๑
๑
บทนำ
๑. ความนำ
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคำสั่งสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐาน
การเรยี นรแู้ ละมาตรฐานและตวั ชี้วัดกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.
๒๕๖๐) โดยมีคำสงั่ ใหโ้ รงเรียนดำเนินการใช้หลกั สตู รในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดยใหใ้ ชใ้ นช้ันประถมศึกษาปี
ที่ ๑ และ ๔ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา ให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกำหนด
จดุ หมาย และมาตรฐานการเรียนรเู้ ป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมีพัฒนาการ
เต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและ
เปา้ หมายของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน
โรงเรยี นวัดตะเคียนทอง จงึ ไดท้ ำการปรับปรุงหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระ
ภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพื่อนำไปใช้ประโยชนแ์ ละเป็นกรอบ
ในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมีเป้าหมายในการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน ให้มีกระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และมาตรฐานและตัวชี้วัด
โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผลให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปิด
โอกาสให้โรงเรียนสามารถกำหนดทิศทางในการจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนในแต่ละระดับตามความ
พร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางที่ชัดเจนเพื่อตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มี
ความพรอ้ มในการกา้ วส่สู งั คมคุณภาพ มีความรู้อยา่ งแท้จริง และมที ักษะในศตวรรษที่ ๒๑
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในเอกสารนี้ ช่วยทำให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในทุก
ระดบั เห็นผลคาดหวังท่ีต้องการในการพัฒนาการเรยี นรู้ของผู้เรียนที่ชดั เจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถช่วยให้
หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในระดับทอ้ งถิน่ และสถานศึกษารว่ มกนั พัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ทำให้การจัดทำ
หลกั สตู รในระดับสถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพย่ิงขนึ้ อกี ทั้งยงั ชว่ ยใหเ้ กิดความชัดเจนเร่ือง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปญั หาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนา
หลักสูตรในทุกระดับตั้งแต่ระดับชาติจนกระทั่งถึงสถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการ
เรียนรูแ้ ละตัวช้วี ดั ท่ีกำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทง้ั เป็นกรอบทิศทางในการจัด
การศกึ ษาทุกรูปแบบ และครอบคลุมผูเ้ รียนทกุ กลุ่มเป้าหมายในระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั ตะเคียนทอง(ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕)
๒
การจัดหลักสตู รการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสำเรจ็ ตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ ทุกฝ่าย ที่
เกี่ยวข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทำงานอย่างเป็นระบบ
และต่อเนื่อง ในการวางแผน ดำเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนา
เยาวชนของชาติไปสูค่ ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนร้ทู ก่ี ำหนดไว้
๒. ปรัชญา วสิ ยั ทศั น์ และเป้าหมายของสถานศึกษา
ปรัชญาโรงเรียน
โรงเรียนจัดการศกึ ษาโดยเน้นความรู้คคู่ ุณธรรมนอ้ มนำหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สกู่ ารปฏบิ ัติ พัฒนาผู้เรียนอย่างตอ่ เนื่องและสามารถเรียนรู้ไดเ้ ต็มศักยภาพ
วิสยั ทศั น์
โรงเรียนวดั ตะเคียนทองมีวิสัยทศั น์ คือ นักเรียนมีคณุ ภาพ โรงเรยี นได้มาตรฐาน บริหาร
บริการ จัดการดี มีทักษะกระบวนการ ประสานแหล่งเรยี นรู้ ความรู้คคู่ ุณธรรม จัดภมู ิทัศน์นา่ อยู่ กา้ วทัน
เทคโนโลยี สามารถดำรงชีวิตอยใู่ นสงั คมได้อยา่ งมีความสุข
พันธกจิ
โรงเรยี นวัดตะเคยี นทองจดั ทำหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ปรับปรุง ๒๕๖๐) ให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการของผู้เรียนและ
ทอ้ งถ่นิ ส่งเสริมให้ผูเ้ รียนมีคณุ ธรรม จริยธรรม มีสุขภาพกาย และสุขภาพจติ ท่ีดี สนบั สนุนใหบ้ คุ ลากร
เขา้ รบั การอบรมเพอื่ ให้สามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ตลอดจนพัฒนาระบบขอ้ มลู สารสนเทศ
ให้เป็นระบบและพฒั นาสภาพแวดล้อมใหน้ ่าอยตู่ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ชุมชนมรสว่ นร่วม
ในการจดั การและพฒั นาการศกึ ษาสอู่ าเซยี น
จุดหมาย
โรงเรียนวัดตะเคียนทอง มุ่งพฒั นาผู้เรียนใหเ้ ป็นคนดี มีปัญญา มคี วามสุข
มีศกั ยภาพในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชพี จงึ กำหนดเปน็ จุดหมายเพื่อใหเ้ กดิ กับผู้เรยี นเมอื่ จบ
การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ดังน้ี
๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตน
ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทีต่ นนับถือ ยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๒. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะ
ชวี ติ
๓. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี มสี ุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ตะเคยี นทอง(ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)
๓
๔. มีความรกั ชาติ มจี ติ สำนกึ ในความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชวี ติ และ การ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ
๕. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มี
จติ สาธารณะทีม่ ่งุ ทำประโยชน์และสร้างส่ิงท่ีดีงามในสงั คม และอย่รู ่วมกนั ในสงั คมอย่างมคี วามสุข
๓. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น
โรงเรยี นวัดตะเคยี นทอง มุ่งใหผ้ ู้เรียนเกิดสมรรถนะ สำคญั ๕ ประการ ดังน้ี
๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
และประสบการณ์อนั จะเปน็ ประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเองและสังคม รวมทง้ั การเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและ
ลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง
ตลอดจนการเลอื กใช้วิธกี ารส่ือสาร ทมี่ ีประสทิ ธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทมี่ ตี ่อตนเองและสงั คม
๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ
สารสนเทศเพ่อื การตดั สินใจเกยี่ วกับตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่
เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ใน
การป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง
สงั คมและส่ิงแวดล้อม
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ
ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่องการทำงาน และการอยู่
ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสรมิ ความสัมพันธอ์ ันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งตา่ ง ๆ
อย่างเหมาะสม การปรบั ตัวใหท้ ันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง
พฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงคท์ ส่ี ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อืน่
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การ
ทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรคถ์ ูกต้อง เหมาะสมและมีคณุ ธรรม
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ตะเคียนทอง(ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๕)
๔
๔. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
โรงเรยี นวัดตะเคียนทองมุ่งพัฒนา คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของนักเรียน 8 ประการ ดงั น้ี
๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
๒. ซื่อสัตยส์ ุจรติ
๓. มวี นิ ัย
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อยา่ งพอเพียง
๖. มุง่ มนั่ ในการทำงาน
๗. รกั ความเปน็ ไทย
๘. มีจติ สาธารณะ
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ตะเคียนทอง(ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)
๕
โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดตะเคียนทอง
โครงสร้างเวลาเรยี น
ระดับ เวลาเรยี น
ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษา หมายเหตุ
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓
กลมุ่ สาระ / กจิ กรรม
ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ - - -
คณติ ศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ - - -
วทิ ยาศาสตร์และ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ - - -
เทคโนโลยี
สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ - - -
สงั คมศึกษา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ - - -
ประวัติศาสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ - - -
พระพทุ ธศาสนา ---------
สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ - - -
ศลิ ปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ - - -
การงานอาชีพ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ - - -
ภาษาตา่ งประเทศ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ - - -
รวมเวลาเรียนพนื้ ฐาน ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ - - -
รายวชิ าเพิ่มเติม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ - - -
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ - - -
ภาษาพาเพลิน
รวมเวลาเรยี นวิชา
เพ่ิมเติม
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ตะเคียนทอง(ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๕)
๖
เวลาเรยี น
ระดบั ประถมศึกษา มธั ยมศึกษา
หมายเหตุ
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ - - -
สาระ / กจิ กรรม
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น
กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ - - -
กจิ กรรมนักเรียน
- ลูกเสือ / เนตรนารี - - -
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
(ต้านทุจรติ )
- ชมุ นุม ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ - - -
กิจกรรมเพื่อสังคมและ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ - - -
สาธารณะประโยชน์
รวมเวลากิจกรรม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ - - -
พฒั นาผู้เรียน
รวมเวลาเรยี นทง้ั สนิ้ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ ๑,๐๐๐ - - -
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ตะเคียนทอง(ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)
๗
โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนวัดตะเคียนทอง
ระดับประถมศกึ ษา
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑
รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรียน
(ชม. / ปี)
รายวิชาพ้ืนฐาน ๘๔๐
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐
ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ๑๐๐
ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ๘๐
ส ๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐
พ ๑๑๑๐๑ สขุ ศึกษา และพลศึกษา ๖๐
ศ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๔๐
ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ๔๐
อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษพ้นื ฐาน ๘o
รายวิชาเพม่ิ เติม ๔๐
๑๑๒๐๑ ภาษาพาเพลนิ ๔๐
กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น ๑๒๐
▪ กจิ กรรมแนะแนว ๔๐
▪ กจิ กรรมนกั เรียน
๔๐
ลูกเสือ / เนตรนารี ๓๐
ชุมนมุ ๑๐
๑,๐๐๐
▪ *กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรยี นทง้ั สน้ิ
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั ตะเคยี นทอง(ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)
๘
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ เวลาเรียน
(ชม. / ปี)
รายวชิ า / กจิ กรรม
๘๔๐
รายวิชาพ้นื ฐาน ๒๐๐
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๐๐
ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ๔๐
ส ๑๒๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๖๐
พ ๑๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษา และพลศกึ ษา ๔๐
ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๔๐
ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ๘๐
อ ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษพน้ื ฐาน ๔๐
รายวิชาเพมิ่ เติม ๔๐
๑๒๒๐๑ ภาษาพาเพลิน
๑๒๐
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน ๔๐
▪ กิจกรรมแนะแนว
▪ กจิ กรรมนกั เรยี น ๔๐
๓๐
ลูกเสอื / เนตรนารี ๑๐
ชุมนมุ ๑,๐๐๐
▪ *กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรียนทั้งส้ิน
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ตะเคยี นทอง(ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๕)
๙
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ เวลาเรยี น
(ชม. / ปี)
รายวิชา / กิจกรรม
๘๔๐
รายวชิ าพ้นื ฐาน ๒๐๐
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๐๐
ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษา ๔๐
ส ๑๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๘๐
พ ๑๓๑๐๑ สุขศึกษา และพลศกึ ษา ๔๐
ศ ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐
ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชพี ๘๐
อ ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษพน้ื ฐาน ๔๐
รายวชิ าเพม่ิ เติม ๔๐
๑๓๒๐๑ภาษาพาเพลิน
๑๒๐
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๔๐
▪ กจิ กรรมแนะแนว
▪ กจิ กรรมนักเรยี น ๔๐
๓๐
ลูกเสือ / เนตรนารี ๑๐
ชุมนุม ๑,๐๐๐
▪ *กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรียนทั้งสิน้
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ตะเคียนทอง(ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๕)
๑๐
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ เวลาเรียน
(ชม. / ปี)
รายวิชา / กิจกรรม
๘๔๐
รายวิชาพนื้ ฐาน ๑๖๐
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๒๐
ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส ๑๔๑๐๑ สังคมศึกษา ๔๐
ส ๑๔๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๘๐
พ ๑๔๑๐๑ สขุ ศกึ ษา และพลศึกษา ๘๐
ศ ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๔๐
ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๘๐
อ ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษพ้นื ฐาน ๔๐
รายวิชาเพิม่ เติม ๔๐
๑๔๒๐๑ ภาษาพาเพลนิ
๑๒๐
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น ๔๐
▪ กิจกรรมแนะแนว
▪ กจิ กรรมนักเรยี น ๔๐
๓๐
ลูกเสือ / เนตรนารี ๑๐
ชุมนุม ๑,๐๐๐
▪ กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรยี นท้งั ส้ิน
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ตะเคยี นทอง(ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๕)
๑๑
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ เวลาเรียน
(ชม. / ปี)
รายวิชา / กิจกรรม
๘๔๐
รายวิชาพื้นฐาน ๑๖๐
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๒๐
ว ๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษา ๔๐
ส ๑๕๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๘๐
พ ๑๕๑๐๑ สขุ ศกึ ษา และพลศึกษา ๘๐
ศ ๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ ๔๐
ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๘๐
อ ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษพ้นื ฐาน ๔๐
รายวิชาเพิ่มเติม ๔๐
๑๕๒๐๑ ภาษาพาเพลนิ
๑๒๐
กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น ๔๐
▪ กิจกรรมแนะแนว
▪ กจิ กรรมนกั เรียน ๔๐
๓๐
ลูกเสอื / เนตรนารี ๑๐
ชุมนมุ ๑,๐๐๐
▪ กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรยี นท้งั สิน้
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ตะเคยี นทอง(ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๕)
๑๒
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ เวลาเรยี น
(ชม. / ปี)
รายวชิ า / กจิ กรรม
๘๔๐
รายวิชาพื้นฐาน ๑๖๐
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐
ค ๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๘๐
ว ๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐
ส ๑๖๑๐๑ สงั คมศึกษา ๔๐
ส ๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๘๐
พ ๑๖๑๐๑ สขุ ศึกษา และพลศกึ ษา ๘๐
ศ ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐
ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๘๐
อ ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษพนื้ ฐาน ๔๐
รายวชิ าเพิม่ เติม ๔๐
- ภาษาพาเพลนิ ๑๒๐
- ๔๐
กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น
▪ กิจกรรมแนะแนว ๔๐
▪ กิจกรรมนักเรยี น ๓๐
๑๐
ลกู เสอื / เนตรนารี ๑,๐๐๐
ชมุ นมุ
▪ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
รวมเวลาเรยี นทง้ั ส้นิ
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ตะเคียนทอง(ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕)
๑๓
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ตะเคยี นทอง(ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)
๑๔
รายวชิ าพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
รายวิชาพ้นื ฐาน จำนวน ๒๐๐ ชวั่ โมง
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๒๐๐ ชวั่ โมง
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๒๐๐ ชว่ั โมง
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๑๖๐ ชัว่ โมง
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๑๖๐ ชัว่ โมง
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย
รายวิชาเพมิ่ เติม จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง
ท ๑๑๒๐๑ ภาษาพาเพลนิ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง
ท ๑๒๒๐๑ ภาษาพาเพลิน จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง
ท ๑๓๒๐๑ ภาษาพาเพลิน จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง
ท ๑๔๒๐๑ ภาษาพาเพลิน จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง
ท ๑๕๒๐๑ ภาษาพาเพลนิ จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง
ท ๑๖๒๐๑ ภาษาพาเพลนิ
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ตะเคยี นทอง(ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)
๑๕
คำอธบิ ายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
รหัสวชิ า ท๑๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้
ภาษาไทยช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑
เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง
ศึกษาการอ่านออกเสียงคำ คำคล้องจองและข้อความสั้น ๆ ที่ประกอบด้วยคำพื้นฐานที่
ใช้ในชีวิตประจำวันไม่น้อยกว่า ๖๐๐ คำ คำที่มีวรรณยุกต์และไม่มีวรรณยุกต์ ตัวสะกดตรงตามมาตรา
และไม่ตรงตามมาตรา คำควบกล้ำ อักษรนำ รวมทั้งคำที่ใช้เรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น บอก
ความหมายของคำและข้อความที่อ่าน อ่านจับใจความจาก นิทาน นิทานพ้ืนบ้านในอำเภอประจันตคาม
จังหวัดปราจนี บรุ ี เรื่องสั้น บทร้อง บทเพลง เรื่องราวจากบทเรยี น ตอบคำถาม เล่าเรื่องย่อ คาดคะเน
เหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน บอก
ความหมายของเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่มักพบเหน็ ในชวี ติ ประจำวนั เครอ่ื งหมายแสดงความปลอดภัย
และแสดงอันตราย มีมารยาทในการอา่ น ไม่อา่ นเสียงดงั ไมเ่ ล่นขณะอา่ น
คดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย เขยี นส่ือสารคำที่ใช้ใน
ชีวิตประจำวัน คำพื้นฐานในบทเรยี น คำคล้องจอง ประโยคง่าย ๆ มีมารยาทในการเขียน เขียนให้อ่าน
งา่ ย สะอาด ไมข่ ีดฆา่ ไมข่ ดี เขียนในทีส่ าธารณะ ใช้ภาษาเหมาะสมกบั เวลา สถานท่ีและบคุ คล
ฟังคำแนะนำ คำสั่งต่าง ๆ และปฏิบัติตาม ตั้งคำถาม ตอบคำถาม เล่าเรื่องที่ฟังและดู
ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องเล่าและสารคดี นิทาน
การ์ตูน เรื่องขบขัน เรื่องที่ฟังและดู พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์ พูดแนะนำตนเอง พูดขอความ
ชว่ ยเหลอื กล่าวคำขอบคุณ กล่าวคำขอโทษ มีมารยาทในการฟงั การดู และการพดู
บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำ แจกลูกคำ อ่านเป็น
คำ มาตราตัวสะกดที่ตรงมาตราและไม่ตรงมาตรา การผันคำ บอกความหมายของคำ เรียบเรียงคำเป็น
ประโยคง่าย ๆ ต่อคำคล้องจองงา่ ย ๆ
ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็กหรือการฟัง
นิทานพื้นบ้านในอำเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี นิทานอื่น เรื่อง สั้นง่าย ๆ ปริศนาคำทาย บท
รอ้ งเลน่ บทอาขยานประจำโรงเรียน เพือ่ นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและ
บทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจโดยใช้ทักษะกระบวนการปฏิบัติในกระบวนการอ่าน การฟัง การดู
การพูด การเขียน กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการทางภาษา การปฏิบัติจริง การศึกษา
ค้นควา้ การใช้เทคโนโลยี การใช้แหล่งเรียนรู้และการใช้ภาษาไทยเพ่ือใหเ้ กิดความรู้ความคิด วเิ คราะห์ การ
ตดั สินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชวี ติ อยา่ งมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์ สามารถนำไปใช้ในชีวติ จรงิ ได้อย่าง
เหมาะสม เพื่อให้เกิดความรู้เกี่ยวกับการอ่าน กระบวนการเขียนในรูปแบบต่างๆ การฟัง การดู และการ
พูด หลกั ภาษา ภูมิปัญญาทางภาษาและวรรณคดีวรรณกรรมไทย
