- ผู้ที่ทำหน้าที่เทพีหาบเงินและเทพีหาบทอง ตำแหน่งข้างหลังผู้ที่ถือป้าย
เปน็ ผหู้ ญิงวัยกลางคนที่ตอ้ งฝึกหาบกระบงุ ใส่ข้าวหนักกวา่ 10 กิโลกรัม โดยขา้ วเหลา่ นี้จะนำไป
ให้ประธานในพธิ เี ปดิ เทกองรวมในลานขา้ วของปราสาทรวงข้าว
- ผู้ทำหน้าที่เป็นตวั แทนของพระแมโ่ พสพน่ังบนรถที่ได้จัดไว้ โดยคัดเลือก
จากสาวงามประจำหมบู่ ้าน 12 หมู่บา้ น
ภาพท่ี 4.33 สาวงามประจำหมูบ่ า้ น ทำหนา้ ท่ีเปน็ ตวั แทนของแม่โพสพ
ทมี่ า : ทัศนยี ์ ศิวบวรวฒั นา, 2562.
- นางรำนำขบวนพานบายศรี เครื่องบูชาพระแม่โพสพ และปราสาทรวงข้าว
ของหมู่บ้านต่าง ๆ เป็นผู้หญิงจำนวน 24 คน จากทั้ง 12 หมู่บ้าน ทำหน้าที่ฟ้อนรำนำขบวน
แตง่ กายสวยงามด้วยชุดพื้นเมืองภาคอีสาน
ภาพที่ 4.34 นางรำฟอ้ นนำขบวนพานบายศรเี ครอ่ื งบชู าพระแมโ่ พสพ
ท่มี า : ทัศนยี ์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
80
ขบวนท่ี 2 ขบวนเจดียจ์ ำลองของแตล่ ะหมบู่ า้ น ประกอบด้วย
- ชาวบ้านท่ีรว่ มเดินในขบวน สว่ นใหญ่แต่ละหมบู่ ้านจะให้ตวั แทนเป็นผู้หญิง
เพื่อความพรอ้ มเพรียงและความสวยงาม โดยแต่งตวั ให้เปน็ เอกลกั ษณข์ องแต่ละหมบู่ า้ น
- ขบวนปราสาทรวงขา้ วจำลอง โดยจะเคลือ่ นตัวช้า ๆ ไปตามถนนนำผู้มาเยอื น
ทัง้ จากในจังหวดั และตา่ งถน่ิ สวู่ ัดเศวตวนั วนาราม อันเป็นทตี่ ง้ั ของปราสาทรวงขา้ ว
ภาพท่ี 4.35 ขบวนแห่ปราสาทรวงข้าวจำลองของแตล่ ะหมู่บ้าน
ทีม่ า : ทศั นีย์ ศวิ บวรวฒั นา, 2562.
ขบวนที่ 3 ขบวนแห่กลองยาว รวบรวมการแสดงกลองยาวของผู้คนในหมู่บ้าน
และขบวนวิถีชวี ติ ชาวนา
ภาพที่ 4.36 ขบวนแห่กลองยาวและขบวนวถิ ีชวี ติ ชาวนา
ทมี่ า : ทศั นยี ์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
7) เวลา 15.00 น. เริ่มเปดิ งานประเพณีบุญคูณลานปราสาทรวงข้าว โดยนายพสั กร มูลศรี
นายกเทศบาลตำบลเหนอื ประธานจัดงาน เป็นผูก้ ลา่ วรายงานในการจัดงานบุญคูณลานปราสาทรวงข้าว
81
ภาพที่ 4.37 นายพสั กร มลู ศรี นายกเทศบาลตำบลเหนอื กลา่ วรายงานการจัดงาน
ทม่ี า : ทศั นีย์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
8) นาวาตรี วรวิทย์ เตชะสุภากูร เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยว
และกีฬา เป็นประธานในพิธีเปิดงานประเพณีบุญคูณลานปราสาทรวงข้าว หลังจากการกล่าวเปิดงาน
ประธานในพิธีจุดธปู เทียนบชู าพระรัตนตรยั เปิดกรวยดอกไม้บนธูปเทียนแพถวายราชสักการะ
เบื้องหน้าพระบรมฉายาลักษณ์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู ฯ
และลงนามถวายพระพร
ภาพที่ 4.38 เลขานุการรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการท่องเท่ียวและกฬี า เป็นประธานในพธิ ี
ท่ีมา : ทัศนยี ์ ศิวบวรวฒั นา
82
ภาพที่ 4.39 เลขานกุ ารรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า เปดิ กรวยดอกไม้
ถวายราชสกั การะพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวมหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรฯ
ทม่ี า : ทัศนีย์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
9) เวลาประมาณ 15.20 น. ประธานในพิธีจุดธูปเทียนบูชาพระแม่โพสพด้านหน้า
ปราสาทรวงขา้ ว และจดุ เทียนมงคลบนยอดพานบายศรี เพอ่ื เริ่มพธิ ีสำคญั คือ พิธีสู่ขวัญข้าว
10) พราหมณ์ประกอบพิธีสู่ขวัญข้าว โดยนายบุญศรี เพชรสังหาร ทำหน้าที่พราหมณ์
ประกอบพิธสี ขู่ วัญข้าว เปน็ การแสดงความนอบน้อมต่อพระแม่โพสพ เชือ่ วา่ หากขวัญขา้ วไม่อยู่กับต้นข้าว
ข้าวก็จะไม่ออกรวงหรือไม่เจริญงอกงามสมบูรณ์ โดยพิธีนี้ทำเพื่อขอบคุณแม่โพสพ ที่คอยดูแล
ใหค้ วามอดุ มสมบรู ณแ์ ก่ผนื นา
ภาพท่ี 4.40 พิธบี ายศรสี ู่ขวญั ข้าวคณู ลาน
ท่ีมา : ทศั นีย์ ศิวบวรวฒั นา, 2562.
83
11) ประธานในพธิ ลี ัน่ ฆ้องชัย ตัดรบิ บิ้นรวงขา้ วเป็นสญั ญาณในพธิ ีเปิดงานประเพณี
บุญคณู ลานปราสาทรวงข้าวประจำปี
ภาพท่ี 4.41 ประธานในพิธตี ดั รบิ บิ้นรวงขา้ วเปน็ สัญญาณในพิธีเปดิ งาน
ที่มา : ทัศนยี ์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
12) ประธานในพิธีรับหาบกระบุงข้าวจากเทพีหาบเงิน หาบทอง แล้วเทข้าวจากกระบุง
รวมกับขา้ วของชาวบ้าน
ภาพที่ 4.42 ประธานในพิธีเทข้าวจากกระบุงรวมกับขา้ วของชาวบา้ นที่อยภู่ ายในปราสาทรวงข้าว
ทีม่ า : ทัศนยี ์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
84
13) จากนั้นเป็นการแสดงเปิดงานโดยวิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ ซึ่งได้จัดการแสดงชุด
ฟ้อนสู่ขวัญข้าวคูณลาน เพื่อแสดงให้เห็นวิถีชีวิต ความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณีเกี่ยวกับ
การสู่ขวัญข้าวบุญคูณลานผ่านลีลาท่ารำที่สวยงามอ่อนช้อยประกอบกับวงโปงลาง ซึ่งเป็นดนตรีอีสาน
สัญลกั ษณ์ของจงั หวดั กาฬสินธ์ุ
ภาพท่ี 4.43 การแสดงชดุ ฟ้อนส่ขู วญั ขา้ วคูณลาน วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปกาฬสินธุ์
ทม่ี า : ทัศนีย์ ศวิ บวรวฒั นา, 2562.
14) การแสดงวงกลองยาวของชาวบ้าน โดยใชก้ ลองประมาณ 9-10 ลกู ไมม่ ีเครือ่ งดนตรีอื่น
และไม่มีขบวนนางรำฟ้อนรำประกอบ เน้นแสดงลวดลายของจังหวะกลอง และลลี าการตีฉาบใหญ่
ท่นี า่ ต่ืนตาต่ืนใจเทา่ น้ัน
85
ภาพที่ 4.44 การแสดงวงกลองยาวของชาวบ้าน
ท่ีมา : ทัศนีย์ ศวิ บวรวัฒนา
15) ประธานในพิธีมอบรางวัลการประกวดปราสาทรวงข้าวจำลองแก่หมู่บ้านที่ชนะเลิศ
และถา่ ยภาพกบั นักแสดงของวทิ ยาลยั นาฏศิลปกาฬสนิ ธุ์
ภาพที่ 4.45 ประธานในพธิ กี บั นกั แสดงของวิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสนิ ธ์ุ
ทมี่ า : ทศั นีย์ ศวิ บวรวฒั นา
นอกจากนี้ทางเทศบาลตำบลเหนือยังได้จัดเตรียมการแสดงอื่นๆ เพื่อเสริมให้งานมีความยิ่งใหญ่
ยิ่งข้ึน โดยใชง้ บประมาณในการดำเนินงานจากภาครัฐ และเอกชนซง่ึ ได้รับความรว่ มมอื จากการ
ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยเข้ามาสนับสนุนให้เป็นงานประเพณีระดับประเทศตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550
เป็นต้นมา โดยการแสดงมหรสพสมโภชงานตลอดท้ัง 4 คืน ดังนี้ คนื ท่ี 1 หมอลำประถมบันเทิงศิลป์
คืนที่ 2 การประกวดร้องเพลงลูกทุ่งชิงเงินรางวลั และถ้วยเกียรตยิ ศจากครสู ลาคุณวุฒิ คืนที่ 3 การแสดงของ
ลำไย ไหทองคำ กบั เบยี ร์ พร้อมพงษ์ คืนท่ี 4 หมอลำหนภู าร วเิ ศษศิลป์
86
สรปุ
ประเพณบี ญุ คูณลานปราสาทรวงข้าวได้รบั การยอมรบั ในระดับประเทศเนื่องจากมีการบรหิ ารจัดการ
ทีด่ ี มีการสรา้ งความเข้าใจและสร้างความตระหนักระหว่างหน่วยงานหลักท่รี ับผดิ ชอบ และหน่วยงานอ่นื ๆ
ที่สนับสนุนกิจกรรมของงานประเพณีบุญคูณลานปราสาทรวงข้าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัด ชาวชุมชนคุ้มวัด
คณะกรรมการชุมชน ตลอดจนช่างพื้นบ้านที่ทำปราสาทรวงข้าว จะต้องมีการจัดประชุม ปรึกษาหารือ
แลกเปลย่ี นความคิด การมอบหมายหน้าท่ีใหช้ ัดเจน เปน็ การกำหนดทศิ ทางของการจัดงานประเพณี
โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ทส่ี อดคล้องกนั การกำหนดลกั ษณะและรูปแบบของปราสาทรวงข้าวการจัดรูปขบวน
บุญคูณลานและกติกาของการประกวดกิจกรรมต่าง ๆ ให้ทุกคนได้มีความเขา้ ใจตรงกันและตระหนักถึง
การอนรุ กั ษป์ ระเพณอี นั ดีงาม
ปราสาทรวงข้าวมีลำดับขั้นตอนในการสร้าง 7 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนการเกี่ยวข้าว
