The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงาน ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ประจำปี 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานประจำปี 2566

รายงานผลการดำเนินงาน ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ประจำปี 2566

รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 34 ประกอบด้วย สหกรณ์14 แห่ง สมาชิก 16,552 คน สมาชิก 13 สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร 2 แห่ง สมาชิก 208 คน ❖ ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมและแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โดยเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการด าเนินการเข้าร่วมประชุมใหญ่ สามัญ/วิสามัญประจ าปีเข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิก เข้าตรวจเยี่ยม แนะน า ส่งเสริมเข้าตรวจการสหกรณ์เพื่อให้ สหกรณ์ด าเนินการไปด้วยความเรียบร้อย ภายใต้ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายของสหกรณ์ตลอดจนให้ ความรู้ต่างๆ เกี่ยวกับสหกรณ์ท าการวิเคราะห์สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ด้านต่างๆ เพื่อแนะน า ส่งเสริม หา แนวทางแก้ไขปัญหา ให้กับสหกรณ์เพื่อท าให้สหกรณ์เจริญก้าวหน้าเป็นที่พึ่งของสมาชิกโดยท าการวิเคราะห์เรื่อง ต่างๆ ได้ข้อสรุปดังนี้ 1. ด้านบุคลากร (Man) / สมาชิก / คณะกรรมการด าเนินการ / ฝ่ายจัดการและเจ้าหน้าที่ สหกรณ์ - สมาชิก ส่วนใหญ่ให้ความส าคัญกับสหกรณ์มีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจของสมาชิกร้อยละ 60 ขึ้นไป ธุรกิจส่วนใหญ่จะเป็นธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจการรับฝากเงิน ธุรกิจรวบรวมผลผลิต ธุรกิจแปรรูปผลผลิต ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย ธุรกิจบริการ หรือธุรกิจอื่นๆ ตามลักษณะประเภทของสหกรณ์ - คณะกรรมการด าเนินการ ส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจในหลักการบริหารงาน มีความ พร้อม และเสียสละเพื่อน าพาสหกรณ์ให้เป็นองค์กรหลัก พัฒนาสมาชิกให้มีความมั่นคงด้านอาชีพและคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น - ฝ่ายจัดการและเจ้าหน้าที่สหกรณ์ส่วนใหญ่มีความรู้ความสามารถในการจัดการ มีความรู้ ความเข้าใจในการใช้งบการเงิน งบทดลอง ในการตรวจสอบติดตาม และควบคุมการบริหารธุรกิจท าให้สามารถ วางแผนและแก้ปัญหาต่างๆ ได้มีประสิทธิภาพ และมีการส่งฝ่ายจัดการและเจ้าหน้าสหกรณ์เข้าอบรมเพื่อเพิ่มพูน ความรู้อยู่เสมอ 2. ด้านการบริหารเงินทุน (Money) ด้านการบริหารเงินทุนของสหกรณ์ สหกรณ์ส่วนใหญ่มีเงินทุนเพียงพอต่อการบริหารงาน มี ส่วนน้อยที่กู้ยืมเงินจากกรมส่งเสริมสหกรณ์หรือแหล่งเงินทุนภายนอก เช่น ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส.) ฝ่ายจัดการของสหกรณ์มีการวางแผนการบริหารเงินทุนอย่างเป็นระบบ มีสภาพคล่องของ สหกรณ์อยู่ในเกณฑ์ปกติ 3. ด้านวัตถุดิบ (Material) เครื่องจักรและอุปกรณ์(Machine) ผลผลิตของสมาชิก/สินค้า ของสหกรณ์ ส่วนใหญ่จะเป็นในรูปของธุรกิจด้านสินเชื่อ ท าให้ไม่มีวัตถุดิบ เครื่องจักรและอุปกรณ์ยกเว้น สหกรณ์ประเภทโคนมมีน้ านมดิบ พร้อมเครื่องจักรอุปกรณ์ในการรับน้ านมดิบจากสมาชิกของสหกรณ์ อ าเภอหัวหิน


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 35 4. ด้านการบริหารการจัดการ(Management) และการด าเนินธุรกิจ(Method) สหกรณ์ส่วนใหญ่บริหารจัดการโดยค านึงถึงแผนการด าเนินธุรกิจ มีการประมาณการรายได้- รายจ่ายประจ าปีที่ขออนุมัติต่อที่ประชุมใหญ่ มีการแบ่งงานมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบในแต่ละธุรกิจ ให้ ความส าคัญกับงบการเงิน งบทดลอง เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบและประเมินผลการด าเนินธุรกิจ เปรียบเทียบกับแผนงาน ผลด าเนินงานส่วนใหญ่เป็นไปตามแผนการด าเนินงาน ผลการแนะน าส่งเสริมในรอบปี2566 ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์สหกรณ์จ านวน 14 แห่ง ผ่านมาตรฐาน จ านวน 6 แห่ง ไม่ผ่านมาตรฐาน จ านวน 8 แห่ง 1. สหกรณ์การเกษตรหัวหิน จ ากัด ผ่านมาตรฐาน 2. สหกรณ์การเกษตรหนองพลับรุ่งเรือง จ ากัด ไม่ผ่านมาตรฐาน 3. สหกรณ์การเกษตรห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด ไม่ผ่านมาตรฐาน 4. สหกรณ์ชาวไร่สับปะรดหัวหิน จ ากัด ผ่านมาตรฐาน 5. สหกรณ์ชาวสวนยางหัวหิน จ ากัด ไม่ผ่านมาตรฐาน 6. สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด ไม่ผ่านมาตรฐาน 7. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลหัวหิน จ ากัด ผ่านมาตรฐาน 8. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองพลับพัฒนา จ ากัด ผ่านมาตรฐาน 9. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนเขาเต่าพัฒนา จ ากัด ไม่ผ่านมาตรฐาน 10. สหกรณ์บริการโดลไทยแลนด์จ ากัด ไม่ผ่านมาตรฐาน 11. สหกรณ์บริการหมู่บ้านสวัสดิการศูนย์การทหารราบเขาควง จ ากัด ผ่านมาตรฐาน 12. สหกรณ์เคหะสถานบ้านมั่นคงชุมชนเขาพิทักษ์จ ากัด ไม่ผ่านมาตรฐาน 13. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรประจวบคีรีขันธ์จ ากัด ผ่านมาตรฐาน 14. สหกรณ์บ้านมั่นคงหินเหล็กไฟ จ ากัด ไม่ผ่านมาตรฐาน ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์กลุ่มเกษตรกรจ านวน 2 แห่ง ผ่านมาตรฐาน จ านวน 2 แห่ง 1. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ทับใต้ผ่านมาตรฐาน 2. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ห้วยสัตว์ใหญ่ผ่านมาตรฐาน ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์สหกรณ์จ านวน 14 แห่ง สหกรณ์ชั้น 1 จ านวน 4 แห่ง สหกรณ์ชั้น 2 จ านวน 1 แห่ง สหกรณ์ชั้น 3 จ านวน 9 แห่ง 1. สหกรณ์การเกษตรหัวหิน จ ากัด สหกรณ์ชั้น 1 2. สหกรณ์การเกษตรหนองพลับรุ่งเรือง จ ากัด สหกรณ์ชั้น 3 3. สหกรณ์การเกษตรห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด สหกรณ์ชั้น 3 4. สหกรณ์ชาวไร่สับปะรดหัวหิน จ ากัด สหกรณ์ชั้น 3 5. สหกรณ์ชาวสวนยางหัวหิน จ ากัด สหกรณ์ชั้น 3


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 36 6. สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด สหกรณ์ชั้น 3 7. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลหัวหิน จ ากัด สหกรณ์ชั้น 1 8. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองพลับพัฒนา จ ากัด สหกรณ์ชั้น 1 9. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนเขาเต่าพัฒนา จ ากัด สหกรณ์ชั้น 3 10. สหกรณ์บริการโดลไทยแลนด์จ ากัด สหกรณ์ชั้น 3 11. สหกรณ์บริการหมู่บ้านสวัสดิการศูนย์การทหารราบเขาควง จ ากัด สหกรณ์ชั้น 1 12. สหกรณ์เคหะสถานบ้านมั่นคงชุมชนเขาพิทักษ์จ ากัด สหกรณ์ชั้น 3 13. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรประจวบคีรีขันธ์จ ากัด สหกรณ์ชั้น 2 14. สหกรณ์บ้านมั่นคงหินเหล็กไฟ จ ากัด สหกรณ์ชั้น 3 ❖ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์การเกษตรหัวหิน จ ากัด มีเพียงแห่งเดียวที่นับได้ว่ามีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในด้านการ บริหารจัดการและการด าเนินธุรกิจ การมีส่วนร่วมของสมาชิกมีความเข้มแข็ง สมาชิกศรัทธาต่อสหกรณ์ คณะกรรมการสหกรณ์ก็ให้ความส าคัญในการบริหาร ฝ่ายจัดการมีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการ ธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบการเงินการบัญชีถูกต้องและเป็นปัจจุบัน สามารถตรวจสอบได้ตลอดเวลา และ มีการใช้บุคลากรสหกรณ์ได้อย่างคุ้มค่าเมื่อเทียบกับปริมาณธุรกิจและสหกรณ์อื่นๆ สหกรณ์ภาคการเกษตรอื่นที่อยู่ในความรับผิดชอบส่วนใหญ่พบว่า มีการพัฒนาเป็นไปอย่างล่าช้า และ บางสหกรณ์ฯพบปัญหาการควบคุมภายในที่หละหลวม เนื่องจากคณะกรรมการไม่ได้ตรวจสอบ ขาดความรู้ความ เข้าใจในการตรวจสอบ และไม่รู้เท่าทันฝ่ายจัดการ ท าให้สหกรณ์มีค่าใช้จ่ายสูง ขาดประสิทธิภาพในการด าเนิน ธุรกิจ ระบบการเงิน การบัญชีไม่เป็นปัจจุบัน การบริหารสินเชื่อไม่มีประสิทธิภาพ มีหนี้ค้างช าระ ปัญหาต่างๆ เหล่านี้เกิดจากคณะกรรมการที่ขาดความรู้ความเข้าใจแล้ว ฝ่ายจัดการก็ไม่มีความเชี่ยวชาญ หลายแห่งเปลี่ยน ผู้จัดการและเจ้าหน้าที่บ่อยครั้ง ท าให้การด าเนินงานต้องเริ่มเรียนรู้ใหม่ก็เป็นปัญหาในการพัฒนามากขึ้น สมาชิกของสหกรณ์ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประสบความล้มเหลว ปลูกสับปะรดเป็นหลัก มีปัญหาด้าน การผลิตเนื่องจากภัยธรรมชาติมีเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ท าให้สมาชิกมีรายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่าย ส่งผล กระทบต่อการช าระหนี้ซึ่งสหกรณ์ก็ยังไม่เข้าถึงปัญหาของสมาชิกเท่าที่ควร และขาดการวางแผนในการแก้ไข ปัญหาให้กับสมาชิกของสหกรณ์ ปัจจุบันปัญหาที่ส าคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือ สหกรณ์จะถูกตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเต็มจ านวน ถ้าผู้สอบ บัญชีเห็นว่าสัญญากู้เงินของสมาชิกเป็นการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ท าให้สหกรณ์ส่วนใหญ่ประสบกับปัญหา ขาดทุนเป็นจ านวนมาก สหกรณ์นอกภาคการเกษตร จะพบปัญหาค่อนข้างน้อย มีเพียงบางสหกรณ์ที่พบว่าเจ้าหน้าที่ประพฤติมิ ชอบบ้าง แต่เมื่อเปรียบเทียบกับจ านวนพนักงานกับธุรกิจและความเสียหายแล้วยังถือว่าเล็กน้อย ปัญหาที่เกิดขึ้น เนื่องจากขาดการควบคุมตรวจสอบและถ่วงดุลที่เหมาะสม ซึ่งคณะกรรมการสหกรณ์นอกภาคการเกษตรส่วน ใหญ่ให้ความส าคัญในการบริหารและการแก้ปัญหา ปัญหาที่พบคือกรรมการไม่เข้าใจระบบบัญชีการด าเนิน


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 37 ธุรกิจสหกรณ์จึงขึ้นอยู่กับความรู้ความสามารถ ความรับผิดชอบ และความเป็นมืออาชีพของฝ่ายจัดการเป็น ส าคัญ ปัจจุบันปัญหาที่ส าคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือ สหกรณ์จะถูกตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเต็มจ านวน ถ้าผู้สอบ บัญชีเห็นว่าสัญญากู้เงินของสมาชิก เป็นการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ท าให้สหกรณ์ส่วนใหญ่ประสบกับปัญหา ขาดทุนเป็นจ านวนมาก ทั้งสหกรณ์ภาคการเกษตรและสหกรณ์นอกภาคการเกษตร กลุ่มเกษตรกร มีเพียง 2 กลุ่มเกษตรกร การด าเนินธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรเป็นการให้สินเชื่อ และ จัดหาปัจจัยการผลิต เช่น จัดหาปุ๋ย มาจ าหน่ายตามรอบการผลิต การด าเนินงานขึ้นอยู่กับคณะกรรมการของ กลุ่มเกษตรกร ซึ่งทั้งสองกลุ่มด าเนินการตามปกติไม่ขยายธุรกิจ ไม่เพิ่มปริมาณธุรกิจ เนื่องจากคณะกรรมการ กลัวความเสี่ยงในการให้วงเงินที่สูงขึ้น และอาชีพเกษตรได้รับผลกระทบจากภัยแล้งมาอย่างต่อเนื่องอาจท าให้ สมาชิกไม่สามารถช าระหนี้ได้จึงได้ด าเนินธุรกิจในกรอบที่จ ากัดเพื่อลดความเสี่ยงของกลุ่มเกษตรกรดังกล่าว ❖ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1.การให้ความรู้ด้านการบริหารงาน และการให้ข้อมูลในการบริหารแก่กรรมการ 2.การให้ความรู้ด้านการด าเนินงานตามระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายสหกรณ์ 3.การส่งเสริมอาชีพ และแนะแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงแก่สมาชิก 4. ปัญหาเรื่องที่สหกรณ์ถูกตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเต็มจ านวน สหกรณ์จะถูกตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ เต็มจ านวน ถ้าผู้สอบบัญชีเห็นว่าสัญญากู้เงินของสมาชิก เป็นการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ท าให้สหกรณ์ ส่วนใหญ่ประสบกับปัญหาขาดทุนเป็นจ านวนมาก ทั้งสหกรณ์ภาคการเกษตรและสหกรณ์นอกภาค การเกษตร หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นกรมตรวจบัญชีสหกรณ์กรมส่งเสริมสหกรณ์และ หน่วยงานอื่นๆ ควรเร่งช่วยกันในการ หาวิธีแก้ไขปัญหา เนื่องจากปัจจุบันนี้สหกรณ์ทั่วประเทศได้รับ ผลกระทบจากการถูกตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเป็นจ านวนมาก และท าให้สหกรณ์ประสบปัญหาการ ขาดทุนเป็นจ านวนมาก อีกทั้งยังส่งผลต่อความน่าเชื่อถือของสมาชิกที่มีต่อสหกรณ์อีกด้วย ❖ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์การเกษตรหัวหิน จ ากัด สหกรณ์ในอ าเภอที่ผ่านการคัดเลือกเป็นสหกรณ์ระดับอ าเภอ ตามโครงการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรเป็นองค์กร หลักระดับอ าเภอ โดยข้อมูลที่น าเสนอ ประกอบด้วย 1. สหกรณ์การเกษตรหัวหิน จ ากัด ประเภทสหกรณ์การเกษตร ปีบัญชีของสหกรณ์30 มิถุนายน ของทุกปี 2. ข้อมูลสหกรณ์ณ 30 มิถุนายน 2566 จ านวนสมาชิก 534 ราย สินทรัพย์294,079,422.03 บาท หนี้สิน 60,084,268.68 บาท ทุนของสหกรณ์233,995,153.35 บาท ก าไรสุทธิประจ าปี11,990,179.51 บาท


