The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

งผ-01-แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนบ้านวังทอง 4 ปี (2563-2566)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by napattaornk, 2021-04-17 05:54:15

งผ-01-แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนบ้านวังทอง 4 ปี (2563-2566)

งผ-01-แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนบ้านวังทอง 4 ปี (2563-2566)

แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษา ๔ ปี

(พ.ศ.256๓ – 256๖)

โรงเรียนบ้านวังทอง

สานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมกาแพงเพชร เขต 1
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

คานา

แผนพัฒนาการจัดการศึกษา 4 ปี ( พ.ศ.256๓ – พ.ศ.256๖ ) ได้จัดขึ้นในส้ิน
ปีงบประมาณ 256๒ เน่ืองจากโรงเรียนบ้านวังทองได้ปฏิบัติงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
4 ปี (พ.ศ.255๘-2562) มาได้ระยะหนึ่งซึ่งสภาพบริบทด้านต่างๆมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก อีกทั้ง
เพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้น ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา กาแพงเพชร เขต 1 ปี
การศึกษา 256๓

ในการจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ๔ ปี (พ.ศ.266๓ – 256๖) คร้ังน้ีโรงเรียน
บ้านวังทองไดด้ าเนนิ การจัดทาตามขน้ั ตอนทสี่ าคัญ ได้แก่ การกาหนดสถานภาพของโรงเรียนโดยใช้
เทคนคิ SWOT การกาหนดทศิ ทางของโรงเรยี น และการกาหนดกลยุทธข์ องโรงเรียน โดยให้บุคคลท่ี
มีส่วนได้ส่วนเสียกับโรงเรียนได้มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลและพิจารณาสาระสาคัญในทุกข้ันตอนของ
กระบวนการจัดทาแผนกลยุทธ์หรือแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ๔ ปี (พ.ศ.266๓ – 256๖) น้ี
กระท่ังมีผลสาเรจ็ เป็นทพี่ ึงพอใจของของทกุ ฝา่ ย

คาดหวังไว้ว่า ภายใตค้ วามร่วมมือของคณะครู คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
ตลอดจนผูม้ ีสว่ นเกีย่ วขอ้ งกับการจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษา ๔ ปี (พ.ศ.พ.ศ.266๓ – 256
๖) ทกุ ฝา่ ยจะเปน็ ผลให้เกิดพลังในการปฏิบตั ิงานตามแผนอย่างมีสว่ นร่วม อันมีจุดมุง่ หมายปลายทาง
เพอื่ พฒั นาคุณภาพการศึกษาใหเ้ หน็ ผลอย่างเด่นชดั มคี วามสาเร็จท้ังในระดบั ชนั้ เรยี น โรงเรียน
ชุมชน และภูมิภาค ตลอดถึงประเทศ ได้รับการรบั รองมาตรฐานการศกึ ษาข้ันพื้นฐานเป็นที่
ภาคภูมิใจร่วมกัน

โรงเรยี นบ้านวงั ทอง
๒๐ มถิ ุนายน 256๓

สารบญั

หนา้
คานา ก
สารบัญ ข

สว่ นท่ี

1 สภาพปจั จบุ นั และปญั หา…………………………………………………………………………… 1
- บทนา…………………………………………………………………………................... 1
- ภารกจิ หน้าทข่ี องโรงเรยี น……………………………………………………………… 3
- ขอ้ มูลพ้ืนฐาน…………………………………………………………………………....... 7
- ขอ้ มลู นักเรยี น หอ้ งเรยี น……………………………………………………………….. 12
- ข้อมูลข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา...................................... 13
- อาคารเรยี น อาคารประกอบ…………………………………………………………. 15
- สภาพชมุ ชนโดยรวม……………………………………………………………………… 16
- สภาพปัจจบุ ัน ปัญหา และความต้องการ SWOT................................... 18
- ผลการดาเนนิ งานทผี่ ่านมา…………………………………………………………… 27
- ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกของสถานศกึ ษา รอบที่ 3
(การประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม)................................................. 28

2 กรอบแนวคิดและทศิ ทางการจดั ทาแผนพฒั นาการจดั การศึกษา 4 ปี................ 30
- กรอบแนวคิดและทศิ ทางการจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษา 4 ปี... 30
- พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของในหลวงรัชการท่ี 10..................... 34
- วิสยั ทัศ พันธกจิ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตรแ์ ละกลยทุ ธ์ ของ สพฐ........... 36
- นโยบายการบรหิ ารงานสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ
กาแพงเพชร เขต 1…………………………………………………………………….. 42

สารบญั (ต่อ)

หน้า

สว่ นท่ี

3 ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา.................................................................... 44
- วสิ ัยทัศน์................................................................................................. 44
- พนั ธกจิ .................................................................................................... 44
- คา่ นิยมองค์การ....................................................................................... 45
- เป้าประสงค์............................................................................................ 45
- กลยทุ ธ์.................................................................................................... 46
- อัตลักษณ์................................................................................................ 47
- เอกลักษณ์............................................................................................... 47
- จุดเนน้ สถานศึกษา.................................................................................. 48
- ผลผลติ .................................................................................................... 48
- ปรชั ญาโรงเรยี น...................................................................................... 49
- คาขวัญโรงเรยี น...................................................................................... 49
- สปี ระจาโรงงเรยี น................................................................................... 50

4 โครงสร้างแผนงานโครงการและงบประมาณ........................................................ 51
- โครงสรา้ งแผนงานและโครงการ ปีงบประมาณ 2563-2566............. 51
กลยทุ ธท์ ี่ 1 การพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาและการจดั การเรียนการ
สอนทมี่ ุ่งเน้นการพฒั นาศกั ยภาพของผ้เู รียน ด้านวิชาการ 51
งานอาชีพ กีฬา และเทคโนโลยี......................................... 54
กลยทุ ธ์ท่ี 2 เพอื่ เพิม่ โอกาสให้ประชากรวยั เรยี นทุกคนได้รับการศกึ ษา
ภาคบังคับอยา่ งท่ัวถึงมคี ุณภาพ และเสมอภาค.................

สารบญั (ตอ่ )

หน้า

ส่วนที่

กลยทุ ธ์ที่ 3 การพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี นระดับก่อนประถมศกึ ษาและ 55
ระดบั การศึกษาภาคบงั คบั ตามศักยภาพเหมาะสมกับวยั 56
อยา่ งมีคณุ ภาพ.................................................................. 57
57
กลยุทธท์ ี่ 4 การส่งเสรมิ ผ้เู รียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และดาเนนิ ชีวติ 59
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง............................

กลยุทธท์ ี่ 5 การสง่ เสริมครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ให้มคี ุณภาพ
ตามมาตรฐานวชิ าชพี .......................................................

กลยทุ ธ์ท่ี 5 การสง่ เสรมิ ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ให้มคี ณุ ภาพ
ตามมาตรฐานวิชาชีพ........................................................

- โครงการและงบประมาณตามแผนพัฒนาการจดั การศึกษา ๔ ปี
(พ.ศ.256๓-256๖)...............................................................................

5 การกากบั ติดตามประเมินผลและรายงาน............................................................ 63
5.1 การกากับ ติดตามประเมนิ ผลและรายงาน........................................... 64
ก. ดา้ นนโยบายและแผน.................................................................. 64
ข. ด้านบรหิ าร ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา....................................... 64
ค. ด้านความรว่ มมือของชุมชนและองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน...... 64
ง. ดา้ นการบริหารและจดั การ.......................................................... 65
5.2 แบบกากับ ตดิ ตามการดาเนินงานตามแผนปฏบิ ตั กิ าร
ประจาปกี ารศึกษา............................................................................... 66
5.3 แบบประเมนิ โครงการ.......................................................................... 68
5.4 แบบรายงานโครงการ.......................................................................... 69

สารบญั (ตอ่ )

หนา้

ภาคผนวก

ก การกาหนดสถานภาพโรงเรียน โดยใชเ้ ทคนคิ SWOT……………………………………. 71
ข คาสงั่ แต่งตั้งคณะทางานจัดทาแผนพัฒนาการจดั การศึกษา 4 ปี
77
(พ.ศ. 2563-2566)........................................................................................... 80
ค บันทกึ สัตยาบนั แผนพฒั นาการจดั การศึกษา 4 ปี (พ.ศ. 2563-2566)........... 81
ง บนั ทกึ ความเหน็ ชอบ แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษา 4 ปี (พ.ศ. 2563-2566)...

ส่วนที่ 1
สภาพปัจจบุ นั และปัญหา

บทนา

การเพ่ือพัฒนาประเทศสู่การเป็นสังคมฐานความรู้ (Knowledge-based Society) ภายใต้
ยคุ โลกาภิวัตนท์ มี่ กี ารเปลยี่ นแปลงอย่างรวดเรว็ จาเป็นต้องอาศัยวิสัยทัศน์ในการพัฒนานโยบายและ
วางแผนทีส่ อดคล้องกบั บรบิ ทซ่งึ เปลีย่ นแปลงตลอดเวลาสง่ ผลให้โรงเรียนต้องมีการศึกษาแนวโน้มการ
เปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อบริบทด้านการศึกษา ป๎ญหา และอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้นต่อการศึกษาของ
องค์กร อนั จะทาให้สามารถพฒั นานโยบายและวางแผนได้อย่างถูกต้องตรงทิศทางและก่อให้เกิดผลดี
ไมส่ ูญเปลา่ ในการจดั การศึกษา

การปฏิบัติงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา 4 ปี ( พ.ศ.2563-2566 ) โรงเรียน
บ้านวังทองมีผลการปฏิบัติงานที่แสดงให้เห็นถึงการพัฒนาและเจริญก้าวหน้ามาอย่างต่อเน่ือง
เช่น นักเรียนได้รับรางวัลการแข่งขันทั้งในระดับกลุ่มโรงเรียน เขตพ้ืนท่ีการศึกษา ภูมิภาค และ
ประเทศ ท้งั น้ี ขณะทโี่ รงเรยี นบา้ นวงั ทองได้ปฏบิ ัตงิ าน/ภารกิจตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา 4 ปี
(พ.ศ.2559-2562) มาได้ระยะหนึ่งน้ัน ทางเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 1
ได้มีการปรับเปล่ียนนโยบายและจุดเน้น เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของ สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

ดังนั้น เม่ือส้ินปีงบประมาณ 256๒ โรงเรียนบ้านวังทอง จึงดาเนินการจัดทาแผนพัฒนา
การจัดการศึกษา ระยะเวลา 3 ปี (256๓ – 256๖) เพ่ือให้สอดคล้องกับสถานการณ์ป๎จจุบันโดย
ได้ดาเนินการ SWOT เพื่อจัดทาแผนกลยุทธ์ตามกระบวนการ ซึ่งทาให้ได้มาซ่ึงจุดแข็ง จุดอ่อน
และโอกาส คือ สภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนบ้านวังทอง ด้านโครงสร้างและนโยบาย ได้แก่
โครงสร้าง นโยบายตรงตามความสาคัญจาเป็นของโรงเรียน โครงสร้างและนโยบายสอดคล้องกับ
ต้นสังกัด มีโครงสร้างภารกิจและสายบังคับบัญชาท่ีชัดเจน และมีโครงสร้างภารกิจและการบริหาร
ตามแนวทางการกระจายอานาจโรงเรียนนิติบุคคล ด้านผลผลิตและบริการ ได้แก่ นักเรียน
มีคุณธรรม จริยธรรม ช่วยเหลือสังคม มีจิตสาธารณะ นักเรียนมีความรู้ความสามารถด้านดนตรี

แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาโรงเรยี นบ้านวังทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 1

กีฬา และงานอาชีพ นักเรียนมีความรู้ความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะตามมาตรฐาน
การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน โรงเรยี นมีการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี นด้านเสอื้ ผ้า ทุนการศึกษา แนะแนวอย่าง
ท่ัวถึง และโรงเรียนจัดสวัสดิการน้าดื่ม ทัศนศึกษา อาหารกลางวัน อาหารเสริม (นม) อย่างท่ัวถึง
ด้านบุคลากร ได้แก่ ครูมีความมุ่งมั่น ตั้งใจในการปฏิบัติหน้าที่การสอน ครูมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ
ในการปฏบิ ตั ิหนา้ ทีพ่ ิเศษที่ได้รบั มอบหมาย ครูมีวฒุ ิ ระดับการศึกษาเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพครู
และจานวนบุคลากรเต็มตามเกณฑ์ แต่ก็ยังประสบป๎ญหาการขาดแครนวิชาเอก และครูไม่ครบชั้น
เรียนทาให้นักเรียนขาดโอกาสและมีความเหล่ือมล้า ด้านการเงิน ได้แก่ โรงเรียนมีเงินงบประมาณ
บริหารจัดการศึกษาหากแต่ยังไม่เพียงพอ มีการจัดสรรงบประมาณสู่แผนงาน โครงการ และ
กจิ กรรมยังไม่เพยี งพอ มกี ารใชจ้ า่ ยงบประมาณถกู ต้องตามระเบยี บ โปร่งใส และจัดสรรงบประมาณ
ให้กบั การดแู ลอาคารสถานท่นี อ้ ย ดา้ นวัสดแุ ละทรัพยากร ไดแ้ ก่ มีวัสดุอุปกรณ์การเรียนการสอน –
การกีฬา ตามความต้องการ และมีการจัดหาวัสดุและทรัพยากรการบริหารจัดการศึกษาอย่างเพียงพอ
ด้านการบริหารจัดการ ได้แก่ มีระบบการบริหารจัดการกระจายอานาจอย่างเป็นระบบ ยึดโรงเรียน
เป็นฐานและบริหารแบบมีส่วนร่วม คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความร่วมมือช่วยเหลือ
เป็นอย่างดี และมีระบบการนิเทศ ตรวจสอบถ่วงดุล นอกจากนี้สภาพแวดล้อมภายนอกโรงเรียน
บา้ นวงั ทองยงั เออื้ ตอ่ การจดั การศกึ ษา คือ ด้านสังคมและวัฒนธรรม และ ชุมชนมีความสัมพันธ์ รู้รัก
สามัคคี เขตบริการโรงเรียนในชุมชนมีภูมิป๎ญญาท้องถ่ินหลากหลายประเภท และบ้าน วัด โรงเรียน
มีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน ด้านเทคโนโลยี ได้แก่ มีบริการด้านเทคโนโลยี (อินเตอร์เน็ต) และทุก
ครัวเรอื นทนั สมยั มกี ารใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจาวัน ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ ในชุมชนมีการประกอบ
อาชพี ที่หลากหลาย ชมุ ชนบริจาคเงนิ ให้แก่โรงเรียนอย่างตอ่ เน่อื ง ดา้ นการเมอื งและกฎหมาย ได้แก่
มีกฎหมายท่ีให้สิทธิและโอกาสทางการศึกษาแก่นักเรียน มีองค์กร หน่วยงานท่ีให้การสนับสนุนการ
จัดการศึกษา มีโครงการเรียนฟรี 15 ปี สนับสนุนการจัดการศึกษา ทาให้ได้สถานภาพของโรงเรียน
ในป๎จจบุ นั คอื “ออ่ นแตเ่ อือ้ ”

จึงกล่าวได้ว่า ในรอบปีตามแผนพัฒนาการศึกษา 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) น้ี
โรงเรียนบ้านวังทอง มีสถานภาพท่ีมีความเหมาะสมกับการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาทางการศึกษา
ในปานกลาง (อ่อนแต่เอื้อ) ดังนั้น การปฏิบัติงานภายใต้กลยุทธ์ท่ีได้จัดกระทาตามหลักวิชาการนี้
จะส่งผลให้โรงเรียนสามารถพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นไปตามวิสัยทัศน์ที่กาหนด และก้าวหน้า
มาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ ฐานไดใ้ นท่สี ุด

แผนพัฒนาการจดั การศึกษาโรงเรียนบ้านวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 2

ภารกจิ หน้าทข่ี องโรงเรยี น

โรงเรียนบ้านวังทอง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาแพงเพชร ได้รับ
การกระจายอานาจตามเจตนารมณ์ของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีกาหนดให้โรงเรียนเป็นนิติบุคคล
ดังนั้น โรงเรียนบา้ นวงั ทอง จงึ มบี ทบาทหนา้ ท่ตี ามกรอบภารกิจดงั นี้

การบรหิ ารวิชาการ
1. การวางแผนงานด้วยวชิ าการ
2. การพฒั นาหรือการดาเนินการเกี่ยวกับการให้ความเห็นการพัฒนาสาระหลักสตู รท้องถน่ิ
3. การพฒั นาหลกั สูตรของสถานศึกษา
4. การจัดการเรยี นการสอนในสถานศกึ ษา
5. การพฒั นากระบวนการเรียนรู้
6. การวัดผล ประเมินผล และดาเนินการเทยี บโอนผลการเรยี น
7. การวิจยั เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา
8. การพัฒนาและสง่ เสริมให้มีแหลง่ เรียนรู้
9. การนเิ ทศการศึกษา
10. การแนะแนว
11. การพฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา
12. การส่งเสริมชมุ ชนให้มีความเขม้ แขง็ ทางวิชาการ
13. การประสานความรว่ มมือในการพฒั นาวชิ าการกบั สถานศึกษาและองค์กรอน่ื
14. การสง่ เสริมและสนับสนุนงานวิชาการแกบ่ ุคคล ครอบครัว องคก์ ร หนว่ ยงานสถาน
ประกอบการและสถาบันอื่นท่ีจัดการศึกษา
15. การจัดทาระเบียบและแนวปฏิบัตเิ ก่ียวกบั งานดา้ นวิชาการของสถานศึกษา
16. การคัดเลอื กหนงั สือ แบบเรียนเพื่อใชใ้ สถานศึกษา
17. การพฒั นาและใช้สอื่ เทคโนโลยีเพอื่ การศึกษา

แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาโรงเรียนบ้านวังทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 3

การบรหิ ารงบประมาณ
1. การจดั ทาแผนงบประมาณ
2. การจัดทาแผนปฏิบตั กิ ารประจาปงี บประมาณ
3. การอนุมัตกิ ารใชจ้ ่ายงบประมาณ
4. การโอนและการเปลย่ี นแปลงงบประมาณ
5. การรายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณ
6. การตรวจสอบติดตามและรายงานการใชง้ บประมาณ
7. การตรวจสอบติดตามและรายงานผลการดาเนนิ งาน
8. การระดมทรพั ยากรแลการลงทุนเพื่อการศึกษา
9. งานกองทุนกู้ยืมเพือ่ การศึกษา
10. การบริหารจดั การทรพั ยากรเพ่ือการศึกษา
11. การเบกิ เงนิ จากคลงั
12. การรบั เงนิ การเกบ็ รกั ษาเงินและการจา่ ยเงนิ
13. การนาเงนิ ส่งคลัง
14. การจดั ทาบัญชกี ารเงิน
15. การจัดทารายการทางการเงนิ และงบการเงิน
16. การจัดทาและจัดหาแบบบญั ชี ทะเบียนและรายงาน
17. การวางแผนพสั ดุ
18. การกาหนดแบบรูปรายการหรือคุณลกั ษณะเฉพาะของครภุ ณั ฑห์ รือสิง่ ก่อสรา้ ง
19. การพัฒนาระบบข้อมลู และสารสนเทศเพอื่ การจดั ทาและจดั หาพัสดุ
20. การจัดหาพัสดุ
21. การควบคุมดแู ละบารุงรักษาและจาหน่ายพัสดุ
22. การจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สิน

แผนพฒั นาการจดั การศึกษาโรงเรียนบา้ นวังทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 4

การบรหิ ารงานบุคคล
1. การวางแผนอตั รากาลงั
2. การจัดสรรอตั รากาลังขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
3. การสรรหาและบรรจแุ ตง่ ตงั้
4. การเปลี่ยนตาแหนง่ ให้สูงข้นึ การย้ายขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
5. การเลอื่ นข้ันเงินเดือน
6. การลาทกุ ประเภท
7. การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน
8. การดาเนินการทางวินยั และการลงโทษขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
9. การสั่งพักราชการและการสั่งใหอ้ อกจากราชการไวก้ ่อน
10.การรายานผลการดาเนนิ การทางวนิ ยั และการลงโทษ
11.การอทุ ธรณ์และการรอ้ งทกุ ข์
12.การออกจากราชการ
13.การจดั ระบบและการจัดทาทะเบยี นประวัติขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
14.การขอพระราชทานเคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ์
15.การสง่ เสริมประเมินวทิ ยฐานะข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
16.การสง่ เสรมิ และยกย่องเชดิ ชูเกยี รติ
17.การส่งเสรมิ มาตร,สนวชิ าชีพและจรรยาบรรณวชิ าชีพ
18.การสง่ เสรมิ วินยั คุณธรรมและจรยิ ธรรม สาการจัด
19.หรับข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
20.การสนบั สนนุ สง่ เสริมการขอรับใบอนุญาตและการขอต่อใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพ
21.การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาโรงเรยี นบ้านวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 5

การบรหิ ารทวั่ ไป
1. การพัฒนาระบบและเครือขา่ ยขอ้ มลู สารสนเทศ
2. การประสานงานและพฒั นาเครือข่ายการศึกษา
3. การวางแผนการบริหารงานการศกึ ษา
4. งานวิจยั เพือ่ พฒั นานโยบายและแผน
5. การจัดระบบการบริหารและพัฒนาองคก์ ร
6. การพฒั นามาตรฐานการปฏิบัตงิ าน
7. งานเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา
8. การดาเนินงานธรุ การ
9. การดแู ลอาคารสถานท่แี ละสภาพแวดลอ้ ม
10.การจดั ทาสามะโนผู้เรียน
11.การรบั นักเรยี น
12.การเสนอความเห็นเก่ียวกบั เร่ืองจดั ตั้ง ยุบรวมหรือเลิกสถานศกึ ษา
13.การประสานการจดั การศกึ ษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย
14.การระดมทรัพยากรเพอ่ื การศึกษา
15.การทศั นศกึ ษา
16.การสง่ เสริมงานกิจการนกั เรยี น
17.การประชาสัมพันธ์งานการศึกษา
18.การส่งเสริมสนบั สนนุ และประสานการจดั การศึกษาของบุคคล ชุมชน องค์กร
หนว่ ยงานและสถาบันสังคมอ่ืนที่จดั การศึกษา
19.งานประสานราชการภมู ิภาคและส่วนทอ้ งถ่นิ
20.การรายงานผลการปฏบิ ัติงาน
21.การจดั ระบบการควบคุมภายในหน่วยงาน
22.แนวทางการจดั กิจกรรมเพ่ือปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมในการลงโทษนกั เรียน

แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาโรงเรยี นบ้านวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 6

สภาพทว่ั ไปของสถานศึกษา

1. ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนบา้ นวงั ทอง ต้งั อย่เู ลขที่ 2 ตาบลวงั ทอง

อาเภอเมืองกาแพงเพชร จงั หวัดกาแพงเพชร รหัสไปรษณีย์ 62000

โทรศัพท์ 055 029 580 โทรสาร......-.........

e-mail [email protected]

website : https://data.bopp-obec.info/web/?School_ID=1062040043

2. เปดิ สอนต้ังแต่ระดบั ชนั้ อนุบาล 1 - ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 3

3. เขตพนื้ ท่ีบรกิ าร จานวน 3 หมู่บ้าน ไดแ้ ก่

3.1) หมูท่ ี่ 2 บา้ นวงั ทอง

3.2) หมู่ที่ 16 บา้ นเตาขนมจนี

3.3) หมูท่ ี่ 17 บ้านทงุ่ เอ้ือง

4. ช่อื ผบู้ ริหาร ดร.มชี ัย พลทองมาก ตาแหนง่ ผูอ้ านวยการชานาญการพิเศษ

ดารงตาแหน่งนีต้ ้งั แต่ 11 มถิ ุนายน 2544 จนถึงปจ๎ จบุ นั เวลา 16 ปี 11 เดอื น

ดารงตาแหนง่ ท่สี ถานศึกษานี้ตัง้ แต่ 21 ธันวาคม 2558 จนถงึ ป๎จจบุ ันเวลา 3 ปี 5 เดือน

5. ประวัติโดยยอ่ ของสถานศึกษา

โรงเรียนบ้านวังทอง ต้ังอยู่หมู่ 2 ตาบลวังทอง อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร

ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2512 โดยการนาของพระภิกษุ (เหน่ง ทองชานาญ) และคณะกรรมการ จานวน

9 คน คือ รายนามดังนี้ นายเอ้ือน พลบุตร นายยก นิลพันธ์ นายทา สมดี นายแต๋ว สุวาท

นายบุญช่วย แรงเขตการณ์ นายฤทธิ์ ไชยศิริ นายสมาน พรมน้อย นายถัด จันทร์ศิริ และ

นายเท้อื ม พรมแจ่ม ร่วมกันสร้างอาคารชั่วคราวข้ึน จานวน 1 หลัง มีขนาดกว้าง 9 เมตร ยาว 18

เมตร จานวน 3 ห้องเรียน ดว้ ยงบประมาณ 30,000 บาท ซ่งึ สรา้ งแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 20 มกราคม

พ.ศ. 2512

เปิดทาการเรียนการสอนครั้งแรก เมื่อวันท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2513

โดยมี นายมาก ทองลอื ชา เปน็ ครใู หญ่คนแรก

ต่อมา พ.ศ. 2515 นายแวน แว่นเขตกรรม ได้มอบที่ดินให้แก่โรงเรียน รวมเน้ือที่ 12 ไร่

3 งาน 46 ตารางวา

พ.ศ. 2515 ได้รับงบประมาณ 10,000 บาท สร้างอาคารเรยี นแบบ ป.1 ซ. ขนาด

4 ห้องเรยี น (ปจ๎ จุบันรอ้ื ถอนสรา้ งเป็นอาคารกาญจนาภเิ ษก)

แผนพฒั นาการจดั การศึกษาโรงเรยี นบา้ นวังทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 7

พ.ศ. 2516 ได้รับงบประมาณสรา้ งบ้านพกั ครูแบบองคก์ าร จานวน 25,000 บาท
พ.ศ. 2519 ได้รับงบประมาณเงินผันจากสภาตาบล 20,000 บาท สร้างอาคารเรียน
จานวน 3 หอ้ งเรยี น (ปจ๎ จุบันล่อื ถอนสร้างเปน็ อาคารวังรวมใจ)
พ.ศ. 2521 ได้รับงบประมาณ 9,950 บาท ก่อสร้างส้วมแบบองค์การ ขนาด
3 ที่น่งั (ป๎จจุบันจาหน่ายแล้ว)
พ.ศ. 2525 ไดร้ บั งบประมาณ 172,000 บาท ก่อสร้างอาคารเรียนแบบ สปช.
102/26 ขนาด 4 ห้องเรียน
พ.ศ. 2527 ได้รับงบประมาณ 300,000 บาท ก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์แบบ
สปช.203.26และงบประมาณสร้างบ้านพักครูแบบ สปช.301/26 และงบประมาณ 26,000 บาท
กอ่ สรา้ งถังเกบ็ น้าฝนแบบ ฝ.33
พ.ศ. 2529 ได้รับงบประมาณ 15,000 บาท สร้างเรือนเพาะชา แบบ พ.1 (จาหน่าย
แล้ว) และงบประมาณ 45,000 บาท สร้างสว้ ม แบบ สปช. 601/26 ขนาด 4 ทน่ี ัง่
พ.ศ. 2530 กรรมการศึกษา ผู้ปกครอง ร่วมกันติดตั้งไฟฟูาในอาคาร ป.1ซ และขุดบ่อ
เลีย้ งปลา 10,000 บาท
พ.ศ. 2531 คณะครู กรรมการศึกษา ผู้ปกครอง ร่วมกันก่อสร้างห้องคหกรรมติด
กับอาคารอเนกประสงค์เปน็ เงิน 15,000 บาท และได้รับงบประมาณ 45,000 บาท ก่อสร้างถังเก็บ
นา้ ฝนแบบ ฝ.30 พเิ ศษ
พ.ศ. 2532 ไดร้ ับงบประมาณ 50,000 บาท สร้างส้วมแบบ 601/26 ขนาด 4 ท่ีนั่ง
ได้รับงบประมาณ 10,000 บาท จาก ส.ส.ขุดบ่อเล้ียงปลา (ป๎จจุบันเป็นสระเลี้ยงปลาของกรม
ประมง) ด้รับงบประมาณ 55,000 บาท สร้างที่เก็บนา้ ฝน แบบ ฝ.30 พิเศษ งบประมาณ 70,000
บาท สร้างสนามวอลเลย์บอล งบประมาณ 100,000 บาท สรา้ งสนามฟุตบอลแบบ ฟ.1
พ.ศ. 2533 ได้รับงบประมาณ 60,000 บาท ขุดบ่อเลี้ยงปลาของ สปช.
ขนาด 20x25 เมตร และงบประมาณ 60,000 บาท สร้างถังเก็บน้าฝน แบบ ฝ.30 พิเศษ
พ.ศ. 2536 คณะครู ผู้ปกครอง และกรรมการโรงเรียน จัดงานวันเด็กเป็นเงิน
30,000 บาท สร้างร้วั คอนกรตี ดา้ นทศิ เหนอื ยาว 68 เมตร
พ.ศ. 2537
 20 ธันวาคม 2537 คณะครู ศิษย์เก่า ผู้ปกครอง ทอดผ้าปุา ร้ือถอนอาคาร
เรียน 3 ห้องเรียน สร้างเป็นอาคารวังรวมใจ เป็นเงิน 99,000 บาท และซ่ือเครื่องขยายเสียง
350 วัตต์ พร้อมตู้ลาโพง 1 คู่ ลาโพง 4 ตัว เปน็ เงิน 30,000 บาท

แผนพฒั นาการจดั การศึกษาโรงเรียนบา้ นวังทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 8

พ.ศ. 2538
 10 มกราคม 2538 จัดงานวันเด็กรื้อถอนอาคารเรียน แบบ ป.1 ซ สร้างเป็น
อาคารแวน แว่นเขตกรรม เป็นเงิน 30,000 บาท และได้รับงบประมาณ 1,780,000 บาท สร้าง
อาคารเรียนแบบ สปช. 105/29 และได้รับงบประมาณ 70,000 บาท สร้างถังเก็บน้าฝน แบบ ฝ.
30 พิเศษ
พ.ศ. 2538
 9 มกราคม 2539 จัดงานวันเด็ก สร้างรั้วลวดหนามนาว 120 เมตร เป็นเงิน
12,000 บาท และตอ่ เติมห้องคหกรรม เปน็ เงิน 10,000 บาท
ปกี ารศึกษา 2539
 ได้รับอนญุ าตใหเ้ ปิดเปน็ “โรงเรยี นขยายโอกาสทางการศึกษา ม.1 – ม.3”
เปน็ โรงเรยี นปฏริ ูปทางการศึกษา
พ.ศ. 2540 ได้รับอนุญาตให้ร้ือถอนอาคารเรียน แบบ ป.1 ซ สร้างเป็นอาคารกาญจนา
ภิเษก 6 ห้อง โดยใช้เงินทอดผ้าปุาปี 2539 เป็นเงิน 70,000 บาท เงินทอดผ้าปุา 20 กรกฎาคม
2540 เป็นเงิน 70,000 บาท และงบทอดผ้าปุาวันเด็กปี 2541 เป็นเงิน 70,000 บาท และนาย
สรุ นิ ทร์ ค้ยุ เจยี๊ ะ บริจาคประตูเปน็ เงนิ 25,000 บาท
พ.ศ. 2541 ได้รับงบประมาณ 270,939 บาท ขุดบ่อเล้ียงปลาของกรมประมง
งบประมาณ 181,500 บาท ต่อเติมอาคาร สปช. 105/29 และงบประมาณ 53,600 บาท
ซ่อมแซมประตู หน้าตา่ ง รางนา้ อาคารกาญจนาภเิ ษก ,สปช.102/26 ,สปช. 105/29
พ.ศ. 2544 ไดท้ อดผ้าปุาคณะครูรว่ มกับชมุ ชน จัดทาถนนคอนกรีตรอบบรเิ วณ
โรงเรยี น
พ.ศ. 2545 จดั ทารัว้ ปนู เพ่ิมเตมิ 26 ชอ่ ง และซ่อมฐานพระพุทธรปู
พ.ศ. 2546 ได้จดั การทาสอี าคารเรียนใหม่ และจดั ทาร้ัวเพิ่มเตมิ
พ.ศ. 2547 ได้จัดทาอาคารวงั ร่วมใจเพิ่มเติม และจดั ทาห้องพยาบาล ห้องคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2551 ได้จัดทาถนนคอนกรตี และปรบั ปรุงอาคารหอ้ งสมุด
พ.ศ. 2552 ไดจ้ ัดทาร้วั เพ่มิ เตมิ
พ.ศ. 2553 ได้จัดถนนคอนกรตี
พ.ศ. 2554 ไดป้ รับปรงุ บ้านพกั ครู
พ.ศ. 2555 ไดป้ รบั ปรุงปรงุ หอ้ งส้วม

แผนพัฒนาการจดั การศึกษาโรงเรียนบา้ นวังทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 9

พ.ศ. 2557
 ไดผ้ ่านการประเมินเพ่อื การพัฒนาและรบั รองตน้ แบบโรงเรียนดศี รตี าบล
ประจาปีการศกึ ษา 2557
 เมื่อวนั ท่ี 31 ตลุ าคม 2557 ได้ปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน ป.1ซ. งานพื้น
งานฝาู เพดาน ได้รบั จัดสรรงบประมาณจาก สพฐ. เปน็ เงนิ 90,000 บาท
พ.ศ. 2558
 15 มีนาคม 2558 ปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน แบบ ป.1ซ. งานฝูา งานพื้นไม้
งานทาสี ได้รับจดั สรรงบประมาณ จาก สพฐ. เป็นเงนิ 100,000 บาท
 10 พฤษภาคม 2558 ปรบั ปรุงอาคารกาญจนาภิเษก ตามโครงการพัฒนาคุณภาพ
โรงเรียนสู่มาตรฐานกจกรรมพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนดีประจาตาบล ได้รับจัดสรร
งบประมาณ จาก สพฐ. เป็นเงิน 149,000 บาท
 11 กันยายน 2558 ได้รับครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง(สาหรับการ
สืบค้นในห้องสมุดโรงเรียนตามโครงการพัฒนางานอาชีพ จานวน 8 เคร่ือง ได้รับจัดสรรงบประมาณ
จาก สพฐ. เป็นเงิน 181,800 บาท
 14 ธันวาคม 2558 ปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน แบบ สปช.105/29 ได้รับ
จัดสรรงบประมาณ จาก สพฐ. เป็นเงิน 150,000 บาท
พ.ศ. 2559
 2 8 สิ ง ห า ค ม 2 5 5 9 ไ ด้ ก่ อ ส ร้ า ง อ า ค า ร เ รี ย น แ บ บ ส ป ช 1 0 5 / 2 9
ใต้ถุโล่ง บันขึ้นสองข้าง เป็นอาคารเรียนช้ัน ป.4-6 ได้รับจัดสรรงบประมาณจาก สพฐ.
เปน็ เงนิ 3,280,000 บาท
 19 พฤศิกายน 2559 ได้ซ่อมแซมอาคารเรียน แบบ สปช.105/29 ได้รับจัดสรร
งบประมาณจาก สพฐ. 172,000 บาท
พ.ศ. 2560
 10 พฤษภาคม 2560 ได้ปรับปรุงถนนคอนกรีตหน้าอาคารเรียน แบบ สปช.
105/29 งบประมาณจากการทอดผา้ การเพอ่ื การศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2559
 1 พฤษภาคม 2560 ได้ปรับปรุงอาคารกาญจนาภิเษก แบบ ป1ซ. เป็นอาคาร
เรียน ชัน้ อนบุ าล 1-2
 19 ธันวาคม 2560 ได้รับอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ (ประถมศึกษา-
มัธยมศึกษา ไดร้ ับจัดสรรงบประมาณจาก สพฐ. จานวน 171,000 บาท

