86 2.2.4.2 ฉาบ ฉาบเป็นเครื่องประกอบจังหวะที่ท าด้วยโลหะ การจับฉาบมีลักษณะคือ มือขวา ใช้แม่มือและนิ้วชี้จับเชือกตรงส่วนที่ติดกับฉาบ มือซ้ายจับเหมือนมือขวาแต่อยู่ในลักษณะก ามือให้ฉาบ วางบนมือซ้าย การตีให้หงายฉาบมือซ้ายขึ้นและคว่ ามือขวาลง ตีประกบกันให้ฉาบเกิดการสั่นสะเทือน และเมื่อมีการกระทบกันของฉาบทั้งสองฝั่งจะเกิดเป็นเสียงเพื่อบรรเลงประกอบกับกลองร ามะนา (หนูดี ขาวศรี, 2564, 2 มิถุนายน, สัมภาษณ์) ภาพที่26 ฉาบ ที่มา: ผู้วิจัย 2.2.5 ด้านสถานที่ในการจัดงานบุญบวชควายหลวง 2.2.5.1 สถานที่ส าหรับการจัดงานบุญบวชควายหลวง จะมีการจัดตามพื้นที่ส าคัญใน ที่ต่าง ๆ สถานที่ทั้งหมดนี้จะมีพิธีการบอกกล่าวก่อนเริ่มประกอบพิธีกรรมเพื่อเป็นการขออนุญาตใน การจัดงานตามความเชื่อของคนในชุมชน ประกอบไปด้วย “ศาลเจ้าพ่อโฮงแดง” ที่บริเวณดอน และศาลเจ้าพ่อโฮงแดงที่ตั้งอยู่ภายในบริเวณวัดบ้านแมดบ้านอดีตควายหลวง ศาลพระภูมิเจ้าปู่พระยา หลวงเถ้าเจ้าโฮงแดง ชาวบ้านแมดนิยมเรียกว่า “ญาพ่อหลวง” หรือ “เจ้าพ่อโฮงแดง” เป็นศูนย์รวม แห่งความเชื่อความศรัทธาว่าเป็นที่สถิตดวงวิญญาณเครือญาติของเจ้าเมืองที่ได้สร้างบ้านแปลงเมือง มีเรื่องเล่าสืบต่อกันมาว่า ในสมัยโบราณได้มีสถานที่เรียกว่า “เซียงขวง” ซึ่งเป็นดินแดนที่มีป่าหนาทึบ และมีความเชื่อว่าเจ้าที่แรง ภาษาท้องถิ่นเรียกว่า “เข็ดขวง” สถานที่นี้เป็นการเลือกสถานที่ตั้งเมืองมา จากเจ้าพ่อโฮงแดงมาประทับกินปลาที่ “บุ่งเซียงขวง” อยู่เป็นประจ าจนเรียก ท่าส านักที่ประทับของ เจ้าพ่อโฮงแดงกับภรรยาว่า “ท่าจ านัก” กับ “ท่าญาแม่” เมื่อด าริสร้างเมืองและที่ประทับถาวร ภาษา ท้องถิ่นเรียกว่า “หอโฮง” ได้เกณฑ์ไพร่พลเพื่อมาตั้งรกรากร่วมกันให้เกิดเป็นหมู่บ้าน ต่อมาเจ้าพ่อโฮง แดงได้เสียชีวิตก่อน ดวงวิญญาณจึงสิงสถิตที่หอโฮงดังกล่าว เดิมหอโฮงนี้มีลักษณะเป็นอาคารเรือนไม้ ซึ่งชาวบ้านที่ศรัทธามีการร่วมกันก่อสร้างเป็นอาคารปูนขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ห่างจากบ้านเฒ่าจ้ าประมาณ 150 เมตร ใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมควายหลวง และเป็นสถานที่เก็บอุปกรณ์ในการประกอบ พิธีกรรมบวชควายหลวงหลายอย่าง เช่น เครื่องแต่งกายควายหลวง เครื่องแต่งกายแม่นางหว่า เครื่อง ศาสตราวุธ เป็นต้น บริเวณด้านข้างศาลจะมีศาลเล็ก จ านวน 4 ศาล คือ ศาลปลัดขวา ศาลปลัดซ้าย ศาลเหล่าเสนาอามาตย์ ศาลแม่ธรณี ตลอดจนรูปปั้น ช้าง ม้า ที่ใช้เป็นพาหนะ และสัตว์บริวาร ปัจจุบันเมื่อมีการท าประกอบพิธีกรรมจะบอกกล่าวทุกครั้ง เพื่อพิธีกรรมผ่านพ้นไปได้ด้วยดี(หนูดี ขาวศรี, 2564, 2 มิถุนายน, สัมภาษณ์)
87 ภาพที่27 ศาลเจ้าพ่อเถ้าเจ้าโฮงแดง ที่มา: ผู้วิจัย 2.2.5.2 สถานที่ส าหรับการประกอบพิธีกรรมบวชควายหลวง ประกอบไปด้วย ศาล เจ้าพ่อโฮงแดงที่บริเวณดอน ศาลเจ้าพ่อโฮงแดงที่ตั้งอยู่ภายในบริเวณวัด บ้านหัวหน้าคณะควายหลวง และที่จุดบั้งไฟเป็นสถานที่เฒ่าจ้ าร่วมกับคณะควายหลวงท าพิธีอัญเชิญเสลี่ยงเจ้าพ่อโฮงแดงไปประทับ ชมการจุดบั้งไฟถวาย และวัดบ้านแมดจะเป็นสถานที่จัดงานประเพณีบุญบั้งไฟ ซึ่งในบริเวณวัด มีศาลเจ้าพ่อโฮงแดงเพื่อใช้ในการประกอบพิธีกรรมควายหลวงในงานบุญบวชควายหลวงของคนใน ชุมชนบ้านแมด (หนูดี ขาวศรี, 2564: 2 มิถุนายน สัมภาษณ์) 2.2.6 รูปแบบการจัดขบวนในงานบุญบวชควายหลวง จากการศึกษาพบว่า การจัดรูปแบบของการจัดขบวนในพิธีกรรมบวชควายหลวงนั้น มีรูปแบบการจัดที่เป็นเอกลักษณ์ จัดรูปแบบแถวประเภทแถวตอนลึก มีลักษณะของรูปแบบขบวนแห่ ซึ่งผู้ปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ ในคณะควายหลวงจะเป็นส่วนหนึ่งในขบวน เริ่มจากการจัดตั้งขบวนแห่ แบ่ง รูปแบบจัดตามต าแหน่งล าดับในขบวนได้ดังนี้ ต าแหน่งที่ 1เป็นสัญลักษณ์แทนควายหลวง ซึ่งเป็นผู้น าคนแรกของขบวนแห่ ต าแหน่งที่ 2เป็นสัญลักษณ์แทนหัวหน้าคณะควายหลวง ซึ่งเป็นผู้คอยดูแลควาย หลวงอย่างใกล้ชิด ต าแหน่งที่ 3เป็นสัญลักษณ์แทนอุปัชฌาย์บวชควายหลวง ซึ่งเป็นผู้คอยดูแลควาย หลวงอย่างใกล้ชิดและหัวหน้าควายหลวงจะก ากับไม่ให้ควายหลวงวิ่งไปมาได้ ต าแหน่งที่ 4 เป็นสัญลักษณ์แทนเสลี่ยงเจ้าพ่อโฮงแดง ซึ่งมีผู้แบกเสลี่ยงทั้งสี่ข้าง คอยดูแลอุปกรณ์บนเสลี่ยง ต าแหน่งที่ 5 เป็นสัญลักษณ์แทนแม่นางหว่า ซึ่งเป็นผู้ร่ายร าหยอกล้อเล่นกันอย่าง สนุกสนาน ลักษณะของการร่ายร าเป็นการร่ายร าแบบที่ผู้ร าได้สร้างสรรค์ขึ้นเองเพื่อประกอบกับ ขบวนแห่ในงานบุญบวชควายหลวง
88 ต าแหน่งที่ 6 เป็นสัญลักษณ์แทนนักดนตรี ซึ่งเป็นผู้ตีกลองร ามะนาและฉาบให้เกิด ความสนุกสนาน ซึ่งรูปแบบการจัดขบวนแห่สามารถวิเคราะห์รูปแบบขบวนได้ตามภาพที่ 28 และ ตารางที่ 5 รายละเอียดดังนี้ (สุนตัน บ ารุงเอื้อ, 2564, 4 มิถุนายน, สัมภาษณ์) ภาพที่28 รูปแบบการจัดขบวนในงานบุญบวชควายหลวง ที่มา: ผู้วิจัย ตารางที่ 5 ต าแหน่งและสัญลักษณ์ของขบวนในงานบุญบวชควายหลวง ต้าแหน่งที่ สัญลักษณ์ อธิบาย 1 เป็นสัญลักษณ์แทนควายหลวง อยู่ในต าแหน่งที่ 1 ของขบวน 2 เป็นสัญลักษณ์แทนหัวหน้าคณะควายหลวง อยู่ในต าแหน่งที่ 2 ของขบวน 3 เป็นสัญลักษณ์แทนอุปัชฌาย์บวชควายหลวง อยู่ในต าแหน่งที่ 3 ของขบวน 4 เป็นสัญลักษณ์แทนเสลี่ยงเจ้าพ่อโฮงแดง อยู่ในต าแหน่งที่ 4 ของขบวน 5 เป็นสัญลักษณ์แทนแม่นางหว่า อยู่ในต าแหน่งที่ 5 ของขบวน 6 เป็นสัญลักษณ์แทนนักดนตรี อยู่ในต าแหน่งที่ 6 ของขบวน ที่มา: ผู้วิจัย จากตารางข้างต้นจะเห็นได้ว่า รูปแบบการจัดขบวนในงานบุญบวชควายหลวงจะมีรูปแบบใน ลักษณะของขบวนแห่ ปรากฏได้ว่าการเคลื่อนขบวนต้องมีความสัมพันธ์กันทั้งคณะควายหลวง และ การเคลื่อนขบวนยังคงต าแหน่งเดิมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งการเคลื่อนขบวนนี้จะมีลักษณะเคลื่อนกันเป็น แถวตอนลึกและเคลื่อนไปตามทางที่ก าหนดไว้ วัดและศาลเจ้าพ่อโฮงแดง 3.รูปแบบกระบวนฟ้อนในงานบุญบวชควายหลวง บ้านแมด อ้าเภอเชียงขวัญ จังหวัดร้อยเอ็ด รูปแบบกระบวนฟ้อนที่ปรากฏในงานบุญบวชควายหลวง ผู้วิจัยได้ท าการวิเคราะห์ จากแหล่งข้อมูลที่ส าคัญ คือ การวิเคราะห์จากการสัมภาษณ์และลงพื้นที่สังเกตพิธีกรรมในงานบุญ บวชควายหลวง ซึ่งการวิเคราะห์ในส่วนนี้ได้มุ่งเน้นถึงประเด็นในกระบวนฟ้อน กล่าวคือ กระบวนฟ้อน
89 ที่ปรากฏในงานบุญบวชควายหลวง พบว่ามี 2 ประการคือ ประการที่ 1 กระบวนฟ้อนที่เกิดขึ้นเป็น กระบวนการฟ้อนที่เกิดจากจิตใต้ส านึกของผู้ที่ปฏิบัติเป็นควายหลวง ประการที่ 2 เป็นกระบวนการที่ เกิดจากการถ่ายทอดจากบรรพบุรุษที่จะเป็นข้อมูลพื้นฐานส าคัญแสดงให้เห็นถึงความเป็นอัตลักษณ์ ของพิธีกรรมบุญบวชควายหลวงนี้ ผู้วิจัยศึกษาและวิเคราะห์จากกรณีของลักษณะทิศทางในการฟ้อน รวมไปถึงการวิเคราะห์กระบวนฟ้อนของควายส ารองและควายตัวจริง มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 3.1 ลักษณะทิศทางในการฟ้อนของควายหลวง การวิเคราะห์ในครั้งนี้ ข้อมูลได้จากการบันทึกภาพเคลื่อนไหวและการสัมภาษณ์ ผู้วิจัยได้ ลงพื้นที่ภาคสนาม อันเป็นแนวทางในการน าไปสู่การวิเคราะห์ทิศทางในการฟ้อนของควายหลวงใน งานบุญบวชควายหลวง จากการศึกษาพบว่า รายละเอียดของทิศทางในการฟ้อนของควายหลวงนั้น สามารถวิเคราะห์ทิศทางตามลักษณะของควายหลวงน้อย คือ มีการก าหนดลักษณะของทิศทางที่ ชัดเจนจ านวน 4 จุด และทิศทางการฟ้อนที่ไม่ได้ก าหนดทิศทางว่าจะไปทางซ้าย ทางขวา ด้านหน้า และด้านหลัง ซึ่งทิศทางที่ไม่ได้ก าหนดนี้จะเกิดขึ้นหลังจากการฟ้อนไปยัง 4 จุดก่อนหน้า ดังตารางที่ 3 และควายหลวงใหญ่คือ การก าหนดลักษณะของทิศทางที่ชัดเจนจ านวน 4 จุด และทิศทางการฟ้อนที่ ไม่ได้ก าหนดทิศทางว่าจะไปทางซ้าย ทางขวา ด้านหน้า และด้านหลัง ซึ่งทิศทางที่ไม่ได้ก าหนดนี้จะ เกิดขึ้นหลังจากการฟ้อนไปยัง 4 จุดก่อนหน้าโดยมีลักษณะและทิศทางการฟ้อนดังปรากฏในตารางที่ 4 ดังนี้ ตารางที่6 ทิศทางในการฟ้อนของควายหลวงน้อย สัญลักษณ์ อธิบายทิศทาง หมายเหตุ ด้านหน้า จุดที่ 1 เริ่มต้นการเซิ้งหาปัจจัย ที่บ้านหัวหน้าควายหลวง โดย เป็นการฟ้อนพร้อมเดินไป ข้างหน้าในจุดที่ 2 ด้านหน้า จุดที่ 2 รับตุลาการที่บ้านของ ตุลาการ โดยเป็นการฟ้อน พร้อมเดินไปข้างหน้าในจุดที่ 3 ด้านหน้า จุดที่ 3 วัดบ้านแมด โดยเป็น การฟ้อนพร้อมเดินไปข้างหน้า ในจุดที่ 4 ด้านหน้า จุดที่ 4 รูปหล่อส าริดอดีตเจ้า อาวาสวัดบ้านแมด เพื่อเป็นการ เคารพต่ออดีตเจ้าอาวาส โดย เป็นการฟ้อนพร้อมเดินไป ข้างหน้าเพื่อออกเซิ้งหาปัจจัย กับชาวบ้านในหมู่บ้านแมดและ หมู่บ้านใกล้เคียง