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 38 3. ผลผลิตหลัก/ธุรกิจหลักของสหกรณ์ ธุรกิจหลัก คือ ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจรับฝากเงิน ธุรกิจรอง คือ ธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย (ขายปุ๋ย,ขายเคมีการเกษตร,ขายวัสดุอุปกรณ์การเกษตร,ขายข้าวสาร) และ ธุรกิจ รวบรวมผลิตผล (ขายอ้อย) 4. ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ ธุรกิจสินเชื่อ , ธุรกิจรับฝากเงิน , ธุรกิจรวบรวมผลผลิตผลผลิต และธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์คือ ธุรกิจสินเชื่อ 5. ระดับมาตรฐานสหกรณ์สหกรณ์ผ่านมาตรฐาน 6. ระดับชั้นสหกรณ์(ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖6) ผลการจัดชั้นสหกรณ์ชั้น 1 7. ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ได้รับรางวัลเป็นสหกรณ์ดีเด่น ผลการด าเนินงานแนะน าส่งเสริม พัฒนา และก ากับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ด้านการส่งเสริมและพัฒนาองค์กร งานที่ด าเนินการ : 1. มาตรฐานสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์3 ได้ด าเนินการเข้าแนะน าส่งเสริมเพื่อให้สหกรณ์สามารถรักษามาตรฐาน หรือยกระดับมาตรฐานในระดับที่ดีขึ้นโดยมีกระบวนการด าเนินงานดังนี้ การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ สหกรณ์โดยการน าเกณฑ์ประเมินมาตรฐานสหกรณ์จ านวน 7 ข้อ และกระบวนการภายในทั้ง 137 ข้อ เสนอที่ ประชุมคณะกรรมการเพื่อรับทราบและร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์ในรอบปีที่ผ่านมาแล้ว สรุปผลการประเมินข้อที่สหกรณ์ไม่สามารถด าเนินการได้และวางแผนด าเนินการแล้วมีการมอบหมายให้ ผู้รับผิดชอบด าเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อให้สหกรณ์สามารถยกระดับมาตรฐาน และให้คณะกรรมการมีการ ก ากับติดตามเกณฑ์มาตรฐานอย่างต่อเนื่องส าหรับในประเด็นที่สหกรณ์ยังไม่สามารถด าเนินการได้ให้ ผู้รับผิดชอบน าเสนอที่ประชุมคณะกรรมการร่วมกันแก้ไขเพื่อให้สามารถรักษามาตรฐานหรือมีกระบวนการ ภายในที่ดีขึ้น ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : สหกรณ์ผ่านมาตรฐาน 2. การยกระดับชั้นสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์3 ได้เข้าแนะน าส่งเสริมเพื่อให้สหกรณ์รักษาชั้นหรือยกระดับชั้นเป็นของ สหกรณ์โดยมีกระบวนการคือ การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการชี้แจงเกณฑ์การประเมินระดับชั้นสหกรณ์ 4 ด้าน คือ 1. ด้านประสิทธิภาพในการบริการ 2. ประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจ(อัตราส่วนทางการเงิน) 3. ประสิทธิภาพการจัดการองค์กร (การควบคุมภายใน) 4. ประสิทธิภาพในการบริหารข้อบกพร่อง และให้ คณะกรรมการวิเคราะห์เกณฑ์การประเมินแต่ละด้านเพื่อน าเกณฑ์การประเมินดังกล่าวด าเนินการ รวมทั้งให้มี การก ากับติดตามผลและน าเสนอที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการอย่างต่อเนื่อง ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : ผลการจัดชั้นสหกรณ์ชั้น 1


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 39 3. การเข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิก กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์3 น าเสนอแผนการเข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์โดยมีกระบวนการ น าแผนการแนะน าส่งเสริมเรื่องการประชุมกลุ่มสมาชิกเสนอที่ประชุมคณะกรรมการ ก าหนดแผนการประชุม ระเบียบวาระการประชุมแบ่งสายการออกประชุม ก าหนดห้วงเวลาแล้วเสร็จ ซักซ้อมเตรียมความพร้อมก่อนออก ประชุมกลุ่มสมาชิก ออกประชุมกลุ่มร่วมกับสหกรณ์เพื่อให้ความรู้อุดมการณ์หลักการ วิธีการสหกรณ์และการ ด าเนินงานตามแผนงานประจ าปีโดยการสร้างความเข้าใจในการรับสมัครสมาชิกใหม่ บทบาทหน้าที่สมาชิก สหกรณ์ที่มีต่อสหกรณ์ธุรกิจ/โครงการต่างๆ ที่สหกรณ์ด าเนินการอยู่ตลอดจนการระดมทุน ประโยชน์ของการ ระดมทุนภายใน โดยเน้นให้สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมในการวางแผนการระดมทุนภายใน ประชาสัมพันธ์เชิญชวน ให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการระดมทุนภายใน อาทิเช่น ทุนเรือนหุ้น เงินรับฝากออมทรัพย์และการน าหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ในการด าเนินงานของสหกรณ์และขยายผลไปสู่สมาชิก ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : สมาชิกสหกรณ์เข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิก ทั้งหมด 15 กลุ่ม โดยพร้อม เพรียงกัน และร่วมกันเสนอความคิด และปัญหาหรืออุปสรรคต่างๆเพื่อพัฒนาสหกรณ์ให้ดีขึ้นเพื่อเป็นที่พึ่งของ มวลสมาชิก 4. หลักธรรมาภิบาลในสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์3ได้เข้าประชุมชี้แจงท าความเข้าใจให้คณะกรรมการด าเนินงานของ สหกรณ์ท าความเข้าใจหลักธรรมาภิบาลทั้ง 9 หลัก ประกอบด้วย 1. หลักประสิทธิผล 2. หลักประสิทธิภาพ 3. หลักการตอบสนอง 4. หลักความรับผิดชอบ 5. หลักความโปรงใส 6. หลักการมีส่วนร่วม 7. หลักการมอบ อ านาจ 8. หลักนิติธรรม 9. หลักความเสมอภาค เพื่อให้สหกรณ์สามารถปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาลในการ บริหารจัดการสหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : สหกรณ์ท างานโดยยึดหลักธรรมาภิบาลในสหกรณ์ทั้งหมด 9 ข้อในการ บริหารจัดการสหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ❖ ด้านการพัฒนาการด าเนินธุรกิจ งานที่ด าเนินการ : 1. การรักษาและยกระดับชั้นการให้บริการสมาชิก การเข้าแนะน าส่งเสริมก าหนดแผนในการให้บริการสมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 กระบวนการใน การแนะน าส่งเสริม ได้แก่ การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการก าหนดแผนในการด าเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับ ความต้องการของสมาชิกเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม โดยการท าธุรกิจแต่ละด้านต้องมีการส ารวจความต้องการเพื่อที่ สหกรณ์จะได้วางแผนการให้บริการให้ครอบคลุม และมีการก ากับติดตามผลการด าเนินและน าเสนอที่ประชุม คณะกรรมการด าเนินการอย่างต่อเนื่อง


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 40 ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : สหกรณ์สามารถรักษาประสิทธิภาพการให้บริการสมาชิก (Active Member) สหกรณ์ให้บริการสมาชิกร้อยละ 98.88 (การให้บริการสมาชิก (Active Member) เท่ากับ 4 คือ มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 70) 2. การเพิ่มประสิทธิภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์3 ได้เข้าแนะน าส่งเสริมให้สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจสหกรณ์เพิ่มขึ้น โดยร่วม ประชุมคณะกรรมการ/ฝ่ายจัดการสหกรณ์ท าความเข้าใจและชี้แจงการด าเนินงานเพื่อส่งเสริมปริมาณธุรกิจ ก าหนดแผนในการเพิ่มปริมาณธุรกิจร่วมกับคณะกรรมการด าเนินการ/ฝ่ายจัดการสหกรณ์และให้สหกรณ์ วางแผนด าเนินงานเพื่อส่งเสริมสมาชิกร่วมด าเนินธุรกิจโดยมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นให้สหกรณ์มีการติดตามการ ด าเนินในที่ประชุมคณะกรรมการและติดตามรายงานผลการด าเนินงานอย่างต่อเนื่อง ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : การด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ลดลงจากเดิม 1,474,527.92 บาท (ปี2566) จ านวน 20,795,210.52 บาท ปี2565 จ านวน 22,269,738.44 บาท) 3. อุปกรณ์การตลาด กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์3 ได้เข้าแนะน าส่งเสริม ประชุมชี้แจง ท าความเข้าใจกับคณะกรรมการ ด าเนินการสหกรณ์และเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ในการประชุมคณะกรรมการด าเนินงาน ให้วางแผนการปฏิบัติงาน ในการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาดอย่างมีประสิทธิภาพ ตามที่สหกรณ์มีอยู่ตามรายการ ดังนี้ - สหกรณ์ไม่มีอุปกรณ์การตลาด ❖ ด้านการแก้ปัญหาหนี้ของสหกรณ์ งานที่ด าเนินการ : 1.การแก้ไขปัญหาหนี้ค้างและการบริหารสินเชื่อของสหกรณ์ ได้แก่ การเข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์ การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการเพื่อท าความเข้าใจและวิเคราะห์โครงสร้างทางการเงินของสหกรณ์ให้ คณะกรรมการได้รับทราบ รวมทั้งให้คณะกรรมการส ารวจความต้องการของสมาชิกที่มีความประสงค์ขอกู้เงิน เพื่อวางแผนการให้สินเชื่อ ในส่วนของคณะกรรมการอนุมัติเงินกู้ให้มีการจัดประชุมก่อนการอนุมัติเงินกู้การ ด าเนินการตามระเบียบว่าด้วยการให้เงินกู้และดอกเบี้ยเงินกู้เช่น มีการพิจารณาเงินกู้ให้สมาชิกตามความจ าเป็น และต้องมีการจัดหลักประกันเงินกู้ให้เป็นไปตามระเบียบ ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : เข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์การเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการเพื่อท า ความเข้าใจและวิเคราะห์โครงสร้างทางการเงินของสหกรณ์ให้คณะกรรมการทราบ และหาแนวทางในการแก้ไข ปัญหาหนี้ของสหกรณ์


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 41 ผลการด าเนินงานตามแผนการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปีบัญชีเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2566 กิจกรรม หน่วย นับ แผน ผล ร้อยละผลส าเร็จ เมื่อเทียบกับแผน 1. แผนการรับสมาชิก คน 30 30 100.00 2. แผนการระดมทุน - ถือหุ้นเพิ่ม -รับเงินฝากออมทรัพย์ - รับฝากเงินออมทรัพย์พิเศษ บาท บาท บาท 10,000,000.00 10,000,000.00 40,000,000.00 19,438,650.00 24,133,706.88 38,382,616.08 194.39 241.34 95.96 3. แผนการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร - ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย - ธุรกิจสินเชื่อ - ธุรกิจรวบรวม - ธุรกิจแปรรูป - ธุรกิจบริการ บาท บาท บาท บาท บาท 7,000,000.00 60,000,000.00 7,000,000.00 1,100,000.00 - 4,464,645.00 47,958,000.00 5,045,460.00 636,996.00 - 63.78 79.93 72.08 57.91 - 4. แผนประมาณการรายได้- ค่าใช้จ่าย - รายได้ - ค่าใช้จ่าย - ก าไร (ขาดทุน) สุทธิ บาท บาท บาท 26,300,000.00 16,300,000.00 10,000,000.00 23,573,002.94 11,582,823.43 11,990,179.51 89.64 71.06 119.91 สรุปผลงานตามแผนประจ าปีของสหกรณ์: เป็นไปตามเป้าหมายที่ก าหนดไว้สหกรณ์มีการด าเนินงาน ตามแผนการด าเนินงานประจ าปีได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่ มีการด าเนินธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจเงินรับฝาก ธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย และ ธุรกิจรวบรวมผลิตผล พร้อมทั้งเปิดรับสมาชิกใหม่ที่มีความประสงค์จะเข้าร่วมเป็น สมาชิกสหกรณ์ด้วย สรุปแนวทางแก้ไขที่จะส่งเสริมให้ด าเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 : ดังนี้ 1. แนะน า ส่งเสริม ให้สมาชิกถือหุ้นเพิ่ม เพื่อเป็นการออมในอนาคต และเป็นการเพิ่มทุนในการด าเนิน ธุรกิจของสหกรณ์ 2. แนะน า ส่งเสริมการฝากเงินเพิ่มขึ้น เพื่อเป็นการออมในอนาคต และเป็นการเพิ่มทุนในการด าเนิน ธุรกิจของสหกรณ์ 3. แนะน า และส่งเสริมอาชีพให้แก่สมาชิกให้มีรายได้เพิ่มมากขึ้น


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 42 ปัจจัยแห่งความส าเร็จ (เพื่อเป็นกรณีศึกษาตัวอย่างที่ดีหรือแนวทางในการส่งเสริม) 1.. ให้ความเข้ารู้ความเข้าใจแก่คณะกรรมการด าเนินการ ฝ่ายจัดการ เจ้าหน้าที่ และสมาชิก เพื่อ พัฒนาสหกรณ์โดยใช้หลักการสหกรณ์วิธีการสหกรณ์และอุดมการณ์สหกรณ์โดยใช้สมาชิกเป็นศูนย์การในการ พัฒนาสหกรณ์ตลอดจนปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมาย โดยค านึงถึงผลประโยชน์ของมวลสมาชิก และสหกรณ์เป็นส าคัญ 2. สหกรณ์ประสบความส าเร็จด้านการจัดการสต๊อกสินค้า โดยไม่ต้องน าสินค้ามาเก็บไว้ที่สหกรณ์ เวลาที่สมาชิกสั่งซื้อสินค้า จะใช้วิธีการส่งของให้สมาชิกเลย ถือว่าเป็นการลดต้นทุนการบริหารจัดการ สหกรณ์กำรเกษตรหัวหิน จ ำกัด ประชุมใหญ่สำมัญประจ ำปี2566 วันที่ 20 ตุลำคม 2566


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 43 ประกอบด้วย สหกรณ์8 แห่ง สมาชิก 5,838 คน สมาชิกสหกรณ์15 สหกรณ์กลุ่มเกษตรกร 5 แห่ง สมาชิก 366 คน ❖ ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมและแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โดยเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการด าเนินการเข้าร่วมประชุมใหญ่ สามัญ/วิสามัญประจ าปี เข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิก เข้าตรวจเยี่ยม แนะน า ส่งเสริม เข้าตรวจการสหกรณ์ เพื่อให้สหกรณ์ด าเนินการไปด้วยความเรียบร้อย ภายใต้ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายของสหกรณ์ตลอดจน ให้ความรู้ต่างๆ เกี่ยวกับสหกรณ์ท าการวิเคราะห์สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ด้านต่างๆเพื่อแนะน า ส่งเสริม หา แนวทางแก้ไขปัญหา ให้กับสหกรณ์เพื่อท าให้สหกรณ์เจริญก้าวหน้าเป็นที่พึ่งของสมาชิกโดยท าการวิเคราะห์เรื่อง ต่างๆ ได้ข้อสรุปดังนี้ 1. ด้านบุคลากร (Man) / สมาชิก / คณะกรรมการด าเนินการ / ฝ่ายจัดการและเจ้าหน้าที่สหกรณ์ - สมาชิกส่วนใหญ่ให้ความส าคัญกับสหกรณ์ มีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจของสมาชิกร้อยละ 60 ขึ้นไป ธุรกิจส่วนใหญ่จะเป็นธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจการรับฝากเงิน ธุรกิจรวบรวมผลผลิต ธุรกิจแปรรูปผลผลิต ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย ธุรกิจบริการ หรือธุรกิจอื่นๆ ตามลักษณะประเภทของสหกรณ์ - คณะกรรมการด าเนินการ ส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจในหลักการบริหารงาน มีความ พร้อม และเสียสละเพื่อน าพาสหกรณ์ให้เป็นองค์กรหลัก พัฒนาสมาชิกให้มีความมั่นคงด้านอาชีพและคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น - ฝ่ายจัดการและเจ้าหน้าที่สหกรณ์ส่วนใหญ่มีความรู้ความสามารถในการจัดการ มีความรู้ ความเข้าใจในการใช้งบการเงิน งบทดลอง ในการตรวจสอบติดตาม และควบคุมการบริหารธุรกิจท าให้สามารถ วางแผนและแก้ปัญหาต่างๆได้มีประสิทธิภาพ และมีการส่งฝ่ายจัดการและเจ้าหน้าสหกรณ์เข้าอบรมเพื่อเพิ่มพูน ความรู้อยู่เสมอ 2. ด้านการบริหารเงินทุน (Money) ด้านการบริหารเงินทุนของสหกรณ์ สหกรณ์ส่วนใหญ่มีเงินทุนเพียงพอต่อการบริหารงาน มี ส่วนน้อยที่กู้ยืมเงินจากกรมส่งเสริมสหกรณ์หรือแหล่งเงินทุนภายนอก เช่น ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส.)ฝ่ายจัดการของสหกรณ์มีการวางแผนการบริหารเงินทุนอย่างเป็นระบบมีสภาพคล่องของ สหกรณ์อยู่ในเกณฑ์ปกติ 3. ด้านวัตถุดิบ (Material) เครื่องจักรและอุปกรณ์(Machine) ผลผลิตของสมาชิก/สินค้าของ สหกรณ์ ส่วนใหญ่จะเป็นในรูปของธุรกิจด้านสินเชื่อ ท าให้ไม่มีวัตถุดิบ เครื่องจักรและอุปกรณ์ยกเว้น สหกรณ์ประเภทโคนมมีน้ านมดิบ พร้อมเครื่องจักรอุปกรณ์ในการรับน้ านมดิบจากสมาชิกของสหกรณ์ 4. ด้านการบริหารการจัดการ(Management) และการด าเนินธุรกิจ(Method) อ ำเภอปรำณบุรี