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ตะเคยี นทอง(ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๕)
๑๖
เห็นคุณค่าของการอนุรักษภ์ าษาไทย และตัวเลขไทย รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ มีวนิ ยั ซอ่ื สัตย์สุจริต ใฝ่รู้ใฝ่
เรียน มุ่งมั่นในการทำงาน อยู่อย่างพอเพียง มีจิตสาธารณะ สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ใน
ชวี ิตประจำวันไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม
มาตรฐานตัวชี้วดั
ท๑.๑ ป.๑/๑ ป. ๑/๒ ป.๑/๓ ป.๑/๔ ป.๑/๕ ป.๑/๖ ป.๑/๗ ป.๑/๘
ท๒.๑ ป.๑/๑ ป. ๑/๒ ป.๑/๓
ท๓.๑ ป.๑/๑ ป. ๑/๒ ป.๑/๓ ป.๑/๔ ป.๑/๕
ท๔.๑ ป.๑/๑ ป. ๑/๒ ป.๑/๓ ป.๑/๔
ท๕.๑ ป.๑/๑ ป. ๑/๒
รวม ๕ มาตรฐาน ๒๒ ตวั ช้ีวัด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ตะเคยี นทอง(ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)
๑๗
คำอธิบายรายวิชากล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
รหสั วชิ า ท๑๒๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้
ภาษาไทยช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๒
เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง
ศกึ ษาการอ่านออกเสยี งคำ คำคลอ้ งจอง ขอ้ ความและบทร้อยกรองงา่ ย ๆ
ประกอบด้วยคำพ้ืนฐานที่เพิม่ จาก ป. ๑ ไม่นอ้ ยกวา่ ๘๐๐ คำ คำที่มรี ูปวรรณยุกต์และไม่มรี ปู
วรรณยกุ ต์ ตวั สะกดตรงมาตราและไมต่ รงมาตรา คำควบกล้ำ อักษรนำ ตัวการนั ต์ คำท่ีมี รร พยัญชนะ
และสระที่ไม่ออกเสยี ง รวมทั้งคำที่ใช้เรียนรใู้ นกลุ่มสาระการเรยี นรู้อ่นื ได้ถกู ต้อง อธบิ ายความหมายของคำ
และข้อความที่อา่ น ต้ังคำถาม ตอบคำถาม ระบุใจความสำคัญและรายละเอยี ด เก่ียวกับนิทานพืน้ บา้ น
ในจงั หวดั ปราจีน เรือ่ งเล่าสน้ั ๆ ในทอ้ งถ่ินปราจีนบุรี บทเพลง บทร้อยกรองงา่ ย ๆ แสดงความคดิ
คาดคะเน เหตกุ ารณ์ข่าว และเหตุการณ์ประจำวันในท้องถิ่น ในอำเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบรุ ี
และจากเรื่องที่อา่ น เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจและที่กำหนดอยา่ งสม่ำเสมอ นำเสนอเรอ่ื งท่อี า่ น
อ่านข้อเขยี นเชิงอธิบาย ปฏบิ ัตติ ามคำส่งั และ ข้อแนะนำการใช้ทีส่ าธารณะ การใช้เคร่ืองใชท้ จี่ ำเป็นทงั้ ใน
บ้านและในโรงเรียน มมี ารยาทในการอา่ น ไม่อ่านเสียงดัง ไม่เล่นขณะอา่ น ไม่ทำลายหนังสือ ไมแ่ ย่ง
อ่านหรอื ชะโงกหน้า ไม่อ่านขณะผอู้ ่ืนกำลงั อ่านอยู่
คัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัดตามรูปแบบการเขยี นอกั ษรไทย เขยี นเรื่องสั้น ๆ เกีย่ วกับ
ประสบการณ์ เขยี นเรอื่ งสั้น ๆ ตามจนิ ตนาการ มีมารยาทในการเขียน เขยี นใหอ้ ่านงา่ ย สะอาด ไม่ขีด
ฆ่า ไมข่ ีดเขยี นในทส่ี าธารณะ ใช้ภาษาเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบุคคล ไม่เขียนล้อเลียนผู้อ่ืนหรือ
ทำให้ผู้อน่ื เสียหาย
ฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ คำสั่งที่ซับซ้อน เล่าเรื่อง บอกสาระสำคัญ พูดแสดง
ความคิดเห็น ความรู้สึก ตั้งคำถามและตอบคำถาม จากเรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้ ความบันเทิง
สารคดีสำหรับเด็ก สารคดีสำหรับเด็กในท้องถิ่นจังหวัดปราจีนบุรี นิทานพื้นบ้านในจังหวัดปราจีนบุรี
นิทานอื่น การ์ตูน เรื่องขบขัน ข่าว เหตุการณ์ระจำวันในท้องถิ่นในอำเภอประจันตคาม เพลง เพลง
พื้นบ้านในจังหวัดปราจีนบุรี จากเรื่องที่ฟังและดู พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ พูดแนะนำ
ตนเอง พูดขอความช่วยเหลือ กล่าวคำขอบคุณ กล่าวคำขอโทษ พูดขอร้องในโอกาสต่าง ๆ เล่าประสบ
การในชีวิตประจำวนั มีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู
บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำ แจกลูกคำ อ่านเป็นคำ
มาตราตัวสะกด ที่ตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา การผันอักษรกลาง อักษรสูง อักษรต่ำ ตัวการันต์
คำควบกล้ำ อักษรนำ คำที่มีความหมายตรงกันข้าม คำที่มี รร ความหมายของคำ การเรียงคำเป็นประโยค
ได้ตรงตามเจตนาของการสื่อสาร บอกลักษณะคำคล้องจอง เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิ่นใน
จังหวดั ปราจนี บรุ ี และภาษาถนิ่ ไทยอีสานได้เหมาะสมกับกาลเทศ
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ตะเคยี นทอง(ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)
๑๘
ระบขุ ้อคิดที่ได้การอา่ นหรือการฟัง นิทาน นทิ านพน้ื บ้านในอำเภอประจนั ตคาม จงั หวัด
ปราจนี บรุ ี เร่ืองสั้นง่าย ๆ ปริศนาคำทาย บทอาขยาน บทร้อยกรอง และวรรณกรรมสำหรับเด็ก บทร้อง
เล่นสำหรบั เดก็ ในท้องถน่ิ บทรอ้ งเล่นในการละเล่นของเด็กไทย
โดยใชท้ ักษะกระบวนการปฏิบัตใิ นการอ่าน การฟงั การดู การพดู การเขียน
กระบวนการกลมุ่ กระบวนการคิด กระบวนการทางภาษา การปฏิบัติจรงิ การศกึ ษาค้นควา้ การใช้
เทคโนโลยี และการใช้แหลง่ เรยี นรู้ และการใช้ภาษาไทยเพื่อให้เกิดความรู้ความคิด วเิ คราะห์ การตดั สนิ ใจ
แก้ปญั หาในการดำเนินชีวติ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์ สามารถนำไปใชใ้ นชีวติ จรงิ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรู้เกี่ยวกับการอ่าน กระบวนการเขียนในรปู แบบตา่ ง ๆ การฟัง การดู และการพูด หลกั
ภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษาและวรรณคดีวรรณกรรมไทย
เห็นคณุ ค่าของการอนุรกั ษ์ภาษาไทย และตวั เลขไทย รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ มวี ินัย
ซือ่ สัตย์สจุ ริต ใฝ่รู้ใฝเ่ รียน มุ่งมั่นในการทำงาน อย่อู ย่างพอเพยี ง มีจิตสาธารณะ สามารถนำความรู้ไปใช้
ใหเ้ กดิ ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม
มาตรฐานตัวชี้วัด
ท๑.๑ ป.๒/๑ ป. ๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ป.๒/๕ ป.๒/๖ ป.๒/๗ ป.๒/๘
ท๒.๑ ป.๒/๑ ป. ๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔
ท๓.๑ ป.๒/๑ ป. ๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ป.๒/๕ ป.๒/๖ ป.๒/๗
ท๔.๑ ป.๒/๑ ป. ๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ป.๒/๕
ท๕.๑ ป.๒/๑ ป. ๒/๒ ป.๒/๓
รวม ๕ มาตรฐาน ๒๗ ตวั ชว้ี ัด
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ตะเคยี นทอง(ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)
๑๙
คำอธิบายรายวชิ ากลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
รหสั วิชา ท๑๓๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย
เวลา
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓
๒๐๐ ชว่ั โมง
ศึกษาการอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของ คำ คำคล้องจอง ข้อความ และบท
ร้อยกรองง่าย ๆ ที่ประกอบดว้ ยคำพ้ืนฐานเพิ่มจาก ป.๒ ไม่นอ้ ยกว่า ๑,๒๐๐ คำ คำทมี่ ตี วั การันต์ คำท่ีมี
รร คำที่มพี ยญั ชนะและสระไม่ออกเสยี ง คำพอ้ ง คำท่ใี ช้ ฑ ฤ ฤๅ รวมทั้งคำทีเ่ รียนรู้ในกลุม่ สาระการ
เรียนรู้อ่ืน ต้ังคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล สรุปความรู้และข้อคิด ลำดับเหตุการณ์ คาดคะเน
เหตกุ ารณ์เกยี่ วกับนทิ านพ้นื บ้านในจงั หวดั ปราจนี เรอ่ื งเลา่ สัน้ ๆ เรือ่ งเลา่ ส้ัน ๆ ในท้องถนิ่ ปราจนี บุรี บท
เพลง บทรอ้ ยกรอง บทเรยี นในกลมุ่ สาระอืน่ ขา่ วและเหตกุ ารณใ์ นชวี ิตประจำวัน เหตุการณป์ ระจำวันใน
ท้องถิ่น ในอำเภอประจนั ตคาม จงั หวดั ปราจีนบุรี และจากเรื่องทีอ่ า่ นโดยระบุเหตุผลประกอบเพ่ือนำไปใช้
ในชีวติ ประจำวัน เลอื กอา่ นหนังสอื ตามความสนใจและท่ีกำหนดอยา่ งสมำ่ เสมอ นำเสนอเรอ่ื งทีอ่ า่ น อ่าน
ข้อเขียนเชิงอธิบาย ปฏิบัติตามคำส่ังและข้อแนะนำต่างๆ ในชีวิตประจำวัน ประกาศ ป้ายโฆษณา และคำ
ขวัญ อ่านข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ มีมารยาทในการอ่านโดยการไม่อ่านเสียงดัง ไม่เล่น
ขณะอ่าน ไมท่ ำลายหนังสอื ไม่แยง่ อ่านหรือชะโงกหน้า ไมอ่ า่ นขณะผ้อู ื่นกำลงั อา่ นอยู่
คัดลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทดั ตามรูปแบบการเขียนตวั อักษรไทย เขียนบรรยายเกี่ยวกับ
ลักษณะของ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ในอำเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี เขียนบันทึกประจำวัน
การเขียนบันทึกประจำวัน เขียนจดหมายลาครู เขียนจดหมายลาครู เขียนเรื่องตามจินตนาการจากคำ
ภาพ และหัวข้อท่ีกำหนด มารยาทในการเขียน เขียนให้อ่านง่าย สะอาด ไม่ขีดฆ่า ไม่ขีดเขียนในที่
สาธารณะ ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบุคคล ไม่เขียนล้อเลียนผู้อื่นหรือทำให้ผู้อื่น
เสียหาย เล่ารายละเอียด จับใจความสำคัญ พูดแสดงความคิดเห็นความรู้สึก ตั้งคำถามและตอบคำถาม
จากเร่อื งที่ฟังและดูทั้งท่ีเป็นความรู้ ความบนั เทิง สารคดีสำหรบั เด็ก สารคดสี ำหรับเด็กในท้องถ่ินจังหวัด
ปราจีนบุรี นิทาน นิทานพื้นบ้านในจังหวัดปราจนี บุรี การ์ตูน เรื่องขบขัน ข่าว เหตุการณ์ระจำวันใน
ท้องถิ่นในอำเภอประจันตคาม เพลง เพลงพ้ืนบ้านในจังหวัดปราจีนบรุ ี จากเรือ่ งท่ีฟังและดู พดู ส่ือสารได้
ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ พูดแนะนำตนเอง แนะนำสถานที่ในโรงเรียนและในชุมชน ท่ีโรงเรียนตั้งอยู่
แนะนำและเชิญชวนเกี่ยวกบั การปฏิบัตติ นในด้านการรักษาความสะอาดของรา่ งกาย
การเลา่ ประสบการณใ์ นชีวติ ประจำวัน พูดขอร้อง พูดทกั ทาย กลา่ วขอบคุณและขอโทษ
พดู ปฏเิ สธ และการพดู ชักถาม มีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู
เขียนสะกดคำและบอกความหมาของคำ สะกดคำ แจกลูก และการอ่านเป็นคำ มาตรา
ตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา ผันอักษรกลาง อักษรสูง และอักษรต่ำ คำควบกล้ำ
อักษรนำ คำที่ประวิสรรชนีย์และคำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ คำที่มี ฤ ฤๅ คำที่ใช้ บัน บรร คำที่ใช้ รร คำที่มี
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ตะเคียนทอง(ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)
๒๐
ตัวการันต์ ความหมายของคำ ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค ชนิดของ คำนาม คำสรรพนาม
คำกริยา ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ การใช้พจนานุกรม ประโยคบอกเล่า ประโยคปฏิเสธ
ประโยคคำถาม ประโยคขอร้อง ประโยคคำสั่ง แต่งคำคล้องจอง คำขวัญ เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาถน่ิ ในจังหวัดปราจนี บุรี และภาษาถิ่นไทยอีสานได้เหมาะสมกบั กาลเทศะ
ระบุข้อคิด แสดงความคิดเห็น ที่ได้จากการอ่าน นิทานหรือเรื่องในท้องถิ่นจังหวัด
ปราจนี บรุ ี เรอ่ื งสัน้ งา่ ย ๆ ปรศิ นาคำทาย บทร้อยกรอง เพลงพื้นบ้าน เพลงพ้นื บา้ นในจังหวัดปราจีนบุรี
เพลงกล่อมเด็ก เพลงกล่อมเด็กในจังหวัดปราจีนบุรี วรรณกรรมและวรรณคดีในบทเรียนและตามความ
สนใจ เพื่อปลกู ฝงั ความช่นื ชมวัฒนธรรมและนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
โดยใช้ทักษะกระบวนการปฏิบัติในการอ่าน การฟัง การดู การพูด การเขียน
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการทางภาษา การปฏิบัติจริง การศึกษาค้นคว้า การใช้
เทคโนโลยี การใช้แหล่งเรียนรู้ และการใช้ภาษาไทยเพื่อให้เกิดความรู้ความคิด วิเคราะห์ การตัดสินใจ