90 ตารางที่6 ทิศทางในการฟ้อนของควายหลวงน้อย (ต่อ) สัญลักษณ์ อธิบายทิศทาง หมายเหตุ ด้านซ้าย ด้านซ้ายมือของผู้แสดง ด้านขวา ด้านขวามือของผู้แสดง ด้านหลัง ด้านหลังของผู้ชม ที่มา: ผู้วิจัย จากตารางข้างต้นสรุปได้ว่า ทิศทางของการฟ้อนนั้นจะเป็นลักษณะทิศทางที่ครบทั้ง 4 ทิศ โดยเริ่มจากการฟ้อนที่บ้านหัวหน้าคณะควายหลวง ก่อนจะเริ่มไปจุดที่ 2 คือ บ้านตุลาการ จุดที่ 3 วัดบ้านแมด และจุดที่ 4 รูปหล่อส าริดอดีตเจ้าอาวาสวัดบ้านแมด เพื่อเป็นการท าความเคารพต่ออดีต เจ้าอาวาสวัดบ้านแมด เมื่อท าครบในจุดส าคัญทั้ง 4 ด้านเรียบร้อยแล้วจะเป็นการออกเซิ้งหาปัจจัย รอบ ๆ หมู่บ้านแมดและหมู่บ้านใกล้เคียงโดยไม่ได้ก าหนดทิศทาง ซึ่งสามารถเริ่มทางใดทางหนึ่งก่อน แล้วตามด้วยทิศทางที่ชาวบ้านอาศัยอยู่จะเตรียมปัจจัยเพื่อมอบให้กับควายหลวงน้อยต่อไป ในด้าน การเคลื่อนไหวท่าฟ้อนตามสรีระร่างกาย เป็นการฟ้อนเลียนแบบอากัปกิริยาของสัตว์(ควาย) ในภาษา ท่าควายกินหญ้า ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า “ท่าหากินหญ้า” ตารางที่7 ทิศทางในการฟ้อนของควายหลวงใหญ่ สัญลักษณ์ อธิบายทิศทาง หมายเหตุ ด้านหน้า จุดที่ 1 ทางหน้าศาลปู่เถ้าเจ้า โฮงแดง วนไปทางด้านขวาตามเข็ม นาฬิกา เดินวนรอบศาลปู่เถ้าเจ้าโฮงแดง เป็นจ านวน 3 รอบ
91 ตารางที่7 ทิศทางในการฟ้อนของควายหลวงใหญ่ (ต่อ) สัญลักษณ์ อธิบายทิศทาง หมายเหตุ ด้านหน้า จุดที่ 2 ศาลาวัดบ้านแมด วนไปทางด้านขวาตามเข็ม นาฬิกา เดินวนรอบศาลาวัดบ้านแมด เป็นจ านวน 3 รอบ ด้านหน้า จุดที่ 3 กุฏิถาวรประชานุสรณ์ เพื่อไปเคารพรูปหล่อส าริด ของ อดีตเจ้าอาวาสวัดบ้านแมด ด้านหน้า จุดที่ 4 ฟ้อนออกจากวัดและ เริ่มฟ้อนไปรอบ ๆ หมู่บ้าน เมื่อ ฟ้อนรอบหมู่บ้านครบแล้วจะ กลับเข้ามาที่วัดดังเดิม ด้านซ้าย ด้านซ้ายมือของผู้แสดง ด้านขวา ด้านขวามือของผู้แสดง ด้านหลัง ด้านหลังของผู้ชม ที่มา: ผู้วิจัย จากตารางข้างต้นสรุปได้ว่า ทิศทางของการฟ้อนนั้นจะเป็นลักษณะทิศทางที่ครบทั้ง 4 ทิศ โดยเริ่มจากการฟ้อนทางด้านหน้าศาลปู่เถ้าเจ้าโฮงแดงเป็นหลัก ก่อนจะเริ่มไปในทิศทางอื่น ๆ จุดที่ 1 ลักษณะทิศทางคือการฟ้อนวนรอบศาลปู่เถ้าเจ้าโฮงแดง จ านวน 3 รอบ จุดที่ 2 ฟ้อนมาทางด้านศาลา วัดบ้านแมด พร้อมกับการฟ้อนวนศาลาวัด จ านวน 3 รอบ จุดที่ 3 กุฏิถาวรประชานุสรณ์ เพื่อไปเคารพรูปหล่อส าริดของอดีตเจ้าอาวาสวัดบ้านแมด จุดที่ 4 ฟ้อนออกจากวัดและเริ่มฟ้อนไป รอบ ๆ หมู่บ้าน เมื่อฟ้อนรอบหมู่บ้านครบแล้วจะกลับเข้ามาที่วัดอีกครั้งเพื่อการฟ้อนรอบหมู่บ้านนั้น
92 จะไม่ได้ก าหนดทิศทางว่าจะเริ่มจากทิศทางใดก่อน ขึ้นอยู่กับต าแหน่งของชาวบ้านที่รอมอบปัจจัย ให้กับควายหลวงใหญ่ว่าอยู่ทิศทางใด และควายหลวงจะฟ้อนเข้าในหมู่บ้านเพื่อรับปัจจัย 3.2 การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนที่ปรากฎในงานบุญบวชควายหลวง จากการศึกษากระบวนการฟ้อนที่ปรากฏอยู่ในงานบุญบวชควายหลวง พบว่า กระบวน การฟ้อนของควายหลวงแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ ดังนี้ รูปแบบที่ 1 ลักษณะกระบวนการฟ้อน “หากินหญ้า” ของควายหลวงน้อย รูปแบบที่ 2 ลักษณะกระบวนการฟ้อน “หากินหญ้า” ของควายหลวงใหญ่ รายละเอียดของกระบวนฟ้อนสามารถวิเคราะห์ตามสรีระร่างกายในส่วนต่าง ๆ ของผู้ที่ เป็นควายหลวงน้อยและควายหลวงใหญ่ สามารถแบ่งเป็นลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ แขน มือ ล าตัว เข่า และเท้า วิเคราะห์จากส่วนบนจนถึงส่วนล่าง เพื่อให้ครอบคลุมต่อการวิเคราะห์กระบวนท่า สรีระ ร่างกายทั้งหมดนี้เป็นส่วนของอวัยวะที่ส าคัญในการแสดงท่าฟ้อนตามลักษณะของควายหลวงทั้งสอง รูปแบบ กระบวนการฟ้อนของควายหลวงทั้งสองรูปแบบนี้เรียกว่า “หากินหญ้า” สามารถวิเคราะห์ รายละเอียดได้ดังนี้ 3.2.1 ลักษณะกระบวนการฟ้อน “หากินหญ้า” ของควายหลวงน้อยในงาน บุญบวชควายหลวง ลักษณะกระบวนการฟ้อน “หากินหญ้า” ของควายหลวงน้อยนั้น เป็นกระบวนฟ้อนที่มี ลักษณะการเลียนแบบอากัปกิริยาของสัตว์ (ควาย) เช่น การเดิน การวิ่ง การยืน การกินเป็นต้น จากการศึกษาพบว่า กระบวนฟ้อนสามารถวิเคราะห์ได้ว่ากระบวนการเซิ้งหาปัจจัยในวันก่อนวันงาน จริง เปรียบเสมือนกับการหากินหญ้าของสัตว์ ซึ่งได้มีการเปรียบเทียบว่า “ปัจจัยหรือเงิน” ที่ได้รับจาก ชาวบ้าน คือ “หญ้า” ที่ให้ส าหรับควายได้กิน เป็นการวิเคราะห์ตามสรีระร่างกายของคนที่เป็นควาย หลวงน้อย มีการประยุกต์ใช้ท่าให้เข้ากับสรีระของผู้ที่แสดงที่เลียนแบบท่าทางของสัตว์ (ควาย) ซึ่งท า ให้การเลียนแบบข้างต้นมีความสมจริงมากยิ่งขึ้น สถานที่ในการฟ้อน “หากินหญ้า” ส าหรับควาย หลวงน้อยจะเป็นการฟ้อนในพื้นที่หมู่บ้านแมด และหมู่บ้านใกล้เคียง เพื่อรวบรวมปัจจัยในการท าบุญ จะปรากฏกระบวนฟ้อนของควายหลวงน้อยทั้งหมดจ านวน 10 ท่า รายละเอียดดังต่อไปนี้ 3.2.1.1 กระบวนฟ้อนของควายหลวงน้อย ท่าที่ 1กระบวนฟ้อนในลักษณะการดีดเท้าของควายหลวงน้อย ซึ่งกระบวนฟ้อนนี้ คือ การดีดเท้าขึ้นเพื่อเตรียมตัววิ่งหรือเดินไปข้างหน้าของควายหลวงน้อย เปรียบเสมือนการแสดง อิริยาบทของสัตว์ (ควาย) ก่อนการเดินหรือการวิ่ง พร้อมกับการก้มหน้าและเงยหน้าสลับกัน ดังแสดง ในภาพที่ 29 จากการศึกษาพบว่า ลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายที่ท าให้เกิดกระบวนฟ้อนของควาย หลวงน้อยที่ชัดเจน สามารถวิเคราะห์การปฏิบัติท่าลักษณะกระบวนฟ้อนและทิศทางในการฟ้อนตาม สรีระร่างกายในส่วนต่าง ๆ ของผู้ที่เป็นควายหลวงน้อยให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 30 ซึ่งสามารถแบ่งเป็นลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขาและเท้า ตามตารางที่ 8 รายละเอียดดังนี้
93 ภาพที่ 29 ท่าที่ 1 กระบวนฟ้อนลักษณะการดีดเท้าของควายหลวงน้อย ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 30 ท่าที่ 1 การปฏิบัติกระบวนฟ้อนลักษณะการดีดเท้าของควายหลวงน้อย (1) ภาพจังหวะที่ 1 (2) ภาพจังหวะที่ 2 ที่มา: ผู้วิจัย
94 ตารางที่ 8 กระบวนฟ้อนลักษณะการดีดเท้าของควายหลวงน้อย การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนและทิศทางการ แสดงของควายหลวงน้อย ดนตรี ทิศ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนตามสรีระ ร่างกาย ศีรษะ : ก้มหน้าและเงยหน้าสลับกัน ไหล่และล าตัว : โน้มตัวมาข้างหน้าเล็กน้อย หรือก้มตัวลงมาเล็กน้อย มือและแขน : มือซ้ายก ามืออยู่ระดับ หัวไหล่พร้อมกับงอศอก มือขวาก ามืออยู่ ระดับหัวไหล่พร้อมกับงอศอก ขาและเท้า : ก้าวเท้าขวาอยู่ข้างหน้า น้ าหนักตัวอยู่เท้าขวา เท้าซ้ายยกส้นเท้าแล้ว กระทืบเท้าอยู่ข้างหลัง 2. ทิศทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะ ของการเคลื่อนไหวจะเป็นไปตามการยกขา โดยท่าปฏิบัตินี้เป็นการยกขาซ้ายขึ้น การ เอียงของล าตัวและศีรษะจะเอียงหรือโน้มไป ทางขวา 3. ทิศทางการเดิน ทิศทางการเดินของควาย หลวง จะมีลักษณะการเดิน 4 รูปแบบ คือ - การเดินไปข้างหน้า - การเดินไปทางด้านซ้าย - การเดินไปทางด้านขวา - การเดินในลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะการเดินในรูปแบบต่างๆจะขึ้นอยู่กับ ควายหลวงเป็นคนก าหนดทิศทางว่าจะเริ่ม จากการเดินหรือวิ่งไปทิศทางใด จังหวะ ที่มา: ผู้วิจัย ท่าที่ 2 กระบวนฟ้อนลักษณะการวิ่ง กระบวนฟ้อนนี้ คือ เลียนแบบลักษณะ ท่าทางการวิ่งของควายหลวงน้อย อิริยาบทเป็นการเลียนแบบการวิ่งของสัตว์ (ควาย) ส าหรับการ เคลื่อนที่อย่างรวดเร็วเพื่อหาอาหารหรือใช้ชีวิตประจ าวันของสัตว์ (ควาย) ดังแสดงในภาพที่ 31 จาก การศึกษาพบว่า ลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายที่ท าให้เกิดกระบวนฟ้อนในลักษณะลักษณะการวิ่ง สามารถวิเคราะห์การปฏิบัติท่าลักษณะกระบวนฟ้อนและทิศทางในการฟ้อนตามสรีระร่างกาย
95 ในส่วนต่าง ๆ ของผู้ที่เป็นควายหลวงให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 30 สามารถแบ่งเป็น ลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขาและเท้า ตามตารางที่ 9 รายละเอียดดังนี้ ภาพที่ 31 ท่าที่ 2 กระบวนฟ้อนลักษณะการวิ่งของควายหลวงน้อย ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 32 ท่าที่ 2 การปฏิบัติกระบวนฟ้อนลักษณะการวิ่งของควายหลวงน้อย (1) จังหวะที่ 1 (2) จังหวะที่ 2 ที่มา: ผู้วิจัย
