The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงาน ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ประจำปี 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานประจำปี 2566

รายงานผลการดำเนินงาน ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ประจำปี 2566

รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 84 1.วัตถุประสงค์: 1) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาองค์ความรู้การผลิตพืชปลอดภัยของสมาชิกสหกรณ์นิคมบางสะพาน จ ากัด ให้ ไปสู่การได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP 2) เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์นิคมบางสะพาน จ ากัด มีการถ่ายทอดองค์ความรู้แบบมีส่วนร่วม ซึ่งจะก่อให้เกิดการเรียนรู้โดยธรรมชาติมีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตามหลักการสหกรณ์ 3) เพื่อส่งเสริมให้สหกรณ์นิคมบางสะพาน จ ากัด มีส่วนร่วมกับสมาชิกในการท าเกษตรปลอดภัย 2. ตัวชี้วัด : 1 จ านวนสมาชิกสหกรณ์นิคมที่เป็นกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2 สหกรณ์ส่งเสริมให้สมาชิกท าเกษตรปลอดภัย 3 สมาชิกสหกรณ์ได้รับการส่งเสริมการท าเกษตรปลอดภัยร้อยละ100 4 เกษตรกรสมาชิกมีรายได้จากการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยหรือเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้นเฉลี่ย ไม่น้อยกว่า ร้อยละ3 3. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : สหกรณ์นิคมบางสะพาน จ ากัด 4. ผลการด าเนินงาน : 1) เจ้าหน้าที่นิคมสหกรณ์บางสะพานด าเนินการจัดท าแผนปฏิบัติงาน (Action Plan) โครงการ 2) นิคมสหกรณ์บางสะพานร่วมกับสหกรณ์นิคมบางสะพาน จ ากัด จัดประชุมเพื่อชี้แจงโครงการ และหารือแนวทางการจัดท าโครงการในพื้นที่ 3) นิคมสหกรณ์บางสะพานจัดอบรมโครงการส่งเสริมการท าเกษตรปลอดภัยในเขตนิคมสหกรณ์บาง สะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ภายใต้โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตรประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (3.1) ประสานกับสหกรณ์เป้าหมายและประสานเชิญวิทยากรตามหลักสูตรที่ก าหนด (3.2) เสนอขออนุมัติโครงการต่อผู้ว่าราชการจังหวัดฯ (3.3) ด าเนินการตามโครงการที่ได้รับการอนุมัติแล้ว (3.4) ประเมินผลโครงการและรายงานผลการด าเนินการต่อผู้ว่าราชการจังหวัดฯ และรายงาน กรมส่งเสริมสหกรณ์ 4) นิคมสหกรณ์บางสะพาน แนะน าสหกรณ์นิคมบางสะพาน จ ากัด ในการรับสมัครสมาชิกเข้าร่วม โครงการ และจัดท าฐานข้อมูล 5) นิคมสหกรณ์บางสะพานร่วมกับสหกรณ์นิคมบางสะพาน จ ากัด ด าเนินการประสานหน่วยงานของ รัฐในพื้นที่ เพื่อขอบุคลากรผู้มีความรู้ความสามารถอบรมให้ความรู้ในการท าเกษตรปลอดภัย กิจกรรมการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรปลอดภัยในสถาบันเกษตรกรในเขตพื้นที่นิคมสหกรณ์


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 85 6) นิคมสหกรณ์บางสะพานร่วมกับสหกรณ์นิคมบางสะพาน จ ากัด ด าเนินการจัดอบรมสมาชิก กลุ่มเป้าหมาย 7) นิคมสหกรณ์บางสะพาน และสหกรณ์นิคมบางสะพาน จ ากัด แนะน าและผลักดันเกษตรกรสมาชิกให้ ไปสู่การได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP 8) สหกรณ์นิคมบางสะพาน จ ากัด แนะน า และให้บริการจัดหาปัจจัยการผลิต สินเชื่อการผลิตและ รวบรวมผลผลิต 9) นิคมสหกรณ์บางสะพานร่วมกับสหกรณ์นิคมบางสะพาน จ ากัด ด าเนินการติดตามเก็บข้อมูล ตามแบบรายงาน และประเมินผล 5. ผลส าเร็จ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) สมาชิกสหกรณ์นิคมบางสะพาน จ ากัด ได้รับความรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ผลสัมฤทธิ์จ านวน 20 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 2) สหกรณ์นิคมบางสะพาน จ ากัด ส่งเสริมให้สมาชิกท าเกษตรปลอดภัย 3) สมาชิกสหกรณ์นิคมบางสะพาน จ ากัด ได้รับการส่งเสริมการท าเกษตรปลอดภัย ผลสัมฤทธิ์จ านวน 20 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 4) เกษตรสมาชิกสหกรณ์นิคมบางสะพาน จ ากัด มีรายได้จากการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยหรือเกษตร อินทรีย์เพิ่มขึ้นเฉลี่ยไม่น้อยกว่า ร้อยละ 3 พบว่าไม่ปรากฏผลสัมฤทธิ์เนื่องจากสมาชิกที่รับการอบรมส่วนใหญ่ ยังเก็บผลผลิตไม่ได้ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) สมาชิกสหกรณ์มีองค์ความรู้ด้านการท าเกษตรปลอดภัย และใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติในอนาคตได้ 6. งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร กิจกรรมหลักส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร กิจกรรมรองการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรปลอดภัยในสถาบันเกษตรกรในเขตพื้นที่นิคมสหกรณ์งบ ด าเนินงาน : ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุจ านวน 5,800 บาท และค่าใช้จ่ายในการจัดอบรมจ านวน 12,800 บาท รวมทั้งสิ้น 18,600 บาท (หนึ่งหมื่นแปดพันหกร้อยบาทถ้วน) ผลการใช้จ่ายงบประมาณทั้งสิ้น จ านวน 18,600 บาท (หนึ่งหมื่นแปดพันหกร้อยบาทถ้วน)


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 86 7. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข พืชในแปลงปลูกของสมาชิกมีอายุที่ยังไม่สามารถให้ผลผลิตได้ โครงการส่งเสริมการท าเกษตรปลอดภัยในเขตนิคมสหกรณ์บางสะพาน จ.ประจวบคีรีขันธ์ภายใต้โครงการ ยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร ปี2566 สหกรณ์นิคมบางสะพาน จ ากัด วันที่ 9 มิถุนายน 2566 ณ ห้องประชุมส านักงานนิคมสหกรณ์บางสะพาน


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 87 1.วัตถุประสงค์: 1) เพื่อพัฒนาคณะกรรมการและฝ่ายจัดการของสหกรณ์ภาคการเกษตรให้มีความรู้ความสามารถและทักษะ ในการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจการเกษตรแบบมืออาชีพ 2) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการธุรกิจของสหกรณ์ด้านการผลิต (การรวบรวมและการแปรรูป) 3) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการธุรกิจของสหกรณ์ด้านการตลาด (การพัฒนาผลิตภัณฑ์การ ก าหนดราคา การเพิ่มช่องทางการจ าหน่าย และการส่งเสริมการขาย) 2. ตัวชี้วัด : 1) สหกรณ์ภาคการเกษตรได้รับการพัฒนาศักยภาพเพื่อยกระดับเป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตรจ านวน 4 แห่ง 2) ร้อยละ 90 สหกรณ์ภาคการเกษตรที่เข้าร่วมโครงการ สามารถเป็นผู้ประกอบการธุรกิจการเกษตรที่ท า หน้าที่เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการผลผลิตทางการเกษตรระดับชุมชนได้ 3. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : สหกรณ์ภาคการเกษตรที่มีความเข้มแข็งในระดับ 1 - 2 ที่มีศักยภาพและความพร้อมรองรับการพัฒนาเพื่อ ยกระดับเป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร จ านวน 4 แห่ง คือ 1) สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คประจวบคีรีขันธ์จ ากัด 2) สหกรณ์โคนมกุยบุรีจ ากัด 3) สหกรณ์โคนมบางสะพาน จ ากัด 4) สหกรณ์การเกษตรห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด 4. ผลการด าเนินงาน : กิจกรรมที่ 1 ผู้แทนสหกรณ์เป้าหมายพร้อมทั้งเจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัด เข้าร่วมอบรมหลักสูตร ธุรกิจเกษตรและการบริหารจัดการธุรกิจเกษตรแบบมืออาชีพ ภายใต้โครงการยกระดับสถาบันเกษตรกรให้เป็น ผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร ณ โรงแรมรอยัล ริเวอร์เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 17 – 19 มกราคม 2566 กิจกรรมที่2 ผู้แทนสหกรณ์เป้าหมายพร้อมทั้งเจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัด เข้าร่วมอบรมโครงการประชุม เชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “การตรวจมาตรฐานการผลิตเบื้องต้นด้วยบุคลากรของสถาบันเกษตร และเพิ่มประสิทธิภาพ โครงการยกระดับสถาบันเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการ กิจกรรมยกระดับสถาบันเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการธุรกิจ


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 88 การใช้ประโยชน์อุปกรณ์/เครื่องมือ/เครื่องจักร และการค านวณต้นทุนการผลิต” รุ่นที่ 3 ณ โรงแรมไมด้า แกรนด์ ทวารดีนครปฐม จังหวัดนครปฐม ระหว่างวันที่ 13 – 14 มิถุนายน 2566 กิจกรรมที่3การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ผลิต พร้อมจัดท าแผนบริหารจัดการสินค้าเกษตรจาก แหล่งผลิต (แปลงเกษตรกร เกษตรกรสมาชิก สถาบันเกษตรกร) เข้าสู่กระบวนการรวบรวมและแปรรูป 1) เจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดด าเนินการจัดท าแผนปฏิบัติงาน (Action Plan) โครงการ ฯ 2) เจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดติดต่อประสานงานการด าเนินโครงการ ฯ กับสหกรณ์เป้าหมาย ได้แก่ สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คประจวบคีรีขันธ์จ ากัด สหกรณ์โคนมกุยบุรีจ ากัด สหกรณ์โคนมบางสะพาน จ ากัด และสหกรณ์การเกษตรห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด 3) ส านักงานสหกรณ์จังหวัดจัดอบรมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ผลิต พร้อมทั้ง จัดท าแผนบริหารจัดการสินค้าเกษตรจากแหล่งผลิต (แปลงเกษตรกร เกษตรกรสมาชิก สถาบันเกษตรกร) เข้าสู่ กระบวนการรวบรวมและแปรรูป ภายใต้โครงการยกระดับสถาบันเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (3.1) ประสานกับสหกรณ์เป้าหมายและประสานเชิญวิทยากรตามหลักสูตรที่ก าหนด (3.2) เสนอขออนุมัติโครงการต่อผู้ว่าราชการจังหวัดฯ (3.3) ด าเนินการตามโครงการที่ได้รับการอนุมัติแล้ว (3.4) ประเมินผลโครงการและรายงานผลการด าเนินการต่อผู้ว่าราชการจังหวัดฯ และรายงานกรมส่งเสริมสหกรณ์ 4) ติดตามขับเคลื่อนโครงการยกระดับสถาบันเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร กิจกรรมที่4 ผู้แทนสหกรณ์เป้าหมายพร้อมทั้งเจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัด เข้าร่วมอบรมหลักสูตร การ ประยุกต์ใช้เครื่องมือดิจิทัลเพื่อการตลาดของสหกรณ์(Platform device and data-driven) และความรู้เกี่ยวกับการ ส่งออกสินค้าเกษตร (Zoom Meeting) ระหว่างวันที่ 15 – 17 มีนาคม 2566 กิจกรรมที่5 ผู้แทนสหกรณ์เป้าหมายพร้อมทั้งเจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัด เข้าร่วมอบรมโครงการจัด ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายการตลาดของสหกรณ์ภาคการเกษตรกับหน่วยงานภาคเอกชนหรือองค์กร อื่น รวมทั้งสหกรณ์ประเภทอื่นๆ ภายใต้โครงการยกระดับสถาบันเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร ระหว่าง วันที่8 – 10 สิงหาคม 2566 5. ผลส าเร็จ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1) สหกรณ์เป้าหมายมีแผนบริหารจัดการสินค้าเกษตรจากแหล่งผลิต จ านวน 4 แผน ได้แก่ - โครงการรวบรวมผลผลิตน้ านมดิบของสหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คประจวบคีรีขันธ์จ ากัด อย่างมีประสิทธิภาพ