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 44 สหกรณ์ส่วนใหญ่บริหารจัดการโดยค านึงถึงแผนการด าเนินธุรกิจ มีการประมาณการรายได้-รายจ่าย ประจ าปีที่ขออนุมัติต่อที่ประชุมใหญ่ มีการแบ่งงานมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบในแต่ละธุรกิจ ให้ ความส าคัญกับงบการเงิน งบทดลอง เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบและประเมินผลการด าเนินธุรกิจ เปรียบเทียบกับแผนงาน ผลด าเนินงานส่วนใหญ่เป็นไปตามแผนการด าเนินงาน ผลการแนะน าส่งเสริมในรอบปี2566 ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์สหกรณ์จ านวน 8 แห่ง ผ่านมาตรฐาน จ านวน 4 แห่ง ไม่ผ่านมาตรฐาน จ านวน 4 แห่ง 1. สหกรณ์การเกษตรปราณบุรี จ ากัด ไม่ผ่านมาตรฐาน 2. ร้านสหกรณ์ค่ายธนะรัชต์ จ ากัด ผ่านมาตรฐาน 3. สหกรณ์ออมทรัพย์ศูนย์การทหารราบ จ ากัด ผ่านมาตรฐาน 4. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านปรือน้อย จ ากัด ผ่านมาตรฐาน 5. สหกรณ์ออมทรัพย์ศูนย์การก าลังส ารอง จ ากัด ผ่านมาตรฐาน 6. สหกรณ์สวนยางปราณบุรีจ ากัด ไม่ผ่านมาตรฐาน 7. สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คประจวบคีรีขันธ์จ ากัด ไม่ผ่านมาตรฐาน 8. ชุมนุมสหกรณ์โคนมภาคใต้และตะวันตก จ ากัด ไม่ผ่านมาตรฐาน ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์กลุ่มเกษตรกรจ านวน 5 แห่ง ผ่าน 4 แห่ง ไม่ผ่าน 1 แห่ง 1. กลุ่มเกษตรกรท าไร่เขาน้อย ผ่านมาตรฐาน 2. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์หนองตาแต้ม ผ่านมาตรฐาน 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ปราณบุรีผ่านมาตรฐาน 4. กลุ่มเกษตรกรท าไร่สับปะรดปากน้ าปราณ ผ่านมาตรฐาน 5. กลุ่มเกษตรกรท าประมงปากน้ าปราณ ไม่ผ่านมาตรฐาน ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์สหกรณ์จ านวน 8 แห่ง สหกรณ์ชั้น 1 จ านวน 2 แห่ง สหกรณ์ชั้น 2 จ านวน 3 แห่ง สหกรณ์ชั้น 3 จ านวน 3 แห่ง 1. สหกรณ์การเกษตรปราณบุรี จ ากัด สหกรณ์ชั้น 3 2. ร้านสหกรณ์ค่ายธนะรัชต์ จ ากัด สหกรณ์ชั้น 2 3. สหกรณ์ออมทรัพย์ศูนย์การทหารราบ จ ากัด สหกรณ์ชั้น 2 4. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านปรือน้อย จ ากัด สหกรณ์ชั้น 1 5. สหกรณ์ออมทรัพย์ศูนย์การก าลังส ารอง จ ากัด สหกรณ์ชั้น 1 6. สหกรณ์สวนยางปราณบุรีจ ากัด สหกรณ์ชั้น 3 7. สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คประจวบคีรีขันธ์จ ากัด สหกรณ์ชั้น 2 8. ชุมนุมสหกรณ์โคนมภาคใต้และตะวันตก จ ากัด สหกรณ์ชั้น 3


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 45 ❖ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ภาคการเกษตร ที่อยู่ในความรับผิดชอบส่วนใหญ่พบว่า มีการพัฒนาเป็นไปอย่างล่าช้า และพบ ปัญหาการควบคุมภายในที่ไม่เหมาะสมหลายสหกรณ์คณะกรรมการไม่ได้เข้าตรวจสอบ ขาดความรู้ความเข้าใจ ในการตรวจสอบ และไม่รู้เท่าทันฝ่ายจัดการ ท าให้สหกรณ์มีค่าใช้จ่ายสูง ขาดประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจ ระบบการเงิน การบัญชีไม่เป็นปัจจุบัน การบริหารสินเชื่อไม่มีประสิทธิภาพ มีหนี้ค้างช าระ ปัญหาต่างๆเหล่านี้ เกิดจากคณะกรรมการที่ขาดความรู้ความเข้าใจแล้ว ฝ่ายจัดการก็ไม่มีความเชี่ยวชาญ หลายแห่งเปลี่ยนผู้จัดการ และเจ้าหน้าที่บ่อยครั้ง ท าให้การด าเนินงานต้องเริ่มเรียนรู้ใหม่ก็เป็นปัญหาในการพัฒนามากขึ้น สมาชิกของสหกรณ์ ประสบปัญหาเรื่องคุณภาพน้ านมดิบของสมาชิก ไม่ได้มาตรฐานตามประกาศ คณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นมเรื่องมาตรฐานการรับซื้อน้ านมโค พ.ศ. ๒๕๕๘ ส่งผลต่อรายได้ของสมาชิก และสหกรณ์มีผลต่อการแปรรูปซึ่งจ าเป็นจะต้องใช้น้ านมดิบที่มีคุณภาพ มีผลต่อความมั่นคงในการประกอบ อาชีพโคนมของสมาชิกในอนาคต อาจท าให้เลิกกิจการได้ส่งผลกระทบต่อการช าระหนี้ให้แก่สหกรณ์ ปัจจุบันปัญหาที่ส าคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือ สหกรณ์จะถูกตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเต็มจ านวน ถ้าผู้สอบ บัญชีเห็นว่าสัญญากู้เงินของสมาชิกเป็นการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ท าให้สหกรณ์ส่วนใหญ่ประสบกับปัญหา ขาดทุนเป็นจ านวนมาก สหกรณ์นอกภาคการเกษตร ประสบปัญหาน้อย มีเพียงบางสหกรณ์ที่พบว่าเจ้าหน้าที่ประพฤติมิชอบ บ้าง แต่เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณพนักงานกับธุรกิจและความเสียหายแล้วยังถือว่าเล็กน้อย ปัญหาที่เกิดขึ้น เนื่องจากขาดการควบคุมตรวจสอบ ซึ่งคณะกรรมการสหกรณ์นอกภาคการเกษตรส่วนใหญ่ให้ความส าคัญในการ บริหารและการแก้ปัญหา ปัญหาที่พบคือกรรมการไม่เข้าใจระบบบัญชีการด าเนินธุรกิจสหกรณ์จึงขึ้นอยู่กับ ความรู้ความสามารถ ความรับผิดชอบ และความเป็นมืออาชีพของฝ่ายจัดการเป็นส าคัญ ปัจจุบันปัญหาที่ส าคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือ สหกรณ์จะถูกตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเต็มจ านวน ถ้าผู้สอบ บัญชีเห็นว่าสัญญากู้เงินของสมาชิก เป็นการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ท าให้สหกรณ์ส่วนใหญ่ประสบกับปัญหา ขาดทุนเป็นจ านวนมาก ทั้งสหกรณ์ภาคการเกษตรและสหกรณ์นอกภาคการเกษตร กลุ่มเกษตรกร มีความเสี่ยงด้านการควบคุมภายใน ไม่สามารถจัดท าบัญชีเองได้กลุ่มเกษตรไม่มี เจ้าหน้าที่ขาดผู้น าที่เป็นผู้บริหาร ผู้ที่มีความเสียสละ สมาชิกกลุ่มเกษตรกร เป็นเกษตรกรรายย่อยมีรายได้น้อย มีความเสี่ยงสูง เป็นข้อจ ากัดในการขยายธุรกิจ ❖ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. การให้ความรู้ด้านการบริหารงาน และการให้ข้อมูลในการบริหารแก่กรรมการ 2. การให้ความรู้ด้านการด าเนินงานตามระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายสหกรณ์ 3. การส่งเสริมอาชีพ และแนะแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงแก่สมาชิก 4. ปัญหาเรื่องที่สหกรณ์ถูกตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเต็มจ านวน สหกรณ์จะถูกตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ เต็มจ านวน ถ้าผู้สอบบัญชีเห็นว่าสัญญากู้เงินของสมาชิก เป็นการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ท าให้สหกรณ์ ส่วนใหญ่ประสบกับปัญหาขาดทุนเป็นจ านวนมาก ทั้งสหกรณ์ภาคการเกษตรและสหกรณ์นอกภาค การเกษตร หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นกรมตรวจบัญชีสหกรณ์กรมส่งเสริมสหกรณ์และ


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 46 หน่วยงานอื่นๆ ควรเร่งช่วยกันในการหาวิธีแก้ไขปัญหา เนื่องจากปัจจุบันนี้สหกรณ์ทั่วประเทศได้รับ ผลกระทบจากการถูกตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเป็นจ านวนมาก และท าให้สหกรณ์ประสบปัญหาการ ขาดทุนเป็นจ านวนมาก อีกทั้งยังส่งผลต่อความน่าเชื่อถือของสมาชิกที่มีต่อสหกรณ์อีกด้วย ❖ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์โคนมไทย – เดนมาร์คประจวบคีรีขันธ์จ ากัด น าเสนอสหกรณ์ในอ าเภอที่ผ่านการคัดเลือกเป็นสหกรณ์ระดับอ าเภอ ตามโครงการพัฒนาสหกรณ์ การเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ โดยข้อมูลที่น าเสนอ ประกอบด้วย 1. สหกรณ์โคนมไทยเดนมาร์ค-ประจวบคีรีขันธ์ จ ากัด ประเภทสหกรณ์การเกษตร ปีบัญชีของสหกรณ์ 31 ธันวาคม ของทุกปี 2. ข้อมูลสหกรณ์ณ 31 ธันวาคม 2565 จ านวนสมาชิก 83 ราย สินทรัพย์79,964,271.91 บาท หนี้สิน 64,198,856.79 บาท ทุนของสหกรณ์15,765,415.12 บาท ก าไรสุทธิประจ าปี 30,658.59 บาท 3. ผลผลิตหลัก/ธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจรวบรวมผลผลิต (น้ านมดิบ) 4. ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ ธุรกิจสินเชื่อ , ธุรกิจรับฝากเงิน ,ธุรกิจรวบรวมผลผลิต และธุรกิจจัดหา สินค้ามาจ าหน่าย โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์คือ ธุรกิจรวบรวมผลผลิต 5. ระดับมาตรฐานสหกรณ์สหกรณ์ไม่ผ่านมาตรฐาน 6. ระดับชั้นสหกรณ์(ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖6) ผลการจัดชั้นสหกรณ์ชั้น 2 7. ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ ได้รับรางวัลซอนเดอร์กอร์ด รางวัลด้านคุณภาพชีวิตของ สมาชิก ผลการด าเนินงานแนะน าส่งเสริม พัฒนา และก ากับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ❖ ด้านการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร งานที่ด าเนินการ : 1) มาตรฐานสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์3 ได้เข้าแนะน าส่งเสริมเพื่อให้สหกรณ์สามารถรักษามาตรฐานสหกรณ์ โดยมี กระบวนการด าเนินงาน ดังนี้เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการสหกรณ์โดยการน าเกณฑ์ประเมินมาตรฐานสหกรณ์ จ านวน 7 ข้อใหญ่ และกระบวนการภายใน 137 ข้อย่อย เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการ เพื่อ รับทราบและร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์ในรอบปีที่ผ่านมา แล้วสรุปผลการประเมินข้อที่ สหกรณ์ไม่สามารถด าเนินการได้และวางแผนด าเนินการ แล้วมีการมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบด าเนินการในส่วนที่ เกี่ยวข้องเพื่อให้สหกรณ์สามารถรักษามาตรฐาน และให้คณะกรรมการฯ ก ากับติดตามเกณฑ์มาตรฐานอย่าง


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 47 ต่อเนื่อง ส าหรับในประเด็นที่สหกรณ์ยังไม่สามารถด าเนินการได้ให้ผู้รับผิดชอบน าเสนอที่ประชุมคณะกรรมการฯ เพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ไขเพื่อให้สหกรณ์สามารถรักษามาตรฐานหรือมีกระบวนการภายในที่ดีอย่างต่อเนื่อง ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : 1. สหกรณ์ฯ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 2. สหกรณ์ฯ มีการน าแผนงานประจ าปีมาจัดท าเป็นแผนปฏิบัติการรายเดือน และติดตามผลการ ด าเนินงานเปรียบเทียบกับแผนปฏิบัติการรายเดือน และร่วมกันก าหนดแนวทางการแก้ไขในกรณีที่ผลการ ปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามแผนงานที่ก าหนด สาเหตุ/ปัญหา/อุปสรรคที่ท าให้ผลการด าเนินงานไม่เป็นไปตามแผนที่ก าหนด : เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ท าให้การ ด าเนินการเพื่อรักษามาตรฐานสหกรณ์บางกรณีไม่สามารถด าเนินการได้เช่น การจัดอบรมให้ความรู้แก่บุคลากร ของสหกรณ์การจัดประชุมกลุ่มสมาชิก การจัดประชุมใหญ่ฯลฯ 2) การยกระดับชั้นสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์3 ได้เข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์เพื่อให้สามารถรักษาหรือยกระดับชั้นสหกรณ์โดย มีกระบวนการคือ เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการด าเนินการเพื่อชี้แจงเกณฑ์การประเมินระดับชั้นสหกรณ์4 ด้าน ได้แก่ 1) ความสามารถในการให้บริการสมาชิก (การมีส่วนร่วม) 2) ประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจ (อัตราส่วน ทางการเงิน) 3) ประสิทธิภาพในการจัดการองค์กร (ชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน) และ 4) ประสิทธิภาพของ การบริหารงาน (การแก้ไขข้อบกพร่อง) และให้คณะกรรมการฯ ร่วมกันวิเคราะห์เกณฑ์การประเมินแต่ละด้าน เพื่อน าเกณฑ์การประเมินดังกล่าวมาด าเนินการ รวมทั้งให้มีการก ากับ ติดตามผลและน าเสนอในที่ประชุม คณะกรรมการฯ อย่างต่อเนื่อง . ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : สหกรณ์ได้รับการประเมินระดับชั้นสหกรณ์“ระดับชั้น 2” โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ความสามารถในการให้บริการสมาชิก (การมีส่วนร่วม) “ร้อยละ 70” 2. ประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจ (อัตราส่วนทางการเงิน) “ระดับมั่นคงตามมาตรฐาน” 3. ประสิทธิภาพในการจัดการองค์กร (ชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน) “ระดับดี” 4. ประสิทธิภาพของการบริหารงาน (การแก้ไขข้อบกพร่อง) “ไม่มีข้อบกพร่อง” สาเหตุ/ปัญหา/อุปสรรคที่ท าให้ผลการด าเนินงานไม่เป็นไปตามแผนที่ก าหนด : เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ท าให้การ ด าเนินการยกระดับชั้นของสหกรณ์ในบางเรื่อง (เช่น ประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจ) ไม่สามารถด าเนินการได้ เช่น การจ าหน่ายนมโรงเรียนของสหกรณ์ไม่สามารถจ าหน่ายได้ตามแผนที่ก าหนด เนื่องจากสถานการณ์ COVID – 19 ท าให้โรงเรียนต้องปิดการเรียนการสอน เมื่อนมโรงเรียนจ าหน่ายไม่ได้ส่งผลกระทบกับปริมาณ


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 48 น้ านมดิบที่สหกรณ์รวบรวมจากสมาชิกเป็นประจ าวัน ซึ่งไม่สามารถส่งเข้าสู่กระบวนการแปรรูปได้เมื่อน้ านมดิบ ล้นที่จัดเก็บและไม่สามารถระบายออกไปได้ภายในระยะเวลาอันเหมาะสม ท าให้สหกรณ์ต้องรับภาระเรื่องน้ านม ดิบเสื่อมสภาพเสียหายไปด้วย . 3) การเข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิก กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์3 น าเสนอแผนการเข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ โดยมีกระบวนการน า แผนการแนะน าส่งเสริมเรื่องการประชุมกลุ่มสมาชิกเสนอที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการ ก าหนดแผนการ ประชุม ระเบียบวาระการประชุม ซักซ้อมเตรียมความพร้อมก่อนประชุมกลุ่มสมาชิก ออกประชุมกลุ่มร่วมกับ สหกรณ์เพื่อให้ความรู้เรื่องอุดมการณ์หลักการ วิธีการสหกรณ์และการด าเนินงานตามแผนงานประจ าปีโดย การสร้างความเข้าใจในการรับสมัครสมาชิกใหม่ บทบาทหน้าที่สมาชิกสหกรณ์ที่มีต่อสหกรณ์ธุรกิจ/โครงการ ต่างๆ ที่สหกรณ์ด าเนินการอยู่ตลอดจนการระดมทุน ประโยชน์ของการระดมทุนภายใน โดยเน้นให้สมาชิกทุกคน มีส่วนร่วมในการวางแผนการระดมทุนภายใน ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการระดมทุนภายใน อาทิเช่น ทุนเรือนหุ้น เงินรับฝากออมทรัพย์และการน าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ในการ ด าเนินงานของสหกรณ์และขยายผลไปสู่สมาชิก ตลอดจนการรับฟังปัญหา/อุปสรรค ความต้องการของสมาชิก และร่วมกันก าหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว . ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : สหกรณ์มีการจัดประชุมกลุ่มสมาชิกปีละ 2 ครั้ง เพื่อให้ความรู้เรื่องสหกรณ์การด าเนินงานตาม แผนปฏิบัติงานประจ าปีและประชาสัมพันธ์ข่าวสารต่างๆ ตลอดจนรับฟัง ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะและ ความต้องการของสมาชิก เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาได้ทันท่วงที . สาเหตุ/ปัญหา/อุปสรรคที่ท าให้ผลการด าเนินงานไม่เป็นไปตามแผนที่ก าหนด : เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ท าให้ไม่สามารถ จัดประชุมกลุ่มสมาชิกได้ตามแผนที่ก าหนด ด้านการพัฒนาการด าเนินธุรกิจ งานที่ด าเนินการ : 1) การรักษา/ยกระดับการให้บริการสมาชิก กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์3 ได้เข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์ในการก าหนดแผนการให้บริการสมาชิกไม่น้อย กว่าร้อยละ 70 โดยเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการด าเนินการเพื่อก าหนดแผนในการด าเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับ ความต้องการของสมาชิกเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม โดยการด าเนินธุรกิจแต่ละด้านต้องมีการส ารวจความต้องการ ของสมาชิกเพื่อที่สหกรณ์จะได้วางแผนการให้บริการได้ครอบคลุม และมีการก ากับ ติดตามผลการด าเนินงาน และน าเสนอที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการอย่างต่อเนื่อง .