96 ตารางที่ 9 กระบวนฟ้อนลักษณะการวิ่งของควายหลวงน้อย การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนและทิศทางการ แสดงของควายหลวงน้อย ดนตรี ทิศ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนตามสรีระ ร่างกาย ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่และล าตัว : ล าตัวตรง มือและแขน : มือซ้ายก ามืออยู่ระดับอก มือขวาก ามืออยู่ระดับสะโพก ขาและเท้า : ก้าวเท้าขวา-ซ้ายวิ่ง สลับกันไปมา 2. ทิศทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะ ของการเคลื่อนไหว คือ เป็นการเคลื่อนไหว ในท่าวิ่ง ซึ่งน้ าหนักในการวิ่งจะลงน้ าหนักใน เท้าทั้งสองข้างสลับกันไปมา 3. ทิศทางการเดิน ทิศทางการเดินของควาย หลวง จะมีลักษณะการเดิน 4 รูปแบบ คือ - การเดินไปข้างหน้า - การเดินไปทางด้านซ้าย - การเดินไปทางด้านขวา - การเดินในลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะการเดินในรูปแบบต่าง ๆ จะขึ้นอยู่ กับควายหลวงเป็นคนก าหนดทิศทางว่าจะ เริ่มจากการเดินหรือวิ่งไปทิศทางใด จังหวะ ที่มา: ผู้วิจัย ท่าที่ 3 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าโบกมือซ้าย การโบกมือของควายหลวงน้อย จะใช้มือซ้ายยกขึ้นเหนือศีรษะพร้อมกับการโบกมือตามจังหวะของดนตรีในส่วนของมือขวานั้นจะมี ลักษณะก ามือขึ้นอยู่ระหว่างอกและโยกตัวไปทางด้านขวา การปฏิบัติท่าโบกมือซ้ายจะเป็นหนึ่งใน ลักษณะของการเลียนแบบการเดินหากินหญ้าของสัตว์ (ควาย) ดังแสดงในภาพที่ 33 จากการศึกษา พบว่า ท่าโบกมือซ้าย สามารถวิเคราะห์การปฏิบัติท่าลักษณะกระบวนฟ้อนและทิศทางในการฟ้อน ตามสรีระร่างกายในส่วนต่าง ๆ ของผู้ที่เป็นควายหลวงให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 34 สามารถแบ่งเป็นลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขาและเท้า ตามตารางที่ 10 รายละเอียด ดังนี้
97 ภาพที่ 33 ท่าที่ 3 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าโบกมือซ้าย ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 34 ท่าที่ 3 การปฏิบัติกระบวนฟ้อนลักษณะท่าโบกมือซ้าย (1) จังหวะที่ 1 (2) จังหวะที่ 2 ที่มา: ผู้วิจัย
98 ตารางที่ 10 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าโบกมือซ้าย การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนและทิศทางการ แสดงของควายหลวงน้อย ดนตรี ทิศ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนตามสรีระ ร่างกาย ศีรษะ : เอียงขวาสลับกับเอียงซ้าย ไหล่และล าตัว : เอียงไปด้านขวาสลับ กับเอียงไปทางด้านซ้าย มือและแขน : มือซ้ายยกมือขึ้นเหนือ ศีรษะพร้อมกับก ามือแล้วปล่อยออกโดยหัน ฝ่ามือออกมาด้านหน้า มือขวาก ามืออยู่ ระหว่างอก ขาและเท้า : ก้าวเท้าขวาไปด้านหน้า เท้าซ้ายยกขึ้นแล้ววางไปด้านหลังพร้อมกับ ยืดยุบไปตามจังหวะ 2. ทิศทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะ ของการเคลื่อนไหวเป็นก ารโยกตัวไป ทางด้านด้านซ้ายตามจังหวะดนตรี 3. ทิศทางการเดิน ทิศทางการเดินของควาย หลวง จะมีลักษณะการเดิน 4 รูปแบบ คือ - การเดินไปข้างหน้า - การเดินไปทางด้านซ้าย - การเดินไปทางด้านขวา - การเดินในลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะการเดินในรูปแบบต่าง ๆ จะขึ้นอยู่ กับควายหลวงเป็นคนก าหนดทิศทางว่าจะ เริ่มจากการเดินหรือวิ่งไปทิศทางใด จังหวะ ที่มา: ผู้วิจัย
99 ท่าที่ 4 กระบวนฟ้อนลักษณะท่าโบกมือขวา การโบกมือขวาของควายหลวงน้อยนั้นจะมี ลักษณะคล้ายกันกับท่าที่ 9 คือ ยกมือขวาขึ้นเหนือศีรษะพร้อมกับการโบกมือตามจังหวะของดนตรี ในส่วนของมือซ้ายก ามือตั้งขึ้นอยู่ระหว่างอก และโยกตัวไปทางด้านซ้าย ดังแสดงในภาพที่ 35 จาก การศึกษาพบว่า ลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายที่ท าให้เกิดกระบวนฟ้อนในลักษณะท่าโบกมือขวา สามารถวิเคราะห์การปฏิบัติท่าลักษณะกระบวนฟ้อนและทิศทางในการฟ้อนตามสรีระร่างกายในส่วน ต่าง ๆ ของผู้ที่เป็นควายหลวงให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 36 สามารถแบ่งเป็น ลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขาและเท้า ตามตารางที่ 11 รายละเอียดดังนี้ ภาพที่ 35 ท่าที่ 4 กระบวนฟ้อนลักษณะท่าโบกมือขวา ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 36 ท่าที่ 4 การปฏิบัติกระบวนฟ้อนลักษณะท่าโบกมือขวา (1) จังหวะที่ 1 (2) จังหวะที่ 2 ที่มา: ผู้วิจัย
100 ตารางที่11 กระบวนฟ้อนลักษณะท่าโบกมือขวา การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนและทิศทางการ แสดงของควายหลวงน้อย ดนตรี ทิศ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนตามสรีระ ร่างกาย ศีรษะ : เอียงซ้าย ไหล่และล าตัว : เอียงไปด้านซ้าย มือและแขน : ยกมือขวาขึ้นเหนือศีรษะ พร้อมกับการโบกมือตามจังหวะ มือซ้ายนั้น จะมีลักษณะตั้งขึ้นอยู่ระหว่างอกพร้อมก ามือ ขาและเท้า : ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า เท้าขวายกขึ้นไปด้านหลังพร้อมกับยืดยุบไป ตามจังหวะ 2. ทิศทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะ ของการเคลื่อนไหวเป็นการโยกตัวไปทางด้าน ด้านซ้ายตามจังหวะดนตรี 3. ทิศทางการเดิน ทิศทางการเดินของควาย หลวง จะมีลักษณะการเดิน 4 รูปแบบ คือ - การเดินไปข้างหน้า - การเดินไปทางด้านซ้าย - การเดินไปทางด้านขวา - การเดินในลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะการเดินในรูปแบบต่าง ๆ จะขึ้นอยู่กับ ควายหลวงเป็นคนก าหนดทิศทางว่าจะเริ่ม จากการเดินหรือวิ่งไปทิศทางใด จังหวะ ที่มา: ผู้วิจัย ท่าที่ 5 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าม้วนมือทั้งสองข้างต่างระดับ คือ การฟ้อน ของควายหลวงน้อย มือซ้ายจะยกขึ้นเหนือศีรษะแขนตึง มือขวาจะยกขึ้นเหนือศีรษะงอแขน ท าให้ แขนและมือทั้งสองข้างอยู่ในลักษณะต่างระดับกัน ส่วนของล าตัวผู้ที่เป็นควายหลวงน้อยจะมีการโยก ตัวตามจังหวะดนตรี เน้นหนักและเอียงตัวไปในทางขวา เป็นส่วนหนึ่งของการเลียนแบบการหากิน หญ้าของสัตว์ (ควาย) ดังแสดงในภาพที่ 37 จากการศึกษาพบว่า ลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกาย ที่ท าให้เกิดกระบวนฟ้อนในลักษณะท่าม้วนมือทั้งสองข้างต่างระดับ สามารถวิเคราะห์การปฏิบัติ ท่าลักษณะกระบวนฟ้อนและทิศทางในการฟ้อนตามสรีระร่างกายในส่วนต่าง ๆ ของผู้ที่เป็นควาย หลวงให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 38 สามารถแบ่งเป็นลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขาและเท้า ตามตารางที่ 12 รายละเอียดดังนี้
101 ภาพที่ 37 ท่าที่ 5 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าม้วนมือทั้งสองข้างต่างระดับ ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 38 ท่าที่ 5 การปฏิบัติกระบวนฟ้อนลักษณะท่าม้วนมือทั้งสองข้างต่างระดับ (1) จังหวะที่ 1 (2) จังหวะที่ 2 ที่มา: ผู้วิจัย
102 ตารางที่12 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าม้วนมือทั้งสองข้างต่างระดับ การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนและทิศทางการ แสดงของควายหลวงน้อย ดนตรี ทิศ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนตามสรีระ ร่างกาย ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่และล าตัว : เอียงไปด้านขวา มือและแขน : มือซ้ายม้วนมือออกอยู่ระดับ เหนือศีรษะโดยหันฝ่ามือออกไปด้านหน้า มือขวาม้วนมือออกอยู่ระดับไหล่ ขาและเท้า : ก้าวเท้าซ้ายไปด้านหน้าเท้า ขวายกขึ้นเพื่อวางไปด้านหลังพร้อมกับยืดยุบ ไปตามจังหวะ 2. ทิศทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะ ของการเคลื่อนไหวเป็นการโยกตัวไปทางด้าน ด้านขวาตามจังหวะดนตรี 3. ทิศทางการเดิน ทิศทางการเดินของควาย หลวง จะมีลักษณะการเดิน 4 รูปแบบ คือ - การเดินไปข้างหน้า - การเดินไปทางด้านซ้าย - การเดินไปทางด้านขวา - การเดินในลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะการเดินในรูปแบบต่าง ๆ จะขึ้นอยู่กับ ควายหลวงเป็นคนก าหนดทิศทางว่าจะเริ่ม จากการเดินหรือวิ่งไปทิศทางใด จังหวะ ที่มา: ผู้วิจัย ท่าที่ 6 กระบวนฟ้อนในลักษณะการท าท่ากางมือ ศีรษะจะเอียงขวาและมือทั้ง สองข้างยกขึ้นเหนือศีรษะพร้อมกับกางมือทั้งสองข้างแยกออกจากกัน มีการย่อเข่าสลับกับการท าท่า กางมือ ดังแสดงในภาพที่ 39 จากการศึกษาพบว่า ลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายที่ท าให้เกิดกระบวน ฟ้อนในลักษณะการท าท่ากางมือ สามารถวิเคราะห์การปฏิบัติท่าลักษณะกระบวนฟ้อนและทิศทางใน การฟ้อนตามสรีระร่างกายในส่วนต่าง ๆ ของผู้ที่เป็นควายหลวงให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ดังแสดง ในภาพที่ 40 สามารถแบ่งเป็นลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขาและเท้า ตามตารางที่ 13 รายละเอียดดังนี้