แก้ปญั หาในการดำเนนิ ชีวติ อย่างมวี ิจารณญาณและสรา้ งสรรค์ สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริงไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
เพ่อื ใหเ้ กิดความรเู้ ก่ียวกับการอ่าน กระบวนการเขียนในรูปแบบต่าง ๆ การฟัง การดู และการพูด หลัก
ภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษาและวรรณคดีวรรณกรรมไทย
เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย
ซือ่ สตั ย์สจุ รติ ใฝ่ร้ใู ฝ่เรียน มุ่งมั่นในการทำงาน อย่อู ยา่ งพอเพียง มีจิตสาธารณะ สามารถนำความรู้ไปใช้
ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
มาตรฐานตัวชี้วัด
ท๑.๑ ป.๓/๑ ป. ๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๖ ป.๓/๗ ป.๓/๘ ป.๓/๙
ท๒.๑ ป.๓/๑ ป. ๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๖
ท๓.๑ ป.๓/๑ ป. ๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๖
ท๔.๑ ป.๓/๑ ป. ๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๖
ท๕.๑ ป.๓/๑ ป. ๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๑ ตัว ชี้วัด
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ตะเคียนทอง(ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)
๒๑
คำอธิบายรายวิชากลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
รหสั วชิ า ท๑๔๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทยชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔
เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง
ศึกษาการออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง บอกความหมายของบทร้อยแก้วและ
บทร้อยกรองที่ มี คำที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้น คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ คำที่มีอักษรนำ คำประสม
อักษรย่อและเครื่องหมาย วรรคตอน ประโยคที่มีสำนวนเป็นคำพังเพย สุภาษิต ปริศนาคำทาย และ
เครื่องหมายวรรคตอน การอ่านบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ อ่านเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กำหนด ตั้ง
คำถามและตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น คาดคะเนเหตุการณ์โดยระบุเหตุผล
ประกอบ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องสั้น ๆ เรื่องเล่าจากประสบการณ์ นิทานชาดก บทความ
บทความเรื่องราวของท้องถิ่นในจังหวัดปราจีนบุรี บทโฆษณา งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ ข่าวและ
เหตกุ ารณป์ ระจำวนั สารคดแี ละบันเทิงคดี เพ่อื นำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั เลือกอา่ นหนังสือท่ีมีคุณค่าตาม
ความสนใจอย่างสม่ำเสมอ อ่านหนังสือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย หนังสือที่กำหนด และแสดง
ความคิดเห็นเกย่ี วกับเรอื่ งท่อี ่าน มีมารยาทในการอ่าน
คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย
เขียนสื่อสารคำขวัญ คำขวัญประจำโรงเรียน ประจำอำเภอประจันตคาม ประจำจังหวัดปราจีนบุรี
คำแนะนำ โดยใช้คำไดถ้ กู ต้อง ชดั เจน และเหมาะสม เขยี นแผนภาพโครงเรอื่ งและแผนภาพความคิดเพื่อ
ใช้พัฒนางานเขียน เขียนย่อความจากเร่ืองสั้น ๆ นิทาน ความเรียงประเภทต่าง ๆ ประกาศ จดหมาย
คำสอน เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบดิ ามารดา เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า จาก
เร่ืองราวในท้องถ่นิ จังหวดั ปราจีนบุรี เขยี นเรอื่ งตามจนิ ตนาการ มมี ารยาทในการเขียน เก่ียวกับเรื่องท่ีฟัง
และดู
จำแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น พูดสรุปความ พูดแสดงความรู้ความคิดเห็น และ
ความรูส้ กึ ต้ังคำถามและตอบคำถามเชงิ เหตุผลจากเรอื่ งเลา่ บทความส้ัน ๆ ขา่ วและเหตุการณป์ ระจำวัน
และเรื่องเล่าในท้องถิ่น บทความจากเรื่องในท้องถิ่น ข่าวและเหตุการณ์ในท้องถ่ินจังหวัดปราจีนบุรี
โฆษณา สอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์ เรอื่ งราวจากบทเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้
อื่น รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู และการสนทนา พูดลำดับขั้นตอนการ
ปฏิบตั งิ าน การพดู ลำดับเหตกุ ารณ์ มีมารยาทในการฟงั การดู และการพูด
สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทต่าง ๆ คำในแม่ ก กา มาตราตัวสะกด
การผนั อกั ษร คำเป็นคำตาย คำพอ้ ง ระบุชนิดและหนา้ ที่ของคำใน คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำ
วิเศษณ์ ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ แต่งประโยคได้ถูกต้องตามหลักภาษา ประโยคสามัญ
ส่วน ประกอบของประโยค ประโยค ๒ ส่วน ประโยค ๓ ส่วน แต่งบทร้อยกรองและคำขวัญ กลอนสี่ คำ
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ตะเคยี นทอง(ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)
๒๒
ขวัญ และคำขวญั ประจำโรงเรียน ประจำอำเภอประจันตคาม ประจำจังหวดั ปราจีนบรุ ี บอกความหมาย
ของสำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถ่ินภาษาถิ่นในจังหวัด
ปราจนี บุรี และภาษาถ่นิ ไทยอสี านได้
ระบุข้อคิด อธิบายข้อคิดจากการอ่านนิทานพื้นบ้าน เพลงพื้นบ้าน และนิทานพื้นบ้าน
เพลงพนื้ บา้ นในจังหวดั ปราจีนบุรี นทิ านคตธิ รรม วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรยี นและตามความสนใจ
ร้องเพลง ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด บทร้อยกรองตามความสนใจ และบทอาขยานประจำ
โรงเรยี นเพื่อนำไปใชใ้ นชวี ิตจริง
โดยใช้ทักษะกระบวนการปฏิบัติในการอ่าน การฟัง การดู การพูด การเขียน
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการทางภาษา การปฏิบัติจริง การศึกษาค้นคว้า การใช้
เทคโนโลยี การใช้แหล่งเรียนรู้ และการใช้ภาษาไทยเพื่อให้เกิดความรู้ความคิด วิเคราะห์ การตัดสินใจ
แกป้ ญั หาในการดำเนินชีวติ อยา่ งมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์ สามารถนำไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
เพือ่ ให้เกิดความรเู้ กี่ยวกบั การอ่าน กระบวนการเขียนในรูปแบบต่าง ๆ การฟงั การดู และการพูด หลัก
ภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษาและวรรณคดวี รรณกรรมไทย
เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย
ซือ่ สัตยส์ ุจรติ ใฝ่รูใ้ ฝ่เรียน มงุ่ ม่นั ในการทำงาน อยู่อยา่ งพอเพียง มีจติ สาธารณะ สามารถนำความรู้ไปใช้
ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม
มาตรฐานตัวช้ีวัด
ท๑.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ป.๔/๖ ป.๔/๗ ป.๔/๘
ท๒.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ป.๔/๖ ป.๔/๗ ป.๔/๘
ท๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ป.๔/๖
ท๔.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ป.๔/๖ ป.๔/๗
ท๕.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔
รวม ๓๓ ตวั ช้ีวัด
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ตะเคยี นทอง(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕)
๒๓
คำอธิบายรายวชิ ากล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
รหัสวชิ า ท๑๕๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทยชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕
เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง
ศึกษาการอ่านออกเสียง การบอกความหมายของบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง คำที่มี
พยญั ชนะควบกล้ำ คำทม่ี ีอักษรนำ คำท่ีมตี วั การันต์ อักษรยอ่ และเคร่ืองหมายวรรคตอน ข้อความที่เป็น
การบรรยายและพรรณนา ข้อความที่มีความหมายโดยนัย การอ่านบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ แยก
ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็น จับใจความจากการอ่าน วรรณคดีใน
บทเรียน บทความ และบทความจากเรื่องในท้องถิ่นจังหวัดปราจีนบุรี บทโฆษณา งานเขียนประเภท
โน้มน้าวใจ ข่าวและเหตุการณ์ประจำวันเพื่อนำไปใช้ อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อแนะนำและ
ปฏิบัติตาม การใช้พจนานุกรม การใช้วัสดุอุปกรณ์ การอ่านฉลากยา คู่มือและเอกสารของโรงเรียนท่ี
เกี่ยวขอ้ งกบั นกั เรยี น ข่าวสารทางราชการ เลือกอา่ นหนังสือท่ีมีคุณคา่ ตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและ
แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับหนังสือทนี่ ักเรยี นสนใจและเหมาะสมกับวัย หนังสือท่ีกำหนด มมี ารยาทในการ
อา่ น
คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย เขียน
สอ่ื สารคำขวญั และคำขวัญประจำโรงเรยี น ประจำอำเภอประจนั ตคาม ประจำจงั หวัดปราจีนบรุ ี คำอวย
พร คำแนะนำและคำอธิบายแสดงข้ันตอนโดยใช้คำได้ถกู ต้อง ชัดเจน และเหมาะสม เขียนแผนภาพโครง
เรื่องและแผนภาพความคิดเพ่ือใช้พฒั นางานเขียน เขยี นยอ่ ความจากสื่อต่าง ๆ นิทาน ความเรียงประเภท
ต่าง ๆ ประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์ จดหมาย คำสอน โอวาท คำปราศรัย เขียนจดหมายถึง
ผู้ปกครองและญาติ เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา เขียนแสดงความรู้สึกและ
ความคิดเห็นเกี่ยวกับอาชีพในท้องถ่ินจังหวัดปราจีนบุรี กรอกแบบรายการต่าง ๆ ใบฝากเงินและใบถอน
เงนิ ธนาณตั ิ แบบฝากสง่ พัสดุไปรษณียภณั ฑ์ เขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการ มมี ารยาทในการเขียน
พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึก ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล
วิเคราะห์ ความน่าเชื่อถือ จับใจความจากเรื่องท่ีฟังและดู จากสื่อต่าง ๆ เรื่องเล่า บทความ และเรื่องเลา่
บทความ ในท้องถิ่นจังหวัดปราจีนบุรี ข่าวและเหตุการณ์ประจำวัน โฆษณา สื่อสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การ
วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูในชีวิตประจำวัน พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า
จากการฟัง การดู และการสนทนา พดู ลำดับข้ันตอนการปฏิบัติงาน พดู ลำดบั เหตกุ ารณ์ มีมารยาทในการฟัง
การดู และการพดู
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ตะเคยี นทอง(ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)
๒๔
ระบชุ นิดและหนา้ ทีข่ องคำใน คำบพุ บท คำสนั ธาน คำอุทาน ประโยคและส่วนประกอบ
ของประโยค เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถ่ินในจังหวัดปราจีนบุรี และภาษาถิ่นไทยอีสาน
คำราชาศัพท์ คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ แต่งบทร้อยกรองกาพย์ยานี ๑๑ ใช้สำนวนที่เป็นคำพังเพย
และสภุ าษติ ไดถ้ กู ตอ้ ง
สรปุ เรื่อง ระบุความร้แู ละขอ้ คดิ อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมจากการอ่าน
นิทานพื้นบ้าน นิทานคติธรรม เพลงพื้นบ้าน วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและตามความสนใจ
ทอ่ งจำบทอาขยานตามท่ีกำหนด บทร้อยกรองทม่ี ีคุณคา่ ตามความสนใจ และนิทานพน้ื บ้าน เพลงพนื้ บ้าน
ในจังหวัดปราจีนบุรี บทอาขยานประจำโรงเรียน สามารถนำไปใช้ในชวี ติ จรงิ
โดยใช้ทักษะกระบวนการปฏิบัติในกระบวนการอ่าน การฟัง การดู การพูด การเขียน
