocks-world-endorses-donald-
trump-forpresident-releases-statement/ [accessed 06/04/2018].

51

ɒ เพอื่ ใหเ้ ข้าใจความซับซ้อนของ ‘ความผิดปกติของข้อมลู ขา่ วสาร’ โดยเฉพาะความจาเป็นในการแยกแยะระหว่าง หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2
ผทู้ ี่สร้างข้อมูลเหล่านี้ รปู แบบทใี่ ชใ้ นการสร้างขอ้ มลู และวิธกี ารทผ่ี ้รู บั สารส่งต่อขอ้ ความดังกล่าว

ɒ เพอ่ื ใหส้ ามารถพิจารณาความยากลาบากในการแก้ไขปญั หาข้อมูลบิดเบือนและขอ้ มูลที่ผดิ
ɒ เพื่อเนน้ ย้าปญั หาของ ‘ความผดิ ปกตขิ องขอ้ มลู ขา่ วสาร’ ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ ระบอบประชาธปิ ไตยและสงั คมเปดิ ซ่ึง

เปน็ หัวขอ้ ของหนว่ ยการเรยี นรทู้ แี่ ล้ว
ผลการเรยี นรู้

เม่อื จบหนว่ ยการเรยี นรนู้ ี้ ผเู้ รยี นควร
1. เหน็ คณุ คา่ ของการท่ีประเด็นน้ีไดถ้ กู หยิบยกขน้ึ มา อภปิ ราย โตแ้ ยง้ และพฒั นาจนเปน็ วาระ โดยนกั การเมอื ง
ส่อื และนกั วิชาการ
2. เข้าใจว่าอนั ตรายและการหลอกลวงเกีย่ วขอ้ งกับวธิ ีการพิจารณา ‘ความผดิ ปกติของขอ้ มูลขา่ วสาร’เปน็ อยา่ งไร
3. เข้าใจขอ้ มูลทีผ่ ดิ และข้อมลู บดิ เบอื นประเภทตา่ ง ๆ และรจู้ กั นาไปใช้กับตวั อยา่ งไดห้ ลากหลาย
4. ใช้ความคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณกบั ตัวอยา่ งของข้อมลู บดิ เบือน โดยแยกแยะไดว้ า่ ใครเป็นคนต้นคดิ และ/หรอื
สร้างข้อมูลน้ี เน้ือความมลี กั ษณะเปน็ อย่างไร และผรู้ บั สารสามารถตคี วามอยา่ งไรได้บา้ ง
5. อธิบายใหผ้ ูอ้ ่ืนเขา้ ใจถงึ ความสาคญั ของการพจิ ารณาปญั หานดี้ ว้ ยความระมดั ระวงั

รปู แบบของหนว่ ยการเรยี นรู้

การบรรยายภาคทฤษฎแี ละการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ
สไลดส์ าหรับหนว่ ยการเรียนร้นู ้ี2072ออกแบบมาสาหรับการอบรมเชงิ ปฏิบัติการทมี่ ีผ้เู ข้าอบรมเปน็ ศูนยก์ ลาง เน้นการระดม
สมองควบคไู่ ปกบั การ อภปิ รายแลกเปลีย่ น โดยจะใช้ระยะเวลานานข้ึน
อย่างไรก็ตาม เพ่ือให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรนี้ แนะนาให้ใช้เน้ือหาข้างต้นเป็นพ้ืนฐานสาหรับการบรรยายทาง
ทฤษฎี ส่วนแบบฝึกหัดปฏิบัติท่ีอยู่ในสไลด์สาหรับการสอน 90 นาที ผู้สอนควรใช้ประกอบการสอนร่วมกับการต้ังคาถาม
อภปิ รายและการฝึกปฏบิ ัติ
แบบฝึกหัดที่ 1: ดูรูปท่ี 4 ท่ีอธิบายข้อมูลบิดเบือนและข้อมูลท่ีผดิ ท้ัง 7 ประเภทด้านลา่ งน้ี ให้ผู้เข้าร่วมการอบรมจับคู่หรือกลุ่ม
ย่อย และยกตัวอยา่ งทตี่ รงกบั ประเภทของข้อมูลบิดเบือนและขอ้ มูลท่ผี ดิ เหล่านี้

20 สไลดส์ าหรบั ดาวนโ์ หลด https://en.unesco.org/sites/default/files/fake_news_syllabus_-_model_course_1_-_slide_deck.pdf

52

การเสียดสีหรือล้อเลียน เนื้อหาที่ทาให้เข้าใจผิด เนื้อหาท่ีแอบอ้าง เนื้อหาท่ีสรา้ งขนึ้ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2

ไม่มเี จตนารา้ ยแต่ การใชข้ อ้ มลู เพ่อื ชกั เมอ่ื แหล่งขอ้ มลู เน้อื หาใหมเ่ ป็นเทจ็
สามารถหลอกให้ นาใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจ ตน้ ฉบบั ถูกนาไปใช้ ทงั้ หมด โดยสรา้ งมา
หลงเช่อื ได้ ผดิ เกย่ี วกบั ประเดน็ แอบอา้ ง เพ่อื หลอกลวงและ
ปัญหาหรอื บคุ คล กอ่ ใหเ้ กดิ ผลรา้ ย

การเชื่อมโยงที่เป็ นเทจ็ บริบทที่เป็ นเทจ็ เนื้อหาที่ถกู ดดั แปลง

เมอ่ื พาดหวั ภาพ เม่อื เน้อื หาตน้ ฉบบั เมอ่ื ขอ้ มลู หรอื ภาพ
และคาบรรยายใต้ ถกู นาไปใชร้ ่วมกบั ตน้ ฉบบั ถกู ดดั แปลง
ภาพไมต่ รงกบั ขอ้ มลู ในบรบิ ทอน่ื เพ่อื หลอกลวง
เน้อื หา

ภาพท่ี 4 ‘ความผดิ ปกติของข้อมูลข่าวสาร’ เจด็ ประเภท - firstdraftnews.org
แบบฝกึ หัดท่ี 2 : ศึกษาแผนภาพเวนน์ (ภาพท่ี 1) ซึ่งอธิบายความแตกตา่ งระหวา่ งและขอ้ มลู ที่ผดิ ข้อมลู บิดเบือนและข้อมูลที่
แฝงเจตนาร้าย ทา่ นเหน็ ด้วยหรอื ไม่ มอี ะไรขาดหายไป มีขอ้ โต้แย้งหรอื ไม่
การเชอ่ื มโยงแผนการเรียนการสอนสู่ผลการเรียนรู้

ก. เชงิ ทฤษฎี จานวนชวั่ โมง ผลการเรียนรู้
90 นาที
การบรรยาย 1

การนาเสนอและอภิปรายในชน้ั เรยี น:
แบ่งปนั ความรเู้ ดมิ ของแตล่ ะคนเกยี่ วกับ
กรณขี ้อมลู บิดเบือน และข้อมลู ทผ่ี ดิ

53

ข. เชงิ ปฏบิ ัติ จานวนช่ัวโมง ผลการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2
45 นาที
การบรรยาย 2

แบบฝกึ หดั ที่ 1: ดรู ปู ท่ี 4 ซงึ่ อธบิ ายข้อมูล
บดิ เบือนและข้อมูลทผี่ ิด 7 ประเภท โดยจบั
เปน็ คู่หรือกลมุ่ ยอ่ ย และยกตวั อยา่ งที่ตรงกบั
ประเภทเหลา่ นี้

สร้างสตอรี่บอร์ด2173 สาหรบั การผลิตวิดีโอเพื่อให้บรษิ ทั ส่อื สังคมนาไปใสใ่ นหน้าฟีดขา่ ว เพือ่ ให้ความรู้แก่ผู้ใช้เรือ่ งสิ่งที่ควรระวัง
ในการบริโภคข้อมูลข่าวสารบนเว็บไซต์ ผู้เรียนอาจยกตัวอย่างข้อมูลบิดเบือนและข้อมูลที่ผิด ท่ีพบในหน่วยการเรี ยนรู้น้ี
ประกอบเพื่อย้าความเสี่ยงของการการกดไลก์ ส่งต่อ และแสดงความคิดเห็นในโพสต์ท่ีผู้อ่านยังไม่ได้ตัดสินว่าเป็นความจริง
หรือไม่ เคร่อื งมือสร้างสตอร่ีบอรด์ อย่างงา่ ยหาไดท้ น่ี ี่ http://www.storyboardthat.com/
เอกสารประกอบการสอน
สไลด์: https://en.unesco.org/sites/default/files/fake_news_syllabus_-_model_course_1_-_ slide_deck.pdf

อ่านเพม่ิ เตมิ

Berger, G. 2017. Fake news and the future of professional and ethical journalism. Presentation at conference
organized by the Joint Extremism/Digital Europe Working Group Conference of the European Parliament on 6
September 2017 https:// en.unesco.org/sites/default/files/fake_news_berger.pdf

Busby, M. I. Khan & E. Watling (2017) Types of Misinformation During the UK Election, First Draft News, Available at
https://firstdraftnews.com/misinfo-types-uk-election/

Guy, H. (2017) Why we need to understand misinformation through visuals, First Draft News, Available at
https://firstdraftnews.com/understanding-visual-misinfo/

21 หมายเหตุ: การทาสตอรีบ่ อรด์ เปน็ กระบวนการวางแผนเชงิ สรา้ งสรรคท์ ่ใี ชก้ ารโฆษณา ภาพยนตร์ สารคดี และวารสารศาสตร์ โดยแสดงภาพเนอ้ื หาขอ้ ความ
ภาพ หรือเสียงท่ดี าเนนิ ไปทีละเฟรม

54

Karlova, N.A. and Fisher, K.E. (2012) “Plz RT”: A Social Diffusion Model of Misinformation and Disinformation for หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2
Understanding Human Information Behaviour. Proceedings of the ISIC2012 (Tokyo). Available at
https://www.hastac.org/sites/default/files/documents/ karlova_12_isic_misdismodel.pdf
Silverman, C. (2017) This is How your Hyperpartisan Political News Get Made, BuzzFeed News, Available at

https://www.buzzfeed.com/craigsilverman/ how-the-hyperpartisan-sausage-is-made?
Wardle, C. & H. Derakhshan (2017) Information Disorder: Towards an Interdisciplinary Framework for Research and

Policy-Making. Council of Europe.
Available at https://firstdraftnews.com/resource/coe-report/
Wardle, C. & H. Derakhshan (2017) One year on, we’re still not recognizing the complexity of information disorder
online, First Draft News, Available at https://firstdraftnews.org/coe_infodisorder/
Zuckerman, E. (2017) Stop Saying Fake News, It’s Not Helping, My Heart’s in Accra, Available at
http://www.ethanzuckerman.com/blog/2017/01/30/ stop-saying-fake-news-its-not-helping/

55

ห น่ ว ย ก า ร เ รี ย น รู้ ท่ี 3

56

สาระสาคัญ

ยุคดิจิทัลได้รับการขนานนามว่าเป็น “ยุคทองแห่งวารสารศาสตร์”174 ยุคน้ีทาให้เราสามารถเข้าถึงข้อมูลสาคัญ ๆ
มากมายจนนาไปสู่นวตั กรรมการทาขา่ วเชิงสบื สวน275 การรายงานข่าวรปู แบบใหม่ ๆ ท่ีเกดิ จากความร่วมมอื ของภาคสว่ นตา่ ง
ๆ แบบไรพ้ รมแดน และการเข้าถึงขุมทรพั ยท์ างปัญญาและแหลง่ ข้อมลู อันหลากหลายเพียงคลิกเมาส์ อกี ท้ังยังทาใหเ้ กิดความ
ท้าทายใหม่ ๆ ท่ีคาดไม่ถึงตลอดเวลารวมถึงการเปล่ียนแปลงทางโครงสร้างของอุตสาหกรรมข่าวด้วย วงการข่าวกาลัง “ถูก
โจมตี”376 ในการเผชญิ หน้ากับ “ร่องมรสมุ ” ออนไลนท์ ่หี ล่อเลยี้ ง “ความผิดปกติของขอ้ มูลขา่ วสาร”477 ซง่ึ ประกอบไปด้วย:

ɒ การเพมิ่ ขึ้นของโฆษณาชวนเช่ือทางคอมพวิ เตอร์578 และการใชค้ วามหวาดระแวงเป็นอาวธุ 679
ɒ การเปลี่ยนแปลงของการโฆษณาจากเทคโนโลยดี ิจิทัล ทาให้รูปแบบการดาเนินธุรกิจของธุรกิจหนังสือพิมพ์แบบ

ดงั้ เดมิ ล่มสลายและทาใหเ้ กิดภาวะการว่างงานของคนจานวนมาก
ɒ การท่ีโฆษณาดิจิทัลไม่ได้สนับสนุนกิจการข่าวแทนโฆษณาสิ่งพิมพ์แบบเดิม (กูเกิลและเฟซบุ๊ก เป็นผู้ได้รับ

ประโยชน์หลักจากโฆษณาดิจทิ ัล)780
ɒ การหลอมรวมทางดิจทิ ัลท่ที าใหร้ ปู แบบการผลติ เนื้อหา การผลิตสอ่ื การตพี ิมพ์ และการจัดจาหน่ายเปลยี่ นไป ทา

ให้เกิดแรงกดดนั ในการทางานให้ทันกาหนดเวลามากข้นึ และนาไปสู่ภาวะการตกงานเพิ่มมากยงิ่ ข้ึนอีก
ɒ การคกุ คามผ่านช่องทางออนไลนท์ ่พี งุ่ เปา้ หมายท่นี ักขา่ ว (โดยเฉพาะนักขา่ วผูห้ ญิง) แหลง่ ข่าวและผอู้ า่ น881
ɒ การท่ีสื่อสังคมยกให้ผู้ใช้สื่อเป็นแหล่งค้นพบและเผยแพร่เน้ือหาใหม่ ๆ982 และเปิดโอกาสให้เข้ามามีส่วนร่วมใน

การผลิตข่าว (ซ่ึงมีประโยชน์หลายประการ แต่ก็เป็นการบ่อนทาลายความม่ันคงของการสืบทอดอานาจในการ

1 Posetti, J. (2017). Protecting Journalism Sources in the Digital Age UNESCO, Paris. p 104 http://unesdoc.unesco.org/
images/0024/002480/248054E.pdf [accessed 01/04/2018]. (Citing ICIJ Director, Gerard Ryle)

2 Obermayer, B. & Obermaier, F. (2016). The Panama Papers: Breaking the story of how the rich and powerful hide their money, One
World, London

3 UNESCO (2018). World Trends in Freedom of Expression and Media Development 2017/2018. UNESCO, Paris.
http://unesdoc.unesco.org/ images/0025/002597/259756e.pdf [accessed 29/03/2018].

4 Wardle, C. & Derakhshan, H. (2017). Council of Europe, Op Cit. Note: the video recording of a panel discussion at the 2018
International Journalism Festival, convened by the chapter author, is a resource that instructors may wish to use for the
operationalization of this module. https://www.journalismfestival.com/programme/2018/journalisms-perfect-storm-confronting-
rising-global-threats-from-fke-newsto-censorship-surveillance-and-the-killing-of-journalists-with-impunity

5 Clarke, R. & Gyemisi, B. (2017). Digging up facts about fake news: The Computational Propaganda Project. OECD.
http://www.oecd.org/ governance/digging-up-facts-about-fake-news-the-computational-propaganda-project.htm [accessed
01/04/2018].

6 UNESCO (2017). States and journalists can take steps to counter ‘fake news’. UNESCO, Paris. https://en.unesco.org/news/states-
andjournalists-can-take-steps-counter-fake-news [accessed 29/03/2018].

7 Kollewe, J. (2017). Google and Facebook bring in one-fifth of global ad revenue The Guardian, May 2nd 2017.
https://www.theguardian.com/ media/2017/may/02/google-and-facebook-bring-in-one-fifth-of-global-ad-revenue [accessed
29/03/2018].

8 ดหู นว่ ยการเรียนรู้ทเี่ จ็ด
9 Nielsen, R.K. & Schroeder, C. K. (2014). The Relative Importance of Social Media for Accessing, Finding and Engaging With News in

Digital Journalism, 2(4) http://www.tandfonline.com/doi/abs/10.1080/21670811.2013.872420 [accessed 29/03/2018].

57

กล่ันกรองข้อมูลข่าวสารของสือ่ ที่เป็นผู้ผลติ ข่าว อีกทั้งยังส่งผลกระทบต่อมาตรฐานการตรวจสอบข้อเท็จจริงของ
ข่าวอีกดว้ ย1083

ɒ ความคาดหวังของผู้รับส่อื ในการรบั ข่าว ‘ตามความต้องการ’ การรับข่าวผ่านโทรศัพท์มอื ถือ และการใช้งาน
สื่อสังคมแบบตามเวลาจริงยิ่งส่งผลเพ่ิมแรงกดดันให้กับนักข่าวอาชีพท่ีกาลังเผชิญกับแหล่งข่าวที่ลดน้อยลง
เรื่อย ๆ ในวงจรข่าวท่ีไม่มที ส่ี นิ้ สดุ น้ี

ɒ การด้ินรนของสานักพิมพ์ข่าวในการสร้างกาแพงสู่โลกการพิมพ์ที่สิ้นสุดลง คนหรือองค์กรท่ัวไปมีอานาจในการ
ผลิตเนื้อหา และข้ามขั้นตอนการกล่ันกรองข้อมูลดังที่เคยมีมา รวมทั้งการแข่งขันเพ่ือแย่งความสนใจ และ
นักการเมืองผู้ทรงอานาจยังพยายามบ่อนทาลายความน่าเช่ือถือของรายงานข่าวท่ีวิพากษ์วิจารณ์การทางานของ
ตนด้วย1184

ɒ การที่ธุรกิจสื่อดิจิทัลรายใหม่ค่อนข้างมีอิทธิพลและมีความสามารถในการทากาไรท่ีจากัดเข้ามาแทนท่ีช่องว่างที่
เกิดจากความล้มเหลวของหนังสอื พิมพ์

ɒ ความไว้วางใจต่อการนาเสนอขา่ วและองคก์ รสอ่ื หลักที่ถกู บ่ันทอนยิ่งทาให้ผู้อ่านลดน้อยลง และยิ่งทาใหผ้ ลกาไรที่
เหลอื อยู่ลดนอ้ ยลงไปอกี และเรง่ การแพรก่ ระจายของ “ความผดิ ปกติของขอ้ มลู ข่าวสาร” อกี ดว้ ย

ด้วยเหตุน้ี เส้นแบ่งระหว่างข้อเท็จจริง ความบันเทิง การโฆษณา การกุเรื่อง และเร่ืองแต่ง จึงยิ่งเลือนรางมากข้ึนเรื่อย ๆ เมื่อ
ข้อมูลบิดเบือนและข้อมูลที่ผิดถูกตีพิมพ์ออกไป ระบบเผยแพร่ข่าวในสังคมท่ีอาศัยการส่งต่อแบบระหว่างบุคคลจนกลายเป็น
ไวรัลบ่อยข้ึน ยิ่งทาให้ไม่สามารถลบเรื่องออกจากระบบได้ แม้ว่านักข่าวและผู้ตรวจสอบข้อเท็จจริงรายอื่น ๆ จะหักล้างได้
สาเร็จก็ตาม
หน่วยการเรียนรู้นี้ให้ความรู้แก่ผู้เรียนว่า ยุคดิจิทัลทาให้รูปแบบธุรกิจข่าวที่หวังผลกาไรจานวนมากล่มสลายลงได้อย่างไร
ตลอดจนกระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านดจิ ทิ ลั และการเกดิ ขึน้ ของสื่อสงั คมสง่ ผลใหข้ อ้ มลู บดิ เบือนและข้อมูลทผ่ี ิดมคี วามถกู ตอ้ ง
และถูกเผยแพร่จนเป็นไวรัลได้อย่างไร1285 หน่วยการเรียนรู้นี้ยังช่วยผู้เรียนให้สามารถคิดวิเคราะห์วิธีการตอบโต้ “ความ
ผดิ ปกตขิ องขอ้ มลู ข่าวสาร” ขององคก์ รสอื่ ไดอ้ ย่างมวี จิ ารณญาณ และชว่ ยให้ผเู้ รียนทราบถงึ วธิ ีการจัดการกบั ปัญหาดังกลา่ วใน
อุตสาหกรรมข่าวอีกด้วย

10 Posetti, J. & Silverman, C. (2014). When Good People Share Bad Things: The Basics of Social Media Verification in Posetti (Ed)
Trends in Newsrooms 2014 (WAN-IFRA, Paris). http://www.wan-ifra.org/sites/default/files/field_media_image_file_attach/WAN-
IFRA_Trends_ Newsrooms_2014.pdf [accessed 29/03/2018].

11 Cadwalladr, C. (2017). Trump, Assange, Bannon, Farage… bound together in an unholy alliance, The Guardian,

October 28th 2017. https:// www.theguardian.com/commentisfree/2017/oct/28/trump-assange-bannon-farage-bound-together-in-

dddunholy-alliance [accessed 29/03/2018].

12 Posetti, J. & Silverman, C. (2014). op cit

58

สาเหตุเชงิ โครงสร้างของ “ความผดิ ปกตขิ องข้อมลู ข่าวสาร” ท่สี ง่ ผลต่ออตุ สาหกรรมข่าว

1) การลม่ สลายของรูปแบบการดาเนนิ ธรุ กิจแบบเดิม

การลดลงอยา่ งรวดเร็วของรายได้จากการโฆษณาแบบด้ังเดิมท่ีเปน็ รปู แบบการระดมทนุ ทส่ี นับสนุนธรุ กจิ การทาข่าวมาร่วม
สองศตวรรษ และความล้มเหลวของการทากาไรท่ีเพียงพอจากโฆษณาดจิ ิทัลนาไปสู่ยุคแหง่ การทดลองแบบเร่งด่วนทเี่ พมิ่
มากขึ้นเร่ือย ๆ เพื่อหาทางให้ธุรกิจการเสนอข่าวทรงตัวได้ ทว่าการล่มสลายของอุตสาหกรรมข่าวกลับมีแต่เกิดรวดเร็ว
ย่ิงขึ้น และการลดลงอย่างรุนแรงของหนังสือพิมพ์ทาให้เกิดการปรับโครงสร้างขนานใหญ่และการปลดพนักงานจานวน
มหาศาลเปน็ เร่อื งทว่ี นเวียนเกิดขนึ้ เปน็ ปกตใิ นห้องขา่ วยุคดิจิทลั อีกทง้ั การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของผู้บรโิ ภคสอ่ื และการ
เฟอื่ งฟขู องส่อื สังคมประกอบกบั การเกดิ ขึน้ ของสมารต์ โฟนทร่ี าคาไม่แพงและมาพรอ้ มกบั แอปพลิเคชนั ต่าง ๆ ย่ิงทาใหผ้ ้ชู ม
ไหลทะลกั จากผลติ ภณั ฑ์ข่าวแบบด้งั เดมิ ไปสรู่ ปู แบบการสง่ ต่อขอ้ มูลระหว่างบคุ คล ย่งิ ทาให้รายได้ลดน้อยลงยิง่ ขึน้ ไปอกี

ผลกระทบท่เี กี่ยวข้องกับ “ความผดิ ปกติของข้อมลู ขา่ วสาร” ได้แก่

ɒ ทรัพยากรในห้องข่าว (พนักงานและงบประมาณ) ท่ีลดลง ทาให้การตรวจสอบแหล่งข่าวและข้อมูลรวมทั้งการ
รายงานภาคสนามลดลงตามไปดว้ ย

ɒ ความกดดันในการส่งมอบงานตามกาหนดมีมากข้ึน ประกอบกับกระบวนการควบคุมคุณภาพที่ลดลงและ
ภาวะการตกงาน แตย่ งั คงตอ้ งผลติ เนื้อหาจานวนมากเพอ่ื ปอ้ นเว็บและช่องทางสื่อสงั คม

ɒ เวลาและทรัพยากรที่ลดลงใน “การตรวจสอบและถ่วงดุล” (รวมถึงการตรวจสอบข้อมูลจากนักข่าวและตรวจ
ต้นฉบับ)

ɒ การพ่ึงพาโฆษณาแบบเนทีฟแอดเวอร์ไทซิง1386 โฆษณาประเภทนไ้ี ม่มีการระบุที่ชัดเจนแต่ให้ผลตอบแทนสงู และ
พาดหวั ขา่ วท่ีหลอกใหค้ ลกิ เขา้ ไปชมทเี่ รียกวา่ คลิกเบท ซึ่งเสี่ยงต่อการทาลายความเชอื่ ถือของผ้ชู มมากยง่ิ ข้ึน

2) การเปลี่ยนแปลงไปสูค่ วามเปน็ ดจิ ทิ ัลของห้องขา่ วและการเล่าเร่อื ง

ทศวรรษแรกในคริสตศวรรษท่ี 21 ส่ันคลอนโลกของสื่อไม่น้อย1487 เนื่องจากเกิดการเปล่ียนแปลงรูปแบบและ
กระบวนการผลิตข่าว รวมทัง้ การจดั จาหนา่ ยและการบริโภคขา่ วเม่ือเข้าสยู่ คุ ดจิ ิทัล ซ่งึ ยุคดิจิทัลนี้ทง้ั ให้โอกาสและความท้าทาย

13 ‘เนทีฟแอดเวอร์ไทซงิ (Native Advertising)’ เปน็ คาทใ่ี ช้ในอตุ สาหกรรมสอ่ื โดยหมายถงึ เนอ้ื หาโฆษณาทเี่ ขยี นลอกเลียนรูปแบบเนอื้ หาในสอ่ื ซง่ึ ถอื ว่าไม่เปน็
การผิดจรรยาบรรณหากมกี ารแสดงหรอื ระบอุ ย่างชัดเจนว่าเป็นเนอ้ื หาทต่ี อ้ ง “ไดร้ บั เงินสนับสนุน” แตค่ วามเกรงว่าจะทาใหค้ นไม่อา่ นก็ส่งผลใหบ้ างเนื้อหาไม่
แสดงความโปร่งใส

14 Nielsen, R. K. (2012). The Ten Years That Shook the Media World: Big Questions and Big Trends in International Media
ddDevelopments (Reuters Institute for the Study of Journalism, Oxford). https://reutersinstitute.politics.ox.ac.uk/sites/default/files/2017-
d09/Nielsen%20-%20 Ten%20Years%20that%20Shook%20the%20Media_0.pdf [accessed 29/03/2018].

59

ในเวลาเดียวกันอย่างท่ีไม่เคยปรากฏมาก่อน การเปล่ียนสู่ความเป็นดิจิทัลในอุตสาหกรรมข่าวและทักษะเชิงวารสารศาสตร์
กลายเปน็ ที่เข้าใจกันวา่ คือกระบวนการอันไมม่ ีทีส่ ้ินสดุ ท่ขี ับเคล่ือนตามพฤตกิ รรมผบู้ ริโภคท่ีเปลย่ี นไป (เชน่ การเผยแพร่เน้ือหา
ระหว่างบุคคล การเข้าถึงเนอื้ หาแบบออนดีมานด์) รวมถึงเทคโนโลยีใหม่ๆ (เช่น การถือกาเนดิ ของพืน้ ที่สื่อสงั คม การเกิดข้นึ
ของเทคโนโลยีโลกเสมือนจริง ปัญญาประดิษฐ์ และความสามารถในการเข้าถึงสมาร์ตโฟนที่เพิ่มข้ึนเรื่อย ๆ)1588 ดังนั้น จึงมี
ความจาเป็นที่จะต้องสรา้ งสมรรถนะเชงิ ดิจทิ ัลอย่างต่อเน่อื ง

ผลกระทบทเ่ี ก่ยี วข้องกับ “ความผดิ ปกติของขอ้ มลู ขา่ วสาร” ไดแ้ ก่

ɒ การหลอมรวมส่ือ: นักข่าวจานวนมากได้รับมอบหมายให้ผลิตเนื้อหาสาหรับหลายแพลตฟอร์มในเวลาเดียวกัน
(ต้ังแต่โทรศัพท์มอื ถือไปจนถงึ สง่ิ พมิ พ์) ซึ่งยิ่งทาใหเ้ วลาในการรายงานข่าวเชิงรกุ ลดลง ซึ่งไม่เหมือนกับการทาข่าว
แบบตง้ั รบั เชน่ การผลติ ซ้าเน้ือหาขา่ วประชาสัมพนั ธ์ทไี่ มไ่ ด้พิจารณาตรวจสอบอย่างเพียงพอ

ɒ ผ้สู อื่ ขา่ วจาเป็นต้องแกไ้ ขตน้ ฉบบั และเผยแพรเ่ นื้อหาสสู่ าธารณะดว้ ยตนเอง โดยไมผ่ า่ นการตรวจมากขึน้ 1689
ɒ กาหนดส่งงานดิจิทัลกอ่ น มกั เปน็ *เด๋ียวน*้ี ซ่งึ เป็นการเพิ่มความเส่ยี งทจี่ ะเกดิ ความผดิ พลาด

ɒ การตพี ิมพใ์ นสื่อสงั คมกอ่ นส่ือหลักเปน็ เรื่องธรรมดา โดยผูส้ ือ่ ขา่ วโพสต์ขา่ วในบญั ชสี ือ่ สังคมของตน และ/หรือของ
สานักข่าว เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการขา่ วแบบเรยี ลไทมข์ องผูร้ บั ขา่ วสาร วถิ ีปฏบิ ตั ิ เช่น การทวตี สด ถ่ายทอดสด
ทางเฟซบุ๊ก และกิจกรรมด้านวารสารศาสตร์อื่น ๆ ที่อาจจะไม่จาเป็นต้องผ่านการบรรณาธิการ (ทานองเดียวกับ
การถา่ ยทอดออกอากาศสด) อาจทาให้เกิดความคดิ ทว่ี า่ “เผยแพรก่ ่อน ตรวจสอบทีหลัง” ได้

ɒ การพึ่งพาการวเิ คราะห์ข้อมูลพน้ื ๆ ท่ีเนน้ จานวนคลิกบทความและจานวนผู้เข้าชมเวบ็ ไซตแ์ ทนทจี่ ะเน้น “เวลาใน
การเข้าชม” และ “ระยะเวลาที่ใช้” (ซ่ึงเป็นตัวช้ีวัดที่มีประโยชน์มากกว่าสาหรับข่าวคุณภาพขนาดยาว) เพื่อใช้
เป็นเหตผุ ลในการเพ่มิ อตั ราคา่ โฆษณาดิจิทัลทีห่ ายากและมีอัตราต่าลงมากข้นึ ทุกที

ɒ การใชค้ ลกิ เบท (ซึ่งเป็นทร่ี กู้ ันวา่ คอื การพาดหัวข่าวท่ที าให้เขา้ ใจผิดเพื่อล่อใหผ้ ู้อ่านคลิกเขา้ ไปอ่านด้วยความเขา้ ใจ
ผิด) ท่ีออกแบบมาเพ่ือเพ่ิมอัตราการเข้าชมเว็บไซต์ แต่ก็เป็นการบ่อนทาลายความเชื่อถือในวิชาชีพข่าวไปดว้ ยใน
เวลาเดยี วกัน

ɒ ความต้องการสร้างเนื้อหาไวรัลจนส่งผลกระทบต่อคุณภาพและความถูกต้องแม่นยาถือเป็นปัญหาที่มีแนวโนม้ ว่า
จะรนุ แรงขน้ึ จากการใช้ระบบการเรยี นรดู้ ้วยตนเองของคอมพิวเตอร์ (machine learning)

ɒการเพ่ิมขึน้ ของหนว่ ยงานตรวจสอบข้อเทจ็ จริงในหอ้ งขา่ ว ซ่ึงเปน็ ผลจากโครงการพฒั นาสือ่ ตา่ ง ๆ

15 สาหรับรายละเอียดการวิเคราะหร์ ะดับโลกเรือ่ งแนวโนม้ สื่อดจิ ิทลั สามารถดูไดใ้ นหนังสอื เรอื่ ง การรายงานข่าวดจิ ิทลั ของสถาบันการศกึ ษาวารสารศาสตร์ของ
สถาบนั รอยเตอรส์ (RISJ) ซ่งึ สามารถเขา้ ถงึ ทางออนไลน์ได้ท่ี http://www.digitalnewsreport.org/survey/2018/overview-key-findings-2018/

16 ดู กรณีศึกษาสอื่ ชุมชนของออสเตรเลยี (ACM): Robin, M. (2014). Who needs subs? Fairfax turns to reporter-only model Crikey. https://
www.crikey.com.au/2014/10/16/who-needs-subs-fairfax-turns-to-reporter-only-model/ [accessed 29/03/2018]. (หมายเหตุ: ปจั จบุ ันบรษิ ทั
แฟรแ์ ผก็ ซ์ มเี ดีย ได้นาวธิ ีการนี้ไปใชใ้ นสอื่ สง่ิ พมิ พข์ องบริษทั ท่วั ภมู ภิ าคทง้ั ในเขตชนบทและชุมชน

60

3) ความเป็นไวรัล: ข้อมลู บิดเบอื นแพรก่ ระจายอย่างรวดเร็วในระบบนิเวศขา่ วใหม่ได้อย่างไร

ก) กาเนดิ ผรู้ บั ขา่ วสารใหม่

ยุคดิจิทัลทาให้ปราการสู่การตีพิมพ์พังทะลายลง1790 เกิด “การเปล่ียนผ่านของเครื่องมือในการผลิตไปสูก่ ลุ่มคนท่ีเคยเปน็
เพียงผู้รับ”1891 ให้กลายเป็นผรู้ ่วมผลิตเนื้อหาทีร่ วมไปถึงข่าวดว้ ย เป็นบทบาทการกระทาที่เรียกว่า 'การผลิตสือ่ ที่ผ้เู สพสื่อ
เป็นผู้ผลิตสื่อเองได้ (produsage)'1992 คนเหล่าน้ีเริ่มต้นด้วยการสร้างฐานผู้ชมในอีเมลและห้องแชทก่อนที่จะมีส่ือสังคม
ออนไลน์มาชว่ ยขยายฐานผู้รบั อยา่ งรวดเร็ว

ข) การเกดิ ขนึ้ ของส่ือสังคมออนไลน์

ช่วงหลังของปี พ.ศ. 2543 ทวิตเตอร์และเฟซบุ๊กในหลายประเทศกลายเป็นสื่อสังคมหลักเช่นเดียวกับยูทูบท่ีส่งผลตอ่ การ
ปฏิบัติงาน ตลอดจนอัตลักษณ์ทางวิชาชีพของนักข่าว (โดยเฉพาะด้านการตรวจสอบข้อเท็จจริง การสร้างการมีส่วนร่วม
ของผู้ชม และความขดั แยง้ ระหวา่ งพน้ื ทีส่ ว่ นตัวและพ้ืนท่สี าธารณะในสอื่ สังคม2093) และการแพรก่ ระจายของเนือ้ หา ในขณะ
ทคี่ นสรา้ งเครือข่ายจากความไว้เนื้อเชื่อใจกัน การกระจายเน้อื หาระหวา่ งบคุ คล (โดยเฉพาะบนเฟซบ๊กุ ) กเ็ ริม่ กลายเป็นปัญหา
ตอ่ การใชว้ ิธเี ผยแพร่เนือ้ หาแบบด้งั เดิม
ผู้ใช้เป็นผู้คัดเลือกเนื้อหาเอง ทั้งจากผู้ให้บริการข่าว นักข่าวและผู้ให้บริการข้อมูลข่าวสารอื่นๆ ที่เช่ือถือได้โดยไม่ผ่านส่ือ
และผลของการเผยแพร่ผ่าน 'เครือขา่ ยความไวใ้ จ' (ผู้ใช้และเพ่อื น) จึงทาให้เนื้อหาทไี่ มถ่ ูกต้อง เปน็ เทจ็ มเี จตนารา้ ย และมี
ลักษณะของการโฆษณาชวนเชื่อท่ีแอบแฝงมาในรูปของข่าวมีพ้ืนที่มากขึ้น นักวิจัยพบว่าท้ังเนื้อหาที่เน้นอารมณ์ความรสู้ ึก
และเนอื้ หาที่ส่งตอ่ โดยเพือ่ นหรอื สมาชกิ ในครอบครวั ต่างมีโอกาสท่จี ะถกู เผยแพร่ซ้ามากกวา่ ในส่ือสังคม2194
ในขณะท่ีนักข่าวและองค์กรข่าวจาเป็นต้องเข้าสู่พื้นท่ีเหล่าน้ีเพ่ือการหาข้อมูล มีส่วนร่วมกับผู้รับข่าวสารและเผยแพร่
เน้ือหา (นักข่าวจาเป็นต้องอยู่ในท่ีท่ีมีผู้รับข่าว) จึงทาให้เกิด 'ฟองสบู่ตัวกรอง'2295 หรือ ‘ห้องเสียงสะท้อน’2396 (แม้ว่า
อาจจะไม่ถึงกับปิดก้ันหรือตัดขาดจากโลกภายนอกเสียทีเดียวดังท่ีมีการกล่าวไว้) ท่ีทาให้ผู้ใช้จานวนมากมีโอกาสพบเห็น
ทัศนะที่แตกต่างและข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบแล้วน้อยลง ซึ่งเป็นการเพิ่มความเสี่ยงที่มาพร้อมกับ “ความผิดปกติของ
ข้อมลู ขา่ วสาร”

17 Gillmor, D. (2004). We, the Media: Grassroots Journalism By the People, For the People (O’Reilly). http://www.authorama.com/we-
themedia-8.html [accessed 29/03/2018].

18 Rosen, J. (2006). The People Formerly Known as the Audience, PressThink blog (June 27th, 2006).
http://archive.pressthink.org/2006/06/27/ ppl_frmr.html [accessed 29/03/2018].

19 Bruns, A. (2008). Blogs, Wikipedia, Second Life, and Beyond: From Production to Produsage. Peter Lang, New York. See also: Bruns A
(2006) Collaborative Online News Production. Peter Lang, New York.

20 Posetti, J. (2009). Transforming Journalism...140 Characters at a Time Rhodes Journalism Review 29, September 2009.
http://www.rjr.ru.ac.za/rjrpdf/rjr_no29/Transforming_Journ.pdf [accessed at 29/03/2018].

21 Bakir, V. & McStay, A. (2017) Fake News and the Economy of Emotions Digital Journalism (Taylor and Francis) July, 2017.
http://www. tandfonline.com/doi/abs/10.1080/21670811.2017.1345645 [accessed 29/03/2018].

22 หมายเหตุ: “ฟองสบู่ตวั กรอง” คือพนื้ ทขี่ ยายทีเ่ ตม็ ไปดว้ ยผคู้ นทีม่ ีความคิดคลา้ ยกนั อนั เปน็ ผลจากอัลกอริธมึ ท่ปี อ้ นคอนเทนต์ให้กบั ผู้ใช้งานแตล่ ะคน
โดยเฉพาะ c.f. Pariser, E. (2012). The Filter Bubble. Penguin and Random House, New York

23 ‘ห้องเสียงสะทอ้ น (Echo chambers)’ หมายถึงผลกระทบของการใชอ้ คติในการยนื ยนั ความคดิ ของตนตอ่ คนทมี่ ีความคิดคลา้ ยกนั บนสอื่ สังคม รายละเอยี ด
เพิ่มเตมิ ในหนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 5 เรอ่ื ง “อคตใิ นการยนื ยนั ความคิดตนเอง”

61

ประโยชนข์ องการทาข่าวแบบเครือขา่ ยผู้รับขา่ วสาร ได้แกค่ วามสามารถในการระดมข้อมลู จากหลายแหล่ง การร่วมมอื กนั เพ่ือ
ตรวจสอบข้อเท็จจริง2497 (ซึ่งมีประโยชน์ต่อการแก้ไขข้อมลู ทีผ่ ิดให้ถูกตอ้ ง หักล้างข้อมูลบิดเบือน และช้ีตัวผู้มีเจตนาร้าย) และ
สร้างกลุ่มผูร้ ับชมทมี่ คี วามภกั ดี (อนั เกิดจากการมีส่วนร่วมโดยตรงระหวา่ งผู้อยู่ในวงการข่าวและผู้บริโภคขา่ ว)2598 อกี ทงั้ ยงั ช่วย
ให้ผู้รับข่าวสารสามารถ “โต้ตอบ” เพ่ือแก้ไขข้อผิดพลาดของผู้สื่อข่าว หรือช่วยในการสืบค้นข้อมูล พ้ืนที่สาธารณะแบบ
เครือข่ายเช่นน้ียังช่วยให้นักข่าวและผู้รับข่าวสารก้าวข้ามข้อจากัดท่ีไร้เหตุผลและการเซ็นเซอร์ (อย่างเช่น ความซับซ้อนของ
บรรดา “นกั ปนั้ ข่าว”) ซึ่งสามารถเป็นอุปสรรคต่อการเขา้ ถงึ ขอ้ มูลข่าวสารและสังคมเปิดได้
การที่นักข่าวมีส่วนร่วมกับผู้รับข่าวสารและแหล่งข้อมูลผ่านช่องทางสื่ อสังคมอาจมองได้ว่าเป็นรูปแบบใหม่ที่น่าสนใจของ
กรอบการแสดงความรับผิดชอบซ่ึงช่วยในด้านการกากับตนเอง การโต้ตอบเหล่าน้ีทาให้นักข่าวตอบรับเสียงวิจารณ์ต่อ
สาธารณะได้ในเวลาอันรวดเร็ว แก้ไขข้อผิดพลาดได้ทันท่วงที และเพ่ิมความโปร่งใสของการปฏิบัติงานด้วยการ “ใช้
กระบวนการสรา้ งเนอื้ หา”2699
ผลเสยี ได้แก่

ɒ แนวโน้มทข่ี ้อมูลบิดเบือนและข้อมลู ทผ่ี ดิ จะกลายเปน็ ไวรัลมีเพม่ิ มากข้ึนเพราะวิธกี ารเผยแพร่โดย 'เครือขา่ ยความ
ไว้ใจ'27100 และปฏิกิริยาทางอารมณ์ (เช่น ถูกกระตุ้นโดยการใช้อคติในการยืนยันความคิดตนเอง) (ดูเพิ่มเติมใน
หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 5)

ɒ ทาให้รัฐบาลและหน่วยงานอน่ื ๆ สามารถหลีกเลี่ยงการซักถามและตรวจสอบของสื่อดว้ ยการ 'เข้าถึงผู้รับขา่ วสาร
โดยตรง' เพื่อหลีกเล่ียงการตรวจสอบ มีหลักฐานว่าการควบคุมพลังของสื่อสังคมโดยผู้ท่ีต้องการควบคุมผลการ
เลือกตงั้ และนโยบายสาธารณะมจี านวนเพมิ่ มากขึ้น28101

ɒ ขอ้ มูลทีส่ ร้างความตน่ื เต้นเร้าอารมณ์มีโอกาสถูกส่งตอ่ มากกว่า29102

24 Garcia de Torres, E. (2017). The Social Reporter in Action: An Analysis of the Practice and Discourse of Andy Carvin in Journalism
Practice, 11(2-3). http://www.tandfonline.com/doi/abs/10.1080/2017512786.2016.1245110 [accessed 29/03/2018].

25 Posetti, J. (2010). Aussie #Spill Breaks Down Barriers Between Journalists, Audience PBS Mediashift, May 24th, 2010.
http://mediashift. org/2010/05/aussie-spill-breaks-down-wall-between-journalists-audience144/ [accessed 29/03/2018].

26 Posetti, J. (2013). The ‘Twitterisation’ of investigative journalism in S. Tanner & N. Richardson (Eds.), Journalism Research and
Investigation in a Digital World (pp. 88-100): Oxford University Press. Available at
http://ro.uow.edu.au/cgi/viewcontent.cgi?article=2765&context=lhapapers

27 “เครอื ข่ายความไว้ใจ (Trust networks)” คอื เครอื ข่ายของกลมุ่ คนทแ่ี บง่ ปนั ขอ้ มลู ขา่ วสารออนไลน์ผา่ นความสมั พนั ธ์ท่ีมีพน้ื ฐานจากความเชอื่ ถอื ไวใ้ จกนั
(เชน่ ครอบครัว และกลุ่มเพื่อน) โดยไมไ่ ดผ้ า่ นสือ่ เพอ่ื นสูเ่ พอ่ื น งานวจิ ัยหลายต่อหลายงานแสดงใหเ้ หน็ ว่าผ้ใู ชส้ อ่ื สังคมมแี นวโนม้ จะส่งตอ่ ขอ้ มูลท่ีไดม้ าจาก
“เครอื ขา่ ยความไว้ใจ” ดังกลา่ วโดยไม่สนใจวา่ จะขอมลู จะถกู ตอ้ งหรอื ผา่ นการตรวจสอบแล้วหรือไม่

28 Freedom House (2017). Freedom of the Net 2017: Manipulating Social Media to Undermine Democracy Freedom House. https://
freedomhouse.org/report/freedom-net/freedom-net-2017 [accessed 29/03/2018]. และดู Cadwalladr, C. (2018). I made Steve
Bannon’s Psychological Warfare Tool: Meet the data war whistleblower, The Guardian/Observer
https://www.theguardian.com/news/2018/mar/2017/ data-war-whistleblower-christopher-wylie-faceook-nix-bannon-trump
[accessed 31/03/2018].

29 Kalsnes, B. & Larsson, O. A. (2017). Understanding News Sharing Across Social Media: Detailing distribution on
Facebook and Twitter in Journalism Studies (Taylor and Francis) March, 2017. http://www.tandfonline.com/doi/
abs/10.1080/1461670X.2017.1297686?scroll=top&needAccess=true&journalCode=rjos20 [accessed 29/03/2018].

62

ɒ เมื่อขอ้ มูลท่ผี ดิ และข้อมลู บดิ เบือนกลายเปน็ ไวรัลแลว้ จะไม่สามารถลบหรอื แกไ้ ขได้ เพราะไม่ว่าจะหกั ล้างหรือเปดิ
โปงความเท็จเพียงใดก็ไม่สามารถขจดั ผลกระทบของเรอื่ งเท็จ มีมอันตราย วิดีโอโฆษณาชวนเชื่อที่แอบแฝงมาใน
รูปของขา่ ว หรอื รายงานผดิ ๆ ท่ีเกดิ จากการขาดการตรวจสอบไดอ้ ยา่ งสมบูรณ์

ɒ ความตอ้ งการตพี มิ พบ์ นส่ือสงั คมอย่างรวดเร็วทนั ทอี าจนาไปสูก่ ารสง่ ต่อขอ้ มลู บดิ เบอื นและข้อมลู ทผี่ ิดหรอื ขอ้ มลู
จากแหลง่ ขอ้ มลู ปลอมโดยไมเ่ จตนาได้30103

ɒ การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศและทักษะการตรวจสอบข้อมูลของสังคมโดยรวมอยู่ในระดับต่า หมายความว่า
บอ่ ยครง้ั ผ้ใู ช้สอื่ สงั คมยังมที ักษะไมเ่ พียงพอทีจ่ ะตัดสินวา่ เนือ้ หาน้ันเปน็ จริงหรอื ไมก่ ่อนทีจ่ ะส่งต่อ

ɒ ความเส่ียงที่รัฐบาลจะขัดขวางเสรีภาพในการแสดงออกผ่านการเซ็นเซอร์ท่ีไม่เป็นธรรมและการ ปิดส่ือเพ่ือ
แกป้ ญั หาขา้ งตน้ แบบเรง่ ดว่ น

ɒ การเกิดข้ึนของ ‘ฟองสบู่ตัวกรอง (Filter Bubble:ระบบตัวกรองส่งผลให้เราเห็นเฉพาะสิ่งที่เราสนใจ)’ ท่ีใช้อคติ
เพ่อื ยืนยันความคดิ ตนเอง และการลดลงในการเปดิ รบั ข้อมลู คุณภาพทผี่ ่านการตรวจสอบแล้ว

ɒ ความเสี่ยงที่การเสนอข่าวท่ีด้อยคุณภาพจะยิ่งลดทอนความเคารพของผู้ชมต่อวิชาชีพข่าวและสร้างความชอบ
ธรรมใหก้ บั การโจมตีส่ือโดยกลุ่มคนที่ตอ้ งการสยบเสียงวิพากษ์วิจารณ์

ɒ ความเสี่ยงท่ีผรู้ ับข่าวสารจะเกดิ ความสับสนในส่ิงที่เรยี กว่าขา่ ว ซึ่งแตกต่างจากขอ้ มูลบิดเบือนท่ีแอบแฝงมาในรปู
ของขา่ ว31104

ɒ การขาดการเตรียมการของห้องข่าวในการจัดการกับข้อมูลบิดเบือนและความจาเป็นที่ต้องมีทีมบรรณาธิการส่ือ
สังคมในการพัฒนากลยุทธ์ท่ีทนั สมัยเพือ่ จดั การกบั ปัญหาทีเ่ กดิ ข้นึ ใหด้ ียิ่งขึ้น32105

ค) การเกดิ ขึน้ ของพ้นื ทส่ี ือ่
แคทเธอรนี ไวเนอร์ บรรณาธิการบริหารของหนงั สือพิมพ์ เดอะการ์เดยี น ประเมินไวว้ า่ “เฟซบุ๊กไดก้ ลายมาเปน็ สานกั พมิ พ์ท่ี
ร่ารวยและมีอานาจมากที่สุดในประวัติศาสตร์ โดยใช้อัลกอริธึมแทนท่ีบรรณาธิการ”33106 พื้นที่ส่ือสังคมได้รับการยอมรับให้
เปน็ 'ผูร้ ักษาประตูข่าวสารยุคใหม่'34107 แม้ผ้ใู หบ้ รกิ ารสื่อสงั คมจะยังลงั เลท่จี ะยอมรับความรับผดิ ชอบในการทาหน้าทข่ี อง

30 Posetti, J. (2009). Rules of Engagement For Journalists on Twitter PBS Mediashift, June 19th 2009.
http://mediashift.org/2009/06/rules-ofengagement-for-journalists-on-twitter170/ [accessed 29/03/2018].