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 89 - โครงการรวบรวมผลผลิตน้ านมดิบของสหกรณ์โคนมกุยบุรีจ ากัด อย่างมีประสิทธิภาพ - โครงการรวบรวมผลผลิตน้ านมดิบของสหกรณ์โคนมบางสะพาน จ ากัด อย่างมีประสิทธิภาพ - โครงการรวบรวมผลผลิตทุเรียนหมอนทองป่าละอูของสหกรณ์การเกษตรห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด อย่างมีประสิทธิภาพ 2) มีชุดข้อมูลความต้องการสินค้าเกษตร/ผลิตภัณฑ์ของหน่วยงานภาคเอกชน สหกรณ์หรือคู่ค้าอื่น ๆ 3) มีแผนการส่งเสริมอาชีพเสริมของกลุ่มอาชีพหรือกลุ่มอื่น ๆ จ านวน 4 แผน ได้แก่ - โครงการจัดการวัสดุชีวภาพในฟาร์มสมาชิกสหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คประจวบคีรีขันธ์จ ากัด - โครงการจัดการวัสดุชีวภาพในฟาร์มสมาชิกสหกรณ์โคนมกุยบุรีจ ากัด - โครงการจัดการวัสดุชีวภาพในฟาร์มสมาชิกสหกรณ์โคนมบางสะพาน จ ากัด - โครงการพัฒนาสัมมาชีพสมาชิกสหกรณ์การเกษตรห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) มีชุดข้อมูลที่มีความสมบูรณ์สามารถน าไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนการผลิตสินค้าเกษตรหรือผล ผลิตภัณฑ์ได้ 2) มีแผนการส่งเสริมอาชีพของสหกรณ์และเป็นแผนที่สหกรณ์สามารถน าไปใช้ได้จริงในการด าเนินงาน ประจ าปีพ.ศ. 2566 6. งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการ ยกระดับสถาบันเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร งบด าเนินงาน : ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ จ านวน 10,600 บาท และค่าใช้จ่ายในการจัดอบรมจ านวน 32,000 บาท รวมทั้งสิ้น 42,600 บาท (สี่หมื่นสอง พันหกร้อยบาทถ้วน) ผลการใช้จ่ายงบประมาณทั้งสิ้น จ านวน 42,600 บาท (สี่หมื่นสองพันหกร้อยบาทถ้วน) 7. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข แผนบริหารจัดการสินค้าเกษตรจากแหล่งผลิต สหกรณ์ประเภทโคนม 1) สมาชิกสหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมไม่สะดวกเข้ารับการอบรม เนื่องจากติดภารกิจในการประกอบอาชีพ ด้านการจัดการฟาร์มโคนมที่ถูกจ ากัดด้วยเวลาและไม่มีผู้ปฏิบัติแทน จึงท าให้สมาชิกรับความรู้และแสดงความ คิดเห็นได้ไม่เต็มที่ 2) การวางแผนแปรรูปน้ านมไม่สามารถท าได้ตามวัตถุประสงค์โครงการในขณะนี้เนื่องจากสหกรณ์มี ภาระผูกพันการท า MOU กับคู่ค้า และปริมาณน้ านมดิบไม่เพียงพอต่อการแปรรูป แผนการส่งเสริมอาชีพเสริมของกลุ่มอาชีพหรือกลุ่มอื่น ๆ มีข้อจ ากัดของการด าเนินการตามแผนการ สร้างอาชีพเสริมแก่สมาชิกสหกรณ์ได้แก่


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 90 สหกรณ์ประเภทโคนม : สหกรณ์ยังไม่มีความพร้อมด้านสถานที่ในการจัดเก็บมูลโค ด้านงบประมาณ ด้านบุคลากร และอุปกรณ์ การตลาด สหกรณ์การเกษตรห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด : สหกรณ์ไม่มีความสูตรส าเร็จในการท ามะนาวน้ าผึ้งร้อยเกสร ต้องได้รับความรู้จากผู้มีประสบการณ์ ถ่ายทอดขั้นตอนการท า การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ผลิต พร้อมจัดท าแผนบริหารจัดการสินค้าเกษตรจากแหล่งผลิต(แปลง เกษตรกร เกษตรกรสมาชิกสถาบันเกษตรกร) เข้าสู่กระบวนการรวบรวมและแปรรูป สหกรณ์โคนมบางสะพาน จ ากัด วันที่ 21 มีนาคม พ.ศ.2566 ณ ห้องประชุมสหกรณ์โคนมบางสะพาน จ ากัด อ าเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ผลิต พร้อมจัดท าแผนบริหารจัดการสินค้าเกษตรจากแหล่งผลิต(แปลง เกษตรกร เกษตรกรสมาชิกสถาบันเกษตรกร) เข้าสู่กระบวนการรวบรวมและแปรรูป สหกรณ์การเกษตรห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด วันที่ 22 มีนาคม พ.ศ.2566


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 91 ณ ห้องประชุมสหกรณ์การเกษตรห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด อ าเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ผลิต พร้อมจัดท าแผนบริหารจัดการสินค้าเกษตรจากแหล่งผลิต(แปลง เกษตรกร เกษตรกรสมาชิกสถาบันเกษตรกร) เข้าสู่กระบวนการรวบรวมและแปรรูป สหกรณ์โคนมไทย – เดนมาร์คประจวบคีรีขันธ์จ ากัด วันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2566 ณ ห้องประชุมสหกรณ์โคนมไทย – เดนมาร์คประจวบคีรีขันธ์จ ากัด อ าเภอปราณบุรีจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ผลิต พร้อมจัดท าแผนบริหารจัดการสินค้าเกษตรจากแหล่งผลิต(แปลง เกษตรกร เกษตรกรสมาชิกสถาบันเกษตรกร) เข้าสู่กระบวนการรวบรวมและแปรรูป สหกรณ์โคนมกุยบุรีจ ากัด วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.2566 ณ ห้องประชุมสหกรณ์โคนมกุยบุรีจ ากัด อ าเภอกุยบุรีจังหวัดประจวบคีรีขันธ์