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการทางภาษา การปฏิบัติจริง การศึกษาค้นคว้า การใช้
เทคโนโลยี การใช้แหล่งเรียนรู้ และการใช้ภาษาไทยเพื่อให้เกิดความรู้ความคิด วิเคราะห์ การตัดสินใจ
แกป้ ญั หาในการดำเนินชีวิตอย่างมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ สามารถนำไปใชใ้ นชวี ิตจริงได้อยา่ งเหมาะสม
เพื่อให้เกิดความรเู้ กี่ยวกบั การอ่าน กระบวนการเขยี นในรูปแบบต่าง ๆ การฟัง การดู และการพูด หลัก
ภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษาและวรรณคดีวรรณกรรมไทย
เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย
ซอื่ สตั ย์สุจริต ใฝร่ ูใ้ ฝเ่ รียน มุง่ ม่นั ในการทำงาน อยอู่ ยา่ งพอเพียง มีจติ สาธารณะ สามารถนำความรู้ไปใช้
ใหเ้ กดิ ประโยชน์ในชีวติ ประจำวันไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
มาตรฐานตวั ชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ ป.๕/๖ ป.๕/๗ ป.๕/๘
ท ๒.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ ป.๕/๖ ป.๕/๗ ป.๕/๘ ป.๕/๙
ท ๓.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕
ท ๔.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ ป.๕/๖ ป.๕/๗
ท ๕.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตัวชวี้ ัด
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั ตะเคียนทอง(ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๕)
๒๕
คำอธิบายรายวชิ ากลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
รหัสวิชา ท๑๖๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทยชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๖
เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง
ศึกษาการอ่านออกเสียง อธิบายความหมาย บทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง คำควบกลำ้
อกั ษรนำ ตัวการนั ต์ คำท่มี าจากภาษาต่างประเทศ อักษรย่อและเคร่ืองหมายวรรคตอน วนั เดอื น ปแี บบ
ไทย ข้อความที่เป็นโวหารต่าง ๆ สำนวนเปรียบเทยี บ การอ่านบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะไดถ้ ูกตอ้ ง
จับใจความ แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น อธิบายการนำความรู้และความคิดจากการอ่านอย่าง
หลากหลาย เรอ่ื งสนั้ ๆ นทิ านและเพลงพ้ืนบา้ น บทความ นทิ านและเพลงพ้นื บ้าน บทความในท้องถ่ิน
จังหวดั ปราจนี บรุ ี พระบรมราโชวาท สารคดี เรือ่ งส้ัน งานเขียนประเภทโน้มน้าว บทโฆษณา ขา่ ว และ
เหตุการณ์สำคัญ การอ่านเร็ว ไปตัดสินใจแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำส่ัง
ข้อแนะนำ และปฏิบัติตาม การใช้พจนานุกรม การปฏิบัติตนในการอยู่ร่วมกันในสังคม ข้อตกลงในการ
อยู่ร่วมกันในโรงเรียน และการใช้สถานที่สาธารณะในชุมชนและท้องถิ่นในอำเภอประจันตคาม จังหวัด
ปราจีนบุรี อ่านข้อมูลจากแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ อ่านหนังสือตามความสนใจ และอธิบาย
คุณคา่ ทไี่ ด้รบั มีมารยาทในการอา่ น
คดั ลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทัดและครึง่ บรรทดั ตามรปู แบบการเขยี นตวั อักษรไทย
เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน และเหมาะสม คำขวัญ และคำขวัญประจำโรงเรียน ประจำ
อำเภอประจันตคาม ประจำจังหวัดปราจีนบุรี คำอวยพร ประกาศ เขียนแผนภาพโครงเรื่องและ
แผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน จากสื่อต่าง ๆ
นทิ านความเรยี งประเภทต่าง ๆ ประกาศ แจง้ ความ แถลงการณ์ จดหมาย คำสอน โอวาท คำปราศรัย
สุนทรพจน์ รายงาน ระเบียบ คำสั่ง เขียนจดหมายส่วนตัว จดหมายขอโทษ จดหมายแสดงความ
ขอบคุณ จดหมายแสดงความเหน็ ใจ จดหมายแสดงความยินดี กรอกแบบรายการ แบบคำร้องต่าง ๆ
ใบสมัครศกึ ษาต่อ แบบฝากส่งพัสดุและไปรษณยี ภณั ฑ์ เขียนเรื่องตามจินตนาการและสรา้ งสรรค์
มีมารยาทในการเขียน
พดู แสดงความรู้ ความเขา้ ใจจุดประสงค์ ต้ังคำถามและตอบคำถามเชิงเหตผุ ล
จากเร่อื งที่ฟงั และดู จากส่ือตา่ ง ๆ ส่อื ส่งิ พิมพ์ สอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์ วเิ คราะหค์ วามนา่ เชอ่ื ถอื จากการฟัง
และดสู ื่อโฆษณาอย่างมเี หตผุ ล พดู รายงานเรอ่ื งหรือประเดน็ ทีศ่ ึกษาค้นคว้าจากการฟงั การดู และการ
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั ตะเคยี นทอง(ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)
๒๖
สนทนา การรายงาน การพูดลำดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน การพูดลำดับเหตุการณ์ พูดโน้มน้าวอย่างมี
เหตุผล และน่าเชื่อถือ การพูดโน้มน้าวในสถานการณ์ต่าง ๆ การเลือกตั้งกรรมการนักเรียน การรณรงค์
ดา้ นตา่ ง ๆ การโต้วาที มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพูด
วิเคราะห์ชนดิ และหนา้ ท่ขี องคำในประโยค ชนิดของคำนาม คำสรรพนาม คำกรยิ า คำ
วิเศษณ์ คำบุพบท คำเชื่อม คำอุทาน ใช้คำราชาศัพท์ ระดับภาษา การใช้ภาษาถิ่นไทยอีสานท่ี
เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล รวบรวมและบอกความหมายของคำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
ระบุลักษณะของประโยค กลุ่มคำหรือวลี ประโยคสามัญ ประโยครวม ประโยคซ้อน แต่งบทร้อยกรอง
กลอนสภุ าพวิเคราะห์และเปรียบเทยี บสำนวนทเี่ ปน็ คำพงั เพย และสภุ าษติ
แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพ้ืนบ้านท้องถิ่นตนเอง
และนิทานพื้นบ้านของท้องถิ่นอื่น อธิบายคุณค่าของวรรณคดี และวรรณกรรมท่ีอ่านและนำไปประยุกตใ์ ช้
ในชีวิตจริง นิทานพื้นบ้านท้องถิ่นปราจีนบุรี และท้องถิ่นอื่น นิทานคติธรรม เพลงพื้นบ้านในจังหวัด
ปราจนี บุรี เพลงพื้นบ้านอื่น วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรยี นและตามความสนใจ ทอ่ งจำบทอาขยาน
ตามที่กำหนด และบทรอ้ ยกรองทมี่ คี ุณคา่ ตามความสนใจ
โดยใช้ทักษะกระบวนการปฏิบัติในกระบวนการอ่าน การฟัง การดู การพูด การเขียน
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการทางภาษา การปฏิบัติจริง การศึกษาค้นคว้า การใช้
เทคโนโลยี การใช้แหล่งเรียนรู้ และการใช้ภาษาไทยเพื่อให้เกิดความรู้ความคิด วิเคราะห์ การตัดสินใจ
แกป้ ัญหาในการดำเนินชวี ิตอยา่ งมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์ สามารถนำไปใช้ในชวี ติ จรงิ ได้อย่างเหมาะสม
เพ่อื ให้เกิดความร้เู กยี่ วกบั การอ่าน กระบวนการเขยี นในรูปแบบตา่ ง ๆ การฟงั การดู และ
การพดู หลกั ภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษาและวรรณคดวี รรณกรรมไทย
เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย
ซื่อสตั ยส์ ุจริต ใฝร่ ใู้ ฝเ่ รยี น มงุ่ มน่ั ในการทำงาน อยู่อย่างพอเพียง มจี ติ สาธารณะ สามารถนำความรู้ไปใช้
ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นชวี ิตประจำวนั ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
มาตรฐานตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔ ป.๖/๕ ป.๖/๖ ป.๖/๗ ป.๖/๘ ป.๖/๙
ท ๒.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔ ป.๖/๕ ป.๖/๖ ป.๖/๗ ป.๖/๘ ป.๖/๙
ท ๓.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔ ป.๖/๕ ป.๖/๖
ท ๔.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔ ป.๖/๕ ป.๖/๖
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ตะเคยี นทอง(ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๕)
๒๗
ท ๕.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔
รวม ๕ มาตรฐาน ๓๔ ตัวชว้ี ดั
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ตะเคียนทอง(ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)
๒๘
รายวิชาเพ่ิมเติม คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเติม
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๑ ท๑๑๒๐๑ ภาษาไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง
ศึกษาการอ่านออกเสียง อธิบายความหมายของคำและข้อความท่ีอ่านคำ มีมารยาทใน
การอ่านเขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ เขียนสื่อสารด้วยประโยคง่ายๆ มีมารยาทในการเขียน
พูดส่อื สารได้ตามวตั ถุประสงค์ มมี ารยาทในการฟงั การดู การพดู ตอ่ คำคล้องจองง่ายๆ
มาตรฐานตัวช้ีวัด
๑. ท๑.๑ ป๑/๑ ป๑/๒ ป๑/๘
๒. ท๒.๑ ป๑/๒ ป๑/๓
๓. ท๓.๑ ป๑/๔ ป๑/๕
๔. ท๔.๑ ป๑/๒ ป๑/๔
รวมทั้งหมด ๔ มาตรฐาน ๙ ตวั ชี้วดั
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ตะเคยี นทอง(ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)
รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ๒๙
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๒
คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ท๑๒๒๐๑ ภาษาไทย
กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง
ศึกษาการอ่านออกเสียง อธิบายความหมายของคำและข้อความที่อ่านคำ มีมารยาท
ในการอ่านเขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ เขียนสื่อสารด้วยประโยคง่าย ๆ มีมารยาทในการ
เขียน พดู สื่อสารไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์ มีมารยาทในการฟัง การดู การพูด บอกลักษณะคำคลอ้ งจองง่ายๆ
มาตรฐานตัวช้ีวดั
๑. ท๑.๑ ป๒/๑ ป๒/๒ ป๒/๘
๒. ท๒.๑ ป๒/๒ ป๒/๓
๓. ท๓.๑ ป๒/๔ ป๒/๕
๔. ท๔.๑ ป๒/๒ ป๒/๔
รวมทั้งหมด ๔ มาตรฐาน ๙ ตัวช้วี ัด
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั ตะเคยี นทอง(ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)
๓๐
รายวิชาเพ่มิ เตมิ คำอธิบายรายวชิ าเพ่ิมเติม
ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๓ ท๑๓๒๐๑ ภาษาไทย
กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง
ศึกษาการอ่านออกเสียง อธิบายความหมายของคำและข้อความที่อ่านคำ มีมารยาทใน
การอ่านเขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ เขียนสื่อสารด้วยประโยคง่ายๆ มีมารยาทในการเขียน
พดู ส่อื สารไดต้ ามวตั ถุประสงค์ มมี ารยาทในการฟงั การดู การพูด แตง่ คำคล้องจองและคำขวญั
มาตรฐานตัวช้ีวัด
ท๑.๑ ป๓/๑ ป๓/๒ ป๓/๘
ท๒.๑ ป๓/๒ ป๓/๓
ท๓.๑ ป๓/๔ ป๓/๕
ท๔.๑ ป๓/๒ ป๓/๔
รวมท้ังหมด ๔ มาตรฐาน ๙ ตัวช้ีวดั
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ตะเคยี นทอง(ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๕)
คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ๓๑
ท๑๔๒๐๑ ภาษาไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
รายวิชาเพม่ิ เติม จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๔
ศึกษาการอ่านอ่านออกเสียง อธิบายความหมายของคำ เขียนสะกดคำ ความหมายของ
คำ เขียนสื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน เหมาะสม ใช้คำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล พูด
รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศกึ ษาค้นควา้ จากการฟัง ดู พูด เขียนย่อความเรื่องจากการอ่าน สรุปความรู้
และข้อคิดที่ได้จากการอ่านเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เขียนเรื่องตามจนิ ตนาการ ใช้พจนานุกรมคน้ หา
ความหมายของคำ
มาตรฐานตัวชี้วัด
ท๑.๑ ป๔/๒ ป๔/๓ ป๔/๙
ท๒.๑ ป๔/๒ ป๔/๕ ป๔/๘ ป๔/๙
ท๓.๑ ป๔/๔ ป๔/๖
ท๔.๑ ป๔/๑
รวมท้งั หมด ๔ มาตรฐาน ๑๐ ตวั ช้ีวดั