และการขอรับบริจาครวงข้าว ขั้นตอนที่ 2 การมัดรวงข้าว ขั้นตอนที่ 3 ปรับพื้นที่สร้างปราสาทรวงข้าว
และทำลานข้าว ข้นั ตอนที่ 4 ขอรับบริจาคไม้เพื่อนำมาก่อสร้างปราสาทรวงข้าว ข้ันตอนที่ 5 การก่อสร้าง
โครงสร้างของปราสาทรวงข้าว ขั้นตอนที่ 6 การมัดฟางใสโ่ ครงสร้างปราสาท และการตกแต่ง
ปราสาทรวงข้าว ขั้นตอนที่ 7 เดินสายไฟเพื่อความสวยงามในยามกลางคืน ทั้งนี้การจัดประเพณี
บุญคณู ลานปราสาทรวงข้าวของตำบลเหนือ อำเภอเมือง จงั หวัดกาฬสินธ์จุ ะดำเนินการจัดงาน
ในชว่ งตน้ เดือนกุมภาพันธ์ของทุกปีตลอดระยะเวลา 25 ปี
87
88
บทที่ 5 ฟอ้ นสูข่ วัญขา้ วคณู ลาน
วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์เป็นสถานศึกษามีหน้าที่จัดการศึกษาอนุรักษ์ สร้างสรรค์
และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความรู้ด้านดนตรี นาฏศิลป์ ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
และศิลปวัฒนธรรมสำคัญของชาติ ที่เป็นเครื่องหมายที่บ่งบอกถึงอารยธรรมความเจริญรุ่งเรืองที่มมี าแต่อดีต
ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ทั้งน้ีการสร้างสรรค์ฟ้อนพื้นบ้านอีสานของวิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์
ไดร้ ับความนิยมอย่างแพรห่ ลาย ส่งผลให้หน่วยงานท้งั ภาครฐั และเอกชนได้นำวิธีการสรา้ งสรรค์
ผลงานการแสดงของวิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุไ์ ปประยกุ ตแ์ ละใช้เป็นแนวทางในการแสดงตลอดมา
ซึ่งในบทนี้จะกล่าวถึง แนวคิด เครื่องแต่งกายและอุปกรณ์ เครื่องดนตรี ลายหรือทำนองดนตรี ผู้แสดง
โอกาสท่ีใชใ้ นการแสดง รปู แบบการแสดง ความหมายของท่ารำ กระบวนท่าฟ้อน และรปู แบบการแปรแถว
5.1 แนวคดิ
ประเพณบี ญุ คูณลานปราสาทรวงข้าวของเทศบาลตำบลเหนือ อำเภอเมอื ง จังหวัดกาฬสินธุ์
เป็นประเพณีในฮีตสิบสองของชาวอีสานที่ยิ่งใหญ่และมีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น จัดขึ้นในเดือนยี่
หรือประมาณเดือนกุมภาพันธ์ของปี โดยเริ่มจัดขึ้นตัง้ แต่ พ.ศ. 2537 โดยถือปฏิบัติสืบทอดกัน
มาเป็นระยะเวลา25ปีแล้ว เป็นพิธีกรรมที่จัดทำขึ้นเพื่อทำบุญขวัญข้าวที่นวดเสร็จและกองไว้ในลานข้าว
และระลึกถึงบุญคุณของพระแม่โพสพท่ีมีต่อมนุษย์เพื่อความเป็นสริ ิมงคลต่อเกษตรกร เชื่อว่าพิธีนี้
จะทำให้ข้าวกล้างอกงามและได้ผลดีในปีต่อไป ชาวบ้านทุกคนจึงร่วมมือจัดงานให้ออกมาดีที่สุด
โดยคัดเลือกรวงข้าวที่มีความสมบูรณ์นำมามาประดับตกแต่งเป็นปราสาทรวงข้าวขนาดใหญ่
เป็นผลงานศิลปะแห่งความศรัทธาที่สะท้อนถึงวิถีชีวิต วัฒนธรรม และความเชื่อของชาวกาฬสินธ์ุ
ได้อย่างงดงาม
ในวันงานจะมีการทำบุญตักบาตร เลย้ี งพระ ประพรมนำ้ พระพุทธมนตแ์ กช่ าวนาและลานข้าว
ในบริเวณพธิ ี และทำพธิ สี ขู่ วัญข้าวเพือ่ เป็นสริ มิ งคล หลงั จากประกอบพธิ ีกรรมแลว้ เสรจ็ ก็จะนำข้าว
ไปแจกจ่ายให้กับชาวบ้านทุกคนที่มาร่วมในงาน จากนั้นชาวบ้านก็จะนำข้าวที่ได้ไปใส่ยุ้งข้าว
และเชญิ ขวญั ขา้ ว คอื พระแมโ่ พสพไปยงั ยุ้งขา้ ว ซ่งึ ถอื วา่ เป็นพนั ธ์ขุ า้ วทีเ่ ป็นสิริมงคล เม่ือนำไปปลูก
จะทำให้ขา้ วเมล็ดโต มนี ้ำหนกั เพ่ือนำไปเป็นพันธ์พุ ชื ในปีตอ่ ไป และขา้ วเปลอื กทเ่ี หลือกจ็ ะเอาไปขาย
นำเงินเข้าบำรุงวัด
89
สมัยกอ่ นในพธิ ีเปิดงานประเพณบี ุญคณู ลานปราสาทรวงข้าวจะมีฟ้อนของชาวบ้านซ่ึงเป็นผู้หญิง
เพอ่ื บวงสรวงบชู าพระแมโ่ พสพ เป็นการฟ้อนทีไ่ ม่มีระเบียบแบบแผน ผ้ฟู ้อนแตล่ ะคนกจ็ ะโชวล์ ีลาการฟ้อน
อย่างอิสระ นิยมฟ้อนกันเป็นวงกลม ต่อมาจังหวัดกาฬสินธุ์ได้มีพัฒนาการให้งานประเพณีบุญคูณลาน
ปราสาทรวงข้าวให้มีความยิ่งใหญ่และเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวจังหวัดกาฬสินธุ์ให้เป็นที่รู้จัก
อย่างแพรห่ ลาย
ตั้งแต่ พ.ศ. 2550-2558 วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุไ์ ด้เข้ารว่ มในพิธีเปดิ งานประเพณี
บุญคูณลานปราสาทรวงข้าวโดยนำชุดการแสดงที่มีอยู่แล้วไปร่วมในพิธีเปิดเช่นเซิ้งทำนา รำดึงครกดึงสาก
ฟ้อนโปงลาง ฟ้อนตังหวาย เป็นต้น อย่างไรก็ตามชุดการแสดงต่าง ๆ เหล่านี้ไม่ได้ส่ือให้เห็นวถิ ีชีวติ
การทำนาและการบูชาพระแม่โพสพที่ชัดเจน ดังนั้น วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ จึงได้คิดสร้างสรรค์
ชุดการแสดงฟ้อนสู่ขวัญข้าวคูณลานขึ้น เพื่อใช้เป็นชุดการแสดงในพิธเี ปิดงานประเพณีบุญคูณลาน
ปราสาทรวงข้าว ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 จนกระทั่งถึงปัจจุบัน โดยสื่อให้เห็นถึงการบูชาพระคุณ
ของพระแม่โพสพ และส่ิงศกั ดิ์สิทธ์ิท่ีทำให้ข้าวในนาเจริญงอกงาม ตลอดจนวิถีชีวิตในการทำนา
ไดน้ ำรวงขา้ วทม่ี ีความแขง็ แรง สมบูรณม์ าประดบั ตกแตง่ เป็นปราสาทรวงขา้ วทปี่ ระณตี และสวยงาม
การแสดงชดุ นี้เปน็ ผลงานการสร้างสรรค์ของวิทยาลัยนาฏศลิ ปกาฬสินธุ์ท่ีประดิษฐ์ขึ้น
ในปี พ.ศ. 2559 เพ่อื ใชเ้ ป็นชุดการแสดงในพธิ ีเปิดงานประเพณบี ุญคูณลานปราสาทรวงข้าว และนำเสนอ
ในงานศิลปวัฒนธรรมของสถานศึกษา สถาบันบัณฑติ พฒั นศิลป์ ณ วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปเชียงใหม่
โดยผู้อำนวยการวิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ขณะนั้นคือ นางธีรารัตน์ ลีลาเลิศสุระกุล และคณะทำงาน
ประกอบด้วย รองผู้อำนวยการฝ่ายศิลปวัฒนธรรม นางพรสวรรค์ พรดอนก่อ ได้ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
หัวหน้าภาควิชานาฏศิลป์ นางดารณี จันทมิไซย หัวหน้ากลุ่มสาระการแสดงพื้นบ้าน นายกิตติยา ทาธิสา
หัวหน้าภาควิชาดนตรีคีตศิลป์ นายพฤกษาโพธิพรหัวหนา้ กลุ่มสาระดนตรีพ้ืนบ้านนายชนิตนนั ท์ ไชยสทิ ธ์ิ
หัวหน้างานวิจัยศิลปวัฒนธรรม นายลิ่วเมฆา อุ่นฤทธิ์ และคณะครูของภาควิชานาฏศิลป์และ
ภาควชิ าดรุ ยิ างคศิลป์ เขา้ ร่วมประชุมเพื่อคิดและพจิ ารณาจดั การแสดง ในทป่ี ระชุมได้นำเสนอ
ชดุ ฟอ้ นสู่ขวัญข้าวคูณลาน ซึง่ เป็นการฟ้อนท่ีสืบเน่ืองจากประเพณีเดือนย่ี หนึง่ ในประเพณีสิบสองเดือน
ของคนอีสาน
เมื่อได้ชุดการแสดงชุดฟ้อนสู่ขวัญข้าวคูณลานแล้ว ในที่ประชุมจึงได้มอบหมายให้หัวหน้ากลุ่ม
สาระการแสดงพื้นบา้ น นายกิตตยิ า ทาธสิ า หวั หนา้ กลุม่ สาระดนตรพี ื้นบ้าน นายชนิตนันท์ ไชยสิทธ์ิ
ระดมสมองคิดท่ารำและดนตรีประกอบการแสดง ซึ่งคณะครูที่ช่วยกันสร้างสรรค์ท่ารำหลัก ๆ
เป็นกลุ่มสาระนาฏศิลป์พื้นบ้าน ประกอบด้วย นางพรสวรรค์ พรดอนก่อ นายกิตติยา ทาธิสา
นางอังศุมาลิน ทาธิสา นายสันติ ยศสมบัติ และนางสาวอัญชลิตา หิรัญยะพรรณ์ ส่วนการสร้างสรรค์ดนตรี
และลายเพลงประกอบการแสดงเป็นของกลุ่มสาระวิชาดนตรพี ื้นบา้ นประกอบด้วยนายชนิตร์นันท์ ไชยสิทธ์ิ
นายอนสุ รณ์ วรรณะ และนายอภิรักษ์ ภสู ง่า จนกระทัง่ ไดช้ ุดการแสดงฟ้อนสู่ขวัญข้าวคูณลาน
90
ที่สวยงามสมบูรณ์ครบองค์ประกอบของการแสดงและได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิมาทำการวิพากย์
จำนวน 2 กลุ่ม ได้แก่
กลมุ่ ท่ี 1 จากบคุ ลากรภายนอกจำนวน 4 คน ไดแ้ ก่
1. ดร. ฉวีวรรณ ดำเนนิ ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาศลิ ปะการแสดง (หมอลำ)
2. ผศ.ดร. ดไนยา สังเกตการณ์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ (นาฏศิลป)์
3. ผศ.ดร.พีรพงศ์ เสนไสย มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม (นาฏศิลป์)
4. ผศ.ดร. คมกรชิ การนิ ทร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ดนตรี)
