1 รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
2 รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ดาวน์โหลดเล่มรายงานประจ าปี 2566 ได้จาก QR CODE นี้
3 รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นหน่วยงานราชการ สังกัดกรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีบทบาทภารกิจรับผิดชอบเกี่ยวกับกิจการสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร ตั้งแต่เกิดขึ้นและ เลิกไป ในการจัดตั้งสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร จะต้องศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ข้อมูลต่างๆ เพื่อให้การจัดตั้งสหกรณ์ หรือกลุ่มเกษตรกรที่จะเกิดขึ้นมีคุณภาพ และด าเนินงานไปอย่างถูกต้อง เมื่อตั้งเป็นสหกรณ์แล้ว ถือว่าเป็นนิติ บุคคลรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเป็นรูปแบบพิเศษ จะต้องด าเนินกิจการและธุรกิจต่างๆ ไม่ว่าด้านการตลาด ธุรกิจด้าน การเงิน การจัดสวัสดิการต่างๆ ดังเช่น นิติบุคคลรูปแบบอื่นๆ ทั้งด้านการผลิต การตลาด การแปรรูป ตลอดถึงการ จัดสวัสดิการต่างๆ แก่สมาชิก เพื่อให้สมาชิกกินดี อยู่ดีและมีสันติสุข ในขณะเดียวกัน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ต้องดูแล ส่งเสริม แนะน า ช่วยเหลือ ด้านวิชาการ การให้การศึกษาอบรมข้อมูลต่างๆ ความรู้เกี่ยวกับการสหกรณ์ หรือด้านอื่นๆ แก่สมาชิก คณะกรรมการด าเนินการ เจ้าหน้าที่ ตลอดถึงผู้เกี่ยวข้องให้เข้าใจแนวคิดของการสหกรณ์ รวมถึงการก ากับ ควบคุม ดูแลสหกรณ์ด าเนินงานให้เป็นไปตามกฎหมายสหกรณ์ ข้อบังคับ ระเบียบต่างๆ ค าสั่งนายทะเบียน สหกรณ์ หรือกฎหมายอื่นใดที่เกี่ยวข้อง ตลอดถึงการแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร รวมทั้งสิ้น 107 สหกรณ์/กลุ่ม มีข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้างประจ า และลูกจ้างเหมาบริการ รวม 62 คน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ได้รับการ จัดสรรงบประมาณ 10,383,052.86 บาท เพื่อบริหารงานด้านการส่งเสริม แนะน า ช่วยเหลือ สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร จนประสบความส าเร็จระดับหนึ่ง และขอขอบคุณทีมงานส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ที่ ช่วยกันปฏิบัติงานอย่างขยันขันแข็ง เสียสละเพื่อส่วนรวม ขอให้ตั้งมั่นอยู่ในความซื่อสัตย์ สุจริต และช่วยเหลือ ขบวนการสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรต่อไป (นายประยูร พะมะ) สหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ธันวาคม 2566 รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์lก
4 รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์lข
5 รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์lฃ
6 รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์lค
7 รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์lฅ
8 รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์l ฆ
9 รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์l ง
10 รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์l จ
11 รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์lฉ
12 รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์l ช
13 รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์lซ
14 รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รายงานฉบับนี้เป็นการสรุปรายงานผลการด าเนินงานของหน่วยงาน ที่ได้จัดท าขึ้นเพื่อเผยแพร่ผลการ ด าเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา ของการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ให้กับผู้ ที่สนใจทราบหรือใช้ประโยชน์: โดยจัดท าเป็น 5 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการ ส่วนที่ 3 กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ส่วนที่ 4 รายงานทางการเงิน ส่วนที่ 5 ภาคผนวกและ/ หรือบรรณานุกรม ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์มีโครงสร้างการบริหารงานซึ่งประกอบด้วย ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์กลุ่มส่งเสริมและพัฒนา ธุรกิจสหกรณ์กลุ่มตรวจการสหกรณ์กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์1 – 3 และนิคมสหกรณ์บางสะพาน ภารกิจงานแยก ตามหน่วยงานที่รับผิดชอบ ดังนี้ ฝ่ายบริหารทั่วไป มีหน้าที่และความรับผิดชอบในการจัดท าและรวบรวมแผนงาน จัดท าค าขอตั้งงบประมาณติดตาม เร่งรัด และประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนงานและโครงการต่าง ๆ รวมทั้งรวบรวมสถิติข้อมูลด้านสหกรณ์ปฏิบัติงาน ด้านการเงิน บัญชีวัสดุครุภัณฑ์งานด้านการบริหารงานบุคคล งานติดต่อประสานงาน งานสารบรรณ และงาน ธุรการทั่วไป ด าเนินงานด้านเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์งานด้านส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์วิจัยข้อมูลต่าง ๆ เพื่อใช้ในการด าเนินการจัดตั้ง สหกรณ์และเพื่อการส่งเสริมพัฒนาสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร กลุ่มสตรีสหกรณ์และเยาวชน สหกรณ์ประสานกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาสหกรณ์รายงานผลงานและโครงการในหน้าที่ความ รับผิดชอบของกลุ่ม ศึกษา วิเคราะห์ประสานโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด าริและโครงการอื่น ๆ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ มีหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์วิจัยข้อมูลทางด้านการตลาด การด าเนินธุรกิจ และข้อมูลอื่น ๆ เพื่อให้ค าปรึกษา แนะน าเกี่ยวกับการพัฒนาธุรกิจและส่งเสริมการตลาดแก่สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสินค้า การบรรจุภัณฑ์และรูปแบบการบริการเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าเพื่อส่งเสริมให้มี การเชื่อมโยงธุรกิจการตลาดสหกรณ์ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ให้ค าปรึกษาแนะน าในการแก้ไขปัญหาด้าน การพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ให้แก่ หน่วยส่งเสริมและพัฒนา สหกรณ์ประสานงานให้ความช่วยเหลือในการดูแล รักษา และพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตแก่สหกรณ์ตลอดจนติดตาม และด าเนินการประเมินผล รายงานผลและโครงการใน หน้าที่ความรับผิดชอบของกลุ่ม บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary)
15 รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ มีหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์วิจัยและให้ค าแนะน าเกี่ยวกับโครงสร้างการจัด ระบบงาน การบริหารงานบุคคล และการควบคุมภายในเพื่อพัฒนาให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเข้มแข็ง ศึกษา วิเคราะห์และเสนอแนะเกี่ยวกับความเป็นไปได้ของโครงการ การจัดหา การลงทุนและการบริหารเงินทุนของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ศึกษาวิเคราะห์ความต้องการสนับสนุนเงินทุนและสินเชื่อแก่สหกรณ์ติดตามและ ประเมินผลการใช้จ่ายเงินทุนรวมทั้งรายงานผลการเร่งรัดติดตามการช าระหนี้ตลอดจนให้ค าปรึกษา แนะน า ใน การแก้ไขปัญหาด้านการบริหารการจัดการสหกรณ์ให้แก่หน่วยส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ติดตามและด าเนินการ ประเมินผล รายงานผลงานและโครงการในหน้าที่ความรับผิดชอบ ของกลุ่ม ตลอดจนประสานงานกับส่วนที่ เกี่ยวข้องในการก าหนดวงเงินกู้ยืมหรือการค้ าประกันประจ าปีของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อให้การปฏิบัติ เป็นไปตามข้อก าหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานที่กรมก าหนดไว้ กลุ่มตรวจการสหกรณ์ ศึกษา วิเคราะห์วิจัย เพื่อพัฒนาระบบการตรวจการสหกรณ์ให้สอดคล้องกับกฎหมายสหกรณ์ศึกษา วิเคราะห์วิจัย เพื่อจัดท าและปรับปรุง ระเบียบ ค าสั่ง ค าแนะน านายทะเบียนสหกรณ์ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ ตรวจการสหกรณ์เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของนายทะเบียนสหกรณ์ส่งเสริม ก ากับดูแล การปฏิบัติหน้าที่ของ เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งอยู่ในระบบการตรวจการสหกรณ์ให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกัน ศึกษา วิเคราะห์วิจัย เพื่อวางแนว ทางการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์พัฒนาและปรับปรุงระบบรายงานการแก้ไขข้อบกพร่อง เพื่อน าเสนอนาย ทะเบียนสหกรณ์วินิจฉัยสั่งการแก้ไขได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมสนับสนุนการเข้าช่วยเหลือด าเนินกิจการของ สหกรณ์ของผู้ตรวจการสหกรณ์ให้ปฏิบัติตามระเบียบและค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ด าเนินการเกี่ยวกับเรื่อง ร้องเรียนนายทะเบียนสหกรณ์ศึกษา วิเคราะห์วิจัย ประเด็นปัญหาข้อร้องเรียนที่เกิดขึ้นจากการด าเนินงานของ สหกรณ์ต่อนายทะเบียนสหกรณ์เพื่อวางแนวทางในการป้องกันและแก้ไข และปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องและตามที่ ได้รับมอบหมาย กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์1 - 3 ภารกิจที่รับผิดชอบ ทุกหน่วยมีดังนี้ เผยแพร่และให้ความรู้ความเข้าใจในระบบสหกรณ์ว่าด้วยเรื่องอุดมการณ์ หลักการและวิธีการสหกรณ์ ให้แก่สหกรณ์ให้แก่บุคลากรสหกรณ์ให้ค าปรึกษา แนะน า ให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย สหกรณ์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ให้การส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือ ให้ความรู้แก่บุคลากรสหกรณ์และบุคลากร กลุ่มเกษตรกร ในเรื่องการด าเนินงานสหกรณ์การบริหารจัดการองค์กรธุรกิจ และเรื่องอื่นๆ ตามที่สหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรต้องการ ให้การส่งเสริม สนับสนุน แนะน า ให้แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีส่วนร่วมในโครงการ พัฒนา วางแผนงานโครงการ สามารถด าเนินการและแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง ให้การส่งเสริม ช่วยเหลือ สนับสนุน แนะน า การขอจัดตั้งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แก่บุคคลผู้สนใจ รวมถึงการควบสหกรณ์การแยกสหกรณ์ ให้การส่งเสริมและพัฒนากลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง ให้การแนะน า ส่งเสริมเผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับ อุดมการณ์หลักการ และวิธีการสหกรณ์แก่สมาชิกกลุ่มเกษตรกร เพื่อการพัฒนา เปลี่ยนรูปแบบการบริหารงาน รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์l ญ
16 รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตามระบบสหกรณ์ให้การส่งเสริม ช่วยเหลือ สนับสนุน แนะน า การด าเนินการเกี่ยวกับการจัดตั้งสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร แก่คณะบุคคลผู้ขอจัดตั้ง รวมถึงการควบสหกรณ์การแยกสหกรณ์และการจัดตั้งชุมนุม สหกรณ์และให้ การส่งเสริม สนับสนุนแนะน าสหกรณ์ในการด าเนินงานภายหลังการจัดตั้ง เพื่อความเข้มแข็งและความยั่งยืนของ สหกรณ์รวมทั้งการติดตามประเมินผลการจัดตั้ง ตรวจ ติดตาม เร่งรัด การด าเนินงานของสหกรณ์ให้เป็นไปตาม กฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ ข้อก าหนดต่างๆ นโยบาย และมติที่ประชุมของสหกรณ์ตรวจสอบวิธีการปฏิบัติงาน และฐานะการเงินของสหกรณ์ให้เป็นไปตามหลักวิชาการและมาตรฐานทางการเงินและบัญชีและประสานงานกับ กลุ่มงานทุกกลุ่ม เพื่อรับมอบงาน ข้อมูล ข่าวสาร และองค์ความรู้ด้านวิชาการต่างๆ เพื่อแนะน าข้อมูลและความรู้ ที่ได้รับไปถ่ายทอด ให้การส่งเสริม แนะน าสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติในการท างาน นิคมสหกรณ์บางสะพาน นิคมสหกรณ์มีหน้าที่ และความรับผิดชอบในการด าเนินการเกี่ยวกับการจัดที่ดินให้แก่ราษฎรในเขตจัด นิคมสหกรณ์ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ วางแผน และประสานงานด้านการส่งเสริมและ พัฒนานิคมสหกรณ์ด าเนินการแก้ไขปัญหาข้อพิพาท และให้ค าปรึกษา แนะน า ตอบข้อหารือเกี่ยวกับการถือครอง กรรมสิทธิ์ในที่ดินสหกรณ์รวมทั้งด าเนินการดูแลบ ารุงรักษาสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานต่างๆ ในเขตจัดนิคมสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ได้ปฏิบัติงานเต็มก าลังความสามารถของบุคลากร โดยผลส าเร็จ ในการด าเนินงานตามกิจกรรม/โครงการต่างๆ เกิดจากความร่วมมือในการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร และกลุ่มงาน ต่างๆ อย่างประสานสัมพันธ์กัน เพื่อสนองนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กรมส่งเสริมสหกรณ์และจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ซึ่งรายละเอียดผลการด าเนินงานตามกิจกรรม/โครงการ สามารถดูได้จากส่วนที่ 2 ของรายงานนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานนี้จะเกิดประโยชน์แก่ผู้สนใจและน าไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ต่อไป ------------------------------------------------------------------- รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์l ฎ
17 รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สารผู้บริหารหน่วยงาน ท าเนียบบุคลากร บทสรุปผู้บริหาร ก ข ฌ ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน 1 1.1 วิสัยทัศน์พันธกิจ และอ านาจหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบฯ 2 1.2 โครงสร้างและกรอบอัตราก าลังของส านักงาน 3 1.3 แผนการปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 5 1.4 ข้อมูลสารสนเทศสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ 7 ส่วนที่2 ผลการปฏิบัติราชการ 14 2.1. ผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ ตามแผนปฏิบัติงานและ แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 15 - แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน - แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า - แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและ ความเสมอภาคทางสังคม - แผนงานยุทธศาตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม - แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก 18 75 103 108 125 ส่วนที่3 กิจกรรมประชาสัมพันธ์ 3.1 กิจกรรมของหน่วยงาน 3.2 กิจกรรมที่หน่วยงานด าเนินการร่วมกับสถาบันเกษตรกรในพื้นที่ 3.3 กิจกรรมที่หน่วยงานด าเนินการร่วมกับหน่วยงานภาคส่วนต่างๆ ในพื้นที่ 128 129 145 157 ส่วนที่4 รายงานทางการเงิน 4.1 งบแสดงฐานะการเงิน 4.2 งบแสดงผลการด าเนินงานทางการเงิน 4.3 หมายเหตุประกอบงบการเงิน 166 167 169 170 ส่วนที่5 บรรณานุกรม 174
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 1
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 2 1. ส่งเสริม พัฒนา และคุ้มครองระบบสหกรณ์ให้เข้มแข็ง และเป็นไปตามกฎหมายสหกรณ์ 2. ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์แก่ประชาชนทั่วไป 3. ศึกษา วิเคราะห์วิจัย เกี่ยวกับด้านการบริหารการจัดการองค์กร ธุรกิจ การตลาด และการเชื่อมโยง เครือข่าย 4. ส่งเสริม สนับสนุน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารการจัดการองค์กร และการด าเนินธุรกิจให้กับ สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร 5. เสนอแนะนโยบายและแผนพัฒนาการสหกรณ์ 6. ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรให้ได้คุณภาพมาตรฐาน 7. ด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ 1. เสริมสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์หลักการและวิธีการสหกรณ์แก่บุคลากร สหกรณ์กลุ่ม เกษตรกร และประชาชนทั่วไป 2. ส่งเสริมและพัฒนาการด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้มีศักยภาพเป็นพลังส าคัญในการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมในระดับชุมชนและท้องถิ่น 3. ส่งเสริมและพัฒนาการมีส่วนร่วมของสมาชิกและสหกรณ์และสนับสุนนการสร้างเครือข่ายพันธมิตรทาง เศรษฐกิจ 4. สร้างคุณค่าสหกรณ์ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและธรรมาภิบาลในสหกรณ์ พันธกิจส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อ ำนำจหน้ำที่ของส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ “เป็นองค์กรน าในการส่งเสริมพัฒนา สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มุ่งสู่มาตรฐานอย่างยั่งยืน” วิสัยทัศน์