103 ภาพที่ 39 ท่าที่ 6 กระบวนฟ้อนในลักษณะการท าท่ากางมือ ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 40 ท่าที่ 6 การปฏิบัติกระบวนฟ้อนลักษณะการท าท่ากางมือ (1) จังหวะที่ 1 (2) จังหวะที่ 2 ที่มา: ผู้วิจัย
104 ตารางที่13 กระบวนฟ้อนในลักษณะการท าท่ากางมือ การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนและทิศทางการ แสดงของควายหลวงน้อย ดนตรี ทิศ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนตามสรีระ ร่างกาย ศีรษะ : เอียงซ้าย ไหล่และล าตัว : เอียงซ้าย มือและแขน : ยกมือทั้งข้างขึ้นระดับเหนือ ศีรษะแล้วม้วนมือออกเป็นตั้งมือ โดยหันฝ่า มือออกมาด้านหน้า ขาและเท้า : ก้าวเท้าซ้ายไปด้านหน้าเท้า ขวายกขึ้นไปด้านหลังพร้อมกับยืดยุบไปตาม จังหวะ 2. ทิศทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะ ของการเคลื่อนไหวเป็นการโยกตัวไปทางด้าน ด้านขวาตามจังหวะดนตรี 3. ทิศทางการเดิน ทิศทางการเดินของควาย หลวง จะมีลักษณะการเดิน 4 รูปแบบ คือ - การเดินไปข้างหน้า - การเดินไปทางด้านซ้าย - การเดินไปทางด้านขวา - การเดินในลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะการเดินในรูปแบบต่าง ๆ จะขึ้นอยู่กับ ควายหลวงเป็นคนก าหนดทิศทางว่าจะเริ่ม จากการเดินหรือวิ่งไปทิศทางใด จังหวะ ที่มา : ผู้วิจัย ท่าที่ 7 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าโบกมือขวาซ้ายต่างระดับ การโบกมือของ ควายหลวงน้อยจะใช้มือขวายกขึ้นเหนือศีรษะพร้อมกับการโบกมือตามจังหวะของดนตรี ในส่วนของ มือซ้ายนั้นจะมีลักษณะตั้งขึ้นอยู่เหนือศีรษะเล็กน้อยโบกตามจังหวะพร้อมกันกับมือขวา และโยกตัวไป ทางด้านซ้าย โดยการท าท่าโบกมือขวาซ้ายต่างระดับนั้นจะเป็นหนึ่งในลักษณะของการเลียนแบบการ เดินหากินหญ้าของสัตว์ (ควาย) ดังแสดงในภาพที่ 41 จากการศึกษาพบว่า ลักษณะการเคลื่อนไหว ร่างกายที่ท าให้เกิดกระบวนฟ้อนในลักษณะท่าโบกมือขวา สามารถวิเคราะห์การปฏิบัติท่าลักษณะ กระบวนฟ้อนและทิศทางในการฟ้อนตามสรีระร่างกายในส่วนต่าง ๆ ของผู้ที่เป็นควายหลวงให้เป็น รูปธรรมมากยิ่งขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 42 สามารถแบ่งเป็นลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขา และเท้า ตามตารางที่ 14 รายละเอียดดังนี้
105 ภาพที่ 41 ท่าที่ 7 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าโบกมือขวาซ้ายต่างระดับ ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 42 ท่าที่ 7 การปฏิบัติกระบวนฟ้อนลักษณะท่าโบกมือขวาซ้ายต่างระดับ (1) จังหวะที่ 1 (2) จังหวะที่ 2 ที่มา: ผู้วิจัย
106 ตารางที่14 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าโบกมือขวาซ้ายต่างระดับ การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนและทิศทางการ แสดงของควายหลวงน้อย ดนตรี ทิศ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนตามสรีระ ร่างกาย ศีรษะ : เอียงซ้าย ไหล่และล าตัว : เอียงไปด้านซ้ายและหัน หน้าไปทางซ้ายมือ มือและแขน : มือซ้ายปล่อยมือยกขึ้นเหนือ ศีรษะเล็กน้อย มือขวายกมือขึ้นเหนือศีรษะ พร้อมกับม้วนมือแล้วปล่อยออกโดยหันฝ่ามือ ออกมาด้านหน้า ขาและเท้า : ก้าวเท้าขวาไปด้านหน้าเท้า ซ้ายยกขึ้นแล้ววางไปด้านหลังพร้อมกับยืดยุบ ไปตามจังหวะ 2. ทิศทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะ ของการเคลื่อนไหวเป็นการโยกตัวไปทางด้าน ด้านซ้ายตามจังหวะดนตรี 3. ทิศทางการเดิน ทิศทางการเดินของควาย หลวง จะมีลักษณะการเดิน 4 รูปแบบ คือ - การเดินไปข้างหน้า - การเดินไปทางด้านซ้าย - การเดินไปทางด้านขวา - การเดินในลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะการเดินในรูปแบบต่าง ๆ จะขึ้นอยู่กับ ควายหลวงเป็นคนก าหนดทิศทางว่าจะเริ่ม จากการเดินหรือวิ่งไปทิศทางใด จังหวะ ที่มา: ผู้วิจัย ท่าที่ 8 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าโบกมือซ้าย การโบกมือของควายหลวง จะใช้มือซ้ายยกขึ้นเหนือศีรษะพร้อมกับการโบกมือตามจังหวะของดนตรีในส่วนของมือขวานั้น จะมีลักษณะตั้งขึ้นอยู่ระหว่างสะเอวและโยกตัวไปด้านขวา การท าท่าโบกมือซ้ายนั้นจะเป็นหนึ่ง ในลักษณะของการเลียนแบบการเดินหากินหญ้าของสัตว์ (ควาย) ดังแสดงในภาพที่ 43 จากการศึกษา พบว่า ท่าโบกมือซ้าย สามารถวิเคราะห์การปฏิบัติท่าลักษณะกระบวนฟ้อนและทิศทางในการฟ้อน ตามสรีระร่างกายในส่วนต่าง ๆ ของผู้ที่เป็นควายหลวงให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 44 ซึ่งสามารถแบ่งเป็นลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขาและเท้า ตามตารางที่ 15 รายละเอียด ดังนี้
107 ภาพที่ 43 ท่าที่ 8 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าก ามือและโบกมือซ้าย ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 44 ท่าที่ 8 การปฏิบัติกระบวนฟ้อนลักษณะท่าก ามือและโบกมือซ้าย (1) จังหวะที่ 1 (2) จังหวะที่ 2 ที่มา: ผู้วิจัย
108 ตารางที่15 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าก ามือและโบกมือซ้าย การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนและทิศทางการ แสดงของควายหลวงน้อย ดนตรี ทิศ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนตามสรีระ ร่างกาย ศีรษะ : เอียงขวาสลับกับเอียงซ้าย ไหล่และล าตัว : เอียงไปด้านขวาสลับกับ เอียงไปทางด้านซ้าย มือและแขน : มือซ้ายยกมือขึ้นเหนือศีรษะ พร้อมกับก ามือแล้วปล่อยออกโดยหันฝ่ามือ ออกมาด้านหน้า มือขวาปล่อยมือข้างล าตัว ขาและเท้า : ก้าวเท้าซ้ายไปด้านหน้าเท้า ขวายกขึ้นแล้ววางไปด้านหลังพร้อมกับยืดยุบ ไปตามจังหวะ 2. ทิศทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะ ของการเคลื่อนไหวเป็นการโยกตัวไปทางด้าน ด้านซ้ายตามจังหวะดนตรี 3. ทิศทางการเดิน ทิศทางการเดินของควาย หลวง จะมีลักษณะการเดิน 4 รูปแบบ คือ - การเดินไปข้างหน้า - การเดินไปทางด้านซ้าย - การเดินไปทางด้านขวา - การเดินในลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะการเดินในรูปแบบต่าง ๆ จะขึ้นอยู่กับ ควายหลวงเป็นคนก าหนดทิศทางว่าจะเริ่ม จากการเดินหรือวิ่งไปทิศทางใด จังหวะ ที่มา: ผู้วิจัย ท่าที่ 9 กระบวนฟ้อนในลักษณะการก ามือแล้วแบมือข้างขวา คือ การที่ควาย หลวงน้อยเคลื่อนตัวไปในสถานที่ต่าง ๆ พร้อมกับการยกมือขวาขึ้นเหนือศีรษะพร้อมกับการก ามือ เคลื่อนมือลักษณะคลายมือออกเป็นการแบมือทั้งสองข้าง มือซ้ายก ามือและแบมือสลับกันระหว่างอก พร้อมกับโยกตัวให้เข้ากับจังหวะของดนตรี ดังแสดงในภาพที่ 45 จากการศึกษาพบว่า ลักษณะการ เคลื่อนไหวร่างกายที่ท าให้เกิดกระบวนฟ้อนในลักษณะการก ามือแล้วแบมือ สามารถวิเคราะห์การ ปฏิบัติท่าลักษณะกระบวนฟ้อนและทิศทางในการฟ้อนตามสรีระร่างกายในส่วนต่าง ๆ ของผู้ที่ เป็นควายหลวงน้อยให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 46 ซึ่งสามารถแบ่งเป็นลักษณะ ของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขาและเท้า ตามตารางที่ 16 รายละเอียดดังนี้
109 ภาพที่ 45 ท่าที่ 9 กระบวนฟ้อนในลักษณะการก ามือแล้วแบมือข้างขวา ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 46 ท่าที่ 9 การปฏิบัติกระบวนฟ้อนลักษณะการก ามือแล้วแบมือข้างขวา (1) จังหวะที่ 1 (2) จังหวะที่ 2 ที่มา: ผู้วิจัย