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 92 1.วัตถุประสงค์: 1.1 เพื่อให้แปลงใหญ่มีการบริหารจัดการกลุ่มร่วมกัน การรวมกลุ่มผลิต การจ าหน่าย ตลอดห่วงโซ่ ต้นน้ า กลางน้ า ปลายน้ า เพื่อลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิต 1.2 เพื่อเพิ่มการเชื่อมโยงตลาดระหว่างผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อ ให้มีตลาดรองรับที่แน่นอน และเพิ่มช่อง ทางการจ าหน่าย 2. ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้ด้านการเชื่อมโยงตลาด และการจัดท าแผนธุรกิจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 3. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : กลุ่มเป้าหมาย : ผู้เข้าร่วมโครงการประกอบด้วย ผู้แทนแปลงใหญ่สหกรณ์จ านวน 5 ราย/แปลง จ านวน 5 แปลง รวมทั้งสิ้น 25 ราย ได้แก่ 1) แปลงใหญ่ยางพาราสหกรณ์กองทุนสวนยางบางสะพาน จ ากัด 2) แปลงใหญ่ยางพาราสหกรณ์ชาวสวนยางพาราประจวบคีรีขันธ์จ ากัด 3) แปลงใหญ่กุ้งสหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน้ าสามร้อยยอด-ปราณบุรีจ ากัด 4) แปลงใหญ่โคนมสหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด 5) แปลงใหญ่โคนมสหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คบ้านเนินดินแดง จ ากัด พื้นที่ด าเนินการงานโครงการ : ห้องประชุมส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อ าเภอเมือง จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ 4. ผลการด าเนินงาน : กิจกรรมที่ด าเนินงาน 1. ติดต่อประสานงานการด าเนินโครงการฯ กับแปลงใหญ่สหกรณ์เป้าหมาย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งประสานกับวิทยากรที่เชี่ยวชาญในหัวข้อที่ก าหนดไว้ 2. จัดการอบรมโครงการประชุมการบริหารจัดการร่วมกันตลอดห่วงโซ่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ให้ความรู้กับสมาชิกแปลงใหญ่สหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2566 โดยการบรรยายให้ความรู้ในหัวข้อการเชื่อมโยงตลาด และการจัดท าแผนธุรกิจ โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ โครงการประชุมการบริหารจัดการร่วมกันตลอดห่วงโซ่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 93 3. ติดตาม และรายงานผล ผลส าเร็จจากการด าเนินงาน แปลงใหญ่สหกรณ์มีการบริหารจัดการกลุ่มร่วมกัน การรวมกลุ่มผลิต การจ าหน่าย ตลอดห่วงโซ่ต้นน้ า กลางน้ า ปลายน้ า เพื่อลดต้นทุนการผลิต เพิ่มผลผลิต เพิ่มการเชื่อมโยงตลาดระหว่างผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อ ให้มีตลาดรองรับที่แน่นอน และเพิ่มช่องทางการจ าหน่าย 5. ผลส าเร็จ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับความรู้ด้านการเชื่อมโยงตลาด และการจัดท า แผนธุรกิจ ไม่น้อย กว่าร้อยละ 70 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้และความเข้าใจด้านการเชื่อมโยงตลาดและการจัดท า แผนธุรกิจน าไปใช้เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการบริหารการจัดการและการแข่งขันของสินค้าเกษตร สามารถ เชื่อมโยงตลาดระหว่างผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อ และเพิ่มช่องทางการจ าหน่าย 6. งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการ ระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ กิจกรรมหลักส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ในสถาบันเกษตรกร งบ ด าเนินงาน : ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ เป็นค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมบริหารจัดการร่วมกัน ตลอดห่วงโซ่ รวมทั้งสิ้น 5,5๐๐ บาท (ห้าพันห้าร้อยบาทถ้วน) ผลการใช้จ่ายงบประมาณทั้งสิ้น จ านวน 5,500 บาท (ห้าพันห้าร้อยบาทถ้วน) 7. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข สมาชิกแปลงใหญ่ซึ่งเป็นเกษตรกร ไม่สะดวกเข้ารับการอบรม เนื่องจากติดภารกิจ ในการประกอบอาชีพ บาง รายแจ้งว่าเนื้อหาในการอบรมไม่ตรงกับความต้องการของสมาชิกส่วนใหญ่ เนื่องจากเป้าหมายแปลงใหญ่ที่กรม ก าหนดมีความหลากหลายทางสินค้า ท าให้การจัดหลักสูตรอบรมค่อนข้างยากที่จะท าให้ครอบคลุมทุกกลุ่มแปลง ใหญ่เป้าหมายได้ จัดประชุมโครงการประชุมการบริหารจัดการร่วมกันตลอดห่วงโซ่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2566 ณ ห้องประชุมส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์อ าเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 94 1.วัตถุประสงค์: 1.1 เพื่อให้แปลงใหญ่มีการบริหารจัดการกลุ่มร่วมกัน การรวมกลุ่มผลิต การจ าหน่าย ตลอดห่วงโซ่ ต้นน้ า กลางน้ า ปลายน้ า เพื่อลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิต 1.2 เพื่อเพิ่มการเชื่อมโยงตลาดระหว่างผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อ ให้มีตลาดรองรับที่แน่นอน และเพิ่มช่อง ทางการจ าหน่าย 2. ตัวชี้วัด : แปลงใหญ่เป้าหมายมีการบริหารจัดการกลุ่มร่วมกัน การรวมกลุ่มผลิต การจ าหน่าย ตลอดห่วงโซ่ ต้นน้ า กลางน้ า ปลายน้ า เพื่อลดต้นทุนการผลิต เพิ่มผลผลิต เพิ่มการเชื่อมโยงตลาดระหว่างผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อ ให้มีตลาดรองรับที่แน่นอน และเพิ่มช่องทางการจ าหน่าย 3. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : กลุ่มเป้าหมาย : แปลงใหญ่ที่สังกัดสหกรณ์จ านวน 5 แปลง และแปลงใหญ่ที่จัดตั้งปี2564 จ านวน 14 แปลง ได้แก่ 1) แปลงใหญ่ยางพาราสหกรณ์ชาวสวนยางพาราประจวบคีรีขันธ์จ ากัด 2) แปลงใหญ่กุ้งสหกรณ์ผู้เลี้ยงกุ้งลุ่มน้ าสามร้อยยอด-ปราณบุรีจ ากัด 3) แปลงใหญ่โคนมสหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด 4) แปลงใหญ่โคนมสหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คบ้านเนินดินแดง จ ากัด 5) แปลงใหญ่ยางพาราสหกรณ์กองทุนสวนยางบางสะพาน จ ากัด (แปลงปี2564) 6) แปลงใหญ่ทุเรียนเขาจ้าว 7) แปลงใหญ่เกษตรกรผู้เลี้ยงแพะบ้านนิคมประจวบคีรีขันธ์ 8) แปลงใหญ่มะพร้าวห้วยยาง 9) แปลงใหญ่สับปะรดอ าเภอปราณบุรี 10) แปลงใหญ่กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกขนุนเพื่อการส่งออกอ่าวน้อย 11) แปลงใหญ่มะพร้าวคลองวาฬ 12) แปลงใหญ่สับปะรดบ้านต้นเกตุ 13) แปลงใหญ่ขนุนต าบลบึงนคร 14) แปลงใหญ่ขนุนต าบลหาดขาม 15) แปลงใหญ่มะพร้าวบ้านกลางดง 16) แปลงใหญ่ปาล์มน้ ามันกุยบุรี 17) แปลงใหญ่ข้าวปราณบุรี 18) แปลงใหญ่วิสาหกิจชุมชนผู้เลี้ยงแพะ-แกะ บางสะพานน้อย กิจกรรมแนะน า ส่งเสริม ก ากับติดตามกลุ่มเป้าหมายภายใต้โครงการ และกิจกรรมสนับสนุนให้มีการ เชื่อมโยงตลาด/เครือข่ายระหว่างผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อ ในแปลงที่จัดตั้งปี2564 เกษตรและผลไม้


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 95 พื้นที่ด าเนินการงานโครงการ : แปลงใหญ่ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 4. ผลการด าเนินงาน : กิจกรรมที่ด าเนินงาน 1. ติดต่อประสานงานหน่วยงานหลักที่ก ากับดูแลแปลงใหญ่เป้าหมายเพื่อบูรณาการร่วมกัน โดยได้เข้า ไปส ารวจและจัดท าข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับพื้นที่แปลงใหญ่ รวมถึงข้อมูลการตลาด ส่งเสริมการรวมกลุ่มของ เกษตรกรในพื้นที่แปลงใหญ่ เพื่อด าเนินการเกี่ยวกับการลดต้นทุนการผลิต การจัดหาปัจจัยการผลิต ปัจจัย การตลาด การเข้าถึงแหล่งเงินทุนฯ การจัดจ าหน่าย สินค้าเกษตร ฯลฯ บูรณาการในเรื่องของตลาด การ เสนอแนะเชื่อมโยงตลาดในสินค้าประเภทเดียวกัน ส่งเสริมการรวมกันซื้อ รวมกันขาย และการบริหารจัดการใน รูปแบบกลุ่ม 2. เข้าร่วมประชุมเชื่อมโยงการด าเนินงานกับคณะกรรมการเครือข่ายศูนย์การเรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตรกร (ศพก.) และแปลงใหญ่ ระดับจังหวัด เพื่อร่วมกันให้ข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อการ ขับเคลื่อนเชื่อมโยงการด าเนินงานของระบบส่งเสริมเกษตร แบบแปลงใหญ่และศูนย์การเรียนรู้การเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) โดยได้ร่วมกันวิเคราะห์สถานการณ์การผลิตสินค้าเกษตร แต่ละ ประเภท ในส่วนของส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์มีภารกิจในการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการ เชื่อมโยงตลาดและส่งเสริมด้านการตลาดให้กับแปลงใหญ่ที่จัดตั้งในปีพ.ศ. 2564 จ านวน 14 แปลง และ รายงานผลการด าเนินตามภารกิจของส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งประสานงาน ในส่วนที่ต้องด าเนินการร่วมกันกับหน่วยงานอื่น 3. เข้าร่วมกับคณะท างานระดับจังหวัด ในการตัดสินการประกวดแปลงใหญ่ดีเด่น ระดับจังหวัด ประจ าปี2566 บูรณาการร่วมกับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ภายในจังหวัด แนะน า ส่งเสริม ติดตามการด าเนินงานของแปลงใหญ่และติดตามข้อมูลด้านการตลาดในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของส านักงาน สหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 4. เข้าร่วมประชุมเชื่อมโยงด้านตลาด กิจกรรมส่งเสริมและเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวเจ้าพื้นนุ่มคุณภาพ ดีภายใต้โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ โดยศูนย์วิจัยข้าวราชบุรีได้เชิญผู้แทน แปลงใหญ่ข้าวบ้าน ห้วยขวาง อ าเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์แปลงใหญ่ ท านาข้าวต าบลดอนยายหนูอ าเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์พาณิชย์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ผู้แทนจากโรงสีหนองตาแต้ม และผู้แทนจากส านักงาน สหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพื่อร่วมกันเชื่อมโยงตลาด ผู้ประกอบการ และเกษตรกรในการจัดท าพันธะ สัญญา หรือจับคู่ธุรกิจ เพื่อเชื่อมโยงตลาดและเงินทุนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงเพื่อเปิดช่องทางการ จ าหน่ายเมล็ดพันธุ์ข้าว และข้าวเปลือกคุณภาพดีโดยได้ร่วมกันวิเคราะห์ความต้องการของผู้ประกอบการว่าข้าว พันธุ์ใด เป็นที่ต้องการของตลาด เพื่อจะได้บทสรุปให้เกษตรกรได้น าไปใช้เป็นแนวทางในการลงข้าวในฤดูกาล เพาะปลูกครั้งใหม่ ทั้งนี้ได้ให้ข้อคิดเห็นเพื่อจะประสานในการเชื่อมโยงตลาดกับสหกรณ์การเกษตรโรงสีข้าว พระราชทานอ่าวน้อย จ ากัด เพื่อเป็นการลดต้นทุนให้กับสหกรณ์ฯ และเพื่อเป็นการเสนอช่องทางตลาดใหม่ ให้กับกลุ่มแปลงใหญ่ในอนาคตต่อไป


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 96 5. ติดตามข้อมูลและรายงานผลตามแบบที่กรมก าหนด ผลส าเร็จจากการด าเนินงาน แปลงใหญ่เป้าหมายมีการบริหารจัดการกลุ่มร่วมกัน การรวมกลุ่มผลิต การจ าหน่าย ตลอดห่วงโซ่ ต้น น้ า กลางน้ า ปลายน้ า เพื่อลดต้นทุนการผลิต เพิ่มผลผลิต เพิ่มการเชื่อมโยงตลาดระหว่างผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ ซื้อให้มีตลาดรองรับที่แน่นอน และเพิ่มช่องทางการจ าหน่าย 5. ผลส าเร็จ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ แปลงใหญ่ได้รับการสนับสนุนให้มีการเชื่อมโยงตลาด/เครือข่ายระหว่างผู้ผลิตแปลงใหญ่ และผู้ซื้อ ในแปลงที่จัดตั้งปี2564 จ านวน 14 แปลง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ แปลงใหญ่ได้รับการส ารวจและจัดท าข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับพื้นที่ แปลงใหญ่ รวมถึง ข้อมูลการตลาด ส่งเสริมการรวมกลุ่มของเกษตรกรในพื้นที่แปลงใหญ่ เพื่อด าเนินการเกี่ยวกับการลดต้นทุนการ ผลิต การจัดหาปัจจัยการผลิต ปัจจัยการตลาด การเข้าถึงแหล่งเงินทุนฯ การจัดจ าหน่ายสินค้าเกษตร ฯลฯ 6. งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการ ระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ กิจกรรมหลักส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ในสถาบันเกษตรกร งบ ด าเนินงาน : ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ เป็นค่าใช้จ่ายในการแนะน า ส่งเสริม ก ากับ ติดตามกลุ่มเป้าหมาย ภายใต้โครงการ รวมทั้งสิ้น 10,600 บาท (หนึ่งหมื่นหกร้อยบาทถ้วน) ผลการใช้จ่ายงบประมาณทั้งสิ้น 10,600 บาท (หนึ่งหมื่นหกร้อยบาทถ้วน) 7. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1) การตลาดของแปลงใหญ่จะด าเนินการรูปแบบต่างคนต่างขาย ไม่ได้ด าเนินการในรูปแบบกลุ่ม จะมีเพียง บางกลุ่มเท่านั้นที่ด าเนินการรวมกันขาย 2) ตลาดของแปลงใหญ่ส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับเอกชน หรือพ่อค้าคนกลางในการรับซื้อ ท าให้ไม่มีอ านาจต่อรอง ราคาได้ 3) การซื้อขายสินค้าบางประเภท เช่น เนื้อแพะ ยังอยู่ภายใต้การควบคุมของกฎหมาย ไม่สามารถจะช าแหละ ขายได้เอง ท าได้เพียงขายทั้งตัวให้กับพ่อค้าที่มารับซื้อเท่านั้น ซึ่งเวลาและราคามีความผันผวน หากไม่ได้ขนาด ตามที่พ่อค้าต้องการก็จะถูกกดราคา ผู้รับซื้อมีเพียงไม่กี่ราย ท าให้ราคาขึ้นอยู่กับพ่อค้าคนกลาง กิจกรรมแนะน า ส่งเสริม ก ากับติดตามกลุ่มเป้าหมายภายใต้โครงการ และกิจกรรมสนับสนุนให้มีการเชื่อมโยง ตลาด/เครือข่ายระหว่างผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อ ในแปลงที่จัดตั้งปี2564 ปีงบประมาณ พ.ศ.2566