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 3 โครงสร้างและอัตราก าลังของส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 4
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 5 แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 6
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 7 1.1) จ านวนสหกรณ์และชุมนุมสหกรณ์แยกตามสถานะสหกรณ์ ประเภท จ านวนสหกรณ์ จ านวนชุมนุมสหกรณ์ รวมทั้งสิ้น Active Non-Active Active Non-Active ยังไม่เริ่ม ด าเนินการ ด าเนินการ เลิกสหกรณ์ ยังไม่เริ่ม ด าเนินการ ด าเนินการ เลิกชุมนุม สหกรณ์ สหกรณ์การเกษตร 28 9 2 39 สหกรณ์ประมง 1 1 2 สหกรณ์นิคม 1 1 สหกรณ์ร้านค้า 1 1 สหกรณ์บริการ 9 1 10 สหกรณ์ออมทรัพย์ 13 13 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 20 20 รวมทั้งสิ้น 73 11 2 86 1.2) จ านวนสหกรณ์(Active) และจ านวนสมาชิกสหกรณ์ ประเภท จ านวนสหกรณ์ (แห่ง) จ านวนสมาชิก (ราย) สหกรณ์การเกษตร 28 37,673 สหกรณ์ประมง 1 237 สหกรณ์นิคม 1 7,437 สหกรณ์ร้านค้า 1 577 สหกรณ์บริการ 9 1,173 สหกรณ์ออมทรัพย์ 13 14,190 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 20 82,795 รวมทั้งสิ้น 73 144,082
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 8 1.3) จ านวนสหกรณ์(Active) แยกตามเดือนสิ้นปีทางบัญชีของสหกรณ์ ประเภท เดือนสิ้นปีทางบัญชีของสหกรณ์ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. สหกรณ์การเกษตร 1 12 5 1 1 8 สหกรณ์ประมง 1 สหกรณ์นิคม 1 สหกรณ์ร้านค้า 1 สหกรณ์บริการ 2 1 2 4 สหกรณ์ออมทรัพย์ 10 1 1 1 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 5 2 2 11 รวมทั้งสิ้น 1 15 5 3 16 5 3 25 1.4) จ านวนสหกรณ์(Active)แยกตามผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์(เกณฑ์เดิม) ประเภท ผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4 สหกรณ์การเกษตร 5 21 2 9 สหกรณ์ประมง 1 2 สหกรณ์นิคม 1 สหกรณ์ร้านค้า 1 สหกรณ์บริการ 2 7 1 สหกรณ์ออมทรัพย์ 10 3 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 1 17 2 รวมทั้งสิ้น 18 50 5 12
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 9 ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1.5) จ านวนสหกรณ์(Active) และปริมาณธุรกิจสหกรณ์แยกตามประเภทธุรกิจ หน่วย : ล้านบาท ประเภท จ านวน สหกรณ์ (แห่ง) ปริมาณธุรกิจแยกตามประเภทธุรกิจ รับฝากเงิน ให้เงินกู้ จัดหาสินค้า มาจ าหน่าย รวบรวม ผลผลิต แปรรูป ผลผลิต ให้บริการ และอื่น ๆ รวม ปริมาณธุรกิจ สหกรณ์การเกษตร 28 131.24 108.95 959.05 1,110.09 234.06 3.81 2,547.32 สหกรณ์ประมง 2 0.00 3.87 3.87 0.00 0.00 0.00 7.75 สหกรณ์นิคม 1 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.37 0.37 สหกรณ์ร้านค้า 1 0.00 0.00 17.37 0.00 0.00 0.00 17.37 สหกรณ์บริการ 9 10.38 26.40 1.23 0.00 0.00 0.65 41.07 สหกรณ์ออมทรัพย์ 13 1,038.06 6,744.39 0.00 0.00 0.00 0.00 7,782.46 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 20 826.60 1,008.37 0.60 0.21 0.00 0.00 1,835.56 รวมทั้งสิ้น 74 2,003.28 7,891.99 984.33 1110.34 234.06 4.83 12,231.88 หมายเหตุอ้างอิงข้อมูลจากระบบรายงานปริมาณธุรกิจรายสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.6) จ านวนสหกรณ์(Active)และผลการด าเนินงานของสหกรณ์(ก าไรสุทธิ/ขาดทุน)สุทธิ) ประเภท ผลการด าเนินงานของสหกรณ์ ก าไรสุทธิ ขาดทุนสุทธิ จ านวนสหกรณ์ (แห่ง) มูลค่า (ล้านบาท) จ านวนสหกรณ์ (แห่ง) มูลค่า (ล้านบาท) สหกรณ์การเกษตร 11 29.95 11 18.43 สหกรณ์ประมง 1 0.24 1 2.23 สหกรณ์นิคม - - - - สหกรณ์ร้านค้า 1 0.17 - - สหกรณ์บริการ 6 1.55 - - สหกรณ์ออมทรัพย์ 13 402.54 - - สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 18 108.37 2 1.20 รวมทั้งสิ้น 50 542.82 14 21.86 หมายเหตุอ้างอิงข้อมูลจากงบการเงินของสหกรณ์ที่ผู้สอบบัญชีรับรองแล้ว (สหกรณ์ทั้งสิ้น 74 แห่ง มีปิดบัญชีไม่ได้10 แห่ง)
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 10 2) ข้อมูลสารสนเทศกลุ่มเกษตรกร (จ าแนกตามประเภทกลุ่มเกษตรกร) ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 ดังนี้ 2.1) จ านวนกลุ่มเกษตรกร ประเภท จ านวนกลุ่มเกษตรกร จ านวนชุมนุมกลุ่มเกษตรกร รวมทั้งสิ้น Active Non-Active Active Non-Active ยังไม่เริ่ม ด าเนินการ ด าเนินการ เลิกกลุ่ม เกษตรกร ยังไม่เริ่ม ด าเนินการ ด าเนินการ เลิกชุมนุม กลุ่มเกษตรกรท านา 3 กลุ่มเกษตรกรท าสวน 14 1 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 8 2 กลุ่มเกษตรกรท าไร่ 8 1 กลุ่มเกษตรกรท าประมง 1 กลุ่มเกษตรกรอื่นๆ รวมทั้งสิ้น 34 2.2) จ านวนกลุ่มเกษตรกร (Active) และจ านวนสมาชิกสหกรณ์ ประเภท จ านวนกลุ่มเกษตรกร (แห่ง) จ านวนสมาชิก (ราย) กลุ่มเกษตรกรท านา 3 499 กลุ่มเกษตรกรท าสวน 14 3,486 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 8 862 กลุ่มเกษตรกรท าไร่ 8 1,209 กลุ่มเกษตรกรท าประมง 1 57 กลุ่มเกษตรกรอื่นๆ รวมทั้งสิ้น 34 6,113
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 11 2.3) จ านวนกลุ่มเกษตรกร (Active) แยกตามเดือนสิ้นปีทางบัญชีของกลุ่มเกษตรกร ประเภท เดือนสิ้นปีทางบัญชีของสหกรณ์ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. กลุ่มเกษตรกรท านา 3 กลุ่มเกษตรกรท าสวน 9 2 2 1 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 4 1 1 2 กลุ่มเกษตรท าไร่ 5 1 1 1 กลุ่มเกษตรกรท าประมง 1 กลุ่มเกษตรกรอื่นๆ รวมทั้งสิ้น 22 2 1 2 1 3 3 2.4) จ านวนกลุ่มเกษตร(Active)แยกตามผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกร(เกณฑ์เดิม) ประเภท ผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 4 กลุ่มเกษตรท านา 1 2 กลุ่มเกษตรกรท าสวน 14 1 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 3 5 2 กลุ่มเกษตรกรท าไร่ 1 4 3 1 กลุ่มเกษตรกรท าประมง 1 กลุ่มเกษตรกรอื่นๆ รวมทั้งสิ้น 1 8 25 4
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 12 2.5) จ านวนกลุ่มเกษตรกร (Active) และปริมาณธุรกิจกลุ่มเกษตรกรแยกตามประเภทธุรกิจ หน่วย : ล้านบาท ประเภท จ านวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) ปริมาณธุรกิจแยกตามประเภทธุรกิจ รับฝากเงิน ให้เงินกู้ จัดหาสินค้า มาจ าหน่าย รวบรวม ผลผลิต แปรรูป ผลผลิต ให้บริการ และอื่น ๆ รวม ปริมาณธุรกิจ กลุ่มเกษตรกรท านา 3 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 กลุ่มเกษตรกรท าสวน 14 0.44 4.79 26.84 40.92 11.53 0.01 84.53 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 8 0.00 5.35 1.61 0.00 0.00 0.00 6.99 กลุ่มเกษตรกรท าไร่ 8 0.00 4.05 1.49 23.42 0.00 0.13 29.09 กลุ่มเกษตรกรท าประมง 1 0.00 0.27 0.00 0.00 0.00 0.00 0.27 รวมทั้งสิ้น 34 0.44 14.46 30.20 64.36 11.53 0.14 121.14 ที่มา : (ระบบรายงานปริมาณธุรกิจรายสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร) 2.6) จ านวนกลุ่มเกษตรกร (Active)และผลการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร(ก าไรสุทธิ/ขาดทุนสุทธิ) ผลการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ประเภท