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 49 ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : สหกรณ์มีสมาชิกจ านวน 83 ราย สมาชิกทั้งหมดที่ร่วมท าธุรกิจกับสหกรณ์ คิดเป็นร้อยละ 89.16 ของ จ านวนสมาชิกทั้งหมด . สาเหตุ/ปัญหา/อุปสรรคที่ท าให้ผลการด าเนินงานไม่เป็นไปตามแผนที่ก าหนด : มีสมาชิกสหกรณ์บางรายที่เลิกเลี้ยงโคนมแล้วและไม่ได้ท าธุรกิจกับสหกรณ์แต่ยังมีหนี้ค้างช าระกับ สหกรณ์อยู่ สหกรณ์ต้องคงสถานะการเป็นสมาชิกสหกรณ์ไว้จนกว่าสมาชิกรายนั้นจะช าระหนี้เสร็จสิ้น .2) การรักษา/ยกระดับประสิทธิภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์3 ได้เข้าแนะน าส่งเสริมให้สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจสหกรณ์เพิ่มขึ้น โดยเข้าร่วม ประชุมคณะกรรมการด าเนินการเพื่อท าความเข้าใจและชี้แจงการด าเนินงานเพื่อส่งเสริมปริมาณธุรกิจสหกรณ์ ก าหนดแผนในการเพิ่มปริมาณธุรกิจร่วมกับคณะกรรมการด าเนินการ/ฝ่ายจัดการสหกรณ์และมีการก ากับ ติดตามผลการด าเนินงานและน าเสนอที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการอย่างต่อเนื่อง ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจรวมทั้งสิ้น 163,996,048.21 บาท ลดลงจากปีก่อนจ านวน 11,411,056.27 บาท 3) การใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาด กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์3 ได้เข้าแนะน า ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาด ในที่ประชุม คณะกรรมการด าเนินการ โดยได้ชี้แจง ท าความเข้าใจกับคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์และเจ้าหน้าที่ของ สหกรณ์และวางแผนการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาดที่มีอยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อุปกรณ์การตลาดของ สหกรณ์มีดังนี้ 1. รถบรรทุกน้ านมดิบ 10 ล้อ จ านวน 3 คัน 2. ถังเก็บน้ านมดิบแบบรักษาอุณหภูมิได้จ านวน 15 ตัน 4 ใบ 3. ถังเก็บน้ านมดิบแบบรักษาอุณหภูมิได้จ านวน 10 ตัน 1 ใบ 4. อาคารรวบรวมน้ านมดิบ ขนาด 450 ตารางเมตร จ านวน 1 หลัง 5. อาคารรวบรวมน้ านมดิบ ขนาด 180 ตารางเมตร จ านวน 1 หลัง 6. อุปกรณ์ท าความเย็น ขนาด 55,000 ลิตร 7. เครื่องชั่งดิจิตอล ขนาด 500 กิโลกรัม จ านวน 2 เครื่อง ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : สหกรณ์ใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาดในการให้บริการแก่สมาชิกสหกรณ์และบุคคลภายนอกได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และรายงานผลการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาดให้ส านักงานสหกรณ์จังหวัดทราบทุก เดือน .


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 50 ❖ ด้านการก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร งานที่ด าเนินการ : การแก้ไขตามประเด็นข้อสังเกต กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์3 ได้เข้าแนะน า ส่งเสริมตามข้อสังเกตที่พบจากการตรวจสอบบัญชีประจ าปี ส าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2566 โดยแจ้งผลการตรวจสอบบัญชีและข้อสังเกตที่ตรวจพบจากการสอบ บัญชีประจ าปีของสหกรณ์ในที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการ โดยข้อสังเกตที่พบจากการตรวจสอบบัญชีมี ดังนี้ สหกรณ์ใช้โปรแกรมระบบบัญชีแยกประเภท GL Version 2 โปรแกรมระบบสมาชิกและหุ้น และระบบ เงินให้กู้โปรแกรมระบบเงินรับฝากและโปรแกรมระบบสินค้า ซึ่งพัฒนาโดยกรมตรวจบัญชีสหกรณ์โดยภาพรวม สหกรณ์จัดท าบัญชีไว้เรียบร้อยเป็นปัจจุบัน แต่มีการบันทึกบัญชีไว้ผิดประเภท ท าให้เกิดข้อผิดพลาดทางบัญชี หลายรายการ เจ้าหน้าที่มีความรู้ความสามารถพอควร แต่การปฏิบัติงานยังขาดการประสานงานและขาดการ ตรวจสอบข้อมูลระหว่างกัน เพื่อให้มีการควบคุมภายในที่ดีและป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น สหกรณ์ควร ตรวจสอบเอกสารหลักฐานประกอบการบันทึกบัญชีให้ครบถ้วน รวมทั้งควรจัดให้มีการสอบทานงานระหว่างกัน เพื่อลดข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น ผลที่ได้จากการด าเนินงาน : คณะกรรมการด าเนินการและฝ่ายจัดการสหกรณ์ได้ร่วมกันพิจารณาหาแนวทางแก้ไข หรือวิธีการใน การปรับปรุงแก้ไขการบริหารงานและการปฏิบัติงานในแต่ละแผนก แต่ละด้านด้วยความรอบคอบ โดยยึด กฎหมาย ข้อบังคับของสหกรณ์และระเบียบต่างๆ ที่ได้ก าหนดไว้เป็นแนวทางในการด าเนินงานอย่างเคร่งครัด .


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 51 ผลการด าเนินงานตามแผนการด าเนินงานของสหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คประจวบคีรีขันธ์จ ากัด ส าหรับปีบัญชีสิ้นสุด วันที่31 ธันวาคม 2565 กิจกรรม หน่วย นับ แผน ผล ร้อยละผลส าเร็จ เมื่อเทียบกับแผน 1. แผนการรับสมาชิก ราย 5 5 100.00 2. แผนการระดมทุน - ระดมทุนเรือนหุ้นเพิ่ม - รับฝากเงินออมทรัพย์เพิ่ม บาท บาท - 1,000,000.00 - 958,748.57 - 95.87 3. แผนการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร - ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย - ธุรกิจสินเชื่อ - ธุรกิจรวบรวมผลิตผล - ธุรกิจแปรรูป (ไซเลท) บาท บาท บาท บาท 56,150,000.00 4,000,000.00 118,116,000.00 1,000,000.00 52,969,409.40 4,520,000.00 108,752,991.20 1,589,526.00 94.34 113.00 92.07 158.95 4. แผนประมาณการรายได้- ค่าใช้จ่าย - รายได้ - ค่าใช้จ่าย - ก าไร (ขาดทุน) สุทธิ บาท บาท บาท 179,266,000.00 177,339,457.69 1,926,542.31 167,831,926.60 167,801,268.01 30,658.59 93.62 94.62 1.59 สรุปประเด็นหรือสาเหตุที่แผนไม่เป็นไปตามเป้าหมาย : 1. เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ท าให้การ ด าเนินการเพื่อยกระดับชั้นการควบคุมภายในสหกรณ์บางกรณีไม่สามารถด าเนินการได้เช่น การจัดอบรมให้ ความรู้แก่บุคลากรของสหกรณ์การจัดประชุมกลุ่มสมาชิก การจัดประชุมใหญ่ เป็นต้น 2. สถานการณ์COVID – 19 ท าให้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจอย่างรุนแรง ส่งผลกระทบต่อรายได้และสภาพ คล่องของสมาชิกสหกรณ์ท าให้สมาชิกมาท าธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย และธุรกิจรวบรวม ผลิตผลกับสหกรณ์ไม่เป็นไปตามแผนงานที่ก าหนด ส่งผลให้รายได้ต่ ากว่าแผนที่วางไว้ 3. สถานการณ์COVID – 19 ส่งผลกระทบต่อการจ าหน่ายนมโรงเรียนของสหกรณ์ซึ่งไม่สามารถ จ าหน่ายได้ตามแผนที่ก าหนด เนื่องจากสถานการณ์ดังกล่าวท าให้โรงเรียนต้องปิดการเรียนการสอน เมื่อนม โรงเรียนจ าหน่ายไม่ได้ส่งผลกระทบกับปริมาณน้ านมดิบที่สหกรณ์รวบรวมจากสมาชิกเป็นประจ าวัน ซึ่งไม่ สามารถส่งเข้าสู่กระบวนการแปรรูปได้เมื่อน้ านมดิบล้นที่จัดเก็บและไม่สามารถระบายออกไปได้ภายใน ระยะเวลาอันเหมาะสม ท าให้สหกรณ์ต้องรับภาระเรื่องน้ านมดิบเสื่อมสภาพเสียหายไปด้วย


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 52 สรุปแนวทางแก้ไขที่จะส่งเสริมให้ด าเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 : 1. สหกรณ์ฯ ควรก าหนดแนวทางด าเนินงานเพื่อรักษามาตรฐานสหกรณ์และยกระดับชั้นการควบคุม ภายในสหกรณ์ในกรณีสถานการณ์COVID – 19 การประชุมที่ต้องมีการรวมตัวกันของสมาชิกจ านวนมาก จน อาจมีความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรค สหกรณ์ควรจัดให้มีการประชุมเป็นกลุ่มย่อย หรือประชุมผ่านสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ . 2. สหกรณ์ควรส่งเสริมการพัฒนาธุรกิจ เช่น ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย และธุรกิจ รวบรวมผลิตผลเพื่อเป็นการส่งเสริมประสิทธิภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ให้เป็นไปตามแผนงานที่ก าหนด . 3. เนื่องจากไม่สามารถจ าหน่ายนมโรงเรียนได้ตามแผนที่ก าหนด สหกรณ์ฯ ควรก าหนดแนวทาง หรือ วิธีการรองรับผลกระทบทั้งในด้านการจัดหาเงินทุน และหาแนวทางในการบริหารจัดการธุรกิจให้ด าเนินต่อไปได้ อย่างมีประสิทธิภาพภายใต้สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป 4. เพื่อเป็นการช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่สมาชิกที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์การ แพร่ระบาดของโรค COVID -19 สหกรณ์ควรมีมาตรการและแนวทางช่วยเหลือสมาชิกสหกรณ์ เช่น การ ส่งเสริมอาชีพสมาชิก การลดดอกเบี้ยเงินกู้การพักการช าระหนี้และการให้เงินกู้ดอกเบี้ยต่ า เป็นต้น ปัจจัยแห่งความส าเร็จ (เพื่อเป็นกรณีศึกษาตัวอย่างที่ดีหรือแนวทางในการส่งเสริม) 1. สหกรณ์มีทุนด าเนินงานทุนส ารองและเก็บสะสมเพียงพอต่อการด าเนินธุรกิจและการจัดสวัสดิการ ต่าง ๆ ให้กับสมาชิก 2. สหกรณ์มีเครือข่ายที่เข้มแข็ง 3. สหกรณ์มีการจ าหน่ายสินค้าที่มีคุณภาพ ราคาไม่แพง ตรงกับความต้องการของสมาชิก 4. สหกรณ์มีการปรับปรุง การปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการ มีการน าเทคโนโลยีมาใช้ในการปฏิบัติงานท า ให้สหกรณ์สามารถให้บริการสมาชิกมีความสะดวกและรวดเร็ว 5. สหกรณ์ด าเนินงานอยู่ในกรอบของข้อบังคับและกฎหมายสหกรณ์หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ไม่ฝ่า ฝืนค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์และผลการด าเนินงานมีผลก าไรตลอดมา


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 53 สหกรณ์โคนมไทย-เดนมำร์คประจวบคีรีขันธ์จ ำกัด ประชุมใหญ่วิสำมัญประจ ำปี2566 วันที่ 1 กันยำยน 2566


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 54 ประกอบด้วย สหกรณ์3 แห่ง สมาชิก 1,539 คน กลุ่มเกษตรกร 6 แห่ง สมาชิก 690 คน ❖ ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมและแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โดยเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการด าเนินการเข้าร่วมประชุมใหญ่ สามัญ/วิสามัญประจ าปีเข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิก เข้าตรวจเยี่ยม แนะน า ส่งเสริมเข้าตรวจการสหกรณ์เพื่อให้ สหกรณ์ด าเนินการไปด้วยความเรียบร้อย ภายใต้ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายของสหกรณ์ตลอดจนให้ ความรู้ต่างๆเกี่ยวกับสหกรณ์ท าการวิเคราะห์สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ด้านต่างๆเพื่อแนะน า ส่งเสริม หาแนวทาง แก้ไขปัญหา ให้กับสหกรณ์เพื่อท าให้สหกรณ์เจริญก้าวหน้าเป็นที่พึ่งของสมาชิกโดยท าการวิเคราะห์เรื่องต่างๆได้ ข้อสรุปดังนี้ 1. ด้านบุคลากร (Man) / สมาชิก / คณะกรรมการด าเนินการ / ฝ่ายจัดการและเจ้าหน้าที่ สหกรณ์ - สมาชิกส่วนใหญ่ให้ความส าคัญกับสหกรณ์มีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจของสมาชิกร้อยละ 60 ขึ้นไป ธุรกิจส่วนใหญ่จะเป็นธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจการรับฝากเงิน ธุรกิจรวบรวมผลผลิต ธุรกิจแปรรูปผลผลิต ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย ธุรกิจบริการ หรือธุรกิจอื่นๆ ตามลักษณะประเภทของสหกรณ์ - คณะกรรมการด าเนินการ ส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจในหลักการบริหารงาน มีความ พร้อม และเสียสละเพื่อน าพาสหกรณ์ให้เป็นองค์กรหลัก พัฒนาสมาชิกให้มีความมั่นคงด้านอาชีพและคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น - ฝ่ายจัดการและเจ้าหน้าที่สหกรณ์ส่วนใหญ่มีความรู้ความสามารถในการจัดการ มีความรู้ ความเข้าใจในการใช้งบการเงิน งบทดลอง ในการตรวจสอบติดตาม และควบคุมการบริหารธุรกิจท าให้สามารถ วางแผนและแก้ปัญหาต่างๆ ได้มีประสิทธิภาพ และมีการส่งฝ่ายจัดการและเจ้าหน้าสหกรณ์เข้าอบรมเพื่อเพิ่มพูน ความรู้อยู่เสมอ 2. ด้านการบริหารเงินทุน (Money) ด้านการบริหารเงินทุนของสหกรณ์สหกรณ์ส่วนใหญ่มีเงินทุนเพียงพอต่อการบริหารงาน มีส่วน น้อยที่กู้ยืมเงินจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ หรือแหล่งเงินทุนภายนอก เช่น ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส.) ฝ่ายจัดการของสหกรณ์มีการวางแผนการบริหารเงินทุนอย่างเป็นระบบมีสภาพคล่องของ สหกรณ์อยู่ในเกณฑ์ปกติ 3. ด้านวัตถุดิบ (Material) เครื่องจักรและอุปกรณ์(Machine) ผลผลิตของสมาชิก/สินค้า ของสหกรณ์ ส่วนใหญ่จะเป็นในรูปของธุรกิจด้านสินเชื่อ รองลงมาคือ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย 4. ด้านการบริหารการจัดการ(Management) และการด าเนินธุรกิจ(Method) สหกรณ์ส่วนใหญ่บริหารจัดการโดยค านึงถึงแผนการด าเนินธุรกิจ มีการประมาณการรายได้- รายจ่ายประจ าปีที่ขออนุมัติต่อที่ประชุมใหญ่ มีการแบ่งงานมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบในแต่ละธุรกิจ ให้ อ ำเภอสำมร้อยยอด