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 97 1.วัตถุประสงค์: 1. พัฒนาความรู้เกษตรกรด้านการพัฒนากระบวนการแปรรูปผลผลิตเพื่อเพิ่มมูลค่า 2. สร้างเครือข่ายตลาดแปรรูปสินค้าเกษตรให้กับสถาบันเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง 3. เชื่อมโยงเครือข่ายตลาดแปรรูปสินค้าเกษตรให้กับสถาบันเกษตรกร 2. ตัวชี้วัด : 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนด้านการแปรรูปผลผลิต จ านวน 2 แห่ง 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีมูลค่าการจ าหน่ายสินค้า/ผลิตภัณฑ์แปรรูปเพิ่มขึ้นไม่น้อย กว่าร้อยละ 10 3. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : 1. ชุมนุมสหกรณ์โคนมภาคใต้และตะวันตก จ ากัด 2. สหกรณ์โคนมไทย – เดนมาร์คห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด 4. ผลการด าเนินงาน : 1. ติดต่อประสานงานการด าเนินโครงการฯ กับสหกรณ์เป้าหมาย 2 แห่ง 2. เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ “การส่งเสริมแปรรูปสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ระหว่างวันที่ 29 –30 มิถุนายน 2566 โดยการบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการธุรกิจแปรรูปสินค้าเกษตร การ วิเคราะห์สภาพปัญหาของสินค้าแปรรูปและการจัดท าแผนเชื่อมโยงเครือข่ายสินค้าแปรรูป 3. ติดตามและรายงานผล - 5. ผลส าเร็จ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนด้านการแปรรูปผลผลิต จ านวน 2 แห่ง 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีมูลค่าการจ าหน่ายสินค้า/ผลิตภัณฑ์แปรรูปเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์มีองค์ความรู้ด้านการพัฒนาการกระบวนการแปรรูปผลผลิตเพื่อเพิ่มมูลค่าและการสร้าง เครือข่ายตลาดแปรรูปสินค้าเกษตรให้กับสถาบันเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง โครงการส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตร


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 98 6. งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการ ส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตร กิจกรรมหลัก ส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตรในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร งบ ด าเนินงาน : ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุที่ได้รับ จ านวน 14,600 บาท ผลการใช้จ่ายงบประมาณทั้งสิ้น จ านวน 7,280 บาท (เจ็ดพันสองร้อยแปดสิบบาท) คงเหลือส่งคืนกรมส่งเสริมสหกรณ์จ านวน 7,320 บาท เนื่องจากผล การด าเนินงานของสหกรณ์กลุ่มเป้าหมายไม่สามารถขับเคลื่อนให้เป็นไปตามโครงการได้ 7. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ชุมนุมสหกรณ์โคนมภาคใต้และตะวันตก จ ากัด 1. หยุดด าเนินการธุรกิจแปรรูปน้ านมดิบและอยู่ในระหว่างการฟื้นฟูกิจการ 2. ปริมาณน้ านมดิบไม่เพียงพอในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ 3. ยังไม่ผ่าน อย. และมาตรฐานโรงงาน (GMP) ที่ครอบคลุมผลิตภัณฑ์ สหกรณ์โคนมไทย – เดนมาร์คห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด 1. ยังไม่ผ่าน อย.และมาตรฐานโรงงาน (GMP) ที่ครอบคลุมผลิตภัณฑ์ 2. สูตรยังไม่นิ่งอยู่ในระหว่างการพัฒนาสินค้า ติดต่อประสานงานการด าเนินโครงการฯ กับสหกรณ์กลุ่มเป้าหมาย 2 แห่ง คือ 1.ชุมนุมสหกรณ์โคนมภาคใต้และตะวันตก จ ากัด 2. สหกรณ์โคนมไทย – เดนมาร์คห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 99 เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ “การส่งเสริมแปรรูปสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ระหว่างวันที่29 –30 มิถุนายน 2566 ณ โรงแรมเอส ดีอเวนิว เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 100 1.วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อเพิ่มช่องทางการตลาด และสร้างการรับรู้สินค้าพื้นถิ่น หรือสินค้า GI (Geographical Indications) 1.2 เพื่อพัฒนาสถาบันเกษตรกร ผู้ผลิต/รวบรวม/แปรรูปสินค้าพื้นถิ่น หรือสินค้า GI ให้มีความพร้อมในการ ท าการตลาดเชิงรุก 2. ตัวชี้วัด 2.1 สถาบันเกษตรกร ผู้ผลิต/รวบรวม/แปรรูปสินค้าหม่อนไหม สามารถช่องทางการตลาด หรือสื่อ ประชาสัมพันธ์สินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น หรือสินค้า GI จ านวน 1 แห่ง 2.2 สถาบันเกษตรกร ผู้ผลิต/รวบรวม/แปรรูปสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่นมีเครือข่ายเชื่อมโยงสินค้า และมี ช่องทางการจ าหน่ายเพิ่มมากขึ้น จ านวน 1 แห่ง 2.3 สินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่นมีมูลค่าเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 3. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ กลุ่มอาชีพสตรีสหกรณ์ผู้ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ในสังกัดสหกรณ์การเกษตรหมู่บ้านรวมไทย จ ากัด ต าบลหาด ขาม อ าเภอกุยบุรีจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 4. ผลการด าเนินงาน : ได้จัดท าโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยด าเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดท าแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์ แผนการตลาด/การเพิ่มช่องทางการจ าหน่าย เมื่อวันที่ 30 – 31 มกราคม 2566 และวันที่ 15 – 17 กุมภาพันธ์ 2566 ณ ห้องประชุมสหกรณ์การเกษตรหมู่บ้านรวมไทย จ ากัด งบประมาณ 66,000 บาท และด าเนินการจัด ประชุมเชิงปฏิบัติการน าเสนอผลส าเร็จและเชื่อมโยงเพื่อขยายเครือข่าย เมื่อวันที่ 27 – 29 มีนาคม 2566 ณ ห้องประชุมสหกรณ์การเกษตรหมู่บ้านรวมไทย จ ากัด งบประมาณ 39,600 บาท และจัดท าบรรจุภัณฑ์ของ ผลิตภัณฑ์ชาใบหม่อน จ านวน 800 ใบ และผลิตภัณฑ์สบู่โปรตีนไหม จ านวน 625 ใบ งบประมาณ 20,000 บาท 5. ผลส าเร็จ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - กลุ่มอาชีพสตรีสหกรณ์ผู้ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม สามารถสร้างช่องทางการตลาดสินค้าเกษตรอัตลักษณ์ พื้นถิ่น จ านวน 1 แห่ง - กลุ่มอาชีพสตรีสหกรณ์ผู้ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม มีเครือข่ายเชื่อมโยงสินค้า และมีช่องทางการจ าหน่าย เพิ่มมากขึ้น จ านวน 1 แห่ง - สินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่นมีมูลค่าเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 โครงการส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 101 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - กลุ่มอาชีพสตรีสหกรณ์ผู้ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม สามารถสร้างมูลค่าเพิ่ม สร้างการรับรู้และเข้าถึงความ ต้องการของตลาด - กลุ่มอาชีพสตรีสหกรณ์ผู้ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ได้รับการพัฒนาบรรจุภัณฑ์สินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น 6. งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรอัต ลักษณ์พื้นถิ่นในสถาบันเกษตรกร งบด าเนินงาน : ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุที่ได้รับ จ านวน 140,000 บาท ผลการใช้จ่ายงบประมาณทั้งสิ้น จ านวน 140,000 บาท (หนึ่งแสนสี่หมื่นบาทถ้วน) 7. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข -


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 102 จัดอบรมถ่ายทอดองค์ความรู้โดยใช้วิทยากรจากทั้งทางภาครัฐและเอกชน ด้วยการจัดประชุม เชิงปฏิบัติการจัดท าแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์แผนการตลาด/การเพิ่มช่องทางการจ าหน่าย และจัดประชุม เชิงปฏิบัติการน าเสนอผลส าเร็จและเชื่อมโยงเพื่อขยายเครือข่าย จัดท าบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ชาใบหม่อน จ านวน 800 ใบ และผลิตภัณฑ์สบู่โปรตีนไหม จ านวน 625 ใบ