แผนพัฒนาการจัดการศึกษาโรงเรียนบา้ นวังทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 10

พ.ศ. 2561
 10 มีนาคม 2561 ไดก้ อ่ สร้างโรงเรอื นเพาะหัวเชื้อเหด็ นางฟาู
 8 สิงหาคม 2561 ได้รับจัดสรรงบประมาณโครงการพัฒนาระบบและกลไกการ
บริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเพ่ือการประกันคุณภาพการศึกษา สพป.กาแพงเพชร
เขต 1 จานวน 46,700 บาท
 18 กันยายน 2561 ได้รับส่ือการเรยี นการสอนสะเต็มศึกษา ได้รับจดั สรร
งบประมาณจาก สพฐ. จานวน 40,000 บาท
 23 พฤศจิกายน 2561 ได้ปรับปรุงระบบไฟฟูา ได้แก่ อาคารอเนกประสงค์
อาคารเรียน แบบ สปช 105/29 อาคารเรยี นแบบ ป.1ซ ไดร้ บั จัดสรรงบประมาณจาก สพฐ. จานวน
299,000 บาท
พ.ศ. 2562
 20 มีนาคม 2562 ได้กอ่ สรา้ งส้วมนักเรยี นหญงิ 4 ที่/49 ได้รบั จัดสรรงบประมาณ
จาก สพฐ. จานวน 371,422 บาท
 17 ตุลาคม 2562 ไดจ้ ดั ซื้อพสั ดสุ าหรับโครงการพฒั นาแหลง่ เรียนรู้ห้องปฏิบัติการ
วิทยาศาสและเทคโนโลยี ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) จานวน ๔๖ (สี่สิบหก)
items เป็นราคาทั้งสิ้น ๖๙๙,๐๐๐.๐๐ บาท (หกแสนเก้าหมื่นเก้าพันบาทถ้วน) จากองค์การบริหาร
ส่วนจงั หวดั กาแพงเพชร และเงินสบทบโรงเรยี นบา้ นวงั ทอง ปีงบประมาณ 2562
พ.ศ. 2563
 31 มนี าคม 2563 ได้ปรับปรุงซ่อมแซม ขยายฐานพร้อมปูกระเบ้ืองเสาธงโรงเรยี น

แผนพฒั นาการจัดการศึกษาโรงเรยี นบา้ นวังทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 11

ข้อมลู นกั เรยี น ห้องเรยี น

ข้อมลู จานวนนักเรียน จาแนกตามระดบั ชนั้ ปกี ารศกึ ษา 2562 ขอ้ มูล ณ วันที่ 14

พฤษภาคม 2562 ) ดังนี้

1. จานวนนักเรียนในเขตพื้นท่ีบริการทงั้ หมด 209 คน

2. จานวนนักเรียนจาแนกตามระดบั ช้ันทีเ่ ปิดสอน

ตารางท่ี 3 แสดงขอ้ มลู นกั เรียน การศกึ ษา 2563 ข้อมูล ณ วันท่ี 1 พฤษภาคม 2563 )

ท้งั หมด

ชัน้ ชาย หญงิ รวม

อนุบาล 2 78 15
อนบุ าล 3 97 16
16 15 31
รวมอนุบาล 13 6 19
ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 15 7 22
ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 78 15
ประถมศึกษาปที ่ี 3 11 13 24
ประถมศึกษาปีที่ 4 75 12
ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 10 10 20
ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

รวมประถม 63 49 112
มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 11 15 26
มัธยมศึกษาปีท่ี 2 8 10 21
มัธยมศึกษาปที ี่ 3 9 12 21
28 37 65
รวมมัธยม 107 101 208
รวมท้ังหมด

แผนพฒั นาการจดั การศึกษาโรงเรยี นบ้านวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 12

ข้อมูลขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา

ตารางท่ี 10 แสดงข้อมลู จานวนผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาของโรงเรยี น

ที่ ช่ือ - สกลุ เลขประจาตวั ประชาชน ตาแหนง่ วิทยฐา

1 นายมชี ยั พลทองมาก 3-6202-00159-42-8 ผ.อ. ชานาญกา
2 นางสนุ ดา เภาศรี 3-6201-01557-04-2 ครู ชานาญกา
3 นายประสทิ ธิ์ เภาศรี 3-6201-01052-29-3 ครู ชานาญกา
4 นายทศพร สว่างอารมณ์ 3-6201-00298-39-6 ครู ชานาญกา
5 นางขตั ตยิ า หมหู่ มืน่ ศรี 3-6299-00205-99-4 ครู ชานาญกา
6 นางเครือวัลย์ แสนกลา้ 3-6201-0144120-6 ครู ชานาญกา
7 นางสธุ รรมมา วงศธ์ นบตั ร 3-6206-00073-49-1 ครู ชานาญกา
8 นายสุประวตั ิ วงศธ์ นบตั ร 3-6201-01304-54-3 ครู ชานาญกา
9 นางสาวนชุ จพร นารรี กั ษ์ 5-3107-00016-10-2 ครู ชานาญกา
10 นายอดิศร สนิทมาก 3-6299-00108-90-5 ครู
11 นายบญั ชา การสมวรรณ 5-1405-00001-39-1 ครู ชานาญ
12 นางนิศานาถ ทพั วงษ์ 3-6403-00228-70-7 ครู ชานาญ
13 นางสาวณพัฐอร 3-6206-00394-36-0 ครู คศ.1 ชานาญ
14 นางสาวนพวรรณ เกษมี 1-6406-00033-15-8 ครู ค.ศ.1
พร้อมวงศ์ -
-

แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาโรงเรียนบา้ นวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566)

นบ้านวงั ทอง ประจาปีการศึกษา 2560 จาแนกตามตาแหน่ง และวฒุ ทิ างการศกึ ษา ดงั น้ี

านะ เลขท่ี วุฒิ กศ. วิชาเอก วดป.เกดิ วันเรม่ิ
ตาแหน่ง ( ยอ่ ) รับราชการ

ารพิเศษ 649 กศ.ด. บรหิ ารการศึกษา 11 ม.ิ ย. 2513 3 พ.ค. 2536

ารพิเศษ 654 กศ.ม. บริหารการศึกษา 13 มี.ค. 2503 19 พ.ค. 2524

ารพเิ ศษ 657 ค.บ. สงั คมศกึ ษา 24 เม.ย. 2503 6 มิ.ย. 2523

ารพเิ ศษ 661 ค.บ. สังคมศึกษา 31 ธ.ค. 2505 19 พ.ค. 2524

ารพเิ ศษ 664 กศ.ม. แนะแนว 31 ส.ค. 2515 16 พ.ค. 2538

ารพเิ ศษ 730 ศษ.บ. การประถม 28 ม.ิ ย. 2503 1 ก.พ. 2525

ารพิเศษ 3792 ค.บ. ภาษาองั กฤษ 4 ก.พ. 2515 12 พ.ค. 2541

ารพิเศษ 670 กศ.ม. บริหารการศกึ ษา 3 ม.ิ ย. 2517 2 มิ.ย. 2541

ารพเิ ศษ 653 ค.บ. ภาษาอังกฤษ 7 ม.ี ค. 2525 13 ธ.ค. 2547

ญการ 651 ค.บ. ภาษาอังกฤษ 19 ก.พ. 2502 1 ม.ิ ย. 2525

ญการ 660 ค.บ. สังคมศกึ ษา 27 ก.พ. 2502 19 พ.ค. 2524

ญการ 310 กศ.ม. บริหารการศึกษา 22 พ.ย. 2517 15 พ.ค. 2552

655 กศ.ม. การบรหิ ารการศกึ ษา 20 ธ.ค. 2525 2 ก.พ. 2558

650 ศษ.บ. บรหิ ารการศึกษา 8 ม.ค. 2529 17 ส.ค. 2558

13

ตารางท่ี 10 (ต่อ) เลขประจาตวั ประชาชน ตาแหน่ง วิทยฐา

ท่ี ชื่อ - สกุล

15 นางสาวอสั นา วทิ ติ 1-5599-00265-01-1 ครูผชู้ ่วย -
-
16 นางพชั รนิ ทร์ แมน้ พ่วง 3-6201-01670-66-3 ครู
-
ผู้ทรงคุณค่า -
-
แห่งแผ่นดนิ -

17 นางสาวกนกวรรณ สายแวว 1-6201-00165-44-6 ครูอัตราจ้าง -

18 นางสุภาวิณี คุ้ยเจ๊ยี ะ 1-6201-00167-68-6 ครูจ้างสอน -
-
19 นางสาวสมปอง ประสทิ ธเิ ขตกจิ 3-6201-01538-28-5 ผช.ครผู สู้ อน
- ครูอ
20 นางสพุ รรษา กองม่วง 5-6201-00065-16-9 พเ่ี ลีย้ งเดก็ - ครูจ
- ผูช้ ่ว
พิการ

21 นางสาวสวุ ฒั นา ก้อนทอง 1-6299-00197-99-5 จนท.ธรุ การ

โรงเรียน

22 นางลาดวน มานะต่อ 3-6005-00819-68-7 นกั การฯ

23 นางวัชรพล มานะต่อ 3-6201-01563-91-3 จนท.รกั ษา

ความปลอดภัย

จากตารางท่ี 10 แสดงรายละเอียดดงั นี้

- ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา 1 คน

- ข้าราชการครู 14 คน

- ครูผู้ทรงคุณค่าแหง่ แผ่นดิน 1 คน

แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาโรงเรียนบา้ นวังทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566)

านะ เลขที่ วุฒิ กศ. วิชาเอก วดป.เกดิ วนั เร่ิม
ตาแหน่ง ( ย่อ ) รบั ราชการ

4276 ค.บ. การศกึ ษาปฐมวยั 18 ส.ค. 2537 1 พ.ย. 2561
- ค.บ. การประถมศกึ ษา 10 ส.ค. 2500 1 พ.ย. 2561

- ค.บ. คณิตศาสตร์ 30 ก.ย. 2534 1 พ.ย. 2561

- ค.บ. คณิตศาสตร์ 8 ส.ค. 2534 16 พ.ค. 2559

- ปวส. คอมพิวเตอร์ธรุ กิจ 16 มี.ค. 2522 16 พ.ค. 2556

- บธ.บ. การจัดการท่ัวไป 10 ส.ค. 2522 15 พ.ย. 2561

- ศศ.บ. การวิจยั สงั คม 19 ก.ย. 2533 17 ก.ค. 2560

- ป.6 - 22 มิ.ย. 2517 4 ต.ค. 2555
- ป.6 - 29 ต.ค. 2513 1 ต.ค. 2558

อัตราจ้าง 1 คน - เจา้ หนา้ ทีธ่ รุ การ 1 คน
จา้ งสอน 1 คน - นกั ภารภารโรง 1 คน
วยครผู ู้สอน 1 คน - เจา้ หนา้ ทีร่ ักษาความปลอดภยั ในสถานศึกษา 1 คน

14

อาคารเรียนและอาคารประกอบ

ขอ้ มลู อาคารเรียนและอาคารประกอบ จานวน 10 หลัง ดังนี้

ตารางที่ 11 แสดงข้อมูลอาคารเรียนและอาคารประกอบโรงเรียนบ้านวงั ทอง จาแนกตามประเภท

ของอาคาร และหอ้ งเรียน ดังน้ี

ลาดับ รายการ จานวน

อาคารเรียน

1 อาคารเรยี นระดับปฐมวยั (แบบ ป.1ซ) 1 หลงั

2 อาคารประถมศกึ ษาตอนตน้ และห้องเรยี นพเิ ศษ (LD) 1 หลัง
(แบบ สปช. 102/26 ขนาด 4 ห้องเรยี น ) 1 หลัง
1 หลัง
3 อาคารเรียนประถมศึกษาตอนปลาย
(แบบ สปช 105/29 ใตถ้ นุ สูง บนั ไดขนึ้ 2 ขา้ ง)

4 อาคารเรียนมัธยมศกึ ษาตอนตน้ (แบบ สปช. 105/29)

ห้องเรยี น/ห้องพิเศษ

5 ห้องเรยี นระดบั ก่อนประถม 2 หอ้ ง

6 ห้องเรียนประถมศึกษา 6 หอ้ ง

7 ห้องเรียนระดับมัธยม 3 หอ้ ง

8 ห้องวทิ ยาศาสตร์ (หอ้ งเรียน ม.3) 1 หอ้ ง

9 ห้องปฏิบัติการทางภาษา - หอ้ ง

10 ห้องคอมพวิ เตอร์ 1 หอ้ ง

11 หอ้ งสมดุ 1 ห้อง

12 หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารการงานอาชีพ 1 ห้อง

อาคารประกอบ

13 อาคารอเนกประสงค์ (แบบ สปช. 203/26) 1 หลัง

14 บ้านพักครู (แบบ สปช. 301/26) 2 หลัง

15 สว้ ม (แบบ 601/26 ขนาด 4 ทีน่ ่ัง) 2 หลัง

16 อาคารห้องสมดุ (วังทองร่วมใจ) 1 หลงั

17 สว้ มนกั เรยี นหญิง 4 ท/่ี 49 (ขนาด 4 หอ้ ง) 1 หลัง

18 อาคารปฏบิ ัติเพาะเหด็ /เกบ็ อุปกรณ์การเกษตร 1 หลงั

20 โรงเรอื นไก่พนั ไข่ 1 หลัง

แผนพฒั นาการจดั การศึกษาโรงเรียนบ้านวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 15

สภาพชุมชนโดยรวม

1. สภาพชุมชนรอบสถานศกึ ษา

 ทีต่ ้ัง

ตั้งอยู่ ณ หมูท่ ี่ 2 บา้ นวงั ทอง ตาบลวงั ทอง อาเภอเมืองกาแพงเพชรจงั หวัด

กาแพงเพชร

ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกับ หมู่ท่ี 16 บ้านเตาขนมจนี ตาบลวงั ทอง

ทศิ ตะวนั ออก ติดตอ่ กับ อาเภอเมืองฯ จงั หวัดกาแพงเพชร
หมู่ที่ 15 บ้านมอสาราญ ตาบลวังทอง
อาเภอเมืองฯ จงั หวัดกาแพงเพชร

ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อกับ หมทู่ ่ี 17 บา้ นทุง่ เอ้ือง ตาบลวงั ทอง
ทิศใต้ ติดตอ่ กับ อาเภอเมืองฯ จงั หวดั กาแพงเพชร
หมูท่ ่ี 17 บา้ นอา่ งหนิ ตาบลอา่ งทอง

อาเภอเมอื งฯ จังหวดั กาแพงเพชร

 ลกั ษณะภูมิประเทศ

โดยพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นท่ีราบสลับเนินเขา ซึ่งตั้งอยู่บริเวณทิศตะวันตกเฉียงใต้

ของอาเภอเมืองกาแพงเพชร โดยระยะใกล้ท่ีสุดจากอาเภอเมืองกาแพงเพชร ประมาณ 36 กิดลเมตร

และระยะห่างทีส่ ุดจากอาเภอเมืองกาแพงเพชร ประมาณ 50 กโิ ลเมตร

 การคมนาคมขนส่ง

ในเขตพื้นที่บริการของโรงเรียนบ้านวังทอง มีเส้นทางคมนาคมทางรถยนต์

ระหว่างอาเภอเมอื งกาแพงเพชร จังหวัดกาแพงเพชร และอาเภอคลองลาน จังหวัดกาแพงเพชร แยก

เข้าโรงเรียนจากเส้นทางหลักถึงโรงเรียนบ้านวังทอง 3 กิโลเมตร ป๎จจุบันนับว่า สะดวกและรวดเร็ว

เนือ่ งจากมีโครงข่ายการคมนาคมสะดวกและรวดเร็ว ซ่ึงประกอบหมู่ที่ 2 บ้านวังทอง หมู่ท่ี 2 และหมู่

ท่ี 5 เปน็ ถนนลาดยางและถนนคอนกรีตเสริมเหลก็ จานวน 2 ชอ่ งทาง

 การสาธารณสขุ

ในเขตบริการของโรงเรียนบ้านวังทอง มีจานวนสถานบริการด้านการแพทย์

และสาธารณสุข ได้แก่

- โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลมอสูง 1 แห่ง

 ลักษณะภูมศิ าสตร์

1. เนือ้ ท่ีทั้งหมดของเขตบริการ 16,369 ตารางกิโลเมตร

2. ประชากรท้งั หมด) 1,837 คน

แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาโรงเรยี นบ้านวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 16