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 55 ความส าคัญกับงบการเงิน งบทดลอง เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบและประเมินผลการด าเนินธุรกิจ เปรียบเทียบกับแผนงาน ผลด าเนินงานส่วนใหญ่เป็นไปตามแผนการด าเนินงาน ผลการแนะน าส่งเสริมในรอบปี2566 ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์สหกรณ์จ านวน 3 แห่ง ผ่านมาตรฐาน จ านวน 2 แห่ง ไม่ผ่านมาตรฐาน จ านวน 1 แห่ง 1. สหกรณ์ชาวไร่สับปะรดสามร้อยยอด จ ากัด ผ่านมาตรฐาน 2. สหกรณ์บริการสามร้อยยอด จ ากัด ผ่านมาตรฐาน 3. สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน้ าสามร้อยยอด–ปราณบุรี จ ากัด ไม่ผ่านมาตรฐาน ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์กลุ่มเกษตรกรจ านวน 6 แห่ง ผ่านมาตรฐาน 6 แห่ง 1. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์น้ าสามร้อยยอด ผ่านมาตรฐาน 2. กลุ่มเกษตรกรท าไร่สามร้อยยอด ผ่านมาตรฐาน 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ไร่ใหม่ผ่านมาตรฐาน 4. กลุ่มเกษตรกรท านาสามร้อยยอด ผ่านมาตรฐาน 5. กลุ่มเกษตรกรท าไร่สับปะรดแฟร์เทรด ผ่านมาตรฐาน 6. กลุ่มเกษตรกรท าสวนยางพาราสามร้อยยอด ผ่านมาตรฐาน ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์สหกรณ์จ านวน 3 แห่ง สหกรณ์ชั้น 1 จ านวน 2 แห่ง สหกรณ์ชั้น 2 จ านวน 0 แห่ง สหกรณ์ชั้น 3 จ านวน 1 แห่ง 1. สหกรณ์ชาวไร่สับปะรดสามร้อยยอด จ ากัด สหกรณ์ชั้น 1 2. สหกรณ์บริการสามร้อยยอด จ ากัด สหกรณ์ชั้น 1 3. สหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน้ าสามร้อยยอด-ปราณบุรีจ ากัด สหกรณ์ชั้น 3 ❖ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ผลการด าเนินงานของสหกรณ์มีความสัมพันธ์กับความส าเร็จในการประกอบอาชีพของสมาชิกเป็นสมาชิก เป็นส าคัญ กรณีสหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน้ าสามร้อยยอด-ปราณบุรี จ ากัด ปัจจุบันสหกรณ์ฯขาดสภาพคล่องทาง การเงินเนื่องจากสมาชิกไม่สามารถช าระหนี้ได้ตามก าหนด และสหกรณ์ฯ มีภาระหนี้สินจ านวนมาก จึงแนะน า การติดตามลูกหนี้และส่งเสริมอาชีพตามโครงการแผนฟื้นฟูของสหกรณ์ปัจจุบันยังไม่สามารถส่งเสริมให้สมาชิก ประกอบอาชีพตามแผนงานได้เนื่องจากในพื้นที่ประสบปัญหาเรื่องน้ า น้ ามีปริมาณมากไม่สามารถควบคุมได้ เหตุมาจากปริมาณน้ าฝนที่ตกลงมา ปัจจุบันปัญหาที่ส าคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือ สหกรณ์จะถูกตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเต็มจ านวน ถ้าผู้สอบบัญชี เห็นว่าสัญญากู้เงินของสมาชิก เป็นการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ท าให้สหกรณ์ส่วนใหญ่ประสบกับปัญหาขาดทุน เป็นจ านวนมาก ทั้งสหกรณ์ภาคการเกษตรและสหกรณ์นอกภาคการเกษตร กลุ่มเกษตรกร ส่วนใหญ่มีความเสี่ยงด้านการควบคุมภายใน ไม่สามารถจัดท าบัญชีเองได้กลุ่มเกษตรกรไม่ มีเจ้าหน้าที่ยกเว้นกลุ่มเกษตรกรท าไร่สับปะรดแฟร์เทรด แห่งเดียวที่มีเจ้าหน้ากลุ่มฯ ขาดผู้น าที่เป็นผู้บริหาร ผู้


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 56 ที่มีความเสียสละ สมาชิกกลุ่มเกษตรกร เป็นเกษตรกรรายย่อย มีรายได้น้อย มีความเสี่ยงสูง เป็นข้อจ ากัดในการ ขยายธุรกิจ ❖ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. ส่งเสริมและผลักดันให้สหกรณ์เป็นองค์กรที่สามารถพัฒนาอาชีพหลักสมาชิก ให้มีความเข้มแข็งยั่งยืน 2. ส่งเสริมให้ความรู้การใช้อ านาจตามระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายสหกรณ์ 3. ปัญหาเรื่องที่สหกรณ์ถูกตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเต็มจ านวน สหกรณ์จะถูกตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเต็ม จ านวน ถ้าผู้สอบบัญชีเห็นว่าสัญญากู้เงินของสมาชิก เป็นการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ท าให้สหกรณ์ส่วนใหญ่ ประสบกับปัญหาขาดทุนเป็นจ านวนมาก ทั้งสหกรณ์ภาคการเกษตรและสหกรณ์นอกภาคการเกษตร หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นกรมตรวจบัญชีสหกรณ์กรมส่งเสริมสหกรณ์และหน่วยงานอื่นๆ ควรเร่งช่วยกันในการ หาวิธีแก้ไขปัญหา เนื่องจากปัจจุบันนี้สหกรณ์ทั่วประเทศได้รับผลกระทบจากการถูกตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ เป็นจ านวนมาก และท าให้สหกรณ์ประสบปัญหาการขาดทุนเป็นจ านวนมาก อีกทั้งยังส่งผลต่อความน่าเชื่อถือ ของสมาชิกที่มีต่อสหกรณ์อีกด้วย ❖ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ชาวไร่สับปะรดสามร้อยยอด จ ากัด น าเสนอสหกรณ์ในอ าเภอที่ผ่านการคัดเลือกเป็นสหกรณ์ระดับอ าเภอ ตามโครงการพัฒนาสหกรณ์ การเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ โดยข้อมูลที่น าเสนอ ประกอบด้วย 1. สหกรณ์ชาวไร่สับปะรดสามร้อยยอด จ ากัด ประเภทสหกรณ์การเกษตร ปีบัญชีของสหกรณ์31 สิงหาคม ของทุกปี 2.ข้อมูลสหกรณ์ณ 31 สิงหาคม 2566 จ านวนสมาชิก 1,014 ราย สินทรัพย์138,225,197.94 บาท หนี้สิน 40,111,065.91 บาท ทุนของสหกรณ์98,114,132.03 บาท ก าไรสุทธิประจ าปี7,221,074.65 บาท 3. ผลผลิตหลัก/ธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ สับปะรด ยางพารา ปาล์ม ฯลฯ 4. ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย และ ธุรกิจรวบรวมผลิตผล โดยธุรกิจหลัก ของสหกรณ์คือ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย 5.ระดับมาตรฐานสหกรณ์สหกรณ์ผ่านมาตรฐาน 6. ระดับชั้นสหกรณ์(ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖6) ผลการจัดชั้นสหกรณ์ชั้น 1 7. ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย โดยเฉพาะน้ ามันเชื้อเพลิง ปัจจุบันสหกรณ์มีการปรับปรุงปั้มน้ ามันให้มีมาตรฐานมากยิ่งขึ้น สามารถอ านวยความสะดวกให้แก่สมาชิก และ ให้บริการแก่บุคคลภาคนอกได้มากยิ่งขึ้น ท าให้สหกรณ์มีก าไรเพิ่มมากยิ่งขึ้น


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 57 ผลการด าเนินงานแนะน าส่งเสริม พัฒนา และก ากับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ❖ ด้านการส่งเสริมและพัฒนาองค์กร งานที่ด าเนินการ 1. แนะน าส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ 2. แนะน าส่งเสริมให้สหกรณ์มีระบบการควบคุมภายในที่ดี ผลที่ได้จากการด าเนินงาน 1. สหกรณ์สามารถรักษาระดับมาตรฐานสหกรณ์โดยผ่านมาตรฐาน 2. สหกรณ์สามารถรักษาผลการประเมินชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน (RQ 2) อยู่ในระดับดี ❖ ด้านการพัฒนาการด าเนินธุรกิจ งานที่ด าเนินการ : (อธิบายลักษณะงานที่เข้าไปปฏิบัติที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และส่งผลให้เกิดผลส าเร็จตามแผนที่ก าหนด) 1. แนะน าส่งเสริมสหกรณ์ในการให้บริการสมาชิก (Active Member) อยู่ในระดับ 4 คือ ให้บริการ สมาชิกได้มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 2. แนะน าส่งเสริมการรักษาประสิทธิภาพในการด าเนินธุรกิจ ให้สหกรณ์มีประสิทธิภาพของการด าเนิน ธุรกิจในระดับมั่นคงดี 3. แนะน าการมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจ ให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ผลที่ได้จากการด าเนินงาน 1. สหกรณ์สามารถให้บริการสมาชิก (Active Member) มากกว่าร้อยละ 70 2. สหกรณ์สามารถรักษาประสิทธิภาพของการด าเนินธุรกิจอยู่ในระดับมั่นคงดี(เท่ากับ 3 คือ มั่นคงดี) 3. สหกรณ์สามารถส่งเสริมสมาชิกให้มีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจ สมาชิกมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจ มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70 ❖ ด้านการก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร งานที่ด าเนินการ 1. แนะน าสหกรณ์ด้านการก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์โดยได้รับค าแนะน า เกี่ยวกับกฎหมาย/ระเบียบ/ข้อบังคับ 2. ตรวจติดตาม/เฝ้าระวังและตรวจการที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันการเกิดข้อบกพร่องและป้องกันการ เกิดการทุจริตทั้งในเชิงนโยบายและปฏิบัติตามแบบวิเคราะห์สถานภาพสหกรณ์เพื่อก ากับ ดูแล และคุ้มครอง สหกรณ์เสนอให้รองนายทะเบียนสหกรณ์ทราบ


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 58 ผลที่ได้จากการด าเนินงาน 1. สหกรณ์ได้รับการก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์โดยได้รับค าแนะน าเกี่ยวกับ กฎหมาย/ระเบียบ/ข้อบังคับ และสหกรณ์แห่งนี้ไม่มีข้อบกพร่อง 2. สหกรณ์ได้รับการตรวจติดตาม/เฝ้าระวังและตรวจการที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันการเกิด ข้อบกพร่องและป้องกันการเกิดการทุจริตทั้งในเชิงนโยบายและปฏิบัติตามแบบวิเคราะห์สถานภาพสหกรณ์ เพื่อก ากับ ดูแล และคุ้มครองสหกรณ์เสนอให้รองนายทะเบียนสหกรณ์ทราบ ปัจจัยแห่งความส าเร็จ (เพื่อเป็นกรณีศึกษาตัวอย่างที่ดีหรือแนวทางในการส่งเสริม) 1. ให้ความเข้ารู้ความเข้าใจแก่คณะกรรมการด าเนินการ ฝ่ายจัดการ เจ้าหน้าที่ และสมาชิก เพื่อ พัฒนาสหกรณ์โดยใช้หลักการสหกรณ์วิธีการสหกรณ์และอุดมการณ์สหกรณ์โดยใช้สมาชิกเป็นศูนย์การในการ พัฒนาสหกรณ์ตลอดจนปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมาย โดยค านึงถึงผลประโยชน์ของมวลสมาชิก และสหกรณ์เป็นส าคัญ 2. ส่งเสริมการประกอบอาชีพของสมาชิก โดยให้ความรู้ข้อมูลข่าวสาร ทางไลน์ให้สมาชิกทราบถึง สถานการณ์สับปะรด รายงานแปลงการผลิต และข้อแนะน าให้ทันต่อเหตุการณ์ 3. สร้างความเชื่อมั่นต่อสมาชิก ด้านการช่วยเหลือแก้ไขปัญหาการประกอบอาชีพ การจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ตามความต้องการของสมาชิก และคัดสรรสิ่งของที่มีคุณภาพ ไม่เน้นการแสวงหาก าไร 4. การวางระบบการควบคุมภายใน และการแบ่งแยกหน้าที่ ๆเหมาะสมกับองค์กร 5. การให้ความส าคัญต่อองค์ความรู้ด้านการผลิต เสนอแนะข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุน และวิธีการจัดการ บริหารการผลิตที่ถูกต้อง และลดต้นทุนได้จริง สหกรณ์ชาวไร่สับปะรดสามร้อยยอด จ ากัด ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี2566 วันที่ 19 ธันวาคม 2566


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 59 นิคมสหกรณ์บางสะพาน รับผิดชอบ แนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประกอบด้วยสหกรณ์ 4 แห่ง ดังนี้ ประกอบด้วยสหกรณ์ 3 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 2 แห่ง คือ 1. สหกรณ์นิคมบางสะพาน จ ากัด 2. สหกรณ์กองทุนสวนยางบางสะพาน จ ากัด 3. สหกรณ์โคนมบางสะพาน จ ากัด 4. กลุ่มเกษตรกรท าสวนทองมงคล 5. กลุ่มเกษตรท าไร่ทองมงคล สหกรณ์ 3 แห่ง สมาชิกรวม 7,978 คน และกลุ่มเกษตรกร 2 แห่ง สมาชิก 465 คน รวมสมาชิกทั้งสิ้น 8,443 คน ประกอบด้วย สหกรณ์ 1 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตร ปชด.ไร่บน จ ากัด สมาชิก 210 คน ❖ ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร อ าเภอบางสะพาน สหกรณ์ จ านวน 3 แห่ง จ านวน 36 ครั้ง กลุ่มเกษตรกร จ านวน 2 แห่ง จ านวน 20 ครั้ง อ าเภอบางสะพานน้อย สหกรณ์ จ านวน 1 แห่ง จ านวน 12 ครั้ง ❖ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. ปริมาณธุรกิจไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ได้แก่ สหกรณ์ที่ด าเนินธุรกิจโคนม การรวบรวมน้ านมดิบจาก สมาชิก เนื่องจากสมาชิกส่วนใหญ่มักประสบกับปัญหาในการเลี้ยงโคนมที่ต้นทุนสูง ปัญหาโรคระบาดและปัญหา คุณภาพน้ านมดิบ ส่งผลให้สมาชิกบางรายเลิกเลี้ยงโคนม และสหกรณ์ที่ด าเนินธุรกิจยางพารา เนื่องจากปัจจัยที่ ไม่อาจควบคุมได้เช่น ภัยธรรมชาติกลไกราคาตลาด เป็นต้น 2. กลุ่มเกษตรกรยังด าเนินธุรกิจไม่หลากหลายให้ตรงกับความต้องการของสมาชิกในการประกอบอาชีพ หลัก อ ำเภอ บำงสะพำน อ ำเภอ บำงสะพำนน้อย


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 60 3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรบางแห่ง ยังขาดความรู้ความเข้าใจทางด้านการเงินการบัญชีท าให้ไม่ สามารถจัดท างบการเงินให้แล้วเสร็จในเวลาที่ก าหนด 4. สมาชิกของกลุ่มเกษตรกรมีจ านวนมาก แต่ยังขาดการมีส่วนร่วมในการท าธุรกิจกับกลุ่มเกษตรกร 5. คณะกรรมการและสมาชิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ยังขาดความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของ ตนเอง ❖ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. สหกรณ์ฯ ต้องให้การช่วยเหลือสมาชิกตามความจ าเป็น เช่น การให้สินเชื่อเพื่อส่งเสริมการประกอบ อาชีพ การลดต้นทุนการผลิต ให้ความรู้ในเรื่องการบริหารการเงินการบัญชีเพิ่มมูลค่าผลผลิต จัดอบรมถึงปัญหา ต่างๆที่ส่งผลต่ออาชีพของสมาชิก โดยประสานขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง 2. หน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ฝ่ายคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ผู้ ตรวจสอบบัญชีสหกรณ์และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ต้องท างานร่วมกันในการช่วยเหลือ เพื่อฟื้นฟูสหกรณ์ในกรณีของสหกรณ์ฯ ที่มีปัญหาขาดทุนสะสม 3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรควรหาแนวทางในการแก้ไขในการจัดท าบัญชีเพื่อให้สามารถจัดท างบ การเงินให้แล้วเสร็จในเวลาที่ก าหนด เช่น จัดจ้างผู้ที่มีความรู้จัดอบรมให้ความรู้คณะกรรมการฯ ฝ่ายจัดการ ผู้ ตรวจสอบกิจการ เป็นต้น 4. แนะน าให้ทางสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดท าฐานข้อมูลสมาชิกใหม่ ก าหนดข้อบังคับเกี่ยวกับการมี ส่วนร่วมของสมาชิกขึ้นถือใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงานและวางแผนในการท าธุรกิจต่อไปให้ เหมาะสมกับความต้องการของสมาชิก 5. ต้องประชาสัมพันธ์และสร้างความศรัทธาของสมาชิกต่อระบบสหกรณ์ เพื่อให้สมาชิกตระหนักถึง ความเป็นเจ้าของ ร่วมพัฒนาสหกรณ์ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การพัฒนาอาชีพด้านการเกษตร การเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ส่งเสริมการออม เป็นต้น