110 ตารางที่16 กระบวนฟ้อนในลักษณะการก ามือแล้วแบมือข้างขวา การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนและทิศทางการ แสดงของควายหลวงน้อย ดนตรี ทิศ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนตามสรีระ ร่างกาย ศีรษะ : เอียงซ้าย ไหล่และล าตัว : กดไหล่ซ้ายและล าตัว เอียงไปด้านซ้าย มือและแขน : ยกมือขวาขึ้นระดับเหนือ ศีรษะโดยลักษณะของมือคือการก ามือแล้วแบ มือ มือซ้ายยกขึ้นเหนือศีรษะโดยลักษณะของ มือคือการก ามือแล้วแบมือ ขาและเท้า : ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าเท้า ขวายกขึ้นแล้ววางไปข้างหลังพร้อมกับยืดยุบ ไปตามจังหวะ 2. ทิศทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะ ของการเคลื่อนไหวเป็นการโยกตัวไปทาง ด้านขวาสลับกับทางด้านซ้ายตามจังหวะ ดนตรี 3. ทิศทางการเดิน ทิศทางการเดินของควาย หลวง จะมีลักษณะการเดิน 4 รูปแบบ คือ - การเดินไปข้างหน้า - การเดินไปทางด้านซ้าย - การเดินไปทางด้านขวา - การเดินในลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะการเดินในรูปแบบต่าง ๆ จะขึ้นอยู่กับ ควายหลวงเป็นคนก าหนดทิศทางว่าจะเริ่ม จากการเดินหรือวิ่งไปทิศทางใด จังหวะ ที่มา: ผู้วิจัย ท่าที่ 10 กระบวนฟ้อนในลักษณะการถูหลัง คือ แสดงท่าควายหลวงน้อยวิ่งไป ใกล้สถานที่ที่สามารถน าหลังไปสัมผัสได้แสดงท่าในลักษณะเหมือนกับการที่ควายน าหลังไปถูกับต้นไม้ หรือเสาของบ้านเรือนเป็นการเลียนแบบธรรมชาติของสัตว์ (ควาย) ในเรื่องของอากัปกิริยาของสัตว์ ซึ่งเป็นหนึ่งในองค์ประกอบของท่าหากินหญ้าของควายหลวง ดังแสดงในภาพที่ 47 จากการศึกษา พบว่า ลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายที่ท าให้เกิดกระบวนฟ้อนในลักษณะการถูหลัง สามารถวิเคราะห์ การปฏิบัติท่าลักษณะกระบวนฟ้อนและทิศทางในการฟ้อนตามสรีระร่างกายในส่วนต่าง ๆ ของผู้ที่
111 เป็นควายหลวงให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 48 สามารถแบ่งเป็นลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขาและเท้า ตามตารางที่ 17 รายละเอียดดังนี้ ภาพที่ 47 ท่าที่ 10 กระบวนฟ้อนในลักษณะการถูหลัง ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 48 ท่าที่ 10 การปฏิบัติกระบวนฟ้อนลักษณะการถูหลัง (1) จังหวะที่ 1 (2) จังหวะที่ 2 ที่มา: ผู้วิจัย
112 ตารางที่17 กระบวนฟ้อนในลักษณะการถูหลัง การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนและทิศทางการ แสดงของควายหลวงน้อย ดนตรี ทิศ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนตามสรีระ ร่างกาย ศีรษะ : ก้มหน้าเล็กน้อย ไหล่และล าตัว : ก้มลงเล็กน้อยและน า ล าตัวทางซ้ายถูกกับสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ เช่า เสา บ้าน ก าแพงบ้าน เป็นต้น มือและแขน มือขวาก ามืออยู่ระหว่างเอว พร้อมกับงอศอก มือซ้ายก ามือสลับกับไปมา และหลังทางขวาไปถูสัมผัสกับสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ขาและเท้า : เท้าขวาอยู่ด้านหน้าเท้าซ้าย ยกเท้าแล้วกระทืบเท้าอยู่ด้านหลังแล้ววิ่งไป ด้านหน้า 2. ทิศทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะ ของการเคลื่อนไหว คือ การน าตัวของผู้แสดง ไปสัมผัสกับวัตถุที่อยู่ใกล้ที่สุด เป็นลักษณะ การเลียนแบบการเอาตัวไปถูกับสิ่ง ๆ ของ สัตว์ (ควาย) เพื่อให้สมจริงมากยิ่งขึ้น ล าตัว เน้นหนักไปที่ข้างที่ถูหรือสัมผัสกับสิ่งต่าง ๆ 3. ทิศทางการเดิน ทิศทางการเดินของควาย หลวง จะมีลักษณะการเดิน 4 รูปแบบ คือ - การเดินไปข้างหน้า - การเดินไปทางด้านซ้าย - การเดินไปทางด้านขวา - การเดินในลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะการเดินในรูปแบบต่าง ๆ จะขึ้นอยู่กับ ควายหลวงเป็นคนก าหนดทิศทางว่าจะเริ่ม จากการเดินหรือวิ่งไปทิศทางใด จังหวะ ที่มา: ผู้วิจัย 3.2.2 ลักษณะกระบวนการฟ้อนท่า “หากินหญ้า” ของควายหลวงใหญ่ในงานบุญ บวชควายหลวง ลักษณะกระบวนการฟ้อนท่า “หากินหญ้า” ของควายหลวงใหญ่นั้น เป็นกระบวน ฟ้อนที่มีลักษณะการเลียนแบบอากัปกิริยาของสัตว์ (ควาย) เช่น การเดิน การวิ่ง การยืน การกิน เป็นต้น จากการศึกษาพบว่า กระบวนฟ้อนสามารถวิเคราะห์ได้ตามสรีระร่างกายของบุคคลที่เป็น
113 ควายหลวงใหญ่ มีการประยุกต์ใช้ให้เข้ากับสรีระของผู้ที่เป็นควายหลวงใหญ่ ท าให้เกิดการเลียนแบบ ข้างต้นมีความสมจริงมากยิ่งขึ้น และท าให้ผู้ที่เข้าร่วมพิธีกรรมได้รับอรรถรสในการรับชมพิธีกรรม ดังจะปรากฏกระบวนฟ้อนทั้ง 16 ท่า รายละเอียดดังต่อไปนี้ 3.2.2.1 กระบวนฟ้อนของควายหลวงใหญ่ กระบวนการฟ้อนของควายหลวงใหญ่จะประกอบได้ด้วย 4 ขั้นตอนพิธีกรรมที่มีท่าฟ้อน ประกอบ โดยมีลักษณะดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 พิธีกรรมการอุปัชฌาย์ควายหลวงใหญ่ พิธีกรรมจะประกอบไปด้วย ผู้อุปัชฌาย์ควายใหญ่ (เฒ่าจ้ า) ที่ท าหน้าที่ประกอบพิธี เฒ่าจ้ าจะนั่งอยู่หน้าศาลปู่เถ้าเจ้าโฮงแดงจะหัน หน้าไปทางทิศตะวันออกเท่านั้น ในส่วนของควายหลวงใหญ่จะนั่งท าพิธีตรงข้ามกับเฒ่าจ้ า เป็นการนั่ง หันหน้าเข้าหากันเพื่อประกอบพิธีและจะมีแม่นางหว่า ผู้แบกเสลี่ยง นักดนตรีนั่งประกบข้างผู้ที่เป็น ควายหลวงใหญ่ในลักษณะครึ่งวงกลม ในส่วนตรงกลางจะเป็นการวางอุปกรณ์ที่ใช้ในการแห่ เช่น เครื่องดนตรี ศาสตราวุธ เป็นต้น ในการประกอบพิธีกรรมอุปัชฌาย์ควายใหญ่นั้น เฒ่าจ้ าจะเป็นผู้ ประกอบพิธีพร้อมกับมีการแต่งกายให้กับควายหลวงใหญ่เพื่อที่จะท าการฟ้อนบูชาเจ้าพ่อโฮงแดง และออกเซิ้งหาปัจจัยรอบหมู่บ้านแมดต่อไป ลักษณะของการนั่งประกอบพิธีกรรมสามารถวิเคราะห์ได้ ตามลักษณะของภาพที่ 49 ดังนี้ ภาพที่49 ลักษณะต าแหน่งของการประกอบพิธีกรรมอุปัชฌาย์ควายหลวงใหญ่ ที่มา: ผู้วิจัย ขั้นตอนที่ 2 พิธีกรรมการท าความเคารพต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจ าหมู่บ้านแมด มีท่าฟ้อน ประกอบพิธีเพื่อเป็นการท าความเคารพต่อเจ้าพ่อโฮงแดงที่ศาลปู่เถ้าเจ้าโฮงแดง ศาลาวัดบ้านแมด และกุฏิถาวรประชานุสรณ์ รูปหล่อส าริด ของอดีตเจ้าอาวาสวัดบ้านแมด สถานที่ทั้ง 3 แห่ง สถานที่นี้ จะใช้ลักษณะของท่าฟ้อนในรูปแบบเดียวกัน ประกอบไปด้วย ท่าที่ 1 กระบวนฟ้อนในลักษณะการดีด เท้าของควายหลวงใหญ่ ท่าที่ 2 กระบวนฟ้อนในลักษณะการไหว้ท่าที่ 3 กระบวนฟ้อนลักษณะการวิ่ง
114 ท่าที่ 4 กระบวนฟ้อนในลักษณะการม้วนสองมือคล้ายกับท าท่าขอพรพร้อมกับเอียงไปด้านขวา ท่าที่5 กระบวนฟ้อนในลักษณะการม้วนมือสลับกัน สามารถวิเคราะห์ท่าฟ้อนทั้ง 5 ท่าดังนี้ ท่าที่ 1 กระบวนฟ้อนในลักษณะการดีดเท้าของควายหลวงใหญ่ ซึ่งกระบวน ฟ้อนนี้คือ การดีดเท้าขึ้นเพื่อเตรียมตัววิ่งหรือเดินไปข้างหน้าของควายหลวงใหญ่ เปรียบเสมือนการ แสดงอิริยาบทของสัตว์ (ควาย) ก่อนการเดินหรือการวิ่ง ดังแสดงในภาพที่ 50 จากการศึกษาพบว่า ลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายที่ท าให้เกิดกระบวนฟ้อนของควายหลวงที่ชัดเจน สามารถวิเคราะห์ การปฏิบัติท่าลักษณะกระบวนฟ้อนและทิศทางในการฟ้อนตามสรีระร่างกายในส่วนต่าง ๆ ของผู้ที่เป็น ควายหลวงให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 51 สามารถแบ่งเป็นลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขาและเท้า ตามตารางที่ 18 รายละเอียดดังนี้ ภาพที่ 50 ท่าที่ 1 กระบวนฟ้อนลักษณะการดีดเท้าของควายหลวงใหญ่ ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 51 ท่าที่ 1 การปฏิบัติกระบวนฟ้อนลักษณะการดีดเท้าของควายหลวงใหญ่ (1) จังหวะที่ 1 (2) จังหวะที่ 2 ที่มา: ผู้วิจัย