ประชากรแยกรายหมูบ่ ้าน (ข้อมลู จากสาธารณสุขมูลฐานจังหวดั กาแพงเพชร) ดงั น้ี

หมู่ท่ี 2 บา้ นวงั ทอง 693 คน

หมทู่ ่ี 16 บา้ นเตาขนมจนี 517 คน

หมูท่ ี่ 17 บ้านทงุ่ เอ้ือง 627 คน

3. จานวนบ้านท้ังหมด 1,129 ครัวเรือน

1. การปกครองและการบรหิ ารหมบู่ ้าน 3 แห่ง

2. องค์การบริหารส่วนตาบล 1 แหง่

4. ศาสนาจานวนวัดรวม 3 แหง่

จานวนพระภิกษุ 14 รูป

บริบทชุมชน/แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถ่ินและการใช้แหล่งวิชาการ

การนอกระบบ

1. โบราณสถานขึ้นทะเบยี นแลว้ - แหง่

2. ศนู ย์การเรียนรู้ชมุ ชน 4 แห่ง

3. ศนู ยก์ ฬี าประจาตาบล 1 แหง่

2. ข้อมูลผปู้ กครอง
 ระดบั การศึกษาของผู้ปกครอง
ระดับการศกึ ษาของผปู้ กครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3

และประถมศึกษาปีท่ี 6
 การประกอบอาชพี
สภาพเศรษฐกิจโดยรวมของพื้นที่ภายในเขตพ้ืนที่บริการโรงเรียนบ้านวังทอง

ส่วนใหญ่จะข้ึนอยู่กับภาคเกษตรกรรมเป็นหลักประกอบด้วย การทานา พืชเศรษฐกิจที่ทารายได้เข้า
หมบู่ า้ นไดแ้ ก่ ข้าวและมนั สาปะหลัง สาขาอันดับรองจากภาคเกษตรกรรม คือ การค้าขาย และอาชีพ
รับจ้าง

 รายไดข้ องผปู้ กครอง
รายได้เฉลี่ย 25,000 บาท/คน/ปี

 ศาสนาท่นี บั ถือ
ประชากรในเขตบริการของโรงเรียนบ้านวังทอง นบั ถือศาสนาพุทธ รอ้ ยละ 100

แผนพฒั นาการจดั การศึกษาโรงเรียนบ้านวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 17

สภาพปจั จุบัน ปญั หา และความต้องการ

1. สภาพปัจจุบนั (นามาจากผล SWOT จากแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา 4 ป)ี

 สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment)

ตารางท่ี 12 แสดงสรปุ ผลประเด็นการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนบ้านวงั ทอง

ประเด็นทเ่ี ป็นจุดแข็ง (S) ประเด็นทเ่ี ป็นจดุ อ่อน (W)

ดา้ นโครงสรา้ ง (customer Behaviors)

1. โรงเรียนมโี ครงสร้างการบรหิ ารงานชัดเจนตามระเบียบ - โครงสร้างการบรหิ ารในบางงานยัง

กฎหมาย ขาดความคล่องตวั ในการปฏิบตั ิ เนอื่ งจาก

2. มีการบริหารงานแบบมสี ว่ นรว่ ม ผู้ปฏิบัติไม่เข้าใจในหนา้ ทีท่ ี่ตนรับผดิ ชอบ

3. โรงเรียนมีการกาหนดหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบ ให้ - การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา

บุคลากรสอดคล้องกบั มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง ขั้ น พ้ื น ฐ า น ยั ง ไ ม่ เ ป็ น ไ ป ต า ม เ จ ต น า ร ม ณ์

ของกฎหมาย

ดา้ นกลยุทธ์ขององค์กร (Strategy)

1. สถานศึกษามีการกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาเพ่ือเป็น 1. สถานศึกษาบางคร้ังไม่สามารถนายุทธศาสตร์

กรอบทิศทางการดาเนินงานสอดคล้องกับนโยบายและ บางขอ้ ไปสกู่ ารปฏิบัติให้เปน็ รูปธรรม

สภาพบรบิ ทพืน้ ที 2. งบประมาณส่วนใหญ่ต้องดาเนินการตาม

2. สถานศึกษามีกรอบดาเนนิ งานโครงการที่เป็นงานนโยบาย ภารกิจประจาและตามนโยบายจึงไม่เพียงพอ

เพื่อให้สถานศึกษาขับเคล่ือนสู่การปฏิบัติ โดยจัดสรร สาหรับการแก้ป๎ญหา และพฒั นาตามบรบิ ท

งบประมาณสนับสนนุ การดาเนินงาน 3. ขอ้ จากดั ในการนิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผล

3. มีการติดตาม ประเมินและรายงานผลการดาเนินงาน (คา และรายงานผล เชน่ เครือ่ งมือ และบุคลากร

รับรอง, นโยบาย) ต่อสานักงานเขตพ้ืนที่ ทาให้เกิดการ 4. งานนโยบายบางเรื่องดาเนนิ การยงั ไมส่ ่งผล

กระตุน้ การดาเนินงานและถ่ายทอดกลยุทธ์สู่การปฏิบัติใน หรอื บรรลุเปาู หมาย เนอื่ งจากมีการ

ระดบั สถานศกึ ษา อย่างตอ่ เนอื่ ง (ผ่านตัวชว้ี ดั ) เปล่ยี นแปลงนโยบาย

แผนพฒั นาการจดั การศึกษาโรงเรยี นบา้ นวังทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 18

ตารางท่ี 12 (ต่อ)

ประเด็นที่เป็นจดุ แข็ง (S) ประเดน็ ท่เี ป็นจุดออ่ น (W)

ดา้ นระบบในการดาเนินงานโครงสรา้ ง (System)

1. คุณภาพผเู้ รยี นดา้ นผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน 4 กล่มุ สาระ 1. การจัดระบบข้อมูลสารสนเทศยังไม่เปน็ ระบบจึง
หลกั ระดับประถมศึกษามีค่าเฉลี่ยอยใู่ นสงู กว่า สพป.และ ไม่สามารถนามาวิเคราะห์ จัดทาแผนงานและ
สพฐ. นาเสนอข้อมลู ไปปฏิบัติงานได้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม

2. สถานศึกษามีกระบวนการบริหารจัดการท่ีเป็นระบบตาม 2. มีนักเรียนบางส่วนท่ีมีป๎ญหาการอ่าน การเขียน

โครงสรา้ งการบริหาร โดยเน้นการมสี ่วนร่วม และคิดคานวณ

3. การการใช้ ICT เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพ่ือ 3. ขาดการเสริมสร้างความรู้ การนิเทศ ตดิ ตามการ

ลดขน้ั ตอน เวลา คา่ ใชจ้ ่าย จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น

4. สถานศกึ ษามีการจดั สรรงบประมาณบางส่วนเพื่อพฒั นา 4. หลักสูตรและตารางการสอนเปลี่ยนแปลงบ่อย

แหลง่ เรียนร้ภู ายในโรงเรียน ไม่เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้ทาให้ครูไม่มีความ

5. มีองคค์ วามรทู้ ี่หลากหลาย สามารถเขา้ ถึงได้โดยใช้ ต่อเน่ืองในการปฏิบัติการสอนและไม่ได้ปรับปรุง

Internet พฒั นาใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพปญ๎ หาในปจ๎ จบุ ัน

6. มีวัสดุ สื่อ การเรียนรู้หลายประเภท เป็นสื่อ ที่ทันสมัย 5. ครูทีป่ ฏิบตั งิ านด้านการเงิน การบัญชี และพัสดุมี

สามารถนาไปใช้จัดการเรียนรู้ได้อยา่ งเหมาะสม หนา้ ท่ที างการสอนด้วยจึงทาให้มภี าระงานมาก

7. มีการสง่ เสรมิ สนบั สนุนการพัฒนาสอ่ื หรือจดั ซื้อ จัดหา 6. สถานศึกษาบคุ ลากรผู้ปฏิบัติบางสว่ นขาดทักษะ

8. มีการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครูด้านต่างๆ เพื่อให้มี ด้านการใช้ ICT และซ่อมบารุง ICT (ใชใ้ นฐาน

ศักยภาพในการจดั การเรยี นการสอน ระดับ User มากกวา่ Admin)
9. สถานศึกษามีระบบควบคุมการปฏิบัติงานและการใช้ 7. เครอื่ งมือ หรือแบบติดตาม ไม่สอดคล้องกับ

จ่ายเงนิ ให้เป็นไปตามแผนงานโดยมีการบรหิ าร สภาพการดาเนนิ งานทาให้ไม่นาไปใช้ประโยชน์

งบประมาณ การเงิน การบญั ชี และการพัสดุ โดยยดึ ในการขบั เคลอื่ นการพัฒนา

ระเบยี บ กฎหมาย ที่เก่ียวขอ้ ง 8. แบบติดตามทั้งในระบบอิเลคทรอนิกส์และแบบ

10. การบริหารงานโดยมีส่วนร่วม โดยมีคณะกลั่นกรองการ ติดตามต่างๆ ของ สพป. มีรายละเอียดข้อมูล

ดาเนนิ งาน และคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน สารสนเทศมากควรพิจารณาเฉพาะประเด็นท่ี
11. มีระบบติดต่อสื่อสารที่รวดเร็ว เช่น ระบบงานสารบรรณ เป็นสาระเพื่อลดภาระงานของครู และจะได้
ข้อมลู ทเ่ี ป็นประโยชน์
อเิ ลคทรอนกิ ส์ อเี มลล์ เวปไซต์

12. มีกรอบ ตวั ช้วี ัด ผลการดาเนินงานท่ชี ดั เจน เช่น ตวั ช้วี ัด 9. ระบบการนเิ ทศภายในไมเ่ ข้มแข็ง ขาดความ

คารบั รอง ตอ่ เน่ืองและหน่วยงานต้นสงั กัดไม่ได้มีมาตรการ

13. มีวิธีการติดตาม ประเมินและรายงานผลการดาเนินงานท่ี ทีช่ ดั เจนให้แกผ่ ้ไู มป่ ฏิบัติ

หลากหลายท้ังผ่านระบบอิเลคทรอนิกส์ เครื่องมือติดตาม
และการตรวจ ติดตามภายในสถานศกึ ษา

ตารางท่ี 12 (ตอ่ ) 19
แผนพฒั นาการจดั การศึกษาโรงเรยี นบา้ นวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566)

ประเดน็ ทเ่ี ป็นจุดแข็ง (S) ประเด็นที่เป็นจุดอ่อน (W)

ดา้ นแบบแผนหรือพฤตกิ รรมในการหารจัดการ (Style)

1. ผู้บริหารเป็นผู้ท่ีผ่านกระบวนการสรรหาเพ่ือคัดเลือกเข้าสู่ 1. การพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษายังไม่เป็นไป

ตาแหน่งด้วยเกณฑ์การประเมินท้ังด้านความรู้ คุณธรรม ตามเปูาหมาย

จรยิ ธรรม และภาวะผนู้ า 2. คณะกรรมการ หรือคณะทางานยงั ไม่เข้มแขง็

2. ก่อนและหลังแต่งตั้งเข้าสู่ตาแหน่งได้รับการพัฒนาอย่าง และประสิทธิภาพเท่าท่ีควร

ตอ่ เนอ่ื ง 3. การจดั วางระบบควบคุมภายในของโรงเรียน

3. มีการกระจายอานาจการบริหารจัดการศึกษาอย่างหลาย บางสว่ นไม่ครอบคลมุ ภารกิจหลกั ไม่ครอบคลมุ

หลาย เช่นการทางานที่เน้นการมีส่วนร่วม การดาเนินงาน ความเส่ยี งทีม่ ีนัยสาคัญ

โดยมคี ณะกรรมการหรือคณะทางาน

4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการโดยใช้ ICT เช่นการ

บริหารความเสีย่ ง การควยคุมภายใน

5. การพัฒนาการบริหารจัดการโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ตามเกณฑ์

PMQA

ด้านบคุ ลากร (Staff)

1. สถานศึกษาจดั สรรงบประมาณเพื่อการจ้าง 1. ค รู มี ภ า ร ะ ง า น น อ ก เ ห นื อ จ า ก ก า ร ส อ น

ครสู อนและบุคลากรต่างๆ เพ่ือลดป๎ญหา เป็นจานวนมาก

การขาดแคลนอัตรากาลงั 2. ขาดแคลนครดู า้ นคณติ ศาสตร์ และปฐมวัย

2. สถานศึกษาจัดสรรงบประมาณให้แก่ครูผู้สอนเพ่ือพัฒนา 3. ครูบางส่วนไม่ได้นาความรู้ท่ีได้รับมาใช้ในการ

สอ่ื การเรยี นการสอนอย่างต่อเนื่อง ปฏิบัติงาน ส่งผลต่อการจัดการศึกษา หรือ

3. ครูได้รับการพัฒนาด้านความรู้ และคุณธรรม จริยธรรม ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมตามท่ี

จาก อย่างสม่าเสมอ เพ่ือเป็นแนวทางในการประพฤติ หลักสูตรกาหนด

ปฏบิ ตั ิ เป็นแบบอย่างของครูที่ดี

ดา้ นความรู้ ความสามารถ ทักษะ (Skill)

1. ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา และครูท่ีจา้ ง 1. ครูสอนไม่ตรงวฒุ ิ วิชาเอก ความถนัด ส่งผลใน

สอน เปน็ บุคลากรทมี่ ีความสามารถเพียงพอเนื่องจากจบ การยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น

ปริญญาตรขี ้นึ ไป

2. มแี หล่งเรียนรู้ หรอื องค์ความรใู้ นการปฏิบตั ิงานที่

หลากหลาย สามารถเรยี นร้ไู ด้ตลอดเวลาโดยเข้าถึงองค์

ความร้ไู ดง้ า่ ย

3. มีการพัฒนาทักษะ สมรรถนะอย่างต่อเนอื่ ง

แผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาโรงเรยี นบ้านวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 20

ตารางที่ 12 (ตอ่ )

ประเด็นที่เป็นจดุ แข็ง (S) ประเด็นท่เี ปน็ จุดออ่ น (W)

ดา้ นคา่ นิยมร่วมของสมาชกิ ในหน่วยงาน (Shared Values)

1. มกี ารกาหนดคา่ นยิ ม คือ ความมุ่งม่ันในการทางาน การ 1. ข้าราชการครู หรือบุคลกรสนับสนุนบางส่วน

ทางานเปน็ ทีม และการใหบ้ ริการด้วยความเตม็ ใจ คือ ยั ง ข า ด ค ว า ม รั ก แ ล ะ ศ รั ท ธ า ต่ อ อ ง ค์ ก า ร

WTS พฤติกรรมการปฏิบัติงานผู้ปฏิบัติบางส่วน

W (Willfulness) คอื ความมงุ่ มั่น ยังยึดติดกับรูปแบบการทางานแบบเดิมใน
T (Team work) คือ ทางานเปน็ ทมี อดีตมากกวา่ ยุคป๎จจุบนั
S (Service mind) คือ บรกิ ารด้วยความเตม็ ใจ 2. การทางานเชงิ รบั มากกวา่ เชิงรุก

2. การทางานแบบมสี ่วนรว่ มโดยผทู้ ่เี กยี่ วขอ้ งในระดับ เน่ืองจากไม่ไดน้ าความร้ใู หมๆ่ และทักษะการ
สถานศกึ ษา ได้แก่ คณะกรรมการหรอื คณะทางาน คิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์มาพัฒนางานเชิง
กล่นั กรองการดาเนนิ งาน สร้างสรรค์ ส่งผลต่อการพฒั นาองค์กร และ

ความพึงพอใจของผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสีย หรือ
ผู้รับบริการ

แผนพัฒนาการจัดการศึกษาโรงเรียนบา้ นวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 21

 สภาพแวดล้อมภายนอก (External Environment)

ตารางที่ 13 แสดงสรปุ ผลประเด็นการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอกโรงเรยี นบา้ นวังทอง

สรปุ ประเดน็ ทีเ่ ปน็ โอกาส (O) สรปุ ประเด็นทเ่ี ป็นอุปสรรค์ (T)

ด้านพฤติกรรมของลูกค้า (customer Behaviors)

1. โรงเรยี นมีเขตบริการจานวน 3 หมบู่ า้ น ไดแ้ ก่ 1. นกั เรยี นท่ถี งึ เกณฑ์อายุ 4 – 5 ปบี รบิ ูรณ์เขา้

- หมทู่ ่ี 2 บา้ นวงั ทอง เรยี นในสถานศึกษาใกลเ้ คียงหรอื โรงเรียน

- หมูท่ ี่ 16 บา้ นเตาขนมจีน อนุบาลเอกชน

- หมูท่ ี่ 17 บ้านท่งุ เอ้ือง 2. ผปู้ กครองมีค่านยิ มในการสง่ บุตรหลานเขา้

ทาใหจ้ านวนนักเรียนในเขตบรกิ ารมีจานวนมาก เรียนในโรงเรยี นเอกชนและโรงเรยี นที่มชี ่ือเสยี ง

2. นักเรยี นถงึ เกณฑเ์ ขา้ มีจานวนมา ทาให้โรงเรียนมีจานวนนกั เรยี นลดลง

3. ผู้ปกครองนักเรียนใหค้ วามสาคญั และความร่วมมือเป็นอย่าง 3. จานวนนักเรียนลดลงจากปกี ารศกึ ษา 2561

ดี ร้อยละ 23.12 ดงั นี้

4. โรงเรียนเอกชนบางแห่งเกบ็ ค่าใชจ้ า่ ยค่อนข้างสูงทาให้ - ช้นั อนุบาลลดลงร้อยละ 20.51