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 61 1. วัตถุประสงค์ : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จัดประชุมซักซ้อมตรวจการสหกรณ์ ให้แก่ ผู้ตรวจการสหกรณ์เพื่อชี้แจงและสร้างความเข้าใจร่วมกันตามแนวทางการตรวจการสหกรณ์ พร้อมกับการ ก าหนดแผนปฏิบัติงานร่วมกัน โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1) ชี้แจงเรื่องแต่งตั้งและมอบหมายผู้ตรวจการสหกรณ์ 2) ชี้แจงแผนการปฏิบัติงาน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 2.1 แผนการปฏิบัติงาน - ตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด โดยน าผลการวิเคราะห์ความเสี่ยง รายงานของผู้สอบบัญชีและรายงานข้อสังเกตผู้สอบบัญชีข้อมูลวิเคราะห์สหกรณ์จากนักการเงินประจ าจังหวัด โดยตรวจสอบจ านวนร้อยละ 25 ของสหกรณ์ทั้งหมด เป้าหมาย 19 สหกรณ์ - ตรวจการสหกรณ์ตามค าสั ่งนายทะเบียนสหกรณ์ โดยตรวจสอบจ านวน ร้อยละ 15 ของสหกรณ์ทั้งหมด เป้าหมาย 12 สหกรณ์ 2.2 แนวทางการตรวจสอบเพื่อป้องกันการทุจริตในสหกรณ์ตามหนังสือกรมส่งเสริมสหกรณ์ ที่กษ 1115/43 ลงวันที่ 6 มกราคม 2564 3) ชี้แจงระบบตรวจการสหกรณ์ ตามที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้จัดโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการผ่านระบบสื่อสารออนไลน์“การ ใช้งานระบบตรวจการสหกรณ์” พร้อมเปิดให้ผู้ปฏิบัติงานที่รับผิดชอบในการบันทึกข้อมูลทดสอบการใช้งานระบบ เบื้องต้น และเปิดใช้งานระบบอย่างเป็นทางการ ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2565 ผู้ตรวจการสหกรณ์สามารถเข้าใช้ งานระบบตรวจการสหกรณ์ผ่านเว็บไซต์http://coop-inspec.cpd.go.th/ และศึกษาวิธีการใช้งานได้จากคู่มือ การใช้งานส าหรับผู้ใช้งานระบบตรวจการสหกรณ์ 2. ตัวชี้วัด : ผู้ตรวจการสหกรณ์ทุกคนเข้าใจในระบบตรวจการสหกรณ์และแนวทางการตรวจสหกรณ์ 3. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : ในการประชุมครั้งนี้มีเป้าหมาย ประกอบด้วย สหกรณ์จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์และข้าราชการที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ตรวจการสหกรณ์ ณ ห้องประชุมส านักงานสหกรณ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จ านวน 27 คน กำรตรวจกำรสหกรณ์ การจัดประชุมซักซ้อมตรวจการสหกรณ์


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 62 4. ผลการด าเนินงาน : กลุ่มตรวจการสหกรณ์ได้ประชุมซักซ้อมตรวจการสหกรณ์ส าหรับปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จ านวน 1 ครั้ง เมื่อวันศุกร์ที่ 4 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09.00 – 16.00 น. ในการประชุมครั้งนี้มีผู้เข้าร่วม ประชุมประกอบด้วย สหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์และข้าราชการที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ตรวจการ สหกรณ์และผู้ช่วยผู้ตรวจการสหกรณ์จ านวน 27 คน ในการประชุมได้มีการชี้แจงในเรื่องระบบตรวจการสหกรณ์แนวทางการตรวจการสหกรณ์ การรายงานผลการตรวจการสหกรณ์และได้มีการพิจารณาคัดเลือกสหกรณ์เป้าหมายที่จะตรวจการสหกรณ์ตาม ค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ตามเป้าหมายที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ก าหนดไว้ 5. ผลส าเร็จ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ผู้ตรวจการสหกรณ์ได้เข้าร่วมประชุมดังกล่าว จ านวน 24 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผู้ตรวจการสหกรณ์ทุกคนเข้าใจในระบบตรวจการสหกรณ์และแนวทางการตรวจ สหกรณ์และสามารถน าไปใช้ตรวจการสหกรณ์ได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และสามารถรายงานผลการตรวจการ สหกรณ์ต่อนายทะเบียนสหกรณ์ได้ทันตามเวลาที่ก าหนด เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นแก่สหกรณ์ได้ 6. งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับจัดสรรจากแผนปฏิบัติงานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มี ความเข้มแข็งตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ด้านงานก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์งบประมาณในการจัดประชุม (การจัดประชุมซักซ้อมตรวจการสหกรณ์) เป็นค่าอาหารกลางวัน และค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จ านวนเงินทั้งสิ้น 4,600 บาท (สี่พันหกร้อยบาทถ้วน) ผลการใช้จ่ายงบประมาณในการจัดประชุมซักซ้อมตรวจการสหกรณ์ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 เป็นจ านวนเงินทั้งสิ้น 4,590 บาท (สี่พันห้าร้อยเก้าสิบบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียด ดังนี้ -ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ120 บาท 1 มื้อจ านวน 27 คน เป็นเงิน 3,240 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม มื้อละ 25 บาท 2 มื้อ จ านวน 27 คน เป็นเงิน 1,350 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 4,590 บาท 7. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข -


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 63 การจัดประชุมซักซ้อมตรวจการสหกรณ์ให้กับผู้ตรวจการสหกรณ์ของส านักงานสหกรณ์จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 64 1. วัตถุประสงค์ : เพื่อให้การก ากับดูแลสหกรณ์ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของส านักงานสหกรณ์จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์เกิดประสิทธิภาพ และสหกรณ์ด าเนินงานด้วยความโปร่งใส เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ตลอดจน ป้องกันปัญหาการเกิดข้อบกพร่องอันเกิดจากการด าเนินงานหรือการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ซึ่งมีความซับซ้อนมาก ขึ้นหรือหากเกิดข้อบกพร่องก็สามารถแก้ไข หรือระงับยับยั้งได้รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์จ าเป็นต้องมีการตรวจสอบ สหกรณ์ให้ครอบคลุมทั้งระบบ 2. ตัวชี้วัด : 1. ผู้ตรวจการสหกรณ์ตรวจสอบกิจการและฐานการเงินของสหกรณ์ตามแผน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จ านวน 19 แห่ง ให้ครบทุกประเด็นตามที่ระบุในแนวทางการตรวจการสหกรณ์และค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ที่ 8/2559 สั่ง ณ วันที่28 มีนาคม พ.ศ.2559 2. จัดท ารายงานสรุป วิเคราะห์ผลการตรวจสอบ เสนอให้นายทะเบียนสหกรณ์ทราบหรือพิจารณาสั่งการตาม อ านาจหน้าที่ภายในระยะเวลาที่ก าหนดไว้ 3. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : ผู้รับผิดชอบ พื้นที่ด าเนินการ/เป้าหมายด าเนินการ แผนการเข้าตรวจ คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจ า จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ชุดที่ 1 1. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านหนองมะค่า จ ากัด เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2565 2. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านสวนส้ม จ ากัด เดือนธันวาคม พ.ศ.2565 คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจ า จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ชุดที่ 2 1. สหกรณ์ชาวไร่สับปะรดสามร้อยยอด จ ากัด เดือนธันวาคม พ.ศ.2565 2. สหกรณ์บริการโดลไทยแลนด์จ ากัด เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจ า จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ชุดที่ 3 1. สหกรณ์กองทุนสวนยางบางสะพาน จ ากัด เดือนธันวาคม พ.ศ.2565 2. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านปรือน้อย จ ากัด เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2565 คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจ า จังหวัดประจวบคีรีขนธ์ชุดที่ 4 1. สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คอ่าวน้อย จ ากัด เดือนตุลาคม พ.ศ.2565 2. ชุมนุมสหกรณ์โคนมภาคใต้และตะวันตก จ ากัด เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2565 3. สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2565 4. สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คประจวบคีรีขันธ์จ ากัด เดือนธันวาคม พ.ศ.2565 5. สหกรณ์โคนมกุยบุรีจ ากัด เดือนธันวาคม พ.ศ.2565 6. สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คบ้านเนินดินแดง จ ากัด เดือนมกราคม พ.ศ.2566 7. สหกรณ์โคนมบางสะพาน จ ากัด เดือนมกราคม พ.ศ.2566 8. สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ประจวบคีรีขันธ์ จ ากัด เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 9. สหกรณ์การเกษตรโรงสีข้าวพระราชทานอ่าวน้อย จ ากัด เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 การตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 65 10. สหกรณ์ออมทรัพย์ต ารวจประจวบคีรีขันธ์จ ากัด เดือนมีนาคม พ.ศ.2566 11. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูประจวบคีรีขันธ์จ ากัด เดือนมีนาคม พ.ศ.2566 12. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านหินเทิน จ ากัด เดือนเมษายนพ.ศ.2566 13. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านสวนขวัญ จ ากัด เดือนเมษายนพ.ศ.2566 4. ผลการด าเนินงาน : 1. จัดท าแผนปฏิบัติงานในการเข้าตรวจสอบกิจการและฐานะการเงิน (Action Plan) ของสหกรณ์จ านวน เป้าหมายตามที่แผนปฏิบัติงานและงานประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ก าหนด 2. ตรวจสอบกิจการและฐานะการเงินของสหกรณ์ตามแผนที่ก าหนดในข้อ 1 ให้ครบทุกประเด็น ตามที่ระบุในแนว ทางก ารต รวจการสหกรณ์ และค าสั่งนายทะเบี ยนสหกรณ์ ที่ 8/2559 สั่ง ณ วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ.2559 เรื่องก าหนดอ านาจหน้าที่ของผู้ตรวจการสหกรณ์ 3. เมื่อตรวจสอบสหกรณ์เสร็จแล้ว ให้สรุปข้อเท็จจริงและรายงานผลการตรวจสอบสหกรณ์ต่อนายทะเบียน สหกรณ์ผ่านกลุ่มตรวจการสหกรณ์ เพื่อวิเคราะห์รายงานการตรวจสอบสหกรณ์ก่อนน าเสนอทะเบียนสหกรณ์ พิจารณา 5. ผลส าเร็จ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจ าจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ได้เข้าตรวจสอบสหกรณ์เป้าหมาย ครบทั้ง 11 แห่ง ตามแผนที่ก าหนดไว้ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจ าจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้เข้าตรวจสอบสหกรณ์ครบทุกแห่ง เป็นไปตามแผนที่ก าหนดไว้ และได้รายงานผลการตรวจสอบให้นายทะเบียนสหกรณ์ทราบ ภายในก าหนด ระยะเวลา เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นแก่สหกรณ์ได้ 6. งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับจัดสรรจากแผนปฏิบัติงานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มี ความเข้มแข็งตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ด้านงานก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์จ านวน 44,400 บาท (สี่หมื่นสี่พันสี่ร้อยบาทถ้วน) ผลการใช้จ่ายงบประมาณในงานตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด เป็นเงินทั้งสิ้น 44,400 บาท (สี่หมื่นสี่พันสี่ร้อยบาทถ้วน)


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 66 การออกตรวจการสหกรณ์ของคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจ าจังหวัดประจวบคีรีขันธ์


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 67 1. วัตถุประสงค์ : เพื่อให้การก ากับดูแลสหกรณ์ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของส านักงานสหกรณ์จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์เกิดประสิทธิภาพ และสหกรณ์ด าเนินงานด้วยความโปร่งใส เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ตลอดจน ป้องกันปัญหาการเกิดข้อบกพร่องอันเกิดจากการด าเนินงานหรือการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ซึ่งมีความซับซ้อนมาก ขึ้นหรือหากเกิดข้อบกพร่องก็สามารถแก้ไข หรือระงับยับยั้งได้รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์จ าเป็นต้องมีการตรวจสอบ สหกรณ์ให้ครอบคลุมทั้งระบบ 2. ตัวชี้วัด : 1. ผู้ตรวจการสหกรณ์ตรวจสอบกิจการและฐานการเงินของสหกรณ์ตามเป้าหมายตามที่นายทะเบียนสหกรณ์ ก าหนด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ร้อยละ 15 ของสหกรณ์ที่มีสถานะด าเนินการ และต้องเป็นสหกรณ์ที่ไม่อยู่ ในรายชื่อสหกรณ์ที่ต้องตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัดในปีงบประมาณ พ.ศ.2567 2. จัดท ารายงานสรุปข้อเท็จจริงและรายงานผลการตรวจสอบสหกรณ์(ตามแบบท้ายค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ที่ 8/2559 สั่ง ณ วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ.2559) ต่อนายทะเบียนสหกรณ์ผ่านกลุ่มตรวจการสหกรณ์ทราบหรือพิจารณา สั่งการตามอ านาจหน้าที่ภายในระยะเวลาที่ก าหนดไว้ 3. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : ผู้รับผิดชอบ พื้นที่ด าเนินการ/เป้าหมายด าเนินการ แผนการเข้าตรวจ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 1. สหกรณ์ชาวสวนยางพาราประจวบคีรีขันธ์จ ากัด เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2565 2. สหกรณ์ออมทรัพย์สมานมิตร จ ากัด เดือนธันวาคม พ.ศ.2565 3. สหกรณ์ออมทรัพย์กองบิน 5 จ ากัด เดือนมกราคม พ.ศ.2566 4. สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงเปี่ยมสุข จ ากัด เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 1. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน อพป.บ้านมะเดื่อทอง จ ากัด เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 2. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนช่องลมพัฒนา จ ากัด เดือนธันวาคม พ.ศ.2565 3. สหกรณ์ชาวสวนมะพร้าวประจวบคีรีขันธ์จ ากัด เดือนมกราคม พ.ศ.2566 4. สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงห้วยยาง จ ากัด เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2565 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 1. สหกรณ์การเกษตรปราณบุรีจ ากัด เดือนมกราคม พ.ศ.2566 2. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลหัวหิน จ ากัด เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 3. สหกรณ์การเกษตรห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด เดือนธันวาคม พ.ศ.2565 4. สหกรณ์การเกษตรหนองพลับรุ่งเรือง จ ากัด เดือนมีนาคม พ.ศ.2566 การตรวจการสหกรณ์ตามค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 68 4. ผลการด าเนินงาน : 1. สหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ในฐานะรองนายทะเบียนสหกรณ์ ปฏิบัติการแทนนายทะเบียนสหกรณ์ มอบหมายคณะผู้ตรวจการสหกรณ์เข้าตรวจสอบสหกรณ์เป็นกรณีพิเศษ โดยสหกรณ์เป้าหมายที่ได้คัดเลือกจากการ ประชุมซักซ้อมตรวจการสหกรณ์หรือพิจารณาสหกรณ์เป้าหมายอื่น เรียงล าดับความส าคัญ ดังนี้ (1.1) สหกรณ์ที่มีความเสี่ยงจะเกิดการทุจริต (1.2) สหกรณ์ที่มีเรื่องร้องเรียน (1.3) สหกรณ์ที่มีความเสี่ยงจะเกิดข้อบกพร่อง 2. จัดท าแผนปฏิบัติงานในการเข้าตรวจสอบกิจการและฐานะการเงิน (Action Plan) ของสหกรณ์จ านวน เป้าหมายตามที่แผนปฏิบัติงานและงานประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ก าหนด 3. เข้าตรวจสอบกิจการและฐานะการเงินของสหกรณ์ตามแผนที่ก าหนดในข้อ 2 4. เมื่อตรวจสอบสหกรณ์เสร็จแล้ว ให้สรุปข้อเท็จจริงและรายงานผลการตรวจสอบสหกรณ์ต่อนายทะเบียน สหกรณ์ผ่านกลุ่มตรวจการสหกรณ์ เพื่อวิเคราะห์รายงานการตรวจสอบสหกรณ์ก่อนน าเสนอทะเบียนสหกรณ์ พิจารณา โดยรายงานผลผ่านระบบตรวจการสหกรณ์ 5. ผลส าเร็จ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจ าจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ได้เข้าตรวจสอบสหกรณ์เป้าหมาย ครบทั้ง 12 แห่ง ตามแผนที่ก าหนดไว้ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจ าจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้เข้าตรวจสอบสหกรณ์ครบทุกแห่ง เป็นไปตามแผนที่ก าหนดไว้ และได้รายงานผลการตรวจสอบให้นายทะเบียนสหกรณ์ทราบ ภายในก าหนด ระยะเวลา เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นแก่สหกรณ์ได้ 6. งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับจัดสรรจากแผนปฏิบัติงานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มี ความเข้มแข็งตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ด้านงานก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์จ านวน 12,500 บาท (หนึ่งหมื่นสองพันห้าร้อยบาทถ้วน) ผลการใช้จ่ายงบประมาณในงานตรวจการสหกรณ์ตามค าสั่งนายทะเบียน เป็นเงินทั้งสิ้น 12,500 บาท (หนึ่งสองพันห้าร้อยบาทถ้วน)