31 Nielsen, R. K. & Graves, L. (2017). “News you don’t believe”: Audience Perspectives on Fake News Reuters Institute for the Study of
Journalism Factsheet (RISJ, Oxford). https://reutersinstitute.politics.ox.ac.uk/sites/default/files/2017-
10/Nielsen%26Graves_factsheet_1710v3_ FINAL_download.pdf [accessed 29/03/2018].

32 Elizabeth, J. (2017) After a Decade, It’s Time to Reinvent Social Media in Newsrooms, American Press Institute https://www.
americanpressinstitute.org/publications/reports/strategy-studies/reinventing-social-media/single-page/ [accessed 29/03/2018].

33 Viner, K. (2017). A mission for journalism in a time of crisis The Guardian, November 17th, 2017.
https://www.theguardian.com/news/2017/ nov/16/a-mission-for-journalism-in-a-time-of-crisis [accessed 29/03/2018].

34 Bell, E. & Owen, T. (2017). The Platform Press: How Silicon Valley Reengineered Journalism Tow Center for Digital Journalism.
https://www.cjr.org/tow_center_reports/platform-press-how-silicon-valley-reengineered-journalism.php [accessed 29/03/2018].

63

สานักพิมพ์แบบดั้งเดิมซึ่งรวมถึงการตรวจสอบและคัดสรรเน้ือหา แม้ว่าจะมีการเซ็นเซอร์เน้ือหาบางอย่างในลักษณะที่เป็น
การปิดกั้นเสรีภาพของส่ือก็ตาม35 ความพยายามของสื่อสังคมออนไลน์ในการแก้ไขปัญหาข้อมูลบิดเบือนและข้อมูลท่ีผิด
พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว แต่การท่ีบรรดาส่อื สงั คมยงั ไม่ ก) ตอบสนองอยา่ งเพยี งพอในระดบั โลก และ ข) แสดงความรับผดิ ชอบ
อย่างท่ีสานักพิมพ์ต้องทาสาหรับผลกระทบต่อสังคมและประชาธิปไตย ทาให้สื่อสังคมเสี่ยงต่อการตกเป็นเครื่องมือในการ
ผลติ “ความผดิ ปกตขิ องข้อมลู ข่าวสาร” และการประทษุ ร้ายผา่ นชอ่ งทางออนไลน์36108
มีการตรวจสอบการทางานของอัลกอรทิ ึมของเฟซบุก๊ ในการเผยแพรข่ ่าวและการแพร่กระจายของข้อมูลบดิ เบือนโดยเฉพาะใน
กลุ่มประเทศที่กาลังพัฒนามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 37109 โดยเฉพาะในบริบทของการโฆษณาชวนเช่ือทางคอมพิวเตอร์ที่ส่งผล
กระทบต่อสื่อสังคมออนไลน์โดยรวมจานวนมาก38110 อย่างไรก็ตามหลังจากที่มุ่งม่ันในการร่วมมือกับองค์กรข่าวและ
สถาบันการศกึ ษาด้านวารสารศาสตรเ์ พ่อื แก้ไขวกิ ฤตการณ์น้ใี นระยะแรก โดยรวมไปถึงการแสดงเนอ้ื หาท่เี ชื่อถือได้มากขึ้นและ
ทาเคร่ืองหมายสาหรบั โพสต์ปลอมและโพสตท์ ท่ี าให้เขา้ เกดิ การใจผิด เฟซบุ๊กได้เลิกทาหนา้ ที่นี้ไปอยา่ งรวดเร็วในเดือนมกราคม
พ.ศ. 2561 39111 ส่ิงที่น่าจะเกดิ ขนึ้ ตามมาคือการเปลี่ยนแปลงของสอ่ื สังคมจากระบบท่เี ปิดกว้างสาหรบั การมีสว่ นรว่ มของผใู้ ช้
ไปสู่ระบบท่ีปิดมากข้ึน และมีผลสบื เน่ืองไปถึงการเผยแพรข่ ่าวและความยงั่ ยืนของการทาข่าวที่มคี ุณภาพ นอกจากน้ี ยังทาให้
เส่ียงต่อการเกิด ‘ฟองสบู่ตวั กรอง’ และการแพรก่ ระจายแบบไวรัลของข้อมูลบิดเบอื นเพ่มิ ขึ้น40112 ซ่ึงรวมไปถึงประเดน็ ปัญหา
อัลกอริทึมของเคร่ืองมือค้นหาอย่างกูเกิลด้วย โดยกูเกิลได้ออกมายอมรับเมื่อช่วงต้นปี พ.ศ. 2561 ว่ามีความเป็นไปได้ที่
อัลกอริทึมจะมีส่วนในการส่งเสริมการใช้อคติเพื่อยืนยันความคิดได้ ในขณะท่ีเขียนหน่วยการเรียนรู้นี้ กูเกิลกาลังดาเนินการ
แกไ้ ขปญั หานี้อยโู่ ดยชี้แจงวา่ “มสี านักพิมพ์จานวนมากที่นาเสนอมมุ มองที่หลากหลายและมีเหตุผล เราต้องการใหผ้ ใู้ ชม้ ีโอกาส
เหน็ และได้อ่านทศั นะท่ีแตกต่างเหล่านจ้ี ากแหลง่ ขอ้ มูลหลาย ๆ แหลง่ ”41113

ผลของความผดิ ปกติของข้อมูลขา่ วสารทม่ี ีต่อการเสนอข่าวและอตุ สาหกรรมข่าว

35 Posetti, J. (2017). Fighting Back Against Prolific Online Harassment, The Conversation, June 29th 2017.
https://theconversation.com/fightingback-against-prolific-online-harassment-in-the-philippines-80271 [accessed 29/03/2018].

36 Finkel, Casey & Mazur (2018). op cit
37 Grimme, C., Preuss, M., Adam, L., & Trautmann, H. (2017). Social Bots: Human-Like by Means of Human Control?. Big Data 5(4)

http:// comprop.oii.ox.ac.uk/publishing/academic-articles/social-bots-human-like-by-means-of-human-control/ [accessed
29/03/2018].
38 Wang, S., Schmidt, C. & Hazard, O. L . (2018). Publishers claim they’re taking Facebook’s newsfeed changes in their stride - is the
bloodletting still to come? NiemanLab. http://www.niemanlab.org/2018/01/publishers-claim-theyre-taking-facebooks-news-feed-
changes-instride-is-the-bloodletting-still-to-come/ [accessed 29/03/2018].
39 Alaphillippe, A. (2018). Facebook’s Newsfeed Changes Are Probably Going to be Great for Fake News, The Next Web.
https://thenextweb. com/contributors/2018/01/2018/facebooks-news-feed-changes-probably-going-great-fake-news/ [accessed
29/03/2018].
40 Hao, K. (2018). Google is finally admitting it has a filter bubble problem, Quartz. https://qz.com/1194566/google-is-finally-
admitting-it-has-afilter-bubble-problem/ [accessed 29/03/2018].
41 dHao, K. (2018). Google is finally admitting it has a filter bubble problem, Quartz. https://qz.com/1194566/google-is-finally-
dddadmitting-it-has-afilter-bubble-problem/ [accessed 29/03/2018].

64

ɒ ความเชื่อถือในสานักข่าวท่ีย่ิงลดน้อยลง ตลอดจนการเสนอข่าวและนักข่าวที่เผยแพร่ข้อมูลท่ีไม่ถูกต้อง ข้อมูลที่
สรา้ งขนึ้ มาเอง หรือขอ้ มลู ทาใหเ้ ข้าใจผดิ

ɒ การปะปนกันระหว่างรายงานข่าวคุณภาพกับข้อมูลบิดเบือนและเน้ือหา (ที่ได้รับเงินสนับสนุน) แบบเนทีฟแอด
เวอร์ไทซิง ทท่ี าเลยี นแบบขา่ วโดยไมแ่ จ้งให้ชัดเจน ทาให้ความไม่เช่อื ถอื ขา่ วโดยรวมเพ่มิ สูงขนึ้

ɒ รูปแบบธุรกิจการทาขา่ วมคี วามตึงเครยี ดเพ่ิมข้ึนจากการทผ่ี ้รู บั ขา่ วสารอาจเลิกพึ่งพาสือ่ ในยามวิกฤตแิ ละภัยพิบัติ
จากความเชื่อว่าสื่อจะให้ข้อมูลท่ีเชื่อถือได้และผา่ นการตรวจสอบเป็นอย่างดีและเพ่ือประโยชน์สาธารณะ ซ่ึงเป็น
ความเช่อื ถอื ทค่ี า้ จุนใหเ้ กิดความภักดีต่อสานกั ขา่ วและมคี วามจาเป็นต่อการสรา้ งรูปแบบธุรกิจขา่ วทีย่ ง่ั ยนื

ɒ บทบาทของนักข่าวในฐานะตัวแทนของการแสดงความรับผิดชอบ (เช่น ผ่านการทาข่าวเชิงสบื สวน) ที่อ่อนแอลง
ซ่ึงมผี ลกระทบต่อเน่อื งไปยังสงั คมโดยรวม

ɒ การปราบปราม (ที่บางครั้งมองว่าเป็นการกระทาท่ีถูกต้องเพื่อกาจดั ' ข่าวปลอม' ให้หมดสิ้น) ท่ีปิดก้ันเสรีภาพของส่อื
และสิทธเิ สรีภาพในการแสดงออก เชน่ การปิดอินเทอรเ์ นต็ การปิดสอ่ื และการเซน็ เซอร์

ɒ การประสงค์ร้ายต่อนักข่าว (โดยเฉพาะนักข่าวหญิง) ของผู้เผยแพรข่ ้อมูลบิดเบือนท่ีฉวยโอกาสใช้การคุกคามทาง
ออนไลน์เพ่อื ทาลายความน่าเชื่อถือของรายงานข่าวเชิงวิจารณ์ รวมถงึ การพยายามจงใจวางกบั ดักให้นักขา่ วเป็นผู้
เผยแพร่ขอ้ มูลบิดเบือนและข้อมลู ท่ีผดิ 42114

Emerging industry practice: how news organisations are covering ‘fake news’ and countering
‘information disorder’

แนวปฏิบตั ใิ หม่ในอุตสาหกรรม: วธิ รี ายงานเรื่อง ‘ข่าวปลอม’ และตอบโต้ ‘ความผิดปกติของขอ้ มูลข่าวสาร’ ขององคก์ ร
ข่าว

ปัญหาและความเสยี่ งข้างตน้ ทาให้นักวิชาชีพข่าวต้องระมัดระวัง ต้องยึดม่ันในจรรยาบรรณ ใช้มาตรฐานท่ีสูงข้ึนใน
การรายงานและการตรวจสอบความจริง (รวมถึงใช้วิธีการร่วมมือกันในการตรวจสอบ) ของท้ังข้อมูลและแหล่งท่ีมา และต้อง
หมน่ั หกั ลา้ งขอ้ มูลเท็จหรือบดิ เบือนและรายงานปัญหาที่เกดิ ขึน้ อยา่ งสร้างสรรค์

ต่อไปน้ีคอื ตวั อย่างของความพยายามขององค์กรข่าวและผูส้ อ่ื ขา่ วแต่ละคนในการรายงานขา่ ว ชว่ ยใหผ้ รู้ ับขา่ วมีความรเู้ ท่าทัน
ข่าวสาร และตอบโต้ข้อมูลบดิ เบือน

ɒ หนังสือพิมพ์ เดอะ การ์เดียน ใช้ฟีเจอร์ สตอรี่ ของอินสตาแกรม ในการต่อต้านการแพร่กระจายของข้อมูล
บิดเบือน ด้วยวิดีโอส้ันท่ีผลิตขึ้นเพ่ือดึงดูดผู้ชมวัยหนุ่มสาว https://www.instagram.com/p/BRd25kQBb5N/ (ดู
เพิ่มเติมท่ี ‘แบบทดสอบแบบอนิ เตอร์แอคทีฟเกยี่ วกบั “ข่าวปลอม” ของ เดอะ การ์เดียน

42 ดบู ทวเิ คราะหอ์ ย่างละเอยี ดในหน่วยการเรยี นรทู้ ่ีเจ็ด

65

https://www.theguardian.com/theguardian/2016/dec/28/ can-you-spot-the-real-fake-news-
story-quiz
ɒ เว็บ Rappler ทาข่าวเชิงสืบสวนและการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยบ๊ิก ดาต้า เพื่อเปิดโปงเครือข่าย 'หุ่นเชิด' เพ่ือการ
โฆษณาชวนเชื่อที่ส่งผลกระทบต่อประชาธิปไตยในฟิลิปปินส์ https://www.rappler.com/ nation/148007-
propaganda-war-weaponizing-internet
ɒ เดอะ นิวยอร์ก ไทมส์ ใช้การรายงานขา่ วเพอ่ื อธิบายปญั หาด้วยกรณศี ึกษา
https://www.nytimes.com/2016/11/20/business/ media/how-fake-news-spreads.html
ɒวารสาร Columbia Journalism Review ทม่ี งุ่ มน่ั ในการใชว้ ธิ ีการวเิ คราะห์การสะทอ้ นความคดิ เกี่ยวกับประเดน็
ปัญหา https://www.cjr.org/analysis/how_fake_news_sites_frequently_trick_big-
time_journalists.php
ɒ คาแนะนาสาหรับนักขา่ วเกย่ี วกบั ปญั หาการปฏิเสธการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ โดย การเ์ ดยี น ออสเตรเลีย:
https://www.theguardian.com/environment/planet-oz/2016/nov/08/ tough-choices-for-the-
media-when-climate-science-deniers-are-elected
ɒ โครงการความร่วมมือระหวา่ งนกั ขา่ วและนักวชิ าการของญ่ปี ุ่นในช่วงการเลอื กต้ังระดบั ชาตใิ นปี พ.ศ. 2560 ทใี่ ช้
หลักการของโครงการ CrossCheck ซึ่งเป็นโครงการเฝ้าระวังการเลือกตั้งที่ฝร่ังเศสในปีเดียวกันที่ประสบ
ความสาเร็จอย่างสูง: http:// www.niemanlab.org/2017/10/a-snap-election-and-global-worries-over-
fakenews-spur-fact-checking-collaborations-in-japan/
ɒ ในสหรัฐอเมริกา Electionland เป็นตัวอยา่ งที่นา่ สนใจของการรว่ มงานกันของผูส้ อนวิชาเกย่ี วกับวารสารศาสตร์
และนักศึกษา https://projects.propublica.org/ electionland/43115
ɒ การรายงานขา่ วเชิงสืบสวนระดบั โลกต่อกรณีอื้อฉาว เคมบริดจ์ อะนาไลตกิ า (โดย ดิ ออบเซริ ์ฟเวอร์ & เดอะ การ์
เดียน, แชนแนล 4 นิวส์ และ เดอะ นิวยอร์ก ไทมส์) และวธิ กี ารเสรมิ สร้างความรทู้ ี่ บรษิ ัท วอ็ กซ์ มีเดยี ใช้ในการ
อธบิ ายเรอื่ งทซ่ี บั ซอ้ นกับผูช้ ม ก. https://www.vox.com/ policy-and-politics/2018/3/21/
2017141428/cambridge-analytica-trump-russiamueller ข. https://www.vox.com/policy-and-
politics/2018/3/23/ 2017151916/facebook-cambridge-analytica-trump-diagram
ɒ เว็บ เดอะ ควินท์ ใชพ้ ลงั ของผชู้ มในการตอบโตก้ ารแพรก่ ระจายของเรือ่ งที่เปน็ ข้อมลู บดิ เบอื นในแอปพลเิ คชนั
WhatsApp ของอนิ เดีย และวธิ ีการสร้างสรรคใ์ นการคดั เลือกเนือ้ หาทต่ี รวจสอบแล้วในแอปพลิเคชนั
https://www.thequint.com/neon/satire/whatsapp-indian-elections-and-fake-propaganda-
satire44116
ผสู้ อนควรเพ่ิมตัวอย่างอื่นๆ จากภมู ิภาคและภาษาของผู้เรยี น ทที่ รงคณุ คา่ ไม่แพก้ ันคอื กลยทุ ธ์ในการสง่ เสรมิ จริยธรรมนกั ขา่ ว

ในยุค ‘ขา่ วปลอม’ ของศาสตราจารย์ ชาร์ลี เบกเกตต์ ที่กล่าวไวว้ า่ นักข่าวควรทีจ่ ะ

43 หมายเหตุจากบรรณาธกิ าร: CrossCheck และ Electionland เปน็ สว่ นหนงึ่ ของปรากฏการณใ์ หมข่ องโครงการริเรม่ิ ในยคุ ปจั จุบนั ทมี่ าในรปู แบบของการ
ร่วมมอื กันเพอื่ จดั การกบั ขอ้ มูลบิดเบอื นในชว่ งการเลอื กต้ัง การรว่ มงานกันแบบ “เฉพาะกจิ ” อาจเปน็ ปรากฏการณท์ ่ีดที ่ชี ว่ ยชดเชยการขาดหายไปหรือ
ความออ่ นแอหรอื การแยกตัวของสถาบนั ตรวจสอบความจรงิ ทเ่ี คยมมี าชา้ นาน

44 หมายเหตุ: สาหรับงานวจิ ยั ทศี่ กึ ษาบทบาทของแอปพลเิ คชันแชตในการแพรก่ ระจายขอ้ มูลบิดเบอื น ดู: Bradshaw, S & Howard, P. (2018).
Challenging Truth and Trust: A Global Inventory of Organized Social Media Manipulation. Working Paper 2018.1. Oxford, UK:
Project on Computational Propaganda: http://comprop.oii.ox.ac.uk/wp-content/uploads/sites/93/2018/07/ct2018.pdf [accessed:
20/8/18].

66

ɒ เช่ือมต่อ – ตดิ ต่อได้และอยู่ในทกุ พ้นื ท่ีสอ่ื 45117

ɒ คดั เลือก – ช่วยผู้ใชค้ ้นหาเนื้อท่ีดีจากทกุ แหลง่
ɒ สรา้ งความเชื่อมโยง – ใช้ภาษาเดยี วกบั ผใู้ ช้ และ “ฟัง” อย่างสร้างสรรค์
ɒ เป็นผเู้ ชย่ี วชาญ – เพิ่มคณุ คา่ ความลึกซ้ึง ประสบการณ์ บริบทแวดล้อม
ɒ พูดความจริง – ตรวจสอบข้อเทจ็ จริง มคี วามสมดลุ ความแมน่ ยา
ɒ มคี วามเป็นมนุษย์ – แสดงความเห็นอกเห็นใจ มคี วามหลากหลาย มกี ารกระทาเชิงสรา้ งสรรค์
ɒ ความโปร่งใส – แสดงแหล่งทีม่ า มีความรบั ผิดชอบ ยอมรบั คาวจิ ารณ์46118

เปา้ หมายของหนว่ ยการเรียนรู้

ɒ ในด้านหนึ่งคือเพ่ือให้ผู้เรียนเข้าใจสาเหตุเชิงโครงสร้างท่ีทาให้อุตสาหกรรมข่าวอ่อนแอลง และอีกด้านหน่ึงคือ
เพอื่ ให้เขา้ ใจการขบั เคลือ่ นของขอ้ มูลบดิ เบอื นและข้อมูลท่ผี ดิ

ɒ เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถวิเคราะหก์ ารตอบรบั ของอุตสาหกรรมข่าวต่อปรากฏการณ์ 'ความผดิ ปกตขิ องขอ้ มูล
ขา่ วสาร' ไดอ้ ยา่ งมีวจิ ารณญาณ

ɒ เพื่อให้เข้าใจและสามารถวิพากษ์บทบาทของสื่อแพลตฟอร์มต่าง ๆ ในการทาให้วิกฤตข้อมูลข่าวเท็จเกิดขึ้นและ
ดารงอยไู่ ด้

ɒ เพื่อเรียนรู้จากแนวทางปฏิบัติท่ีดีของนักข่าวและองค์กรข่าวท่ีเกิดข้ึนเพ่ือรับมือกับวิกฤตการณ์นี้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

ผลการเรียนรู้
เม่อื จบหนว่ ยการเรยี นร้นู ี้ ผเู้ รียนควรสามารถทจ่ี ะ

1. ใชว้ จิ ารณญาณในการประเมนิ สาเหตุทางโครงสร้างและผลกระทบในวงกวา้ งของการกระทาของสื่อในการรายงาน
และเผยแพร่ข้อมลู ทเี่ ป็นเทจ็ ได้

2. เข้าใจและวิพากษบ์ ทบาทของเทคโนโลยแี ละ 'ผู้รกั ษาประตขู า่ วสารใหม่' (เชน่ แพลตฟอร์มส่อื ต่าง ๆ) ในการทาให้
ขอ้ มูลบิดเบอื นและขอ้ มลู ทีผ่ ดิ ที่แอบแฝงมาในรปู แบบของขา่ วแพรก่ ระจายเปน็ ไวรลั

3. ร้วู ่าอุตสาหกรรมขา่ วมวี ิธกี ารปฏบิ ัตอิ ย่างไรบา้ งในการตรวจจับและต่อสกู้ บั ขอ้ มูลบิดเบอื น

45 หมายเหตุ: บรรณาธกิ ารทราบดวี า่ เป็นไปไมไ่ ด้ทีน่ ักขา่ วทกุ คนจะอยใู่ นสื่อสังคมท้งั หมด อยา่ งไรกต็ าม หากห้องข่าวจะมอบหมายใหน้ ักข่าวแตล่ ะคน

ใชง้ านสื่อท่ีเพิง่ เกดิ และยังไมม่ ผี ลกระทบมากนกั เพม่ิ เตมิ จากสือ่ ยอดนยิ มอย่างทวติ เตอร์ เฟซบกุ๊ และอนิ สตาแกรม กอ็ าจจะช่วยได้

46 Beckett, C. (2017). op cit

67

รูปแบบของหน่วยการเรยี นรู้

หนว่ ยการเรียนรนู้ ีอ้ อกแบบมาเพอ่ื สอนแบบตวั ตอ่ ตัวหรือช่องทางออนไลน์ โดยแบ่งออกเป็นสองสว่ น คือ ภาคทฤษฎีและ
ภาคปฏิบตั ิ

การเชื่อมโยงแผนการเรียนการสอนกับผลการเรยี นรู้

ก. ภาคทฤษฎี ผลการเรยี นรู้

แผนของหน่วยการเรยี นรู้
จานวนช่ัวโมง

การบรรยายแบบเนน้ ผ้เู รียนเป็นศนู ย์กลาง ด้วยการระดมสมองควบคู่ไปกบั การ 60 - 90 นาที 1, 2, 3
อภิปรายแลกเปลี่ยน และการถามตอบแบบพบหนา้ หรอื ผา่ นการสมั มนาออนไลน์
สาหรับกรณกี ารเรยี นการสอนทางไกล