กลุ่มที่ 2 บคุ ลากรของวิทยาลัยนาฏศลิ ปกาฬสินธ์ุ จำนวน 10 คน ได้แก่
1. นางธีรารัตน์ ลลี าเลศิ สุระกุล ผู้อำนวยการวทิ ยาลยั นาฏศลิ ปกาฬสนิ ธุ์
2. นายพงศพล กาญจันดา รองผอู้ ำนวยการฝา่ ยบริหาร
3. นายกติ ตศิ ักด์ิ สนิ ธุโคตร รองผอู้ ำนวยการฝ่ายวิชาการ
4. นางพรสวรรค์ พรดอนกอ่ รองผอู้ ำนวยการฝา่ ยศิลปวฒั นธรรม
5. นายเรืองชัย นากลาง ครชู ำนาญการพิเศษ (นาฏศลิ ป์ไทย)
6. นางดารณี จนั ทมิไชย ครูชำนาญการพเิ ศษ (นาฏศลิ ป์ไทย)
7. นางทัศนยี ์ ศิวบวรวฒั นา ครูเชีย่ วชาญ (นาฏศลิ ป์ไทย)
8. วา่ ที่ ร.ต.ล่ิวเมฆา อนุ่ ฤทธ์ิ ครชู ำนาญการ (นาฏศลิ ปไ์ ทย)
9. นายอนสุ รณ์ วรรณะ ครคู ศ. 1 (ดนตรีพืน้ บ้าน)
10. นายชนิตร์นนั ท์ ไชยสิทธ์ิ อาจารย์ (ดนตรีพ้ืนบา้ น)
ซึ่งผลจากการวิพากย์ของคณะกรรมการท้ัง 2 กลุม่ สามารถสรปุ ได้ด้งนี้
1. ตอ้ งปรับปรงุ ดนตรีในช่วงแรกเพอื่ ใหก้ ารฟอ้ นได้สื่อความหมายได้ชัดเจน
2. ปรับปรุงผ้าสไบท่หี ่มของนกั แสดงให้มชี ายผา้ ทส่ี วยงาม
3. การนุง่ ผา้ ถุงควรน่งุ ให้ยาวกรอมเทา้
4. ผ้แู สดงสามารถถา่ ยทอดทา่ รำออกมาในเกณฑ์ดี
5. การเรยี งลำดับท่ารำสอื่ ใหเ้ ห็นภาพวถิ ีชีวติ การทำนาได้ดี
6. ควรปรบั เวลาในการแสดงไม่ควรเกิน 8 นาที
ผลจากการวิพากย์ผู้สร้างสรรค์ได้ปรับแก้ไขตามคำแนะนำ เพื่อให้มีความเหมาะสมและสวยงาม
ซึ่งภาพรวมของการแสดงทั้งกระบวนท่ารำ ทำนองเพลง เครื่องแต่งกาย และการแปรแถว นับว่าเป็นการแสดง
สร้างสรรค์ในแบบอสี านทีส่ วยงาม ผแู้ สดงสามารถถ่ายทอดทา่ รำอยู่ในเกณฑด์ ี เป็นการแสดงที่เหมาะสม
สำหรับการเผยแพร่ในประเพณีบุญคูณลานปราสาทรวงข้าวและนำไปใช้ในโอกาสอื่น ๆ ที่เป็นมงคล
ได้เปน็ อยา่ งดี
91
5.2 เคร่ืองแต่งกายและอปุ กรณ์
ชาวไทยอีสานจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นกลุ่มชาติพันธ์ที่อพยพมาจากจังหวัดต่าง ๆ ในภาคอีสาน
และมวี ฒั นธรรมในการทอผา้ ท่สี ืบทอดกันมา ผหู้ ญงิ ในแถบนน้ี ิยมนงุ่ ผ้าถงุ มัดหม่ี สวมเสอ้ื ตามสมัยนิยม
และชอบไวผ้ มยาว หากไปวัดหรืองานพิธีต่าง ๆ จะมีผา้ สไบห่มทับเสื้อ ฟอ้ นสู่ขวัญข้าวคูณลาน
เปน็ การแสดงนาฏศลิ ป์พื้นบ้านสร้างสรรค์โดยมแี รงบนั ดาลใจจากประเพณีบญุ คูณลานปราสาทรวงข้าว
ดังนั้นคณะผู้สร้างสรรค์จึงได้คิดรูปแบบเครื่องแต่งกายที่แสดงถึงความสุภาพเรียบรอ้ ยของผู้หญงิ
ในการไปวัด โดยสวมเสื้อลูกไม้สีน้ำตาลอ่อน แทนสีของข้าว ห่มสไบสีทอง แทนสีของรวงข้าวและเปลือกข้าว
นุ่งผ้าถุงลายมัดหมี่สีโทนน้ำตาลแดง แทนสีของผืนดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ ใช้ดอกไม้อินถวา
(ดอกพุดซ้อน) ประดับบนศีรษะท่ีเกล้ามวย รวมท้ังใส่เคร่ืองประดับต่างหู สร้อยคอ กำไล เข็มขัด สร้อยตัว
และดอกไม้ติดอก เพือ่ ความสวยงามของผูแ้ สดง และอุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการแสดงคอื รวงขา้ ว
ลักษณะการแต่งกายฟ้อนสู่ขวัญขา้ วคณู ลานประกอบด้วย
1. ดอกไม้ประดับผม 2. ต่างหู
3. สร้อยคอ 4. เสื้อแขนกระบอกลูกไม้สีน้ำตาล
5. ผ้าสไบสเี หลอื งทอง (ผา้ ไหม) 6. ดอกไม้ตดิ อก
7. สร้อยตวั 8. เข็มขัดเงนิ
9. กำไลเงิน 10. ผา้ ถุงไหม
1
2
3 6
4
5
78
9
10
ภาพท่ี 5.1 การแตง่ กายฟอ้ นส่ขู วัญขา้ วคณู ลาน ดา้ นหน้าและด้านหลงั
ทม่ี า : ทัศนีย์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
92
ภาพท่ี 5.2 สรอ้ ยคอเงนิ
ท่ีมา : ทัศนีย์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
ภาพที่ 5.3 เสอ้ื แขนกระบอกลูกไม้สนี ้ำตาล
ทม่ี า : ทัศนยี ์ ศวิ บวรวฒั นา, 2562.
ภาพท่ี 5.4 ผ้าสไบสีเหลืองทอง
ที่มา : ทศั นยี ์ ศิวบวรวฒั นา, 2562.
93
ภาพที่ 5.5 กำไลเงนิ
ทีม่ า : ทศั นีย์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
ภาพท่ี 5.6 ผา้ ถงุ ไหม
ทม่ี า : ทศั นยี ์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
ภาพท่ี 5.7 ดอกไมป้ ระดับผม
ทีม่ า : ทัศนยี ์ ศิวบวรวฒั นา, 2562.
94
ภาพท่ี 5.8 ต่างหู
ท่ีมา : ทัศนีย์ ศวิ บวรวฒั นา, 2562.
ภาพที่ 5.9 ดอกไม้ติดอก
ที่มา : ทัศนีย์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
ภาพที่ 5.10 สรอ้ ยตัว
ท่ีมา : ทศั นยี ์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
95
ภาพท่ี 5.11 เขม็ ขัดเงิน
ที่มา : ทศั นยี ์ ศวิ บวรวฒั นา, 2562.
ภาพที่ 5.12 รวงข้าว
ท่ีมา : ทศั นีย์ ศิวบวรวฒั นา, 2562.
5.3 เคร่อื งดนตรี
วงดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงฟ้อนสูข่ วัญข้าวคูณลานคือวงโปงลาง ซึ่งเครื่องดนตรีประกอบดว้ ย
โปงลาง พิณ เบส แคน โหวด กลองตุ้ม กลองหาง ฉาบเล็ก และฉาบใหญ่ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท
ได้แก่ เครื่องดีด เครื่องตี และเครอื่ งเป่า
96
ภาพท่ี 5.13 วงโปงลางวิทยาลยั นาฏศลิ ปกาฬสนิ ธุ์
ท่มี า : ทัศนยี ์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
5.3.1 เครือ่ งดีด
เคร่อื งดนตรีที่ใช้บรรเลงเปน็ ทำนองดว้ ยการดีด ได้แก่ พิณไฟฟา้ และเบส
พิณไฟฟ้า เป็นเครื่องดนตรีที่บรรเลงด้วยการดีด มี 2-3 สาย แต่ขึ้นเป็น 2 คู่
โดยขนึ้ คู่ 5 ดดี เป็นทำนองเพลง ตวั พิณและคนั ทวนนยิ มแกะดว้ ยไม้ชิ้นเดียวกนั มีนมสำหรับตั้งเสียง
สายพณิ นยิ มทำด้วยโลหะ ท่ีดดี นิยมทำดว้ ยเขาสัตว์
ภาพที่ 5.14 พิณไฟฟ้า
ท่มี า : ทัศนีย์ ศวิ บวรวัฒนา, 2562.
เบส มีรูปร่างคล้ายพิณไฟฟ้า มีหน้าท่ีหลักในการให้จังหวะ คุมจังหวะตามเสียง
ของดนตรี ให้เสยี งทุ้มตำ่
97
ภาพท่ี 5.15 เบส
ที่มา : ทัศนีย์ ศวิ บวรวัฒนา, 2562.
5.3.2 เคร่ืองตี
มี 2 ประเภท คือ เครื่องตที ำทำนอง และเครื่องตีทำจังหวะ
1) เครอื่ งตีทำทำนอง ไดแ้ ก่ โปงลาง
โปงลาง เปน็ เครือ่ งดนตรีประเภทบรรเลงทำนองดว้ ยการตี ลกั ษณะเป็นท่อน ๆ ทำด้วย
ไม้มะหาดเนื้อแข็งขนาดต่าง ๆ เรียงตามลำดับเสียง ร้อยด้วยเชือกเป็นลูกระนาด ผูกแขวนไว้กับขาไม้
การตโี ปงลางปกตจิ ะมผี ู้เล่น 2 คน คนหน่ึงบรรเลงทำนองเพลง อีกคนหน่งึ บรรเลงเสียงกระทบ
แบบคู่ประสาน ไม้ตีโปงลางทำด้วยไม้เนื้อแข็งเป็นรูปคล้ายค้อน ขนาดของโปงลางที่ได้มาตรฐาน
จะต้องมี 6 เสยี ง 13 ลูก คือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ปจั จบุ ันไดพ้ ัฒนาให้มเี สยี งทดี ว้ ย
ภาพที่ 5.16 โปงลาง
ท่ีมา : ทศั นีย์ ศิวบวรวฒั นา, 2562.
98
2) เครือ่ งตีทำจงั หวะ ไดแ้ ก่ กลองหาง กลองตุ้ม ฉาบใหญ่ และฉาบเลก็
กลองหาง รูปร่างลักษณะคล้ายกลองยาวของทางภาคกลาง รูปทรงนับจาก
ช่วงขึงหน้ากลองลงมา หรือตัวกลอง จะยาวกว่ากลองยาวภาคกลาง ส่วนหางกลองจะสั้นกว่า
กลองยาวของภาคกลาง หางกลองยาวบานออกเพื่อให้สามารถตั้งได้อย่างมั่นคง การขึงหนังกลอง
จะเอาขนไว้ข้างนอก ตัวกลองนิยมทำมาจากไม้ขนุน เนื่องจากไม้ขนุนเป็นไม้เนื้อแข็ง ไม่หนักมาก
และมีสีสันสวยงาม สำหรับการนำเอากลองยาวมาใช้นั้นจะใช้กลองยาว 4 ลูก โดยเรียงลำดับ
จากเลก็ ไปหาใหญ่ ขงึ ขึ้นเสยี งกลองใหไ้ ดร้ ะดับตามต้องการ เรยี งลำดับเสยี งสงู ไปต่ำ
ภาพท่ี 5.17 กลองหาง
ทม่ี า : ทศั นยี ์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
กลองตุ้ม เป็นกลองท่ใี หเ้ สยี งท้มุ ตำ่ ขงึ หนงั หน้าเดยี ว ตัวกลองทำจากตน้ ไม้
ขนาดกลางหรือต้นตาล เจาะรูทะลุตรงกลาง ตัวกลองมีลักษณะสนั้ ใช้ตีประกอบจังหวะ
ภาพที่ 5.18 กลองต้มุ
ที่มา : ทศั นีย์ ศวิ บวรวฒั นา, 2562.