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 69 1. วัตถุประสงค์: เพื่อติดตามประเมินผลความก้าวหน้าการแก้ไขปัญหาข้อบกพร่อง 2. ตัวชี้วัด : สหกรณ์ปฏิบัติเป็นไปตามค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์และมีความก้าวหน้าในการแก้ไขขอบกพร่อง 3. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : 1. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านแสงอรุณ จ ากัด 2. สหกรณ์บริการโดลไทยแลนด์จ ากัด 4. ผลการด าเนินงาน : ได้น าประเด็นเข้าติดตามความก้าวหน้าการแก้ไขข้อบกพร่องติดตามในที่ปะชุมคณะท างานระดับจังหวัด แก้ปัญหาด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง (จกบ.) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 1/2566 ,2/2566, 3/2566 และ 4/2566 5. ผลส าเร็จ : 1. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนบ้านแสงอรุณ จ ากัด 1. ค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ที่ 20/2565 สหกรณ์ด าเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงเพื่อหา ผู้กระท าความผิด คือ นางสาวเพ็ญสิริจันทนะโสตถิ์เบย์อดีตผู้จัดการ กระท าการปลอมแปลงสัญญาเงินกู้และ กระท าการปลอมแปลงลายมือชื่อเพื่อถอนเงินฝากของสมาชิก สหกรณ์ได้ด าเนินคดีทั้งทางแพ่งและทางอาญา และด าเนินการตรวจสอบยอดเงินให้กู้เงินรับฝาก และหุ้นของสมาชิก ทั้งหมดทุกรายโดยด าเนินการให้แล้วเสร็จ ภายใน 30 วัน ซึ่งปฏิบัติเป็นไปตามค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ 2. ค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ที่ 21/2565 คณะกรรมการด าเนินการได้สอบสวนเพื่อให้ทราบ ข้อเท็จจริงว่าในขณะด ารงต าแหน่งผู้จัดการสหกรณ์ได้กระท าความผิดหรือจงใจฝ่าฝืนระเบียบ ข้อบังคับ หรือ กฎหมาย สหกรณ์ได้ส่งเอกสารหลักฐานเกี่ยวกับการร้องทุกข์ด าเนินคดีกับ นางสาวเพ็ญสิริจันทนะโสตถิ์เบย์ ทั้งหมด และค าสั่งไล่ออกผู้จัดการสหกรณ์กรณีรับสารภาพว่ากระท าความผิด ตามระเบียบของสหกรณ์ ซึ่งปฏิบัติเป็นไปตามค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ 3. ค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ที่ 22/2565 คณะกรรมการด าเนินการได้ด าเนินคดีกับสหกรณ์ ได้ด าเนินการตามขั้นตอนคดีมีการยื่นฟองศาลจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2565 และมื่อ วันที่ 9 ธันวาคม 2565 ศาลได้พิพากษาตามยอม คดีหมายเลขด าที่ ผบ 403/2565 คดีหมายเลข แดงที่ผบ 402/2565 โดย ให้มาช าระหนี้ในงวดแรก จ านวน 28,000 ซึ่งปฏิบัติไม่เป็นไปตามค าสั่งนายทะเบียน สหกรณ์ก าหนดให้คณะกรรมการฯ ชุดที่ 44 ร่วมกันชดใช้เงินคืนสหกรณ์กรณีอนุมัติเงินกู้ยืมเกินกว่าระเบียบ ก าหนด 4. ค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ที่ 23/2565 คณะกรรมการด าเนินการ ชุดที่ 44 ได้ร่วมกันชดใช้ เงินคืนสหกรณ์จ านวน 41,331 บาท กรณีพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินในการจ้างเจ้าหน้าที่ ต าแหน่งหัวหน้าฝ่าย พัฒนาองค์กรและทรัพยากรบุคคลของสหกรณ์ซึ่งปฏิบัติเป็นไปตามค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ การติดตามประเมินผลความก้าวหน้าการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 70 5. ค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ที่ 24/2565 คณะกรรมการด าเนินการ ชุดที่ 44 ได้ร่วมกันชดใช้ เงินคืนสหกรณ์จ านวน 30,000 บาท กรณีอนุมัติจ่ายเงินเยียวยาผู้จัดการสหกรณ์ซึ่งปฏิบัติเป็นไปตามค าสั่ง นายทะเบียนสหกรณ์ 2. สหกรณ์บริการโดลไทยแลนด์จ ากัด 2.1 ค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ที่ (ปข) 42/2565 และ ค าสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ที่ (ปข) 43/2565 คณะกรรมการด าเนินการได้สอบสวนข้อเท็จจริง พบว่ามีการทุจริตของเจ้าหน้าที่ 3 ราย คือ ผู้จัดการ เจ้าหน้าที่บัญชีและเจ้าหน้าที่ธุรการ ได้กระท าการทุจริตเงินหุ้น เงินฝาก และเงินกู้ของสมาชิก สหกรณ์ได้ ด าเนินการสอบทานลูกหนี้เงินกู้เจ้าหนี้เงินรับฝาก และหุ้นของสมาชิก และได้ด าเนินคดีกับอดีตเจ้าหน้าที่ สหกรณ์ทั้ง 3 ราย 6. งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับจัดสรรจากแผนปฏิบัติงานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มี ความเข้มแข็งตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ด้านงานก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์จ านวน 3,900 บาท (สามพันเก้าร้อยบาทถ้วน) ผลการใช้จ่ายงบประมาณในงานตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด เป็นเงินทั้งสิ้น 3,900 บาท (สามพันเก้าร้อยบาทถ้วน)


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 71 1. วัตถุประสงค์: 1.1 เพื่อประมวลข้อบกพร่องและข้อร้องเรียนต่าง ๆของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในความรับผิดชอบของ จังหวัด 1.2 เพื่อพิจารณาข้อบกพร่องและข้อร้องเรียนในการด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรและข้อเท็จจริง ตามข้อร้องเรียน 1.3 เพื่อพิจารณาหาแนวทางในการแก้ไขและติดตามผลการแก้ไขข้อบกพร่อง และข้อร้องเรียนเพื่อให้ได้ข้อยุติ 1.4 เพื่อก าหนดขั้นตอนพร้อมระยะเวลาแล้วเสร็จในแต่ละขั้นตอนของการจัดท าแผนงานปรับปรุงการด าเนิน กิจการของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1.5 เพื่อตรวจสอบ ดูแล และติดตามให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบด าเนินการให้เป็นไปตามแผนงานปรับปรุงการ ด าเนินกิจการของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรถภายในระยะเวลาที่ก าหนด 2. ตัวชี้วัด : กลุ่มตรวจการสหกรณ์จัดประชุมคณะท างานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการด าเนินงานของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง จ านวน 4 ครั้งซึ่งจะมีการประชุม 3 เดือนต่อครั้ง 3. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ข้อบกพร่องในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 4. ผลการด าเนินงาน : ได้ด าเนินการจัดประชุมคณะท างานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง ทุกสามเดือน และให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรรายงานผลการด าเนินงานแก้ไข ข้อบกพร่องต่าง ๆ ทุกเดือน 5. ผลส าเร็จ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์ได้น าแนวทางแก้ไขข้อบกพร่องในที่ประชุม ไปด าเนินการแก้ไขข้อบกพร่องได้ 6. งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับจัดสรรจากแผนปฏิบัติงานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 แผนงานพื้นฐานด้านการ สร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความ เข้มแข็งตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ด้านงานก ากับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์จ านวน 11,400 บาท (หนึ่งหมื่นหนึ่งพันสี่ร้อยบาทถ้วน) การประชุมคณะท างานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการด าเนินงานของสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 72 ผลการใช้จ่ายงบประมาณในการจัดประชุมคณะท างานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการด าเนินงาน ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 เป็นเงินทั้งสิ้น 11,400 บาท (หนึ่งหมื่นหนึ่งพันสี่ร้อยบาทถ้วน) 7. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ประชุมคณะท างานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ทั้งหมด 4 ครั้ง


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 73 ผลการปฏิบัติงานการช าระบัญชีในขั้นตอน สหกรณ์ 1. สหกรณ์กองทุนสวนยางร่อนทองพัฒนา จ ากัด ขั้นตอนที่ 3 ส่งงบการเงิน ณ วันรับมอบทรัพย์(งบการเงิน มาตรา 80) ให้ผู้สอบบัญชีพิจารณารับรอง 2. สหกรณ์การเกษตรชลประทานยางชุม จ ากัด ขั้นตอนที่ 10 ส่งมอบบรรดาเอกสาร หลักฐานการข าระบัญชี ให้นายทะเบียนเพื่อจัดเก็บรักษาไว้เป็นระนะเวลา 2 ปี 3. สหกรณ์การเกษตรบางสะพาน จ ากัด ขั้นตอนที่ 2 รับมอบทรัพย์สิน และจัดท างบการเงิน ณ วันรับมอบ ทรัพย์สิน 4. สหกรณ์การเกษตรสามกระทาย จ ากัด ขั้นตอนที่ 3 ส่งงบการเงิน ณ วันรับมอบทรัพย์(งบการเงินมาตรา 80) ให้ผู้สอบบัญชีพิจารณารับรอง 5. สหกรณ์ชาวประมงบ้านคลองวาฬ จ ากัด ขั้นตอนที่ 6 การจัดการทรัพย์สิน หนี้สิน ได้แล้วเสร็จ 6. สหกรณ์ชาวไร่สับปะรดบ้านส าโหรง จ ากัด ขั้นตอนที่ 6 การจัดการทรัพย์สิน หนี้สิน ได้แล้วเสร็จ 7. สหกรณ์บริการชุมชนธงชัย จ ากัด ขั้นตอนที่ 6 การจัดการทรัพย์สิน หนี้สิน ได้แล้วเสร็จ 8. สหกรณ์ประมงประจวบคีรีขันธ์จ ากัด ขั้นตอนที่ 3 ส่งงบการเงิน ณ วันรับมอบทรัพย์(งบการเงินมาตรา 80) ให้ผู้สอบบัญชีพิจารณารับรอง 9. สหกรณ์ปศุสัตว์ทับสะแก จ ากัด ขั้นตอนที่ 6 การจัดการทรัพย์สิน หนี้สิน ได้แล้วเสร็จ 10. สหกรณ์ผลิตปุ๋ยอินทรีย์การเกษตรเขตปฏิรูปที่ดิน จ ากัด ขั้นตอนที่ 3 ส่งงบการเงิน ณ วันรับมอบทรัพย์ (งบการเงินมาตรา 80) ให้ผู้สอบบัญชีพิจารณารับรอง 11. สหกรณ์สับปะรดปราณบุรีจ ากัด ขั้นตอนที่ 4 ผู้สอบบัญชีรับรองงบการเงิน ณ วันรับมอบทรัพย์สิน กลุ่มเกษตรกร 1. กลุ่มเกษตรกรท าสวนนาหูกวาง ขั้นตอนที่ 6 การจัดการทรัพย์สิน หนี้สิน ได้แล้วเสร็จ 2. กลุ่มเกษตรกรท าไร่ร่อนทอง ขั้นตอนที่ 6 การจัดการทรัพย์สิน หนี้สิน ได้แล้วเสร็จ 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์บ่อนอก ขั้นตอนที่ 6 การจัดการทรัพย์สิน หนี้สิน ได้แล้วเสร็จ 4. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์สามกระทาย ขั้นตอนที่ 3 ส่งงบการเงิน ณ วันรับมอบทรัพย์(งบการเงินมาตรา 80) ให้ผู้สอบบัญชีพิจารณารับรอง 5. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์อ่าวน้อย ขั้นตอนที่ 6 การจัดการทรัพย์สิน หนี้สิน ได้แล้วเสร็จ


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 74 มาตรฐานสหกรณ์ ที่ ประเภท จ านวนสหกรณ์ ที่ส ารวจ ไม่น ามาจัดมาตรฐาน น ามาจัด มาตรฐาน ผลการจัดมาตรฐาน ไม่ครบ 2 ปี หยุด ช าระบัญชี ผ่าน ไม่ผ่าน 1 สหกรณ์การเกษตร 37 1 9 27 6 21 2 สหกรณ์นิคม 1 1 1 3 สหกรณ์ประมง 3 2 1 1 4 สหกรณ์ออมทรัพย์ 13 13 13 5 สหกรณ์ร้านค้า 1 1 1 6 สหกรณ์บริการ 10 9 3 6 7 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 20 1 20 12 8 รวม 85 0 1 12 72 35 37 มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร ที่ ประเภทกลุ่มเกษตรกร (กลุ่ม) จ านวนทั้งหมด (กลุ่ม) น ามาจัดมาตรฐาน (กลุ่ม) ได้มาตรฐาน ต่ ากว่า มาตรฐาน (กลุ่ม) รักษา มาตรฐานเดิม ผลักดัน ให้ผ่านมาตรฐาน 1 กลุ่มเกษตรท านา 3 2 1 1 2 กลุ่มเกษตรกรท าสวน 15 14 4 1 9 3 กลุ่มเกษตรกรท าไร่ 9 8 7 1 4 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 11 8 5 1 2 5 กลุ่มเกษตรประมง 1 1 1 รวม 39 33 17 2 14


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 75


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 76 1.วัตถุประสงค์: 1. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการด าเนินธุรกิจให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตลอดห่วงโซ่อุปทาน 2. ตัวชี้วัด : 1. สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการด าเนินธุรกิจและพัฒนา องค์กร ๑ แห่ง 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการสามารถให้ผลตอบแทนแก่สมาชิกในรูปแบบเงินปันผลและ เงินเฉลี่ยคืนเพิ่มขึ้นอย่างน้อย ร้อยละ ๑ 3. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : พื้นที่ด าเนินงานโครงการ ;ชุมชนสหกรณ์โคนมภาคใต้และตะวันตก จ ากัด 4. ผลการด าเนินงาน : กิจกรรมที่ด าเนินงาน วันที่ ๑๙ – ๒0 ธันวาคม ๒๕๖๕ เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการ แก้ไขปัญหาของสหกรณ์และสร้างเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ของสหกรณ์โดยมีหัวข้อวิชาแนว ทางการพัฒนาธุรกิจและการประยุกต์ใช้นวัตกรรมทางธุรกิจขบวนการสหกรณ์ในปัจจุบัน การปรับกรอบแนวคิดด้าน ธุรกิจและวิธีการวิเคราะห์ธุรกิจโดยใช้กรณีศึกษาถอดบทเรียนเพื่อไปประยุกต์ใช้ในกิจการสหกรณ์การวิเคราะห์ สถานะปัจจุบันของธุรกิจสหกรณ์ในแต่ละประเภทสินค้า การประเมินประเด็นปัญหาการด าเนินกิจการของสหกรณ์ และแนวทางแก้ไขการจัดท าแผนพัฒนาคุณค่าทางธุรกิจสหกรณ์(Business Value Creation Plan) และก าหนดค่า เป้าหมายในการด าเนินงานของสหกรณ์ แนวทางพัฒนาธุรกิจเกษตร กลุ่มเป้าหมายคือเจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์ จังหวัด ๑ คน และตัวแทนสหกรณ์แห่งละ ๒ คน ณ โรงแรมเดอะ สอฟต์รีสอร์ท กรุงเทพมหานคร วันที่ ๓0 มีนาคม ๒๕๖๖ จัดอบรมต่อยอดเพิ่มขีดความสามารถในการด าเนินธุรกิจสหกรณ์ภายใต้โครงการ พัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการด าเนินธุรกิจให้สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรและพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตลอดห่วงโซ่อุปทาน ซึ่งมีหลักสูตรและ หัวข้อวิชา เกี่ยวกับการวางแผนการตลาดของสินค้าและการส่งเสริมการขาย ทบทวนแผนและพัฒนาต่อยอดแผนการ โครงการพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77 ตลาด และแนวทางในการเพิ่มตัวเลขผลประกอบการของกิจการ กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้แทนชุมนุมสหกรณ์โคนม ภาคใต้และตะวันตกจ ากัดจ านวน ๑๒ ราย และเจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์๕ ราย ณ ห้อง ประชุมสหกรณ์โคนมกุยบุรีจ ากัดอ าเภอกุยบุรีจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ วันที่ ๒๔ – ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๖ เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การสรุปผลการด าเนินการพัฒนา ศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน โดยมีหัวข้อวิชาการประเมินผลและขั้นตอน การปรับปรุงการด าเนินงานภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพฯ แบรนด์การตลาด และข้อจ ากัดของการพัฒนาสินค้า ของสหกรณ์สรุปผลการด าเนินงานและข้อเสนอเชิงนโยบายโครงการพัฒนาศักยภาพ ผลกรพัฒนาศักยภาพและ แผนการพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์ในอนาคต สรุปประเด็นที่ได้จากการประชุมเชิงปฏิบัติการ กลุ่มเป้าหมาย คือ เจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัด ๑ คน และตัวแทนสหกรณ์แห่งละ ๒ คน ณ โรงแรมรอยัลซิตี้ปิ่นเกล้า กรุงเทพมหานคร 5. ผลส าเร็จ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการด าเนินธุรกิจและพัฒนา องค์กร ๑ แห่ง 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการสามารถให้ผลตอบแทนแก่สมาชิกในรูปแบบเงินปันผล และเงินเฉลี่ยคืนเพิ่มขึ้นอย่างน้อย ร้อยละ ๑ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการด าเนินธุรกิจและพัฒนา องค์กร 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการสามารถให้ผลตอบแทนแก่สมาชิกในรูปแบบเงินปันผล และเงินเฉลี่ยคืนเพิ่มขึ้น 6. งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์กลุ่มเกษตรกรและธุรกิจชุมชน กิจกรรมหลักพัฒนา ศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรตลอดห่วงโซ่อุปทาน งบ ด าเนินงาน : ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุจ านวน 10,800 บาท และค่าใช้จ่ายในการจัดอบรมจ านวน 9,300 บาท รวมทั้งสิ้น 20,100 บาท (สองหมื่นหนึ่งร้อยบาทถ้วน) ผลการใช้จ่ายงบประมาณทั้งสิ้น จ านวน 20,100 บาท (สองหมื่นหนึ่งร้อยบาทถ้วน)