กลุ่มเกษตรกร ผลการด าเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ก าไร (ขาดทุน) สุทธิ ในภาพรวม (ล้านบาท) (5) – (7) ผลการด าเนินงานในภาพรวม การด าเนินงานมีผลก าไร - ขาดทุน (1) จ านวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) (2) รายได้ (ล้าน บาท) (3) ค่าใช้จ่าย (ล้าน บาท) กลุ่มเกษตรกร ที่มีผลก าไร กลุ่มเกษตรกร ที่ขาดทุน (4) จ านวน กลุ่ม เกษตร กร (แห่ง) (5) ก าไร (ล้าน บาท) (6) จ านวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง) (7) ขาดทุน (ล้าน บาท) 1. กลุ่มเกษตรกรท านา 3 0.27 0.25 2 0.02 1 - 0.02 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวน 14 90.31 93.68 9 0.27 5 3.63 -3.36 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 7 1.98 2.08 5 0.20 2 0.30 -0.10 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ 8 31.62 30.75 8 0.87 - - 0.87 5. กลุ่มเกษตรกรท าประมง 2 0.30 0.26 1 0.04 1 - 0.04 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ (ระบุ) - - - - - - - 0.00 รวมทั้งสิ้น 34 124.48 127.02 25 1.40 9 3.93 -2.53 ที่มา : อ้างอิงข้อมูลจากงบการเงินของสหกรณ์ที่ผู้สอบบัญชีรับรองแล้ว
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 13 3) ข้อมูลสารสนเทศกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์(จ าแนกตามประเภทผลิตภัณฑ์) ข้อมูล ณ วันที่30 กันยายน 2566 ดังนี้ 3.1) จ านวนกลุ่มอาชีพแยกตามสถานะกลุ่มอาชีพ ประเภท Active Non-Active รวมทั้งสิ้น ด าเนินธุรกิจ ด าเนินธุรกิจ เป็นครั้งคราว หยุด ด าเนินการ แจ้งยกเลิก กลุ่มแล้ว แต่ยังไม่ได้ แจ้งคืนเงินเข้า คลังจังหวัด แจ้งยกเลิกกลุ่ม และคืนเงินเข้า คลังจังหวัด เรียบร้อยแล้ว ติดตามไม่ได้ อาหารแปรรูป 9 - - - - - 9 ผ้าและเครื่องแต่งกาย 1 - - - - - 1 ของใช้/ของตกแต่ง/ ของที่ระลึก/เครื่องประดับ 6 - - - - - 6 เลี้ยงสัตว์ - - - - - - - บริการ - - - - - - - เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ - - - - - - - เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ 1 - - - - - 1 สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร/ยา 2 - - - - - 2 เพาะปลูก 3 - - - - - 3 ปัจจัยการผลิต - - - - - - - รวมทั้งสิ้น 22 - - - - - 22
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 14
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 15 แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผลการด าเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+โอน เพิ่ม ผลการเบิกจ่าย หมายเหตุ ประกอบ หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ แผนงาน บุคลากรภาครัฐ กิจกรรมหลัก : ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐกรมส่งเสริมสหกรณ์ ผลผลิต : รายการค่าใช้จ่าย บุคลากรภาครัฐ 15 อัตรา 15 อัตรา 100 4,761,212 4,761,212 100 แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง : สนับสนุนการ ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตาม ศักยภาพ(อ านวยการ) สหกรณ์ 75 กลุ่ม เกษตรกร 34 สหกรณ์ 75 กลุ่ม เกษตรกร 34 100 3,645,870.86 3,645,870.86 100 โครงการจัดงาน 7 มิถุนายน วัน สหกรณ์นักเรียน 1 ครั้ง 1 ครั้ง 100 20,000 20,000 100 โครงการพัฒนาผู้น ากลุ่มเกษตรกร 1 ครั้ง 1 ครั้ง 100 4,080 4,080 100 โครงการพัฒนาศักยภาพสหกรณ์ นอกภาคการเกษตรสู่ความเข้มแข็ง 3 แห่ง 3 แห่ง 100 11,900 11,900 100 แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ผลผลิต เครื่องมือ กลไก การบริหาร จัดการที่ดินและทรัพยากรดิน 1 ครั้ง 1 ครั้ง 100 6,500 6,500 100 แผนงานยุทธศาสตร์ เสริมสร้างพลังทางสังคม กิจกรรมหลัก : พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ กิจกรรม : ส่งเสริมและพัฒนา ส ห ก ร ณ์ / ก ลุ่ ม เ ก ษ ต ร ก ร อั น เนื่องมาจากพระราชด าริ 4 แห่ง 4 แห่ง 100 129,100 96,000 100 *ส่งคืนกรม 33,100 บาท ผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบัติงานและ แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 16 แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผลการด าเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+โอน เพิ่ม ผลการเบิกจ่าย หมายเหตุ ประกอบ หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ กิจกรรมรอง : คลินิกเกษตร เคลื่อนที่ในพ ระ ราช านุเค รา ะห์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ 4 ครั้ง 4 ครั้ง 100 9,100 9,100 100 กิจกรรมรอง : ส่งเสริมกิจกรรม สหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน ตาม พระราชด าริสมเด็จพระเทพฯ 12 โรงเรียน 12 โรงเรียน 100 115,440 115,440 100 กิจกรรมรอง : อนุรักษ์พันธุกรรม พืชอันเนื่องม าจากพระราชด าริ สมเด็จพระเทพฯ 1 แห่ง 1 แห่ง 100 7,600 7,600 100 กิจกรรมรอง : ขับเคลื่อนปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และส่งเสริม การเกษตรตามแนวทางทฤษฎีใหม่ใน สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 5 แห่ง 5 แห่ง 100 3,200 3,200 100 แผนงานยุทธศาสตร์ การเกษตรสร้างมูลค่า กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมการแปร รูปสินค้าเกษตรในสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร 2 แห่ง 2 แห่ง 100 14,600 7,280 100 *ส่งคืนกรม 7,320 บาท กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมเกษตร แบบแปลงใหญ่ในสถาบันเกษตรกร 19 แปลง 19 แปลง 100 16,100 16,100 100 กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมและ พัฒนาสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น ในสถาบันเกษตรกร(หม่อนไหม) 1 แห่ง 1 แห่ง 100 140,000 140,000 100 กิจกรรมหลัก : พัฒนาศักยภาพ การด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่ม เกษตรกร และธุรกิจชุมชน 1 แห่ง 1 แห่ง 100 20,100 20,100 100 กิจกรรมหลัก : สร้างความเชื่อมั่น ในสินค้าเกษตรและอาหาร 1 ครั้ง 1 ครั้ง 100 9,000 9,000 100 กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมเกษตร ป ล อ ด ภั ยใ น ส ห ก ร ณ์ แ ล ะ ก ลุ่ ม เกษตรกร 2 แห่ง 2 แห่ง 100 39,600 39,600 100
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 17 แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย (หน่วยนับ) ผลการด าเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร+โอน เพิ่ม ผลการเบิกจ่าย หมายเหตุ ประกอบ หน่วยนับ ร้อยละ บาท บาท ร้อยละ กิจกรรมหลัก : ยกระดับสถาบัน เกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการธุรกิจ เกษตร 4 แห่ง 4 แห่ง 100 43,570 43,570 100 แผนงานยุทธศาสตร์ เพื่อสนับสนุนด้านโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม กิจกรรมหลัก : แก้ปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์กลุ่มเกษตรกรด้วยระบบสหกรณ์ โครงการแก้ปัญหาหนี้สินและ พัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรด้วยระบบสหกรณ์ 11 แห่ง 11 แห่ง 100 17,400 17,400 100 แผนงานบูรณาการ พัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล โครงการ ส่งเสริมและพัฒนา อาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินท ากิน ของเกษตรกร 1 พื้นที่ 1 พื้นที่ 100 7,000 7,000 100 ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 ที่มา : ฝ่ายบริหารทั่วไป
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 18
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 19 ประกอบด้วย สหกรณ์…17…. แห่ง สมาชิก …39,475 ….. คน กลุ่มเกษตรกร …1… แห่ง สมาชิก …91.. คน ❖ ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ 1. ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์ รวม 17 สหกรณ์ ผ่านมาตรฐาน จ านวน 13 แห่ง ไม่ผ่านมาตรฐาน จ านวน 4 แห่ง 2. ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ รวม 17 สหกรณ์ ชั้น 1 จ านวน 5 แห่ง ชั้น 2 จ านวน 3 แห่ง ชั้น 3 จ านวน 9 แห่ง 3. ผลการปิดบัญชีสหกรณ์ รวม 17 สหกรณ์ - สหกรณ์ปิดบัญชีได้และส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีภายใน 30 วัน จ านวน 14 แห่ง - สหกรณ์ปิดบัญชีได้และส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีภายใน 31-180 วัน จ านวน 2 แห่ง - สหกรณ์ปิดบัญชีไม่ได้เกินกว่า 6 เดือน จ านวน 1 แห่ง 4. สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจรวม รวม 17 สหกรณ์ - ปริมาณธุรกิจรวม จ านวน 7,166,486,551.56 บาท กลุ่มเกษตรกร 1. ผลการจัดมาตรฐานกลุ่มเกษตรกร รวม 1 กลุ่มเกษตรกร ผ่านมาตรฐาน จ านวน - แห่ง ไม่ผ่านมาตรฐาน จ านวน 1 แห่ง 2. ผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร รวม 1 กลุ่มเกษตรกร ชั้น 1 จ านวน - แห่ง ชั้น 2 จ านวน - แห่ง ชั้น 3 จ านวน 1 แห่ง 3. ผลการปิดบัญชีกลุ่มเกษตรกร รวม 1 กลุ่มเกษตรกร อ ำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 20 - สหกรณ์ปิดบัญชีได้และส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีภายใน 30 วัน จ านวน 1 แห่ง - สหกรณ์ปิดบัญชีได้และส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีภายใน 31-180 วัน จ านวน - แห่ง - สหกรณ์ปิดบัญชีไม่ได้เกินกว่า 6 เดือน จ านวน - แห่ง 4. กลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจรวม รวม 1 กลุ่มเกษตรกร - ปริมาณธุรกิจรวม จ านวน 10,434,293.81 บาท กิจกรรมการแนะน าส่งเสริมสหกรณ์ 1. วิเคราะห์ข้อมูลสหกรณ์โดยศึกษาวิเคราะห์สภาพแวดล้อมสหกรณ์ในปัจจุบัน ท าการสรุปผลการ วิเคราะห์และก าหนดประเด็นในการน าเสนอ 2. เข้าร่วมกับกลุ่มงานในการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดท าแผนพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์ ก าหนดรายละเอียดวัตถุประสงค์เป้าหมาย กิจกรรมที่ด าเนินการ ระยะเวลาด าเนินการ 3. เข้าร่วมประชุมในการจัดท าแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ของกิจกรรมที่จะด าเนินการ 4. ติดตามการขับเคลื่อนให้เป็นไปตามแผนและเกิดผลส าเร็จ ❖ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. เจ้าหน้าที่จัดท าบัญชีขาดความรู้และความเอาใจใส่ในการจัดท าบัญชีท าให้ไม่สามารถปิดบัญชีได้ภายใน 30 วันนับแต่ปีบัญชีรวมทั้งคณะกรรมการไม่มีความใส่ใจในการด าเนินงานของสหกรณ์ โดยไม่จัดให้มีการ ประชุมคณะกรรรมการด าเนินการเป็นประจ าทุกเดือนตามข้อบังคับ เพื่อพิจารณาและติดตามผลการด าเนินการ ต่าง ๆ 2. คณะกรรมการยังขาดความรู้และความช านาญในการบริหารจัดการ ไม่มีเจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดการเพียงพอ ในการท างาน และการบริหารจัดการไม่เป็นไปตามระบบ ไม่มีการควบคุมภายในที่ดี 3. สมาชิกไม่มีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจสหกรณ์ 4. สมาชิกสหกรณ์มีหนี้ค้างช าระเป็นจ านวนมาก ซึ่งสหกรณ์ยังไม่มีแผนในการติดตามเร่งรัดหนี้สิน หรือหาก มีแผน ก็ยังไม่สามารถขับเคลื่อนให้เป็นไปตามแผนได้ 5. สหกรณ์ประสบปัญหาผลประกอบการขาดทุน จึงมีผลกระทบต่อสมาชิกในเรื่องความศรัทธาและความ เชื่อมั่นในระบบสหกรณ์ 6. สหกรณ์ขาดทุนหมุนเวียนในการด าเนินธุรกิจ จึงต้องกู้ยืมเงินต่อสถาบันการเงินภายนอก ส่งผลในการ รับภาระในการช าระหนี้และกระทบต่อผลประกอบการของสหกรณ์ ❖ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. ควรจัดให้มีการอบรมให้ความรู้แก่คณะกรรมการ/เจ้าหน้าที่/สมาชิก เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง สหกรณ์เพิ่มมากขึ้น
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 21 2. แนะน าให้สหกรณ์มอบหมายหรือจัดจ้างผู้ที่มีความรู้ทางบัญชีมาท าหน้าที่จัดท าบัญชีเพื่อให้ปิดบัญชีได้ ภายใน 30 วันนับแต่สิ้นปีบัญชี 3. คณะกรรมการควรมีความเอาใจใส่ในการบริหารงานมากขึ้น เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตน 4. สหกรณ์ต้องมีการพัฒนาในการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์มีการกระตุ้นให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการท าธุรกิจ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งต้องใช้ระยะเวลาในการด าเนินการและต้องเป็นไปอย่างต่อเนื่อง 5. สหกรณ์ควรมีการติดตามหนี้ที่ค้างช าระเข้าที่ประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาในการเร่งรัดติดตาม หนี้สิน ❖ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์ ❖ การแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์ค อ่าวน้อย จ ากัด สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์ค อ่าวน้อย จ ากัด ประสบปัญหาหนี้ค้างช าระจากสมาชิกเป็น จ านวนมาก ส่งผลให้สหกรณ์ขาดสภาพคล่องในการด าเนินธุรกิจ เนื่องจากการปล่อยเงินกู้และการให้สินเชื่อด้าน ปัจจัยการผลิตที่ผิดพลาดในอดีต ส่งผลให้สหกรณ์มีผลการด าเนินงานขาดทุน และขาดทุนสะสมในเวลาต่อมา ส่งปัญหาถึงการขาดความเชื่อมั่นของสมาชิก คณะกรรมการด าเนินการจึงร่วมกับส านักงานสหกรณ์จงหวัด ประจวบคีรีขันธ์วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นและพิจารณาด าเนินการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระและพัฒนาคุณภาพ ชีวิตสมาชิกสหกรณ์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าร่วมประชุมกับคณะกรรมการด าเนินการ เพื่อชี้แจงต่อที่ประชุม ถึงปัญหาในการด าเนินงานของสหกรณ์โดยให้ความรู้เรื่องการบัญชีและการเงินของสหกรณ์แหล่งที่มาของเงิน สหกรณ์และที่ไปของเงินสหกรณ์และร่วมกันวิเคราะห์สภาพปัญหาของสหกรณ์โดยใช้ฐานข้อมูลสหกรณ์ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 ท าให้ทราบว่า สหกรณ์มีทุนการด าเนินงานทั้งสิ้น 181,906,132.76 บาท โดยมี แหล่งที่มาจากทุนของสหกรณ์เอง จ านวน 10,507,236.68 บาท และใช้ที่มาของทุนจากหนี้สินถึง 171,398,896.08 บาท ซึ่งเงินทุนจ านวนนี้นอกจากใช้ในการหมุนเวียนด าเนินธุรกิจแล้วอยู่ในรูปของเงินให้กู้ยืม ระยะสั้น – สุทธิจ านวน 2,733,229.38 บาท ลูกหนี้ระยะสั้น-สุทธิ จ านวน 95,537,226.47 บาท และดอกเบี้ย เงินให้กู้ค้างรับ-สุทธิ295,556.58 บาท เมื่อชื่อบัญชีของสหกรณ์มีค าว่า “สุทธิ” ต่อท้าย จึงต้องพิจารณา รายละเอียดให้เพิ่มขึ้น จึงท าให้ทราบว่า จ านวนเงินให้กู้ยืมทั้งสิ้น 8,204,340.33 บาท ในจ านวนนี้ถูกตั้งค่าเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ จ านวน 5,471,110.95 บาท และสิ่งส าคัญที่น่าสนใจลูกหนี้การค้าของสหกรณ์มีจ านวนสูงถึง 112,042,892.24 บาท ถูกตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไปถึง 16,505,665.77 บาท และหากย้อนกลับไปพิจารณา แหล่งที่มาของเงินคือสหกรณ์ใช้แหล่งเงินกู้เป็นหลักซึ่งมีต้นทุนเงินทุนที่สูง ส่งผลให้สหกรณ์ประสบปัญหาในการ ด าเนินธุรกิจ คณะกรรมการจึงร่วมกันพิจารณาและมีมติที่จะแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสมาชิกพร้อมทั้งพัฒนา
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 22 คุณภาพชีวิตของสมาชิกไปพร้อมๆ กัน เนื่องจากสมาชิกสหกรณ์ประสบปัญหาหลายประการในฟาร์ม ทั้งต้นทุน การเลี้ยงสูง โรคระบาด ปัญหาค่าครองชีพที่สูงขึ้น ขั้นตอนการด าเนินงาน (1) ร่วมวิเคราะห์ปัญหากับสหกรณ์และมีมติด าเนินการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสมาชิก (2) ประสานงานกับกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการส านักงานสหกรณ์จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์เพื่อน าสหกรณ์เข้าร่วมโครงการ (3) วางแผนกับสหกรณ์วิเคราะห์กลุ่มหนี้ของสมาชิก แยกสมาชิกออกเป็นกลุ่มตามปัญหา และก าหนด แผนในการแก้ปัญหาเฉพาะตามกลุ่มสมาชิกที่ด าเนินแยกไว้ (4) ด าเนินการตามแผนโดยตั้งอนุกรรมการเพื่อด าเนินการรับผิดชอบตามแผน (5) ติดตามประเมินผลและเสนอปัญหาอุปสรรคเพื่อน ามาเป็นแนวทางแก้ไขในที่ประชุมคณะกรรมการ ด าเนินการเป็นประจ าทุกเดือน ประโยชน์ของงาน (1) สมาชิกได้รับการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระ มีแนวทางในการช าระหนี้ให้สหกรณ์ (2) สหกรณ์ได้รับช าระหนี้เพื่อใช้เป็นทุนหมุนเวียนเสริมสภาพคล่องให้กับสหกรณ์ ความส าเร็จของงาน สหกรณ์มีหนี้ค้างช าระคงเหลือลดลง จากวันที่เริ่มโครงการแก้ไขปัญหาหนี้สหกรณ์ได้รับช าระหนี้ จ านวน 1,054,573.14 บาท