ผ้ปู กครองนาเดก็ ย้ายกลบั เขา้ มาเรยี น - ช้ันประถมศึกษาลดลงร้อยละ 2.61

5. สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) มีการ สาเหตนุ ักเรยี นยา้ ยออกตามผู้ปกครองไป

จัดสอบวดั ผลสัมฤทธนิ์ กั เรียนระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน ทางานต่างจงั หวดั

เพอ่ื การประกันคุณภาพผ้เู รียน เพม่ิ ความเชื่อมน่ั ให้ 4. ตวั ช้ีวัด เกณฑ์การประเมิน คุณภาพโรงเรยี นยงั

ผปู้ กครองนักเรยี นมากข้นึ ไม่เปน็ ไปตามมาตรฐานสถานศกึ ษา จงึ สง่ ผล

6. สถานศกึ ษามผี ลสัมฤทธ์ิ O-Net ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ตอ่ คุณภาพผ้เู รียน หรอื โรงเรียนอยา่ งมาก จึง

คะแนนเฉลีย่ รวมสงู สุด ตดิ อนั ดับ 1 ใน 5 ของสานกั งาน ไม่สามารถสร้างความเช่ือมั่นให้ผู้เกี่ยวข้องได้

เขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 1 อยา่ งชัดเจน

ติดต่อกันเกือบทกุ ปี

7. ผู้เรยี นท่ีจบการศึกษาระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 สามารถ

สอบเข้าเรียนต่อในห้องเรยี นพิเศษE-SMAT ของโรงเรยี นวชั

รวิทยา และสอบเขา้ เรยี นตอ่ ระดบั ช้นั ม.4 โรงเรียน

กาแพงเพชรได้

8. สถานศึกษาสนบั สนุน และสง่ เสริมใหผ้ เู้ รยี นแสดง

ความสามารถในด้านตา่ งๆ ส่งผลใหน้ ักเรยี นได้รับรางวลั ใน

การแขง่ ขันประเภทต่างๆ ตดิ ตอ่ กนั ทุกปี ไดแ้ ก่ รางวัล

เหรียญทองระดบั ชาตใิ นการแขง่ ขันศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี น

ระดับชาติ อยา่ งตอ่ เนื่อง ตั้งแต่ปกี ารศึกษา 2560 -2561

9. จานวนนักเรียนชัน้ มัธยมเพิ่มขน้ึ ทุกปซี ึ่งในปกี ารศึกษา

2562 เพ่มิ ข้นั ร้อยละ 6.15

แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาโรงเรยี นบ้านวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 22

ตารางที่ 13 (ตอ่ )

สรุปประเด็นที่เปน็ โอกาส (O) สรุปประเด็นทีเ่ ป็นอุปสรรค์ (T)

ดา้ นการเมอื งและกฎหมาย (Political and legal)

1. นโยบายสาคัญๆ เป็นประโยชน์ต่อการ จัด 1. ความไม่ย่ังยืน ไม่ต่อเน่ือง ของนโยบาย เช่น

การศึกษา เช่น นโยบายโรงเรียนดีประจาตาบล นโยบาย นโยบายมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย ผปู้ กครอง ไม่

เรียนฟรีเรียนดี 15 ปี ช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายผู้ปกครอง เข้าใจ เกิดความขัดแย้งเป็นข้อจากัด

นโยบายการพัฒนาโรงเรียนสู่มาตรฐาน ทาให้โรงเรียนมี ในการดาเนนิ งาน
ความพรอ้ มดา้ นอาคาร สถานที่ วัสดุ ครุภัณฑ์ในการจัดการ 2. นโยบายทางการศึกษาในบางโครงการ
เรียนการสอนและการบริหารจัดการ นโยบาย DLTV และ บางกิจกรรมไม่สอดคล้องกับความต้องการ

DLIT เป็นการนาเทคโนโลยีมาเป็นเคร่ืองมือในการจัดการ จาเป็นและการพัฒนาในระดับพื้นท่ี และบาง

เรียนการสอนในศตวรรษท่ี 21 และนโยบายอ่านออกเขียน โครงการไม่ได้ปฏบิ ตั ิจริง

ได้ คดิ เลขเปน็ อ่านคลอ่ ง เขยี นคลอ่ ง คิดเลขคลอ่ ง 3. โครงการ/กิจกรรมมีจานวนเยอะ และมีการ

2. นโยบายของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ซ้าซ้อนบุคลากรบางส่วนไม่เข้าใจการปฏิบัติ
กาแพงเพชร เขต 1ทาให้สถานศึกษามีแนวทางการปฏิบัติ ตามโครงการ/กิจกรรมท่ีกาหนด และขอ้ จากัด
เพื่อเพ่ิมคุณภาพในการจัดการศึกษาเพ่ิมความเช่ือม่ันให้ ดา้ นงบประมาณสนบั สนุน

ผู้ปกครองนักเรียน เช่น นโยบายทดสอบการอ่านออกเขียน 4. หน่วยราชการในระดับพ้ืนท่ี ตลอดจนชุมชน

ได้ คดิ เลขเป็น อา่ นคลอ่ ง เขยี นคลอ่ ง คดิ เลขคล่อง ท้องถิ่น บางแห่งไม่เข้าใจและให้ความสาคัญ

3. โครงการ/กิจกรรมมีการกาหนดไว้อย่างชัดเจนสอดคล้องกับ ในการจัดการศกึ ษานอ้ ย ทาให้ขาดพลังในการ

กลยุทธ์และเปูาประสงค์ส่งเสริมให้สถานศึกษามีคุณภาพ ขับเคลื่อนการพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่ือง

ในการจัดการศึกษา 5. ระเบียบ กฎหมาย บางเรื่องไม่สามารถนาไป

4. มีการสารวจความต้องการและการนาโครงการของโรงเรียน บังคับใช้ได้ เช่น พรบ.การศึกษาภาคบังคับ

ไปกาหนดไว้ในแผนงานงบประมาณประจาปี เพราะมีนักเรียนท่ีจบชั้น ป.6 บางราย
5. มีระเบียบ กฎหมาย ท่ีเอื้อต่อการบรหิ ารจดั การศึกษา มีการ ผู้ปกครองไม่ ได้ส่งเข้าศึ กษาต่อจนจ บ
การศึกษาภาคบังคับ และบางคนผู้ปกครอง
ดาเนินงานโดยใช้มาตรฐานเป็นกรอบในการขบั เคลอ่ื นการ

พฒั นาและกระตุน้ การดาเนนิ งานสคู่ ุณภาพสาหรบั ขาดความเข้าใจในการส่งเสริมการศึกษาของ
สถานศึกษาใช้มาตรฐานการประกนั คุณภาพภายใน บุตรหลาน จึงทาให้มีนักเ รียนบางส่วน
สว่ น สพป.ใชม้ าตรฐานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา ขาดเรยี นเป็นประจา

แผนพัฒนาการจดั การศึกษาโรงเรียนบ้านวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 23

ตารางท่ี 13 (ต่อ)

สรุปประเด็นทีเ่ ป็นโอกาส (O) สรปุ ประเด็นทเี่ ปน็ อุปสรรค์ (T)

ดา้ นเศรษฐกิจ (Economic)

1. ประชากรส่วนใหญ่อาชีพทานา ทาไรม่ ัน ไร่อ้อย สามารถทา 1. เป็นชุมชนขนาดเล็ก ประชากรน้อยโครงสร้าง

นาไดต้ ลอดปี และมปี ระชากรบางส่วนมีอาชีพรับราชการ ทางเศรษฐกจิ ไม่ซบั ซ้อน ผู้ปกครองบางราย

และทาธรุ กิจสว่ นตวั เปน็ การสรา้ งรายได้ ฐานะยากจนไมม่ ่ีท่ีทามาหากิน ตอ้ งย้ายท่ีอยู่

2. มรี ะเบยี บ กฎหมายท่ีเอื้อต่อการระดมทรัพยากรเพื่อการจัด ไปหางานทาในกรุงเทพ หรือเมืองใหญ่
การศึกษา และการเป็นนิติบุคคลของโรงเรียนสามารถนา 2. โรงเรียนมีงบประมาณสนับสนุนน้อยลง
รายได้จากการบริหารจัดการทรัพย์สินของสถานศึกษาไปใช้ จึงมีไม่เพียงพอสาหรับการบริหารจัดการ

ประโยชนใ์ นการจดั การศึกษาได้ คณุ ภาพการศึกษาอยา่ งทั่วถึง เท่าที่ควร

ด้านสงั คมและวฒั นธรรม (Social – cultural)

1. จานวนประชากรมีจานวนมาก อาศัยอยใู่ นพืน้ ทีต่ า่ งๆ 1. เด็กท่มี ีช่ือยูใ่ นทะเบียนราษฎร์บางรายไม่ได้
2. ชมุ ชนการพฒั นาโครงการพืน้ ฐาน ถนน ระบบ อยู่ในพนื้ ท่ี

3. สาธารณูปโภค ทาให้ชุมชนมคี วามสะดวก สบายข้ึน 2. เด็กบางกลุ่มที่ไม่ได้เรียนหนังสือมักติดยาเสพ
4. เป็นชุมชนเล็กอยู่กันแบบครอบครัว พึง่ พาอาศัยกนั ติดและอาศัยอยูบ่ ริเวณพื้นท่ใี กลส้ ถานศึกษา
5. โครงสร้างทางสงั คมไม่ซบั ซ้อน สว่ นใหญ่เป็นสังคม
3. ประชากรบางส่วนจบการศกึ ษาช้ัน ม.3

เกษตรกรรม ประชาชนจึงมีวิถชี วี ิตเรียบง่าย ใกล้ชดิ และไมไ่ ด้ให้ความสาคัญของการศึกษา
ธรรมชาติ สง่ ผลให้จดั การเรยี นรู้ไดส้ อดคลอ้ งกับท้องถนิ่ จึงไม่ไดส้ ง่ เสรมิ ให้บตุ รหลานศึกษาต่อ
สังคม

6. ประชากรส่วนใหญ่อ่านออกเขยี นได้

ด้านเทคโนโลยี (Technological)

1. ความก้าวหน้าด้าน ICT นามาประยุกต์ใช้เพิ่มพูน 1. การใช้ ICT ไม่สร้างสรรค์ ส่งผลให้ผู้เรียน

ประสิทธิภาพและคุณภาพในการจัดการเรียนรู้และการ มพี ฤติกรรมเส่ยี งด้านต่างๆ

บรหิ ารจัดการศึกษา 2. ครูและนักเรียนบางส่วนไม่สามารถก้าวทันการ

2. ความก้าวหน้าด้าน ICTทาให้สามารถเข้าถึงองค์ความรู้ได้ เปล่ียนแปลง ส่งผลต่อการเรียนรู้เพ่ือสร้าง

มากขึน้ สามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง ภมู ิคุ้มกันชวี ิตทีด่ ี

3. มีภูมิป๎ญญาท้องถ่ิน ปราชญ์ชาวบ้านท่ีหลากหลาย เป็น 3. ไม่มีการรว บรว มข้ อมูล จัดเก็บ ข้อมู ล

แหล่งเรียนรู้ และแบบอย่างการดาเนินชีวิตท่ีสอดคล้องกับ สารสนเทศท่เี ปน็ ระบบเพือ่ ศึกษาและเผยแพร่

ทอ้ งถ่นิ และความเปน็ ชาติไทย
4. ภูมิป๎ญญาท้องถ่ินได้เข้ามามีส่วนร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้

ให้เด็กและเยาวชนในสถานศึกษา

แผนพฒั นาการจดั การศึกษาโรงเรียนบา้ นวังทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 24

2. ปัญหาและอปุ สรรคในการจดั การศกึ ษา

ตารางที่ 14 แสดงป๎ญหาและอุปสรรค์ในการจดั การศึกษาของโรงเรียนบา้ นวงั ทอง

ปีการศึกษา 2562 จาแนกตามแผนงานดงั น้ี

บรหิ ารงานวชิ าการ

ลาดับที่ ปญั หาและอุปสรรค แนวทางแก้ปญั หา

1 การพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ ยังไม่หลากหลาย และเอ้ือต่อ สนบั สนนุ ใหค้ รผู สู้ อนพฒั นาแหล่งเรยี นรู้

การเรียนรู้ ให้เอื้อต่อการเรยี นร้ทู ้งั ภายในและ

ภายนอกห้องเรียน

2 การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ เครอ่ื งมือวัด และ สนบั สนนุ ให้ครผู ู้สอนสามารถพัฒนา

ประเมนิ ผล ยังไม่เป็นไปตามมาตรฐานการจัดการศกึ ษา กระบวนการเรยี นรู้ การสร้างเครอื่ งมือ

ส่งผลในการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนบางช้นั วัด และประเมินผล ให้เปน็ ไปตาม
เรียนไม่เป็นไปตามคา่ เปูาหมายของการจัดการศึกษา มาตรฐานการจดั การศกึ ษา

3 อปุ กรณ์ ICT เสีย และชารุด จึงไม่เพยี งพอสาหรับผเู้ รยี น สนับสนนุ งบประมาณในการปรบั ปรงุ

ใช้เทคโนโลยีทใี่ นการค้นควา้ ข้อมูล และการส่งเสรมิ ให้ ซอ่ มแซมอุปกรณ์ ICT ใหส้ ามารถใชง้ าน

ครูสรา้ งนวัตกรรมใหส้ อดคลอ้ งกบั ศตวรรษท่ี 21 ได้ดี

4 การพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา มกี ารเปลย่ี นแปลงบอ่ ย ปรบั โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษาให้
เปน็ ไปตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

บรหิ ารงานงบประมาณ

1 การบริหารงบประมาณโครงการ มกี ารติดตามการดาเนินงานอยา่ งเป็น
บางโครงการไมเ่ ป็นไปตามแผนงานปฏิบตั กิ ารของ รปู ธรรม
สถานศึกษา

2 งบประมาณลดลง จานวนนักเรยี นลดลงจงึ ส่งผลใหไ้ ม่ จดั สรรงบประมาณโดยยดึ หลกั การ

สามารถจัดสรรงบประมาณในการจัดหาวสั ดุ อปุ กรณ์ จดั การเรียนรู้ทเี่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั

เพ่อื ใชใ้ นการจัดการศึกษาให้แก่ผู้เรียนได้อย่างเพยี งพอ

บรหิ ารงานบคุ ลากร

1 บุคลกรครบู างสว่ น ยงั ขาดความตระหนักและความ สรา้ งความตระหนักและความเข้าใจใน

เข้าใจในการปฏิบัติงานให้เกดิ ผลสาเร็จตามหลักการ การปฏิบัติงานใหแ้ กค่ รแู ละบุคลการทุก

บรหิ ารงานแบบม่งุ ผลสมั ฤทธิ์ คนในการดาเนนิ งานแบบม่งุ ผลสัมฤทธิ์

บริหารทวั่ ไป

1 การบารุง ดูแล และพฒั นาอาคารสถานท่แี ละ ดาเนินการขอจัดตัง้ งบประมาณจาก

สภาพแวดล้อมของสถานศึกษา ยังมขี อ้ จากัดในเรื่องของ หนว่ ยงานต้นสงั กดั

งบประมาณสนบั สนุน ระดมทรัพยากรเพ่ือพฒั นาอาคารสถานท่ี

จาก ชมุ ชน และผมู้ สี ว่ นร่วม

แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 25

ตารางท่ี 14 (ต่อ)งานบริหารงานวิชาการ

2 การส่งเสรมิ การจัดกิจกรรมนักเรียน ผ้เู รยี น พฒั นาระบบงานกจิ การนกั เรียนโดยยดึ การมสี ว่ น

ยังขาดการมีส่วนรว่ มในการวางแผน ร่วม

3 สรา้ งกิจกรรมประชาสมั พันธ์ยังไม่เป็น มีการจดั กจิ กรรมของสถานศึกษาให้เปน็ รปู ธรรม

รปู แบบท่ีหลากหลาย เชน่ งานเปดิ โลกวชิ าการ การประชมุ ผู้ปกครอง

เพอ่ื ใหน้ ักเรียนแสดงผลงานต่อสาธารณชน และ

การมอบเกียรตบิ ตั รยกย่องนักเรยี นทม่ี ี

ความสามารถอย่างต่อเน่ืองทุกปี

จากตารางที่ 8 สามารถสรปุ ปญ๎ หาและอปุ สรรคในการจัดการศึกษาในปีการศึกษา 2560 ที่
ผ่านมา จาแนกตามแผนงานไดด้ งั นี้

1. การบริหารงานวิชาการ โดยภาพรวมพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนยังไม่บรรลุ
เปูาหมายมากท่ีสุด รองลงมาการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ด้านอุปกรณ์ ICT
และด้านการพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา ตามลาดับ

2. การบริหารงบประมาณ โดยภาพรวมพบวา่ งบประมาณในการบริหารงานลดลงมากท่ีสุด
รองลงมาการดาเนินงานโครงการบางโครงการยังไม่สามารถดาเนินการให้ เป็นไปตามแผนงาน
ปฏิบัติการ และขาดงบประมาณในการบารุง ดูแล และพัฒนาอาคารสถานท่ีและสภาพแวดล้อมของ
สถานศึกษา ได้แก่ ห้องนา้ โรงอาหาร ตามลาดบั

3. การบรหิ ารงานบุคคล โดยภาพรวมพบว่า ครูบางส่วนขาดความเข้าใจในการปฏิบัติงาน
ให้เกิดผลสาเร็จตามหลักการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์มากท่ีสุด รองลงมาขาดการติดตามการ
ปฏิบัตงิ านอย่างตอ่ เนอื่ ง และความรบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าที่ตามลาดบั