115 ตารางที่ 18 กระบวนฟ้อนลักษณะการดีดเท้าของควายหลวงใหญ่ การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนและทิศทางการ แสดงของควายหลวงใหญ่ ดนตรี ทิศ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนตามสรีระ ร่างกาย ศีรษะ : มีลักษณะหน้าตรง ไหล่และล าตัว : โน้มตัวมาข้างหน้าเล็กน้อย หรือก้มตัวลงมาเล็กน้อย มือและแขน : มือซ้ายก ามืออยู่ระดับหัวไหล่ พร้อมกับงอศอก มือขวาก ามืออยู่ระดับ หัวไหล่พร้อมกับงอศอก ขาและเท้า : ก้าวเท้าซ้ายอยู่ข้างหน้า น้ าหนักตัวอยู่เท้าซ้าย เท้าขวายกส้นเท้าแล้ว กระทืบเท้าอยู่ข้างหลัง 2. ทิศทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะ ของการเคลื่อนไหวจะเป็นไปตามการยกขา โดยท่าปฏิบัตินี้เป็นการยกขาขวาขึ้น การเอียง ของล าตัวและศีรษะจะเอียงหรือโน้มไป ทางซ้าย 3. ทิศทางการเดิน ทิศทางการเดินของควาย หลวง จะมีลักษณะการเดิน 4 รูปแบบ คือ - การเดินไปข้างหน้า - การเดินไปทางด้านซ้าย - การเดินไปทางด้านขวา - การเดินในลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะการเดินในรูปแบบต่าง ๆ จะขึ้นอยู่กับ ควายหลวงเป็นคนก าหนดทิศทางว่าจะเริ่ม จากการเดินหรือวิ่งไปทิศทางใด จังหวะ ที่มา: ผู้วิจัย ท่าที่ 2 กระบวนฟ้อนในลักษณะการไหว้กระบวนฟ้อนนี้ คือ การแสดงความ เคารพนับถือที่มีต่อเจ้าพ่อโฮงแดง โดยเป็นการใช้ท่าในลักษณะการพนมไหว้ท าความเคารพก่อน ที่จะแสดงไปในจุดต่าง ๆ ดังแสดงในภาพที่ 52 จากการศึกษาพบว่า ลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายที่ ท าให้เกิดกระบวนฟ้อนในลักษณะการไหว้เพื่อท าความเคารพและแสดงความนับถือต่อเจ้าพ่อโฮงแดง สามารถวิเคราะห์การปฏิบัติท่าลักษณะกระบวนฟ้อนและทิศทางในการฟ้อนตามสรีระร่างกาย
116 ในส่วนต่าง ๆ ของผู้ที่เป็นควายหลวงให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 53 สามารถแบ่งเป็น ลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขาและเท้า ตามตารางที่ 19 รายละเอียดดังนี้ ภาพที่ 52 ท่าที่ 2 กระบวนฟ้อนลักษณะการไหว้ของควายหลวงใหญ่ ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 53 ท่าที่ 2 การปฏิบัติกระบวนฟ้อนลักษณะการไหว้ของควายหลวงใหญ่ (1) จังหวะที่ 1 (2) จังหวะที่ 2 ที่มา: ผู้วิจัย
117 ตารางที่19 กระบวนฟ้อนลักษณะการไหว้ของควายหลวงใหญ่ การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนและทิศทางการ แสดงของควายหลวงใหญ่ ดนตรี ทิศ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนตามสรีระ ร่างกาย ศีรษะ : ก้มหน้าลง ไหล่และล าตัว : ก้มตัวลง มือและแขน : พนมมือไหว้ระดับศีรษะ ขาและเท้า : ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า น้ าหนักตัวอยู่เท้าซ้าย เท้าขวาอยู่ด้านหลังยืด ยุบไปตามจังหวะ 2. ทิศทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะ ของการเคลื่อนไหว คือ การเน้นน้ าหนักของผู้ แสดงท่าไปอยู่ที่เท้าขวา และเท้าซ้ายเป็นเท้า ที่ยึดกับพื้นเพื่อให้การทรงตัวของผู้แสดงท่า สามารถทรงตัวได้ดีพร้อมกับการยืดยุบให้เข้า กับจังหวะและโน้มตัวไปด้านข้างทางขวามือ 3. ทิศทางการเดิน ทิศทางการเดินของควาย หลวง จะมีลักษณะการเดิน 4 รูปแบบ คือ - การเดินไปข้างหน้า - การเดินไปทางด้านซ้าย - การเดินไปทางด้านขวา - การเดินในลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะการเดินในรูปแบบต่าง ๆ จะขึ้นอยู่กับ ควายหลวงเป็นคนก าหนดทิศทางว่าจะเริ่ม จากการเดินหรือวิ่งไปทิศทางใด จังหวะ ที่มา: ผู้วิจัย ท่าที่ 3 กระบวนฟ้อนลักษณะการวิ่ง ซึ่งกระบวนฟ้อนนี้ คือ ลักษณะท่าทางการ วิ่งของควายหลวงใหญ่ อิริยาบทนี้เป็นการเลียนแบบการวิ่งของสัตว์(ควาย) ส าหรับการเคลื่อนอย่าง รวดเร็วเพื่อหาอาหารหรือใช้ชีวิตประจ าวันของสัตว์ (ควาย) ดังแสดงในภาพที่ 54 จากการศึกษาพบว่า ลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายที่ท าให้เกิดกระบวนฟ้อนในลักษณะลักษณะการวิ่ง สามารถวิเคราะห์ การปฏิบัติท่าลักษณะกระบวนฟ้อนและทิศทางในการฟ้อนตามสรีระร่างกายในส่วนต่าง ๆ ของผู้ที่เป็น ควายหลวงให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 55 สามารถแบ่งเป็นลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขาและเท้า ตามตารางที่ 20 รายละเอียดดังนี้
118 ภาพที่ 54 ท่าที่ 3 กระบวนฟ้อนลักษณะการวิ่งของควายหลวงใหญ่ ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 55 ท่าที่ 3 การปฏิบัติกระบวนฟ้อนลักษณะการวิ่งของควายหลวงใหญ่ (1) จังหวะที่ 1 (2) จังหวะที่ 2 ที่มา: ผู้วิจัย
119 ตารางที่20 กระบวนฟ้อนลักษณะการวิ่งของควายหลวงใหญ่ การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนและทิศทางการ แสดงของควายหลวงใหญ่ ดนตรี ทิศ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนตามสรีระ ร่างกาย ศีรษะ : หน้าตรง ไหล่และล าตัว : ล าตัวตรง มือและแขน : มือขาวก ามืออยู่ระดับอกมือ ซ้ายก ามืออยู่ระดับสะโพก ขาและเท้า : ก้าวเท้าซ้าย-ขวาวิ่งสลับกัน ไปมา 2. ทิศทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะ ของการเคลื่อนไหว คือ เป็นการเคลื่อนไหวใน ท่าวิ่ง ซึ่งน้ าหนักในการวิ่งจะลงน้ าหนักในเท้า ทั้งสองข้างสลับกันไปมา 3. ทิศทางการเดิน ทิศทางการเดินของควาย หลวง จะมีลักษณะการเดิน 4 รูปแบบ คือ - การเดินไปข้างหน้า - การเดินไปทางด้านซ้าย - การเดินไปทางด้านขวา - การเดินในลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะการเดินในรูปแบบต่าง ๆ จะขึ้นอยู่กับ ควายหลวงเป็นคนก าหนดทิศทางว่าจะเริ่ม จากการเดินหรือวิ่งไปทิศทางใด จังหวะ ที่มา: ผู้วิจัย ท่าที่ 4 กระบวนฟ้อนในลักษณะการม้วนสองมือคล้ายกับท าท่าขอพรพร้อมกับ เอียงไปด้านขวา การยกแขนและมือขึ้นเหนือศีรษะนั้น ชาวบ้านได้ให้ความหมายว่า การยกมือขึ้น เหนือศีรษะเปรียบเสมือนกับการชูเขาของควาย ผู้ที่เป็นควายหลวงใหญ่จึงมีการแสดงท่าทางที่ เลียนแบบการชูเขาของควายเป็นหลัก หากมีการเอียงศีรษะควายหลวงจะม้วนมือที่แสดงเป็นท่าเขา ของควายเปลี่ยนไปในทิศทางเดียวกันกับการเอียงหรือจะไปในทิศทางที่ตรงกันข้ามกับการเอียงได้ เช่นกัน ดังแสดงในภาพที่ 56 จากการศึกษาพบว่า ลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายที่ท าให้เกิดกระบวน ฟ้อน ในลักษณะการม้วนสองมือคล้ายกับท าท่าขอพร สามารถวิเคราะห์การปฏิบัติท่าลักษณะกระบวน ฟ้อนและทิศทางในการฟ้อนตามสรีระร่างกายในส่วนต่าง ๆ ของผู้ที่เป็นควายหลวงให้เป็นรูปธรรมมาก ยิ่งขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 57 สามารถแบ่งเป็นลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขาและเท้า ตามตารางที่ 21 รายละเอียดดังนี้
120 ภาพที่ 56 ท่าที่ 4 กระบวนฟ้อนลักษณะการม้วนมือขอพร ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 57 ท่าที่ 4 การปฏิบัติกระบวนฟ้อนลักษณะการม้วนมือขอพร (1) จังหวะที่ 1 (2) จังหวะที่ 2 ที่มา: ผู้วิจัย
121 ตารางที่21 กระบวนฟ้อนลักษณะการม้วนมือขอพร การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนและทิศทางการ แสดงของควายหลวงใหญ่ ดนตรี ทิศ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนตามสรีระ ร่างกาย ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่และล าตัว : เอียงไปด้านขวา มือและแขน : ยกมือทั้งสองข้างขึ้นระดับ เหนือศีรษะแล้วม้วนมือเข้าโดยหันฝ่ามือเข้า หากัน ขาและเท้า : ก้าวเท้าขวาไปด้านหน้าเท้า ซ้ายอยู่ด้านหลังยืดยุบไปตามจังหวะ 2. ทิศทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะ ของการเคลื่อนไหวเป็นการโยกตัวตามจังหวะ ดนตรีซ้ายขวาสลับกัน 3. ทิศทางการเดิน ทิศทางการเดินของควาย หลวง จะมีลักษณะการเดิน 4 รูปแบบ คือ - การเดินไปข้างหน้า - การเดินไปทางด้านซ้าย - การเดินไปทางด้านขวา - การเดินในลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะการเดินในรูปแบบต่าง ๆ จะขึ้นอยู่กับ ควายหลวงเป็นคนก าหนดทิศทางว่าจะเริ่ม จากการเดินหรือวิ่งไปทิศทางใด จังหวะ ที่มา: ผู้วิจัย ท่าที่ 5 กระบวนฟ้อนในลักษณะการม้วนมือสลับกัน ผู้ที่เป็นควายหลวงใหญ่จะ หันหน้าตรงไปข้างหน้าและแขนทั้งสองข้างชูขึ้นเหนือศีรษะ พร้อมกับมือทั้งสองข้างปฏิบัติท่าม้วนมือ สลับกันไปมา ดังแสดงในภาพที่ 58 จากการศึกษาพบว่า ลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายที่ท าให้เกิด กระบวนฟ้อนในลักษณะการม้วนมือสลับกัน สามารถวิเคราะห์การปฏิบัติท่าลักษณะกระบวนฟ้อน และทิศทางในการฟ้อนตามสรีระร่างกายในส่วนต่าง ๆ ของผู้ที่เป็นควายหลวงให้เป็นรูปธรรม มากยิ่งขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 59 สามารถแบ่งเป็นลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขาและเท้า ตามตารางที่ 22 รายละเอียดดังนี้