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ตะเคยี นทอง(ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)
๓๒
คำอธิบายรายวิชาเพิม่ เติม
ท๑๕๒๐๑ ภาษาไทย
รายวชิ าเพ่มิ เตมิ กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๕ จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง
ศึกษาการอ่านออกเสียง อธิบายความหมายของคำ เขียนสะกดคำ ความหมายของคำ
เขียนสือ่ สารโดยใชค้ ำได้ถูกต้อง ชัดเจน เหมาะสม ใช้คำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล พูดรายงาน
เรอ่ื งหรอื ประเด็นที่ศึกษาคน้ คว้าจากการฟงั ดู พดู เขยี นยอ่ ความเรอ่ื งจากการอ่าน สรปุ ความรูแ้ ละข้อคิด
ที่ไดจ้ ากการอ่านเพื่อนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน เขียนเรอ่ื งตามจินตนาการ ใชพ้ จนานกุ รมค้นหาความหมาย
ของคำ
มาตรฐานตวั ชี้วดั
ท๑.๑ ป๕/๒ ป๕/๓ ป๕/๙
ท๒.๑ ป๕/๒ ป๕/๕ ป๕/๘ ป๕/๙
ท๓.๑ ป๕/๔ ป๕/๖
ท๔.๑ ป๕/๓
รวมท้ังหมด ๔ มาตรฐาน ๑๐ ตวั ชี้วดั
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ตะเคียนทอง(ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)
รายวิชาเพิ่มเติม ๓๓
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๖
คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเติม
ท๑๖๒๐๑ ภาษาไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง
ศึกษาการอ่านออกเสียง อธิบายความหมายของคำ เขียนสะกดคำ ความหมายของคำ
เขียนส่ือสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจน เหมาะสม ใชค้ ำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล พูดรายงาน
เรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง ดู พูดและการสนทนา เขียนย่อความเรื่องจากการอ่าน
ขอ้ คิดทไ่ี ดจ้ ากการอ่าน เขยี นเรอ่ื งตามจนิ ตนาการและสรา้ งสรรค์ เขยี นย่อความจากเร่ืองที่อ่าน รวบรวม
และบอกความหมายของคำภาษาต่างประเทศและบอกความหมายที่ใช้ในภาษาไทย
มาตรฐานตัวช้ีวัด
ท๑.๑ ป๖/๒ ป๖/๓ ป๖/๙
ท๒.๑ ป๖/๒ ป๖/๕ ป๖/๘ ป๖/๙
ท๓.๑ ป๖/๔ ป๖/๖
ท๔.๑ ป๖/๓
รวมท้ังหมด ๔ มาตรฐาน ๑๐ ตวั ช้ีวัด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ตะเคยี นทอง(ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๕)
๓๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนวดั ตะเคยี นทอง(ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๕)
๓๕
รายวชิ าพน้ื ฐานและเพิม่ เติม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
รายวชิ าพน้ื ฐาน จำนวน ๒๐๐ ชว่ั โมง
ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จำนวน ๒๐๐ ชวั่ โมง
ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ จำนวน ๒๐๐ ชวั่ โมง
ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จำนวน ๑๖๐ ช่ัวโมง
ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จำนวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ จำนวน ๑๖๐ ชวั่ โมง
ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ตะเคยี นทอง(ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๕)
๓๖
คำอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
รหสั วิชา ค๑๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้
คณติ ศาสตรช์ ้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๑
เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง
ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกแก้ปัญหา จำนวนนับ ๑-๑๐๐ และ ๐ บอกและแสดง
จำนวนสิ่งต่างๆตามจำนวนที่กำหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับที่หลัก
ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และเขียนแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐
และ ๐ โดยใช้เครื่องหมาย = , ≠ , > , < การเรียงลำดับตั้งแต่ ๓ ถึง ๕ จำนวน และหาค่าของตัวไม่
ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการบวก การลบของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ความยาวและ
น้ำหนักสร้างโจทย์ปัญหาพร้อมทั้งแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญั หาการบวก การลบของจำนวนนับไม่เกิน
๑๐๐ และ ๐ ระบุจำนวนที่หายไปในแบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละ ๑ ทีละ ๑๐ รูปที่หายไป
ในแบบรูปซ้ำของรูปเรขาคณิตและรูปอื่นๆที่สมาชิกในแต่ละชุดที่ซ้ำมี ๒ รูป วัดและเปรียบเทียบความยาว
เป็นเซนติเมตร เป็นเมตร น้ำหนักเป็นกิโลกรัม เป็นขีด และใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน จำแนกรูป
สามเหลี่ยม รูปสี่เหล่ียม วงกลม วงรี ทรงสี่เหล่ียมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอกและกรวย ใช้ข้อมูลจาก
แผนภมู ริ ปู ภาพในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เมื่อกำหนดรปู ๑ รปู แทน ๑ หน่วย
มาตรฐานตวั ชี้วดั
ค ๑.๑ ป. ๑/๑ ป. ๑/๒ ป. ๑/๓ ป. ๑/๔ ป. ๑/๕
ค.๑.๒ ป. ๑/๑
ค ๒.๑ ป. ๑/๑ ป. ๑/๒
ค ๒.๒ ป. ๑/๑
ค ๓.๑ ป. ๑/๑
รวม ๓ มาตรฐาน ๑๐ ตัวชวี้ ัด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ตะเคยี นทอง(ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕)
๓๗
คำอธบิ ายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์
รหัสวิชา ค๑๒๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้
คณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๒
เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง
บอกจำนวนของสิ่งตา่ ง ๆ แสดงสง่ิ ตา่ ง ๆ ตามจำนวนท่ีกำหนด อา่ นและเขียนตวั เลขฮนิ ดู
อารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ เปรียบเทยี บจำนวนนบั ไมเ่ กนิ ๑,๐๐๐
และ ๐ โดยใช้เครอ่ื งหมาย = ≠ > < เรียงลำดับจำนวนนบั ไมเ่ กนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ ต้งั แต่ ๓ ถึง ๕ จำนวนจาก
สถานการณต์ ่าง ๆ หาคา่ ของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลักษณ์แสดงการบวกและประโยคสัญลกั ษณ์แสดง
การลบของจำนวนนับไม่เกนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบคา่ ในประโยคสัญลักษณแ์ สดงการคณู ของ
จำนวน ๑ หลกั กบั จำนวนไม่เกนิ ๒ หลกั หาคา่ ของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยคสัญลกั ษณ์แสดงการหารที่ตัวตั้ง
ไมเ่ กิน ๒ หลกั ตวั หาร ๑ หลกั โดยท่ีผลหารมี ๑ หลัก ทงั้ หารลงตวั และหารไมล่ งตวั หาผลลัพธ์การบวก ลบ
คณู หารระคน ของจำนวนนับไม่เกนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา ๒ ขน้ั ตอน ของ
จำนวนนบั ไม่เกนิ ๑,๐๐๐ และ ๐
แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับเวลาที่มีหนว่ ยเดี่ยวและเป็นหนว่ ยเดียวกัน วดั และ
เปรียบเทยี บความยาวเป็นเมตรและเซนตเิ มตร พร้อมท้ังแสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ
เกย่ี วกบั ความยาวท่ีมหี น่วยเป็นเมตรและเซนติเมตร วดั และเปรียบเทียบนำ้ หนักเป็นกิโลกรัมและกรมั
กโิ ลกรัมและขีด พร้อมท้ังแสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ญั หาการบวก การลบเก่ยี วกับน้ำหนกั ท่มี ีหน่วยเป็น
กิโลกรัมและกรมั กโิ ลกรัมและขีด วดั และเปรียบเทียบปริมาตรและความจุเปน็ ลิตร จำแนกและบอกลักษณะ
ของรูปหลายเหล่ยี มและวงกลม ใชข้ ้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของโจทย์ปญั หาเมื่อกำหนด
รูป ๑ รปู แทน ๒ หนว่ ย ๕ หนว่ ย หรือ ๑๐ หน่วย
มาตรฐานและตัวช้ีวดั
ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖
ค ๒.๒ ป.๒/๑
ค ๓.๑ ป.๒/๑
รวม ๔ มาตรฐาน ๑๖ ตวั ชี้วดั
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ตะเคียนทอง(ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)
๓๘
คำอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
รหสั วชิ า ค๑๓๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตรช์ ัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๓
เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง
อ่านและเขยี น ตัวเลขฮนิ ดอู ารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนงั สือ แสดงจานวนนับไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐
และ ๐ เปรยี บเทยี บและเรยี งลาดบั จานวนนบั ไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณต์ า่ ง ๆ บอก อา่ น
และเขยี นเศษส่วนท่ีแสดงปริมาณส่ิงตา่ ง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามเศษสว่ นท่ีกาหนด เปรียบเทยี บเศษส่วน
ท่ีตวั เศษเท่ากัน โดยทต่ี วั เศษนอ้ ยกวา่ หรอื เท่ากับตัวสว่ น หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์
แสดงการบวกและการลบของจานวนนบั ไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค
สัญลักษณ์แสดงการคูณของจานวน ๑ หลักกับจานวนไม่เกิน ๔ หลัก และจานวน ๒ หลกั กับจานวน ๒ หลัก
หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลกั ษณ์แสดงการหารท่ตี ัวตง้ั ไม่เกิน ๔ หลกั ตัวหาร ๑ หลกั และหา
ผลลพั ธ์การบวก ลบ คณู หารระคน และแสดงวธิ ีการหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา ๒ ขนั้ ตอน ของจานวนนับ
ไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาผลบวกและแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปญั หาการบวกของเศษสว่ นทีม่ ตี วั
สว่ นเท่ากนั และผลบวกไมเ่ กนิ ๑ และหาผลลบพร้อมทั้งแสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หาการลบของเสษ
สว่ นทม่ี ตี ัวสว่ นเท่ากัน
ระบจุ านวนทห่ี ายไปในแบบรูปของจานวนทเ่ี พิ่มขนึ้ หรอื ลดลงทีละเท่า ๆ กนั
แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาเกี่ยวกบั เงนิ เวลา และระยะเวลา เลอื กใชเ้ ครื่องมือความยาวท่ีเหมาะสม
วดั และบอกความยาวของสิง่ ต่าง ๆ เป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนตเิ มตร คาดคะเนความยาว
เปน็ เมตรและเป็นเซนติเมตร เปรียบเทยี บความยาวระหวา่ งเซนตเิ มตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร
กิโลเมตรกับเมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปญั หาเกย่ี วกบั ความยาวที่มหี นว่ ย
เป็นเซนตเิ มตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร เลือกใชเ้ คร่ืองช่งั ท่ีเหมาะสม วดั และ
บอกน้าหนักเป็นกิโลกรมั และขดี กโิ ลกรมั และกรัม คาดคะเนน้าหนักเปน็ กโิ ลกรัมและเป็นขีด เปรยี บเทยี บ
น้าหนกั และแสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับน้าหนักทมี่ หี น่วยเปน็ กิโลกรัมกบั กรัม เมตรกิ ตันกับ
กิโลกรมั จากสถานการณต์ ่าง ๆ เลือกใช้เครื่องตวงท่ีเหมาะสม วัดและเปรยี บเทยี บปรมิ าตรความจุเป็นลติ ร
และมิลลลิ ิตร คาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร และแสดงวิธหี าคาตอบของโจทยป์ ัญหาเกี่ยวกับ
ปริมาตรและความจุทม่ี หี นว่ ยเปน็ ลติ รและมิลลเิ มตร
ระบุรูปเรขาคณติ สองมิติทม่ี ีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร
เขยี นแผนภูมริ ปู ภาพ และใช้ข้อมูลจากแผนภมู ิรูปภาพในการหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา เขยี นตารางทาง
เดยี วจากขอ้ มลู ทีเ่ ป็นจานวนนบั และใชข้ อ้ มลู จากตารางทางเดยี วในการหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ตะเคียนทอง(ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๕)