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 23 ประกอบด้วย สหกรณ์จ านวน 5 แห่ง สมาชิก 1,669 คน กลุ่มเกษตรกร จ านวน 4 แห่ง สมาชิก 379 ราย ❖ ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ 1. ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์ รวม 5 สหกรณ์ ผ่านมาตรฐาน จ านวน 3 แห่ง ไม่ผ่านมาตรฐาน จ านวน 2 แห่ง 2. ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ รวม 5 สหกรณ์ ระดับชั้น 1 จ านวน 1 แห่ง ระดับชั้น 2 จ านวน 1 แห่ง ระดับชั้น 3 จ านวน 3 แห่ง 3. ผลการปิดบัญชีสหกรณ์ รวม 5 สหกรณ์ - สหกรณ์ปิดบัญชีได้และส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีภายใน 30 วัน จ านวน 4 แห่ง - สหกรณ์ปิดบัญชีได้และส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีภายใน 31-180 วัน จ านวน - แห่ง - สหกรณ์ปิดบัญชีไม่ได้เกินกว่า 6 เดือน จ านวน 1 แห่ง 4. สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจรวม รวม 5 สหกรณ์ - ปริมาณธุรกิจรวม จ านวน 290,633,550.61 บาท กลุ่มเกษตรกร 1. ผลการจัดมาตรฐานกลุ่มเกษตรกร รวม 4 กลุ่มเกษตรกร ผ่านมาตรฐาน จ านวน 2 แห่ง ไม่ผ่านมาตรฐาน จ านวน 2 แห่ง 2. ผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร รวม 4 กลุ่มเกษตรกร ระดับชั้น 1 จ านวน - แห่ง ระดับชั้น 2 จ านวน - แห่ง ระดับชั้น 3 จ านวน 4 แห่ง 3. ผลการปิดบัญชีกลุ่มเกษตรกร รวม 4 กลุ่มเกษตรกร - สหกรณ์ปิดบัญชีได้และส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีภายใน 30 วัน จ านวน 3 แห่ง - สหกรณ์ปิดบัญชีได้และส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีภายใน 31-180 วัน จ านวน 1 แห่ง - สหกรณ์ปิดบัญชีไม่ได้เกินกว่า 6 เดือน จ านวน - แห่ง 4. กลุ่มเกษตรกรมีปริมาณรวม รวม 4 กลุ่มเกษตรกร - ปริมาณธุรกิจรวม จ านวน 1,054,000.00 บาท อ ำเภอกุยบุรี
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 24 กิจกรรมการแนะน าส่งเสริมสหกรณ์ 1. วิเคราะห์ข้อมูลสหกรณ์โดยศึกษาวิเคราะห์สภาพแวดล้อมสหกรณ์ในปัจจุบัน ท าการสรุปผลการ วิเคราะห์และก าหนดประเด็นในการน าเสนอ 2. เข้าร่วมกับกลุ่มงานในการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดท าแผนพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์ ก าหนดรายละเอียดวัตถุประสงค์เป้าหมาย กิจกรรมที่ด าเนินการ ระยะเวลาด าเนินการ 3. เข้าร่วมประชุมในการจัดท าแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ของกิจกรรมที่จะด าเนินการ 4. ติดตามการขับเคลื่อนให้เป็นไปตามแผนและเกิดผลส าเร็จ ❖ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. เจ้าหน้าที่จัดท าบัญชีขาดความรู้และความเอาใจใส่ในการจัดท าบัญชีท าให้ไม่สามารถปิดบัญชีได้ ภายใน 30 วันนับแต่ปีบัญชีรวมทั้งคณะกรรมการไม่มีความใส่ใจในการด าเนินงานของสหกรณ์โดยไม่จัดให้มี การประชุมคณะกรรรมการด าเนินการเป็นประจ าทุกเดือนตามข้อบังคับ เพื่อพิจารณาและติดตามผลการ ด าเนินการต่าง ๆ 2. คณะกรรมการยังขาดความรู้และความช านาญในการบริหารจัดการ ไม่มีเจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดการ เพียงพอในการท างาน และการบริหารจัดการไม่เป็นไปตามระบบ ไม่มีการควบคุมภายในที่ดี 3. สมาชิกไม่มีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจสหกรณ์ 4. สมาชิกสหกรณ์มีหนี้ค้างช าระเป็นจ านวนมาก ซึ่งสหกรณ์ยังไม่มีแผนในการติดตามเร่งรัดหนี้สิน หรือ หากมีแผน ก็ยังไม่สามารถขับเคลื่อนให้เป็นไปตามแผนได้ 5. สหกรณ์ประสบปัญหาผลประกอบการขาดทุน จึงมีผลกระทบต่อสมาชิกในเรื่องความศรัทธาและ ความเชื่อมั่นในระบบสหกรณ์ 6. สหกรณ์ขาดทุนหมุนเวียนในการด าเนินธุรกิจ จึงต้องกู้ยืมเงินต่อสถาบันการเงินภายนอก ส่งผลใน การรับภาระในการช าระหนี้และกระทบต่อผลประกอบการของสหกรณ์ ❖ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. ควรจัดให้มีการอบรมให้ความรู้แก่คณะกรรมการ/เจ้าหน้าที่/สมาชิก เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจใน เรื่องสหกรณ์เพิ่มมากขึ้น 2. แนะน าให้สหกรณ์มอบหมายหรือจัดจ้างผู้ที่มีความรู้ทางบัญชีมาท าหน้าที่จัดท าบัญชีเพื่อให้ปิดบัญชี ได้ภายใน 30 วันนับแต่สิ้นปีบัญชี 3. คณะกรรมการควรมีความเอาใจใส่ในการบริหารงานมากขึ้น เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตน 4. สหกรณ์ต้องมีการพัฒนาในการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์มีการกระตุ้นให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการท า ธุรกิจเพิ่มมากขึ้น ซึ่งต้องใช้ระยะเวลาในการด าเนินการและต้องเป็นไปอย่างต่อเนื่อง 5. สหกรณ์ควรมีการติดตามหนี้ที่ค้างช าระเข้าที่ประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาในการเร่งรัดติดตาม หนี้สิน
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 25 ❖ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์ ❖ การแนะน าส่งเสริมสหกรณ์โคนมกุยบุรีจ ากัด เข้ารับการคัดเลือกเป็นสหกรณ์ที่มีผลงานดีเด่น ระดับชาติ สหกรณ์โคนมกุยบุรีจ ากัด ตั้งอยู่เลขที่ 110/2 หมู่ 1 ต าบลกุยบุรีอ าเภอกุยบุรีจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์จดทะเบียนเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2537 ณ วันสิ้นปีทางบัญชี31 ธันวาคม 2565 มีข้อมูล สหกรณ์ดังนี้ - จ านวนสมาชิก 86 คน - ทุนด าเนินงาน 60,372,372.24 บาท - ทุนเรือนหุ้น 16,009,800.00 บาท - ทุนส ารอง 11,788,036.10 บาท - หนี้สิน 24,266,786.37 บาท - ก าไรสุทธิ 3,416,541.18 บาท - อาชีพส่วนใหญ่ของสมาชิก คือ เลี้ยงโคนม - ธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ รวบรวมผลผลิตน้ านมดิบ วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นเพื่อพิจารณาเป็นเป้าหมายในการด าเนินการแนะน าให้สหกรณ์ส่งผลงาน เข้ารับการคัดเลือกเป็นสหกรณ์ดีเด่นแห่งชาติ ระยะเวลาที่ด าเนินการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565/2566 ขั้นตอนการด าเนินการ (1) เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการด าเนินการเพื่อชี้แจงขั้นตอนการด าเนินงาน เกณฑ์ชี้วัดของโครงการ ประกอบด้วย 5 หมวด ซึ่งก าหนดคะแนนเต็มไว้1,000 คะแนน ดังนี้ หมวดที่ 1 ความคิดริเริ่ม 100 คะแนน หมวดที่ 2 ความสามารถในการบริหารและการจัดการสหกรณ์ 350 คะแนน หมวดที่ 3 บทบาทและการมีส่วนร่วมของสมาชิกต่อสหกรณ์ 250 คะแนน หมวดที่ 4 ความมั่นคงและฐานะทางเศรษฐกิจของสหกรณ์ 150 คะแนน หมวดที่ 5 การท ากิจกรรมด้านสาธารณประโยชน์และการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ 150 คะแนน โดยชี้แจงถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการนอกจากรางวัลที่ได้รับแล้ว สหกรณ์ ยังสามารถใช้แบบประเมินเป็นเครื่องมือในการพัฒนาสหกรณ์ ปรับปรุงจุดแข็ง จุดอ่อน เพื่อเป็นไปตามเกณฑ์ดีเด่น