99
ฉาบใหญ่ เป็นเครอื่ งดนตรปี ระเภทตีประกอบจงั หวะในวงโปงลาง ฉาบทำจากโลหะ
มีลักษณะแผ่บานออกเป็นทรงกลม ตอนกลางหนาเป็นปุ่มนูน เรียกว่า “กระพุ้ง” เจาะรูร้อยเชือก
อีกท้ังยงั เปน็ ตำแหนง่ ท่ใี ชม้ อื จบั ในการบรรเลง
ภาพที่ 5.19 ฉาบใหญ่
ท่มี า : ทัศนยี ์ ศวิ บวรวัฒนา, 2562.
ฉาบเลก็ มหี นา้ ทต่ี หี ยอกล้อยั่วเย้าหรือให้สอดคล้องกับทำนองเพลงเป็นเคร่ืองตี
ที่ทำด้วยโลหะ ตอนกลางมีปุ่มกลมทำเป็นกระพุ้งวางลงในอุ้งมือ ขอบนอกแบนราบออกไปโดยรอบ
เจาะรูตรงกลางกระพุ้งไว้รอ้ ยเส้นเชอื กสำหรับถือ
ภาพที่ 5.20 ฉาบเลก็
ทมี่ า : ทัศนีย์ ศิวบวรวฒั นา, 2562.
100
3) เครื่องเป่า เครอ่ื งดนตรที ่ใี ชบ้ รรเลงเป็นทำนองดว้ ยการเปา่ ไดแ้ ก่ แคน และโหวด
แคนใช้ไมซ้ างขนาดตา่ ง ๆประกอบกันเขา้ เปน็ ตวั แคน มีล้ินโลหะ เปน็ เครื่องดนตรีที่ใหเ้ สียงไพเราะ
เปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะตัว สรา้ งเสียงประสานและจังหวะได้ในตวั เอง
ภาพท่ี 5.21 แคน
ท่ีมา : ทศั นีย์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
โหวด มีรูปร่างเป็นทรงกระบอกคล้ายกับบั้งไฟ ทำจากไม้กู่แคน ลูกโหวด
ด้านหัวของแต่ละลกู เสี้ยมปลายให้แหลมเปน็ ปากปลาฉลาม และนำแต่ละลูกมาติดเข้ากับแกน
โดยรอบ เรยี งลำดบั จากยาวไปหาส้ัน เวลาเปา่ จะหมนุ ไปรอบ ๆ ตามเสียงทต่ี อ้ งการ
ภาพท่ี 5.22 โหวด
ที่มา : ทศั นีย์ ศวิ บวรวฒั นา, 2562.
101
5.4 ลายหรอื ทำนองเพลงดนตรี
เป็นลายหรือทำนองที่ประพันธ์ขึ้นโดยจินตนาการถึงวิถีชีวิตการทำนาของชาวนา
ความงดงามของธรรมชาติ และต้นข้าวที่ออกรวงอย่างสวยงาม นำไปสู่ประเพณีบุญคูณลาน
ปราสาทรวงข้าวซึ่งเป็นประเพณีท้องถิ่น และความสนุกสนานของหญิงสาวชาวอีสาน ลักษณะของบทเพลง
ประกอบด้วยทว่ งทำนองชา้ ปานกลาง และรวดเรว็ ทำให้ได้อารมณ์อ่อนหวาน และสนุกสนาน
ผู้ประพนั ธ์ลายหรอื ทำนองเพลงไดต้ ั้งชือ่ ว่า ลายส่ขู วัญขา้ วคณู ลาน ตามช่ือของชุดฟ้อนสู่ขวัญขา้ วคูณลาน
เกริ่น โปงลาง ____ ___ม __ลม __ซร __ซร __มด
____ ____ ลฺ ด ร ม ล ซ ม ลฺ ____ _ ด ลฺ ม _ดมร _ ด ลฺ ม
_ _ ร ลฺ ด ร ลฺ ด ซมรม ซลซล _ ท ล รํ ลทซล ทลทซ ล ท ล รํ
_ ด ลฺ ด ร ม ร ม ทซลซ มซลท __มท ลซลท มท–ซ ลทซล
ลทลซ มซลซ รํ ดํ ท ล ซลทล ทลทซ ล ท ล รํ ลทลซ มซลม
รํ ดํ ท ล ซ ล ท ล _ดมม _ซมม _ ด ลฺ ด รมดร มดมร ด ลฺ ซฺ ล
_ดมม _ซมม มดมร ด ลฺ ซฺ ล
_ ด ลฺ ด ร ม ด ร
ท่อนที่ 1 ____ ร ล ด มฺ ซลดล _ดลม รมซร ___ท ลทซล
____ ____ _ ด ลฺ ด รซรม _ซมล ___ซ __ลด รมรม
____ ____ _ดรม ซลซล ____ ____ รมซด รมรม
____ ____ _ ม ซ ลฺ ดรดร ____ _ม–ท ___ม ซลซล
____ ____ _ ม ซ ลฺ ดรดร ____ _ม–ท ___ม ซลซล
____
ทอ่ นท่ี 2 __ซม รดรม รมซล ___ม __ซล ดํ ซ ดํ ล ซมรม
___ม __ดร ซมรด รมดร ___ด __รม ลซลด รมซม
_ _ _ ลฺ __ซล ดํ ล ดํ ม ซลซล (_ _ _ ม __ซล ดํ ล ดํ ม ซ ล ซ ล)
___ม ซลซล ดํ ซ ดํ ล ซมรม (_ _ _ ม ซลซล ดํ ซ ดํ ล ซ ม ร ม)
___ม _ ลฺ ด ร ซมรด รมดร (_ ลฺ ด ลฺ _ ลฺ ด ร ซมรด ร ม ด ร)
_ ลฺ ด ลฺ _ ลฺ _ ทฺ ล ท ร มฺ ซฺ ลฺ ทฺ ลฺ _ ทฺ ลฺ ซฺ _ ลฺ _ ทฺ ล ท ร มฺ ซฺ ลฺ ทฺ ลฺ
_ ทฺ ลฺ ซฺ
102
ทอ่ นท่ี 3 _ ลฺ – ด _ _ ลฺ ด ร ด ลฺ ด __รม รมซด _ดรซ รมซม
____ _ ลฺ – ด _ _ ลฺ ด ร ด ลฺ ด ร ด ลฺ ซฺ _ ลฺ _ ด _ดรซ รมซม
____ _ ลฺ ด ร ซมรด รมดร ____ _รมฟ มฟลท ลฟมร
____ __มร ซมรด ลฺ ด ร ม ___ซ __มร มดมร ด ลฺ ซฺ ลฺ
___ซ _ ลฺ – ด _ _ ลฺ ด ร ด ลฺ ด __รม รมซด _ดรซ รมซม
____ _ ลฺ – ด _ _ ลฺ ด ร ด ลฺ ด ร ด ลฺ ซฺ _ ลฺ _ ด _ดรซ รมซม
___ _ ลฺ ด ร ซมรด รมดร ____ _รมฟ มฟลท ลฟมร
____ __มร ซมรด ลฺ ด ร ม ___ซ __มร มดมร ด ลฺ ซฺ ลฺ
___ซ _มซล _ ท ล รํ ลทซล ____ _มซล _ ท ล รํ ลทซล
____ _ ลฺ ดร _มรซ รมดร ____ _ ลฺ ด ร _มรซ รมดร
____ _ _ ลฺ ทฺ ลฺ ทฺ ร มฺ ซลทล ร ทฺ ลฺ ซฺ _ มฺ ซฺ ลฺ _ ทฺ ลฺ ร ลฺ ทฺ ซฺ ลฺ
_ _ _ ซฺ
ทอ่ นจบ _ ลฺ – ด _ _ ลฺ ด ร ด ลฺ ด __รม รมซด _ดรซ รมซม
____ _ ลฺ ด ร ซมรด รมดร ____ _รมฟ มฟลท ลฟมร
____ __มร ซมรด ลฺ ด ร ม ___ซ __มร มดมร ด ลฺ ซฺ ลฺ
___ซ __มร ซมรด ลฺ ด ร ม ___ซ __มร มดมร ด ลฺ ซฺ ลฺ
___ซ
5.5 ผแู้ สดง
เป็นการแสดงหมู่ โดยผู้แสดงเป็นผู้หญิง จำนวน 12 คน คัดเลือกผู้แสดงที่มีรูปร่างใกล้เคียงกัน
บางครั้งสามารถปรับผู้แสดงได้ตามความเหมาะสม ความงามของการฟ้อนอยู่ที่ความพร้อมเพรียง
ของจังหวะมอื และเท้า การเว้นระยะและการแปรแถวของผแู้ สดงทุกคน
5.6 โอกาสท่ใี ช้ในการแสดง
ฟ้อนสู่ขวัญข้าวคูณลานสามารถแสดงในโอกาสหรืองานมงคลตา่ ง ๆ ได้ตามความเหมาะสม
ซ่ึงปัจจบุ ันการแสดงชดุ นีไ้ ดร้ บั การยอมรับให้เปน็ การแสดงในพธิ ีเปดิ งานประเพณบี ุญคณู ลานปราสาทรวงขา้ ว
ของเทศบาลตำบลเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุแ์ ละนำออกแสดงในการเผยแพร่
ศลิ ปวัฒนธรรมของวทิ ยาลยั นาฏศิลปกาฬสนิ ธุ์ในโอกาสตา่ ง ๆ ดังขอ้ มูลในตาราง
103
ตารางท่ี 1 การเผยแพรฟ่ ้อนส่ขู วัญข้าวคูณลานในโอกาสตา่ ง ๆ
ที่ วัน/เดือน/ปี ชอ่ื งาน สถานที่
สวนลมุ พนิ ี กรงุ เทพฯ
1 27-29 มกราคม 2560 งานเทศกาลเทย่ี วเมืองไทย
วัดเศวตวนั วนาราม
ปี 2560 อำเภอเมือง
จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ
2 9 กมุ ภาพนั ธ์ 2560 ประเพณีบุญคูณลานปราสาท ศนู ย์การประชุมแห่งชาติ
สิรกิ ติ ิ์ กรงุ เทพฯ
รวงข้าว ประจำปี 2560
โรงละครแห่งชาติ
3 18–21 กุมภาพนั ธ์ 2560 งานเทศกาลเที่ยวอีสาน กรุงเทพฯ
4 20-25 เมษายน 2560 งานใต้รม่ พระบารมี 235 ปี สวนอมั พร กรุงเทพฯ
กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ "น้อมรำลึกใน
พระมหากรุณาธิคณุ ตราบนริ ันดร"์ วดั เศวตวนั วนาราม
อำเภอเมือง
5 27-28 มกราคม 2561 งาน“เทศกาลเทย่ี วเมืองไทย” จังหวัดกาฬสินธุ์
ประจำปี 2562 เทศบาลตำบลโพนทอง
อำเภอโพนทอง
6 10 กุมภาพันธ์ 2561 ประเพณีบุญคูณลานปราสาท จงั หวัดร้อยเอ็ด
รวงขา้ ว ประจำปี 2561 บึงสวางบา้ นฝาง
อำเภอบา้ นฝาง
7 9 พฤศจิกายน 2561 งานบญุ กฐิน จังหวดั ขอนแกน่
สนามหน้าศาลากลาง
8 11 พฤศจิกายน 2562 งานประเพณลี อยกระทง จังหวัดขอนแกน่
9 29 พฤศจิกายน งานเทศกาลไหมนานาชาติ สวนสาธารณะกดุ นำ้ กิน
2562 ประเพณผี ูกเส่ยี วและงานกาชาด อำเภอเมือง
จงั หวดั ขอนแกน่ ประจำปี 2562 จงั หวดั ขอนแกน่
10 11 พฤศจกิ ายน
2562 งานประเพณลี อยกระทง
104
วนั /เดือน/ปี ช่อื งาน สถานที่
11 8 ธนั วาคม 2562
งานนกั กีฬาเดินวง่ิ โครงการพลงั สนามหนา้ ศาลากลาง
12 22 ธันวาคม 2562