เนื้อหาการบรรยายสามารถใช้ทฤษฎีและตัวอย่างท่ีใหไ้ วข้ ้างต้น

อยา่ งไรกต็ าม ผูบ้ รรยายควรเพม่ิ เตมิ กรณศี กึ ษาท่เี ก่ียวข้องกับวัฒนธรรมหรือทอ้ งถนิ่
ในการสอนหนว่ ยการเรยี นรนู้ ี้

ผลการเรยี นรจู้ ะบรรลผุ ลได้ดยี ง่ิ ขนึ้ หากใชร้ ปู แบบการอภปิ รายโดยผเู้ ช่ยี วชาญใน
สว่ นของการบรรยาย โดยเชิญนักขา่ ว บรรณาธกิ าร และผู้แทนสือ่ ตา่ ง ๆ ให้มาเขา้
รว่ มในการอภปิ ราย ดาเนินรายการโดยวิทยากรหรือผสู้ อน และจดั ให้ผ้เู รยี นได้มี
ส่วนร่วมโดยตรงในชว่ งของการถามตอบ

68

ข. ภาคปฏิบตั ิ จานวนช่ัวโมง ผลการเรยี นรู้
แผนของหน่วยการเรยี นรู้

สามารถจัดการประชุมเชิงปฏบิ ัติการ/เชิงอบรมในห้องเรยี นตามปกติ หรือใช้ระบบ 90 - 120 นาที 1, 2, 3, 4
การเรียนรู้ทางอิเลก็ ทรอนิกส์อย่าง มูเดิล กลุ่มในเฟซบุ๊ก หรือบริการอื่น ๆ สาหรบั
การมีสว่ นร่วมทางไกลผา่ นระบบออนไลน์ โดยใชร้ ูปแบบดงั ต่อไปน้ี

แบง่ กลมุ่ การเรยี นเป็นกลุ่ม 3-5 คน แตล่ ะกลุ่มควร

i. ไดร้ ับกรณศี กึ ษาการรายงานขา่ วขององคก์ รสื่อหรือการเผยแพร่ขอ้ มลู ข่าวสารท่ี

ผดิ หรือข้อมูลบิดเบอื นโดยไม่ร้ตู วั

ii. ร่วมกันประเมิน ด้วยการค้นคว้าที่มาของข้อมูลและบริบทของการรายงานที่

ผิดพลาด (เช่น กรณีน้ีเป็นข่าวเร่งด่วนหรือไม่) จากนั้นอภิปรายส่ิงท่ีน่าจะเป็น
สาเหตุของเหตุการณ์น้ี (โดยให้ความสนใจกับปัจจัยเชิงโครงสร้าง เช่น การลด
จานวนพนักงานในห้องข่าวท่ีเกิดขึ้นเร็ว ๆ นี้ และบทบาทของส่ือสังคม) และ
อภปิ รายประสบการณส์ ่วนตัวเกยี่ วกบั การถูกหลอกโดยขอ้ มูลบดิ เบือน

iii. ร่วมกันเขยี นบทสรปุ ความยาว 250 คา จากการวิเคราะห์สาเหตุของการตีพิมพ์

โดยให้เขียนส่ิงที่นักข่าว และ/หรือ องค์กรข่าวควรทาเพ่ือป้องกันการตีพิมพ์ข้อมูล
บิดเบือนจานวน 3 ข้อ โดยอาจใช้ กูเกิล ด็อกส์ หรือเคร่ืองมือทางานร่วมกันอ่ืน ๆ
ทคี่ ลา้ ยกันน้ี และควรส่งให้ผสู้ อน/ผบู้ รรยายตรวจ

งานมอบหมาย
รายงานกรณศี กึ ษา (2,000 คา) โดยให้ระบุกรณศี กึ ษา 3 กรณี (หนึ่งในนต้ี ้องเป็นกรณศี ึกษาจากประเทศ/ภูมภิ าคของตนเอง)
ที่เกี่ยวกับการที่องค์กรข่าวมีการเผยแพร่หรือสืบสวนกรณีข้อมูลบิดเบือน โดยวิเคราะห์แจกแจงแต่ละตัวอย่าง (อภิปราย
สาเหตุและผลสืบเน่ืองจากการตีพิมพ์ข้อมูลบิดเบือน/ข้อมูลท่ีผิด) และถอดบทเรียนท่ีได้จากแต่ละกรณีศึกษา (หมายเหตุ:
ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมควรเลอื กตวั อยา่ งใหม่ทไี่ ม่ไดใ้ ชใ้ นการอภปิ รายในการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารของหน่วยการเรยี นรู้น้ี)

69

อา่ นเพิ่มเตมิ

Bakir, V. & McStay, A. (2017). Fake News and the Economy of Emotions in Digital Journalism (Taylor and
Francis). http://www.tandfonline.com/doi/abs/10.1080/21670811. 2017.1345645 [accessed 29/03/2018].

Bell, E. & Owen, T. (2017). The Platform Press: How Silicon Valley Reengineered Journalism Tow Center for
Digital Journalism, March 29th, 2017. https://www.cjr.org/ tow_center_reports/platform-press-how-
silicon-valley-reengineered-journalism.php [accessed 29/03/2018].

Ireton, C. (Ed) (2016). Trends in Newsrooms 2016 (WAN-IFRA, Paris). http://www. wan-
ifra.org/sites/default/files/field_media_image_file_attach/WAN-IFRA_Trends_ Newsrooms_2016.pdf
[accessed 29/03/2018].

Kalsnes, B. & Larsson, O. A. (2017). Understanding News Sharing Across Social Media: Detailing distribution
on Facebook and Twitter in Journalism Studies (Taylor and Francis). http://www.tandfonline.com/doi/
abs/10.1080/1461670X.2017.1297686?scroll=top&needAccess=true&journalCode=rjos20 [accessed
29/03/2018].

Nielsen, R. K. (2012). The Ten Years That Shook the Media World: Big Questions and Big Trends in
International Media Developments (Reuters Institute for the Study of Journalism, Oxford).
https://reutersinstitute.politics.ox.ac.uk/sites/default/files/2017-09/Nielsen%20-
%20Ten%20Years%20that%20Shook%20the%20Media_0.pdf [accessed 29/03/2018].

McChesney, W. & Picard, V. (Eds) (2011). Will the Last Reporter Please Turn Out the Lights: The Collapse of
Journalism and What Can Be Done to Fix it. The New Press, New York.

Mitchell, A., Holcomb, J. & Weisel, R. (2016). State of the News Media Pew Research Centre.
http://assets.pewresearch.org/wp-content/uploads/sites/13/2016/06/30143308/ state-of-the-news-
media-report-2016-final.pdf [accessed 29/03/2018].

Posetti, J. (2009). Transforming Journalism...140 Characters at a Time Rhodes Journalism Review 29,
http://www.rjr.ru.ac.za/rjrpdf/rjr_no29/Transforming_Journ.pdf [accessed 29/03/2018].

Posetti, J. (2013). The ‘Twitterisation’ of investigative journalism in S. Tanner & N. Richardson (Eds.),
Journalism Research and Investigation in a Digital World (pp. 88-100): Oxford University Press, Melbourne.
http://ro.uow.edu.au/cgi/viewcontent. cgi?article=2765&context=lhapapers [accessed 20/03/2018].

Posetti, J. & Silverman, C. (2014). When Good People Share Bad Things: The Basics of Social Media
Verification in Posetti (Ed) Trends in Newsrooms 2014 (WAN-IFRA, Paris). http://www.wan-

70

ifra.org/sites/default/files/field_media_image_file_attach/WANIFRA_Trends_Newsrooms_2014.pdf
[accessed 29/03/2018].
Posetti, J. (Ed) (2015). Trends in Newsrooms 2015 (WAN-IFRA, Paris). http://www. wan-
ifra.org/sites/default/files/field_media_image_file_attach/WAN-IFRA_Trends_Newsrooms_2015.pdf, (ดู
เพม่ิ เตมิ Trends in Newsrooms 2014) [accessed 29/03/2018].
RISJ (2018). Digital News Report 2018 (University of Oxford). http://media.digitalnewsreport.org/wp-
content/uploads/2018/06/digital-news-report-2018. pdf?x89475 [accessed 29/06/2018].
Silverman, C. (2015). Lies, Damn Lies and Viral Content. Tow Center for Digital Journalism.
http://towcenter.org/wp-content/uploads/2015/02/LiesDamnLies_ Silverman_TowCenter.pdf [accessed
29/03/2018].
Society of Climate Change Reporters (2016). Climate Change: A Guide to Information and Disinformation
http://www.sej.org/initiatives/climate-change/overview [accessed 29/03/2018].
UNESCO (2017). States and journalists can take steps to counter ‘fake news’. https://
en.unesco.org/news/states-and-journalists-can-take-steps-counter-fake-new [accessed 29/03/2018].

71

ห น่ ว ย ก า ร เ รี ย น รู้ ท่ี 4

72

สาระสาคญั หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 การต่อสู้กบั ข้อมูลบดิ เบอื นและขอ้ มูลท่ผี ิดดว้ ยการรเู้ ทา่ ทันสื่อและ
สารสนเทศ
หนว่ ยการเรียนรู้นใ้ี หผ้ ู้เรยี นได้ร้จู กั กบั การใช้แนวคดิ เร่ืองการรเู้ ทา่ ทันสอ่ื และสารสนเทศ1 (MIL) เพอ่ื ทาความเข้าใจขา่ ว ซึ่งเป็น
119

วิธีการตรวจหา ‘ความผิดปกติของข้อมูลข่าวสาร’ ภายในข้อความทั้งที่เห็นได้ชัดเจนและท่ีแอบแฝง การรู้เท่าทันสื่อและ
สารสนเทศเป็นแนวคิดกว้าง ๆ ท่ีองค์การยูเนสโกใช้เพ่ือเน้นถึงความเกี่ยวข้องกันระหว่างชุดทักษะต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
สารสนเทศโดยรวม และการใช้สือ่ โดยเฉพาะ ชดุ ทกั ษะเหลา่ น้คี รอบคลุมทง้ั ความรูเ้ รื่องสิทธิมนุษยชน (โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงสิทธิ
เสรีภาพในการแสดงออกที่เป็นสิทธิส่วนบุคคลในการแสวงหา รับ และส่ือสารข้อมูลข่าวสารและความคิดเห็น) การรู้เท่าทัน
ข่าวสาร (รวมถึงความรู้เรอ่ื งมาตรฐานและจริยธรรมสื่อ) การรู้เท่าทันโฆษณา ความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ ความเข้าใจใน 'การทา
ธุรกจิ ท่ีเก่ยี วกับการสรา้ งเนอื้ หาเพ่ือดงึ ดูดความสนใจ' ความรู้เรือ่ งวัฒนธรรม ความรู้ด้านความเป็นส่วนตวั ฯลฯ ตลอดจนความ
เข้าใจในความสัมพันธ์ระหว่างการส่ือสารกับอัตลักษณ์ของแต่ละบุคคลและการพัฒนาสังคม ทักษะการรู้เท่ าทันสื่อและ
สารสนเทศกลายเป็นทักษะชีวิตที่มีสาคัญมากข้ึนเร่ือย ๆ กล่าวคือต้องรู้ว่าอะไรท่ีมีส่วนร่วมหล่อหลอมอัตลักษณ์ และจะ
แสวงหาข้อมูลท่ามกลางเมฆหมอกและหลีกเลี่ยงกับระเบิดท่ีซุกซ่อนอยู่ในความคลุมเครือน้ีได้อย่างไร การรู้เท่าทันสื่อและ
สารสนเทศทาให้เรารู้จักการบริโภค การผลิต การค้นพบ การประเมินค่า และส่งต่อข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนความเข้าใจใน
ตนเองและผู้อืน่ ในสงั คมยคุ ข้อมูลข่าวสาร

การรู้เท่าทันข่าวสาร เป็นความสามารถเฉพาะด้านในการทาความเข้าใจภาษาและระเบียบแบบแผนของข่าวซึ่งเป็นเน้ือหา
รปู แบบหนึง่ และรู้วา่ มันถกู นาไปใช้ด้วยเจตนาท่ีมงุ่ ร้ายได้อย่างไร แต่แมจ้ ะมีความสาคญั ลาพังการรเู้ ท่าทนั ขา่ วสารเพียงอย่าง
เดียวก็ไม่อาจทาให้คนแยกแยะข้อมูลบิดเบือนที่แฝงมาในรูปของข่าวได้อย่างสมบูรณ์ เพราะมนุษย์ไม่เพียงใช้สมองในการ
ส่อื สาร แตย่ ังใช้หัวใจดว้ ย ดงั นนั้ การรเู้ ท่าทันสื่อและสารสนเทศจึงจาเป็นต้องใหค้ วามสนใจกบั การเพมิ่ ความตระหนกั ร้ใู นระดบั
ปจั เจกเกีย่ วกบั วธิ ีการตอบสนองกับเนื้อหาในข่าว และแนวโนม้ สว่ นบุคคลทจี่ ะเช่ือหรอื ไมเ่ ช่ือข้อมูลข่าวสารนั้นโดยไม่ขึ้นอยู่กับ
รูปแบบของเนอื้ หา

ดังน้ัน รากฐานของการรู้เท่าทันส่ือและสารสนเทศจึงควรทาให้คนเกิดความรู้ความเข้าใจในอัตลกั ษณ์ของตนอย่างถ่องแท้ ว่า

ตอนนเ้ี ป็นใครและจะเป็นอะไรต่อไป และส่งิ นมี้ ีผลต่อการมีสว่ นรว่ มในข่าวและการสื่อสารประเภทอ่นื อยา่ งไร หน่วยการเรียนรู้

น้ีมีจุดมุ่งหมายเพ่ือช่วยให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความรแู้ ละสามารถแยกแยะความแตกต่างของข่าวกับข้อมูลอ่ืน ๆ ท่ีแอบอ้าง

เป็นข่าว การเพ่มิ ขีดความสามารถเชน่ นจ้ี ะชว่ ยแต่ละคนเปน็ ผูก้ าหนดอตั ลกั ษณ์ของตนเอง และช่วยใหร้ ู้และรู้จกั ตอ่ ตา้ นเม่ือถูก

หลอกใช้โดยข้อมูลบิดเบือนที่แอบแฝงมาในรูปของข่าว ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะได้เรียนรู้วิธีการพัฒนาและใช้กรอบทักษะการคิด

อย่างมีวิจารณญาณด้วย “ ก า ร ตั ด สิ น ด้ ว ย ก า ร ไ ต ร่ ต ร อ ง อ ย่ า ง มี เ ป้ า ห ม า ย 2 ซ่ึงประกอบด้วยการวิเคราะห์ การตีความ การ

120

ประเมนิ การควบคมุ ตนเอง การอนมุ าน และการอธิบาย

1 https://en.unesco.org/themes/media-and-information-literacy [accessed 16/06/2018].

2 Facione, P. (2010, updated). Critical Thinking: What It Is and Why It Counts. [online] Insight Assessment. Available at: https://www.
insightassessment.com/ [accessed 01/02/2018].

73

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะไดว้ ิเคราะห์ข่าวทั้งในสื่อส่ิงพิมพ์ ส่ือกระจายเสียง (วิทยุและโทรทัศน์) ส่ือออนไลน์และสื่อสังคม โดยการ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 การต่อสู้กบั ข้อมูลบดิ เบอื นและขอ้ มูลท่ผี ิดดว้ ยการรเู้ ทา่ ทันสื่อและ
สารสนเทศ
แยกโครงสร้างข้อความออกเป็นส่วนต่าง ๆ ร่วมกับการเรียนรู้เก่ียวกับแหล่งท่ีมาและความน่าเชื่อถือ (หรือการขาดความ

นา่ เชอ่ื ถอื )

นอกจากน้ี ผู้เรียนยังจะได้เรียนรู้ด้วยว่าข่าวแท้นั้นไม่ใช่วิทยาศาสตร์แต่ฝังตัวอยู่ในการเล่าเร่ืองซ่ึงแม้จะหลากหลาย แต่ส่วน
ใหญ่เป็นไปตามวิธีการและจรรยาบรรณวิชาชีพ ท่ีช่วยลดการเกิดความผิดพลาดและถอยห่างจากการสร้างเรื่องขึ้นมาเอง
นักข่าวควรรายงานและส่งสัญญาณเม่ือพบการกล่าวเท็จของบรรดาผูเ้ ก่ียวข้อง ในทางกลับกัน ก็ไม่ควรยอมรบั สิ่งท่ีอ้างว่าเป็น
ข้อเท็จจรงิ หรอื นาเอาไปเสนอต่อโดยไมใ่ หห้ ลกั ฐานประกอบเพ่ือบอกใหผ้ ู้อา่ นทราบเหตกุ ารณท์ ี่เกิดขึน้ จรงิ

ในหน่วยการเรียนร้นู ้ี ผเู้ รียนจะได้เรยี นรูด้ ว้ ยว่าการนา “ภาษาขา่ ว” มาใชเ้ ขียนข้อเทจ็ จรงิ ที่ไมส่ มบูรณ์ ชกั นาใหเ้ กดิ ความเข้าใจ
ผดิ หรือแตง่ ขึ้น ใหก้ ลายเปน็ เรื่องที่น่าเช่อื ถือได้อยา่ งสมบรู ณ์นนั้ สามารถทาไดง้ ่ายดายและรวดเร็วเพียงใด3121

เอกสารประกอบการสอนสาหรับหน่วยการเรียนรู้นี้เน้นการสร้างความตระหนักรู้ถึงความสา คัญของการรู้เท่าทันสื่อและ
สารสนเทศในการจัดการกบั ข้อมูลท่ีผิดและข้อมูลบดิ เบือน ซ่ึงรวมไปถึงการใช้ทักษะการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณเพื่อบ่งชี้ ‘ขา่ ว’
ทถี่ ูกสรา้ งขนึ้ มาและเนน้ ความสาคัญของการให้ผูเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรมนาทกั ษะการรู้เท่าทันสอ่ื และสารสนเทศไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั
อีกด้วย เพราะจะช่วยให้เห็นว่าการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศสามารถส่งเสริมสิทธิมนุษยชนของตนและผู้อื่นได้อย่างไร
ตลอดจนความสาคัญของการหลกี เลี่ยงการส่งเสรมิ และเผยแพร่ส่งิ ท่ีไม่เปน็ ความจรงิ 4122

หน่วยการเรียนรู้น้ีต้องใช้ห้องที่มีคอมพิวเตอรแ์ ละอินเทอร์เนต็ ในการเรียนการสอน ผู้เข้าร่วมสามารถใช้แอปพลิเคชันสาหรบั
แชทท่ีมากับอุปกรณ์สื่อสารเคล่อื นที่ในภาคปฏบิ ัติของบทเรยี นได้ โดยใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อเขา้ ถึงแหล่งข้อมูลออนไลน์ภายนอก
และใช้ระบบอนิ ทราเนต็ (ซึง่ จดั เตรยี มไวส้ าหรับระดบั อดุ มศึกษา) เพอื่ เขา้ ถงึ หอ้ งสมุดและศูนย์ขอ้ มลู อ่ืน ๆ ภายในสถานศึกษา

เค้าโครงเนื้อหา

ข้อมูลบิดเบือนในคราบของข่าวท่ีแพร่กระจายมาจากการเลือกต้ังในสหรัฐอเมริกา ฝร่ังเศส เคนยา และเยอรมนีในปี พ.ศ.

2559 และ พ.ศ. 2560 เป็นเพียงความท้าทายด้านสารสนเทศต่อสงั คมท่อี ยสู่ ่วนปลายของภูเขาน้าแข็งเทา่ น้ัน แม้อาจกอ่ ให้เกดิ

ผลสืบเนื่องท่ีรนุ แรงได้ อย่างไรก็ตาม ลองพิจารณาเหตุการณท์ ี่สถานีโทรทัศน์และผใู้ ช้สื่อสังคมท่ัวโลกต่างติดตามกันแบบนาที

ต่อนาทีว่าจะมีปาฏิหาริย์หรือไม่ในการช่วยเหลือ #FridaSofía นักเรียนหญิงท่ีติดอยู่ในซากปรักหักพังหลังจากเกิดเหตุ

แผ่นดินไหวในเม็กซิโกเมื่อปี พ.ศ. 2560 แต่กลับกลายเป็นว่านักเรียนหญิงคนน้ีไม่มีตัวตน 5 เร่ืองน้ีเป็นข่าวเท็จ แม้ว่าอาจจะ

123

ไม่ได้จงใจแต่งขนึ้ มาเพื่อให้หลงเชื่อ แต่คนทาข่าวก็ต้องหลีกเล่ยี งท้ังเรอ่ื งเข้าใจผดิ และเรอ่ื งเท็จ ท้ังน้ี ไม่ได้หมายความวา่ ความ

ไม่จริงทุกอย่างในข่าวถือเปน็ ‘ข่าวปลอม’ ในความหมายของข้อมลู บิดเบือนไปเสียหมด แต่ท้ังสองประเภทน้ีต่างเป็นอปุ สรรค

ต่อการท่ีสังคมจะทาความเข้าใจเหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ในโลก

3 ตวั อยา่ งของ “ภาษาขา่ ว” ลองศกึ ษา: Fluent in Journalese by Philip B. Corbett. March 17, 2015 https://afterdeadline.blogs.nytimes.
com/2015/03/2017/fluent-in-journalese/ ; My ‘shameful secret’: I’ve learnt to love clichéd journalese by Rob Hutton. 05 Sep 2013.
https://www. telegraph.co.uk/culture/10288967/My-shameful-secret-Ive-learnt-to-love-cliched-journalese.html [both accessed
22/04/2018].

4 การศึกษาการบรู ณาการ MIL ในการศกึ ษาวารสารศาสตรเ์ ชน่ งานของ Van der Linde, F. 2010.
The necessity of a media literacy module within journalism or media studies curricula. Global Media Journal, African Edition. Vol 4,
no.2 http://globalmedia.journals.ac.za/pub/article/view/7

5 Campoy, A. (2017). A schoolgirl trapped in Mexico’s earthquake rubble won the world’s hearts – except she did not exist. Quartz.
Available at:https://qz.com/1084105/a-schoolgirl-trapped-in-mexicos-earthquake-rubble-won-the-worlds-hearts-except-she-didnt-
exist/ [accessed 03/04/2018].