4. การบริหารทั่วไป โดยภาพรวมพบว่า การส่งเสริมการจัดกิจกรรมผู้เรียนยังขาดการมี
ส่วนร่วมในการวางแผนมากที่สุด รองลงมาการสร้างกิจกรรมประชาสัมพันธ์ยังไม่เป็นรูปแบบที่
หลากหลาย ตามลาดับ

แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาโรงเรียนบ้านวังทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 26

ผลการดาเนินงานทผี่ ่านมา

สรุปผลการประเมนิ คุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ในรอบปีที่ผา่ นมา ประจาปีการศกึ ษา 2561 (การประเมินตนเอง)

 ระดับการศกึ ษาปฐมวัย
ตารางที่ 23 แสดงผลการประเมนิ มาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย
มาตรฐานการศึกษา: ดี

มาตรฐานการศกึ ษา ระดับคุณภาพ

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก ดีเนย่ี ม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ดมี าก
มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ที่เนน้ เดก็ เป็นสาคัญ ดีเยยี่ ม

สรุป ผลการจดั การศึกษา | การศึกษาปฐมวัยของสถานศกึ ษา

 ปรบั ปรุง  พอใช้  ดี  ดมี าก  ดีเย่ยี ม

 ระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
ตารางท่ี 24 แสดงผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
มาตรฐานการศึกษา : ดี

มาตรฐานการศึกษา ระดบั คุณภาพ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รยี น ดเี ยีย่ ม
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ดเี ย่ยี ม
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรียนเป็น ดีเยย่ี ม
สาคัญ

สรปุ ผลการจัดการศกึ ษา | การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ของสถานศกึ ษา

 ปรับปรงุ  พอใช้  ดี  ดีมาก  ดีเย่ียม

แผนพัฒนาการจดั การศึกษาโรงเรียนบ้านวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 27

ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกของสถานศกึ ษา รอบที่ 3
(การประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม)

 ระดับการศึกษาปฐมวยั

ตารางที่ 25 แสดงผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา (รอบท3ี่ ) ระดับการศึกษาปฐมวยั

ระดับคณุ ภาพ

มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั ต้อง ต้อง พอใช้ ดี ดมี าก
เพ่ือการประเมินคุณภาพภายนอก ปรับปรงุ ปรับปรงุ

เร่งดว่ น 

กลมุ่ ตวั บ่งช้ีพืน้ ฐาน 

ตัวบ่งชท้ี ี่ 1 เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นรา่ งกายสมวยั  

ตวั บง่ ช้ที ่ี 2 เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นอารมณแ์ ละจติ ใจสมวัย 

ตัวบ่งชท้ี ่ี 3 เดก็ มีพัฒนาการดา้ นสังคมสมวยั 

ตัวบง่ ชท้ี ี่ 4 เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นสติป๎ญญาสมวยั 

ตวั บง่ ชท้ี ี่ 5 เดก็ มีความพรอ้ มศกึ ษาตอ่ ในช้ันตอ่ ไป

ตวั บ่งชี้ท่ี 6 ประสทิ ธผิ ลของการจดั ประสบการณเ์ รยี นรทู้ ่ีเนน้ เด็กเป็นสาคญั

ตัวบง่ ชี้ท่ี 7 ประสิทธิภาพของการบรหิ ารจดั การและการพัฒนาสถานศกึ ษา 

ตัวบ่งช้ที ่ี 8 ประสิทธผิ ลของระบบการประกันคุณภาพภายใน

กลุม่ ตวั บง่ ชี้อัตลกั ษณ์

ตัวบ่งชท้ี ี่ 9 ผลการพฒั นาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน วสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ 

และวตั ถปุ ระสงค์ของการจดั ตงั้ สถานศกึ ษา

ตวั บ่งชีท้ ี่ 10 ผลการพัฒนาตามจดุ เน้นและจุดเดน่ ทสี่ ่งผล สะทอ้ นเปน็

เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา

กลุ่มตวั บง่ ชม้ี าตรการสง่ เสริม

ตัวบ่งชี้ท่ี 11 ผลการดาเนนิ การโครงการพเิ ศษเพื่อส่งเสรมิ บทบาทของ 

สถานศึกษา

ตัวบ่งชท้ี ่ี 12 ผลการส่งเสรมิ พัฒนาสถานศกึ ษา เพ่อื ยกระดับ

มาตรฐาน รกั ษามาตรฐาน และพฒั นาสคู่ วามเป็นเลศิ ที่สอดคล้อง กบั

แนวทางการปฏริ ปู การศึกษา

ผลการประเมิน คณุ ภาพภายนอกรอบสาม | ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย
สถานศกึ ษามีผลการประเมนิ ระดบั คุณภาพ “ดี” โดยมคี า่ เฉลย่ี 89.20

คะแนน

ผลการรบั รองมาตรฐานคณุ ภาพ  รับรอง
 ไม่รับรอง เนื่องจาก....-......

แผนพฒั นาการจัดการศึกษาโรงเรียนบ้านวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 28

 ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

ตารางที่ 26 แสดงผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกของสถานศึกษา (รอบท3ี่ ) ระดับการศึกข้ันพน้ื ฐาน

ระดบั คุณภาพ

มาตรฐานการศกึ ษาระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ตอ้ ง ตอ้ ง พอใช้ ดี ดมี าก
เพือ่ การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ปรับปรงุ ปรับปรุง
เร่งดว่ น 
กลมุ่ ตวั บ่งชี้พ้นื ฐาน 

ตัวบ่งชี้ท่ี 1 ผเู้ รียนมสี ขุ ภาพกาย และสุขภาพจิตทดี่ ี 

ตวั บง่ ชี้ท่ี 2 ผเู้ รยี นมีคณุ ธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมทพี ึงประสงค์ 

ตวั บง่ ชี้ท่ี 3 ผูเ้ รยี นมคี วามใฝรุ ู้และเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เน่ือง 

ตวั บง่ ชีท้ ่ี 4 ผู้เรียนคดิ เป็น ทาเปน็ 

ตวั บ่งชท้ี ่ี 5 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของผู้เรียน 

ตัวบง่ ชี้ท่ี 6 ประสทิ ธผิ ลของการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั 

ตัวบ่งชี้ที่ 7 ประสิทธภิ าพของการบรหิ ารจัดการและการพัฒนาสถานศกึ ษา 

ตัวบง่ ชี้ท่ี 8 พัฒนาการของการประกนั คณุ ภาพภายในโดยสถานศกึ ษาและ
ตน้ สงั กดั

กล่มุ ตัวบง่ ช้อี ตั ลกั ษณ์

ตวั บ่งชท้ี ี่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลตุ ามปรัชญา ปณธิ าน พันธกิจ และ
วตั ถุประสงคข์ องการจดั ตง้ั สถานศกึ ษา

ตวั บ่งชีท้ ี่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเดน่ ท่สี ง่ ผลสะท้อนเป็น
เอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา

กล่มุ ตัวบ่งชมี้ าตรการส่งเสริม

ตัวบง่ ช้ีที่ 11 ผลการดาเนนิ การโครงการพเิ ศษเพอื่ ส่งเสรมิ บทบาทของ 
สถานศึกษา 

ตวั บง่ ช้ีท่ี 12 ผลการสง่ เสรมิ พัฒนาสถานศึกษา เพอื่ ยกระดับ
มาตรฐาน รกั ษามาตรฐาน และพฒั นาสคู่ วามเปน็ เลศิ ทีส่ อดคลอ้ งกับแนว

ทางการปฏริ ูปการศกึ ษา

ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม | ระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน

สถานศึกษามีผลการประเมินระดับคุณภาพ ระดบั “ด”ี โดยมคี ่าเฉล่ีย 81.27

คะแนน

ผลการรบั รองมาตรฐานคุณภาพ  รบั รอง

 ไมร่ ับรอง เน่อื งจาก....-......

แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาโรงเรียนบา้ นวังทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 29

ส่วนท่ี 2
กรอบแนวคิดและทศิ ทางการจดั ทาแผนพฒั นาการศกึ ษา 4 ปี

กรอบแนวความคิดและทิศทางการจัดทาแผนพฒั นาการศึกษา 4 ปี

การน้อมนา ศาสตรพ์ ระราชา

“ศาสตร์พระราชา” ตาราแห่งชีวิต พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
กล่าวในรายการ “ศาสตรพ์ ระราชาสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” เมื่อวันศุกร์ท่ี ๒๓ ธันวาคม ๒๕๕๙ ดังน้ี
“ด้วยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร พระราชทานพระบรมราชวโรกาส
ให้รัฐมนตรีซ่ึงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งใหม่เฝูาทูลละอองธุลีพระบาทถวายสัตย์ปฏิญาณ
ก่อนเข้ารับหน้าท่ี เมื่อวันที่ ๒๐ ธันวาคม ท่ีผ่านมา ณ พระที่น่ังอัมพรสถานพระราชวังดุสิต
ในโอกาสนี้ผมขออัญเชิญกระแสพระราชดารัสของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพ
ยวรางกูร อันมีใจความสาคัญ เป็นสิริมงคลแก่คณะรัฐมนตรีและปวงพสกนิกรทุกหมู่เหล่า
ผมเหน็ ว่าพวกเราทุกคนควร ได้ระลึกและรับใส่เกล้าใส่กระหม่อม น้อมนาไปสู่การปฏิบัติสรุปใจความ
ได้ว่า“...ขอให้นอ้ มนา ศาสตรพ์ ระราชา” แห่งองค์พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
รชั กาลที่ ๙ โดยใหศ้ กึ ษาวิเคราะหพ์ ระราชดาริ และแนวทางพระราชทานนานัปการ ตลอดระยะเวลา
๗๐ ปีที่ผ่านมา รวมท้ัง พระราชกรณียกิจที่ทรงปฏิบัติมาสา หรับประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการ
แผ่นดิน การประกอบกิจการ และการปฏิบัติหน้าท่ีต่าง ๆ ในความรับผิดชอบ รวมท้ัง ยึดถือเป็น
แบบอย่างท่ีดีในกิจวัตรประจาวัน อันจะเป็นสิริมงคล เป็นพระคุ้มครอง และเป็น “แสงสว่างนาทาง”
ให้แก่ปวงชนชาวไทยทุกคนตลอดไปเพ่ือสนองพระราชปณิธาน และเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
ชาวไทยทั้งปวงอย่างไรก็ตามการปฏิบัติงานใด ๆ ย่อมมีป๎ญหา ย่อมมีอุปสรรค ก็ขอให้ปรึกษากัน
หาข้อมูลท่ีถูกต้องและปฏิบัติด้วยความรอบคอบ ทันกาลเหมาะสมกับสถานการณ์และมีเหตุผล ทั้งนี้
ปญ๎ หาและอปุ สรรคเหลา่ น้ัน นอกจากจะเป็นเสมือน “บททดสอบ บทเรียน” แล้ว ยังจะเป็นส่ิงที่ช่วย
“เพิ่ม” ความสามารถให้กับเราทุกคนด้วย ดังน้ัน ต้องมีความตั้งใจ มีขันติมีความอดทน ตลอดจน
มีความกระตือรือร้น ที่จะศึกษาป๎ญหาและแก้ไขให้รอบคอบ ก็จะได้ผลต่อประเทศและเป็นบุญเป็น
กุศล กับตนเองด้วย...” นะครับ “ศาสตร์พระราชา” ถือว่าเป็น “ตาราแห่งชีวิต” เพราะบันทึกจาก
ประสบการณ์จากการทรงงาน ที่ทาให้ประเทศไทยสามารถผ่านวิกฤตการณ์ต่างๆ มาได้ทุกมิติผมขอ

แผนพัฒนาการจดั การศึกษาโรงเรยี นบา้ นวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 30

ช่นื ชมส่ือทกุ แขนงทไ่ี ด้นาเสนอในรูปแบบต่างๆสู่สายตาประชาชน และเยาวชนรุ่นใหม่ให้รับรู้เข้าใจได้
ลึกซงึ้ และถอ่ งแทม้ ากยิ่งข้นึ เพ่ือสามารถน้อมนาไปสู่การปฏบิ ตั ไิ ดเ้ ปน็ อย่างดี

๒๓ หลักการทรงงานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๙ ในหลวงรัชกาลท่ี ๙
ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่นอกจากจะทรงด้วย ทศพิธราชธรรมแล้ว ทรงยังเป็นพระราชาท่ี
เป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิตและการทางานแก่พสกนิกรของพระองค์และนานาประเทศอีกด้วย
ผู้คนต่างประจักษ์ ถึงพระอัจฉริยภาพของพระองค์ และมีความสา นึกในพระมหากรุณาธิคุณ เป็น
ล้นพ้นอันหาที่สุดมิได้ซ่ึงแนวคิดหรือหลักการทรงงานของในหลวงรัชกาลที่ ๙ มีความน่าสนใจ
ท่ีสมควรนามาประยุกต์ใช้กับชีวิตการทา งานเป็นอย่างยิ่ง หากท่านใดต้องการปฏิบัติตามรอย
เบ้อื งพระยุคลบาท ทา่ นสามารถนา หลักการ ทรงงานของพระองคไ์ ปปรบั ใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ไดด้ ังนี้

๑) จะทาอะไรต้องศึกษาข้อมูลให้เป็นระบบ ทรงศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบ
จากข้อมูลเบ้ืองต้น ท้ังเอกสาร แผนที่ สอบถามจากเจ้าหน้าที่ นักวิชาการ และราษฎรในพื้นท่ีให้ได้
รายละเอียดท่ีถูกต้อง เพ่ือนา ข้อมูลเหล่านั้นไปใช้ประโยชน์ได้จริงอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และตรง
ตามเปาู หมาย

๒) ระเบิดจากภายใน จะทาการใดๆต้องเริ่มจากคนท่ีเก่ียวข้องเสียก่อน ต้องสร้างความ
เข้มแข็งจากภายในให้เกิดความเข้าใจและอยากทา ไม่ใช่การส่ังให้ทา คนไม่เข้าใจ ก็อาจจะไม่ทา
ก็เป็นได้ในการทา งานน้ันอาจจะต้องคุยหรือประชุมกับลูกน้อง เพ่ือนร่วมงาน หรือคนในทีมเสียก่อน
เพือ่ ให้ทราบถึงเปาู หมายและวธิ กี ารตอ่ ไป

๓) แก้ป๎ญหาจากจุดเล็ก ควรมองป๎ญหาภาพรวมก่อนเสมอ แต่เมื่อจะลงมือแก้ป๎ญหานั้น
ควรมองในสิ่งท่ีคนมักจะมองข้าม แล้วเริ่มแก้ป๎ญหาจากจุดเล็ก ๆ เสียก่อน เมื่อสา เร็จแล้วจึงค่อยๆ
ขยับขยายแกไ้ ปเร่ือยๆ ทลี ะจุดเราสามารถเอามาประยุกต์ ใช้กับการทา งานได้โดยมองไปท่ีเปูาหมาย
ใหญข่ องงานแตล่ ะชิน้ แล้วเริ่มลงมือทา จากจุดเล็ก ๆ ก่อน ค่อย ๆ ทา ค่อย ๆ แก้ไปทีละจุด งานแต่
ละชิ้นก็จะลลุ วงไปได้ ตามเปูาหมายที่วางไว้“ถ้าปวดหัวคิดอะไรไม่ออก ก็ต้องแก้ไขการปวดหัวน้ีก่อน
มันไม่ได้แก้อาการจริง แต่ต้องแก้ป๎ญหาที่ทา ให้เราปวดหัวให้ได้เสียก่อน เพื่อจะให้อยู่ในสภาพท่ีดี
ได…้ ”

๔) ทาตามลาดับขั้น เร่ิมต้นจากการลงมือทา ในส่ิงท่ีจา เป็นก่อน เม่ือสาเร็จแล้ว ก็เร่ิม
ลงมือส่ิงท่ีจา เป็นลาดับต่อไป ด้วยความรอบคอบและระมัดระวัง ถ้าทาตาม หลักนี้ได้งานทุกส่ิงก็จะ
สา เร็จได้โดยง่าย… ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงเริ่มต้นจาก ส่ิงที่จา เป็นที่สุดของประชาชนเสียก่อน
ได้แก่ สุขภาพสาธารณสุข จากนั้นจึงเป็น เรื่องสาธารณูปโภคขั้นพ้ืนฐาน และส่ิงจา เป็นในการ
ประกอบอาชีพ อาทิถนน แหล่งน้าเพื่อการเกษตร การอุปโภคบริโภค เน้นการปรับใช้ภูมิป๎ญญา
ทอ้ งถน่ิ ท่ีราษฎรสามารถนา ไปปฏิบตั ิไดแ้ ละเกดิ ประโยชนส์ งู สุด “การพฒั นาประเทศ จา เป็นต้องทา
ตามลาดับข้ัน ต้องสร้างพื้นฐาน คือความพอมีพอกิน พอใช้ของ ประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน

แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาโรงเรยี นบ้านวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 31

ใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้อง ตามหลักวิชาเม่ือได้พ้ืนฐานที่ม่ันคงพร้อมพอสมควร
สามารถปฏิบัติได้แล้วจึงค่อย สร้างเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจข้ันที่สูงข้ึนโดยลาดับต่อไป…”
พระบรม ราโชวาทของในหลวงรัชกาลที่ ๙ เม่อื วันท่ี ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗

๕) ภมู ิสังคม ภูมศิ าสตร์ สังคมศาสตร์ การพัฒนาใด ๆ ต้องคา นึงถึงสภาพภูมิประเทศของ
บริเวณนั้น วา่ เป็นอย่างไรและสงั คมวทิ ยาเก่ียวกับลักษณะนสิ ยั ใจคอคน ตลอดจนวัฒนธรรม ประเพณี
ในแต่ละท้องถ่ินที่มีความแตกต่างกัน “การพัฒนาจะต้องเป็นไปตาม ภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์และ
ภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ ในสังคมวิทยา คือ นิสัยใจคอของคนเรา จะไปบังคับให้คนอ่ืนคิดอย่าง
อ่ืนไม่ไดเ้ ราตอ้ งแนะนา เขา้ ไป ดูว่าเขาต้องการอะไรจริง ๆ แล้วก็อธิบายให้เขาเข้าใจหลักการของการ
พฒั นาน้ี กจ็ ะเกิดประโยชน์อย่างย่งิ ”

๖) ทางานแบบองค์รวม ใชว้ ิธคี ดิ เพ่ือการทางาน โดยวธิ คี ดิ อยา่ งองคร์ วม คือการมองสิ่ง
ต่างๆ ทเ่ี กดิ อยา่ งเปน็ ระบบครบวงจร ทกุ สิง่ ทุกอย่างมีมติ เิ ชื่อมต่อกนั มองสิ่งทเี่ กดิ ขน้ึ และแนวทาง
แกไ้ ขอย่างเชอื่ มโยง

๗) ไม่ติดตารา เม่ือเราจะทา การใดนั้น ควรทา งานอย่างยืดหยุ่นกับสภาพและ
สถานการณ์นั้นๆไม่ใช่การยึดติดอยู่กับแค่ในตาราวิชาการเพราะบางทีความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด
บางครงั้ เรายึดติดทฤษฎีมากจนเกนิ ไปจนทา อะไรไม่ได้เลย สิ่งท่ีเราทา บางคร้ังต้องโอบอ้อมต่อสภาพ
ธรรมชาติส่ิงแวดลอ้ ม สงั คม และ จิตวิทยาดว้ ย

๘) รจู้ กั ประหยดั เรียบงา่ ย ไดป้ ระโยชน์สงู สุด ในการพัฒนาและช่วยเหลือราษฎร ในหลวง
รัชกาลที่ ๙ ทรงใช้ หลักในการแก้ป๎ญหาด้วยความเรียบง่ายและประหยัด ราษฎรสามารถทา ได้เอง
หาได้ในท้องถ่ินและประยุกต์ใช้ส่ิงท่ีมีอยู่ในภูมิภาคน้ันมาแก้ไข ปรับปรุงโดยไม่ต้อง ลงทุนสูงหรือใช้
เทคโนโลยีท่ียุ่งยากมากนัก ดังพระราชดา รัสตอนหน่ึงว่า “…ให้ปลูกปุาโดยไม่ต้องปลูกโดยปล่อยให้
ขึ้นเองตามธรรมชาติจะไดป้ ระหยดั งบประมาณ…”

๙) ทาให้ง่าย ทรงคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุงและแก้ไขงาน การพัฒนาประเทศ ตามแนว
พระราชดา ริไปได้โดยง่าย ไมย่ ุง่ ยากซบั ซ้อน และท่ีสาคญั อย่างยิง่ คอื สอดคลอ้ งกบั สภาพความเป็นอยู่
ของประชาชนและระบบนเิ วศโดยรวม “ทา ใหง้ ่าย”

๑๐) การมีส่วนร่วม ทรงเป็นนักประชาธิปไตย ทรงเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชน
หรือเจ้าหนา้ ท่ีทกุ ระดับไดม้ าร่วมแสดงความคิดเห็น “สาคัญท่ีสุดจะต้อง หัดทา ใจให้กว้างขวาง หนัก
แน่น รู้จักรับฟ๎งความคิดเห็น แม้กระทั่งการวิพากษ์ วิจารณ์จากผู้อ่ืนอย่างฉลาดนั้น แท้จริงคือ การ
ระดมสติป๎ญญาและประสบการณ์ อันหลากหลายมาอา นวยการปฏิบัติบริหารงานให้ประสบผลสา
เร็จท่ีสมบรู ณ์ นน่ั เอง”

๑๑) ต้องยึดประโยชน์ส่วนรวม ในหลวงรัชกาลที่๙ ทรงระลึกถึงประโยชน์ของส่วนรวม
เป็นสาคญั ดังพระราชดารัสตอนหนึ่งว่า“…ใครต่อใครบอกว่าขอให้เสียสละส่วนตัวเพ่ือส่วนรวม อันน้ี

แผนพัฒนาการจดั การศึกษาโรงเรยี นบา้ นวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 32

ฟง๎ จนเบื่ออาจราคาญด้วยซา้ วา่ ใครต่อใครมาก็บอกว่าขอให้คิดถึงประโยชน์ ส่วนรวม อาจมานึกในใจ
ว่าให้ๆอยู่เรื่อยแล้วส่วนตัวจะได้อะไรขอให้คิดว่าคนท่ีให้ เป็นเพ่ือส่วนรวมน้ัน มิได้ให้ส่วนรวมแต่
อยา่ งเดียว เป็นการให้เพอ่ื ตัวเองสามารถ ทจี่ ะมีส่วนรวมทจี่ ะอาศยั ได้…”

๑๒) บริการที่จุดเดียว ทรงมีพระราชดาริมากว่า ๒๐ ปีแล้ว ให้บริหารศูนย์ศึกษา
การพัฒนาหลายแห่งทั่วประเทศโดยใช้หลักการ “การบริการรวมที่จุดเดียว : One Stop Service”
โดยทรงเน้นเรื่องรู้รักสามัคคีและการร่วมมือร่วมแรงร่วมใจกัน ด้วยการปรับลดช่องว่างระหว่าง
หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง

๑๓) ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ ทรงเข้าใจถึง
ธรรมชาติ และต้องการให้ประชาชนใกล้ชิดกับทรัพยากรธรรมชาติทรงมองป๎ญหาธรรมชาติ
อยา่ งละเอียดโดยหากเราตอ้ งการแกไ้ ขธรรมชาติจะต้องใชธ้ รรมชาตเิ ข้าช่วยเหลือเราดว้ ย

๑๔) ใช้อธรรมปราบอธรรมทรงนาความจริงในเร่ืองธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ
มาเป็นหลกั การแนวทางปฏบิ ตั ิในการแก้ไขปญ๎ หาและปรับปรงุ สภาวะท่ีไม่ปกติ เข้าสู่ระบบท่ีปกติ เช่น
การบาบัดนา้ เนา่ เสียโดยให้ผักตบชวาซึง่ มีตามธรรมชาติให้ดูดซมึ สิง่ สกปรกปนเป้อื นในนา้

๑๕) ปลูกปุาในใจคน การจะทาการใดสา เร็จต้องปลูกจิตสา นึกของคนเสียก่อน ต้องให้
เหน็ คุณค่าเห็นประโยชน์กับส่งิ ท่ีจะทา ….“เจา้ หนา้ ท่ีปุาไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจ คนเสียก่อน แล้ว
คนเหลา่ นั้นก็จะพากนั ปลกู ต้นไมล้ งบนแผน่ ดนิ และจะรักษาตน้ ไม้ ดว้ ยตนเอง”

๑๖) ขาดทุนคือกาไร’ หลักการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๙ ที่มีต่อ
พสกนิกรไทย“การให้”และ“การเสียสละ”เป็นการกระทาอันมีผลเป็นกาไรคือ ความอยู่ดีมีสุขของ
ราษฎร

๑๗) การพ่ึงพาตนเอง การพัฒนาตามแนวพระราชดาริเพ่ือการแก้ไขป๎ญหาในเบ้ืองต้น
ด้วยการแก้ไขป๎ญหาเฉพาะหน้า เพ่ือให้มีความแข็งแรงพอที่จะดารงชีวิตได้ต่อไป แล้วขั้นต่อไปก็คือ
การพฒั นาใหป้ ระชาชนสามารถอยูใ่ นสงั คมไดต้ ามสภาพแวดล้อมและสามารถพ่งึ ตนเองไดใ้ นทสี่ ุด

๑๘) พออยู่พอกิน ให้ประชาชนสามารถอยู่อย่าง “พออยู่พอกิน” ให้ได้เสียก่อน แล้ว
จึงคอ่ ยขยับขยายใหม้ ขี ีดสมรรถนะทก่ี า้ วหนา้ ต่อไป

๑๙) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาท่ีในหลวงรัชกาลที่ ๙ พระราชทานพระราชดารัส
ช้ีแนะแนวทางการดา เนินชีวิตให้ดา เนินไปบน “ทางสายกลาง” เพ่ือให้รอดพ้น และสามารถดา รง
อยู่ได้อย่างม่ันคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และ การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ซ่ึงปรัชญานี้
สามารถนา ไปประยกุ ต์ใช้ไดท้ ั้งระดบั บคุ คล องค์กร และชมุ ชน

๒๐) ความซอ่ื สัตย์สุจรติ จรงิ ใจตอ่ กัน ผู้ทีม่ ีความสจุ ริตและบรสิ ทุ ธ์ใิ จ แมจ้ ะมีความร้นู อ้ ย
กย็ อ่ ม ทา ประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมได้มากกว่าผทู้ มี่ ีความร้มู าก แต่ไมม่ ีความสจุ รติ ไม่มีความบรสิ ทุ ธ์ิใจ

แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาโรงเรียนบ้านวังทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 33

๒๑) ทางานอยา่ งมีความสุข ทา งานต้องมคี วามสุขดว้ ย ถ้าเราทาอย่างไมม่ คี วามสุขเราจะ
แพ้ แตถ่ า้ เรามคี วามสุขเราจะชนะ สนกุ กับการทา งานเพียงเทา่ น้นั ถือว่าเราชนะแล้ว หรือจะทา งาน
โดยคา นึงถงึ ความสุขที่เกดิ จากการไดท้ า ประโยชนใ์ ห้กับผ้อู น่ื กส็ ามารถทา ได้“…ทา งานกับฉนั ฉัน
ไมม่ ีอะไรจะใหน้ อกจากการมีความสขุ รว่ มกัน ในการทา ประโยชน์ใหก้ ับผอู้ ื่น…”

๒๒) ความเพยี ร การเรมิ่ ตน้ ทา งานหรือทา สงิ่ ใดน้ันอาจจะไมไ่ ด้มคี วามพร้อม ต้องอาศยั
ความอดทนและความมงุ่ มัน่ ดงั เช่น พระราชนพิ นธ์“พระมหาชนก” กษตั รยิ ผ์ ้เู พยี รพยายามแมจ้ ะไม่
เห็นฝง๎่ ก็จะวา่ ยนา้ ต่อไป เพราะถ้าไม่เพยี รว่ายก็จะ ตกเปน็ อาหารปปู ลา และไมไ่ ด้พบกบั เทวดาที่
ช่วยเหลอื มใิ หจ้ มน้า

๒๓) รู้ รกั สามัคคี l รูค้ อื ร้ปู ๎ญหาและรู้วธิ แี ก้ปญ๎ หาน้ัน l รัก คอื เม่ือเรารู้ถงึ ป๎ญหาและวธิ ี
แกแ้ ลว้ เราตอ้ งมีความรัก ทจ่ี ะลงมือทา ลงมือแก้ไขปญ๎ หานั้น l สามัคคีคือ การแก้ไขป๎ญหาต่าง ๆ ไม่
สามารถลงมือทา คนเดียวได้ต้องอาศยั ความรว่ มมือรว่ มใจกัน

พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรชั กาลท่ี ๑๐

การศกึ ษาต้องมุ่งสร้างพืน้ ฐานใหแ้ ก่ผู้เรียน ๔ ดา้ น
๑. มีทศั นคตทิ ่ีถูกต้องต่อบา้ นเมอื ง
๒. มพี นื้ ฐานชีวติ ท่ีมัน่ คง
๓. มงี านทา มีอาชีพ
๔. เป็นพลเมืองดี

๑. มีทศั นคติท่ีถูกต้องต่อบ้านเมือง
๑. มคี วามรู้ความเข้าใจท่มี ตี ่อชาตบิ า้ นเมือง
๒. ยดึ มน่ั ในศาสนา
๓. ม่นั คงในสถาบันพระมหากษัตริย์
๔. มคี วามเอ้ืออาทรต่อครอบครัวและชมุ ชนของตน

แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาโรงเรยี นบ้านวังทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 34

๒. มีพ้นื ฐานชวี ิตที่มั่นคง
๑. รจู้ ักแยกแยะส่ิงท่ีผดิ -ชอบ/ช่ัว-ดี
๒. ปฏิบัติแต่สง่ิ ทช่ี อบทดี่ ีงาม
๓. ปฏิเสธส่ิงทผี่ ดิ สิ่งที่ชวั่
๔. ช่วยกนั สร้างคนดใี หแ้ กบ่ ้านเมือง

๓. มีงานทามีอาชีพ
๑ การเลยี้ งดูลูกหลานในครอบครัว หรือการฝึกฝนอบรม ในสถานศึกษาต้องมุง่

ใหเ้ ดก็ และเยาวชนรักงาน สู้งาน ทาจนงานสา เร็จ
๒. การฝึกฝนอบรมทงั้ ในหลกั สูตรและนอกหลักสตู รต้อง มีจุดมงุ่ หมายให้ผเู้ รียน

ทา งานเป็น และมงี านทา ในทสี่ ุด
๓. ตอ้ งสนับสนุนผู้ สาเร็จหลกั สูตรมีอาชีพ มีงานทา จนสามารถ เลีย้ งตัวเอง

และครอบครวั
๔. เป็นพลเมืองดี
๑. การเปน็ พลเมอื งดเี ป็นหน้าท่ขี องทกุ คน
๒. ครอบครัว-สถานศึกษาและสถานประกอบการตองสง่ เสรมิ ให้ทุก
คนมีโอกาสทา หน้าทเี่ ปน็ พลเมืองดี
๓. การเปน็ พลเมืองดีคือ “เห็นอะไรทจ่ี ะทาเพ่อื บ้านเมืองได้กต็ ้อง
ทา” เช่น งานอาสาสมคั ร งานบาเพญ็ ประโยชน์ งานสาธารณกุศล ให้ทาด้วย
ความมีน้าใจ และ ความเอ้อื อาทร”

แผนพฒั นาการจดั การศึกษาโรงเรยี นบา้ นวังทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 35

วิสัยทัศน์ พนั ธกิจ เปา้ ประสงค์ ยุทธศาสตรแ์ ละกลยทุ ธ์ ของ สพฐ.
ปงี บประมาณ 2561

 วิสัยทศั น์
การศึกษาขัน้ พนื้ ฐานของประเทศไทย มคี ุณภาพและมาตรฐานระดับสากล บนพ้ืนฐานของ

ความเปน็ ไทย

 พันธกิจ
1. สง่ เสรมิ และสนบั สนุนให้ประชากรวยั เรียนทุกคนไดร้ บั การศึกษาอยา่ งทว่ั ถงึ

และมคี ุณภาพ
2. ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม มคี ุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ตามหลักสตู รและ

คา่ นยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ
3. พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการที่เน้นการมีส่วนร่วม เพอ่ื เสรมิ สร้างความรับผิดชอบ ตอ่

คณุ ภาพการศึกษาและบรู ณาการการจัดการศึกษา

 เปา้ ประสงค์
1. นกั เรียนระดบั ก่อนประถมศกึ ษาและระดบั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานทกุ คน มพี ฒั นาการ

เหมาะสมตามวยั และมีคุณภาพ
2. ประชากรวัยเรยี นทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษาข้นั พน้ื ฐานอยา่ งทว่ั ถงึ มคี ณุ ภาพ

และเสมอภาค
3. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะตรงตามสายงาน และมวี ฒั นธรรมการทางาน

ทม่ี งุ่ เน้นผลสมั ฤทธ์ิ
4. สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาสานกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ และสถานศึกษา มี

ประสิทธภิ าพ
และเป็นกลไกขบั เคลอื่ นการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่คุณภาพ

ระดับมาตรฐานสากล
5. สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน เน้นการทางานแบบบรู ณาการ มี

เครือข่ายการบริหารจัดการ บริหารแบบมีสว่ นรว่ มจากทุกภาคสว่ นในการจัดการศึกษา กระจาย
อานาจ และความรับผดิ ชอบสู่สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และสถานศึกษา

แผนพฒั นาการจัดการศึกษาโรงเรยี นบ้านวังทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 36

6. พ้นื ที่พิเศษ ได้รบั การพฒั นาคุณ ภาพการศึกษาและพฒั นารูปแบบการจัดการศึกษาท่ี
เหมาะสมตามบรบิ ทของพื้นท่ี

7. หนว่ ยงานทุกระดบั พฒั นาสอ่ื เทคโนโลยี และระบบข้อมลู สารสนเทศเพื่อการบรหิ ารจัด
การศึกษาอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

 ยุทธศาสตรใ์ นการดาเนนิ งานดงั น้ี

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 ด้านการจัดการศึกษาเพื่อความมัน่ คง

กลยทุ ธ์ 1. เสรมิ สร้างความมนั่ คงของสถาบันหลกั และการปกครองในระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ

1.1 นอ้ มนาแนวพระราชดาริ สืบสานพระราชปณิธานและพระบรมราโชบาย
ด้านการศึกษา หรอื “ศาสตร์พระราชา” มาใชใ้ นการจดั กระบวนการเรียนร้อู ย่างยง่ั ยนื

1.2 ปลูกฝ๎งและเสรมิ สร้างวิถีประชาธิปไตย ความสามัคคี สมานฉนั ท์ สันตวิ ิธี
ต่อตา้ นการทจุ ริตคอรปั ช่นั และยดึ มน่ั ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุข

1.3 เสรมิ สร้างความรู้ความเข้าใจทถ่ี ูกต้องเกีย่ วกบั สถาบนั ชาติ ศาสนา
พระมหากษัตรยิ ์ ผา่ นหลักสูตรและกระบวนการเรียนร้ปู ระวตั ศิ าสตร์และความเปน็ พลเมือง

กลยทุ ธ์ 2. ปลกู ฝังผ้เู รียนดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ มทีพ่ ึงประสงค์
2.1 ส่งเสริมสนบั สนุนการจดั กิจกรรมท้ังในและนอกห้องเรียน ท่เี ออ้ื ต่อการ

พฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรมคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคต์ ามหลักสูตรและค่านิยมหลักของคนไทย 12
ประการ

2.2 เสริมสร้างความรคู้ วามเข้าใจ เกีย่ วกบั ภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ เช่น
อาชญากรรม และความรนุ แรงในรูปแบบตา่ งๆ สง่ิ เสพตดิ ภยั พบิ ัติจากธรรมชาติ ภยั จากโรคอุบตั ใิ หม่
ภัยจากไซเบอร์ ฯลฯ

กลยุทธ์ 3. พัฒนาการจัดการศกึ ษาโรงเรียนในเขตพ้นื ทพ่ี เิ ศษให้เหมาะสมตามบริบท
ของพื้นที่

3.1 เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใต้
3.2 เขตระเบียงเศรษฐกิจ
3.3 เขตสามเหล่ียมมั่นคง มง่ั คง่ั ย่งั ยนื
3.4 เขตพนื้ ท่ีชายแดน
3.5 เขตเศรษฐกจิ พิเศษ ฯลฯ

แผนพฒั นาการจัดการศึกษาโรงเรยี นบา้ นวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 37

ยุทธศาสตร์ที่ 2 ดา้ นการพฒั นาคุณภาพผู้เรียน และส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษาเพ่อื สร้างขดี
ความสามารถในการแข่งขนั

กลยุทธ์ 1. เสรมิ สร้างความเข้มแขง็ ในการพัฒนาผู้เรียนอย่างมคี ุณภาพด้วยการปรับ
หลักสตู ร การวดั และประเมินผลท่เี หมาะสม

1.1 ปรับปรงุ หลักสตู รในระดับปฐมวัยและหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พ้ืนฐาน และนาหลักสูตรไปสู่การปฏบิ ัตใิ หเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพ และจัดการเรยี นรูใ้ ห้สอดคลอ้ งกับ
หลกั สูตร ตามความจาเป็นและความต้องการของผเู้ รยี น ชมุ ชน ท้องถ่ิน และสังคม

1.2 ส่งเสริมการเรยี นการสอนให้ผู้เรียนมคี วามมั่นใจในการส่อื สาร
ภาษาอังกฤษ ภาษาประเทศคู่คา้ และภาษาอาเซยี นอย่างน้อย ๑ ภาษา

1.3 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลทกุ ระดบั ให้มคี ุณภาพและมาตรฐาน
นาไปสกู่ ารพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนเตม็ ตามศักยภาพ

กลยุทธ์ 2 พัฒนาคุณภาพกระบวนการเรียนรู้
2.1 พฒั นาผู้เรียนระดับกอ่ นประถมศกึ ษา ใหม้ พี ัฒนาการทางด้านรา่ งกาย

อารมณ์ จติ ใจสงั คม และสติป๎ญญา ใหม้ ีความพร้อมเข้าสู่การเรยี นในระดบั ท่ีสูงข้นึ
2.2 สง่ เสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนสามารถอา่ นออกเขยี นได้ตามชว่ งวยั
2.3 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหผ้ เู้ รยี นมีนสิ ยั รักการอ่าน
2.4 ส่งเสรมิ การจดั การเรียนรูท้ ี่ใหผ้ เู้ รยี นได้เรียนรผู้ ่านกจิ กรรมการปฏบิ ตั ิจรงิ

(ActiveLearning) เนน้ ทักษะกระบวนการ ใหเ้ กิดทักษะการคิดวเิ คราะห์ คิดแกป้ ๎ญหา และคิด
สรา้ งสรรคใ์ นทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้ ท้ังในและนอกห้องเรียน

2.5 ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนมีทักษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี ๒๑
2.6 ปลูกฝง๎ ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรแ์ ละจติ วิทยาศาสตรใ์ ห้กบั นักเรยี น
ระดับก่อนประถมศกึ ษาตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์นอ้ ย ประเทศไทย
2.7 สนับสนุนการผลติ จดั หาและใช้ส่อื การเรียนการสอน เทคโนโลยี
นวัตกรรม และสงิ่ อานวยความสะดวกทห่ี ลากหลายรวมท้ังการพฒั นาห้องสมุดและแหล่งเรยี นรู้
ภายในสถานศกึ ษาในการจดั การเรียนร้ไู ดท้ งั้ ในห้องเรยี น และนอกห้องเรยี น เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนได้เรยี นรู้
อย่างเต็มศกั ยภาพ
2.8 สง่ เสรมิ การจัดหลักสตู รทกั ษะอาชีพ ควบคูไ่ ปกบั วชิ าสามญั เช่น ทวศิ กึ ษา
(DualEducation) , หลกั สูตรระยะสน้ั
2.9 สง่ เสริม สนบั สนนุ การพัฒนาผู้เรยี นทม่ี คี วามต้องการจาเป็นพเิ ศษ (ผพู้ กิ าร
ผู้ด้อยโอกาสและผูม้ ีความสามารถพิเศษ) ใหเ้ ตม็ ตามศักยภาพด้วยรูปแบบทีเ่ หมาะสม

แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาโรงเรยี นบ้านวังทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 38

2.10 ส่งเสรมิ สนบั สนุนการจดั กิจกรรมแนะแนวเพอื่ การศึกษาต่อและการ
ประกอบอาชีพอย่างเข้มแข็งต่อเนอื่ งและเปน็ รูปธรรม

กลยุทธ์ 3 สร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขนั
3.1 ยกระดับผลการประเมินระดบั นานาชาตติ ามโครงการ PISA (Programme

forInternational Student Assessment)
3.2 สง่ เสรมิ การพัฒนาศักยภาพผูเ้ รียนสู่ความเป็นเลิศในด้านต่างๆ
3.3 สง่ เสรมิ การเรยี นรูเ้ ชงิ บรู ณาการแบบสหวิทยาการ เชน่ สะเตม็ ศึกษา

(Science Technology Engineering and Mathematics Education : STEM Education)เพอ่ื
พัฒนากระบวนการคิด และการสรา้ งสรรคน์ วัตกรรมเพื่อสรา้ งมลู ค่าเพ่ิม สอดคลอ้ งกับประเทศไทย 4.0

กลยทุ ธ์ 4. สง่ เสริมสนับสนนุ การทาวิจยั และนาผลการวจิ ยั ไปใชพ้ ัฒนาคณุ ภาพการ
จดั การศึกษา

4.1 ส่งเสรมิ การทาวิจัยเพื่อพัฒนาการบรหิ ารจดั การศกึ ษา
4.2 สง่ เสรมิ การทาวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาหลักสตู ร กระบวนการเรียนรู้ การวัดและ
ประเมนิ ผล โดยเนน้ ใหม้ ีการวิจัยในชน้ั เรยี น

ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ด้านการสง่ เสรมิ พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา

กลยุทธ์ 1 พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ใหส้ ามารถจดั การเรียนรูอ้ ยา่ งมี
คุณภาพ ในรปู แบบท่หี ลากหลาย เชน่

1.1 TEPE Online (Teachers and Educational Personals
Enhancement Based onMission and Functional Areas as Majors)

1.2 ชุมชนแห่งการเรียนร้ทู างวชิ าชีพ (Professional Learning Community: PLC)
1.3 การเรียนรผู้ า่ นกิจกรรมการปฏิบัตจิ รงิ (Active Learning) ฯลฯ
กลยทุ ธ์ 2 พัฒนาระบบการบรหิ ารงานบุคคลให้มีประสทิ ธิภาพ โดยเช่อื มโยงกบั หนว่ ยงานที่
เกีย่ วข้องดงั นี้
2.1 การกาหนดแผนอัตรากาลงั การสรรหา การบรรจแุ ตง่ ต้ัง การประเมินและ
การพัฒนา
2.2 การสรา้ งแรงจูงใจใหค้ รแู ละบุคลากรทางการศึกษามีขวญั และกาลงั ใจใน
การทางาน

แผนพฒั นาการจัดการศึกษาโรงเรียนบา้ นวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 39

ยุทธศาสตร์ที่ 4 ดา้ นโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียม การเขา้ ถึงบรกิ ารทางการศกึ ษา

กลยทุ ธ์ 1. เพ่มิ โอกาสการเข้าถึงการศกึ ษาทีม่ คี ณุ ภาพ
1.1 ส่งเสริมประชากรวยั เรยี นทุกคนให้ได้รับโอกาสในการเข้ารับบริการทาง

การศกึ ษาอย่างท่วั ถึง
มีคณุ ภาพและเสมอภาค

1.2 สรา้ งความเข้มแข็งของระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน ระบบสง่ เสริม
ความประพฤตนิ ักเรยี น ระบบคุ้มครองนักเรยี น และการสร้างภมู คิ มุ้ กนั ทางสงั คม

กลยทุ ธ์ 2. ลดความเหล่ือมล้าทางการศกึ ษา
2.1 ประสานหน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้อง ในการจดั การศกึ ษาทเี่ หมาะสม สาหรบั เด็ก

ด้อยโอกาสทไ่ี ม่อยใู่ นทะเบียนราษฎร เช่น เดก็ ไร้สญั ชาติ เด็กพลดั ถิ่น เด็กตา่ งด้าว เดก็ ไทยทไี่ ม่มเี ลข
ประจาตัวประชาชน เปน็ ตน้

2.2 ส่งเสริมสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีในการจัดการศึกษาให้ครอบคลุมทุก
พ้ืนท่ีอยา่ งทวั่ ถึง เช่นการพฒั นาคุณภาพศกึ ษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (Distance learning
information technology : DLIT) , การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
ผ่านดาวเทยี ม (Distance LearningTelevision : DLTV) ฯลฯ
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 ด้านการจัดการศึกษาเพ่ือสร้างเสริมคณุ ภาพชีวิตทเี่ ปน็ มิตรกับสงิ่ แวดล้อม

กลยุทธ์ 1. จดั การศึกษาเพ่อื สรา้ งเสรมิ คุณภาพชีวิต
1.1 ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างจิตสานึกรกั ษส์ ิ่งแวดลอ้ ม มีคุณธรรม จริยธรรม

และนอ้ มนาแนวคดิ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏบิ ตั ิในการดาเนินชวี ิต
1.2 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้

แหล่งเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ
สงิ่ แวดลอ้ ม

1.3 สรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมือกบั ภาคส่วนต่างๆ ในการอนุรกั ษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม

ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการและส่งเสรมิ ใหท้ ุกภาคสว่ นมีส่วนรว่ มในการ
จดั การศกึ ษา

กลยทุ ธ์ 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธภิ าพ
1.1 พฒั นาระบบการวางแผน การนาแผนไปสู่การปฏบิ ตั ิ การกากับ ตดิ ตาม

ตรวจสอบ และประเมนิ ผล เพื่อการบรหิ ารจัดการทม่ี ปี ระสิทธิภาพ โดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล

แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นวังทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 40

1.2 พฒั นาระบบงบประมาณและการสนบั สนุนคา่ ใช้จา่ ยเพ่ือการศกึ ษาข้นั
พ้นื ฐาน

1.3 พฒั นาระบบเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพื่อการจัดการศึกษา ท่มี ีมาตรฐานเชือ่ มโยงและ
เข้าถึงได้

1.4 สรา้ งความเข้มแขง็ และยกระดบั คณุ ภาพสถานศึกษาตามบรบิ ทของพน้ื ท่ี
เชน่ โรงเรียนที่ประสบป๎ญหาวิกฤตทางการศึกษา (ICU), โรงเรยี นประชารฐั (ดใี กลบ้ ้าน) , โรงเรยี น
คณุ ธรรม, โรงเรยี นห้องเรยี นกฬี า,โรงเรียนมาตรฐานสากล ฯลฯ

1.5 ส่งเสรมิ ระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้เขม้ แข็ง
1.6 ยกย่องเชดิ ชูเกยี รตสิ านกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา สานักบริหารงาน
การศกึ ษาพิเศษสถานศึกษา และองค์คณะบคุ คล ทีม่ ีผลงานเชงิ ประจกั ษ์

กลยทุ ธ์ 2. สรา้ งความเข้มแขง็ ในการบริหารจัดการแบบมสี ว่ นรว่ ม
2.1 สง่ เสริมการบริหารจดั การเขตพืน้ ที่การศึกษาโดยใช้พ้ืนท่ีเปน็ ฐาน (Area-

baseManagement), รูปแบบการบรหิ ารแบบกระจายอานาจ “CLUSTERs” เปน็ ตน้
2.2 เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาจัดทาแผนบรู ณาการจัดการศึกษาร่วมกบั สานกั งาน

ศกึ ษาธิการจงั หวดั และสานักงานศกึ ษาธิการภาค
2.3 สร้างความเข้มแข็งในการยกระดบั คณุ ภาพการศึกษารูปแบบเครอื ขา่ ย เชน่

เครือข่ายสง่ เสรมิ ประสิทธภิ าพการจดั การศึกษา ศนู ย์พฒั นากล่มุ สาระการเรยี นรู้ สหวิทยาเขต กลุ่ม
โรงเรียนฯลฯ

2.4 สง่ เสรมิ และพฒั นาโรงเรยี นด้วยพลังประชารฐั อยา่ งตอ่ เนื่อง และยงั่ ยืน

กลยุทธ์ 3. ส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียน
3.1 ส่งเสรมิ สนับสนนุ ผ้ปู กครอง ชุมชน สงั คม และสาธารณชน ใหม้ ีความรู้

ความเข้าใจ สร้างความตระหนักในการจดั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน การกากับดูแล ตลอดจนการส่วนร่วม
รับผิดชอบในการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น

3.2 ประสานสถาบนั หรือหน่วยงานทางการศึกษาใหค้ ดั เลือกผ้เู รียนเข้าศกึ ษา
ตอ่ ด้วยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย

แผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาโรงเรยี นบ้านวังทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 41

นโยบายและจุดเนน้ การขบั เคล่อื นนโยบายการจัดการศึกษาสูก่ ารปฏิบัติ
สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาแพงเพชร เขต 1 ปกี ารศึกษา 2563

นโยบาย 1 “ส่งเสริมการพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจดั การ และการจัดการเรยี นรทู้ ่เี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั ”
จุดเนน้
1. ส่งเสริมการพัฒนางานวชิ าการ งานงบประมาณ งานบริหารบคุ คล และงานบริหารงาน

ท่วั ไปสู่ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาที่เข้มแขง็
2. ส่งเสรมิ การสรา้ งการปูองกันและปราบปรามการทจุ ริตตามแนวทางโรงเรียนสุจรติ
3. สง่ เสรมิ การปูองกนั และแก้ปญ๎ หาการลว่ งละเมิดทางเพศในโรงเรยี น
4. สง่ เสรมิ การปูองกนั และแก้ป๎ญหายาเสพตดิ ในโรงเรียนตามแนวทางโรงเรยี นสีขาว
5. สง่ เสริมสนับสนนุ การจดั การเรยี นรู้ที่เน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ

นโยบาย 2 “เพ่ิมและยกระดับคณุ ภาพนกั เรียนทกุ ระดบั ”
จุดเน้น
6. เพ่มิ และยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรียนทุกระดบั ช้นั
6.1 โรงเรยี นท่มี ีผลสมั ฤทธ์ิเท่ากับหรือสูงกว่าระดบั ประเทศ
- เปูาหมายขั้นต่า ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นเพมิ่ ร้อยละ 3 ของ
ค่าเฉลี่ยปที ี่ผา่ นมา
- เปาู หมายท้าทาย ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นเพม่ิ ร้อยละ 3 จาก
ค่าเฉล่ยี ปีทผ่ี า่ นมา (+3)
6.2 โรงเรียนทีม่ ีผลสมั ฤทธ์ติ า่ กว่าระดบั ประเทศ
- เปูาหมายข้ันต่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นเพมิ่ ร้อยละ 3 จาก
คา่ เฉลย่ี ปที ี่ผ่านมา (+3)
- เปาู หมายทา้ ทาย ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นเพมิ่ เทา่ กบั หรือสูงกว่า
ระดับประเทศในปี ท่ีผา่ นมา
7. เพ่ิมศกั ยภาพและทักษะวชิ าการ
7.1 ระดบั ปฐมวยั กิจกรรมเรียนปนเลน่ สรา้ งสรรคผ์ ลงานป้๎นดินน้ามนั และ
สร้างภาพฉกี ตดั ปะ
7.2 ระดับ ป.1 – ป.3 การเรียนรู+เพ่อื การอ่านออก เขียนไดแ้ ละคดิ เลขเปน็
ป.1 เรง่ การอา่ นและการเขยี น (ร+ู้ พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ แจกลูกผสมคา)
ป.2 พัฒนาทักษะการอา่ น การเขยี นและเสริมทักษะการคิดคานวณ
ป.3 พัฒนาทักษะการอา่ น คิดวเิ คราะห์ เขียนและสร้างสรรค์ผลงาน
เรยี งความ

แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาโรงเรยี นบ้านวงั ทอง 4 ปี (พ.ศ.2563-2566) 42


Click to View FlipBook Version