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 103


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 104 ▶ ความเป็นมา ด้วยกรมส่งเสริมสหกรณ์มีนโยบายในการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โดยจัดท า โครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรด้วยระบบสหกรณ์เพื่อช่วย บรรเทาภาระหนี้สินดังกล่าวของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โดยส่งเสริมและสนับสนุนสมาชิกสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรให้มีองค์ความรู้ในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้มีความสามารถในการบริหารจัดการ หนี้สินของตนเอง โดยผ่านกลไกการให้บริการของสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกรที่สมาชิกสังกัด รวมทั้งส่งเสริมให้ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการบริหารจัดการสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งในปัจจุบันประเทศไทยได้รับผลกระทบ จากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรค COVID-19 ที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งปัญหาหนี้ ครัวเรือนอยู่ในระดับที่น่ากังวล โดยสัดส่วนหนี้ครัวเรือนต่อ GDP อยู่ร้อยละ 78.6 ของผลิตภัณฑ์มวลรวม ประชาชาติ(GDP) ในปี2561 และเมื่อสิ้นปี2563 หนี้สินของครัวเรือนไทยเมื่อเทียบกับ GDP อยู่ที่ร้อยละ 89.3 และยังมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นจากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลง รวมถึงปัญหาภัยธรรมชาติ ที่ก าลังเผชิญอยู่ ซึ่งสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรรวมทั้งสมาชิกทั่วประเทศก็ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ดังกล่าวด้วย ส่งผลให้ ไม่มีรายได้เพียงพอในการช าระหนี้ประสบปัญหาภาวะหนี้สินตนเองและครัวเรือน ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จึงได้จัดโครงการแก้ไขปัญหาหนี้และพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิก/ กลุ่มเกษตรกรด้วยระบบสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เพื่อสร้างการรับรู้และความเข้าใจให้ กรรมการ ฝ่ายจัดการและทีมปฏิบัติการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในการด าเนินโครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินและ พัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรด้วยระบบสหกรณ์และเพื่อเสริมสร้างความรู้ในการบริหารจัดการ สินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ การแก้ปัญหาหนี้ค้างช าระและการส่งเสริมอาชีพเพื่อสร้างรายได้ให้แก่สมาชิก ป้องกันปัญหา การเกิดหนี้ค้างช าระของสหกรณ์ รวมทั้งสามารถขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสมาชิกสหกรณ์ให้ลด จ านวนหนี้ค้างลงต่อไป ▶ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการบริหารจัดการสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความสามารถในการบริหารจัดการหนี้ตนเองได้ 3. เพื่อเสริมสร้างรายได้ให้แก่สมาชิก โดยผ่านกลไกการให้บริการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ▶ ระยะเวลาด าเนินงาน ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2565 – ถึงวันที่ 30 กันยายน 2566 ▶ เป้าหมาย สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรด้วย ระบบสหกรณ์จ านวน 11 แห่ง ดังนี้ 1. สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คอ่าวน้อย จ ากัด โครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ด้วยระบบสหกรณ์


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 105 2. สหกรณ์โคนมกุยบุรีจ ากัด 3. สหกรณ์ชาวไร่หนองปุหลก จ ากัด 3. สหกรณ์การเกษตรหนองพลับรุ่งเรือง จ ากัด 4. สหกรณ์การเกษตรปราณบุรีจ ากัด 5. สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คประจวบคีรีขันธ์จ ากัด 6. สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด 7. สหกรณ์ชาวไร่สับปะรดหัวหิน จ ากัด 8. กลุ่มเกษตรกรท าสวนทับสะแก 9. กลุ่มเกษตรกรท าสวนเขาล้าน 10. กลุ่มเกษตรกรท าสวนร่อนทอง ▶ ตัวชี้วัด 1. จ านวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้ผิดนัดช าระ หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ได้รับการส่งเสริมให้มีการ บริหารจัดการสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ จ านวน 11 แห่ง 2. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการมีภาระหนี้ค้างลดลงเฉลี่ยร้อยละ 10 ▶ กิจกรรม/งานที่ด าเนินการ 1. แต่งตั้งคณะท างานแก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร อ านาจหน้าที่คัดเลือกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ วางแผนการขับเคลื่อนโครงการ แต่งตั้ง ทีมส่งเสริมการแก้ไขปัญหาหนี้(ทีมโค้ช) และติดตามความก้าวหน้าการด าเนินงานโครงการแก้ไขปัญหาหนี้สิน และพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรด้วยระบบสหกรณ์ 2. คณะทีมส่งเสริมการแก้ปัญหาหนี้(ทีมโค้ช) มี3 ทีม ประกอบด้วย 2.1 คณะทีมส่งเสริมการแก้ปัญหาหนี้(ทีมโค้ช 1) กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์1 2.2 คณะทีมส่งเสริมการแก้ปัญหาหนี้(ทีมโค้ช 2) กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์2 2.3 คณะทีมส่งเสริมการแก้ปัญหาหนี้(ทีมโค้ช 3) กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์3 หน้าที่ของทีมโค้ช - ด าเนินการร่วมกับทีมปฏิบัติการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในการวิเคราะห์และจัดท าแผนการ เพิ่มประสิทธิภาพการด าเนินธุรกิจสินเชื่อของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร (แผนป้องกันการเกิดหนี้ซ้ า) แผนการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร รวมทั้งแผนส่งเสริมอาชีพเพื่อ เสริมสร้างคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน - ด าเนินการร่วมกับทีมปฏิบัติการของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อขับเคลื่อนแผนหรือ น าแผนไปสู่ การปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม - ติดตามความก้าวหน้าการด าเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และให้ข้อเสนอแนะในที่ประชุม คณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป็นประจ าทุกเดือน


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 106 - รายงานผลการด าเนินงานให้คณะท างานแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรทราบเป็นประจ าทุกเดือน 3. ทีมปฏิบัติการ หรือทีมปฏิบัติงาน ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร แต่งตั้งทุกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่เป็นเป้าหมายการส่งเสริมแก้ไขปัญหาหนี้และพัฒนาคุณภาพชีวิต คณะท างาน ประกอบด้วย กรรมการ, ฝ่ายจัดการ, เจ้าหน้าที่สินเชื่อ หน้าที่ของทีมปฏิบัติงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร - จัดเก็บข้อมูลลูกหนี้รายบุคคลและจ าแนกลูกหนี้ตามอายุหนี้ - วิเคราะห์สถานภาพลูกหนี้จัดกลุ่มลูกหนี้ตามศักยภาพ เพื่อก าหนดแนวทาง แก้ไขปัญหาหนี้ตาม กลุ่มลูกหนี้ - จัดท าแผนการเพิ่มประสิทธิภาพการด าเนินธุรกิจสินเชื่อของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร (แผนป้องกัน การเกิดหนี้ซ้ า) แผนการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร รวมทั้งแผนส่งเสริมอาชีพ เพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน - จัดท าแผนการปฏิบัติงาน (Action Plan) เพื่อขับเคลื่อนแผนต่างๆ และมอบหมาย ผู้รับผิดชอบ และด าเนินการตามแผนที่ก าหนด - ประเมินและสรุปผลความก้าวหน้าการด าเนินการตามแผนที่ก าหนด เพื่อเสนอที่ประชุม คณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป็นประจ าทุกเดือน ▶ ประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการสามารถบริหารจัดการหนี้ค้างช าระได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีหนี้ค้างช าระลดลง จัดประชุมโครงการเชิงปฏิบัติการแก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรด้วย ระบบสหกรณ์ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 107 ทีมโค้ชประชุมทีมปฏิบัติการแก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 108


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 109 1.วัตถุประสงค์: เพื่อให้สหกรณ์น าแผนพัฒนาและยกระดับสหกรณ์ มาใช้พัฒนายกระดับสหกรณ์ให้มีความเข้มแข็งยั่งยืน สร้างการมีส่วนร่วม แลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้จากหน่วยงานภาครัฐในการพัฒนาสหกรณ์ให้ขับเคลื่อน สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อทบทวน/ปรับปรุง แผนกลยุทธ์การพัฒนาสหกรณ์ให้มีความครอบคลุม ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบันที่มีการ เปลี่ยนแปลง และสามารถสร้างความเข้มแข็งให้สหกรณ์แข่งขันกับตลาดได้ 2. ตัวชี้วัด : สหกรณ์ด าเนินงานผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น ร้อยละ3 สหกรณ์มีความเข้มแข็งในระดับ 1 และระดับ 2 เป็นอย่างน้อย 3. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : สหกรณ์ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริสหกรณ์ละ 20 คน ประกอบด้วย กรรมการสหกรณ์ ดังนี้ (1) โครงการโรงสีข้าวพระราชทานอ่าวน้อย อันเนื่องมาจากพระราชด าริจ านวน ๑ สหกรณ์คือ สหกรณ์การเกษตรโรงสีข้าวพระราชทานอ่าวน้อย จ ากัด อ าเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ (2) โครงการจัดพัฒนาที่ดินฯ ตามพระราชประสงค์หนองพลับ-กลัดหลวง จ านวน ๑ สหกรณ์คือ สหกรณ์การเกษตรหนองพลับรุ่งเรือง จ ากัด อ าเภอหัวหิน (3) โครงการหมู่บ้านสหกรณ์ห้วยสัตว์ใหญ่ ป่าเด็ง-ป่าละอูต าบลห้วยสัตว์ใหญ่ อ าเภอหัวหิน จ านวน 2 สหกรณ์ดังนี้ 3.1 สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด 3.2 สหกรณ์การเกษตรห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด 4. ผลการด าเนินงาน : ด าเนินการจัดประชุมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อร่วมกันจัดท า/ทบทวนแผนกลยุทธ์การพัฒนาสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จ านวน 4 รุ่น เรียบร้อยแล้ว ดังนี้ รุ่นที่ 1 ด าเนินการที่สหกรณ์การเกษตรห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด เมื่อ่วันที่ 23 ธันวาคม 2565 ณ ห้องประชุมของ สหกรณ์การเกษตรห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด ต าบลห้วยสัตว์ใหญ่อ าเภอหัวหิน โครงการส่งเสริมการสหกรณ์ตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อร่วมกันจัดท า/ทบทวนแผนกลยุทธ์การพัฒนาสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 110 รุ่นที่2ด าเนินการที่สหกรณ์การเกษตรหนองพลับรุ่งเรือง จ ากัด เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2565 ณ ห้องประชุม ของสหกรณ์การเกษตรหนองพลับรุ่งเรือง จ ากัดต าบลหนองพลับ อ าเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รุ่นที่ 3 ด าเนินการที่สหกรณ์การเกษตรโรงสีข้าวพระราชทานอ่าวน้อย จ ากัด เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2565 ณ ห้องประชุมของสหกรณ์การเกษตรโรงสีข้าวพระราชทานอ่าวน้อย จ ากัด ต าบลอ่าวน้อยอ าเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ รุ่นที่ 4 ด าเนินการที่สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2565 ณ ห้อง ประชุมของสหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด ต าบลห้วยสัตว์ใหญ่ อ าเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ 5. ผลส าเร็จ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ รุ่นที่1 ด าเนินการที่สหกรณ์การเกษตรห้วยสัตว์ใหญ่จ ากัดเมื่อวันที่23 ธันวาคม 2565 จ านวน 23 ราย รุ่นที่ ๒ ด าเนินการที่สหกรณ์การเกษตรหนองพลับรุ่งเรือง จ ากัด เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2565 จ านวน 22 ราย รุ่นที่3 ด าเนินการที่สหกรณ์การเกษตรโรงสีข้าวพระราชทานอ่าวน้อย จ ากัดเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2565 จ านวน 24 ราย รุ่นที่ 4 ด าเนินการที่สหกรณ์โคนมไทย-เดนมาร์คห้วยสัตว์ใหญ่ จ ากัด เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2565 จ านวน 20 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์ด าเนินการพัฒนาตามแผนยกระดับเป็นรูปแบบอย่างต่อเนื่องสามารถเพิ่มศักยภาพการ ด าเนินงานให้มีความเข้มแข็งยั่งยืน 2. เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างสหกรณ์กับสมาชิกสหกรณ์ในการขับเคลื่อนองค์กรสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน 6. งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับ 27,200 บาท (สองหมื่นเจ็ดพันสองร้อยบาทถ้วน) งบประมาณที่ใช้ไป 27,200 บาท (สองหมื่นเจ็ดพันสองร้อยบาทถ้วน) 7. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ไม่มี ภาพกิจกรรม โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อร่วมกันจัดท าทบทวน/ปรับปรุง แผนกลยุทธ์การพัฒนาสหกรณ์