74

ผู้รับข่าวเองจาเป็นต้องมีความฉลาดรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศโดยท่ัวไปก็จริง แต่ต้องมีความเข้าใจในระดับปรัชญาด้วย หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 การต่อสู้กบั ข้อมูลบดิ เบอื นและขอ้ มูลท่ผี ิดดว้ ยการรเู้ ทา่ ทันสื่อและ
ตัวอย่างเช่น ต้องรู้ว่าข่าวท่ีแทจ้ ริงไม่ได้เสนอ “ความจริง” ท้ังหมด (ซึ่งเป็นสิ่งที่ประเมินไดจ้ ากการมีปฏสิ มั พันธ์ระหวา่ งมนุษย์ สารสนเทศ
ดว้ ยกันเองและกับความเปน็ จริงเปน็ ระยะเวลานานเท่าน้นั ) อย่างไรก็ดี ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยเฉพาะนักศึกษา
วารสารศาสตรจ์ งึ ควรเข้าใจวา่ ประเด็นคอื การเสนอขา่ วไม่ควรทาใหเ้ รื่องเท็จกลายเปน็ ความจรงิ เรือ่ งการพบวาฬหรอื ฉลามใน
สระว่ายนา้ หรือสวนหลงั บา้ นหลงั พายเุ ฮอรเิ คนและผลข้างเคียงอื่น ๆ จากภัยธรรมชาติทไี่ มน่ ่าเป็นไปไดต้ ามทส่ี ่ือรายงาน ทาให้
เกิดการย้อนถามว่า จริงหรือ ซึ่งสะท้อนว่าข่าวที่ไม่ให้ความสาคัญกับข้อเท็จจริงท่ีตรวจสอบแล้วอาจเกิดจากการทาข่าวแบบ
ลวก ๆ และกระบวนการตีพมิ พ์ทไ่ี ม่เพียงพอ และยังสอ่ ถงึ เจตนาในการทาใหห้ ลงเช่อื ดงั นนั้ จึงถือเปน็ การหลอกลวง ทกั ษะการ
ฉลาดรู้เท่าทนั สอื่ และสารสนเทศจึงมีความจาเปน็ เพื่อใหส้ ามารถถอดรหสั ความแตกต่างนี้ และสามารถเปรียบเทยี บกรณีเช่นนี้
กบั ข่าวของมืออาชีพที่มีจริยธรรมได้

หนทางยังอีกยาวไกล การเพ่ิมระดบั ของวาทกรรมแสดงความเกลียดชัง ความเกลียดกลัวตา่ งชาติ และการโจมตผี อู้ พยพหรือ
คนต่างเช้ือชาติศาสนาและสีผิวท่ีเกิดจากการเหมารวมที่สนับสนุนโดยสถิติท่ีถูกปรุงแต่งข้ึน วาทกรรมของกลุ่มประชานิยม
และการรายงานที่มีลักษณะช้ีนาของส่ือท่ีไม่เป็นไปตามมาตรฐานของการนาเสนอข่าวยิง่ กลายเป็นสว่ นผสมของมลพิษทก่ี าร
รู้เท่าทันส่ือและสารสนเทศต้องตอบโต้ โดยเฉพาะเมื่อมีการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการเลียนแบบมนุษย์ในคลิปวิดีโอปลอม
และ/หรอื คลิปเสียงท่ีไมม่ พี น้ื ฐานความเป็นจริงก็ย่ิงทาให้สถานการณซ์ บั ซ้อนมากขึ้นอีกได้อยา่ งรวดเร็ว6124

ด้วยเหตนุ ี้จงึ มีความจาเป็นทจี่ ะต้องแนะแนวนกั ศกึ ษาและผู้ประกอบวชิ าชพี ข่าวให้รู้จกั คิดอยา่ งมีวิจารณญาณตอ่ สง่ิ ท่ีได้ยินและ
เห็น ตง้ั แตบ่ ทสนทนาธรรมดา ๆ ไปจนถงึ ข่าวท่ีแพรก่ ระจายมากท่สี ดุ ทง้ั ในสื่อเก่าและสอื่ มลั ตมิ เี ดยี ดจิ ทิ ลั

นอกจากประเภทของข้อมูลบิดเบือนและข้อมูลท่ีผิดดงั ท่ี วอร์เดิลและเดรคั ห์ชาน (พ.ศ. 2560)7125 กลา่ วไว้แล้ว สมาพันธย์ ุโรป
เพื่อประโยชน์ของผู้ชมหรือ EAVI ซ่ึงเป็นองค์การท่ีไม่หวังผลกาไรในกรงุ บรัสเซลส์ได้ผลิตอินโฟกราฟิกง่าย ๆ เรื่อง “มากกว่า
ข่าวปลอม: ข่าวท่ีทาให้เกิดความเข้าใจผิด 10 ประเภท”8 ภายใต้โครงการรู้เท่าทันส่ือเพ่ือความเป็นพลเมือง เพ่ือสรุปส่ิงท่ี
ผบู้ ริโภคข่าวต้องพบเจอในปัจจบุ นั 8126 นับวา่ เปน็ แหลง่ ขอ้ มลู ทม่ี คี ณุ คา่ ต่อนักศกึ ษาและผ้ปู ระกอบวชิ าชพี ข่าวเปน็ อย่างยิง่

บทความวจิ ัยล่าสดุ ของ ดร. ปีเตอร์ เอ. ฟาซิโอเน เรอ่ื ง “การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ: คืออะไรและเหตใุ ดจงึ สาคญั ”9127 เป็น
จุดเรมิ่ ต้นทีด่ สี าหรับนักศกึ ษาในการทาความคุ้นเคยกบั “หลักการใชเ้ หตผุ ล การตดั สนิ ใจ และกระบวนการคดิ ของบคุ คลและ
กลุ่มท่ีมีประสิทธภิ าพ” ซงึ่ มีประโยชนม์ ากกว่าในยคุ ‘แหง่ การฝักใฝใ่ นความเช่ือบางอย่างมากกว่าทจี่ ะเสาะหาความจริง (Post
Truth) ’ ‘ขา่ วปลอม’ และ ‘ข้อเท็จจริงทางเลือก’ ทง้ั น้กี ารคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณดว้ ยวิธนี ้ปี ระกอบด้วย

6 Edmund, C. (2017). This AI can create a video of Barack Obama saying anything. [online] World Economic Forum.
Available at: https://www.weforum.org/agenda/2017/07/obama-speech-simulation-washington-university?

7 ดหู นว่ ยการเรียนรูท้ ี่ สอง
8 EAVI. (2018). EAVI.eu. [online] Available at: https://eavi.eu/beyond-fake-news-10-types-misleading-info
9 Facione, P. (2010, updated). Ibid. Critical Thinking.

75

ɒ ความสนใจใครร่ ู้ในประเดน็ ทห่ี ลากหลาย หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 การต่อสู้กบั ข้อมูลบดิ เบอื นและขอ้ มูลท่ผี ิดดว้ ยการรเู้ ทา่ ทันสื่อและ
ɒ ความสนใจท่จี ะเป็นผทู้ ีม่ คี วามรู้และรกั ษาความเป็นผรู้ นู้ ้นั ไว้ สารสนเทศ
ɒ ความตื่นตัวต่อโอกาสในการใชท้ กั ษะการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ
ɒ ความเชื่อมั่นในกระบวนการต้งั คาถามโดยใช้หลักเหตผุ ล
ɒ ความเช่อื ม่ันในความสามารถในการใชห้ ลักเหตุผลของตนเอง
ɒ ความเปดิ กว้างต่อโลกทัศน์ที่แตกต่าง
ɒ ความยดื หยนุ่ ในการพจิ ารณาทางเลอื กและความคดิ เห็นอืน่
ɒ การเข้าใจความคดิ เหน็ ของผอู้ นื่
ɒ ความยุติธรรมในการประเมินตดั สนิ การใหเ้ หตผุ ล
ɒ การรูแ้ ละยอมรบั อคติ ความลาเอยี ง การเหมารวม หรอื แนวโนม้ ของการใช้ตนเองเป็นทต่ี ้ังอย่างตรงไปตรงมา
ɒ ความฉลาดรอบคอบในการละเวน้ การลงความเห็น หรอื การเปลยี่ นแปลงการวนิ ิจฉัย
ɒ ความเต็มใจที่จะพิจารณาทบทวนทัศนะของตนใหม่อีกคร้ัง เมื่อได้ไตร่ตรองอย่างตรงไปตรงมาและพบว่าสมควร

เปลีย่ นแปลงความคิดเสยี ใหม่

ผ ล การ วิจั ย จา นวนม ากพบว่ า การ ใช้อุป กร ณ์ สือ่ ส าร เค ล่ือนที่ของหนุ่ม สาวในหลายปร ะเ ทศท่ัวโลก 10 เ พ่ือกา รรั บ ข้อมูลขา่ วสาร

128

โดยใช้ผา่ นอปุ กรณเ์ หลา่ น้ที างแอปพลิเคชนั (แอป) สาหรับแชต สื่อสังคม และบางคร้งั ผ่านเว็บไซตข์ องสอ่ื ดั้งเดิมและบล็อก11 12

13 ทง้ั นี้ ส่วนใหญ่ไม่มีหรอื แทบจะไม่มสี ่งิ ใดเลยท่ีจะบอกใหท้ ราบได้ว่าข่าวน้ันมาจากสื่อที่เช่ือถือไดห้ รือจากมือสมัครเล่น ซง่ึ ยัง
129 130 131

ไมไ่ ดน้ บั ข้อมูลทบ่ี ดิ เบอื น

อีกประเด็นคือเรื่องการจัดการข่าวของแพลตฟอร์มเหล่าน้ี สาหรับเฟซบุ๊กท่ีเป็นส่ือสังคมรายใหญ่ท่ีสดุ ในขณะนี้ “... การเสนอ
ข่าวเป็นปัญหามาต้ังแตแ่ รกแล้ว ตอนน้ีย่ิงแย่ลงเพราะปัญหาเรอื่ งข่าวปลอมท่ียงั แก้ไม่ตกและการประชาสัมพันธ์ที่ไมด่ ี เห็นได้
ชัดว่าเฟซบุ๊กจะค่อย ๆ ลดการเสนอข่าวลง” เฟรเดอริค ฟิลโลซ์กล่าว14132 ส่วนผลจะเป็นอย่างไรยังคงต้องติดตามกันต่อไป
บางองคก์ รข่าวอาจผดิ หวังถา้ เฟซบุก๊ ยกเลกิ การเสนอขา่ วไปจรงิ ๆ โดยชวี้ ่าเป็นการไมย่ ตุ ธิ รรมกบั ผู้รับข่าว เน่อื งจากเฟซบุก๊ เป็น
ชอ่ งทางของผใู้ ชท้ ่อี าศยั สอ่ื สังคมในการตดิ ตามข้อมลู ข่าวสารมาโดยตลอด15 แตผ่ สู้ ่งเสรมิ

133

10 Children’s use of mobile phones. (2015). [ebook] Tokyo: Mobile Society Research Institute, NTT Dotcomo. Available at:
https://www.gsma.com/publicpolicy/wp- content/uploads/2012/03/GSMA_Childrens_use_of_mobile_phones_2014.pdf

11 Digital News Report (2017). Reuters Institute for the Study of Journalism’s (RISJ, Oxford).
https://reutersinstitute.politics.ox.ac.uk/sites/default/files/Digital%20News%20Report%202017%20web_0.pdf

12 Shearer, E. & Gottfried, J. (2017). News Use Across Social Media Platforms. [ebook] Washington DC: Pew Research Centre. Available
at: http://www.journalism.org/2017/09/07/news-use-across-social-media-platforms-2017/

13 Youth, Internet, and Technology in Lebanon: A Snapshot (2017) Social Media Exchange.
Available at: https://smex.org/youth-internet-and-technology-in-lebanon-a-snapshot/

14 Filloux, F. (2018). The Monday Note, 14 January, 2018.
Available at: https://mondaynote.com/facebook-is-done-with-quality-journalism-deal-with-it-afc2475f1f84

15 ดู หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ีสาม

76

งานด้านการรู้เท่าทันส่ือและสารสนเทศบางส่วนกลับมีความหวังว่าการเคล่ือนไหวนี้อาจทาให้ผู้บริโภคข่า ววัยเยาว์มีโอกาส หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 การต่อสู้กบั ข้อมูลบดิ เบอื นและขอ้ มูลท่ผี ิดดว้ ยการรเู้ ทา่ ทันสื่อและ
ขยายขอบเขตในการค้นหาส่ิงทีเ่ กดิ ขนึ้ ในโลกรอบ ๆ ตัวได้ ไม่ใชม่ ัวแตพ่ งึ่ พาส่ือสังคมที่เตม็ ไปด้วยมลภาวะทางข่าวสาร และรอ สารสนเทศ
รบั ขา่ วผา่ นอปุ กรณท์ ่ี “เปดิ ใชต้ ลอดเวลา” โดยไมต่ อ้ งทาอะไร ในขณะเดียวกัน บางสว่ นก็มองวา่ เฟซบกุ๊ อาจจะผลิตขา่ วเสยี เอง
โดยตั้งตนเป็นคแู่ ข่งกับสื่อในปจั จุบันกเ็ ปน็ ได้16134

การมีความรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศทาให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเรียนรู้ว่า แม้แต่ข่าวที่แท้จริงก็เป็นสิ่งท่ีประกอบสร้างขึ้นเสมอ
และถูกบริโภคภายใต้กรอบกว้าง ๆ ของการเล่าเร่ืองท่ีให้ความหมายกับข้อเท็จจริง และนาไปสู่ข้อสรุป อุดมการณ์ และอัต
ลักษณ์ที่กว้างข้ึน โดยหมายความรวมถึงความสามารถในการมองเห็นความแตกต่างระหว่างความพยายามในการทาข่าวที่
หลากหลายเพ่ือบันทึกและตีความหมายของความเป็นจริง กับการหลอกลวงโดยใช้ประโยชน์จากรูปแบบของข่าวที่ละเมิด
มาตรฐานการตรวจสอบความจรงิ ของวชิ าชพี

การรู้เท่าทันส่ือและสารสนเทศยังเป็นเคร่ืองมือในการต่อสู้กับการเหมารวมและส่งเสริมการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมได้อีกด้วย
โดยปจั จยั ทีส่ าคญั ตอ่ การบรรลเุ ปา้ หมายคือการมคี วามสามารถในการใชห้ ลายภาษา โดยมผี เู้ ข้าร่วมในการผลกั ดนั การรู้เท่าทัน
สือ่ และสารสนเทศจานวนมาก อีกทง้ั ยังสามารถอ่านขอ้ มูลดี ๆ เพิม่ เติมได้จากเว็บไซต์ขององค์การยูเนสโก17 อย่างไรก็ดี ยังคง

135

มีส่งิ ทีต่ ้องทาอีกมากผ่านหลักสูตรการเรยี นและในทางปฏิบัตเิ พ่อื ลดแรงโจมตจี ากข้อมูลบดิ เบอื นและข้อมูลที่ผิด18136

เพื่อใหห้ น่วยการเรียนรู้น้ีเกดิ ประสิทธิผล คลปิ วดิ ีโอตา่ งๆ ที่มอี ยู่มากมายท่วั ไปสามารถนามาใช้สร้างการมีส่วนรว่ มของผู้เขา้ รว่ ม
กจิ กรรมได้ โดยใชว้ ิดีโอส้นั ทม่ี ีคาบรรยาย19 เปน็ “ส่ือให้ความรูท้ ี่เปน็ สาระบนั เทิง” ดา้ นการรู้เท่าทันสอ่ื และสารสนเทศเกี่ยวกบั

137

ข้อมูลเทจ็ และตัง้ โจทย์ผ้เู รยี นใหห้ าตวั อย่างคลปิ ท่ีก่อให้เกิดความเขา้ ใจผดิ ดว้ ยตนเองและใหเ้ กดิ ความคนุ้ เคยกับการตง้ั ขอ้ สงสยั
กับทกุ รายละเอยี ดของเนอื้ หา ซง่ึ รวมถึงเนื้อหาที่นาเสนอในรปู แบบของขา่ วดว้ ย

นอกจากนี้ ผ้สู อนควรชว่ ยให้ผู้เขา้ เรยี นแก้ไขการ "กูเกลิ " หาขอ้ มลู สว่ นใหญโ่ ดยผิวเผิน ดว้ ยการใหล้ องคน้ หาเชิงลกึ มากข้ึน เช่น
ใช้การค้นหาข้ันสูง การตรวจสอบกับแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และการใช้ประโยชน์จากห้องสมดุ และบรรณารักษ์ในการสร้าง
ความรู้เรื่องการค้นหาและประเมินข้อมูล20 การมีห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ทาให้การเข้าถึงแหล่งอ้างอิงทางวิชาการและ

138

แหล่งข้อมูลอ่ืน ๆ ท่ีนักศึกษาสาขาวารสารศาสตร์และนักข่าวอาชีพสามารถนาไปใช้เพื่อเพิ่มพูนความรู้เชิงลึกเกี่ยวกับ
กระบวนการและวธิ ีปฏิบตั ิในการประเมินและตรวจสอบข้อมูลนัน้ เปน็ ไปได้ง่ายดายยง่ิ ขึ้น ในขณะทีแ่ หลง่ ข้อมูลอ่นื ๆ ช่วยเสริม

16 Is Facebook’s Campbell Brown a Force to Be Reckoned With? Or Is She Fake News?
https://www.nytimes.com/2018/04/21/technology/facebook-campbell-brown-news.html

17 Seehttp://www.unesco.org/new/en/communication-and-information/media-development/media-literacy/mil-as-composite-concept/
[accessed 22/04/2018].].

18 Abu-Fadil, M. (2007). Media Literacy: A Tool to Combat Stereotypes and Promote Intercultural Understanding.
Available at: http://unesdoc.unesco.org/images/0016/001611/161157e.pdf [accessed 01/04/2018].

19 Here is an example of video used powerfully to demonstrate the value of news media literacy in the context of US school
shootings from Vice Media: Hoaxers say victims of mass shootings are ‘crisis actors’, Vice Select on Facebook.
https://www.facebook.com/vicenews/videos/842904982564160/ [accessed 01/04/2018].

20 resources for teaching media literacy. ASCD. Available at http://inservice.ascd.org/15-resources-for-teaching-media-literacy/.
[accessed 03/04/2018].

77

กระบวนการเรียนรู้/ความรู้ ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเข้าสู่สมรภูมิข่าวหลอกลวงได้ สามารถปกป้องตนเองจากผลกระทบเชิงลบ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 การต่อสู้กบั ข้อมูลบดิ เบอื นและขอ้ มูลท่ผี ิดดว้ ยการรเู้ ทา่ ทันสื่อและ
และพร้อมทจี่ ะหกั ลา้ งขา่ วหลอกลวงอนั เป็นสว่ นหน่งึ ของการทาขา่ ว21139 สารสนเทศ
การมีส่วนรว่ มทางสังคมกบั ผู้ใช้ส่ือสงั คมท่ไี ดร้ ับและส่งต่อขอ้ มลู บิดเบือนและข้อมูลท่ีผิดก็เป็นวิธีการที่ได้ผลดีอีกวธิ หี น่ึงสาหรับ
นักข่าวและนักศึกษาสาขาวารสารศาสตร์ในการเรียนรู้วิธีการค้นหาติดตามและหักล้างความเท็จอย่างมีประสิทธิภาพเพ่ือ
ประโยชน์ตอ่ ตนเองและชุมชน ผ้สู อนจึงควรพิจารณาให้แบบฝกึ หัดในส่วนนด้ี ว้ ยสาหรบั หน่วยการเรยี นรนู้ ้ี
รูบา เอล เฮลู อาจารย์และนักวจิ ัยส่อื อาวุโสจากมหาวิทยาลัยนอเทรอดาม-เลบานอน ได้กล่าวถ้อยคาอันเป็นประโยชน์ต่อการ
พิจารณาความสาคัญของหนว่ ยการเรยี นรู้นไี้ ว้ว่า “การเสรมิ สร้างทักษะท่ีจาเป็นต่อการถอดรหัสข้อความตา่ ง ๆ แก่ประชาชน
เป็นความพยายามต่อเน่ืองท่ีตอ้ งการความร่วมมือจากผู้ใหก้ ารศึกษาดา้ นสือ่ และนักข่าว การรู้เท่าทันสื่อช่วยให้เราค้นพบดลุ ย
ภาพระหว่างความเชื่อถอื ในแหล่งข่าวกบั ความสงสัยทจี่ าเป็นต้องตง้ั คาถาม”
เปา้ หมายของหนว่ ยการเรียนรู้
หนว่ ยการเรยี นรู้นมี้ ีจดุ มงุ่ หมายเพอ่ื

ɒ เน้นความสาคัญของการมีชดุ ความรู้ท่ีจาเป็น22 และทักษะทีม่ าควบค่กู ัน23 ในการทาความเขา้ ใจการทาข่าว (และ
140 141
รูปแบบอื่น ๆ ของวารสารศาสตร์) ไปพรอ้ ม ๆ กันการตรวจสอบสอื่ ทบี่ กพรอ่ งและข่าวหลอกลวงอยูใ่ นสอื่ ต่าง ๆ

ɒ เสรมิ สร้างทักษะใหก้ บั ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมเพือ่ ใหร้ ู้จักบรโิ ภคขา่ วจากท่ัวทุกส่อื และทกั ษะในการเขา้ ใจวา่ การผลติ
ข้อมลู บดิ เบอื นนน้ั ทาไดง้ ่ายดายเพยี งใด

ɒ สอนให้ผู้เข้าเรียนรู้จักต้ังข้อสงสัยต่อข้อมูลทุกประเภทท่ีตนบริโภค และรู้วิธีชั่งน้าหนักความจริงของรายงานข่าว
โพสต์ ฟีดขา่ ว ภาพถ่าย วดิ โี อคลิป เสยี งบันทึก อนิ โฟกราฟิก และข้อมลู ทางสถติ ใิ นบรบิ ทท่เี หมาะสม

21 An example is Project Look Sharp, a media literacy initiative of Ithaca College, which has media literacy guides, curriculum kits and
downloadable handouts. www.projectlooksharp.org. [accessed 23/03/2018].

22 For information regarding media and information literacies see UNESCO’s Notions of MIL http://unesco.mil-for-teachers.unaoc.org/
foreword/unifying-notions-of-media-and-information-literacy/ [accessed 22/4/2018].

23 In addition to critical thinking skills identified by Facione (2010), participants should be encouraged to be sceptical; question
everything; assume nothing; fact-check sources.

78

ผลการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 การต่อสู้กบั ข้อมูลบดิ เบอื นและขอ้ มูลท่ผี ิดดว้ ยการรเู้ ทา่ ทันสื่อและ
เมือ่ จบหน่วยการเรยี นรนู้ ี้ ผเู้ รียนควรสามารถ สารสนเทศ

1. แยกแยะข้อเท็จจรงิ กับเร่ืองแต่งได้ รวมถึงแยกแยะความถกู ต้องของวธิ กี ารเล่าเรอ่ื งหลากหลายรูปแบบ กับ
เร่ืองเลา่ ภายในเน้ือข่าวทแ่ี ท้จรงิ ได้ด้วย

2. เขา้ ใจวธิ กี ารคดั เลอื กเรอื่ งราว ใครคือผูผ้ ลติ เนอื้ หา ใช้วธิ กี ารใดในการสรา้ งภาพตัวแทนความเป็นจริงทถี่ ูกต้อง
มกี ารใชภ้ าษาอยา่ งไร มีการเนน้ ยา้ หรอื ละเว้นอะไร ใครพูดอะไร คน ๆ นั้นมคี วามสาคัญและ/หรือเชอื่ ถอื ได้
เพยี งใด มีวาระซ่อนเรน้ อะไรหรือไม่ ขา่ วน้เี คย/เพ่ิง/จะสร้างผลกระทบอย่างไร และคนอ่ืน เขา้ ใจและบริโภค
ขา่ วเดยี วกนั นีอ้ ยา่ งไร

3. รู้ระดับความรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศของตนเองอย่างถ่องแท้ และรู้ว่ามีความสาคัญต่อความเป็นปัจเจก
บุคคลของตนอย่างไร และมคี วามสมั พันธ์กบั การใช้ขอ้ มลู ข่าวสารและการสอื่ สารของตนอย่างไร

รูปแบบของหนว่ ยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรูน้ ้ีแบง่ ออกเปน็ สองสว่ น ใช้เวลาส่วนละ 90 นาที ส่วนแรกเป็นภาคทฤษฎี และส่วนที่สองเปน็ ภาคปฏบิ ัติ
วิธีการเรียนการสอนแยกตามหัวข้อการอภิปรายเก่ียวกับความหมายของการร้เู ท่าทันส่ือและสารสนเทศ และความสาคญั ของ
การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศในยุคข้อมูลบิดเบือน ข้อมูลท่ีผิด และการบิดเบือนข้อมลู รูปแบบอื่นที่แพร่กระจายเป็นไวรลั ใน
ส่ือดั้งเดิมและสื่อสังคม เอกสารประกอบการสอนสาหรับหน่วยการเรียนรู้นี้อยู่ในอินเทอร์เน็ต และประกอบด้วยแหล่งข้อมูล
มากมายท่ีเปน็ ประโยชนต์ อ่ การค้นควา้ และแบบฝึกหดั ภาคปฏิบัติ
เว็บไซต์ทเี่ ป็นประโยชน์ ได้แก่

ɒ ยูเนสโก http://en.unesco.org/ และเพจการรเู้ ท่าทันสือ่ https://en.unesco. org/themes/media-literacy
ɒ United Nations Alliance of Civilisations https://www.unaoc.org/
ɒ หลักสตู รการรู้เท่าทนั ส่อื และสารสนเทศสาหรบั ผสู้ อน http://www. unesco.org/new/en/communication-

and-information/resources/ publications-and-communication-materials/publications/full-list/
media-and-information-literacy-curriculum-for-teachers/
ɒ กฎ 5 ขอ้ ของ MIL http://www.unesco.org/new/en/communication-and-information/ media-
development/media-literacy/five-laws-of-mil/
ɒ Common Sense Education https://www.commonsense.org/education/ top-picks/media-news-
and-information-literacy-resources-for-students