122 ภาพที่ 58 ท่าที่ 5 กระบวนฟ้อนลักษณะการม้วนมือสลับกัน ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 59 ท่าที่ 5 การปฏิบัติกระบวนฟ้อนลักษณะการม้วนมือสลับกัน (1) จังหวะที่ 1 (2) จังหวะที่ 2 ที่มา: ผู้วิจัย
123 ตารางที่ 22 กระบวนฟ้อนลักษณะการม้วนมือสลับกัน การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนและทิศทางการ แสดงของควายหลวงใหญ่ ดนตรี ทิศ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนตามสรีระ ร่างกาย ศีรษะ : เอียงขวาสลับซ้าย ไหล่และล าตัว : เอียงไปด้านขวาสลับ ด้านซ้าย มือและแขน : มือซ้ายยกขึ้นเหนือศีรษะ พร้อมกับค่ าฝ่ามือลง มือขวายกขึ้นเหนือ ศีรษะพร้อมกับหันฝ่ามือออก ขาและเท้า : ย่ าเท้าซ้ายขวาไปตามจังหวะ 2. ทิศทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะ ของการเคลื่อนไหวเป็นการโยกตัวตามจังหวะ ดนตรีซ้ายขวาสลับกัน 3. ทิศทางการเดิน ทิศทางการเดินของควาย หลวง จะมีลักษณะการเดิน 4 รูปแบบ คือ - การเดินไปข้างหน้า - การเดินไปทางด้านซ้าย - การเดินไปทางด้านขวา - การเดินในลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะการเดินในรูปแบบต่าง ๆ จะขึ้นอยู่กับ ควายหลวงเป็นคนก าหนดทิศทางว่าจะเริ่ม จากการเดินหรือวิ่งไปทิศทางใด จังหวะ ที่มา: ผู้วิจัย ขั้นตอนที่ 3 พิธีกรรมการเซิ้งหาปัจจัยส าหรับควายหลวงใหญ่ การเซิ้งหาปัจจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อให้คนในชุมชนที่เข้าร่วมพิธีได้ท าบุญร่วมกับเจ้าพ่อโฮงแดงผ่านควายหลวงใหญ่ มีท่า ฟ้อนประกอบการเซิ้งหาปัจจัยรอบหมู่บ้านแมด ประกอบไปด้วย ท่าที่ 6 กระบวนฟ้อนในลักษณะ ศีรษะเอียงซ้ายขวาสลับกัน, ท่าที่ 7 กระบวนฟ้อนในลักษณะศีรษะเอียงขวาชูมือคล้ายกับการตั้งวง ท่าที่ 8 กระบวนฟ้อนในลักษณะการท าท่ากางมือ ท่าที่ 9 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าม้วนมือและโบก มือขวา ท่าที่ 10 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าโบกมือซ้าย ท่าที่ 11 กระบวนฟ้อนลักษณะท่าโบกมือขวา ท่าที่ 12 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าม้วนมือทั้งสองข้างต่างระดับ โดยสามารถวิเคราะห์ท่าฟ้อนทั้ง 7 ท่าได้ดังนี้
124 ท่าที่ 6 กระบวนฟ้อนในลักษณะศีรษะเอียงซ้ายขวาสลับกัน พร้อมชูมือคล้ายกับการตั้งวง การตั้งวงของควายหลวงใหญ่มีลักษณะที่ต่างระดับกัน มือซ้ายตั้งวงระดับแง่ศีรษะและมือขวาตั้งวง ระดับปาก ดังแสดงในภาพที่ 60 จากการศึกษาพบว่า ลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายที่ท าให้เกิด กระบวนฟ้อนในลักษณะศีรษะเอียงซ้ายพร้อมชูมือคล้ายกับการตั้งวง สามารถวิเคราะห์การปฏิบัติท่า ลักษณะกระบวนฟ้อนและทิศทางในการฟ้อนตามสรีระร่างกายในส่วนต่าง ๆ ของผู้ที่เป็นควายหลวง ให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 61 ซึ่งสามารถแบ่งเป็นลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขาและเท้า ตามตารางที่ 23 รายละเอียดดังนี้ ภาพที่ 60 ท่าที่ 6 กระบวนฟ้อนลักษณะศีรษะเอียงซ้ายขวาสลับกัน ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 61 ท่าที่ 6 การปฏิบัติกระบวนฟ้อนลักษณะศีรษะเอียงซ้ายขวาสลับกัน (1) จังหวะที่ 1 (2) จังหวะที่ 2 ที่มา: ผู้วิจัย
125 ตารางที่23 กระบวนฟ้อนลักษณะศีรษะเอียงซ้าย การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนและทิศทางการ แสดงของควายหลวงใหญ่ ดนตรี ทิศ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนตามสรีระ ร่างกาย ศีรษะ : เอียงซ้ายสลับกับเอียงขวาตาม จังหวะ ไหล่และล าตัว : เอียงซ้ายสลับกับเอียงขวา ตามจังหวะ มือและแขน : ยกมือทั้งสองข้างขึ้นระดับ เหนือศีรษะแล้วม้วนมือออกเป็นตั้งมือ ขาและเท้า : ย่ าเท้าซ้ายขวาไปตามจังหวะ 2. ทิศทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะ ของการเคลื่อนไหวเป็นการโยกตัวตามจังหวะ ดนตรีซ้ายขวาสลับกัน 3. ทิศทางการเดิน ทิศทางการเดินของควาย หลวง จะมีลักษณะการเดิน 4 รูปแบบ คือ - การเดินไปข้างหน้า - การเดินไปทางด้านซ้าย - การเดินไปทางด้านขวา - การเดินในลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะการเดินในรูปแบบต่าง ๆ จะขึ้นอยู่กับ ควายหลวงเป็นคนก าหนดทิศทางว่าจะเริ่ม จากการเดินหรือวิ่งไปทิศทางใด จังหวะ ที่มา: ผู้วิจัย ท่าที่ 7 กระบวนฟ้อนในลักษณะศีรษะเอียงขวาพร้อมชูมือคล้ายกับการตั้งวง การตั้งวงของควายหลวงใหญ่มีลักษณะที่ต่างระดับกัน มือขวาตั้งวงระดับแง่ศีรษะและมือซ้ายตั้งวง ระดับปาก ดังแสดงในภาพที่ 62 จากการศึกษาพบว่า ลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายที่ท าให้เกิด กระบวนฟ้อนในลักษณะศีรษะเอียงขวาพร้อมชูมือคล้ายกับการตั้งวง สามารถวิเคราะห์การปฏิบัติ ท่าลักษณะกระบวนฟ้อนและทิศทางในการฟ้อนตามสรีระร่างกายในส่วนต่าง ๆ ของผู้ที่เป็น ควายหลวงให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 63 สามารถแบ่งเป็นลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขาและเท้า ตามตารางที่ 24 รายละเอียดดังนี้
126 ภาพที่ 62 ท่าที่ 7 กระบวนฟ้อนลักษณะศีรษะเอียงขวา ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 63 ท่าที่ 7 การปฏิบัติกระบวนฟ้อนลักษณะศีรษะเอียงขวา (1) จังหวะที่ 1 (2) จังหวะที่ 2 ที่มา: ผู้วิจัย
127 ตารางที่ 24 กระบวนฟ้อนลักษณะศีรษะเอียงขวา การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนและทิศทางการ แสดงของควายหลวงใหญ่ ดนตรี ทิศ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนตามสรีระ ร่างกาย ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่และล าตัว : เอียงขวา มือและแขน : ยกมือทั้งสองขึ้นมาเหนือ ศีรษะโดยมือทั้งสองซ้อนกันพร้อมกับม้วนมือ แล้วปล่อยออกสลับกัน ขาและเท้า : ก้าวเท้าซ้ายไปด้านหน้าเท้า ขวาอยู่ด้านหลังน้ าหนักตัวอยู่เท้าที่อยู่ ด้านหลังยืดยุบไปตามจังหวะ 2. ทิศทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะ ของการเคลื่อนไหว คือ การเน้นน้ าหนักของผู้ แสดงท่าไปอยู่ที่เท้าขวา โน้มตัวไปทางขวา และเท้าซ้ายที่อยู่ข้างหน้ามีหน้าที่ทรงตัวรับ น้ าหนักสอดรับกับเท้าขวาให้น้ าหนักอยู่ ระหว่างขาทั้งสองข้างเท่า ๆ กัน 3. ทิศทางการเดิน ทิศทางการเดินของควาย หลวง จะมีลักษณะการเดิน 4 รูปแบบ คือ - การเดินไปข้างหน้า - การเดินไปทางด้านซ้าย - การเดินไปทางด้านขวา - การเดินในลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะการเดินในรูปแบบต่าง ๆ จะขึ้นอยู่กับ ควายหลวงเป็นคนก าหนดทิศทางว่าจะเริ่ม จากการเดินหรือวิ่งไปทิศทางใด จังหวะ ที่มา: ผู้วิจัย ท่าที่ 8 กระบวนฟ้อนในลักษณะการท าท่ากางมือ โดยศีรษะจะเอียงขวาและมือ ทั้งสองข้างยกขึ้นเหนือศีรษะพร้อมกับกางมือทั้งสองข้างออกจากกัน และมีการย่อเข่าสลับกับ การท าท่ากางมือ ดังแสดงในภาพที่ 64 จากการศึกษาพบว่า ลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายที่ท าให้ เกิดกระบวนฟ้อนในลักษณะการท าท่ากางมือ สามารถวิเคราะห์การปฏิบัติท่าลักษณะกระบวนฟ้อน และทิศทางในการฟ้อนตามสรีระร่างกายในส่วนต่าง ๆ ของผู้ที่เป็นควายหลวงให้เป็นรูปธรรม
128 มากยิ่งขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 65 สามารถแบ่งเป็นลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขาและเท้า ตามตารางที่ 25 รายละเอียดดังนี้ ภาพที่ 64 ท่าที่ 8 กระบวนฟ้อนในลักษณะการท าท่ากางมือ ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 65 ท่าที่ 8 การปฏิบัติกระบวนฟ้อนลักษณะการท าท่ากางมือ (1) จังหวะที่ 1 (2) จังหวะที่ 2 ที่มา: ผู้วิจัย