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 111 1.วัตถุประสงค์: เพื่อให้นักเรียนที่เป็นกรรมการสหกรณ์และครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์ได้เข้าใจและรู้ซึ้งในระบบสหกรณ์ เพิ่มมากขึ้น สามารถน าไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและครอบครัวได้ เพื่อให้นักเรียนที่เป็นกรรมการสหกรณ์และครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์ น าความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ ประโยชน์ในโรงเรียนต่อไป ให้นักเรียนที่เป็นกรรมการสหกรณ์ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ได้ แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ซึ่งกันและกัน 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : เป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ เป็นนักเรียนที่เป็นกรรมการสหกรณ์ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์และ ผู้เกี่ยวข้อง จ านวน 154 คน ดังนี้ นักเรียนที่เป็นกรรมการสหกรณ์ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์และผู้ สังเกตการณ์ของโรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนในสังกัดกองก ากับการต ารวจตระเวนชายแดนที่ 14 จ านวน 8 โรงเรียน โรงเรียนละ 12 คน รวมทั้งสิ้น 96 คน นักเรียนที่เป็นกรรมการสหกรณ์ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์ และผู้สังเกตการณ์ของโรงเรียนในสังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในโครงการตาม แผนพัฒนาเด็กเล็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชด าริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จ านวน 4 โรงเรียน ๆ ละ 12 คน รวม ทั้งสิ้น 48 คน ข้าราชการ พนักงานราชการของส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ผู้สังเกตการณ์และ ผู้เกี่ยวข้อง จ านวน 10 คน ศึกษาดูงานช่วงเดือนธันวาคม 2565 ณ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร อ าเภอชะอ าจังหวัดเพชรบุรี และสหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ ากัด อ าเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี 3. ผลการด าเนินงาน : ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าไปศึกษาดูงาน ณ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร โดยมีเจ้าหน้าของอุทยาน สิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธรมาเป็นวิทยากรเพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ จ านวน 5 กิจกรรมการเรียนรู้ได้แก่ 1) กิจกรรมการรับฟังการบรรยายเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร สรุปพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร, สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง, พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้า โครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียน ตามพระราชด าริสมเด็จพระกนิษฐาธิราช เจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี กิจกรรม “ทัศนศึกษาเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ด้านสหกรณ์ของนักเรียนที่เป็นกรรมการสหกรณ์และครู ผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566”ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 112 เจ้าอยู่หัว , สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสมเด็จพระ ศรีนครินทราบรมราชชนนี 2) กิจกรรมการเยี่ยมชมนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ 2.1 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระบิดาแห่งการพัฒนาพลังงานไทย ทรงมีวิสัยทัศน์ก้าวไกลในเรื่องพลังงาน พระราชกรณียกิจและโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด าริด้านพลังงานส่งผลให้เกิดการพัฒนาพลังงานของประเทศ ทั้งเรื่องพลังงานทดแทน การพัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพ การสร้างสรรค์นวัตกรรมพลังงานจากธรรมชาติและทรงให้ความส าคัญในการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ(ดิน น้ า ป่าไม้) 2.2 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง พระมารดา แห่งการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพ ทรงสนับสนุนด้านการอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าไม้และพรรณไม้การ อนุรักษ์สัตว์ป่า ผ่านดครงการพระราชด าริที่ให้การคุ้มครองสัตว์ป่านานาชนิด โดยเฉพาะสัตว์ป่าหายากและใกล้ สูญพันธุ์ทรงเข้าพระทัยในระบบนิเวศอย่างลึกซึ้ง มีพระราชด าริให้คนอยู่ร่วมกับกับป่าอย่างพึ่งพาอาศัยกัน เพื่อให้สามารถอนุรักษ์ป่าไว้ให้เป็นแหล่งเกื้อกูลชีวิต 2.3 พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้สืบสานพระราชปณิธานสร้างสุขปวงประชา ทรงสืบสานพระราชปณิธานแห่งพระบรมชนกนาถ และสมเด็จพระบรมราชชนนีในด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจนานัปการด้วยพระราชวิริยอุตสาหะ ผ่าน โครงการพระราชด าริหลากหลายด้าน และทรงส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมท าความดีผ่านกิจกรรม สาธารณประโยชน์โครงการจิตอาสา เราท าดีด้วยหัวใจ 2.4 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เจ้าฟ้า นักอนุรักษ์ทรงห่วงใยและสนพระทัยในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการ ด ารงชีพและคุณภาพชีวิตของประชาชน ทรงมีพระราชด าริให้อนุรักษ์พืชพรรณและพันธุกรรมพืชของประเทศไทย เพื่อความมั่นคงทางอาหารและยารักษาโรค และเพื่อให้เข้าถึงประโยชน์จากพืชพันธุ์อันหลากหลาย 2.5 สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีแรงบันดาลใจจากพระจริยวัตรอันงดงาม ทรง ให้ความส าคัญกับการบ ารุงรักษาต้นไม้การฟื้นฟูธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทรงปลูกและบ ารุงรัษาต้นไม้ด้วย พระองค์มาตลอดพระชนม์ชีพ 3) กิจกรรมเรียนรู้การแก้ไขปัญหาน้ าเสียด้วยวิธีธรรมชาติช่วยธรรมชาติโดยมีวิทยากรบรรยาย ให้ความรู้ระบบบ าบัดน้ าเสียแบบควบรวมบึงประดิษฐ์ เป็นระบบการบ าบัดน้ าเสียให้สะอาดก่อนที่จะปล่อย สู่แหล่งน้ าธรรมชาติโดยอาศัยกระบวนการทางธรรมชาติมาช่วยในการบ าบัดอย่างมีประสิทธิภาพ


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 113 4) กิจกรรมการเรียนรู้การท าปุ๋ยมูลไส้เดือน โดยมีวิทยากรบรรยายให้ความรู้ในการท าปุ๋ยมูลไส้เดือน และการน าปุ๋ยมูลไส้เดือนไปใช้ประโยชน์เพื่อลดการใช้สารเคมีเพื่อช่วยลดต้นทุนการผลิต 5)กิจกรรมเรียนรู้ธรรมชาติที่เกื้อกูลในระบบนิเวศป่าชายเลน สวนป่าชายเลนทูลกระหม่อม โดย วิทยากรได้บรรยายความรู้เกี่ยวกับป่าชายเลนที่อุดมสมบูรณ์มีความหลากหลายทางชีวภาพ ที่เกิดจากความสน พระทัยในระบบนิเวศป่าชายเลนของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารีที่ทรงพระราชด าริให้ฟื้นฟูปลูกป่าชายเลนขึ้นโดยการขุดลอกผืนทราย เพื่อให้น้ าทะเลขึ้นลงท่วมถึงได้ ตามธรรมชาติพลิกฟื้นสายน้ าและผืนดินที่เสื่อมสภาพให้หล่อเลี้ยงต้นไม้ค่อย ๆ เติบโตงอกงามจนกลับมาเป็นป่า ชายเลนที่อุดมสมบูรณ์ในที่สุด ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าไปศึกษาดูงาน ณ สหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ ากัด อ าเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี โดยมีรักษาการผู้จัดการสหกรณ์ฯ เจ้าหน้าที่ฝ่ายการตลาด และผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์3 ส านักงาน สหกรณ์จังหวัดเพชรบุรีมาถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของสหกรณ์ฯ และการด าเนินธุรกิจของ สหกรณ์ได้แก่ ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย ธุรกิจบริการ และธุรกิจรวบรวมผลผลิต (กล้วยหอม ทอง) โดยมีการรวบรวมและส่งผลผลิตไปจ าหน่ายยัง 7-Eleven และประเทศญี่ปุ่น และมีการให้ผู้เข้าร่วม โครงการซักถามเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5. ผลส าเร็จ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการ 154 คน ประกอบไปด้วย เพศชาย 68 คน เพศหญิง 86 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวพลังงานต่างๆ ระบบนิเวศน์ป่าชายเลนและสิ่งแวดล้อม ร่วมทั้ง การสหกรณ์เพื่อน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 6. งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับในการจัดโครงการ จ านวน 80,640 บาท (แปดหมื่นหกร้อยสี่สิบบาทถ้วน) งบประมาณที่ใช้ไป จ านวน 80,640 บาท (แปดหมื่นหกร้อยสี่สิบบาทถ้วน) 7. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้โอนเงินงบประมาณมาเต็มจ านวน 80,640 บาท เพื่อ ใช้ในการด าเนินโครงการฯ ประกอบกับการอนุมัติบุคคลภายนอกที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ ส่งมายังสหกรณ์ จังหวัดทุกจังหวัดเป็นไปด้วยความเรียบร้อย รวดเร็ว ในปีนี้จึงไม ่มีปัญหาและอุปสรรคในการด าเนิน โครงการฯ


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 114 ภาพกิจกรรมทัศนศึกษาเพื่อสร้างเสริมประสบการณ์ด้านสหกรณ์ของนักเรียนที่เป็นกรรมการสหกรณ์และครู ผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน ณ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร อ าเภอชะอ า จังหวัดเพชรบุรี และสหกรณ์การเกษตรท่ายาง จ ากัด อ าเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 115 1.วัตถุประสงค์: เพื่อให้นักเรียนที่เป็นกรรมการสหกรณ์นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะ ในการบันทึกรายงานการ ประชุมและการบันทึกบัญชีของสหกรณ์นักเรียน เพื่อให้ครูและนักเรียนที่เป็นกรรมการสหกรณ์นักเรียนมีขวัญและก าลังใจในการจัดท ากิจกรรมสหกรณ์ นักเรียน 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : 2.1 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนในสังกัดกองก ากับการต ารวจตระเวนชายแดนที่ 14 จ านวน 8 โรงเรียน ดังนี้ ( 1 ) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนนเรศวรป่าละอู ( 2 ) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านคลองน้อย ( 3 ) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านแพรกตะคร้อ ( 4 ) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านเขาจ้าว ( 5 ) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านท่าวังหิน ( 6 ) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านป่าหมาก ( 7 ) โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านย่านซื่อ ( 8 ) ศูนย์การเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านคีรีล้อม 2.2 โรงเรียนในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 จ านวน 3 โรงเรียน ดังนี้ ( 1 ) โรงเรียนเนินแก้ววิทยาคาร ( 2 ) โรงเรียนบ้านห้วยใหญ่ ( 3 ) โรงเรียนบ้านช้างเผือก 2.3 โรงเรียนในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 จ านวน 1 โรงเรียน ดังนี้ ( 1 ) โรงเรียนนเรศวรห้วยผึ้ง 3. ผลการด าเนินงาน : 3.1 แต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการประกวดการบันทึกรายงานการประชุม การบันทึกบัญชีและ ประเมินผลกิจกรรมของสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนฯ ประกอบด้วย สหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็น ประธาน นักวิชาการสหกรณ์จากกลุ่มงานต่าง ๆ ในสังกัดส านักงานสหกรณ์จังหวัดฯ ผู้แทนส านักงานตรวจบัญชี กิจกรรมโครงการประกวดการบันทึกรายงานการประชุมและการบันทึกบัญชีของสหกรณ์นักเรียนในจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สยามบรมราชกุมารี