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 26 (2) คณะกรรมการพิจารณาแล้วมีมติส่งผลงานเข้ารับการคัดเลือก โดยมอบหมายให้คณะกรรมการ ศึกษาและประชาสัมพันธ์รวบรวมข้อมูลตามแบบประเมิน (3) เข้าร่วมประชุมกับคณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ์แนะน าการจัดเก็บข้อมูลตลอดจนการ ประเมินผลคะแนนตามเกณฑ์ชี้วัด (4) รวบรวมข้อมูลและประเมินคะแนนแต่ละหมวดน าเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการของ สหกรณ์ (5) น าเสนอผลงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติระดับ จังหวัด ประโยชน์ของงาน สหกรณ์โคนมกุยบุรีจ ากัด เห็นประโยชน์ของเกณฑ์การประเมินดังกล่าว โดยน ามาเป็น เครื่องมือในการพัฒนาสหกรณ์มีการด าเนินการก าหนดแผนกลยุทธ์โดยระดมความคิดเห็นจาก สมาชิก คณะกรรมการด าเนินการ และฝ่ายจัดการ ผลส าเร็จของงาน สหกรณ์ผ่านเกณฑ์ระดับจังหวัดด้วยคะแนนผลการประเมินแต่ละหมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 ความคิดริเริ่ม 100 คะแนน หมวดที่ 2 ความสามารถในการบริหารและการจัดการสหกรณ์ 259 คะแนน หมวดที่ 3 บทบาทและการมีส่วนร่วมของสมาชิกต่อสหกรณ์ 197 คะแนน หมวดที่ 4 ความมั่นคงและฐานะทางเศรษฐกิจของสหกรณ์ 107 คะแนน หมวดที่ 5 การท ากิจกรรมด้านสาธารณประโยชน์และการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ 150 คะแนน คะแนนรวมทุกหมวดเท่ากับ 813.00 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 81.30 ผ่านการประเมินได้รับการ คัดเลือกเป็นสหกรณ์ดีเด่นระดับจังหวัด
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 27 ประกอบด้วย สหกรณ์12 แห่ง สมาชิก 39,628 คน กลุ่มเกษตรกร 5 แห่ง สมาชิก 1,511 คน ❖ ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร การแนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โดยเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการด าเนินการ ประชุม ใหญ่สามัญประจ าปีเพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในระบบสหกรณ์ว่าด้วยเรื่องอุดมการณ์ หลักการและวิธีการ สหกรณ์ให้แก่บุคลากรของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร รวมทั้งให้ค าปรึกษา แนะน า ส่งเสริม การบริหารจัดการ องค์กรให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ ข้อก าหนดต่าง ๆ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ผลการแนะน า ส่งเสริมในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ดังนี้ สหกรณ์ ระดับชั้นความเข้มแข็ง สหกรณ์ประเภทการเกษตร จ านวน 2 แห่ง 1. สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คเนินดินแดง จ ากัด 2. สหกรณ์ผู้ปลูกสับปะรดจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จ ากัด ชั้น 2 ชั้น 3 สหกรณ์ประเภทเครดิตยูเนี่ยน จ านวน 9 แห่ง 1. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านแสงอรุณ จ ากัด 2. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านหินเทิน จ ากัด 3. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนพัฒนาชุมชนบ้านพุตะแบก จ ากัด 4. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน อพป. บ้านมะเดื่อทอง จ ากัด 5. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนพัฒนาประชาราษฎร์จ ากัด 6. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านหนองมะค่า จ ากัด 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนสมอสาม จ ากัด 8. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านสีดางาม จ ากัด 9. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านสวนส้ม จ ากัด ชั้น 3 ชั้น 1 ชั้น 1 ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น 1 ชั้น 1 ชั้น 2 สหกรณ์ประเภทบริการ จ านวน 1 แห่ง 1. สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงห้วยยาง จ ากัด ชั้น 3 กลุ่มเกษตรกร มาตรฐาน กลุ่มเกษตรกร จ านวน ๕ แห่ง 1. กลุ่มเกษตรกรท านาห้วยยาง 2. กลุ่มเกษตรกรท านาหญ้าห้วยยาง 3. กลุ่มเกษตรกรท าสวนแสงอรุณ 4. กลุ่มเกษตรกรท าสวนทับสะแก 5. กลุ่มเกษตรกรท าสวนเขาล้าน ชั้น 3 ชั้น 3 ชั้น 3 ชั้น 3 ชั้น 3 อ ำเภอทับสะแก
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 28 ❖ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ส่วนใหญ่อยู่ในประเภทเครดิตยูเนี่ยน ซึ่งเป็นสหกรณ์ขนาดใหญ่ มีสมาชิกจ านวนมากและ เงินทุนในการด าเนินงานของสหกรณ์ส่วนใหญ่มาจากการรับฝากเงินจากสมาชิก ท าให้สหกรณ์เงินทุนเหลือ สหกรณ์จ าเป็นต้องบริหารสภาพคล่องดังกล่าวโดยลงทุนในสินทรัพย์ที่หลากหลายมากขึ้น เช่น ฝากสหกรณ์อื่น และลงทุนภายนอก ซึ่งอาจมีความเสี่ยงท าให้ไม่ได้รับเงินคืน อีกทั้งปัญหาสมาชิกขาดส่งช าระหนี้เนื่องจาก สมาชิกของสหกรณ์มาจากหลากหลายอาชีพ จึงเป็นปัญหาในการตรวจสอบความสามารถในการช าระหนี้ของ สมาชิก ปัญหาดังกล่าวท าให้ค่าใช้จ่ายของสหกรณ์สูงขึ้น เช่น ค่าใช้จ่ายในการติดตามหนี้และตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัย จะสูญ ส่งให้ผลก าไรของสหกรณ์อาจลดลง กลุ่มเกษตรกร ปัญหาเกิดขึ้นจากปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบกับการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร เช่น ผลผลิตทางด้านการเกษตรมีราคาตกต่ า เช่น มะพร้าว ยางพารา เป็นต้น มีผลต่อเนื่องท าให้การช าระหนี้และ การเพิ่มหนี้สินเกษตรกรภาคครัวเรือนเพิ่มขึ้นและการช าระหนี้ลดลงท าให้กลุ่มเกษตรกรต้องเข้มงวดในการให้ สินเชื่อ เพื่อไม่ให้เสียค่าใช้จ่ายในการติดตามหนี้สิน ❖ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. แนะน าให้คณะกรรมการด าเนินการและฝ่ายจัดการ วิเคราะห์ความเสี่ยงสถานะทางการเงินของ สหกรณ์อื่นหรือสถาบันการเงินก่อนที่จะน าเงินไปลงทุน 2. แนะน าให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีสมาชิกผิดนัดช าระหนี้และดอกเบี้ยจ านวนมากก าหนด แนวทางที่ชัดเจนในการบริหารจัดการหนี้ค้างช าระโดยสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในการ ติดตามหนี้ค้างช าระ 3. แนะน าให้สหกรณ์มีนโยบายลดอัตราดอกเบี้ยเงินรับฝากจากสมาชิก ให้สอดคล้องกับอัตราดอกเบี้ย ธนาคารพาณิชย์เพื่อลดผลกระทบการจ่ายดอกเบี้ยเงินรับฝากจากสมาชิก ที่เป็นภาระที่สหกรณ์ ต้องแบกรับ ❖ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ. ใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านหินเทิน จ ากัด และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนพัฒนาประชาราษฎร์จ ากัด ผลงาน/ความส าเร็จของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านหินเทิน จ ากัด ผลการด าเนินงานปี2566 สหกรณ์ไม่มีดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับ โดย ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 สหกรณ์มีลูกหนี้เงินกู้คงเหลือ จ านวน 105,959,556.00 บาท ประกอบด้วย เงินให้สมาชิกกู้ยืมจ านวน 105,709,282.00 บาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน และลูกหนี้ตามค าพิพากษา จ านวน 250,247.00 บาท ลดลงจากปี
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 29 ก่อน สหกรณ์มีรายได้จากดอกเบี้ยเงินให้กู้ส าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2566 จ านวน 9,643,012.00 บาท และสามารถเรียกเก็บดอกเบี้ยจากสมาชิกได้ทั้งหมด สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนพัฒนาประชาราษฎร์จ ากัด ผลการด าเนินงานปี2566 สหกรณ์ไม่มีดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับ โดย ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 สหกรณ์มีลูกหนี้เงินกู้คงเหลือ จ านวน 36,683,859.15 บาท ประกอบด้วย เงินให้สมาชิกกู้ยืมจ านวน 36,128,861.00 บาท และลูกหนี้ตามค าพิพากษา จ านวน 554,998.15 บาท สหกรณ์มีรายได้จากดอกเบี้ยเงินให้ กู้ส าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2566 จ านวน 3,340,633.00 บาท และสามารถเรียกเก็บดอกเบี้ยจาก สมาชิกได้ทั้งหมด ปัจจัยแห่งความส าเร็จ (เพื่อเป็นกรณีศึกษาตัวอย่างที่ดีหรือแนวทางในการส่งเสริม) 1. ส่งเสริมทางด้านความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการด้านธุรกิจสินเชื่อของคณะกรรมการ ด าเนินการและฝ่ายจัดการ โดยคณะกรรมการสินเชื่อ มีการแบ่งกลุ่มลูกหนี้และออกติดตามเร่งรัดหนี้จาก สมาชิกอย่างสม่ าเสมอ เพื่อกระตุ้นให้สมาชิกตระหนักถึงความส าคัญในการช าระหนี้ 2. แนะน า ส่งเสริมให้สหกรณ์ประชาสัมพันธ์ขอความร่วมมือกับสมาชิก ให้สมาชิกมีความรับผิดชอบและมี วินัยในการช าระหนี้เงินกู้แก่สหกรณ์โดยสมาชิกมีศักยภาพและมีความสามารถในการประกอบอาชีพ และ กระแสเงินสดเพียงพอส าหรับการช าระหนี้