13 12 มกราคม 2563 สานพลงั ท้องถนิ่ ไทยถวายพ่อ จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ
14 16 มกราคม 2563
15 7 กมุ ภาพันธ์ 2563 ของแผ่นดนิ เดนิ -วิง่ มนิ ิฮาล์ฟ
16 8 กุมภาพันธ์ 2563 มาราธอน เฉลิมพระเกยี รติ
17 9 กุมภาพันธ์ 2563
จังหวัดกาฬสนิ ธุ์
18 16-17 กุมภาพันธ์
2563 งานตามฮอยทวาราวดี อำเภอกมลาไสย
19 9 กุมภาพันธ์ 2563 จังหวัดกาฬสนิ ธุ์
20 14-15 กมุ ภาพันธ์ งานมทุ ิตาจติ และงานเลี้ยง โรงแรมริมปาว อำเภอเมือง
2563
สงั สรรค์ จังหวดั กาฬสนิ ธุ์
งานเลยี้ งสังสรรค์พบปะลูกค้า ธนาคารธนชาติ
จงั หวัดขอนแก่น
งานมหกรรมเสง็ กลองร่องคำ เทศบาลตำบลร่องคำ
อำเภอร่องคำ
จังหวดั กาฬสินธุ์
งานเปิดตลาดโรงสกี าฬสินธุ์ อำเภอเมือง
จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ
ประเพณีบุญคูณลานปราสาท วัดเศวตวันวนาราม
รวงข้าว ประจำปี 2563 อำเภอเมือง
จังหวัดกาฬสินธุ์
งานมาฆปูรมี ทวาราวดมี ิง่ หล้าฟา้ บริเวณพระธาตยาคู
แดดเมืองสงยาง อำเภอกมลาไสย
จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ
ประเพณีบายศรีสู่ขวัญข้าวคูณลาน วดั เศวตวันวนาราม
ประจำปี 2563 อำเภอเมือง
จงั หวัดกาฬสินธุ์
การถา่ ยทำโฆษณารีเจนซ่ี บรเิ วณพระธาตุยาคู
อำเภอกมลาไสย
จงั หวดั กาฬสินธ์ุ
105
ท่ี วนั /เดือน/ปี ช่ืองาน สถานท่ี
21 14 มีนาคม 2563
22 9 มกราคม 2563 งานเทศกาลกนิ ปลา องค์การบรหิ ารส่วน
23 12 สิงหาคม 2563
ตำบลหัวหิน อำเภอหว้ ยเม็ก
24 14 กันยายน 2563
จงั หวดั กาฬสินธุ์
25 5 ตลุ าคม 2563
งานบวงสรวงศาลเจา้ ปู่ดำ ศาลเจา้ ปูด่ ำ
อำเภอหนองหาน
จังหวัดอุดรธานี
งานมหกรรมสืบศลิ ป์ถนิ่ ไทยเทิดไท้ สนามหน้าศาลากลาง
องคร์ าชนิ ีพันปีหลวง เฉลิม จงั หวดั กาฬสินธุ์
พระชนมพรรษาสมเดจ็ พระนางเจา้ อำเภอเมือง
พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรม จังหวดั กาฬสนิ ธุ์
ราชชนนีพนั ปีหลวง
งานพิธีมอบสัญญาเชา่ ที่ดนิ ราชพสั ดุ สนามหนา้ ศาลากลาง
จงั หวัดกาฬสินธ์ุ
อำเภอเมือง
จงั หวดั กาฬสินธ์ุ
งานประเพณีออกพรรษา วัดศรบี ญุ เรือง
อำเภอเมือง
จงั หวัดหนองคาย
106
ภาพท่ี 5.23 ฟ้อนสูข่ วญั ขา้ วคณู ลาน
งานใตร้ ่มพระบารมี 235 ปี กรุงรตั นโกสนิ ทร์ ณ โรงละครแหง่ ชาติ กรงุ เทพฯ
ทม่ี า : ทัศนยี ์ ศิวบวรวัฒนา
ภาพท่ี 5.24 ฟอ้ นสู่ขวัญขา้ วคณู ลาน
งานเทศกาลเทยี่ วเมืองไทย สวนลมุ พนิ ี กรงุ เทพฯ ประจำปี 2561
ทมี่ า : ทัศนีย์ ศิวบวรวัฒนา
ภาพที่ 5.25 ฟอ้ นสู่ขวญั ข้าวคูณลาน
งานเทศกาลเทย่ี วเมอื งไทย สวนลมุ พินี กรุงเทพฯ ประจำปี 2562
ท่ีมา : ทศั นีย์ ศิวบวรวฒั นา
107
ฟอ้ นส่ขู วัญข้าวคณู ลานนอกจากจะเผยแพรใ่ นรูปแบบของการแสดงแลว้ วทิ ยาลัยนาฏศิลปกาฬสนิ ธ์ุ
ได้จัดกิจกรรมโครงการอบรมหลักสูตรระยะสั้น กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการนาฏศิลป์ ประจำปี 2563
ในระหว่างวันที่ 23-25 มีนาคม 2563 ได้มีการถ่ายทอดชุดฟ้อนสู่ขวัญข้าวคูณลาน ให้กับบุคลากร
ทางการศึกษา และคณะครูจำนวน106 คน ที่เข้าร่วมกิจกรรมอบรมในโครงการดังกล่าว เพื่อนำไปขยายผล
ใหก้ ับนกั เรยี นและเป็นการตอ่ ยอดผลงานการสรา้ งสรรคช์ ุดฟ้อนสู่ขวัญขา้ วคูณลานให้กว้างขวางยิง่ ขึ้น
ตารางที่ 2 การเผยแพร่ฟ้อนส่ขู วัญขา้ วคูณลานให้กับบุคลากรทางการศกึ ษาและคณะครู
ที่ ช่อื - สกุล สงั กัด จงั หวดั
1 นางสาวสุทธกิ าร แสงศศิธร โรงเรยี นบา้ นดงเมอื ง (ดงเมืองวทิ ยา) อุดรธานี
2 นางสาวจิตรลดา แพงคำ โรงเรียนบ้านทา่ ล่ี อดุ รธานี
3 นางวรัญญา นันทปรชี า โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 82 (โคกตอง นครราชสมี า
4 นายธรี ฉตั ร จนี ดร เจริญ)
โรงเรียนเบญจมิตรวทิ ยาคม ขอนแก่น
5 นางสาวญาณิศา ผวิ ฝาด โรงเรยี นนาด้วงวิทยา เลย
6 นายร่งุ ทวิ า วารีบ่อ โรงเรียนกาฬสนิ ธ์ุพิทยาสรรพ์ กาฬสินธุ์
7 นางสาวณชั ชาท์ เช้ือแก้ว โรงเรียนเชยี งใหม่ประชานสุ รณ์ รอ้ ยเอด็
8 นางสาวยอแสง นาคกระแสร์ โรงเรยี นอนบุ าลจอมพระ สุรินทร์
9 นางประภาพรรณ พันธ์แกน่ โรงเรียนน้ำเกลยี้ งวิทยา ศรีสะเกษ
10 นายภกั ดีพร วิชาราช โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 50 ขอนแกน่
11 นางสาวจฑุ าทิพย์ แงม้ สรุ าช โรงเรียนชุมชนนิรมยั สกลนคร
12 นางสาววรินยุพา แสงอรณุ โรงเรียนบ้านหนองเปด็ ชยั ภมู ิ
13 นางรชั ฎาภรณ์ ศริ สิ ุทธ์ิ (เกษตรศาสตรอ์ นุสรณ)์ เลย
โรงเรยี นชุมชนบา้ นท่าสะอาด
14 นางสาวแพรวพรรณ โสมาศรี โรงเรยี นเจียรวนนท์อุทศิ 3 เลย
15 นางสาวสวุ มิ ล วมิ าร โรงเรียนพระกุมารร้อยเอ็ด รอ้ ยเอ็ด
108
ท่ี ชือ่ - สกลุ สังกดั จงั หวดั
16 นางสาวนรีรตั น์ เขยี วออ่ น โรงเรียนกงุ แก้ววทิ ยาคาร หนองบัวลำภู
17 นายธนสรรค์ เมฆวนั โรงเรียนอนุบาลชุมชนภูกระดึง เลย
18 นางสาวณฐั นันท์ บญุ กมลศรีศักดิ์ โรงเรียนบ้านไผ่ ขอนแก่น
19 นางแววยุรี ใบภักดี โรงเรียนหนองหลวงศกึ ษา สกลนคร
20 นายทชั นะพงษ์ ยงยทุ ธ โรงเรยี นหนองหลวงศึกษา สกลนคร
21 นางสาวเกศสดุ า ศรหี าโคตร โรงเรียนคำม่วง กาฬสินธุ์
22 นายนชั ชา พันธุ์ทับทมิ โรงเรยี นโสตศึกษาจงั หวัดขอนแกน่ ขอนแก่น
23 นางสาวสทุ ธินี ณ พัทลุง โรงเรยี นบ้านอุม่ จาน อดุ รธานี
24 นางสาวพชั รพี ร นามบุญลือ โรงเรยี นบ้านกุดผ้ึง หนองบวั ลำภู
25 นางสาวอมรรตั น์ ไสยวบิ ลู ย์ โรงเรยี นบ้านอากาศ สกลนคร
26 นางสาวอนงค์ลักษณ์ ยามมา โรงเรียนบา้ นอากาศ สกลนคร
27 นางสาวเบญจรัตน์ แก่นของ โรงเรยี นอนุบาลยโสธร ยโสธร
28 นางชลธชิ า บพุ ชาติ โรงเรียนบ้านโพน มหาสารคาม
29 นางนฤมล รตั นแสง โรงเรยี นศรีโกสุมวทิ ยามิตรภาพท่ี 209 มหาสารคาม
30 นางทัศนีย์ บุญเรืองวฒั น์ โรงเรยี นบา้ นหนองนาไร่เดยี ว มหาสารคาม
31 นางรัตนาพร เช่ียวชูพนั ธ์ โรงเรยี นบ้านเชียงยนื มหาสารคาม
32 นางศริ ิพร บษุ บง โรงเรยี นบา้ นกดุ รัง มหาสารคาม
33 นางสาวณัฏฐนนั ท์ ภูพพิ ัฒนวงษ์ โรงเรยี นกระบากวิทยาคาร มหาสารคาม
34 นางสาวกนกรตั น์ วรรณสี โรงเรยี นโซ่พิสัยพิทยาคม บึงกาฬ
35 นางสาวณฐั ณชิ า อศิ ราพนั ธพ์ สิ ิษฐ์ โรงเรียนวดั ดอนทอง ฉะเชิงเทรา
36 นางสาวสุภาวดี อารยะโชติ โรงเรียนวัดบางวัว ฉะเชงิ เทรา
37 นางสาวหทัยชนก แก้วก่า โรงเรยี นวัดบา้ นปลัดปุ๊ก 109 บรุ ีรัมย์
109
ท่ี ชอ่ื - สกุล สังกัด จังหวดั
38 นางสาวศิรนิ าถ ดวงแก้ว โรงเรยี นบ้านโนนป่าหว้านเชยี งฮาย หนองบัวลำภู
39 นางสาวอนธุ ิดา มะโรงศรี
โรงเรียนวงั หลวงพิทยาสรรพ์ หนองคาย
40 นางสาวเครือวัลย์ จันแดง
โรงเรยี นเหล่าคามพิทยาคม บงึ กาฬ
41 นางธัญวรตั น์ ต้นกันยา รชั มงั คลาภิเษก