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 116 สหกรณ์ประจวบคีรีขันธ์และผู้แทนกองก ากับการต ารวจตระเวนชายแดนที่ 14 และผู้อ านวยการส านักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์เขต 1 และเขต 2 เป็นกรรมการ 3.2 ประสานโรงเรียนก าหนด วัน เวลา สถานที่ และเอกสารที่ต้องเตรียมพร้อมในการเข้ารับการประเมิน จากคณะกรรมการ 3.3 จัดประชุมคณะกรรมการด าเนินการประกวดการบันทึกรายงานการประชุมและการบันทึกบัญชีเมื่อ วันที่ 6 กุมภาพันธ์2566 เพื่อก าหนดหลักเกณฑ์การให้คะแนนการประเมินการประกวดการบันทึกรายงานการ ประชุมคณะกรรมการด าเนินการ หลักเกณฑ์การให้คะแนนการประเมินการประกวดการบันทึกรายงานการประชุม ใหญ่และหลักเกณฑ์การให้คะแนนการประเมินการบันทึกบัญชี 3.4 คณะกรรมการประกวดฯ เดินทางไปประเมินผลการบันทึกรายงานการประชุมและการบันทึกบัญชีของ สหกรณ์นักเรียนฯ ทั้ง 12 โรงเรียน โดยใช้แบบและหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการก าหนด 3.5 สรุปผลการให้คะแนนจากคณะกรรมการด าเนินการประกวดฯ เพื่อจัดล าดับคะแนน สรุปผลคะแนนการบันทึกรายงานการประชุม โครงการประกวดการบันทึกรายงานการประชุมและการบันทึกบัญชีสหกรณ์นักเรียนในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ที่ ชื่อโรงเรียน คะแนนการบันทึก รายงานการประชุม กรรมการ คะแนนการ บันทึกรายงาน การประชุมใหญ่ คะแนน รวม ล าดับ ที่ (40 คะแนน) (40 คะแนน) 1 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนนเรศวรป่าละอู 34.57 29.48 64.05 11 2 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านเขาจ้าว 33.05 36.58 69.63 5 3 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านคลองน้อย 31.40 34.78 66.18 9 4 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านท่าวังหิน 31.67 34.71 66.38 8 5 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านแพรกตะคร้อ 16.00 32.77 48.77 12 6 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านป่าหมาก 33.45 34.95 68.40 7 7 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านย่านซื่อ 35.93 38.02 73.95 3 8 ศูนย์การเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านคีรีล้อม 38.53 39.13 77.66 1 9 โรงเรียนบ้านห้วยใหญ่ 36.58 37.45 74.03 2 10 โรงเรียนเนินแก้ววิทยาคาร 33.33 35.33 68.66 6 11 โรงเรียนบ้านช้างเผือก 34.71 36.89 71.61 4 12 โรงเรียนนเรศวรห้วยผึ้ง 32.58 32.07 64.65 10


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 117 สรุปผลคะแนนการบันทึกบัญชี โครงการประกวดการบันทึกรายงานการประชุมและการบันทึกบัญชีสหกรณ์นักเรียนในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ที่ ชื่อโรงเรียน รูปแบบ บัญชี การบันทึก บัญชี การตรวจสอบ บัญชี คะแนน รวม ล าดับ แบบ 1 แบบ 2 แบบ 3 ที่ (8 คะแนน) (12 คะแนน) (10 คะแนน) 1 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนนเรศวรป่าละอู 4.84 9.98 7.68 22.50 9 2 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านเขาจ้าว 6.70 10.70 7.16 24.56 5 3 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านคลองน้อย 7.52 9.17 7.98 24.67 4 4 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านท่าวังหิน 6.92 7.40 7.00 21.32 10 5 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านแพรกตะคร้อ 5.76 9.50 2.70 17.96 12 6 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านป่าหมาก 7.86 8.10 8.38 24.34 6 7 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านย่านซื่อ 6.90 11.24 8.60 26.74 3 8 ศูนย์การเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านคีรีล้อม 7.87 10.75 9.00 27.62 2 9 โรงเรียนบ้านห้วยใหญ่ 7.96 11.96 10.00 29.92 1 10 โรงเรียนเนินแก้ววิทยาคาร 6.08 9.86 2.90 18.84 11 11 โรงเรียนบ้านช้างเผือก 7.77 9.37 6.83 23.97 8 12 โรงเรียนนเรศวรห้วยผึ้ง 7.84 9.40 6.78 24.02 7 5. ผลส าเร็จ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ โรงเรียนเข้าร่วมกิจกรรม จ านวน 12 โรงเรียน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ นักเรียนที่เป็นกรรมการสหกรณ์นักเรียน ได้รับความรู้และทักษะในการปฏิบัติเกี่ยวกับการบันทึก รายงานการประชุมและการบันทึกบัญชีอย่างถูกต้อง ครูและนักเรียนที่เป็นกรรมการสหกรณ์นักเรียน มีขวัญและก าลังใจในการจัดท ากิจกรรมสหกรณ์ นักเรียนต่อไป 6. งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับในการจัดโครงการทั้งสิ้น 12,000.00 บาท (หนึ่งหมื่นสองพันบาทถ้วน)


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 118 การประกวดบันทึกรายงานการประชุมคณะกรรมการด าเนินการและการประชุมใหญ่ของสหกรณ์ นักเรียน ก าหนดรางวัลจ านวน 4 รางวัล 1) รางวัลชนะเลิศ เงินสดเป็นจ านวน 2,400 บาท พร้อมเกียรติบัตร 2) รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 1 เงินสดเป็นจ านวน 1,600 บาท พร้อมเกียรติบัตร 3) รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 เงินสดเป็นจ านวน 1,200 บาท พร้อมเกียรติบัตร 4) รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 3 เงินสดเป็นจ านวน 800 บาท พร้อมเกียรติบัตร 7. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ไม่มี ภาพกิจกรรมคณะกรรมการประกวดฯ ประเมินผลการบันทึกรายงานการประชุมและการบันทึกบัญชีของ สหกรณ์นักเรียนฯ ทั้ง 12 โรงเรียน


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 119 1.วัตถุประสงค์: เพื่อสนองพระราชด าริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด าริสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี(อพ.สธ.) เพื่อเก็บรวบรวมพันธุ์พืชท้องถิ่น และพันธุ์พืชหายาก เพื่อใช้ในการปลูกรักษา และรวบรวมพันธุ์ไม้ เพื่อดูแล รักษา พัฒนาแปลงสาธิตให้สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ของสมาชิกนิคมสหกรณ์นักเรียน ประชาชน และผู้ที่สนใจ เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และสร้างความตระหนักรู้ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้แก่นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป เพื่อให้เกิดฐานข้อมูลทรัพยากร พันธุกรรมพืชในท้องถิ่นของหน่วยงานที่ร่วมสนองพระราชด าริ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การด าเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด าริฯ สนอง พระราชด าริโดยกรมส่งเสริมสหกรณ์ 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : สมาชิกสหกรณ์นิคมบางสะพาน จ ากัด และชุมชน 3. ผลการด าเนินงาน : 1. นิคมสหกรณ์บางสะพานได้ด าเนินการส ารวจ เก็บรวบรวมทรัพยากร จัดเก็บข้อมูลด้านพันธุ์ไม้และ ประสานงานร่วมกับในพื้นที่นิคมสหกรณ์เพื่อจัดท าฐานข้อมูลทรัพยากรตามแนวทางโครงการอนุรักษ์พันธุกรรม พืชอันเนื่องมาจากพระราชด าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีตามที่กองประสานงาน โครงการพระราชด าริก าหนด 2. นิคมสหกรณ์ได้ด าเนินการประสานงาน และส ารวจพันธุกรรมพืชร่วมกับโรงเรียนในพื้นที่นิคมสหกรณ์เพื่อ ส ารวจและจดบันทึกลักษณะตามพันธุกรรมของพืชท้องถิ่นตามรูปแบบของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ ตามที่กองประสานงานโครงการพระราชด าริก าหนด จ านวน 2 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนบ้านธรรมรัตน์และโรงเรียน โรงเรียนบ้านในล็อค 3. นิคมสหกรณ์บางสะพานได้ด าเนินการจัดท า/พัฒนาแปลงสาธิตพันธุกรรมพืชในพื้นที่นิคมสหกรณ์/ศูนย์ สาธิตสหกรณ์/จังหวัด ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพันธุกรรมพืชของชุมชน/สมาชิกสหกรณ์พร้อมส ารวจพันธุ์พืชใน แปลงสาธิต ตามแนวทางที่กองประสานงานโครงการพระราชด าริก าหนด 4. นิคมสหกรณ์บางสะพานมอบหมาย นายภูริวัฒน์ ไชยบุรินทร์เจ้าหน้าที่ในนิคมสหกรณ์จ านวน 1 ราย เป็นผู้รับผิดชอบแปลงสาธิตพันธุกรรม ตลอดจนการปฏิบัติ/ด าเนินการตามคู่มือ/แนวทางการด าเนินโครงการที่ กองประสานงานโครงการพระราชด าริก าหนดรวมทั้งหนังสือหรือข้อสั่งการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรม ราชกุมารีสยามบรมราชกุมารี


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 120 5. นิคมสหกรณ์บางสะพานรายงานผลการด าเนินงานตามแบบรายงานที่กองประสานงานโครงการ พระราชด าริก าหนด ทุกวันที่ 20 ของเดือน 4. ผลส าเร็จ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ จัดท าป้ายแปลงอนุรักษ์พันธุ์กรรมพืช 2 ป้าย และติดป้ายแนะน าพันธุ์พืช จ านวน 50 ชนิด ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สมาชิกสหกรณ์คณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์มีความเข้าใจและเห็นความส าคัญของการอนุรักษ์ และพัฒนาทรัพยากรพันธุกรรมพืช 2. พัฒนาพื้นที่นิคมสหกรณ์ให้มีแปลงสาธิตพันธุกรรมพืชพร้อมส าหรับเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพันธุกรรม พืชของชุมชนและสมาชิกสหกรณ์ฯ 5. งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร 7,600 บาท (เจ็ดพันหกร้อยบาทถ้วน) งบประมาณที่ใช้ไป 7,600 บาท (เจ็ดพันหกร้อยบาทถ้วน) 6. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ข้อเสนอแนะให้มีการสนับสนุนพันธ์ไม้เพิ่มเติมเพื่อแจกให้แก่ผู้ที่สนใจ ภาพการจัดท า/พัฒนาแปลงสาธิตพันธุกรรมพืชในพื้นที่นิคมสหกรณ์ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านพันธุกรรมพืชของ ชุมชน/สมาชิกสหกรณ์พร้อมส ารวจพันธุ์พืชในแปลงสาธิต