129 ตารางที่25 กระบวนฟ้อนในลักษณะการท าท่ากางมือ การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนและทิศทางการ แสดงของควายหลวงใหญ่ ดนตรี ทิศ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนตามสรีระ ร่างกาย ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่และล าตัว : เอียงขวา มือและแขน : ยกมือทั้งข้างขึ้นระดับเหนือ ศีรษะแล้วม้วนมือออกเป็นตั้งมือ โดยหันฝ่า มือออกมาด้านหน้า ขาและเท้า : ก้าวเท้าซ้ายไปด้านหน้าเท้า ขวายกขึ้นไปด้านหลังพร้อมกับยืดยุบไปตาม จังหวะ 2. ทิศทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะ ของการเคลื่อนไหวเป็นการโยกตัวไปทางด้าน ด้านขวาตามจังหวะดนตรี 3. ทิศทางการเดิน ทิศทางการเดินของควาย หลวง จะมีลักษณะการเดิน 4 รูปแบบ คือ - การเดินไปข้างหน้า - การเดินไปทางด้านซ้าย - การเดินไปทางด้านขวา - การเดินในลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะการเดินในรูปแบบต่าง ๆ จะขึ้นอยู่กับ ควายหลวงเป็นคนก าหนดทิศทางว่าจะเริ่ม จากการเดินหรือวิ่งไปทิศทางใด จังหวะ ที่มา: ผู้วิจัย ท่าที่ 9 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าม้วนมือและโบกมือขวา การโบกมือของ ควายหลวงใหญ่จะใช้มือขวายกขึ้นเหนือศีรษะพร้อมกับการโบกมือตามจังหวะของดนตรีมือซ้ายจะมี ลักษณะตั้งขึ้นอยู่ระหว่างสะเอวคล้ายท่าตั้งวงล่าง และโยกตัวไปทางด้านซ้าย ปฏิบัติท่าโบกมือขวานั้น จะเป็นหนึ่งในลักษณะของการเลียนแบบการเดินหากินหญ้าของสัตว์ (ควาย) ดังแสดงในภาพที่ 66 จากการศึกษาพบว่า ลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายที่ท าให้เกิดกระบวนฟ้อนในลักษณะท่าโบกมือขวา สามารถวิเคราะห์การปฏิบัติท่าลักษณะกระบวนฟ้อนและทิศทางในการฟ้อนตามสรีระร่างกายในส่วน ต่าง ๆ ของผู้ที่เป็นควายหลวงให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 67 สามารถแบ่งเป็น ลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขาและเท้า ตามตารางที่ 26 รายละเอียดดังนี้
130 ภาพที่ 66 ท่าที่ 9 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าม้วนมือและโบกมือขวา ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 67 ท่าที่ 9 การปฏิบัติกระบวนฟ้อนลักษณะท่าม้วนมือและโบกมือขวา (1) จังหวะที่ 1 (2) จังหวะที่ 2 ที่มา: ผู้วิจัย
131 ตารางที่26 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าม้วนมือและโบกมือขวา การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนและทิศทางการ แสดงของควายหลวงใหญ่ ดนตรี ทิศ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนตามสรีระ ร่างกาย ศีรษะ : เอียงขวา ไหล่และล าตัว : เอียงไปด้านขวา มือและแขน : มือซ้ายปล่อยมือข้างล าตัว มือขวายกมือขึ้นเหนือศีรษะพร้อมกับม้วนมือ แล้วปล่อยออกโดยหันฝ่ามือออกมาด้านหน้า ขาและเท้า : ก้าวเท้าขวาไปด้านหน้าเท้า ซ้ายยกขึ้นไปด้านหลังพร้อมกับยืดยุบไปตาม จังหวะ 2. ทิศทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะ ของการเคลื่อนไหวเป็นการโยกตัวไปทางด้าน ด้านซ้ายตามจังหวะดนตรี 3. ทิศทางการเดิน ทิศทางการเดินของควาย หลวง จะมีลักษณะการเดิน 4 รูปแบบ คือ - การเดินไปข้างหน้า - การเดินไปทางด้านซ้าย - การเดินไปทางด้านขวา - การเดินในลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะการเดินในรูปแบบต่าง ๆ จะขึ้นอยู่กับ ควายหลวงเป็นคนก าหนดทิศทางว่าจะเริ่ม จากการเดินหรือวิ่งไปทิศทางใด จังหวะ ที่มา: ผู้วิจัย ท่าที่ 10 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าโบกมือซ้าย การโบกมือของควายหลวง ใหญ่ จะใช้มือซ้ายยกขึ้นเหนือศีรษะพร้อมกับการโบกมือตามจังหวะของดนตรีมือขวานั้นจะวางมือ ในระดับสะเอวและโยกตัวไปทางด้านขวา ปฏิบัติท่าโบกมือซ้ายเป็นหนึ่งในลักษณะของการเลียนแบบ การเดินหากินหญ้าของสัตว์ (ควาย) ดังแสดงในภาพที่ 68 จากการศึกษาพบว่า ท่าโบกมือซ้าย สามารถวิเคราะห์การปฏิบัติท่าลักษณะกระบวนฟ้อนและทิศทางในการฟ้อนตามสรีระร่างกาย ในส่วนต่าง ๆ ของผู้ที่เป็นควายหลวงให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 69 สามารถแบ่งเป็น ลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขาและเท้า ตามตารางที่ 27 รายละเอียดดังนี้
132 ภาพที่ 68 ท่าที่ 10 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าโบกมือซ้าย ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 69 ท่าที่ 10 การปฏิบัติกระบวนฟ้อนลักษณะท่าโบกมือซ้าย (1) จังหวะที่ 1 (2) จังหวะที่ 2 ที่มา: ผู้วิจัย
133 ตารางที่27 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าโบกมือซ้าย การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนและทิศทางการ แสดงของควายหลวงใหญ่ ดนตรี ทิศ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนตามสรีระ ร่างกาย ศีรษะ : เอียงขวาสลับกับเอียงซ้าย ไหล่และล าตัว : เอียงไปด้านขวาสลับกับ เอียงไปทางด้านซ้าย มือและแขน : มือซ้ายยกมือขึ้นเหนือศีรษะ พร้อมกับก ามือแล้วปล่อยออกโดยหันฝ่ามือ ออกมาด้านหน้า มือขวาปล่อยมือข้างล าตัว ขาและเท้า : ก้าวเท้าซ้ายไปด้านหน้าเท้า ขวายกขึ้นแล้ววางไปด้านหลังพร้อมกับยืดยุบ ไปตามจังหวะ 2. ทิศทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะ ของการเคลื่อนไหวเป็นการโยกตัวไปทางด้าน ด้านซ้ายตามจังหวะดนตรี 3. ทิศทางการเดิน ทิศทางการเดินของควาย หลวง จะมีลักษณะการเดิน 4 รูปแบบ คือ - การเดินไปข้างหน้า - การเดินไปทางด้านซ้าย - การเดินไปทางด้านขวา - การเดินในลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะการเดินในรูปแบบต่าง ๆ จะขึ้นอยู่กับ ควายหลวงเป็นคนก าหนดทิศทางว่าจะเริ่ม จากการเดินหรือวิ่งไปทิศทางใด จังหวะ ที่มา: ผู้วิจัย ท่าที่ 11 กระบวนฟ้อนลักษณะท่าโบกมือขวา การโบกมือขวาของควายหลวง ใหญ่นั้นจะมีลักษณะคล้ายกันกับท่าที่ 9 คือ ยกมือขวาขึ้นเหนือศีรษะพร้อมกับการโบกมือตามจังหวะ ของดนตรี มือซ้ายนั้นตั้งขึ้นอยู่ระหว่างสะเอวคล้ายท่าตั้งวงล่าง และโยกตัวไปทางด้านซ้าย ดังแสดง ในภาพที่ 70 จากการศึกษาพบว่า ลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายที่ท าให้เกิดกระบวนฟ้อนในลักษณะ ท่าโบกมือขวา สามารถวิเคราะห์การปฏิบัติท่าลักษณะกระบวนฟ้อนและทิศทางในการฟ้อนตามสรีระ ร่างกายในส่วนต่าง ๆ ของผู้ที่เป็นควายหลวงให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 71 สามารถ แบ่งเป็นลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขาและเท้า ตามตารางที่ 28 รายละเอียดดังนี้
134 ภาพที่ 70 ท่าที่ 11 กระบวนฟ้อนลักษณะท่าโบกมือขวา ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่ 71 ท่าที่ 11 การปฏิบัติกระบวนฟ้อนลักษณะท่าโบกมือขวา (1) จังหวะที่ 1 (2) จังหวะที่ 2 ที่มา: ผู้วิจัย
135 ตารางที่28 กระบวนฟ้อนลักษณะท่าโบกมือขวา การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนและทิศทางการ แสดงของควายหลวงใหญ่ ดนตรี ทิศ หมายเหตุ 1. การวิเคราะห์กระบวนฟ้อนตามสรีระ ร่างกาย ศีรษะ : เอียงซ้าย ไหล่และล าตัว : เอียงไปด้านซ้าย มือและแขน : มือซ้ายม้วนมือออกอยู่ระดับ สะเอว มือขวาตั้งมือและแบมืออยู่ระดับเหนือ ศีรษะโดยหันฝ่ามือออกมาด้านหน้า ขาและเท้า : ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า เท้าขวายกขึ้นไปด้านหลังพร้อมกับยืดยุบไป ตามจังหวะ 2. ทิศทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ลักษณะ ของการเคลื่อนไหวเป็นการโยกตัวไปทางด้าน ด้านซ้ายตามจังหวะดนตรี 3. ทิศทางการเดิน ทิศทางการเดินของควาย หลวง จะมีลักษณะการเดิน 4 รูปแบบ คือ - การเดินไปข้างหน้า - การเดินไปทางด้านซ้าย - การเดินไปทางด้านขวา - การเดินในลักษณะเป็นวงกลม ลักษณะการเดินในรูปแบบต่าง ๆ จะขึ้นอยู่กับ ควายหลวงเป็นคนก าหนดทิศทางว่าจะเริ่ม จากการเดินหรือวิ่งไปทิศทางใด จังหวะ ที่มา: ผู้วิจัย ท่าที่ 12 กระบวนฟ้อนในลักษณะท่าม้วนมือทั้งสองข้างต่างระดับ คือ การฟ้อน ของควายหลวงใหญ่ โดยมือซ้ายจะยกขึ้นเหนือศีรษะแขนตึง และมือขวาจะยกขึ้นเหนือศีรษะและงอ แขน ซึ่งท าให้แขนและมือทั้งสองข้างอยู่ในลักษณะต่างระดับกัน ล าตัวผู้ที่เป็นควายหลวงใหญ่จะมีการ โยกตัวตามจังหวะดนตรี โดยเน้นหนักและเอียงตัวไปในทางขวา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการเลียนแบบ การหากินหญ้าของของสัตว์ (ควาย) เช่นกัน ดังแสดงในภาพที่ 72 จากการศึกษาพบว่า ลักษณะการ เคลื่อนไหวร่างกายที่ท าให้เกิดกระบวนฟ้อนในลักษณะท่าม้วนมือทั้งสองข้างต่างระดับ สามารถ วิเคราะห์การปฏิบัติท่าลักษณะกระบวนฟ้อนและทิศทางในการฟ้อนตามสรีระร่างกายในส่วนต่าง ๆ ของผู้ที่เป็นควายหลวงให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ดังแสดงในภาพที่ 73 สามารถแบ่งเป็นลักษณะของ ศีรษะ ไหล่ ล าตัว มือ แขน ขาและเท้า ตามตารางที่ 29 รายละเอียดดังนี้