42 นางสาวสภุ า ใสสาร
43 นางกัณฑิมา เรไร โรงเรียนบ้านนาไก่นาคำนอ้ ยวิทยา หนองบัวลำภู
44 นางสาวดารินทร์ ชริด
45 นางชนษิ ฐา มงคลพันธ์ โรงเรียนบา้ นแขว ศรสี ะเกษ
46 นางสาวจรญิ ญา โพธิศ์ รี
47 นางสาวธนพรรณ ศรสี ุโคตร โรงเรียนอนุบาลไชยวาน อดุ รธานี
48 นางสาววริ ะดา กนั ยาประสิทธิ์ โรงเรยี นบา้ นนาห้วยแดงดงสำโรง อุบลราชธานี
49 นางสาววราภรณ์ นาโควงศ์ โรงเรียนดงน้อยวิทยา กาฬสนิ ธุ์
50 นางสาวกญั ญลักษณ์ กลุ่มศรี
52 นางสาวอภชิ ดา นาคสมบรู ณ์ โรงเรียนสอ่ งดาววทิ ยาคม สกลนคร
53 นางสาวอารยี า บุตรทา
54 นางศวรรยา มณฑนะพศิ ทุ ธ์ิ โรงเรยี นหนองนาคำวทิ ยาคม ขอนแก่น
55 นางสาวรสสุคนธ์ สทิ ธโิ ชติ
56 นางสาวฐติ ิพร ชาญรอบรู้ โรงเรียนทงุ่ ศขุ ลาพิทยา "กรงุ ไทย ชลบุรี
57 นางจนิ ตนา องึ้ ตระกลู อนุเคราะห์" กรงุ เทพ
58 นางสายสมร เพยี เอีย
59 นางสคุ นธท์ ิพย์ อันเกรียงไกร โรงเรยี นมัธยมสุวิทย์เสรีอนสุ รณ์
โรงเรียนสมเดจ็ พิทยาคม กาฬสินธุ์
โรงเรยี นเทศบาลพลประชานุกลู ขอนแกน่
โรงเรียนชุมแพศึกษา ขอนแก่น
โรงเรยี นยางตลาดวิทยาคาร กาฬสนิ ธุ์
โรงเรียนไชยวานวิทยา อดุ รธานี
โรงเรียนปทมุ เทพวทิ ยาคาร หนองคาย
โรงเรยี นสงั คมวิทยา หนองคาย
โรงเรียนบ้านใหมโ่ สกสม้ กบ ขอนแกน่
โรงเรียนอากาศอำนวยศึกษา สกลนคร
110
ที่ ชื่อ - สกุล สงั กดั จงั หวัด
60 นายพษิ ณุ อนั เกรยี งไกร โรงเรียนอนบุ าลบา้ นมว่ ง สกลนคร
61 นายณธกร นันทะวงค์ โรงเรียนอากาศอำนวยศึกษา สกลนคร
62 นางสาวทัศนยี ์ ญาณไกร โรงเรยี นบา้ นพงั เคน อุบลราชธานี
63 นางเดอื นแข สุราราช โรงเรียนบา้ นบะหวา้ สกลนคร
64 นางสุรัตยา สาคมิตร โรงเรียนกาฬสินธพุ์ ิทยาสรรพ์ กาฬสินธ์ุ
65 นายพรชยั ครองยุติ โรงเรียนกาฬสินธุ์พทิ ยาสรรพ์ กาฬสนิ ธ์ุ
66 นางสาวพรรณเพ็ญ ศิริไชยจำนงค์ โรงเรียนเทศบาลวัดกลาง ขอนแก่น
67 นางสาวทิพยจ์ ิรา ภสู เี งิน โรงเรยี นมกุ ดาหาร มกุ ดาหาร
68 นางลภัสรดา เหลาเกลยี้ งดี โรงเรียนนิคมสงเคราะหว์ ิทยา อดุ รธานี
69 นางจนิ ดารัตน์ หนูประโคน โรงเรยี นอนุบาลหนองกี่ บุรรี มั ย์
70 นายพงษร์ ัตน์ ลีบาง โรงเรียนเทศบาล 12 บ้านชา้ ง อดุ รธานี
71 นายพลอยภทั ร์ชา สวสั ดิ์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 52 เลย
72 นายศรที อง พิมทอง โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 52 เลย
73 นายปวรศิ า ไชยโสดา โรงเรยี นบา้ นกกดู่ เลย
74 นายณฐมน ภมู ินทร์ โรงเรียนบ้านกกดู่ เลย
75 นางสาวทวิ าพร อรรคอำนวย มหาวิทยาลยั ราชภฏั ร้อยเอ็ด รอ้ ยเอ็ด
76 นางสาวกรรณกิ าร์ ไกรหอม โรงเรยี นวดั สขุ สำราญ บรุ ีรมั ย์
77 นางสาวนติ ยา ทองใบ โรงเรยี นวดั สขุ สำราญ บรุ รี ัมย์
78 นายธนาวุฒิ อาญาเมอื ง โรงเรยี นวัดสุขสำราญ บรุ ีรัมย์
79 นางสาวสริ กิ ลั ยา ชมภู โรงเรียนอดุ รวทิ ยา อุดรธานี
80 นางสาวจิรพร เสยี งเสนาะ โรงเรยี นอดุ รวทิ ยา อุดรธานี
111
ท่ี ชอ่ื - สกุล สงั กัด จงั หวัด
สกลนคร
81 นางสาวฐานติ า ภจู นั หา โรงเรยี นบ้านง่อนหนองพะเนาว์ เลย
มิตรภาพที่ 126
82 นายพุทธรกั ษ์ อยั แกว้ โรงเรยี นแสงตะวนั พัฒนา
83 นายนวธร นนท์คำวงค์
84 นางนภารัตน์ แสนคมุ้ โรงเรยี นนครพนมวทิ ยาคม นครพนม
85 นางอมลวรรณ คุณมาศ
86 นายเผด็จ กาศร โรงเรียนบ่อบโุ ปโล อำนาจเจรญิ
87 นายฐตพนธ์ โตจันทรกานต์
88 นางสาวสนิตา ศรนี ราสกุล โรงเรียนราษีไศล ศรสี ะเกษ
89 นายหัสชยั เปาะวนั
90 นางสาวศศนิ า มุจลนิ ทร์ โรงเรียนบา้ นดงไทยวิทยา สุโขทัย
91 นายจติ รลดา ข้ึนภเู ขียว โรงเรียนแมร่ ะมาดวิทยาคม ตาก
92 นางสาวอรพรรณ นนทไชย โรงเรียนบ้านแกง่ ชัชวลิต นครสวรรค์
93 นางสาวปิยพร บุญใบ
94 นางสาวปรัศนียา ศิริกงั วาฬ โรงเรยี นสหัสขันธ์ศกึ ษา กาฬสนิ ธ์ุ
95 นางพรทิพย์ นามบดิ า
96 นายกฤษฎา วงมนตรี โรงเรยี นบ้านเปา้ วิทยา ชัยภมู ิ
97 นายภานวุ ัฒน์ ปานิเสน
98 นายอสิ รานวุ ัฒน์ โฆสติ โรงเรียนบ้านหนองกระบอกราษฎร์ สกลนคร
99 นางเสาวณีย์ ดอกดวง อุทศิ วทิ ยา
100 นางอารยา กัณหา
101 นายรฏั ฐพชิ ญ์ กาญจนเสน โรงเรยี นอนุบาลมหาสารคาม มหาสารคาม
โรงเรยี นชมุ ชนโนนหอมไผล่ อ้ ม สกลนคร
โรงเรยี นวดั แจ่มอารมณ์ รอ้ ยเอ็ด
โรงเรียนอนบุ าล อบต.คลองขาม กาฬสนิ ธุ์
โรงเรียนบา้ นนาสนี วล สกลนคร
โรงเรยี นพระธาตุบงั พวนวิทยา หนองคาย
โรงเรยี นประชารัฐวทิ ยาเสริม ขอนแกน่
โรงเรียนอนุบาลอุบลราชธานี อุบลราชธานี
โรงเรยี นอนบุ าลอบุ ลราชธานี อุบลราชธานี
โรงเรียนอนุบาลอบุ ลราชธานี อุบลราชธานี
112
ภาพท่ี 5.26 ฟ้อนสขู่ วญั ข้าวคณู ลานในโครงการอบรมหลกั สตู รระยะสั้น ประจำปี 2563
ที่มา : ทศั นีย์ ศวิ บวรวัฒนา
5.7 รูปแบบการแสดง
ลักษณะการแสดงสื่อให้เห็นการบวงสรวงบูชาต่อพระแม่โพสพและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่คอยดูแลต้นข้าว
ให้เจรญิ งอกงาม รวมถึงวิถชี วี ติ การทำนาของชาวอสี าน แบง่ การแสดงออกเปน็ 3 ชว่ ง
ช่วงที่ 1 การแสดงที่สื่อให้เห็นการร้อยเรียงจากความเชื่อเรื่องการขอฟ้าขอฝนกับพญาแถน
หรอื ส่ิงศกั ด์สิ ทิ ธิ์ ใหฝ้ นตกตอ้ งตามฤดูกาลประกอบดว้ ยท่ารำต่าง ๆ ดงั นี้
1.1 ทา่ ออก
1.2 ทา่ ขอขมาสิง่ ศกั ด์ิสิทธ์ิ
1.3 ท่าขอฟ้าขอฝน
113
ช่วงที่ 2 การแสดงทีส่ ื่อให้เห็นถึงการทำนา ในวถิ ชี ีวิตของชาวอสี านประกอบด้วยท่ารำต่าง ๆ ดังน้ี
2.1 ทา่ หวา่ นกล้า
2.2 ทา่ ดึงกล้า
2.3 ทา่ ดำนา
2.4 ท่าเกยี่ วข้าว
ช่วงที่ 3 การแสดงให้เห็นถึงการนำเอารวงข้าวมาบูชาและประดับตกแต่งให้เป็น
ปราสาทรวงข้าวท่สี วยงาม ประกอบด้วยทา่ รำต่าง ๆ ดังน้ี
3.1 ทา่ บูชาข้าว
3.2 ท่าคูณข้าว
3.3 ท่าคูณลาน
3.4 ท่าอสี านบ้านเฮา
5.8 ความหมายของท่ารำ
คณะผู้สร้างสรรค์ชุดฟ้อนส่ขู วัญข้าวคูณลาน ได้นิยามความหมายของทา่ รำแต่ละท่า ไว้ดงั นี้
ทา่ ท่ี 1 ทา่ ออก เป็นทา่ แรกเริ่มในการฟอ้ นสู่ขวัญขา้ วคูณลาน เป็นการเดินเป็นขบวน
ของหญิงสาวเพ่อื ไปทำการบชู าสิ่งศักดส์ิ ทิ ธิ์
ทา่ ที่ 2 ทา่ ขอขมาบชู าส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ เปน็ การแสดงความเคารพสกั การะพญาแถนเทพเจ้า
ผู้สามารถดลบันดาลฝนให้ตกได้ตามความเชอ่ื ของชาวอสี าน
ท่าที่ 3 ท่าขอฟ้าขอฝน เป็นการบูชาขอให้สง่ิ ศักดิ์สทิ ธิช์ ่วยดลบนั ดาลให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล
ทา่ ท่ี 4 ท่าหวา่ นกล้า เป็นการเลียนแบบท่าหวา่ นกล้าของชาวนา
ท่าที่ 5 ท่าดึงกล้า เป็นการเลียนแบบทา่ ถอนกล้าของชาวนา
ทา่ ที่ 6 ท่าดำนา เป็นการเลียนแบบท่าดำนาของชาวนา
ท่าที่ 7 ทา่ เกี่ยวขา้ ว เป็นการเลียนแบบท่าเกี่ยวข้าวของชาวนา