79

ɒ EAVI Media and Literacy for Citizenship https://eavi.eu/ beyond-fake-news-10-types-misleading- หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 การต่อสู้กบั ข้อมูลบดิ เบอื นและขอ้ มูลท่ผี ิดดว้ ยการรเู้ ทา่ ทันสื่อและ
info/ สารสนเทศ

ɒ โครงการรเู้ ท่าทันข่าว http://www.thenewsliteracyproject.org/, ศูนยก์ ารรเู้ ทา่ ทันขา่ ว มหาวทิ ยาลัยสโตนี่
บรูค http://www.centerfornewsliteracy.org/

ɒ Mind over Media http://propaganda.mediaeducationlab.com/
ɒ ศูนยข์ อ้ มลู ดิจิทลั (ศนู ย์การรเู้ ทา่ ทันข่าว) http://drc.centerfornewsliteracy.org/
ɒ ศูนย์การรเู้ ท่าทนั สอ่ื และสารสนเทศแหง่ มหาวิทยาลยั โร้ดไอส์แลนด์ https://centermil.org/resources/ และ

อ่นื ๆ อีกมาก
ผ้สู อนควรเพมิ่ เตมิ แหลง่ ขอ้ มูลความร้จู ากประเทศและภมู ภิ าคของตนในภาษาตา่ ง ๆ ดว้ ย
ควรมีคอมพิวเตอร์ท่เี ชอื่ มตอ่ กับอนิ เทอรเ์ นต็ ในห้องเรยี นเพ่อื ใหผ้ สู้ อนและผเู้ รยี นสามารถเขา้ ไปศกึ ษาเวบ็ ไซตข์ ององคก์ รต่าง ๆ
ทเี่ กยี่ วขอ้ งกับการร้เู ทา่ ทนั สอื่ และสารสนเทศ และกรณศี ึกษาของสอื่

การเชือ่ มโยงแผนการเรียนการสอนสู่ผลการเรยี นรู้

ก. ภาคทฤษฎี

ผูส้ อนแจกเอกสารประกอบและกรณศี กึ ษาการรูเ้ ท่าทันสอื่ และสารสนเทศและความเกีย่ วข้องกับขอ้ มูลบิดเบอื นและข้อมลู ทผ่ี ดิ
ในรปู แบบของขา่ ว

แผนหน่วยการเรียนรู้ จานวนชวั่ โมง ผลการเรียนรู้

บรรยายและอภปิ รายการรู้เทา่ ทันสอ่ื และสารสนเทศและเคร่อื งมอื รวมทง้ั กรอบ 45 นาที 1+3
การคดิ เชิงวพิ ากษ์

ทบทวนและอภิปรายตวั อย่างที่เลอื กมาทเ่ี กี่ยวกบั ทอ้ งถน่ิ จากสอ่ื หลากหลาย 45 นาที 1+2
รปู แบบ

80

ข. ภาคปฏบิ ัติ จานวนชว่ั โมง ผลการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 การต่อสู้กบั ข้อมูลบดิ เบอื นและขอ้ มูลท่ผี ิดดว้ ยการรเู้ ทา่ ทันสื่อและ
กจิ กรรมทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั เอกสารและเคร่ืองมือประกอบการเรยี นรู้ สารสนเทศ
แผนหนว่ ยการเรียนรู้

กิจกรรมภาคปฏบิ ตั ิ 90 นาที 1+3
1+3
กจิ กรรมท่ี 1: รู้วา่ อะไรคอื การทาข่าว 45 นาที

เลอื กข่าวหนา้ หนงึ่ จากหนังสอื พิมพ์ทอ้ งถิน่ ผ้เู รยี นแต่ละคนควรคน้ คว้าและ
ตรวจสอบขา่ วเดียวกันจากสือ่ สามชอ่ งทาง

นาการอภิปรายโดยใหผ้ เู้ รยี นโดยใชเ้ ทคนิคการคดิ วเิ คราะห์ ควรให้คน้ หาการเลา่
เร่ืองท่ีแฝงอย่ใู นเนอื้ ข่าว พรอ้ มกบั การเลือกมุมมองของเร่ือง การเลือกข่าว และ
รูปแบบของข่าว กจิ กรรมน้คี วรใหค้ วามสนใจเปน็ พเิ ศษกับระเบียบแบบแผนของ
ข่าว (ทมี่ อี งค์ประกอบคือ ใคร ทาอะไร ทไี่ หน เมื่อไร อยา่ งไร ทาไม การยกคาพดู
โดยตรง การอาศัยผู้เชย่ี วชาญและแหล่งท่มี าท่นี ่าเชอื่ ถือ ภาพประกอบ คาศพั ท์
ทวั่ ไปท่ีเปน็ ลกั ษณะเฉพาะของ “ภาษาขา่ ว” และสญั ญาณอ่ืน ๆ 'ทบ่ี ง่ บอกความ
เป็นขา่ ว'

กจิ กรรมท่ี 2: การนาเสนอข้อมูลบิดเบอื นในรูปของขา่ ว 45 mins

ใหผ้ ู้ทากิจกรรมดตู วั อย่างข่าวหลอกลวง และอภปิ รายวา่ อะไรบา้ งทท่ี าใหข้ า่ ว
หลอกลวงน้นั ได้ผลหรอื ไมไ่ ด้ผล จากนนั้ ให้ผู้เรยี นดดั แปลงแกไ้ ขข่าวทเ่ี พง่ิ อา่ นไป
ก่อนหนา้ นี้ โดยใหแ้ ต่งเร่ืองหลอกลวงที่กาลังจะเกดิ ขึน้ ในอนาคตอันใกล้ ใหม้ ี
รูปแบบเหมอื นขา่ ว (หรือใหผ้ ู้เรยี นเลือกหัวขอ้ ในการสรา้ งขา่ วท่เี ปน็ ขอ้ มูลบดิ เบอื น
เอง)

หลังจากนนั้ ให้ผูเ้ รยี นจบั กลมุ่ เพอื่ ประเมนิ วา่ อะไรบ้างทีท่ าให้เร่อื งท่แี ตง่ ขนึ้ ดเู หมอื น
ขา่ วจรงิ โดยอาจใหใ้ ชแ้ บบสอบถามในการประเมนิ ร่วมด้วย แต่ควรให้มเี ร่อื งของ
การระบสุ ่งิ บ่งบอกความเปน็ ขา่ วทถ่ี ูกนามาใชใ้ นการเขยี นข่าวหลอกดว้ ย

จากนัน้ กลบั มารวมกนั อีกครั้ง และใหผ้ ู้ทากิจกรรมแบ่งปนั ความรู้ที่ได้โดยการ
นาเสนอผลงานทงั้ หมด

81

งานมอบหมาย หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 การต่อสู้กบั ข้อมูลบดิ เบอื นและขอ้ มูลท่ผี ิดดว้ ยการรู้เทา่ ทันสื่อและ
ผู้เรยี นแตล่ ะคนควรหาข่าววิทยาศาสตรห์ รอื การแพทยจ์ ากส่อื สงั คมของตน (เช่น กระแสลดน้าหนัก การระบาดของโรค ผลจาก สารสนเทศ
ภาวะโลกร้อนต่อชุมชน ประสทิ ธภิ าพของรถไฟฟ้ากับรถทีใ่ ชน้ า้ มนั และประเมินขา่ วเหล่านี้ รวมท้ังอคติสว่ นตัว (ที่เกดิ ข้ึน) และ
ปฏิกริยาทางอารมณ์ต่อเร่ืองหรือมุมมองในประเดน็ นั้น ๆ โดยดูว่ามีความเก่ียวข้องกับการรู้เท่าทันส่ือและสารสนเทศอย่างไร
บา้ ง เช่น ในด้านการค้นหา การประเมินคุณคา่ ความปลอดภัยทางดิจิทลั สทิ ธิ ตวั ตน และหลักจริยธรรมข่าว
จากนั้นให้ผู้เรียนทาข้อมูลท่ีได้จากการค้นคว้า เก่ียวกับ: ใครเป็นผู้ผลิตเน้ือหา ผู้ส่ือข่าวหรือบุคคลรู้ไดอ้ ย่างไรว่ามีการเผยแพร่
ข่าวอะไร ได้ประโยชน์จากการเผยแพร่หรือไม่ ตรวจสอบข้อมูล สถิติ อินโฟกราฟิกซ้าอกี คร้งั หากเป็นไปไดใ้ ห้ใช้หอ้ งสมดุ หรือ
ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกสข์ องมหาวิทยาลัยในการตรวจสอบข้อมูล จากน้ันนาผลท่ีได้มาเขียนบทวิจารณส์ ื่อความยาว 1,500 คา
โดยวเิ คราะห์ถึงจุดแขง็ จดุ อ่อน การละเวน้ ขอ้ มลู และความล้มเหลวของเนอ้ื หาขา่ วทกี่ ล่าวถงึ
เอกสารประกอบ
จากบทความที่มสี ไลด์ ภาพ และวดิ โี อ ในเอกสารเพิม่ เติม ผสู้ อนสามารถทาสไลด์ของตนเองโดยใสภ่ าพและวดิ ีโอทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับ
ประเทศและบรบิ ทของตนเพ่มิ เตมิ
อา่ นเพ่มิ เติม
Abu-Fadil, M. & Grizzle, A. (2016). Opportunities for Media and Information Literacy in the Middle East and

North Africa.Available at: https://milunesco.unaoc.org/wp-content/ uploads/MIL-Mena-2016-english.pdf
[accessed 05/01/2018].
A lexicon for the digital age. (2017). The Unesco Courier, [online] (July - September 2017). Available at:
https://en.unesco.org/courier/2017-july-september/lexicon-digitalage [accessed 06/04/2018].
Facione, P. (2010). Critical Thinking: What It Is and Why It Counts. [online] Insight Assessment. Available at:
https://www.insightassessment.com/ [accessed 05/01/2018].
Gray, J., Bounegru, L.& Venturini, T. (2017). What does fake news tell us about life in
the digital age? Not what you might expect. NiemanLab. [online] Available at:
http://www.niemanlab.org/2017/04/ what-does-fake-news-tell-us-about-life-in-
the-digital-age-not-what-you-might-expect/ [accessed 06/04/2018].
Stephens, B. (2017). The Dying Art of Disagreement. The New York Times. [online] Available at:
https://www.nytimes.com/2017/09/24/opinion/dying-art-of-disagreement. html [accessed 06/04/2018].

82

อา่ นเพ่มิ เตมิ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 การต่อสู้กบั ข้อมูลบดิ เบอื นและขอ้ มูลท่ผี ิดดว้ ยการรเู้ ทา่ ทันสื่อและ
สารสนเทศ
Lytvynenko, J. (2018). Here’s How A Canadian Imam Got Caught Up In Fake News About Houston.
BuzzFeed. [online] Available at: https://www.buzzfeed.com/janelytvynenko/ toronto-imam-caught-up-
in-fake-news?bftw&utm_term=.ha3w9B5rr#.acEgmYE66 [accessed 06/04/2018].

Mulrooney Eldred, S. (2017). In an era of fake news, students must act like journalists: schools rarely
require news literacy, but it’s more important than ever. Science News. [online] Available at:
https://www.sciencenewsforstudents.org/article/era-fake-newsstudents-must-act-journalists [accessed
06/04/2018].

Rusbridger, A., Neilsen, R. and Skjeseth, H. (2017). We asked people from all over the world how
journalists should cover powerful people who lie. Here is what they said. Reuters Institute for the
Study of Journalism, Oxford University. https:// reutersinstitute.politics.ox.ac.uk/risj-review/we-
asked-people-all-over-world-howjournalists-should-cover-powerful-people-who-lie [accessed
12/06/2018]

Vesey-Byrne, J. (2017). Bikini designer exposes why you shouldn’t trust everything you see on Instagram.
The Independent. [online] Available at: https://www.indy100.com/ article/bikini-designer-instagram-
before-after-karina-irby-7934006?amp [accessed 06/04/2018].

83

ห น่ ว ย ก า ร เ รี ย น รู้ ท่ี 5

84

จากนกั การเมอื งถึงนักการตลาด จากกลุ่มผ้สู นบั สนุนถงึ แบรนด์ ทกุ คนที่ตอ้ งการโน้มน้าวผู้อน่ื ตา่ งมีแรงกระตุ้น หนว่ ยการเรียนรู้ท5:่ี
ให้บิดเบือน พูดเกินจริง หรือ ให้ข้อเท็จจริงท่ีคลมุ เครือ หน่วยการเรยี นรู้น้ีต้องการติดตั้งเครือ่ งมอื ใหก้ ับผู้เรียน
เพ่ือให้รู้ว่าข้อกล่าวอ้างใดสามารถตรวจสอบความจริงได้ และประเมินหลักฐานได้อย่างมีวิจารณญาณและ
สอดคล้องกบั แบบแผนและมาตรฐานจรยิ ธรรม

ประวตั ศิ าสตรแ์ ละอรรถศาสตร์ของการตรวจสอบข้อเทจ็ จริงอนั เปน็ รปู แบบหน่ึงของการเสนอข่าวอย่างมคี วาม
รบั ผิดชอบ

แดเนียล แพทริค มอยนาฮนั สมาชกิ วฒุ สิ ภาสหรฐั แห่งรฐั นิวยอรก์ และเอกอัครราชทูตประจาประเทศอนิ เดียและสหประชาชาติ
(พ.ศ. 2470 - 2546) กลา่ วไวว้ า่ “ทุกคนมีสิทธใิ นความคดิ เห็นของตน แต่ไม่ใชข่ ้อเท็จจริงของตน”1142

คาว่า “การตรวจสอบข้อเท็จจริง” ในทางวารสารศาสตร์อาจมีได้สองความหมายท่ีแตกต่างกัน แต่เดิมห้องข่าวว่าจ้างผู้ตรวจสอบ
ข้อเท็จจริงเพื่อพิสูจน์อักษรและตรวจสอบข้อเท็จจริงในบทความท่ีผู้สื่อข่าวเขียน วิธีการตรวจสอบข้อเท็จจริงเช่นน้ีเป็นการ
ประเมินความถูกตอ้ งแม่นยาของการรายงานขา่ วโดยเปน็ การตรวจซา้ ทั้งข้อเทจ็ จริงและตัวเลขต่าง ๆ และทาหนา้ ทสี่ ื่อในการ
ควบคุมคุณภาพเนื้อหาข่าวโดยรวมก่อนการตีพิมพ์ แนวทางปฏิบัติเช่นน้ีในวารสารศาสตร์สมัยใหม่อย่างน้อยในโลกตะวนั ตก
เปน็ ความดคี วามชอบของนิตยสารรายสัปดาห์รายใหญ่ ๆ ในสหรฐั อเมริกาอยา่ ง ไทม์ ในชว่ งครสิ ต์ศตวรรษท่ี 202143

การหดตวั ทางเศรษฐกิจที่สง่ ผลกระทบต่อองค์กรข่าวส่วนใหญท่ ั่วโลกตงั้ แต่ชว่ งเปลี่ยนผ่านเข้าสู่คริสตศ์ ตวรรษที่ 213 ทาให้ฝ่าย
144

ตรวจสอบข้อเท็จจริงมีขนาดเล็กลงและถูกรวบไปอยู่กับโต๊ะตรวจต้นฉบับหรือไม่ก็ถูกตัดออกไปเลย ปัจจุบันส่วนใหญ่จะมีก็

เพียงนิตยสารแนวหน้าอย่าง เดอะ นิวยอร์เกอร์ ของสหรัฐ หรือ เดร์ สปีเกิล ของประเทศเยอรมนีที่ยังคงจ้างคนตรวจสอบ

ข้อเทจ็ จริงโดยเฉพาะในฝ่ายบรรณาธิการ4145

การตรวจสอบข้อเท็จจริงซ่ึงเป็นเป้าหมายหลักของหน่วยการเรียนรู้นี้ ไม่ใช่การตรวจสอบก่อนการตีพิมพ์ หากแต่เป็นการ
ตรวจสอบภายหลังจากที่ข้อความท่ีกล่าวอ้างนั้นส่งผลกระทบต่อสาธารณะ การตรวจสอบข้อเท็จจริง “ย้อนหลัง” เช่นนี้เป็น
การเรียกร้องให้นักการเมืองและบุคคลสาธารณะแสดงความรับผิดชอบต่อความจริงในส่ิงท่ีพูด ผู้ตรวจสอบข้อเท็จจริงใน
รูปแบบนี้ตอ้ งการแหลง่ ข่าวใหญท่ ่ีมชี ื่อเสียงทีส่ ามารถยืนยันหรอื ปฏเิ สธขอ้ ความทป่ี ระกาศต่อสาธารณะน้ัน

1 Moynihan, D. & Weisman, S. (2010). Daniel Patrick Moynihan. New York: PublicAffairs.

2 Scriber, B. (2016). Who decides what’s true in politics? A history of the rise of political fact-checking. [online] Poynter.
Available at: https://www.poynter.org/news/who-decides-whats-true-politics-history-rise-political-fact-checking [accessed
28/03/2018].

3 See Module Three

4 Bloyd-Peshkin, S. & Sivek, S. (2017). Magazines find there’s little time to fact-check online. [online] Columbia Journalism Review.
Available at: https://www.cjr.org/b-roll/magazine-fact-checking-online.php [accessed 28/03/2018].

85

การตรวจสอบข้อเท็จจริง “ย้อนหลัง” เช่นนี้ เน้น (แต่ไม่จากัด) ท่ีโฆษณาทางการเมือง การปราศรัย และนโยบายพรรค เป็น หนว่ ยการเรียนรู้ท5:่ี
หลัก โดยโครงการแรก ๆ ที่อุทิศให้กับการตรวจสอบทางการเมืองในรูปแบบนี้ได้แก่ Factcheck.org โดยศูนย์นโยบาย
สาธารณะอันเนนเบิร์ก ของมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย ท่ีเร่ิมขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2546 และโครงการ Fact Check ของสถานีข่าว
Channel 4 ขององั กฤษ ท่ีเรม่ิ ในปี พ.ศ. 2548

การตรวจสอบขอ้ เท็จจริงมคี วามสาคัญมากขึ้นและไดแ้ พรข่ ยายไปทวั่ โลกในช่วงทศวรรษที่ผา่ นมา

ช่วงเวลาท่ีสาคัญเป็นพิเศษต่อการเติบโตของปฏิบัติการข่าวน้ีประกอบด้วยสองช่วง โดยคล่ืนลูกแรก คือการมอบรางวัลพูลิต
เซอร์ สาหรับการรายงานข่าวระดับชาติในปี พ.ศ. 2552 ให้กับโครงการ PolitiFact ซ่ึงเป็นโครงการตรวจสอบข้อเท็จจริงที่เพิ่ง
เกิดขึ้นได้ปีกว่า ๆ โดยหนังสือพิมพ์ เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ไทม์ส (ปัจจุบันคือ แทมปา เบย์ ไทม์ส) ในรัฐฟลอริด้า นวตั กรรมของ
PolitiFact คือการจัดอันดับคากล่าวอ้างด้วย “Truth-O-Meter” ซ่ึงทาให้โครงสร้างการตรวจสอบข้อเท็จจริงมีความซับซ้อน
เพ่ิมขึ้นอีกช้ันและมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น (แต่นักวิจารณ์เห็นว่าการจัดอันดับเป็นการทาให้เกิดความไม่เป็นกลางในกระบวนการ
ตรวจสอบ) วิธีการเชิงโครงสร้างเช่นน้ีทาให้ผู้รับข่าวสารเข้าใจชัดเจนข้ึนว่าการตรวจสอบข้อเท็จจริงทางการเมืองคืออะไร และยัง
เป็นการแสดงให้เห็นถึงการนาไปใช้เป็นเครื่องมือทางวารสารศาสตร์เพ่ือให้บุคคลสาธารณะแสดงความรับผิดชอบต่อคาพูดของ
ตนเองตอ่ สว่ นรวม และในขณะเดียวกนั กไ็ ดส้ รา้ งแรงบนั ดาลใจให้กับโครงการอน่ื ท่วั โลกหลายโครงการด้วย5146

คลื่นลูกท่ีสองของโครงการตรวจสอบข้อเท็จจริงเกิดขึ้นหลังจากสิ่งที่เรียกว่า “ข่าวปลอม” โหมกระหน่าไปทั่วทุกมุมโลก คาที่
ถูกนามาใช้และใช้กันอยา่ งผดิ ๆ คานี้หมายถึงเรอื่ งแตง่ ทุกประเภทที่เน้นกระตุ้นอารมณ์ความรู้สกึ คนจานวนมหาศาลด้วยการ
ฉวยโอกาสจากอัลกอริทึมของส่ือสังคม ดังท่ีเห็นได้อย่างชัดเจนตลอดปี พ.ศ. 2559 ท่ีโครงสร้างสารสนเทศออนไลน์อ่อนไหว
เป็นพิเศษต่อการแทรกซึมของข้อมูลบิดเบือนและข้อมูลที่ผิด จนหลายต่อหลายฝ่ายหันไปให้ความสนใจกับการตรวจสอบ
ข้อเท็จจริง

บ่อยคร้ังที่คลื่นลูกที่สองน้ีเน้นเรื่องของการตรวจสอบข้อความสาธารณะเท่า ๆ กับการหักล้างเรื่องหลอกลวงท่ีเป็นไวรัล การ
หักล้างถือเป็นหน่วยย่อยของการตรวจสอบข้อเท็จจริงและต้องใช้ชุดทักษะเฉพาะด้านท่ีเหมือนกับการพิ สูจน์ความจริงทั่วไป
(โดยเฉพาะกับเนื้อหาท่ีผลิตโดยผูใ้ ช้ ที่เรียกกันว่า user-generated content (UGC)) ดูแผนภาพของเวนน์ประกอบด้านล่าง)
หน่วยการเรียนรู้นี้เน้นการตรวจสอบข้อเท็จจริงดังที่นิยามไว้ด้านล่างน้ี ในขณะท่ีหน่วยการเรียนรู้ถัดไปจะกล่าวถึงการพิสูจน์
ความจริงสาหรับเนอื้ หาและแหลง่ ขอ้ มูลดจิ ทิ ัล6147

5 Mantzarlis, A. (2017). In its first decade, PolitiFact helped define political fact-checking far beyond Washington, D.C. [online]
Poynter. Available at: https://www.poynter.org/news/its-first-decade-politifact-helped-define-political-fact-checking-far-beyond-
washington-dc [accessed 28/03/2018].

6 ดู หน่วยการเรยี นรทู้ หี่ ก

86

หนว่ ยการเรียนรู้ท5:่ี

ภาพท่ี 5 ความแตกต่างระหวา่ งการตรวจสอบขอ้ เท็จจรงิ และการตรวจสอบความจริง
ตัวอย่างขององค์กรตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริงทว่ั โลก
ดู๊ค รีพอร์เตอร์ส แล็บ รายงานโครงการตรวจสอบข้อเท็จจริง 137 โครงการท่ัวโลกใน 51 ประเทศ เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.
2560 7148
แม้ว่าประเทศสหรฐั อเมรกิ าจะเปน็ แหล่งตรวจสอบข้อเทจ็ จรงิ ทใี่ หญ่ทีส่ ดุ แตย่ ังมีโครงการอน่ื ๆ ทีม่ ีความครอบคลุมและมคี วาม
ริเริ่มท่ีสุดในสาขาน้ีกระจายอยู่ท่ัวโลก ผู้สอนอาจทาความรู้จักกับโครงการต่าง ๆ เช่น แอฟริกา เช็ก (ในประเทศแอฟริกาใต้
เซเนกัล ไนจีเรีย และเคนยา) โครงการ เช็กคิอาโด (ในอาร์เจนตินา) เลส์ เดโคเดอร์ส (ในฝร่ังเศส) โครงการ ฟักทิสก์ (ในนอร์เวย์)
และโครงการ ฟลุ แฟก็ ต์ (ในสหราชอาณาจักร)
สาหรบั ผ้สู อนทตี่ อ้ งการเน้นประเทศหรอื ภูมภิ าคใดเป็นการเฉพาะ อาจใชแ้ หลง่ ข้อมลู ดา้ นลา่ ง

ɒ บราซิล: บทความเร่อื ง “Fact-checking booms in Brazil” โดย เคท สไตเกอร์-กนิ ซ์เบริ ก์ ในลงเวบ็
Poynter เข้าถึงได้ทาง https://www.poynter.org/news/ fact-checking-booms-brazil

ɒ ยุโรป: รายงานเรอื่ ง “The Rise of Fact-Checking Sites in Europe” โดย ลูคสั เกรฟส์ และ เฟเดรกิ า้ เช
รูบินี ท่เี ขียนให้สถาบันรอยเตอร์ส ของมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด เขา้ ถงึ ไดท้ าง

7 Stencel, M. (2017). Fact-checking booms as numbers grow by 20 percent. [online] Duke Reporters Lab.
Available at: https://reporterslab.org/big-year-fact-checking-not-new-u-s-fact-checkers/ [accessed 28/03/2018].