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 78 7. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. ชุมนุมฯ ขาดเงินทุนหมุนเวียนในการด าเนินกิจการ เนื่องจากผลประกอบการขาดทุน และเงินทุนของ สหกรณ์ส่วนใหญ่ได้มาจากการกู้ยืมจากภายนอก 2. การบริหารงานไม่เป็นระบบ ไม่กระจายอ านาจในการบริหารงาน 3. ผู้แทนที่เข้าร่วมโครงการ ไม่มีอ านาจในการตัดสินใจและร่วมขับเคลื่อนโครงการ 4. สหกรณ์หยุดด าเนินกิจการแปรรูปนมพาสเจอร์ไรส์เนื่องจากขาดคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ด าเนินงานโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ประจ าปีการศึกษา 2566 วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 ข้อ 6.1.1.2 การก าหนดปริมาณน้ านมดิบที่มีอยู่จริง ณ เดือนตุลาคมถึงธันวาคม 2565 ซึ่งชุมนุมฯ มีนมเฉลี่ย ประมาณวันละ 1 ตัน ท าให้ไม่ถึงจุดคุ้มทุนที่จะด าเนินธุรกิจ เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาของสหกรณ์และสร้างเวที แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ของสหกรณ์ระหว่างวันที่ ๑๙ – ๒0 ธันวาคม ๒๕๖๕ จัดอบรมต่อยอดเพิ่มขีดความสามารถในการด าเนินธุรกิจสหกรณ์ภายใต้โครงการพัฒนาศักยภาพการด าเนิน ธุรกิจของสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน ระหว่างวันที่ ๓0 มีนาคม ๒๕๖๖


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 79 เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การสรุปผลการด าเนินการพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน ระหว่างวันที่ วันที่ ๒๔ – ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๖


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 80 1.วัตถุประสงค์: 1 เพื่ออบรมถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี(Good Agricultural Practices: GAP) หรือเกษตรอินทรีย์ให้กับสมาชิกสหกรณ์ชาวไร่สับปะรดหัวหิน จ ากัด 2 เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์ชาวไร่สับปะรดหัวหิน จ ากัด ท าเกษตรปลอดภัยหรือเกษตรอินทรีย์ 2. ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. สหกรณ์ชาวไร่สับปะรดหัวหิน จ ากัด ส่งเสริมให้สมาชิกท าเกษตรปลอดภัย 2. สมาชิกสหกรณ์ชาวไร่สับปะรดหัวหิน จ ากัด ได้รับความรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เกษตรสมาชิกสหกรณ์ชาวไร่สับปะรดหัวหิน จ ากัด มีรายได้จากการผลิตสินค้า เกษตรปลอดภัย เพิ่มขึ้นเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 4. สมาชิกสหกรณ์ชาวไร่สับปะรดหัวหิน จ ากัด ที่เข้าร่วมโครงการ ฯ มีการยื่นขอใบรับรองมาตรฐาน การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี(GAP) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 เชิงคุณภาพ สหกรณ์ชาวไร่สับปะรดหัวหิน จ ากัด มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 3. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : สหกรณ์ชาวไร่สับปะรดหัวหิน จ ากัด 4. ผลการด าเนินงาน : 1) เจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดด าเนินการจัดท าแผนปฏิบัติงาน (Action Plan) โครงการ ฯ 2) เจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดติดต่อประสานงานการด าเนินโครงการ ฯ กับสหกรณ์ชาวไร่ สับปะรดหัวหิน จ ากัด 3) ส านักงานสหกรณ์จังหวัดจัดอบรมโครงการอบรมการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร หลักสูตร "การจัดท ามาตรฐานเกษตรปลอดภัยเพื่อขอการรับรองแบบกลุ่ม" จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (3.1) ประสานกับสหกรณ์เป้าหมายและประสานเชิญวิทยากรตามหลักสูตรที่ก าหนด (3.2) เสนอขออนุมัติโครงการต่อผู้ว่าราชการจังหวัดฯ (3.3) ด าเนินการตามโครงการที่ได้รับการอนุมัติแล้ว โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร กิจกรรมการสนับสนุนการท าการเกษตรปลอดภัยส าหรับสินค้าผัก


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 81 (3.4) ประเมินผลโครงการและรายงานผลการด าเนินการต่อผู้ว่าราชการจังหวัดฯ และรายงาน กรมส่งเสริมสหกรณ์ 4) เจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดด าเนินการ แนะน า ส่งเสริมให้สหกรณ์จัดท าฐานข้อมูลสับปะรด/ จัดท าแผนรวบรวมสับปะรดของสมาชิกที่ได้ใบรับรองมาตรฐาน GAP ปี2565 5) ส านักงานสหกรณ์จังหวัดติดตาม ประเมินผล การด าเนินธุรกิจรวบรวมและจ าหน่ายสับปะรดของ สหกรณ์ 6) เจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกสหกรณ์ชาวไร่สับปะรดหัวหิน จ ากัดปลูก ผลผลิตที่มีคุณภาพ เพื่อยื่นขอตรวจรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี(GAP) 7) เจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามตัวชี้วัดระดับกิจกรรมหลัก ที่ระบุตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 5. ผลส าเร็จ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. สหกรณ์ชาวไร่สับปะรดหัวหิน จ ากัด ส่งเสริมให้สมาชิกท าเกษตรปลอดภัย ผลสัมฤทธิ์จ านวน 34 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 2. สมาชิกสหกรณ์ชาวไร่สับปะรดหัวหิน จ ากัด ได้รับความรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลสัมฤทธิ์จ านวน 34 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 3. เกษตรสมาชิกสหกรณ์ชาวไร่สับปะรดหัวหิน จ ากัด มีรายได้จากการผลิตสินค้า เกษตรปลอดภัย เพิ่มขึ้นเฉลี่ยไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 พบว่าไม่ปรากฏผลสัมฤทธิ์อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรของ สมาชิกที่เข้ารับการอบรม - 46.97 เนื่องจากสมาชิกที่รับการอบรมส่วนใหญ่เลิกปลูกสับปะรดด้วยเหตุประสบภัย แล้ง, ชราภาพ, ปัญหาสุขภาพ, บางรายเปลี่ยนชนิดพืชที่เพาะปลูก เลิกอาชีพเกษตรกรรมเปลี่ยนเป็นให้เช่าที่ดิน บางส่วนจ าหน่ายโดยตรงกับบริษัทหรือแผงร้านค้าที่รับซื้อบริเวณหมู่บ้าน เนื่องจากไม่มียานพาหนะในการขนส่ง ซึ่งมีพื้นที่ห่างไกลจากสหกรณ์ 4. สมาชิกสหกรณ์ชาวไร่สับปะรดหัวหิน จ ากัด ที่เข้าร่วมโครงการ ฯ มีการยื่นขอ ใบรับรองมาตรฐาน การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี(GAP) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ผลสัมฤทธิ์26 ราย คิดเป็นร้อยละ 76.47 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สมาชิกสหกรณ์มีองค์ความรู้ในการผลิตผลผลิตที่ปลอดภัยและมีคุณภาพถูกต้องตามหลักวิชาการ และได้รับองค์ความรู้ด้านการรับรองการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี(Good Agricultural Practices: GAP) หรือ เกษตรอินทรีย์ 2. สหกรณ์ชาวไร่สับปะรดหัวหิน จ ากัด มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 พบว่าไม่ปรากฏผล สัมฤทธิ์ปริมาณธุรกิจด้านเกษตรปลอดภัยของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีขยายตัว - 83.05 เนื่องจากสมาชิกที่ รับการอบรมส่วนใหญ่เลิกปลูกสับปะรดด้วยเหตุประสบภัยแล้ง, ชราภาพ, สุขภาพไม่ดี,บางรายเปลี่ยนชนิดพืชที่


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 82 เพาะปลูก, เลิกอาชีพเกษตรกรรมเปลี่ยนเป็นให้เช่าที่ดิน บางส่วนจ าหน่ายโดยตรงกับบริษัทหรือแผงร้านค้าที่รับ ซื้อบริเวณหมู่บ้าน เนื่องจากไม่มียานพาหนะในการขนส่งซึ่งมีพื้นที่ห่างไกลจากสหกรณ์ 6. งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการ ยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร กิจกรรมหลักส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรองการสนับสนุนการท าการเกษตรปลอดภัยส าหรับสินค้าผักและผลไม้งบด าเนินงาน : ค่าตอบแทน ใช้ สอยและวัสดุจ านวน 4,800 บาท และค่าใช้จ่ายในการจัดอบรมจ านวน 16,200 บาท รวมทั้งสิ้น 21,000 บาท (สองหมื่นหนึ่งพันบาทถ้วน) ผลการใช้จ่ายงบประมาณทั้งสิ้น จ านวน 21,000 บาท (สองหมื่นหนึ่งพันบาทถ้วน) 7. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ด้านการตรวจรับรอง 1) สมาชิกยื่นค าขอใบรับรองแหล่งผลิต GAP พืชสับปะรด (ส าหรับกลุ่ม) ตรวจรับรองโดยศูนย์วิจัยและ พัฒนาเกษตรชุมพร จ านวน 26 ราย แบ่งเป็น 5 กลุ่มย่อย จากสมาชิกที่เข้าอบรม จ านวน 34 ราย ได้รับการ ตรวจสอบเอกสารเบื้องต้นพบว่าเอกสารประกอบแบบค าขอไม่ครบถ้วน และลักษณะของพื้นที่ไม่เหมาะกับการ ตรวจแบบกลุ่ม ศวพ.ชุมพร จึงได้แนะน าให้สหกรณ์รวบรวมเอกสารประกอบแบบค าขอให้ครบถ้วนและยื่นขอ ใบรับรองแหล่งผลิต GAP พืช (ส าหรับรายเดี่ยว) 2) สมาชิกยื่นค าขอใบรับรองแหล่งผลิต GAP พืชสับปะรด (ส าหรับรายเดี่ยว) จ านวน 7 ราย จากการติดตามพบว่าสมาชิกติดปัญหาด้านเอกสารประกอบการสมัคร ซึ่งสมาชิกบางส่วนได้เช่าที่ดิน นส.3 ในการเพาะปลูก ไม่สามารถแนบส าเนาบัตรประชาชนของผู้ให้เช่าได้ สมาชิกบางรายใช้ประโยชน์ที่ดินท ากินจาก ทางราชการ ซึ่งต้องใช้หนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ที่ดิน และการด าเนินการถ่ายส าเนาเอกสารประกอบการ สมัครอื่น ๆ สมาชิกไม่สะดวกในการด าเนินการ จึงท าให้เอกสารประกอบการสมัครไม่ครบถ้วน ในวันที่ 25 สิงหาคม 2566 สหกรณ์ได้ด าเนินการส่งแบบค าขอใบรับรองแหล่งผลิต GAP พืช (ส าหรับรายเดี่ยว) ของสมาชิกสหกรณ์ชาวไร่สับปะรดหัวหิน จ ากัด จ านวนทั้งสิ้น 3 ราย ที่มีเอกสารประกอบครบถ้วน ด้านเกษตรกรรม 1) สมาชิกบางส่วนเลิกปลูกสับปะรด เนื่องจากประสบภัยแล้ง, มีต้นทุนสูง, ค่าแรงสูง, ก าจัดวัชพืชไม่ ส าเร็จ และสับปะรดไม่ออกผลผลิต เมื่อปลูกมาเป็นระยะเวลานานหลายปี จึงเปลี่ยนเป็นให้เช่าที่ดินแทนการท า การเกษตร บางส่วนเปลี่ยนพื้นที่ไปเพาะปลูกพืชชนิดอื่น ด้านสมาชิก 1) สมาชิกเข้าสู่วัยชราภาพ บางรายประสบปัญหาสุขภาพเรื้อรัง จึงได้เลิกท าอาชีพเกษตรกรรม 2) สมาชิกบางรายไม่มีความรู้ด้านการเขียนตัวอักษร จึงไม่สามารถจัดท าการบันทึกข้อมูลประจ าฟาร์ม เพื่อบันทึกกิจกรรมการท าการเกษตรได้


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 83 3) สมาชิกไม่มีเวลาในการจัดท าการบันทึกข้อมูลประจ าฟาร์ม เนื่องจากปลูกพืชหลายชนิดหรือท างาน ประจ าอื่น ด้านการตลาด 1) มีโรงงานรับซื้อสับปะรดผลสด คือโรงงานสยามอุตสาหกรรมเกษตรอาหาร จ ากัด (มหาชน) , โรงงานเนเชอรัลฟรุต จ ากัด และบริษัทโดล ไทยแลนด์ โดยโรงงานได้มีการจัดอบรมและตรวจมาตรฐาน การสินค้าปลอดภัยส าหรับเกษตรกรที่ส่งผลผลิตให้กับโรงงาน 2) ไม่มีความแตกต่างทางด้านราคา หลังการได้รับใบรับรอง GAP รายได้ของเกษตรกรเป็นไป ตามกลไกราคาของโรงงานผู้รับซื้อผลผลิต 3) สหกรณ์รวบรวมสับปะรดจากสมาชิก ส่งโรงงานในพื้นที่ โดยราคารับซื้อกับราคาจ าหน่าย เป็นราคา เดียวกัน สหกรณ์ได้รับรายได้จากโรงงานร้อยละ 1 ซึ่งโรงงานก็รับซื้อสับปะรดจากเกษตรกรในพื้นที่ ราคา เดียวกันขึ้นอยู่กับขนาดของสับปะรด แนวทางแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ (เพื่อการปรับปรุงและพัฒนางานทั้งในระดับปฏิบัติและระดับนโยบาย) 1. ส่งเสริมให้ความรู้ด้านการเพาะปลูกสับปะรดที่มีผลสัมฤทธิ์ และวิธีการลดต้นทุนการเพาะปลูก เพื่อเพิ่มปริมาณผลผลิตของสมาชิกและเพิ่มปริมาณธุรกิจสหกรณ์ 2. น าปัญหาอุปสรรคมาวิเคราะห์เพื่อวางแผนการรวบรวมผลผลิตจากสมาชิก ผ่านระบบสหกรณ์ โครงการอบรมการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร หลักสูตร "การจัดท ามาตรฐานเกษตรปลอดภัย เพื่อขอการรับรองแบบกลุ่ม" จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สหกรณ์ชาวไร่สับปะรดหัวหิน จ ากัด วันที่ 25 มกราคม 2566 ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนต าบลหินเหล็กไฟ อ าเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์


Click to View FlipBook Version