ทา่ ท่ี 8 ท่าบชู าขา้ ว เปน็ การแสดงความเคารพบูชาต่อพระแม่โพสพ เพ่ือเป็นการระลึก
ถึงพระคุณ
ท่าที่ 9 ท่าคูณข้าว เป็นการแสดงลักษณะการนำข้าวมากองรวมกันของชาวบ้าน
เพื่อเป็นกุศลส่งใหใ้ นปตี อ่ ไปจะได้ผลผลติ ข้าวเพ่ิมขน้ึ อีก
ท่าที่ 10 ท่าคูณลาน เป็นการแสดงลักษณะการนำข้าวมากองรวมกันที่ลานวัดของชาวบ้าน
ในหมบู่ ้าน
114
ท่าที่ 11 ท่าอีสานบ้านเฮา เป็นการแสดงถึงความสนุกสนาน เมื่อมีกองข้าวกองใหญ่
และแสดงถึงความเป็นอย่ทู อี่ ุดมสมบูรณข์ องชาวอีสาน
5.9 กระบวนทา่ ฟ้อน
คณะผสู้ รา้ งสรรคไ์ ดม้ ีการออกแบบทา่ รำชุดฟ้อนส่ขู วญั ขา้ วคูณลานขึน้ ใหม่ตามความคิดสร้างสรรค์
โดยยดึ หลกั แนวคิดทฤษฎีของการประดิษฐ์ทา่ รำทางนาฏศลิ ป์ไทยและนาฏศิลป์พ้ืนบ้านนำมาประดิษฐ์
ให้สอดคล้องกับทำนองเพลงที่ได้ประพันธ์ขึ้นใหม่ เพื่อให้เกิดความเหมาะสมและสวยงาม ตามแนวคิด
ของผู้เชยี่ วชาญด้านนาฏศลิ ป์ไทยท่ีวา่ การประดิษฐ์ท่ารำนาฏศลิ ป์พ้ืนบ้านต้องศึกษาท่ารำที่เป็นแม่ท่าหลัก
ของแม่บทอีสาน แล้วนำมาประดิษฐ์ลีลาเชื่อมท่ารำให้ครอบคลุมตามความหมายของเนื้อหาฟ้อน
ชุดนั้น ๆ คัดเลือกแม่ท่าหลักมาใช้ให้เหมาะสม ซึ่งท่าฟ้อนของภาคอีสานนั้นมีความเป็นอิสระสูง
ไม่มีข้อจำกัดตายตัว ทั้งมือและเท้า ส่วนใหญ่ท่าฟ้อนจะได้มาจากท่าทางหรืออิริยาบทตามธรรมชาติ
และมีท่าพื้นฐานที่แตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับผู้ประดิษฐท์ ่ารำ จะตัง้ ชอ่ื ว่าเป็นท่าอะไร (ชชั วาล วงษ์ประเสริฐ,
2532 : 25) ซง่ึ คณะผู้สรา้ งสรรคไ์ ด้ดำเนินการดงั น้ี
5.9.1 การใช้เอกลักษณข์ องท่าฟอ้ นพนื้ บา้ นอีสานมาสร้างสรรคท์ ่ารำข้นึ ใหม่ ได้แก่
1. ศรี ษะ ใชล้ กั ษณะของการเอยี ง และลักคอ
2. ลำตัว ใช้ลกั ษณะของการก้มตวั การโนม้ ตวั
3. มือ ใช้ลักษณะการกระดกมือ การมว้ นมือ การจบี การตง้ั วง และการคลายมอื
4. เทา้ ใชล้ ักษณะของการกา้ วเท้า การยำ่ เทา้ การเตะเท้า การยกเทา้ การไขวเ้ ทา้
และการเขยง่ เท้า
5.9.2 การนำท่าแม่บทอีสานมาใช้ประกอบในการแสดง มีจำนวน 4 ท่า ได้แก่ ท่าหงส์บินวน
ท่ายูงรำแพน ท่าแฮง้ ตากขา และท่าเกีย่ วขา้ วในนา
5.9.3 การนำท่าแม่บทอีสานมาประยุกต์เพื่อให้เกิดเป็นท่ารำใหม่โดยใช้ลักษณะเด่น
ของท่าแม่บทอีสานมาประยุกต์ให้เกิดท่ารำที่แตกต่างจากเดิม เช่น นำลักษณะการเดินเตะเทา้
แบบท่ายูงรำแพนมาใช้ในการแสดง และนำลักษณะการแตะเท้าในท่าลำเพลินมาประยุกต์โดยการเพิ่มจังหวะ
การใช้เท้าในท่ารำ
5.9.4 การนำแนวคิดจากการฟ้อนเดินขบวนในงานประเพณีต่าง ๆ มาใช้ในการเชื่อมทา่ รำ
ซง่ึ แนวคดิ ในลักษณะนจี้ ะมคี วามสมั พนั ธ์กับรูปแบบของการแปรแถวเขา้ มารว่ มดว้ ย
115
ทา่ ท่ี 1.1 ทา่ ออก
เท้า : เท้าขวากา้ วหน้า เท้าซา้ ยวางหลัง
มือ : มอื ท้ังสองข้างจบี ส่งหลงั
ลำตวั : หนั หนา้ ออก กดไหลข่ วา
ศรี ษะ : เอียงขวา
ภาพท่ี 5.27 ท่าที่ 1.1 ทา่ ออก
ทีม่ า : ทศั นยี ์ ศวิ บวรวัฒนา, 2562.
ทา่ ที่ 1.2 ท่าออก
เทา้ : เทา้ ซ้ายก้าวหน้า เท้าขวาวางหลงั
มอื : มือท้งั สองขา้ งจีบหงายสง่ หลัง
ลำตัว : หันหลงั กดไหล่ซา้ ย
ศีรษะ : เอยี งซา้ ย
ภาพท่ี 5.28 ท่าท่ี 1.2 ท่าออก
ท่ีมา : ทศั นีย์ ศิวบวรวฒั นา, 2562.
116
ทา่ ที่ 2.1 ทา่ ออก
เทา้ : เท้าขวากา้ วหนา้ เทา้ ซา้ ยวางหลงั
มือ : มือทงั้ สองขา้ งตง้ั วงมอื ซา้ ยต้งั วงบนมอื ขวา
ต้งั วงกลางเบีย่ งมือมาดา้ นหนา้
ลำตวั : หันหน้าออก กดไหล่ขวา
ศรี ษะ : เอยี งขวา
ภาพท่ี 5.29 ทา่ ท่ี 2.1 ทา่ ออก
ที่มา : ทัศนีย์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
ท่าที่ 2.2 ท่าออก
เทา้ : เท้าซา้ ยก้าวหน้าเท้าขวาวางหลัง
มอื : มือท้งั สองขา้ งต้งั วง มือซา้ ยตั้งวงบน
มือขวาต้งั วงกลางเบย่ี งมือมาดา้ นหน้า
ลำตัว : หนั หลัง กดไหล่ซา้ ย
ศีรษะ : เอียงซา้ ย
ภาพท่ี 5.30 ท่าท่ี 2.2 ทา่ ออก
ท่มี า : ทศั นีย์ ศิวบวรวฒั นา, 2562.
117
ท่าท่ี 3.1 ท่าขอขมาบูชาส่ิงศักดส์ิ ิทธิ์
เทา้ : เทา้ ขวากา้ วหน้า เทา้ ซ้าย
วางหลงั
มือ : มอื ทง้ั สองข้างงอแขน จีบปรกหนา้
ลำตวั : หนั ตัวเฉียงดา้ นซา้ ย
ศีรษะ : ตรง
ภาพท่ี 5.31 ท่าที่ 3.1 ทา่ ขอขมาบชู าส่ิงศกั ด์สิ ทิ ธิ์
ท่ีมา : ทัศนีย์ ศวิ บวรวฒั นา, 2562.
ท่าที่ 3.2 ท่าขอขมาบูชาส่ิงศักดสิ์ ิทธ์ิ
เทา้ : เท้าขวากา้ วหนา้ เท้าซ้ายวางหลัง
มอื : มือทั้งสองพนมมือข้ึนตั้งตรงข้างหนา้
ระดบั ศีรษะ
ลำตวั : หนั ตัวเฉยี งด้านซา้ ย
ศรี ษะ : ตรง
ภาพที่ 5.32 ท่าท่ี 3.2 ทา่ ขอขมาบชู าสิ่งศกั ดสิ์ ิทธ์ิ
ทมี่ า : ทศั นีย์ ศวิ บวรวฒั นา, 2562.
118
ทา่ ท่ี 3.3 ท่าขอขมาบชู าส่ิงศักดส์ิ ิทธิ์
เท้า : เท้าขวาก้าวหน้า เทา้ ซา้ ยวางหลงั
มือ : มอื ท้งั สองข้างพนมมอื ขึน้ ระดับศรี ษะ
ลำตัว : หันหนา้ ออก กดไหล่ซา้ ย
ศีรษะ : เอียงซา้ ย
ภาพที่ 5.33 ทา่ ท่ี 3.3 ท่าไหว้ขอขมาบชู าส่ิงศักดส์ิ ทิ ธ์ิ
ท่มี า : ทัศนยี ์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
ทา่ ท่ี 3.4 ท่าขอขมาบชู าสิ่งศกั ดส์ิ ิทธิ์
เทา้ : เท้าซ้ายกา้ วหน้า เท้าขวาวางหลงั
มอื : มอื ท้งั สองพนมมอื ขึ้นระดับศรี ษะ
ลำตัว : หันหลงั กดไหลข่ วา
ศรี ษะ : เอียงขวา
ภาพที่ 5.34 ทา่ ที่ 3.4 ทา่ ไหว้ขอขมาบูชาส่งิ ศกั ด์สิ ทิ ธ์ิ
ที่มา : ทศั นีย์ ศวิ บวรวฒั นา, 2562.
119
ท่าที่ 4.1 ท่าขอขมาบูชาสิ่งศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ
เท้า : เทา้ ขวาก้าวหนา้ เทา้ ซา้ ยเขย่งวางหลงั
มอื : มือท้งั สองขา้ งต้ังวงข้างหน้าระดบั สะเอว
ประสานมอื กนั มือซา้ ยซอ้ นมือขวา
ลำตัว : หนั ตัวเฉยี งด้านซ้าย โนม้ ตวั ไปด้านหน้า
ศีรษะ : ตรง
ภาพท่ี 5.35 ทา่ ท่ี 4.1 ทา่ ขอขมาบชู าส่ิงศักด์ิสทิ ธ์ิ
ทีม่ า : ทศั นีย์ ศวิ บวรวฒั นา, 2562.
ท่าท่ี 4.2 ท่าขอขมาบชู าส่ิงศกั ดสิ์ ทิ ธิ์
เทา้ : เท้าซ้ายกา้ วหน้า เท้าขวาเขยง่ วางหลัง
มอื : มอื ทง้ั สองข้างจีบควำ่ งอแขนระดับ
สะเอวข้างลำตวั
ลำตัว : หันตวั เฉียงดา้ นซา้ ย
ศีรษะ : ตรง
ภาพที่ 5.36 ทา่ ที่ 4.2 ท่าขอขมาบูชาสง่ิ ศักดส์ิ ทิ ธ์ิ
ทีม่ า : ทศั นีย์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
120
ท่าที่ 4.3 ท่าขอขมาบูชาสิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิ
เท้า : เท้าขวากา้ วหน้า เทา้ ซ้ายเขยง่ วางหลงั
มือ : มือท้งั สองขา้ งแบหงายงอแขนระดบั
สะเอวข้างลำตวั
ลำตัว : หันตวั เฉียงดา้ นซา้ ย
ศรี ษะ : ตรง
ภาพที่ 5.37 ทา่ ที่ 4.3 ทา่ ขอขมาบชู าสงิ่ ศักด์สิ ทิ ธิ์
ทีม่ า : ทศั นีย์ ศวิ บวรวฒั นา, 2562.