87

http://reutersinstitute.politics.ox.ac.uk/our-research/ rise-fact-checking-sites- หนว่ ยการเรียนรู้ท5:่ี
europe#overlay-context=

ɒ ญ่ปี นุ่ : บทความเรื่อง “A new fact-checking coalition is launching in Japan” โดย มาซาโตะ คาจโิ มโตะ
ในเว็บ Poynter เขา้ ถงึ ไดท้ าง https://www.poynter.org/news/ new-fact-checking-coalition-
launching-japan

ɒ เกาหลีใต:้ บทความเรอ่ื ง “What’s behind South Korea’s fact-checking boom? Tense politics and
the decline of investigative journalism,” โดย โบยงั ลมิ ในเวบ็ Poynter เขา้ ถึงไดท้ าง
http://www.poynter.org/2017/whats-behindsouth-koreas-fact-checking-boom-tense-politics-
and-the-decline-ofinvestigative-journalism/463655/

ɒ ละตนิ อเมริกา: บทความเรอ่ื ง “Lack of access to information is driving Latin America’s fact-
checking boom” โดย ไอวาน เอ็ชท์ ในเว็บ Poynter เขา้ ถงึ ไดท้ าง https://www.poynter.org/news/
lack-access-information-driving-latin-americas-fact-checking-boom

ɒ สหรัฐอเมรกิ า: หนังสอื เร่อื ง “Deciding What’s True: The Rise of Political Fact-Checking in American
Journalism” โดย ลูคสั เกรฟส์ หรือ รวี ิวหนังสอื เลม่ นีโ้ ดย แบรด สไครเบอร์ ในเว็บ Poynter เข้าถงึ ไดท้ าง
https://www.poynter.org/news/ who-decides-whats-true-politics-history-rise-political-fact-
checking

วิธกี ารและจริยธรรมการตรวจสอบข้อเท็จจรงิ

การตรวจสอบข้อเทจ็ จรงิ ไมใ่ ชเ่ ร่อื งยากจนเกินความสามารถ มนั คอื การวิเคราะห์อย่างถ่ีถ้วนทเี่ กดิ จากคาถามเพียงคาถามเดียว
คอื “รูไ้ ด้อยา่ งไร” และไมใ่ ช่เพียงแค่การตรวจตัวสะกด เพราะไม่มตี าราคูม่ อื ท่มี าพร้อมกับขอ้ เท็จจริงทกุ เรื่องอยา่ งพจนานุกรม
หรอื โปรแกรมตรวจสอบเอกสารท่ีคอยแจ้งเตือนทกุ คร้งั ที่มกี ารนาอะไรไปพูดว่าเปน็ ขอ้ เท็จจรงิ
โดยรวม ๆ แล้ว การตรวจสอบขอ้ เท็จจรงิ แบง่ เป็นสามระยะ ได้แก่

1. การสบื คน้ ขอ้ ความทส่ี ามารถตรวจสอบขอ้ เท็จจริงได้ ดว้ ยการสารวจเอกสารทางกฎหมาย ช่องทางส่ือต่าง ๆ
และสอ่ื สงั คม กระบวนการนร้ี วมถึงการกาหนดวา่ ข้อความสาธารณะทส่ี าคญั ขอ้ ความใด (ก) สามารถตรวจสอบ
ขอ้ เทจ็ จริงได้ และ (ข) ควรตรวจสอบขอ้ เท็จจรงิ

2. การสืบคน้ ขอ้ เทจ็ จริง ด้วยการหาหลักฐานท่ีดที ส่ี ุดท่ีมีอยู่เกีย่ วกบั ข้อความทต่ี อ้ งการ
3. การแก้ไขข้อความ จากการประเมินตามหลักฐานที่ปรากฏซึ่งเป็นไปตามระดับความถูกต้องตรงกับความเป็น

จรงิ

88

องค์กรตรวจสอบขอ้ เท็จจรงิ ที่เชื่อถือได้ ได้อธิบายกระบวนการตรวจสอบด้วยวธิ ีการสาธารณะไว้ ซึ่งผู้สอนอาจเลอื ก หนว่ ยการเรียนรู้ท5:่ี
จากรายการดา้ นล่างสักหนงึ่ หรือสองเรอ่ื งเพอ่ื นามาใชใ้ ห้ผเู้ รยี นไดศ้ กึ ษาไปพรอ้ ม ๆ กนั

1. เพจ “How We Work” ของโครงการ Africa Check (ทางเวบ็ ไซต์ https://africacheck.org/ about-
us/how-we-work/) และอนิ โฟกราฟิกในส่วน “เอกสารประกอบ”

2. เพจ “Metodo” ของเวบ็ โครงการ Chequeado (ภาษาสเปน ทางเว็บไซต์ http://chequeado.com/
metodo/)

3. เพจ “Metodologia” และ “Come funzioniamo” ของเว็บ Pagella Politica (ภาษาอิตาเลียน ทาง
เวบ็ ไซต์ https://pagellapolitica.it/progetto/index)

4. เพจ “The Principles of PolitiFact” ของโครงการ PolitiFact (ทางเว็บไซต์ at
http://www.politifact.com/ truth-o-meter/article/2013/nov/01/ principles-politifact-
punditfact-and-truth-o-meter/)

เครือข่ายตรวจสอบข้อเท็จจริงนานาชาติ หรือ IFCN8 มีการกาหนดหลักแนวคิดเพ่ือให้ผู้มีหน้าท่ีตรวจสอบข้อเท็จจริงใช้เป็น
149

แนวทางปฏิบัติในการปฏิบัตงิ านประจาวนั

องค์กรตรวจสอบข้อเท็จจริงสามารถขอเข้ารับการรับรองเป็นองค์กรท่ีปฏิบัติตามหลักแนวคิดของ IFCN ได้โดยต้องผ่านการ

ประเมินจากภายนอกเพื่อตรวจสอบประสิทธิผลของการนาเกณฑ์เหล่านไี้ ปใช้ ผ้สู อนอาจทาความรู้จกั กับหลักการดังกล่าวและ

ห า ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ข อ ง อ ง ค์ ก ร ต ร ว จ ส อ บ ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง ใ น ป ร ะ เ ท ศ ข อ ง ต น 9 แ ล ะ อ ภิ ป ร า ย ว่ า เ ก ณ ฑ์ เ ห ล่ า น้ี ท า ใ ห้ ผู้ เ รี ย น เ ช่ื อ ถื อ

150

หนว่ ยงานตรวจสอบขอ้ เท็จจริงเหลา่ น้ีมากขนึ้ หรือไม่

หลักแนวคิดดังกล่าวนีพ้ ัฒนาขนึ้ เพอ่ื ช่วยให้ผู้อ่านแยกแยะการตรวจสอบขอ้ เท็จจรงิ ที่ดแี ละไม่ดีได้ สว่ นตวั อย่างของ ข้อมูลท่ีผดิ
ทแี่ อบแฝงมาในรูปของการตรวจสอบขอ้ เท็จจรงิ นั้น ผู้สอนอาจใช้ตวั อยา่ งจากบทความดา้ นล่างประกอบ

ɒ These fake fact-checkers are peddling lies about genocide and censorship in Turkey (Poynter)
https://www.poynter.org/news/these-fake-fact-checkers-arepeddling-lies-about-genocide-and-
censorship-turkey

8 อเล็กซอิ อส มันท์ซาร์ลิส ผเู้ ขียนบทน้ี เป็นหัวหนา้ เครอื ขา่ ยตรวจสอบขอ้ เท็จจรงิ นานาชาติ

9 เขา้ ถึงไดท้ าง https://www.poynter.org/international-fact-checking-network-fact-checkers-code-principles. [เมอื่ วนั ที่ 28 มนี าคม พ.ศ. 2561].

89

ɒ In the post-truth era Sweden’s far-right fake fact checker was inevitable. (The Guardian) หนว่ ยการเรียนรู้ท5:่ี
https://www.theguardian.com/media/2017/jan/19/ in-the-post-truth-era-swedens-far-right-
fake-fact-checker-was-inevitable

อะไรคอื สงิ่ ทสี่ กดั กน้ั ขอ้ เท็จจรงิ

ก่อนที่จะลงลึกไปยังภาคปฏิบัติของการตรวจสอบข้อเท็จจริง ผู้เรียนจาเป็นต้องตระหนักถึงข้อจากัดของการตรวจสอบ
ขอ้ เท็จจริงและของตนเองด้วย

ผู้เช่ียวชาญบางคนประกาศว่าเรากาลังเข้าสู่ยุค “ไม่สนใจความจริง” (Post Truth Era) คาสองคาน้ีปรากฏในพาดหัวข่าวท่ัว
โลกในปี พ.ศ. 2559 และถูกเลือกใหเ้ ปน็ “คาแห่งป”ี โดยพจนานุกรมออกซฟอร์ดและสมาคมภาษาเยอรมนั ตามลาดบั เหตุผล
ของกลุ่มสนับสนุน “ไม่สนใจความจริง” คือการแบ่งขั้วและความแตกแยกทางการเมืองและส่ือท่ีมากเสียจนคนปฏิเสธท่ีจะ
ยอมรับขอ้ เท็จจริงทีต่ นไม่เหน็ ด้วยโดยส้ินเชิง

คากล่าวน้ียิ่งเวลาผา่ นไปยิ่งไม่สอดคลอ้ งกับงานวจิ ัยจานวนมากที่พบว่าเมื่อมีการตรวจสอบโดยเฉพาะมกี ารอ้างอิงถึงผู้มีความ
น่าเชื่อถือในความคิดของผู้อ่าน คนท่ัวไป (โดยเฉล่ีย) จะรับรู้ข้อมูลมากข้ึน ซึ่งผู้สอนอาจหยิบยกงานวิจัยต่อไปน้ีเพื่ออ่านและ
อภปิ รายร่วมกบั ผเู้ รียน

ɒ Swire, B., Berinsky, A. J., Lewandowsky, S. & Ecker, U. K. H. (2017). Processing political
misinformation: comprehending the Trump phenomenon (1 March 2017). Available at
http://rsos.royalsocietypublishing.org/content/4/3/160802 [accessed 28/03/2018].

ɒ Nyhan, B. & Zeitzoff, T. (2018). Fighting the Past: Perceptions of Control, Historical
Misperceptions, and Corrective Information in the IsraeliPalestinian Conflict. Available at:
http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1111/ pops.12449/abstract. [accessed 28/03/2018].

ɒ Wood, T. & Porter, E. (2016). The Elusive Backfire Effect: Mass Attitudes’ Steadfast Factual
Adherence (August 5, 2016). Available at: https://ssrn.com/ abstract=2819073. [accessed
28/03/2018].

ในขณะเดยี วกัน การกล่าววา่ ขอ้ เท็จจริงเป็นภาพวาดทส่ี มบรู ณแ์ บบของโลกใบนแี้ ละมนษุ ย์เป็นสิง่ มีชีวิตท่ีใช้เหตผุ ลลว้ น ๆ และ
ยอมรับข้อเท็จจริงได้อย่างไร้ข้อกังขาไม่ว่าความเช่ือและความชอบส่วนตัวจะเป็นอย่างไรนั้น คงจะง่ายดายเกินไป เพราะเราทุกคน
ต่างเกิดมาพรอ้ มกบั ความเข้าใจและอคติตา่ ง ๆ ทเี่ ป็นอปุ สรรคทางความคดิ ทีส่ าคัญตอ่ การซมึ ซบั ข้อมลู ความจริงใหม่ ๆ จงึ ตอ้ ง
ขอย้าวา่ ประเดน็ น้ีไมใ่ ชเ่ รื่องท่เี กิดขน้ึ กบั คนอืน่ หากแต่เป็นส่ิงท่เี กดิ ข้นึ กับพวกเราทกุ คน

ผู้สอนควรหยบิ ยกอคติหรอื ความเอนเอยี งบางประเภทเพื่ออภิปรายในห้องเรยี นด้วย

90

ความเอนเอียงเพื่อยืนยันอคติ [จากสารานุกรมบริทานนิกา — https://www.britannica.com/ topic/confirmation-bias หนว่ ยการเรียนรู้ท5:่ี
[เข้าถึงเมื่อ 28 มีนาคม พ.ศ. 2561]: คือความโน้มเอียงที่จะประมวลข้อมูล ด้วยการมองหาหรือแปลความหมายข้อมูลที่
สอดคลอ้ งกับความเช่ือเดมิ การใช้อคตเิ ช่นนใ้ี นการตดั สนิ ใจส่วนใหญ่เกิดข้ึนโดยไมเ่ จตนาและมักส่งผลให้มองข้ามข้อมลู ที่ไม่
ตรงกับความคดิ ซึ่งความเชือ่ ท่ีมีอยู่เดมิ นร้ี วมไปถึงความคาดหวังต่อเหตุการณ์และการคาดเดาผลท่ีจะเกิดขึน้ เพราะคนเรามี
แนวโนม้ ท่ีจะประมวลข้อมูลเพ่ือสนบั สนุนความเช่ือของตนอย่แู ล้วโดยเฉพาะเมอื่ ประเดน็ ปัญหามคี วามสาคญั มากหรือมคี วาม
เกีย่ วขอ้ งกบั ตนเอง

การให้เหตุผลด้วยแรงจูงใจ [จากนิตยสาร ดิสคัฟเวอร์ — http://blogs.discovermagazine.com/intersection/2011/05/05/
what-is-motivated-reasoning-how-does-it-work-dan-kahananswers/#.WfHrl4ZrzBI [เข้าถึงเมื่อ 28 มีนาคม พ.ศ.
2561] การใช้แรงจูงใจในการใช้เหตุผลคือการที่จิตใต้สานึกของคนมีแนวโน้มที่จะประมวลข้อมูลให้สอดคล้องกับบทสรุป
ปลายทางหรอื เป้าหมายบางอยา่ ง ลองพิจารณาตวั อยา่ งคลาสสิกต่อไปนี้ดู ในชว่ ง พ.ศ. 2493 – 2502 นกั จิตวทิ ยาใหผ้ ้เู ขา้ ร่วม
การทดลองซึ่งเป็นนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยในเครือไอวี่ลีก 2 แห่งดูวิดีโอเกี่ยวกับการตัดสินใจของกรรมการในการแข่งขัน
อเมริกันฟุตบอลระหว่างทีมของท้ังสองมหาวิทยาลัยซึ่งเป็นที่ถกเถียงกันอย่างมาก นักศึกษาจากแต่ละมหาวิทยาลัยต่างก็มี
แนวโน้มท่ีจะคิดว่าการตัดสินของกรรมการน้ันถูกต้องเม่ือผลการตัดสินเป็นประโยชน์ต่อทีมของตนมากกว่าเม่ือผลการตัดสิน
เป็นผลดตี ่อทมี ค่แู ข่ง นกั วิจยั สรปุ ว่าเดมิ พนั ทางอารมณ์ของนกั ศกึ ษาตอ่ การแสดงความภกั ดตี อ่ มหาวิทยาลัยเป็นตวั กาหนดส่ิงท่ี
พวกเขาเห็น

การใช้ประสบการณ์ที่จาได้ในการตัดสิน [จากพจนานุกรมจิตวิทยาของสานักพิมพ์แห่งมหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด
http://www.oxfordreference.com/view/10.1093/acref/9780199534067.001.0001/acref9780199534067-e-
830 [เข้าถึงเม่ือ 28 มีนาคม พ.ศ. 2561] คือ กระบวนการใช้เหตุผลด้วยประสบการณ์หรือสิ่งท่ีจดจาได้ คือการใช้ตัวอย่าง
เหตกุ ารณ์ทจี่ ดจาได้เพียงไมก่ ่ีคร้ังในการตัดสนิ ความเปน็ ไปได้หรอื ความถี่ของการเกดิ เหตกุ ารณ์ ซงึ่ ทาใหค้ นมองเหน็ ขอ้ ความ
ทไี่ ม่ถกู ต้องเปน็ ความจริงเพยี งเพราะวา่ จาไดแ้ บบนั้น ผลการทดลองของ ลซิ า ฟาสิโอ แหง่ มหาวทิ ยาลยั แวนเดอร์บิลท์ พบว่า
คนที่ถูกขอให้พูดข้อความว่า “ส่าหรีคือโสร่ง” ซ้ากันหกครั้งเช่ือข้อความท่ีไม่จรงิ น้ีมากกว่าคนท่ีกลา่ วซ้าเพียงครั้งเดียว การ
เสนอข่าวเองอาจกลายเป็นตัวกลางของรายงานผดิ ๆ ในทานองน้ีได้หากทาให้คนอ่านเช่ือเพราะนาเสนอไปโดยไม่ไตร่ตรอง
ให้ดีก่อน ตัวอย่างเช่น การตีข่าวของส่ือกรณีสมคบคิดท่ีเกี่ยวข้องกับสถานท่ีเกิดของบารัก โอบามา อาจจะมีส่วนในการ
แพร่กระจายความเชือ่ ทีว่ ่าความจรงิ แล้วอดตี ประธานาธิบดสี หรัฐไมไ่ ด้เกดิ ทฮ่ี าวายก็เปน็ ได้

สังเกตว่าการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยตัวมันเองเป็นเครื่องมือที่ไม่สมบูรณ์แบบ เร่ืองบางเรื่องก็อาจมีความถูกต้องสมบูรณ์

แ บ บ ไ ด้ แ ม้ จ ะ ล ะ เ ว้ น บ ริ บ ท บ า ง อ ย่ า ง ไ ว้ 10 ข้อเท็จจริงจึงเป็นส่ิงประกอบสร้าง มีการจัดวาง และเรียบเรียงใหม่ อย่างมี

151

ความหมายเสมอ ภายใตโ้ ครงสร้างโดยรวมของเรอ่ื ง ซึ่งอาจทาใหข้ อ้ เท็จจรงิ ทมี่ าจากพ้ืนฐานเดยี วกันมีความสาคญั แตกตา่ งกนั

ความจริงยังเป็นมากกว่าการรวมกันของกลุ่มข้อเท็จจริง ดังน้ันการตรวจสอบข้อเท็จจริงจึงไม่ใช่เคร่ืองมือในการปิดกั้น

ทางเลือกในการตีความมากเท่ากับการรับรองชุดข้อเท็จจริงที่อาจส่งผลต่อเรื่องเล่าแล ะความเชื่อเดิมของแต่ละคนในการ

สนบั สนุนขอ้ โต้แยง้ อยา่ งมีเหตผุ ล

10 ดูตัวอยา่ ง Yanofsky, D.(2013). The chart Tim Cook doesn’t want you to see. Available at https://qz.com/122921/the-chart-tim-cook-
doesntwant-you-to-see/. [accessed 28/03/2018].

91

เปา้ หมายของหน่วยการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ท5:่ี
ɒ เพื่อให้เกดิ ความคุ้นเคยกับแนวทางการปฏิบตั ิทดี่ ใี นการตรวจสอบข้อเท็จจรงิ ทว่ั โลกมากข้ึน
ɒ เพ่ือสร้างความตระหนักรถู้ ึงอคตใิ นการใชเ้ หตผุ ลท่ีอาจเปน็ อุปสรรคตอ่ การเขา้ ใจความจรงิ
ɒ เพอ่ื พัฒนาทกั ษะการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ

ผลการเรยี นรู้
1. ความเข้าใจในการเกดิ ขึ้นของการตรวจสอบข้อเทจ็ จริง ซ่ึงเปน็ รปู แบบอยา่ งหนึ่งของการนาเสนอขา่ ว และ
ความเข้าใจในจริยธรรมและวธิ ีปฏบิ ตั ิ
2. ความเขา้ ใจเก่ียวกับคาถามทค่ี วรถามในการประเมนิ คณุ ภาพของหลกั ฐาน
3. ความสามารถที่ดีข้ึนในการแยกแยะขอ้ ความท่ตี รวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ ออกจากความคิดเหน็ และการกล่าวเกินจรงิ
4. ความเข้าใจเบื้องตน้ เกยี่ วกับอคติในการใหเ้ หตผุ ลตา่ ง ๆ ทเ่ี ป็นอุปสรรคต่อการเข้าใจความเปน็ จรงิ

รปู แบบของหนว่ ยการเรยี นรู้
แนวทางเชิงทฤษฎีของบทเรยี นนไ้ี ด้แก่

1. ประวตั ิศาสตรแ์ ละอรรถศาสตร์
2. วิธีการและจรยิ ธรรม
3. อปุ สรรคของการไปสู่ข้อเท็จจรงิ
แนวทางเชิงปฏบิ ัตแิ บ่งออกเป็นสองกิจกรรม
1. หาข้อความที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงได้
2. หาข้อเท็จจริง
งานมอบหมายเน้นท่กี ารแกไ้ ขคากล่าว

การเช่อื มโยงแผนการเรยี นการสอนกับผลการเรยี นรู้ จานวนชัว่ โมง ผลการเรียนรู้
ก. ภาคทฤษฎี

แผนหนว่ ยการเรยี นรู้

1. ประวตั ิศาสตรแ์ ละอรรถศาสตร์ 20 นาที 1
2. วิธกี ารและจรยิ ธรรม 20 นาที 1
3. อปุ สรรคของการไปสูข่ อ้ เท็จจรงิ 20 นาที 4

92

ข. ภาคปฏิบัติ จานวนช่ัวโมง ผลการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ท5:่ี
แผนของหน่วยการเรียนรู้
30 นาที 3
กจิ กรรมท่ี 1: หาขอ้ ความทต่ี รวจสอบข้อเท็จจรงิ ได้ 1 ชัว่ โมง 2
กิจกรรมที่ 2: หาขอ้ เท็จจริง

1) หาข้อความท่ีสามารถตรวจสอบข้อเท็จจริงได้

การตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ เน้นข้อความที่มอี ย่างน้อย 1 ขอ้ เทจ็ จริงหรอื ตัวเลขทีส่ ามารถพสิ จู นค์ วามเปน็ จริงไดอ้ ย่างเป็นกลาง
การตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริงไม่ใช่การประเมนิ ความเป็นเจริงของความคดิ เห็นและการคาดการณ์ การกลา่ วเกินความจรงิ การเสยี ด
สี และมุกตลก

กิจกรรมที่ 1 ให้ผู้เรียนอ่านบทคัดลอกจากสุนทรพจน์ของบุคคลสาธารณะ 4 คน โดยไฮไลต์ข้อความท่ีเป็นข้อเท็จจริงด้วยสี
หนึ่ง (สีเขียว) อีกสีหนึ่งใช้ไฮไลต์ข้อความแสดงความคิดเหน็ ที่ไม่สามารถตรวจสอบได้ (สีแดง) และใช้สีท่ีสามคือข้อความทอ่ี ยู่
ตรงกลางระหว่างสองประเภทแรก (สีส้ม) หลังจากผู้เรยี นสง่ บทคัดลอกที่ไฮไลต์แลว้ ให้หยิบยกข้ึนมาดูทีละช้ินและอภปิ รายว่า
อะไรทท่ี าใหข้ ้อความมลี ักษณะท่ีตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริงได้

แนวทาง
สแี ดง – ข้อความทีไ่ มส่ ามารถตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ ได้
สีส้ม – ขอ้ ความทอี่ ยตู่ รงกลาง
สีเขียว – ขอ้ ความท่ีตรวจสอบข้อเท็จจริงได้