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 30 ประกอบด้วย สหกรณ์7 แห่ง สมาชิก 22,803 คน กลุ่มเกษตรกร ๕ แห่ง สมาชิก 1,077 คน ❖ ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร การแนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โดยเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการด าเนินการ ประชุม ใหญ่สามัญประจ าปีเพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในระบบสหกรณ์ว่าด้วยเรื่องอุดมการณ์ หลักการและวิธีการ สหกรณ์ให้แก่บุคลากรของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร รวมทั้งให้ค าปรึกษา แนะน า ส่งเสริม การบริหารจัดการ องค์กรให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ ข้อก าหนดต่าง ๆ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ผลการแนะน า ส่งเสริมในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ดังนี้ สหกรณ์ ระดับชั้นความ เข้มแข็ง สหกรณ์ประเภทการเกษตร จ านวน 2 แห่ง 1. สหกรณ์ชาวสวนมะพร้าวประจวบคีรีขันธ์จ ากัด 2. สหกรณ์กองทุนสวนยางพงศ์ประศาสน์พัฒนา จ ากัด ชั้น 3 ชั้น 3 สหกรณ์ประเภทเครดิตยูเนี่ยน จ านวน 4 แห่ง 1. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านดอนแหลมใหญ่ จ ากัด 2. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนวังน้าเขียวพัฒนา จ ากัด 3. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนราษฎร์ประสงค์พัฒนา จ ากัด 4. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนช่องลมพัฒนา จ ากัด ชั้น 1 ชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 2 สหกรณ์ประเภทบริการ จ านวน 1 แห่ง 1. สหกรณ์โรงเรียนบ้านวังน้าเขียว จ ากัด ชั้น 1 กลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร จ านวน 5 แห่ง 1. กลุ่มเกษตรกรท าสวนชัยเกษม 2. กลุ่มเกษตรกรท าไร่พงศ์ประศาสน์ 3. กลุ่มเกษตรกรท าสวนร่อนทอง 4. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์แม่ร าพึง 5. กลุ่มเกษตรกรท าสวนธงชัย ชั้น 3 ชั้น 3 ชั้น 3 ชั้น 3 ชั้น 3 อ ำเภอบางสะพาน
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 31 ❖ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ประเภทการเกษตร 1. สหกรณ์เกิดปัญหาการทุจริต ไม่สามารถปิดบัญชีได้ติดต่อกัน 2. สหกรณ์ขาดประสบการณ์ในการด าเนินธุรกิจรวบรวมยางพารา และมะพร้าว ท าให้ประสบปัญหา ขาดทุน สินค้าขาดบัญชี 3. ไม่มีเงินทุนหมุนเวียนในการด าเนินธุรกิจ สหกรณ์ประเภทเครดิตยูเนี่ยน 1. สหกรณ์ประสบปัญหาการส่งช าระหนี้ของสมาชิก เนื่องจากสมาชิกสหกรณ์ประสบปัญหาผลผลิต สินค้าทางการเกษตรตกต่ า 2. สหกรณ์เกิดความเสี่ยงในการน าเงินไปลงทุนภายนอก สหกรณ์ประเภทบริการ 1. สหกรณ์ประสบปัญหายอดการจ าหน่ายสินค้าลดลง ❖ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา สหกรณ์ประเภทการเกษตร 1. จัดอบรมให้ความรู้คณะกรรมการ เกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ การจัดท าแผนธุรกิจของ สหกรณ์/ ฟื้นฟูกิจการ 2. การให้ความรู้แก่สมาชิกเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจ 3. การขอรับการสนับสนุนเงินกู้และเงินให้เปล่าจาก กพส. และการยางแห่งประเทศไทย สหกรณ์ประเภทเครดิตยูเนี่ยน 1. แนะน าให้สหกรณ์เชิญสมาชิกมาปรับโครงสร้างหนี้และด าเนินคดีกับสมาชิกที่มีหนี้ค้างนาน 2. แนะน าให้สหกรณ์ลดอัตราดอกเบี้ยเงินรับฝากจากสมาชิก 3. ให้สหกรณ์วิเคราะห์ความเสี่ยงในการน าเงินไปลงทุนภายนอก 4. ให้สหกรณ์จัดท าโครงการช่วยเหลือสมาชิกที่ประสบปัญหาราคาสินค้าการเกษตรตกต่ า เพื่อเพิ่มรายได้ 5. แนะน าให้สหกรณ์ติดตามเร่งรัดหนี้ค้างนานจากสมาชิก สหกรณ์ประเภทบริการ 1. ให้สหกรณ์ส ารวจความต้องการสินค้าของสมาชิก 2. ประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกทราบเกี่ยวกับสินค้าที่สหกรณ์น ามาจ าหน่าย
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 32 ประกอบด้วย สหกรณ์3 แห่ง สมาชิก 2,509 คน กลุ่มเกษตรกร 4 แห่ง สมาชิก 885 คน ❖ ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร การแนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โดยเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการด าเนินการ ประชุมใหญ่ สามัญประจ าปีเพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในระบบสหกรณ์ว่าด้วยเรื่องอุดมการณ์ หลักการและวิธีการสหกรณ์ ให้แก่บุคลากรของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร รวมทั้งให้ค าปรึกษา แนะน า ส่งเสริม การบริหารจัดการองค์กรให้ เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ ข้อก าหนดต่าง ๆ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ผลการแนะน าส่งเสริมใน รอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ดังนี้ สหกรณ์ ระดับชั้นความ เข้มแข็ง สหกรณ์ประเภทการเกษตร จ านวน 2 แห่ง 1. สหกรณ์การเกษตรบางสะพานน้อย จ ากัด 2. สหกรณ์ผู้ผลิตยางทรายทอง จ ากัด ชั้น 3 ชั้น 3 สหกรณ์ประเภทเครดิตยูเนี่ยน จ านวน 1 แห่ง 1. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านบางเบิด จ ากัด ชั้น 2 กลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร จ านวน 4 แห่ง 1. กลุ่มเกษตรกรท าสวนปากแพรก 2. กลุ่มเกษตรกรท าสวนทรายทอง 3. กลุ่มเกษตรกรท าสวนไชยราช 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ทรายทอง ชั้น 3 ชั้น 3 ชั้น 3 ชั้น 2 ❖ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ประเภทการเกษตร 1. สหกรณ์เกิดปัญหาการทุจริต ไม่สามารถปิดบัญชีได้ท าให้เงินทุนหมุนเวียนไม่เพียงพอในการด าเนิน ธุรกิจ 2. สหกรณ์ขาดทุนสะสมเกินกึ่งหนึ่งของทุนเรือนหุ้น ไม่สามารถจ่ายเงินปันผล เงินเฉลี่ยคืนให้แก่สมาชิก ได้ท าให้สมาชิกขาดความเชิ่อมั่นในสหกรณ์ไม่ร่วมท าธุรกิจกับสหกรณ์ 3. คณะกรรมการด าเนินงานขาดความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของกรรมการ ขาดการควบคุมภายใน ที่ดี 4. แนะน าให้สหกรณ์เพิ่มหาแนวทางปริมาณธุรกิจ เช่น การจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย อ ำเภอบางสะพานน้อย
รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 33 สหกรณ์ประเภทเครดิตยูเนี่ยน 1. สมาชิกสหกรณ์ประสบปัญหาราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ า ท าให้การส่งช าระหนี้ให้สหกรณ์ไม่ ตรงตามก าหนด 2. สหกรณ์ได้รับผลกระทบจากการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้เงินกู้ท าให้ผลการด าเนินงานก าไร สุทธิลดลง กลุ่มเกษตรกร 1. การมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจของสมาชิกกับกลุ่มเกษตรกรมีน้อย 2. กลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีการจัดจ้างพนักงานในการจัดท าบัญชีและงบการเงิน ❖ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. สหกรณ์ได้จัดท าแผนฟื้นฟูกิจการของสหกรณ์โดยขออนุมัติจากที่ประชุมใหญ่ 2. สหกรณ์ได้ด าเนินการจัดอบรมคณะกรรมการ ผู้น ากลุ่มสมาชิกและฝ่ายจัดการในการจัดท าแผนการ แก้ไขข้อบกพร่อง แผนการพัฒนาธุรกิจ และบทบาทหน้าที่ของแต่ละฝ่าย 3. แนะน าให้สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนจัดท าโครงการช่วยเหลือสมาชิกที่ประสบปัญหาราคาผลผลิตทาง การเกษตรตกต่ าเพื่อบรรเทาปัญหาการขาดส่งช าระหนี้ของสมาชิก 4. แนะน าให้กลุ่มเกษตรกรประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกเข้ามาร่วมท าธุรกิจกับกลุ่ม 5. แนะน าให้สหกรณ์จัดท าแผนติดตาม เร่งรัดหนี้ค้างนานจากสมาชิก รวมทั้งด าเนินคดีกับสมาชิกที่ขาด ส่งระยะนาน และด าเนินการฟ้องบังคับคดีตามค าพิพากษาของสหกรณ์