ทา่ ท่ี 4.4 ท่าขอขมาบูชาส่ิงศักด์สิ ทิ ธิ์
เทา้ : ยำ่ เทา้ ซ้าย เท้าขวา ตามจังหวะ
มือ : มอื ขวาจีบควำ่ ท่ีไหลข่ วา มือซ้ายจีบ
หงายงอแขนระดับศีรษะอยู่ดา้ นหน้า
ลำตัว : หนั หนา้ ออก ตัวตรง
ศรี ษะ : เอียงขวา
ภาพที่ 5.38 ทา่ ที่ 4.4 ทา่ ขอขมาบชู าสิ่งศกั ดิ์สทิ ธ์ิ
ท่ีมา : ทัศนยี ์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
121
ท่าท่ี 4.5 ทา่ ขอขมาบูชาสิ่งศกั ดส์ิ ทิ ธิ์
เทา้ : ยำ่ เท้าซา้ ย เท้าขวา ตามจังหวะ
มอื : มอื ขวาจีบคว่ำท่ีไหล่ขวา มอื ซา้ ย
ต้ังวงบนระดับศรี ษะอยู่ด้านหน้า
ลำตวั : หนั หน้าออก กดไหลข่ วา
ศรี ษะ : เอยี งขวา
ภาพที่ 5.39 ทา่ ที่ 4.5 ทา่ ขอขมาบชู าสง่ิ ศกั ด์สิ ทิ ธ์ิ
ที่มา : ทศั นีย์ ศวิ บวรวัฒนา, 2562.
ท่าท่ี 5.1 ทา่ ขอฟ้าขอฝน
เทา้ : ยำ่ เท้าซ้าย เท้าขวา ตามจังหวะ
มือ : มอื ทั้งสองขา้ งอยสู่ งู เหนอื ศรี ษะ
มือซา้ ยจีบคว่ำมอื มือขวาตั้งวง
ลำตัว : หันขวา กดไหลซ่ ้าย
ศีรษะ : เอียงซา้ ย
ภาพท่ี 5.40 ทา่ ท่ี 5.1 ทา่ ขอฟา้ ขอฝน
ทมี่ า : ทัศนีย์ ศิวบวรวฒั นา, 2562.
122
ท่าที่ 5.2 ทา่ ขอฟา้ ขอฝน
เทา้ : ก้าวเทา้ ซา้ ย เทา้ ขวาวางหลัง
มือ : มือทั้งสองขา้ งอยสู่ งู เหนือศรี ษะ มือซ้าย
จีบควำ่ มอื ขวาตัง้ วง
ลำตัว : หนั ซา้ ย กดไหล่ขวา
ศรี ษะ : เอียงขวา
ภาพท่ี 5.41 ท่าท่ี 5.2 ทา่ ขอฟา้ ขอฝน
ท่ีมา : ทัศนีย์ ศวิ บวรวัฒนา, 2562.
ทา่ ที่ 6.1 ทา่ ขอฟา้ ขอฝน
เทา้ : ยำ่ เทา้ ขวา เทา้ ซา้ ย ตามจังหวะเพลง
มอื : มือทงั้ สองขา้ งจบี หงายอยดู่ ้านซา้ ยของ
ลำตัว มือซา้ ยอย่รู ะดับหนา้ มือขวาอยู่
เยือ้ งกบั มือซ้ายระดับอก
ลำตัว : หันขวา กดไหล่ขวา
ศรี ษะ : เอยี งขวา
ภาพที่ 5.42 ทา่ ที่ 6.1 ทา่ ขอฟ้าขอฝน
ทมี่ า : ทศั นยี ์ ศวิ บวรวัฒนา, 2562.
123
ทา่ ท่ี 6.2 ทา่ ขอฟา้ ขอฝน
เท้า : ยำ่ เทา้ ขวา เท้าซ้าย ตามจังหวะเพลง
มือ : มือทง้ั สองขา้ งตงั้ วงอยูด่ ้านซา้ ยของลำตัว
มอื ซ้ายอยรู่ ะดับหน้า มอื ขวาอยเู่ ย้อื งกับ
มือซา้ ยระดบั อก
ลำตวั : หันขวา กดไหลข่ วา
ศรี ษะ : เอียงขวา
ภาพที่ 5.43 ท่าที่ 6.2 ท่าขอฟ้าขอฝน
ที่มา : ทัศนีย์ ศวิ บวรวฒั นา, 2562.
ทา่ ที่ 6.3 ทา่ ขอฟ้าขอฝน
เทา้ : ยำ่ เท้าขวา เทา้ ซา้ ย ตามจังหวะเพลง
มือ : มือทง้ั สองข้างจีบหงายอยู่ดา้ นขวาของลำตวั
มือขวาอยู่ระดบั หนา้ มือซ้ายอยู่เยอื้ งกับมอื ขวา
ระดับอก
ลำตัว : หนั ซา้ ย กดไหล่ซ้าย
ศีรษะ : เอียงซา้ ย
ภาพที่ 5.44 ทา่ ท่ี 6.3 ท่าขอฟา้ ขอฝน
ทมี่ า : ทศั นยี ์ ศวิ บวรวัฒนา, 2562.
124
ทา่ ที่ 6.4 ท่าขอฟา้ ขอฝน
เท้า : ยำ่ เทา้ ขวา เทา้ ซ้าย ตามจังหวะเพลง
มอื : มอื ทง้ั สองขา้ งตงั้ วงอยู่ดา้ นขวาของลำตัว
มือขวาอยู่ระดับหนา้ มือซา้ ยอยเู่ ยื้องกบั
มอื ขวาระดบั อก
ลำตัว : หนั ซ้าย กดไหล่ซ้าย
ศีรษะ : เอยี งซา้ ย
ภาพที่ 5.45 ทา่ ที่ 6.4 ทา่ ขอฟา้ ขอฝน
ทมี่ า : ทัศนีย์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
ท่าที่ 7.1 ทา่ ขอฟ้าขอฝน
เท้า : เทา้ ซา้ ยก้าวหนา้ เท้าขวาวางหลงั
มอื : มอื ทัง้ สองขา้ งสูงระดับศรี ษะ
มอื ขวาจบี ควำ่ มอื ซา้ ยตง้ั วง
ลำตวั : หันขวา กดไหล่ซา้ ย
ศรี ษะ : เอยี งซา้ ย
ภาพที่ 5.46 ท่าท่ี 7.1 ทา่ ขอฟ้าขอฝน
ทม่ี า : ทัศนีย์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
ทม่ี า : ทัศนีย์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
ทีม่ า : ทศั นยี ์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
125
ทา่ ท่ี 7.2 ท่าขอฟา้ ขอฝน
เท้า : เท้าขวากา้ วหนา้ เทา้ ซ้ายยำ่ ตาม
จงั หวะ
มือ : มอื ทัง้ สองขา้ งสงู เหนือศรี ษะ
มอื ขวาจบี คว่ำ มอื ซ้ายตง้ั วงสงู
ลำตวั : หนั ซ้าย กดไหล่ขวา
ศีรษะ : เอียงขวา
ภาพท่ี 5.47 ทา่ ท่ี 7.2 ทา่ ขอฟา้ ขอฝน
ท่ีมา : ทัศนีย์ ศิวบวรวัฒนา, 2562.
ทา่ ท่ี 8.1 ทา่ ขอฟา้ ขอฝน
มือ : มอื ท้งั สองขา้ งงอแขนจบี ปรกข้าง
ระดับหนา้
เทา้ : เตะเทา้ ขวา ไปขา้ งหนา้ กระท้งุ เทา้ ซา้ ย
2 คร้งั
ลำตวั : หันหน้าออก ตัวตรง
ศีรษะ : ตรง
ภาพที่ 5.48 ทา่ ท่ี 8.1 ทา่ ขอฟา้ ขอฝน
ทีม่ า : ทศั นยี ์ ศวิ บวรวฒั นา, 2562.
126
ท่าท่ี 8.2 ท่าขอฟา้ ขอฝน
มอื : มือทัง้ สองข้างต้ังวงระดบั หน้า
กระดกข้อมือตามจังหวะ
เท้า : เตะเท้าขวา ไปข้างหนา้ กระทุ้ง
เทา้ ซา้ ย 2 คร้งั
ลำตัว : หนั หนา้ ออก ตัวตรง
ศรี ษะ : ตรง
ภาพที่ 5.49 ท่าที่ 8.2 ท่าขอฟ้าขอฝน
ที่มา : ทศั นยี ์ ศิวบวรวฒั นา, 2562.
ท่าท่ี 8.3 ท่าขอฟา้ ขอฝน
เทา้ : ยำ่ เทา้ ซา้ ย เทา้ ขวา ตามจังหวะ
มือ : มือทัง้ สองขา้ งงอแขนจบี ปรกขา้ งระดับหนา้
ลำตวั : หันขวา กดไหลซ่ ้าย
ศรี ษะ : เอยี งซา้ ย
ภาพท่ี 5.50 ทา่ ท่ี 8.3 ท่าขอฟา้ ขอฝน
ท่มี า : ทศั นีย์ ศวิ บวรวัฒนา, 2562.
127
ทา่ ท่ี 8.4 ท่าขอฟา้ ขอฝน
เทา้ : ยำ่ เทา้ ซ้าย เท้าขวาตามจงั หวะเพลงโดย
หมนุ รอบตัวเองทางด้านขวา
มอื : มือทั้งสองข้างงอแขนตง้ั วงระดับหนา้ กระดก
ขอ้ มือตาม จงั หวะ
ลำตัว : หันขวา กดไหลซ่ า้ ย
ศีรษะ : เอยี งซา้ ย
ภาพที่ 5.51 ทา่ ท่ี 8.4 ทา่ ขอฟ้าขอฝน
ทมี่ า : ทศั นีย์ ศิวบวรวฒั นา, 2562.
ท่าที่ 8.5 ท่าขอฟา้ ขอฝน
เทา้ : ย่ำเท้าขวา เทา้ ซ้ายตามจงั หวะ
มือ : มอื ทง้ั สองข้างงอแขนจบี ปรกข้างระดับหนา้
ลำตัว : หันซา้ ย กดไหล่ขวา
ศีรษะ : เอยี งขวา
ภาพที่ 5.52 ทา่ ที่ 8.5 ทา่ ขอฟา้ ขอฝน
ทีม่ า : ทศั นีย์ ศิวบวรวฒั นา, 2562.
128
ท่าท่ี 8.6 ท่าขอฟ้าขอฝน
เทา้ : เท้าซา้ ยกา้ วหน้า เทา้ ขวาวางหลัง
มอื : มือท้งั สองขา้ งงอแขนต้งั วงระดับหน้า
กระดกข้อมอื ตามจังหวะ
ลำตวั : หนั ซา้ ย กดไหล่ขวา
ศรี ษะ : เอยี งขวา
ภาพท่ี 5.53 ท่าท่ี 8.6 ท่าขอฟ้าขอฝน
ที่มา : ทศั นยี ์ ศวิ บวรวฒั นา, 2562.
ท่าที่ 9.1 ท่าขอฟ้าขอฝน
เท้า : เท้าขวากา้ วหน้า เทา้ ซ้ายวางหลัง
มือ : มอื ท้งั สองข้างต้ังวงขา้ งหน้าระดับ
สะเอวประสานมือกัน มือซ้ายซอ้ น
มอื ขวา
ลำตัว : หันซา้ ย โน้มตัวไปขา้ งหน้า
ศรี ษะ : ตรง
ภาพที่ 5.54 ท่าท่ี 9.1 ท่าขอฟา้ ขอฝน
ท่ีมา : ทัศนยี ์ ศวิ บวรวัฒนา, 2562.
129