มิเชลล์ แบชเลท็ อดีตประธานาธบิ ดี ประเทศชลิ ี
ในขณะท่ีเรามีความก้าวหน้าเป็นอย่างมากในการดาเนินงานไปในทิศทางนั้น เราตระหนักดีว่าต้องจัดการกับภัยคุกคามต่อ
ระบบนิเวศทางทะเล นน่ั คือ พลาสติก ปแี ล้วปเี ล่า พลาสติกจานวน 8 ล้านตันถูกทิ้งลงในมหาสมุทรและอย่ใู นนั้นเป็นร้อย ๆ ปี
และสร้างผลกระทบเชิงลบอย่างมากมายมหาศาล เพื่อแก้ปัญหาน้ี เราจึงเข้าร่วมในแคมเปญ CleanSeas ของโครงการ
สิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ ในขณะเดียวกัน ในการดาเนินการระดับประเทศเราจะเสนอร่างกฎหมายห้ามการใช้
ถุงพลาสติกในเมืองชายทะเลภายในระยะเวลา 12 เดือนนี้ ซ่ึงกฎหมายน้ีจะทาให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการปกป้อง
มหาสมุทร โดยทาให้เราเป็นประเทศแรกในทวีปอเมริกาท่ีใช้กฎหมายลักษณะนี้ และเราขอเรียกร้องให้ประเทศอื่น ๆ แสดง
ความรับผิดชอบเช่นกัน นอกจากน้ี บัดน้ีเป็นเวลา 30 ปีแล้วตั้งแต่มกี ารใชพ้ ิธีสารมอนทรอี อลวา่ ดว้ ยสารทาลายช้ันบรรยากาศ
โอโซนเพ่อื ให้ชน้ั บรรยากาศโอโซนได้ฟื้นตัว ในวาระครบรอบปที ่ี 31 นี้ ดิฉันขอประกาศวา่ ประเทศของดิฉันเพง่ิ ให้สัตยาบนั ต่อ
การแก้ไขเพ่ิมเติมคิกาลีปี พ.ศ. 2559 ของพิธีสารมอนทรีออล ที่มีจุดประสงค์เพื่อป้องกันการเพ่ิมข้ึนของอุณหภูมิ 0.5 องศา
เซลเซียสจากภาวะโลกร้อน ด้วยเหตุน้ี ชิลีจึงกลายเปน็ หน่ึงในประเทศแรก ๆ ที่ให้สัตยาบนั กับข้อตกลงดงั กลา่ ว ไม่เพียงเท่าน้ี

93

การสร้างเครือข่ายสวนสาธารณะในพาตาโกเนียทาให้เราสามารถเพิ่มพ้ืนที่สีเขียวได้อีกจานวน 4.5 ล้านเฮคแตร์ท่ีเป่ียมด้วย หนว่ ยการเรียนรู้ท5:่ี
ความหลากหลายทางชวี ภาพ และจะได้รบั การคุ้มครองโดยรฐั บาลเพอ่ื การใช้งานสาธารณะ

เจค็อบ สุมา อดตี ประธานาธิบดีประเทศแอฟรกิ าใต้

โครงสร้างเศรษฐกิจโลกในปัจจบุ นั ยังคงทาใหก้ ารแบ่งแยกโลกซกี เหนือและใต้มมี ากข้ึน ในขณะที่มเี พยี งส่วนนอ้ ยทีไ่ ด้
ประโยชนจ์ ากโลกาภวิ ัตน์ ประชากรสว่ นใหญข่ องโลกยงั คงมีชีวิตอยใู่ นความยากจนและความหวิ โหย โดยปราศจากความหวงั
ท่จี ะมสี ภาพการดาเนนิ ชวี ติ ท่ดี ีข้นึ ได้ แม้ในประเทศทีพ่ ัฒนาแลว้ ชอ่ งวา่ งระหว่างคนจนและคนรวยก็ยงั คงมีมาก และเป็น
ประเด็นที่น่าเป็นห่วง เราจึงจาเปน็ ต้องได้รับความยนิ ยอมทางการเมืองและความม่งุ มั่นจากบรรดาผนู้ าโลกในการแกไ้ ขปญั หา
และอปุ สรรคทเ่ี กดิ จากโครงสร้างของเศรษฐกจิ โลกทไ่ี ม่เปลยี่ นแปลงน้ี หากเรายงั หวงั ที่จะบรรลเุ ป้าหมายและความตั้งใจของ
เปา้ หมายเพือ่ การพฒั นาอย่างย่งั ยนื ภายในปี พ.ศ. 2573 (Agenda 2030) ความสัมพนั ธ์ระหว่างความไมเ่ ท่าเทยี มกันและ
ความอยุติธรรมของอานาจทางเศรษฐกจิ น้ีเห็นไดช้ ดั เจนในแอฟริกา ตวั อย่างเชน่ ทวปี ของเรานนั้ อุดมไปด้วยแหลง่ แร่ธาตุ
มากมาย แตย่ งั คงเปน็ ทวปี ทม่ี ีจานวนประเทศทีด่ อ้ ยพฒั นามากทส่ี ดุ

ซกิ มาร์ กาเบรียล อดตี รฐั มนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ เยอรมนี

เราตอ้ งช่วยกันหาวิธีการท่จี ะทาให้สหประชาชาติบรรลผุ ลสัมฤทธ์ิของการกอ่ ตง้ั แตป่ จั จบุ ันนี้ ตัวเลขไม่ได้บง่ บอกเช่นน้นั :

โครงการอาหารโลกไดร้ ับทนุ สนบั สนุนน้อยกวา่ ร้อยละ 50 ของเงินทนุ ทจ่ี าเปน็ ตอ่ การตอ่ สู่กบั ปัญหาวิกฤตคิ วามอดอยากของ
โลกในวันน้ี วันนโ้ี ครงการเพื่อการพัฒนาโลกไดร้ ับเงินชว่ ยเหลือเพียงรอ้ ยละ 15 ทีเ่ ป็นการชว่ ยเหลอื โดยสมคั รใจและไม่มีขอ้
ผูกมัด ในปี พ.ศ. 2554 ยอดยังอยู่ที่ร้อยละ 50 ทกุ อย่างไมม่ ีอะไรดไี ปกวา่ น้สี าหรับโครงการความชว่ ยเหลอื อน่ื ๆ ของยเู อน็

จะเป็นไปได้อย่างไรในเม่ือผู้อยู่ในตาแหน่งหน้าที่รับผิดชอบในสหประชาชาติ ใช้เวลาในการออกหนังสืออ้อนวอนเพ่ือขอ
เงินทุนตามท่ีต้องการ มากกว่าการให้ความช่วยเหลืออย่างมีประสิทธิภาพ เราต้องเปล่ียนวิธีใหม่ เราต้องเปิดโอกาสให้
สหประชาชาติได้รับเงินทุนสนับสนุนอย่างเพียงพอ เท่า ๆ กับความเป็นอิสระ ในทางกลับกัน เราต้องการประสทิ ธิภาพและ
ความโปรง่ ใสเกีย่ วกับการใชเ้ งินทนุ เหล่าน้ดี ้วยเช่นกัน

ประเทศเยอรมนี มคี วามต้งั ใจทจี่ ะให้การสนับสนนุ ทางการเงินแก่สหประชาชาติไมว่ ่าจะดว้ ยอตั ราใด ในฐานะผสู้ นับสนุนราย
ใหญเ่ ป็นอันดับทส่ี ่ีของการใหค้ วามช่วยเหลือตามทไ่ี ดม้ ีการประเมนิ ไว้ และเหนือสิ่งอ่ืนใด ตวั อย่างเชน่ ในการผ้บู รจิ าค
ชว่ ยเหลือดา้ นมนษุ ยชนทว่ั โลกรายใหญ่รายหนง่ึ เราต้องการมีส่วนช่วยเหลือในระดบั สูงเชน่ นีต้ ่อไป

มารก์ ซักเกอร์เบริ ก์ ผู้บริหารระดบั สูงของเฟซบกุ๊
เฟซบกุ๊ เป็นบรษิ ทั ในอดุ มคตแิ ละมองโลกในทางที่ดี การคงอยู่ของเราส่วนมากเนน้ สิง่ ดี ๆ ทเี่ กิดขึ้นจากผ้คู นทเ่ี ช่ือมโยงกนั เมอ่ื
เฟซบุ๊กเตบิ โตขนึ้ คนจากทกุ ทมี่ เี คร่ืองมือใหมท่ ี่ทรงพลงั เพื่อใชต้ ิดตอ่ กบั คนทร่ี ัก เพือ่ เปน็ กระบอกเสียงให้ และเพอ่ื สรา้ งชุมชน
และธรุ กิจ เมอื่ ไม่นานมานเ้ี องทเี่ ราได้เห็นการเคลอ่ื นไหวทใี่ ช้แฮชแท็ก #metoo และการจัดกจิ กรรม March for

94

Our Lives ท่มี ขี ึ้นบนเฟซบ๊กุ อยา่ งนอ้ ยก็ส่วนหนง่ึ หลังจากเฮอรเิ คนฮาร์วีย์ ประชาชนสามารถระดมทนุ เพือ่ การบรรเทา หนว่ ยการเรียนรู้ท5:่ี
ทุกขไ์ ดม้ ากกวา่ 20 ล้านเหรยี ญ และธรุ กิจขนาดเลก็ มากกว่า 70 ลา้ นแห่ง ใช้เฟซบกุ๊ เพอื่ เตบิ โตและสรา้ งงาน

2) หาขอ้ เทจ็ จริง

กจิ กรรมที่ 2 แบ่งชัน้ เรยี นออกเปน็ กลมุ่ ยอ่ ย แตล่ ะกลุม่ เลอื กหนงึ่ ในคากลา่ วอา้ ง “สีเขยี ว” จากขา้ งตน้ เพื่อตรวจสอบ
ขอ้ เท็จจรงิ (หรอื เลอื กจากรายการของตนเอง)
ใหท้ กุ กลมุ่ ค้นหาหลกั ฐานทส่ี นบั สนุนหรือขดั แย้งกับผลการคน้ คว้า โดยให้ผเู้ รยี นประเมนิ แหลง่ ข้อมลู ท่ีหามาไดต้ ามเกณฑท์ ี่
กาหนดไวด้ า้ นล่างน้กี อ่ น
ความใกล้: หลักฐานน้ีใกล้กับเหตกุ ารณท์ ี่เกดิ ขนึ้ เพียงใด เชน่ องคก์ รขา่ วท่รี ายงานสถติ ิการวา่ งงานลา่ สุด โดยปกติจะมคี วาม
ใกล้กับข้อมูลนอ้ ยที่สดุ ดังนนั้ จงึ มคี ณุ ค่าน้อยกว่าหน่วยงานท่ีเปน็ ผสู้ ารวจและจดั ทาตัวเลขการจ้างงาน
ความเชี่ยวชาญ: มีสิง่ ใดบง่ บอกความนา่ เชือ่ ถือทเ่ี ป็นตัวชีว้ ัดคุณภาพของผู้ผลิตหลกั ฐาน เชน่ ผแู้ ตง่ หนังสอื จบปริญญาเอกใน
หวั ขอ้ ท่ีเขียน และผลงานมกี ารนาไปอา้ งองิ เป็นจานวนมากในสาขาน้นั เป็นต้น
ความเทีย่ งตรง: วธิ ีการเกบ็ หลักฐานเป็นอย่างไร เช่น ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ความรนุ แรงต่อผ้หู ญงิ มกั ใชว้ ธิ ีการสารวจเพื่อเกบ็ ขอ้ มลู 11

152

ซง่ึ อาจทาใหก้ ารสรปุ ผลรวมประชากรท่เี ป็นหญิงทง้ั หมดไมส่ มเหตสุ มผล และการเปรยี บเทียบกบั ประเทศอื่นทาได้ยากเพราะ
ความเตม็ ใจของผ้หู ญิงในการตอบและความเขา้ ใจเก่ียวกับการล่วงละเมิดทางเพศอาจแตกตา่ งกนั ในแตล่ ะประเทศ ทั้งนี้ ไมไ่ ด้
หมายความวา่ ความรุนแรงตอ่ ผหู้ ญิงไม่ใชเ่ ร่ืองร้ายแรง หากแต่เปน็ การสง่ เสริมความเที่ยงตรงในการสนบั สนนุ ขอ้ ความน้นั ๆ
ความโปรง่ ใส: คุณรู้อะไรเกยี่ วกบั หลักฐานชน้ิ นี้ เชน่ การวจิ ัยทางวทิ ยาศาสตร์มกี ารตพี มิ พข์ อ้ มลู ท่ีใชใ้ นการวิจยั ชอ่ งทาง
ออนไลน์เพือ่ ให้นกั วจิ ยั อ่นื ตรวจสอบได้
ความน่าเชอ่ื ถอื : มีบันทกึ ประวัตใิ หใ้ ช้ประเมินหรือไม่ เชน่ องคก์ รเพือ่ ความโปร่งใสนานาชาตจิ ดั พมิ พ์ดชั นีการรับรกู้ ารทุจรติ มา
นานกวา่ 20 ปี นบั เป็นเวลาที่นานพอสาหรบั ผ้เู ช่ียวชาญจะรขู้ อ้ จากดั ของดัชน1ี 2

153

การขดั แยง้ ผลประโยชน์: มผี ลประโยชน์สว่ นบคุ คลหรือทไ่ี ม่เปดิ เผยของแหล่งข้อมลู จากหลักฐานนี้หรอื ไม่ เช่น การศกึ ษาท่ี
อ้างถึงประโยชน์ของเส้นพาสตา้ สว่ นหนง่ึ ดาเนินการวจิ ยั และไดร้ ับทนุ จากผู้ผลิตพาสตา้ รายใหญ่13

154

11 ดตู ัวบง่ ช้ี (48) ของสถติ ทิ างเพศของ ยูเอน็ https://genderstats.un.org/#/downloads
12 Hough, D. (2016) Here’s this year’s (flawed) Corruption Perception Index. Those flaws are useful. The Washington Post. Available at:

https:// www.washingtonpost.com/news/monkey-cage/wp/2016/01/27/how-do-you-measure-corruption-transparency-international-
does-its-bestand-thats-useful/?utm_term=.7ff90ea2890f [accessed 23/03/2018].
13 ตวั อย่างเรือ่ งจริง อ่านเพม่ิ เตมิ ไดท้ นี่ ่ี http://www.healthnewsreview.org/2016/07/study-really-find-pasta-opposite-fattening/.
[เขา้ ถงึ เมื่อ 23 มนี าคม พ.ศ. 2561].

95

ผสู้ อนอาจต้องพิมพ์ตารางด้านลา่ งน้เี พ่ือให้ผูเ้ รียนใชใ้ นการประเมนิ แหล่งขอ้ มูล หนักแนน่ หนว่ ยการเรียนรู้ท5:่ี
อ่อน ปานกลาง

ความใกล้
ความเชี่ยวชาญ
ความเทยี่ งตรง
ความโปร่งใส
ความน่าเชอื่ ถือ
การขัดแย้งผลประโยชน์

ใช้หลกั ฐานที่ประเมินในแบบฝึกหดั เขียนรายงานการตรวจสอบข้อเทจ็ จริง (ประมาณ 1200 คา) และสรุปออกมาเป็นตาม
ระดบั การยดึ ถือความจรงิ ของข้อความทีเ่ ลือก
ผเู้ รยี นควรจดั ทามาตรวดั ระดับของตนเองในการให้คะแนนข้อความทถ่ี ูกตรวจสอบ ตวั อย่างเช่น PolitiFact เผยแพร่ มาตร
วดั ระดบั ดงั แสดงไว้ด้านลา่ งน้ี
จริง – ข้อความมีความถกู ต้องแมน่ ยา และไม่มีอะไรสาคญั ขาดหายไป
ส่วนใหญจ่ รงิ – ขอ้ ความมีความถกู ตอ้ งแม่นยา แตต่ อ้ งมกี ารชีแ้ จงหรือข้อมูลเพิ่มเติม
จริงครง่ึ หนง่ึ – ขอ้ ความมีความถูกต้องแม่นยาเพยี งบางสว่ น มกี ารละเว้นรายละเอียดสาคญั บางประการหรอื ใชผ้ ิดบรบิ ท
ส่วนใหญไ่ ม่จรงิ – ข้อความมีความจรงิ อยบู่ า้ งแตล่ ะเลยข้อเท็จจริงท่ีสาคัญทจ่ี ะส่งผลให้เกิดความเขา้ ใจไปในทางอื่นได้
ไมจ่ ริง – ข้อความขาดความถกู ตอ้ งแม่นยา
โดนจบั โกหก – ขอ้ ความขาดความถกู ตอ้ งแม่นยาและกล่าวอ้างเรอ่ื งเหลวไหล

96

มาตรวดั ระดับไมจ่ าเป็นตอ้ งเรียงเปน็ ลาดบั เหมอื นของ PolitiFact ที่ระดับเลวรา้ ยลงเรอ่ื ย ๆ ต้ังแตจ่ รงิ ไปจนถึงโดนจับโกหก หนว่ ยการเรียนรู้ท5:่ี
ตวั อยา่ งเชน่ โครงการ เอล ซาบเู อโซ ในเมก็ ซิโก14 มมี าตรวดั ระดับอย่าง “พิสูจนไ์ มไ่ ด้” สาหรบั ขอ้ ความท่ไี มว่ า่ จะอย่างไรกไ็ มม่ ี

155

หลักฐาน หรอื “ยงั เปน็ ทีโ่ ตเ้ ถยี ง” สาหรับขอ้ ความท่คี วามจรงิ ขนึ้ อยกู่ ับวิธีการท่ีเลือก โดยให้ส่งเสริมผูเ้ รียนใหใ้ ช้ความ
สร้างสรรค์ในการสรา้ งมาตรวดั ระดับเพอื่ ใช้กับชว่ งคุณสมบตั ทิ ีเ่ ราจะใหก้ บั ขอ้ ความท่เี ปน็ ข้อเท็จจริง ทั้งน้ี ผ้สู อนอาจใหผ้ ูเ้ รียน
เตรียมการตรวจสอบข้อเท็จจรงิ ในรูปแบบนอกเหนือจากตวั หนังสือกไ็ ด้ ข้นึ อยกู่ บั เวลาและทรัพยากรทม่ี ี ไมว่ ่าจะเป็นภาพ
ลอ้ เลยี น (Meme) วิดโี อส้นั ๆ ภาพ GIF หรอื สแนป็ แชท็ ต่างก็เปน็ เครอื่ งมอื ท่ดี ใี นการตอ่ สกู้ บั ความเทจ็ ซ่ึงความจรงิ แลว้ มี
งานวจิ ยั ที่พบวา่ การตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ เดียวกันจะมปี ระสทิ ธภิ าพมากกว่าเมอ่ื นาเสนอในรปู แบบวดิ โี อขาขนั แทนที่จะใช้การ
เขยี นบทความเสียดว้ ยซ้าไป15156
สาหรับตัวอย่างรปู แบบทสี่ รา้ งสรรค์ ผูส้ อนอาจเขา้ ไปดบู ทความเหลา่ นีใ้ นเวบ็ Poynter
Mantzarlis, A. (2016). Fact-checkers experiment with Snapchat, GIFs and other stuff millennials . Available

at https://www.poynter.org/news/fact-checkers-experimentsnapchat-gifs-and-other-stuff-millennials
[accessed 28/03/2018].
Mantzarlis, A. (2016). How (and why) to turn a fact check into a GIF. [accessed 28/03/2018. Available at
https://www.poynter.org/news/how-and-why-turn-fact-checkgif [accessed 28/03/2018].

อ่านเพ่ิมเติม
นอกเหนอื จากรายการทีค่ วรอ่าน Poynter ยงั อุทศิ ส่วนหน่งึ ให้กับการตรวจสอบขอ้ มลู ซงึ่ เขา้ ถึงไดท้ าง
https://www.poynter.org/channels/fact-checking ดา้ นลา่ งนคี้ อื แหลง่ ขอ้ มูลท่ที นั สมยั และมปี ระโยชนท์ ่ีเอามาจากเว็บน้ี
Poynter (2018). How to fact-check a politician’s claim in 10 steps. Available at https://

factcheckingday.com/articles/5/how-to-fact-check-a-politicians-claim-in-10-steps. [accessed 06/04/2018].
Van Ess, H. (2017). The ultimate guide to bust fake tweeters: A video toolkit in 10 steps Available at

https://www.poynter.org/news/ultimate-guide-bust-fake-tweeters-videotoolkit-10-steps. [accessed
06/04/2018].

14 AnimalPolitico (2015). Available at http://www.animalpolitico.com/blogueros-blog-invitado/2015/01/28/el-sabueso-un-proyecto-
para-vigilar-eldiscurso-publico/. [accessed 6/04/2018].

15 Young, D., Jamieson, K., Poulsen, S. and Goldring, A. (2017). Fact-Checking Effectiveness as a Function of Format and Tone:
Evaluating FactCheck.org and FlackCheck.org. Journalism & Mass Communication Quarterly, 95(1), pp.49-75

97

Mantzarlis, A. (2015). 5 things to keep in mind when fact-checking claim about science. Available at หนว่ ยการเรียนรู้ท5:่ี
https://www.poynter.org/news/5-things-keep-mind-when-fact-checkingclaims-about-science. [accessed
06/04/2018].

Mantzarlis, A. (2016). 5 tips for fact-checking claims about health. Available at https://
www.poynter.org/news/5-tips-fact-checking-claims-about-health. [accessed 06/04/2018].

Mantzarlis, A. (2015). 5 tips for fact-checking datasets. Available at https://www.poynter. org/news/5-tips-
fact-checking-datasets. [accessed 06/04/2018].

Mantzarlis, A. (2015). 5 studies about fact-checking you may have missed last month (Poynter). Available at
https://www.poynter.org/news/5-studies-about-fact-checkingyou-may-have-missed-last-month.
[accessed 06/04/2018].

Mantzarlis, A. (2017). Repetition boosts lies — but it could help fact-checkers too Available at
https://www.poynter.org/news/repetition-boosts-lies-could-help-factcheckers-too. [accessed
06/04/2018].

Mantzarlis, A. (2017). French and American voters seem to respond to fact-checking in a similar way.
Available at https://www.poynter.org/news/french-and-american-votersseem-respond-similar-way-fact-
checking. [accessed 06/04/2018].

Funke, D. (2017). Where there’s a rumour, there’s an audience. This study sheds light on why some take
off. Available at https://www.poynter.org/news/where-theres-rumortheres-audience-study-sheds-light-
why-some-take. [accessed 06/04/2018].

Funke, D. (2017). Want to be a better online sleuth? Learn to read webpages like a factchecker. Available
at https://www.poynter.org/news/want-be-better-online-sleuthlearn-read-webpages-fact-checker.
[accessed 06/04/2018].

Funke, D. (2017). These two studies found that correcting misperceptions works. But it’s not magic.
Available at https://www.poynter.org/news/these-two-studies-foundcorrecting-misperceptions-works-
its-not-magic. [accessed 06/04/2018].

Mantzarlis, A. (2017). What does the “Death of Expertise” mean for fact-checkers? Available at
https://www.poynter.org/news/what-does-death-expertise-mean-factcheckers. [accessed 06/04/2018].

Mantzarlis, A. (2017). Journalism can’t afford for corrections to be the next victim of the fake news frenzy.
Available at https://www.poynter.org/news/journalism-cant-affordcorrections-be-next-victim-fake-news-
frenzy. [accessed 06/04/2018].

98

Mantzarlis, A. (2016). Should journalists outsource fact-checking to academics? Available at หนว่ ยการเรียนรู้ท5:่ี
https://www.poynter.org/news/should-journalists-outsource-fact-checkingacademics. [accessed
06/04/2018].

หนังสือ
Ball, J. (2017). Post-Truth: How Bullshit Conquered the World. London: Biteback Publishing.
Gladstone, B. (2017). The Trouble with Reality: a Rumination on Moral Panic in Our Time. New York:

Workman Pu.
Graves, L. (2016). . Deciding What’s True: the Rise of Political Fact-Checking Movement in American

Journalism. New York: Columbia University Press.
แหลง่ ขอ้ มลู ออนไลน์
แผนการเรยี นรู้ดว้ ยเกมบทบาทสมมุตสิ าหรบั วันตรวจสอบขอ้ เท็จจรงิ นานาชาติ (ออกแบบสาหรับนักเรยี นอายุ 14-16 ป)ี
เข้าถงึ ไดท้ างลิงก์นี้ http://factcheckingday.com/ lesson-plan ในเวบ็ ไซตย์ ังมหี นา้ เคล็ดลบั ลงิ ก์ไปยังหลักสตู รออนไลน์
สาหรับนักศกึ ษา

99

ห น่ ว ย ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ 6

100


Click to View FlipBook Version