๓๙
มาตรฐานและตวั ช้ีวดั
ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙,
ป.๓/๑๐, ป.๓/๑๑
ค ๑.๒ ป.๓/๑
ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/
๑๐, ป.๓/๑๑, ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓
ค ๒.๒ ป.๓/๑
ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
รวม ๕ มาตรฐาน ๒๘ ตัวช้วี ัด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ตะเคียนทอง(ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)
๔๐
คำอธบิ ายรายวชิ ากลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์
รหสั วิชา ค ๑๔๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้
คณติ ศาสตรช์ ้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔
เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง
ศึกษา ฝึกทักษะการอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดง
จำนวนนับทีม่ ากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ พรอ้ มทั้งเปรยี บเทยี บและเรยี งลำดบั จำนวนนับทมี่ ากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ จาก
สถานการณ์ต่าง ๆ อ่าน และเขียนเศษส่วน จำนวนคละแสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตาม
เศษส่วน จำนวนคละที่กำหนด เปรียบเทียบ เรียงลำดับเศษส่วน และจำนวนคละที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็น
พหุคูณของอีกตัวหนึ่ง อ่านและเขียนทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง แสดงปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ตามทศนิยมท่ี
กำหนด เปรียบเทียบและเรียงลำดับทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง และประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ
การคูณ การหาร จากสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสมเหตุสมผล หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์
แสดงการบวก การลบของจำนวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงการคูณของจำนวนหลายหลัก ๒
จำนวน ทม่ี ีผลคณู ไม่เกนิ ๖ หลักและแสดงการหารท่ีตัวตั้งไม่เกนิ ๖ หลัก ตัวหารไมเ่ กนิ ๒ หลัก หาผลลัพธ์
การบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับ และ ๐ สร้างโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอน ของจำนวนนับและ ๐
พร้อมทั้งหาคำตอบ หาคำตอบและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบของเศษส่วนและ
จำนวนคละท่ตี วั ส่วนตวั หน่ึงเปน็ พหุคณู ของอีกตัวหน่ึง หาผลบวก ผลลบของทศนยิ มไมเ่ กนิ ๓ ตำแหน่งและ
แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา การบวก การลบ ๒ ข้ันตอนของทศนิยมไมเ่ กิน ๓ ตำแหนง่
แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา วัดและสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์
แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปส่ีเหลี่ยมมุมฉาก จำแนกชนิด
ของมุม บอกชื่อมุมส่วนประกอบของมุมและเขียนสัญลักษณ์แสดงมุม สร้างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากเมื่อกำหนด
ความยาวของด้าน และใชข้ อ้ มูลจากแผนภูมิแท่ง ตารางสองทางในการหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา
มาตรฐานและตัวชว้ี ัด
ค ๑.๑ ป. ๔/๑ ป. ๔/๒ ป. ๔/๓ ป. ๔/๔ ป. ๔/๕ ป. ๔/๖ ป. ๔/๗ ป. ๔/๘ ป. ๔/๙ ป. ๔/๑๐
ป. ๔/๑๑ ป. ๔/๑๒ ป. ๔/๑๓ ป. ๔/๑๔ ป. ๔/๑๕ ป. ๔/๑๖
ค ๒.๑ ป. ๔/๑ ป. ๔/๒ ป. ๔/๓
ค ๒.๒ ป. ๔/๑ ป. ๔/๒
ค.๓.๑ ป. ๔/๑
รวม ๔ มาตรฐาน ๒๒ ตัวช้ีวัด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ตะเคยี นทอง(ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)
๔๑
คำอธบิ ายรายวชิ ากลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์
รหสั วชิ า ค๑๕๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณติ ศาสตร์ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๕
เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง
เขียนเศษสว่ นท่ีมตี วั ส่วนเปน็ ตวั ประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรอื ๑,๐๐๐ ในรปู ทศนิยม
แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บญั ญัติไตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบ ผลคณู ผลหารของเศษสว่ น
และจำนวนคละ แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคณู การหารเศษสว่ น ๒ ขัน้ ตอน
หาผลคณู ของทศนิยมทีผ่ ลคูณเปน็ ทศนิยมไมเ่ กนิ ๓ ตำแหนง่ หาผลหารทีต่ วั ตง้ั เป็นจำนวนนับหรอื ทศนยิ ม
ไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง และตวั หารเปน็ จำนวนนับ ผลหารเป็นทศนยิ มไม่เกิน ๓ ตำแหนง่ แสดงวิธหี าคำตอบของ
โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคณู การหารทศนิยม ๒ ขน้ั ตอน และแสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปญั หา
รอ้ ยละไม่เกนิ ๒ ข้นั ตอน
แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหาเกยี่ วกับความยาว นำ้ หนกั ท่ีมกี ารเปลยี่ นหน่วยและเขยี นใน
รูปทศนยิ ม แสดงวิธหี าคำตอบของโจทยป์ ัญหาเกย่ี วกบั ปริมาตรของทรงสี่เหล่ียมมุมฉากและความจขุ อง
ภาชนะทรงส่ีเหลีย่ มมุมฉาก แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหาเก่ยี วกบั ความยาวรอบรปู ของรปู ส่เี หลย่ี ม
และพืน้ ทข่ี องรูปสี่เหลย่ี มดา้ นขนานและรปู สเี่ หลยี่ มขนมเปียกปนู สรา้ งเสน้ ตรงหรอื ส่วนของเส้นตรงให้
ขนานกบั เส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงทกี่ ำหนดให้ จำแนกรปู สเี่ หลีย่ มโดยพิจารณาจากสมบัติของรปู สร้าง
รูปสเ่ี หล่ียมชนดิ ต่าง ๆ เมื่อกำหนดความยาวของด้านและขนาดของมุมหรอื เม่ือกำหนดความยาวของเส้น
ทแยงมุม และบอกลักษณะของปรซิ ึม
ใชข้ ้อมูลจากกราฟเส้นในการหาคำตอบของโจทย์ปญั หา และเขยี นแผนภูมแิ ทง่ จากขอ้ มลู ที่เป็น
จำนวนนบั
มาตรฐานและตัวช้ีวดั
ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘,
ป.๕/๙
ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
รวม ๔ มาตรฐาน ๑๙ ตวั ช้ีวดั
คำอธิบายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ตะเคียนทอง(ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)
๔๒
รหัสวิชา ค๑๖๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้
คณิตศาสตร์ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๖
เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง
เปรียบเทยี บ เรยี งลำดบั เศษส่วนและจำนวนคละ จากสถานการณต์ า่ ง ๆ เขยี นอัตราส่วนแสดงการ
เปรียบเทยี บปรมิ าณ ๒ ปรมิ าณจากข้อความหรือสถานการณ์ โดยท่ีปรมิ าณแต่ละปริมาณเป็นจำนวนนบั หา
อตั ราสว่ นทีเ่ ท่ากบั อัตราสว่ นทก่ี ำหนดให้ หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจำนวนนบั ไม่เกนิ ๓ จำนวน แสดงวิธี
หาคำตอบของโจทยป์ ญั หาโดยใชค้ วามรู้เก่ียวกบั ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลพั ธข์ องการบวก ลบ คูณ หาร
ระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญั หาเศษส่วนและจำนวนคละ ๒-๓
ขั้นตอน หาผลหารของทศนิยมทตี่ วั หารและผลหารเปน็ ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหนง่ แสดงวิธหี าคำตอบของ
โจทยป์ ญั หาการบวก การลบ การคณู การหารทศนยิ ม ๓ ขนั้ ตอน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา
อตั ราสว่ น แสดงวิธหี าคำตอบของโจทยป์ ัญหารอ้ ยละ ๒-๓ ขน้ั ตอน และแสดงวิธีคิดและหาคำตอบของ
ปญั หาเก่ียวกับแบบรูป
แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาเกีย่ วกบั ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วยทรง
สเี่ หล่ียมมุมฉาก แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหาเกย่ี วกับความยาวรอบรปู และพ้ืนท่ีของรูปหลายเหลยี่ ม
และความยาวรอบรูปและพน้ื ทีข่ องวงกลม จำแนกรปู สามเหลีย่ มโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สรา้ งรปู
สามเหลยี่ มเมอ่ื กำหนดความยาวของด้านและขนาดของมุม บอกลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติชนดิ ตา่ ง ๆ
ระบรุ ปู เรขาคณิตสามมติ ิท่ปี ระกอบจากรปู คลี่ และระบรุ ูปคลี่ของรปู เรขาคณิตสามมิติ
ใชข้ อ้ มูลจากแผนภูมริ ปู วงกลมในการหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา
มาตรฐานและตวั ชีว้ ัด
ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘,
ป.๖/๙, ป.๖/๑๐, ป.๖/๑๑
ค ๑.๒ ป.๖/๑
ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ค ๓.๑ ป.๖/๑
รวม ๕ มาตรฐาน ๒๐ ตวั ชี้วดั
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ตะเคยี นทอง(ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)
๔๓
กล่มุ สาระการเรยี นรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ตะเคยี นทอง(ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕)
๔๔
รายวชิ าพน้ื ฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ าพน้ื ฐาน
ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน ๑๐๐ ชัว่ โมง
ว ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน ๑๐๐ ชัว่ โมง
ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน ๑๐๐ ช่วั โมง
ว ๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน ๑๒๐ ชั่วโมง
ว ๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จำนวน ๑๒๐ ชวั่ โมง
ว ๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน ๑๒๐ ชั่วโมง
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ตะเคียนทอง(ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)
๔๕
คำอธบิ ายรายวิชากลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รหสั วิชา ว๑๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยชี ้นั
ประถมศึกษาปีท่ี ๑
เวลา ๑๐๐ ชว่ั โมง
ระบุชื่อพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่บริเวณต่าง ๆ ที่ได้จากการสำรวจบอกสภาพแวดล้อมที่
เหมาะสมในบริเวณที่พืชและสัตว์อาศัยอยู่ในบริเวณที่สำรวจ บรรยายลักษณะและบอกหน้าที่ของส่วนต่าง
ๆ ของร่างกายมนุษย์ สัตว์ และพืช รวมทั้งบรรยายการทำหน้าที่ร่วมกันของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์
ในการทำกิจกรรมต่าง ๆจากข้อมูลที่รวบรวมได้ ตระหนักถึงความสำคัญของส่วนต่างๆ ของร่างกายตนเอง
และการดูแลสว่ นตา่ ง ๆ อยา่ งถูกต้องและปลอดภัย อธิบายสมบตั ทิ ส่ี ังเกตได้ของวัสดุทที่ ำจากวสั ดุชนิดเดียว
หรือหลายชนิดประกอบกันโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุชนิดของวัสดุและจัดกลุ่มวัสดุตามสมบัติที่
สังเกตได้ บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุดาวที่
ปรากฏบนทอ้ งฟ้าในเวลากลางวัน และกลางคืนจากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ อธิบายสาเหตทุ ีม่ องไม่เห็นดาวส่วน
ใหญ่ในเวลากลางวันจากหลักฐานเชิงประจักษ์ อธิบายลักษณะภายนอกของหิน จากลักษณะเฉพาะตัวที่
สังเกตได้
ศึกษาและฝึกทักษะในการแก้ปัญหาโดยใช้ขั้นตอนการแก้ปัญหาอย่างง่าย การแสดง
ขนั้ ตอนการแก้ปญั หาโดยการเขียน บอกเล่า วาดภาพ หรือใชส้ ญั ลกั ษณ์ การเขียนโปรแกรมอยา่ งง่ายโดยใช้