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 121 1. วัตถุประสงค์: เพื่อด าเนินการช่วยเหลือเกษตรกรในถิ่นทุรกันดารในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริให้สามารถ ช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตามวิธีการสหกรณ์ในการยกระดับมาตรฐานความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นเพื่อ แก้ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนในด้านต่างๆ โดยเฉพาะการครองชีพ มุ่งเน้นการอนุรักษ์ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ทั้งมนด้านการป้องกันและลดความเสียหายจากภัยธรรมชาติต่างๆ 2. ตัวชี้วัด : 2.1 กลุ่มชาวบ้าน/กลุ่มอาชีพในพื้นที่โครงการพระราชด าริได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนให้น ารูปแบบของ การสหกรณ์ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารชุมชน 2.2 ควบคุมค่าใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่ายและกิจกรรมหลักและเบิกจ่ายให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ กรมก าหนด 3. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : ด าเนินการให้บริการแก่เกษตรกรในพื้นที่ 77 จังหวัดๆ อย่างน้อยจังหวัดละ 4 ครั้ง/ปีโดยเน้นพื้นที่ที่มี ปัญหาทางการเกษตรกรหลากหลายและรุ่นแรง หรือพื้นที่ที่เป็นความต้องการของเกษตรกร 4. ผลการด าเนินงาน : ได้ประสานงานและบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การด าเนินโครงการฯ เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ และร่วมจัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ประกอบด้วย ให้ค าปรึกษา แนะน าการจัดตั้งสหกรณ์การ บริหารงานในสหกรณ์และให้ความรู้เกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติต่าง ๆ เกี่ยวกับสหกรณ์การจัดนิทรรศการ ให้ ค าปรึกษาตอบปัญหาชิงรางวัลในงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ 5. ผลส าเร็จ : โดยได้ด าเนินการจัดกิจกรรม จ านวน 2 กิจกรรม ได้แก่ (1) จัดนิทรรศการด้านการสหกรณ์/แจกเอกสารเผยแพร่ความรู้ด้านการสหกรณ์และให้ค าแนะน า ปรึกษา ปัญหาของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (2) สหกรณ์สอนอาชีพเสริม เพิ่มรายได้“สาธิตวิธีท าน้ ายาล้างจาน” โดยมีเจ้าหน้าที่จากกลุ่มจัดตั้ง และส่งเสริมสหกรณ์เป็นผู้สอน ทั้ง 2 กิจกรรม ได้รับความสนใจจากประชาชน, ผู้น าท้องถิ่น และส่วนราชการ ที่มาร่วมงานได้เป็น อย่างดีมีผู้ลงทะเบียน จ านวน 315 ราย ผลลัพธ์เชิงปริมาณ การจัดกิจกรรมได้รับความสนใจจากประชาชน, ผู้น าท้องถิ่นและส่วนราชการ ที่ลงทะเบียน จ านวน 315 ราย โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชนุเคราะห์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามกุฎราชกุมาร


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 122 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - ประชาชนน าความรู้ไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ - ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนและการประกอบอาชีพ - สามารถใช้วัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ได้ 6. งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับจัดสรรประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จ านวน 9,100 บาท (เก้าพันหนึ่งร้อยบาท ถ้วน) เบิกจ่ายหมดทั้งจ านวน 7. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี ภาพกิจการการจัดนิทรรศการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์และให้ค าปรึกษา แนะน าการจัดตั้ง สหกรณ์การบริหารงานในสหกรณ์และให้ความรู้เกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติต่าง ๆ เกี่ยวกับสหกรณ์การจัด นิทรรศการ ให้ค าปรึกษาตอบปัญหาชิงรางวัลในงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 123 1.วัตถุประสงค์: เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ในโรงเรียน เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนสู้ครูนักเรียน ผู้ปกครองและประชาชนทั่วไป ให้เป็นที่ แพร่หลาย เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเรื่องการสหกรณ์ให้นักเรียน บุคลากรทางการศึกษาและประชาชนทั่วไป 2. ตัวชี้วัด : มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามที่ก าหนดในโครงการไม่น้อยกว่า 80 คน มีการด าเนินกิจกรรมการจัดนิทรรศการการจัดการเรียนรู้สหกรณ์ในโรงเรียน 3. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : ครูผู้ปกครอง นักเรียน ของโรงเรียนในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์เขต 1 กองก ากับการต ารวจตระเวนชายแดนที่ 14 ข้าราชการส านักงานสหกณณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ข้าราชการส านักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ ประจวบคีรีขันธ์หน่วยงานของรัฐ ภาคเอกชน ขบวนการสหกรณ์และประชาชนในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 4. ผลการด าเนินงาน : การจัดนิทรรศการ การจัดการเรียนรู้การสหกรณ์และนิทรรศการสื่อการสหกรณ์ ในโรงเรียน การจัดนิทรรศการผลงานการประกวด/สื่อการสอนสหกรณ์ในโรงเรียน - การบันทึกรายงานการประชุม - การบันทึกการบันทึกบัญชี การจัดนิทรรศการสื่อการสอนโรงเรียน การจัดแสดงผลิตภัณฑ์ฝีมือนักเรียน การจัดนิทรรศการความรู้เกี่ยวกับ - การสหกรณ์ - การจัดท าบัญชีครัวเรือน การออกบูธผลิตภัณฑ์นม และแจกให้นักเรียน กิจกรรมแสดงบนเวที ชุดการแสดงเพลงประจวบ กิจกรรมเกม และการแข่งขันตอบปัญหาสหกรณ์ กิจกรรม “สหกรณ์ซ่อนไข่” กิจกรรมตอบปัญหาสหกรณ์และร่วมแข่งขันในเกมส์ต่างๆ โครงการจัดงาน “7 มิถุนายน วันสหกรณ์นักเรียน ประจ าปี 2566”จังหวัดประจวบคีรีขันธ์


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 124 5. ผลส าเร็จ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ จ านวนผู้ร่วมงาน 215 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ การจัดนิทรรศการการจัดการเรียนรู้ การสหกรณ์ในโรงเรียน นิทรรศการแสดงผลงานของนักเรียน เช่น การจัดแจกกันดอกไม้การแปรรูป การสาธิต การท าไม้กวาด การจัดนิทรรศการการเรียนรู้กิจกรรมสหกรณ์ใน เรียน การบันทึกบัญชีการบันทึกรายงาน การประชุมของโรงเรียน นิทรรศการแสดงผลิตภัณฑ์แปรรูปนม และ กิจกรรมสันทนาการให้นักเรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมตลอดทั้งงาน 6. งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร 20,000 บาท งบประมาณที่ใช้ไป 20,000 บาท 7. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ระยะเวลาในการจัดท าโครงการในครั้งน้อยมีเกินไป เนื่องจากส านักงานสหกรณณ์จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ต้องใช้ระยะเวลาในการเสนอโครงการต่อผู้ว่าราชการจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ การจัดนิทรรศการการจัดการเรียนรู้ การสหกรณ์ในโรงเรียน นิทรรศการแสดงผลงานของนักเรียน และกิจกรรม แสดงบนเวที


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 125


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 126 1.วัตถุประสงค์: 1. เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มประชาชนภายในพื้นที่เป้าหมายการจัดที่ดินท ากินให้ชุมชน ในรูปแบบสหกรณ์ 2. ส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาดในรูปแบบเศรษฐกิจชุมชน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้การ ใช้ระบบอนุรักษ์ดินและน้ าอย่างยั่งยืน 3. พัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความกินดีอยู่ดีมีสันติสุข และสร้างความเข้มแข็งในชุมชน2. ตัวชี้วัด : 1.รายได้ของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการที่ได้รับการอบรมเพิ่มขึ้น 2. จัดท าฐานข้อมูลของเกษตรกรทั้งหมดที่ได้รับการจัดสรรที่ดินในพื้นที่คทช. 3. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : ป่าสงวนแห่งชาติป่ากุยบุรีหมู่ที่ 7 บ้านรวมไทย และหมู่ที่ 9 บ้านย่านซื่อ อ าเภอกุยบุรีจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ 4. ผลการด าเนินงาน : 1. ส านักงานสหกรณ์จังหวัดจัดประชุมคณะท างานด้านการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาดภายใต้ คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินระดับจังหวัด (คทช.จังหวัด) เพื่อร่วมกันวางแผนการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและ การตลาดในแต่ละพื้นที่ ตามกรอบภารกิจ 6 ด้าน รวมทั้งเป็นเวทีในการติดตามผลการด าเนินงาน ก าหนดให้ ด าเนินการจัดประชุมจ านวน 4 ครั้ง (ไตรมาสละ 1 ครั้ง) 2 . น าเสนอแผนก า รส่งเส ริมพัฒน าอ าชีพและก า รตล าดให้ที่ป ระชุม คทช.จังหวัด พิจ า รณ า ให้ความเห็นชอบตามแผนงานเป็นรายพื้นที่ เพื่อมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด าเนินการตามแผนงานต่อไป 3. ขับเคลื่อนการด าเนินงานตามแผนการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด ในพื้นเป้าหมาย 4. จัดท าฐานข้อมูลของเกษตรกรทั้งหมดที่ได้รับการจัดสรรที่ดินในพื้นที่คทช. 5. เข้าส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาดในพื้นที่ รวมทั้งติดตามรายงานผลการด าเนินงานในพื้นที่ตาม กิจกรรม และการใช้จ่ายงบประมาณ 5. ผลส าเร็จ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ จัดท าข้อมูลสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการในพื้นที่เป้าหมาย จ านวน 1224 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ รายได้ของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการที่ได้รับการอบรมเพิ่มขึ้น โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินของเกษตรกร


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 127 6. งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ 7,000 บาท เบิกจ่าย 100% 7. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ไม่พบราษฎรที่มีรายชื่อในพื้นที่ ภาพถ่ายการด าเนินการประชุมคณะท างานด้านการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาดภายใต้คณะอนุกรรมการ นโยบายที่ดินระดับจังหวัด (คทช.จังหวัด) และลงพื้นที่ติดตามข้อมูลสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรผู้เข้าร่วม โครงการ


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 128


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 129 3.1 กิจกรรมของหน่วยงาน


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 130


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 131


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 132


รายงานประจ าปี 2566 : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 133


Click to View FlipBook Version