ซอฟต์แวร์หรือสื่อ การใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยีเบื้องต้น การใช้งานซอฟต์แวร์เบื้องต้นการสร้าง จัดเก็ บ
และเรียกใช้ไฟล์ตามวัตถุประสงค์ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยข้อปฏิบัติในการใช้งานและ
การดแู ลรกั ษาอปุ กรณ์ การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสม
มาตรฐานและตัวชวี้ ัด
ว๑.๑ ป.๑/๑, ป๑/๒
ว๑.๒ ป.๑/๑ , ป๑/๒
ว๒.๑ ป.๑/๑, ป๑/๒
ว๒.๓ ป.๑/๑
ว๓.๑ ป.๑/๑ ,ป๑/๒
ว๓.๒ ป.๑/๑
ว๘.๒ ป.๑/๑, ป๑/๒, ป๑/๓, ป.๑/๔, ป๑/๕
รวม ๗ มาตรฐาน ๑๕ ตัวชี้วั
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ตะเคียนทอง(ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕)
๔๖
คำอธิบายรายวิชากลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รหัสวชิ า ว๑๒๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๒
เวลา ๑๐๐ ชัว่ โมง
ระบุว่าพืชตอ้ งการแสงและน้า เพ่อื การเจริญเตบิ โต โดยใช้ข้อมลู จากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์
ตระหนกั ถึงความจาเปน็ ทีพ่ ชื ตอ้ งไดร้ ับน้าและแสงเพ่ือการเจริญเติบโต โดยดูแลพืชให้ได้รบั สิ่งดงั กล่าวอย่าง
เหมาะสม สร้างแบบจาลองที่บรรยายวัฏจักรชีวติ ของพืชดอก เปรียบเทียบลักษณะของส่ิงมีชีวติ และ
สง่ิ ไมม่ ีชีวิต จากข้อมูลทรี่ วบรวมได้ เปรยี บเทยี บสมบตั ิการดดู ซับน้าของวัสดโุ ดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์
และระบุการนาสมบตั ิการดูดซบั นา้ ของวัสดไุ ปประยุกตใ์ ช้ในการทาวัตถใุ นชวี ติ ประจาวนั อธิบายสมบตั ทิ ่ี
สงั เกตได้ของวัสดุท่เี กดิ จากการนาวัสดุมาผสมกันโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ เปรียบเทียบสมบตั ิทสี่ งั เกตได้
ของวสั ดุ เพ่ือนามาทาเปน็ วตั ถุในการใชง้ านตามวตั ถุประสงค์ และอธบิ ายการนาวัสดุท่ีใช้แล้วกลบั มาใช้ใหม่
โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ตระหนกั ถึงประโยชน์ของการนาวัสดุที่ใช้แล้วกลบั มาใชใ้ หม่ โดยการนาวัสดทุ ่ี
ใชแ้ ล้วกลบั มาใชใ้ หม่
บรรยายแนวการเคล่ือนท่ขี องแสงจากแหลง่ กาเนดิ แสง และอธบิ ายการมองเหน็ วัตถจุ ากหลกั ฐานเชงิ
ประจกั ษ์ ตระหนกั ในคณุ คา่ ของความรู้ของการมองเหน็ โดยเสนอแนะแนวทางการป้องกันอนั ตราย จากการ
มองวัตถุทอ่ี ยู่ในบรเิ วณทีม่ ีแสงสว่างไม่เหมาะสม ระบุสว่ นประกอบของดนิ และจาแนกชนดิ ของดนิ โดยใช้
ลักษณะเน้ือดนิ และการจับตวั เป็นเกณฑ์ อธบิ ายการใชป้ ระโยชนจ์ ากดิน จากขอ้ มูล ท่รี วบรวมได้ แสดงลา
ดบั ขน้ั ตอนการทางานหรือการแก้ปญั หาอยา่ งงา่ ยโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ
เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใชซ้ อฟต์แวรห์ รือส่อื และตรวจหาข้อผดิ พลาดของโปรแกรม
ใช้เทคโนโลยีในการสรา้ ง จัดหมวดหมู่ คน้ หา จดั เกบ็ เรยี กใชข้ อ้ มลู ตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างปลอดภยั ปฏิบตั ติ ามข้อตกลงในการใช้คอมพวิ เตอร์ร่วมกันดูแลรักษาอปุ กรณ์เบ้ืองต้น ใช้
งานอย่างเหมาะสม
มาตรฐานและตวั ชี้วัด
ว ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒,ป.๒/๓
ว ๑.๓ ป.๒/๑
ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒,ป.๒/๓, ป.๒/๔
ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒,ป.๒/๓, ป.๒/๔
รวม ๖ มาตรฐาน ๑๖ ตวั ช้วี ดั
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ตะเคียนทอง(ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)
๔๗
คำอธบิ ายรายวชิ ากล่มุ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รหสั วิชา ว๑๓๑๐๑ กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยชี ้ัน
ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓
เวลา ๑๐๐ ชั่วโมง
บรรยายส่งิ ท่ีจาเปน็ ต่อการดารงชีวิต และการเจรญิ เตบิ โตของมนุษย์และสตั ว์ โดยใชข้ อ้ มูล
ทีร่ วบรวมได้ ตระหนักถงึ ประโยชนข์ องอาหาร นา้ และอากาศ โดยการดูแลตนเองและสตั วใ์ ห้ได้รบั สิ่ง
เหลา่ น้อี ยา่ งเหมาะสม สรา้ งแบบจาลองทบี่ รรยายวฏั จกั รชีวิตของสัตวแ์ ละเปรยี บเทียบวัฏจักรชีวติ ของสัตว์
บางชนดิ ตระหนักถงึ คุณค่าของชีวติ สตั ว์ โดยไม่ทาใหว้ ัฏจักรชวี ติ ของสตั ว์เปลีย่ นแปลง อธบิ ายว่าวตั ถุ
ประกอบขึน้ จากชิน้ ส่วนย่อยๆ ซง่ึ สามารถแยกออกจากกันได้และประกอบกนั เปน็ วตั ถชุ ิ้นใหมไ่ ด้ โดยใช้
หลกั ฐานเชิงประจักษ์ อธิบายการเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อทาให้ร้อนข้ึนหรือทาใหเ้ ยน็ ลง โดยใช้หลกั ฐาน
เชิงประจักษ์
ระบผุ ลของแรงท่ีมีต่อการเปล่ียนแปลง การเคลื่อนทีข่ องวตั ถจุ ากหลักฐานเชิงประจักษ์ เปรียบเทียบและ
ยกตัวอย่างแรงสัมผัสและแรงไม่สัมผสั ทมี่ ผี ลต่อการเคล่ือนที่ ของวตั ถุ โดยใช้หลกั ฐาน
เชิงประจักษ์ จำแนกวัตถโุ ดยใช้การดงึ ดดู กบั แม่เหล็ก เป็นเกณฑจ์ ากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ ระบุขวั้ แม่เหล็ก
และพยากรณผ์ ลท่ีเกิดขึ้นระหว่างขว้ั แมเ่ หลก็ เมื่อนามาเขา้ ใกล้กันจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ ยกตัวอย่างการ
เปล่ยี นพลังงานหนึ่งไปเปน็ อีกพลังงานหน่งึ จากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ บรรยายการทางานของเครอื่ งกาเนิด
ไฟฟา้ และระบแุ หลง่ พลังงานในการผลิตไฟฟ้าจากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ ตระหนกั ในประโยชน์และโทษของ
ไฟฟ้า โดยนาเสนอวธิ กี ารใชไ้ ฟฟ้าอยา่ งประหยัดและปลอดภัย
อธิบายแบบรปู เสน้ ทางการข้ึนและตกของดวงอาทติ ย์โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ อธิบายสาเหตกุ ารเกิด
ปรากฏการณ์การข้ึนและตกของดวงอาทิตย์การเกิดกลางวันกลางคนื และการกาหนดทิศ โดยใช้แบบจาลอง
ตระหนักถึงความสำคัญของดวงอาทติ ย์ โดยบรรยายประโยชน์ของดวงอาทติ ยต์ ่อสง่ิ มีชวี ิต ระบุ
สว่ นประกอบของอากาศ บรรยายความสำคญั ของอากาศ และผลกระทบของมลพิษทางอากาศต่อสง่ิ มีชีวิต
จากข้อมลู ท่รี วบรวมได้ ตระหนกั ถงึ ความสำคัญของอากาศ โดยนาเสนอแนวทางการปฏิบัติตนในการลดการ
เกิดมลพิษทางอากาศ อธิบายการเกดิ ลมจากหลักฐานเชิงประจักษ์ บรรยายประโยชนแ์ ละโทษของลมจาก
ขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้ แสดงอัลกอรทิ มึ ในการทางานหรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใชภ้ าพ สัญลักษณ์หรือ
ข้อความ
เขียนโปรแกรมอยา่ งง่าย โดยใช้ซอฟตแ์ วร์หรือส่ือ และตรวจหาข้อผดิ พลาดของโปรแกรม ใชอ้ ินเทอรเ์ น็ต
ค้นหาความรู้ รวบรวม ประมวลผล และนาเสนอข้อมลู โดยใช้ซอฟต์แวรต์ ามวตั ถปุ ระสงค์ ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอยา่ งปลอดภยั ปฏบิ ัติตามข้อตกลงในการใชอ้ ินเทอรเ์ นต็
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นวดั ตะเคยี นทอง(ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)
๔๘
มาตรฐานและตวั ช้ีวดั
ว ๑.๒ ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๓,ป.๓/๔
ว ๒.๑ ป.๓/๑,ป.๓/๒
ว ๒.๒ ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๓,ป.๓/๔
ว ๒.๓ ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๓
ว ๓.๑ ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๓
ว ๓.๒ ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๓,ป.๓/๔
ว ๔.๒ ป.๓/๑,ป.๓/๒,ป.๓/๓,ป.๓/๔,ป.๓/๕
รวม ๗ มาตรฐาน ๒๕ ตัวชี้วัด
หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนวดั ตะเคียนทอง(ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)
๔๙
คำอธิบายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รหสั วิชา ว๑๔๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชนั้
ประถมศึกษาปที ี่ ๔
เวลา ๑๒๐ ชว่ั โมง
บรรยายหน้าทข่ี องราก ลาตน้ ใบ และดอกของพืชดอก โดยใช้ขอ้ มลู ทร่ี วบรวมได้ จำแนก
ส่งิ มีชีวิตโดยใช้ความเหมอื น และความแตกต่างของลกั ษณะของสงิ่ มีชวี ิตออกเปน็ กลุ่มพืช กลุ่มสตั ว์ และ
กลมุ่ ที่ไม่ใช่พชื และสตั ว์ จำแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มดี อกโดยใช้การมีดอกเปน็ เกณฑ์ โดยใชข้ ้อมูล
ทรี่ วบรวมได้ จำแนกสตั ว์ออกเป็นสัตวม์ กี ระดูกสันหลงั และสัตว์ไมม่ ีกระดกู สนั หลัง โดยใช้การมกี ระดูกสนั
หลงั เป็นเกณฑ์ โดยใชข้ ้อมลู ที่รวบรวมได้ บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลมุ่
ปลา กลุม่ สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก กลุ่มสัตว์เล้อื ยคลาน กลมุ่ นก และกล่มุ สตั วเ์ ลย้ี งลกู ดว้ ยน้านม และ
ยกตัวอยา่ งสิง่ มีชวี ิตในแตล่ ะกลุ่ม เปรยี บเทยี บสมบตั ิทางกายภาพดา้ นความแขง็ สภาพยืดหยนุ่ การนา
ความรอ้ น และการนาไฟฟ้าของวัสดุโดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจักษจ์ ากการทดลองและระบุการนาสมบตั เิ ร่ือง
ความแขง็ สภาพยืดหย่นุ การนาความรอ้ น และการนาไฟฟ้าของวัสดไุ ปใช้ในชวี ิตประจาวันผ่าน
กระบวนการออกแบบช้ินงาน แลกเปลีย่ นความคิดกับผ้อู ่ืนโดยการอภิปรายเกยี่ วกบั สมบัตทิ างกายภาพของ
วสั ดอุ ย่างมเี หตุผลจากการทดลอง เปรียบเทียบสมบัติของสสารทั้ง ๓ สถานะ จากข้อมลู ทไ่ี ดจ้ ากการสังเกต
มวล การตอ้ งการท่ีอยู่ รูปรา่ งและปริมาตรของสสาร ใช้เคร่ืองมือเพ่ือวัดมวล และปริมาตรของสสารท้ัง ๓
สถานะ ระบผุ ลของแรงโนม้ ถ่วงทมี่ ีต่อวัตถุจากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ ใช้เครือ่ งชงั่ สปรงิ ในการวัดน้าหนักของ
วัตถุ บรรยายมวลของวตั ถุที่มีผลตอ่ การเปลีย่ นแปลงการเคล่อื นท่ีของวัตถจุ ากหลักฐานเชิงประจักษ์ จำแนก
วตั ถเุ ปน็ ตวั กลางโปรง่ ใส ตวั กลางโปรง่ แสง และวัตถทุ ึบแสง จากลกั ษณะ การมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ผ่านวตั ถุ
นั้นเป็นเกณฑโ์ ดยใชห้ ลักฐานเชิงประจกั ษ์ อธบิ ายแบบรูปเส้นทางการข้ึนและตกของดวงจันทร์ โดยใช้
หลกั ฐานเชิงประจกั ษส์ ร้างแบบจาลองที่อธบิ ายแบบรปู การเปลย่ี นแปลงรปู รา่ งปรากฏของดวงจนั ทร์ และ
พยากรณร์ ูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ สร้างแบบจาลองแสดงองคป์ ระกอบของระบบสุริยะ และอธบิ าย
เปรียบเทยี บคาบการโคจรของดาวเคราะห์ต่าง ๆ จากแบบจาลอง
ศกึ ษาและฝกึ ทกั ษะเกี่ยวกับการใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการแกป้ ัญหา การอธบิ ายการทางานหรือการคาด
การผลลัพธ์จากปัญหาอย่างง่าย การออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างงา่ ย การตรวจหาขอ้ ผิดพลาด ใน
โปรแกรม การค้นหาข้อมลู ในอนิ เทอร์เน็ตและการใชค้ าค้น การประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูล การ
รวบรวมขอ้ มูล การประมวลผลอยา่ งงา่ ย การวิเคราะห์ผลและสร้างทางเลือกการนาเสนอขอ้ มูล กาส่อื สาร
อยา่ งมีมารยาทและรกู้ าลเทศะ การปกป้องขอ้ มูลส่วนตวั
มาตรฐานและตวั ช้ีวดั
ว ๑.๒ ป.๔/๑
ว ๑.๓ ป.๔/๑ ,ป.๔/๒ ,ป.๔/๓ ,ป.๔/๔
ว ๒.๑ ป.๔/๑ ,ป.๔/๒,ป.๔/๓ ,ป.๔/๔
ว ๒.๒ ป.๔/๑ ,ป.๔/๒,ป.๔/๓
ว ๒.๓ ป.๔/๑
ว ๓.๑ ป.๔/๑ ,ป.๔/๒,ป.๔/๓
ว. ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕ รวม ๗ มาจรฐาน ๒๑ ตัวช้ีวัด
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั ตะเคียนทอง(ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕)