The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิทยานิพนธ์ หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ และสาขาวิชาดุริยางคศิลป์ไทย เรื่อง กระบวนการฝึกทักษะการเป่าปี่ชวา เพลงระบำสี่บท ตามแนวทางของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) ผู้แต่ง ศักดิ์สิทธิ์ ฤทธิ์รอด ปี 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

กระบวนการฝึกทักษะการเป่าปี่ชวา เพลงระบำสี่บท ตามแนวทางของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) ศักดิ์สิทธิ์ ฤทธิ์รอด ปี 2565

วิทยานิพนธ์ หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ และสาขาวิชาดุริยางคศิลป์ไทย เรื่อง กระบวนการฝึกทักษะการเป่าปี่ชวา เพลงระบำสี่บท ตามแนวทางของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) ผู้แต่ง ศักดิ์สิทธิ์ ฤทธิ์รอด ปี 2565

87 ท านองปี่ชวาเพลงสะระบุหร่ง (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 1 - - - ม - ซ - ด ทฺ ลฺ ซฺ - ด – ร ม ล ซ ร ม ฟ ล ซ ฟ ด ฟ ม ฟ ร ม ด ร ท านองปี่ชวาเพลงสะระบุหร่ง (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 2 ร ด ร ร ร ม ร ร ม ล ซ ร ม ร ด ลฺ ม ม ม ด ล ด ซ ล ม ซ ม ล ซ ล ด ร ผลการวิเคราะห์กลวิธีพิเศษ ในประโยคที่ 1 ห้องที่ 3 ตัวโน้ตเสียง ซ ซึ่งตรงกับเสียง “ฮ่อ” พบกลวิธีการประคองลิ้น ประคองลมเพื่อประคองเสียง “ฮ่อ” ไม่มีความดังจนเกินไปในท านองปี่ชวาเที่ยวกลับต้นมีการเพิ่มการ ลักจังหวะและการเก็บพยางค์ถี่ๆ มากขึ้นกว่าเที่ยวแรกเพื่อเพิ่มความซับซ้อนในการเป่าปี่ชวามากขึ้น เพื่อให้เข้าใจลีลาในการเป่าปี่ชวา ในประโยคที่ 2 พบกลวิธีการตอดลิ้นตอดลม ในห้องที่ 1 – 2 ตัวโน้ต เสียง ร ด ร ร ร ม ร ร และ ในห้องที่ 5 - 8 ตัวโน้ตเสียง ม ม ม ด ล ด ซ ล ม ซ ม ล ซ ล ด ร พบ กลวิธีการกลับลิ้นกลับลม เป็นการด าเนินปี่ชวาที่ต้องมีการใช้อวัยวะลิ้นและลมโยกขึ้นโยกลงไปมามี ความยากล าบากในการเป่าปี่ชวาผู้ถ่ายทอดท านองปี่ชวามีจุดประสงค์สอดแทรกกลวิธีนี้เพื่อเพิ่มความ ซับซ้อนให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการใช้ลิ้น การใช้ลมในการเป่าปี่ชวาให้อย่างคล่องแคล่ว ท านองปี่ชวาเพลงสะระบุหร่ง (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 3 - - ซ ล ซ ด ร ม ฟํ ม ฟํ ล ซ ฟํ ม ร ฟํ ซ ฟํ ล ซ ฟํ ม ร ด ซ ล ท ด ม ร ด ท านองปี่ชวาเพลงสะระบุหร่ง (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 4 ท ซ ล ท ด ล ท ด ร ท ด ร ม ด ร ม ล ซ ร ม ฟํ ล ซ ฟํ ด ฟํ ม ฟํ ร ม ด ร ผลการวิเคราะห์กลวิธีพิเศษ ในประโยคที่ 3 ห้องที่ 1 ห้องที่ 2 และห้องที่ 7 ตัวโน้ตเสียง ซ ซึ่งตรงกับเสียง “ฮ่อ” พบ กลวิธีการประคองลิ้นประคองลมเป็นช่วง ๆ เพื่อประคองเสียง “ฮ่อ” ไม่ให้ดังจนเกินไปท านองมีการ เก็บเป็นพยางค์ถี่ๆ ทั้งหมดเป็นการเพิ่มความซับซ้อนท านองปี่ชวาให้มากขึ้นกว่าเที่ยวแรก ในประโยคที่ 4 ห้องที่ 1 ตัวโน้ตเสียง ซ (เสียง “ฮ่อ”) พบกลวิธีการประคองลิ้นประคองลมในประโยคนี้ท านองปี่ชวามี การแปรจากท านองหลักเป็นท านองเก็บทั้งหมดเพื่อแสดงถึงความคล่องตัวและแม่นย าในการใช้ลม การใช้ลิ้น การใช้นิ้ว


88 ท านองปี่ชวาเพลงสะระบุหร่ง (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 5 ร ด ร ร ร ม ร ร ร ซ ร ร ร ม ร ร ซ ล ซ ด ซ ด ร ม ซ ล ซ ม ซ ม ร ด ท านองปี่ชวาเพลงสะระบุหร่ง (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 6 - - ซ ด ท ล ท ด ท ล ร ด ท ล ท ด ซ ล ซ ร ซ ม ร ด ซ ด ท ด ล ท ซ ล ผลการวิเคราะห์กลวิธีพิเศษ ในประโยคที่ 5 พบกลวิธีการตอดลิ้นตอดลม ในห้อง ที่ 1 – 5 ตัวโน้ตเสียง ร ด ร ร ร ม ร ร ร ซ ร ร ร ม ร ร ซ ซ ซ เพื่อเน้นเสียงให้มีความชัดเจนในลักษณะของการตอดเสียงสั้น ๆ หลายพยางค์ ในประโยคที่ 6พบกลวิธีการประคองลม ในห้องที่ 1 - 4 ตัวโน้ตเสียง ซ ด ท ล ท ด ท ล ร ด ท ล ท ด เพื่อใช้ลมประคองเสียงในช่วงเสียงสูงของปี่ชวาไม่ให้เพี้ยนท าให้เกิดความไพเราะ และพบกลวิธีปริบ เสียง ในห้องที่ 5 ตัวโน้ตเสียง ซ ล เพื่อท าให้เกิดเสียงพิเศษใช้สอดแทรกเพื่อให้การด าเนินท านองปี่ ชวามีความชัดเจนในลักษณะเสียงสั้น ท านองปี่ชวาเพลงสะระบุหร่ง (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 7 ท ม ร ล ท ล ซ ม - ร - ม - ซ - ล ม ม ม ด ล ด ซ ล ม ซ ม ล ซ ล ด ร ท านองปี่ชวาเพลงสะระบุหร่ง (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 8 - - - ร - ร ร ร ม ร ด ล - ซ - ด ร ม ซ ล - ด - ร ม ล ซ ร ม ร ด ล ผลการวิเคราะห์กลวิธีพิเศษ ในประโยคที่ 7 ในห้องที่ 5 – 8 ตัวโน้ตเสียง ม ม ม ด ล ด ซ ล ม ซ ม ล ซ ล ด ร พบกลวิธี การกลับลิ้นกลับลมเป็นการด าเนินปี่ชวาที่ต้องมีการใช้อวัยวะลิ้นและลมโยกขึ้นโยกลงไปมามีความ ยากล าบากในการเป่าปี่ชวาผู้ถ่ายทอดท านองปี่ชวามีจุดประสงค์สอดแทรกกลวิธีนี้เพื่อเพิ่มความ ซับซ้อนให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการใช้ลิ้น การใช้ลมในการเป่าปี่ชวาให้อย่างคล่องแคล่ว ในประโยคที่ 8 ในห้องที่ 2 ตัวโน้ตเสียง ร ร ร เพื่อเน้นเสียงให้มีความชัดเจน 3 พยางค์ และพบกลวิธีการประคองลิ้น ประคองลมเสียง “ฮ่อ” ในห้องที่ 4 เพื่อประคองเสียงไม่ให้ดังจนเกินไปท าให้เกิดความไพเราะมากขึ้น ท านองปี่ชวาเพลงสะระบุหร่ง (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 9 ม ม ม ซ ม ซ ม ล ม ซ ม ล ซ ล ด ร ท ล ซ ร ซ ม ร ด ร ม ซ ร ซ ม ม ม ในประโยคที่ 9 พบกลวิธีการกลับลิ้นกลับลม ในห้องที่ 1 - 4 ตัวโน้ตเสียง ม ม ม ซ ม ซ ม ล ม ซ ม ล ซ ล ด ร เป็นการด าเนินปี่ชวาที่ต้องมีการใช้อวัยวะลิ้นและลมโยกขึ้นโยกลงไปมา ในห้องที่ 8 พบกลวิธีการตอดลิ้นตอดลม ตัวโน้ตเสียง ม ม ม เพื่อเน้นเสียงให้มีความชัดเจน 3 พยางค์ ในเที่ยวกับ


89 ต้นท านองปี่ชวามีการเก็บเป็นพยางค์ถี่ๆ ทั้งหมด แสดงให้เห็นถึงการเพิ่มความซับซ้อนให้ผู้เรียนได้ฝึก การเป่าท านองปี่ชวาที่หลากหลาย 2.3.4 กลวิธีในการบรรเลงปี่ชวาที่ปรากฏในเพลงบลิ่ม ท านองปี่ชวาเพลงบลิ่ม (เที่ยวแรก) ประโยคที่ 1 - - - ม - ม ม ม - - ซ ล ซ ด ร ม ม ซฺ ม ร ม ซ ม ร ด ซ ล ท ด ม ร ด ท านองปี่ชวาเพลงบลิ่ม (เที่ยวแรก) ประโยคที่ 2 ร ด ร ร ร ม ร ร ร ซ ร ร ร ม ร ร ซ ล ซ ร ซ ม ร ด ร ม ซ ร ซ ม ม ม พบกลวิธีการตอดลม ในห้องที่ 2 ตัวโน้ตเสียง ม ม ม เพื่อเน้นเสียงให้มีความชัดเจนและช่วย ประคองเสียงปี่ชวาไม่ให้เพี้ยน และพบกลวิธีการใช้เสียงปริบ ในห้องที่ 6 ตัวโน้ตเสียง ม ซ เพื่อท าให้ เกิดเสียงพิเศษใช้สอดแทรกเพื่อให้การด าเนินท านองปี่ชวามีความชัดเจนในลักษณะเสียงสั้นพบกลวิธี การตอดลิ้นตอดลม ในห้องที่ 1 – 4 ตัวโน้ตเสียง ร ด ร ร ร ม ร ร ร ซ ร ร ร ม ร ร และ ในห้องที่ 8 ตัวโน้ตเสียง ม ม ม เพื่อเน้นเสียงให้มีความชัดเจนและช่วยประคองเสียงปี่ชวาไม่ให้เพี้ยน ท านองปี่ชวาเพลงบลิ่ม (เที่ยวแรก) ประโยคที่ 3 ซ ล ซ ร ซ ม ร ด ท ล ซ - ด – ร ม - - - - - ร - ม - ร - ม - ม ม ม ท านองปี่ชวาเพลงบลิ่ม (เที่ยวแรก) ประโยคที่ 4 ท ท ท ร ท ท ท ม ท ร ท ม ร ม ซ ล ซ ม ร ท ม ร ท ล ร ท ล ซ ท ล ซ ม ผลการวิเคราะห์กลวิธีพิเศษ ในประโยคที่ 3 พบกลวิธีการตอดลิ้นตอดลม ในห้องที่ 8 ตัวโน้ตเสียง ม ม ม เพื่อเน้นเสียงให้ มีความชัดเจนทั้งหมด 3 พยางค์ ในประโยคที่ 4 ในห้องที่ 1 – 4 ตัวโน้ตเสียง ท ท ท ร ท ท ท ม ร ม ซ ล พบกลวิธีการกลับลิ้นกลับลมเป็นการด าเนินปี่ชวาที่ต้องมีการใช้อวัยวะลิ้นและลมโยกขึ้นโยกลงไป มา ท านองปี่ชวาในประโยคที่ 4 เป็นการด าเนินท านองปี่ชวาที่เก็บเป็นพยางค์ถี่ๆ ทั้งหมด ท านองปี่ชวาเพลงบลิ่ม (เที่ยวแรก) ประโยคที่ 5 ท ล ซ ร ซ ม ร ด ร ม ซ ร ซ ม ม ม ซ ร ม ซ ม ล ม ซ ม ร ด ซ ซ ม ร ด ท านองปี่ชวาเพลงบลิ่ม (เที่ยวแรก) ประโยคที่ 6 ร ด ร ร ร ม ร ร ร ซ ร ร ร ม ร ร ด ล ซ ร ซ ม ร ด ท ล ซ - ด – ร ม


90 ผลการวิเคราะห์กลวิธีพิเศษ ในประโยคที่ 5 พบวิธีการตอดลิ้นตอดลม ในห้องที่ 4 ตัวโน้ตเสียง ม ม ม เพื่อเน้นเสียงให้มี ความชัดเจน 3 พยางค์ ห้องที่ 6 ตัวโน้ตเสียง ม ล พบกลวิธีการปริบเสียงเพื่อให้เกิดเสียงพิเศษในการ ด าเนินท านองเสียงสั้น ห้องที่ 7 ตัวโน้ตเสียง ซ ซึ่งตรงกับเสียง “ฮ่อ” พบกลวิธีในการประคองลิ้น ประคองลมเพื่อไม่ให้เกิดเสียงที่ดังจนเกินไปท าให้เสียงออกมาได้ไพเราะ ประโยคที่ 6 ในห้องที่ 1 – 4 ตัวโน้ตเสียง ร ด ร ร ร ม ร ร ร ซ ร ร ร ม ร ร พบกลวิธีการตอดลิ้นตอดลมเพื่อเน้นเสียงให้มีความ ชัดเจน ๆ หลายพยางค์ ท านองปี่ชวาเพลงบลิ่ม (เที่ยวแรก) ประโยคที่ 7 ซ ล ซ ร ซ ม ร ด ร ม ซ ร ซ ม ม ม - - - ซ - - - ล - - - ด - - - ร ท านองปี่ชวาเพลงบลิ่ม (เที่ยวแรก) ประโยคที่ 8 - - - ซ - - - ล - ร - ล - ด - ร - - - - - ด - ร - ด - ร - ร ร ร ผลการวิเคราะห์กลวิธีพิเศษ ในประโยคที่ 7 พบวิธีการตอดลิ้นตอดลม ในห้องที่ 4 ตัวโน้ตเสียง ม ม ม เพื่อเน้นเสียงให้มี ความชัดเจนในลักษณะ 3 พยางค์ ในประโยคที่ 8 ห้องที่ 1 ตัวโน้ตเสียง ซ ตรงกับเสียง “ฮ่อ” พบ กลวิธีการควงนิ้วเพื่อเพิ่มความไพเราะในท านองปี่ชวาและพบวิธีการตอดลิ้นตอดลม ในห้องที่ 8 ตัว โน้ตเสียง ร ร ร เพื่อเน้นเสียงให้มีความชัดเจน 3 พยางค์ ท านองปี่ชวาเพลงบลิ่ม (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 1 ซ ม ม ม ซ ม ม ม - - ซ ล ซ ด ร ม ม ล ม ร ม ซ ม ร ด ซ ล ท ด ม ร ด ท านองปี่ชวาเพลงบลิ่ม (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 2 ร ด ร ร ร ม ร ร ร ซ ร ร ร ม ร ร ด ล ซ ร ซ ม ร ด ร ม ซ ร ซ ม ม ม ผลการวิเคราะห์กลวิธีพิเศษ ในประโยคที่ 1 พบวิธีการตอดลิ้นตอดลม ในห้องที่ 1 – 2 ตัวโน้ตเสียง ม ม ม ม ม ม เพื่อให้เกิดเสียงปี่ชวาที่ชัดเจนในท านองกลับต้นนี้มีการเพิ่มการตอดเสียงเพื่อเพิ่มความซับซ้อนขึ้นใน การตอดเสียงอีกระดับหนึ่ง ห้องที่ 3 ห้องที่ 4 และห้องที่ 8 ตัวโน้ตเสียง ซ ตรงกับเสียง “ฮ่อ” พบ กลวิธีในการประคองลิ้นประคองลมเพื่อไม่ให้เสียงปี่ชวามีความดังจนเกินไปและพบกลวิธีการใช้ปริบ เสียง ในห้องที่ 6 ตัวโน้ตเสียง ม ซ เพื่อท าให้เกิดเสียงพิเศษใช้สอดแทรกเพื่อให้การด าเนินท านองปี่ ชวามีความชัดเจนในลักษณะเสียงสั้น


91 ท านองปี่ชวาเพลงบลิ่ม (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 3 ซ ล ซ ร ซ ม ร ด ท ล ซ - ด – ร ม - - - - - ร - ม - ร - ม - ม ม ม ท านองปี่ชวาเพลงบลิ่ม (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 4 ท ท ท ร ท ท ท ม ท ร ท ม ร ม ซ ล ซ ม ร ท ม ร ท ล ท ล ซ - ด - ร ม ผลการวิเคราะห์กลวิธีพิเศษ ในประโยคที่ 3 พบกลวิธีการตอดลิ้นตอดลม ในห้องที่ 8 ตัวโน้ตเสียง ม ม ม เพื่อเน้นเสียงให้ มีความชัดเจนทั้งหมด 3 พยางค์ ในประโยคที่ 4 ในห้องที่ 1 – 4 ตัวโน้ตเสียง ท ท ท ร ท ท ท ม ร ม ซ ล พบกลวิธีการกลับลิ้นกลับลมเป็นการด าเนินปี่ชวาที่ต้องมีการใช้อวัยวะลิ้นและลมโยกขึ้นโยกลงไป มา ท านองปี่ชวาในประโยคที่ 4 เป็นการด าเนินท านองปี่ชวาที่เก็บเป็นพยางค์ถี่ๆ ทั้งหมด ท านองปี่ชวาเพลงบลิ่ม (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 5 ซ ล ซ ร ซ ม ร ด ร ม ซ ร ม ซ - ม - - ซ ล ด ร ด ม ม ร ด ซ ซ ม ร ด ท านองปี่ชวาเพลงบลิ่ม (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 6 ร ด ร ร ร ม ร ร ร ซ ร ร ร ม ร ร ด ล ซ ร ซ ม ร ด ท ล ซ - ด – ร ม ผลการวิเคราะห์กลวิธีพิเศษ ในประโยคที่ 5 พบกลวิธีการใช้ปริบเสียง ในห้องที่ 6 ตัวโน้ตเสียง ด ร เพื่อท าให้เกิดเสียง พิเศษใช้สอดแทรกเพื่อให้การด าเนินท านองปี่ชวามีความชัดเจนในลักษณะเสียงสั้น ห้องที่ 7 ตัวโน้ต เสียง ซ ตรงกับเสียง “ฮ่อ” เพื่อประคองเสียงไม่ให้มีความดังจนเกินไปท าให้เกิดความไพเราะ ประโยค ที่6 พบกลวิธีการตอดลิ้นตอดลม ในห้องที่ 1 – 4 ตัวโน้ตเสียง ร ด ร ร ร ม ร ร ร ซ ร ร ร ม ร ร เพื่อ เน้นเสียงให้มีความชัดเจนในลักษณะหลายพยางค์ และพบกลวิธีการประคองลม ในห้องที่ 5 ตัวโน้ต เสียง ด เพื่อใช้ลมประคองเสียงในช่วงเสียงแหบสูงไม่ให้เกิดความเพี้ยนเสียงท าให้เกิดเสียงปี่ชวที่มี ความไพเราะ ท านองปี่ชวาเพลงบลิ่ม (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 7 ซ ล ซ ร ซ ม ร ด ร ม ซ ร ซ ม ม ม - - - ซ - - - ล - - - ด - - - ร ท านองปี่ชวาเพลงบลิ่ม (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 8 - - - ซ - - - ล - ร - ล - ด - ร - - - - - ด - ร - ด - ร - ร ร ร


92 ผลการวิเคราะห์กลวิธีพิเศษ ในประโยคที่ 7 พบวิธีการตอดลิ้นตอดลม ในห้องที่ 4 ตัวโน้ตเสียง ม ม ม เพื่อเน้นเสียงให้มี ความชัดเจนในลักษณะ 3 พยางค์ ในประโยคที่ 8 ห้องที่ 1 ตัวโน้ตเสียง ซ ตรงกับเสียง “ฮ่อ” พบ กลวิธีการควงนิ้วเพื่อเพิ่มความไพเราะในท านองปี่ชวาและพบวิธีการตอดลิ้นตอดลม ในห้องที่ 8 ตัว โน้ตเสียง ร ร ร เพื่อเน้นเสียงให้มีความชัดเจน 3 พยางค์ จากการวิเคราะห์กลวิธีพิเศษที่พบในท านองปี่ชวาเพลงระบ าสี่บทผู้วิจับพบว่าครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) จะสอดแทรกกลวิธีเทคนิคในการบังคับเสียงต่าง ๆ ในการเป่าปี่ชวาไว้ใน ท านองปี่ชวาเพลงระบ าสี่บทเพื่อให้ผู้เรียนฝึกทักษะการฝึกบังคับเสียงของปี่ชวาระหว่าง การใช้ลม การใช้ลิ้น และการใช้นิ้ว จะต้องมีความสัมพันธ์กันจะท าให้เกิดเสียงปี่ชวาที่สมบูรณ์ จุดเด่นของการ เป่าปี่ชวาเพลงระบ าสี่บทจะอยู่ตรงเทคนิคการตอดลิ้นตอดลมในลักษณะตัดเสียงสั้น ลักษณะตอด 3 พยางค์ 4 พยางค์ ลักษณะตอดย้ า ๆ เสียง การกลับลิ้นกลับลม อีกทั้งเสียงของปี่ชวามีความแหลม สูงมีเสียงที่ดังและเพี้ยนเสียงได้ง่ายจะต้องใช้การประคองลิ้นประคองลม การใช้นิ้วพิเศษต่าง ๆ ได้แก่ การตีนิ้ว การควงนิ้ว การปริบเสียง การสะบัด 3 เสียง ครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) จะเน้นย้ า ตรงจุดนี้มากในการฝึกทักษะให้กับผู้เรียน เมื่อผ่านกระบวนการเรียนในเพลงชุดนี้แล้วจะท าให้มีความ คล่องตัวมากขึ้นสามารถบังคับเสียงปี่ชวา 2.4 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวาในเพลงระบ าสี่บท ผู้วิจัยได้ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวาในเพลงระบ าสี่บท ซึ่งประกอบไปด้วย เพลงพระทอง เพลงเบ้าหลุด เพลงสะระบุหร่ง เพลงบลิ่ม มีดังนี้ เพลงพระทอง สองชั้น ประโยคที่ 1 (ท านองหลัก) ขวา - - - ด - - ร ร - - - ม - - ร ร - ม – ม - ม - - ร ร - - ด ด – ล ซ้าย - - - ด - ร - - - - - ม - ร - - - ม - ซ - ม - ร - - - ด - - - ม ประโยคที่ 1 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) - ซ - ด - - ร ม - ล - ซ - ม - ร - - - ม ซ - - - ร - ม - ร - ด - ล ประโยคที่ 1 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ดังนั้นระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวาจึงมี ความสัมพันธ์กัน ลักษณะของส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า ในห้องที่ 1 ท านองปี่ชวามีการผันแปรจาก ท านองหลักโดยเพิ่มตัวโน้ตเสียง ซอล เข้ามาแต่ยังยึดลูกตกท้ายห้องเสียงเดิมอยู่คือ เสียง โด ส่วนใน ห้องที่ 2 มีการเปลี่ยนแปลงลูกตกท้ายห้องเป็นเสียง มี ในห้องที่ 3 มีการผันแปรจากท านองหลักโดย เพิ่มตัวโน้ตเสียง ลา (สูง) เพื่อเชื่อมท านองกับลูกตกในห้องที่ 2 และเปลี่ยนแปลงลูกตกท้ายห้องเป็น ตัวโน้ตเสียง ซอล (สูง) เพื่อเชื่อมท านองในห้องต่อไป ในห้องที่ 4 มีการเปลี่ยนแปลงตัวโน้ตตัวหน้า


93 จากเสียง เร เป็น เสียง มี แต่ยังยึดลูกตกท้ายห้องเสียงเดิมคือ เสียง เร เพื่อเป็นการรักษาเสียงลูกตก ของวรรคเพลง ผู้ประพันธ์ส านวนกลอนปี่ชวาได้ประดิษฐ์ท านองนี้ขึ้นเพื่อแสดงให้เห็นถึงท่วงท่าลีลา เฉพาะและแสดงให้เห็นถึงหน้าที่ของปี่ชวาที่จะต้องบรรเลงเป็นผู้น าในการขึ้นเพลง ประโยคที่ 2 (ท านองหลัก) ขวา - - ด ด - ร - ซ - - - - - ซล- ด - ซ - ด - - ร ม - ร - - ม ม - ร ซ้าย - ด - - - ร – ร - - ม - ฟ - - ด - ร – ด - - - ม - ร - ม - - - ร ประโยคที่ 2 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) - ด - ร - ม - ซ - ม - ซ - ล – ด - ซ - ด - - ร ม ฟํ ม ฟํ ล ซ ฟํ ม ร ประโยคที่ 2 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน แต่มีการใช้โน้ตจรคือเสียง ฟา ในห้องที่ 7 และ 8 เพื่อให้ท านองปี่ชวามีความสมบูรณ์ ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า ลูกตก ของท านองปี่ชวาเป็นลูกตกเดียวกับท านองหลัก ในห้องที่ 1 – 5 ผู้ประพันธ์ส านวนกลอนปี่ชวาได้ ประดิษฐ์ส านวนกลอนที่ใกล้เคียงกับท านองหลักอันแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างท านองหลัก และท านองปี่ชวา มีการยักเยื้องจังหวะระหว่างตัวโน้ตท้ายห้องที่ 5 – 6 ในห้องที่ 7 – 8 เป็นการ ด าเนินท านองเก็บแสดงให้เห็นการบรรเลงส านวนกลอนปี่ชวาที่หลากหลายโดยท านองปี่ชวามีความ แยบยลสอดคล้องไปกับท านองหลัก ประโยคที่ 3 (ท านองหลัก) ขวา - - - - - ด - ร - ม - ร - - ม ม - - - - - ด - ร - ม - ร - - ด ด ซ้าย - - - - - ด - ร - ม - ร - ม - - - - - - - ด - ร - ม - ร - ด - - ประโยคที่ 3 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) - - - - - ด - ร - ม - ร ซ ม ม ม ร ม ซ ล - ด - ร ม ร ด ซ ซ ม ร ด ประโยคที่ 3 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันไม่พบการใช้โน้ตจร ลักษณะส านวนกลอน พบว่า ในห้องที่ 4 มีการเพิ่มตัวโน้ตเสียง ซอล (สูง) เพื่อเพิ่มพยางค์ถี่ขึ้นในห้อง ที่ 5 ท านองหลักมีการหยุดจังหวะแต่ผู้ประพันธ์ส านวนกลอนได้ทรอดแทรกตัวโน้ตเป็นการเก็บพยางค์ ถี่เข้าไปเพื่อให้ท านองปี่ชวาเกิดความโดดเด่นขึ้น ในห้องที่ 7 พบลูกตกระหว่างท านองหลักและท านอง ปี่ชวาไม่สัมพันธ์กันทั้งนี้ผู้ประพันธ์มีเจตนาเพื่อที่จะเชื่อมกลอนในห้องถัดไปให้มีความสมบูรณ์การ ด าเนินท านองปี่ชวาในประโยคนี้เป็นการเป่าเก็บบ้างเป็นบางห้องแสดงให้เห็นพถึงความกลมกลืน ระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวาได้อย่างแยบยล


94 ประโยคที่ 4 (ท านองหลัก) ขวา - ม – ม - ร - ม - ม - ม - ม – ม - ม – ม - ร - ด - ร - - ม ม - ร ซ้าย - ซ - ม - ร – ซ - ด - ล - ซ - ม - ซ - ม - ร – ด - ร - ม - - - ร ประโยคที่ 4 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) - ซ – ม - ร - ซ - ด - ล - ซ - ม - ซ - ม - ร - ด ฟ ม ฟ ล ซ ฟ ม ร ประโยคที่ 2 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน แต่มีการใช้โน้ตจรคือเสียง ฟา ในห้องที่ 7 และ 8 ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า ผู้ประพันธ์ส านวนกลอนปี่ชวาได้ประดิษฐ์ ส านวนกลอนปี่ชวาที่ใกล้เคียงกับท านองหลักเป็นส่วนใหญ่ที่จะมีการเก็บเป็นพยางค์ถี่ ในห้อง 7 – 8 เพื่อแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวา ประโยคที่ 5 (ท านองหลัก) ขวา - - ซ ล - ด - ล - - ซ ล - - ด ร - ม - ร - - ด ด - ร ม ร - - - ด ซ้าย - ม - - ซ - ซ - ซ ม - - ซ ล - - - ม - ร - ด - - ร - - - ด ล - ซ ประโยคที่ 5 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) ม ซ ม ด ล ด ซ ล ม ซ ม ล ซ ล ด ร ม ร ด ล ซ ล ด ร ม ร ด ซ ซ ม ร ด ประโยคที่ 5 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวนกลอน ปี่ชวา พบว่า ผู้ประพันธ์ส านวนกลอนเป็นส านวนเก็บพยางค์ถี่ทุกห้องเพื่อแสดงให้เห็นถึงการบรรเลง ปี่ชวาที่ฉีกออกจากท านองหลักท าให้มีความโดดเด่นมากขึ้นมีการเปลี่ยนลูกตกในห้องที่ 5 – 7 เพื่อเชื่อมกลอนปี่ชวาให้เกิดร้อยเรียงกันท าให้สัมผัสของกลอนมีความสัมพันธ์กันไพเราะน่าฟัง ประโยคที่ 6 (ท านองหลัก) ขวา - - - - - ด - ร - ม - ร - - ด ด - ม – ม - ร - - ด ด - - ร ร - ม ซ้าย - - - - - ด - ร - ม - ร - ด - - - ซ - ม - ร - ด - - - ร - - - ม ประโยคที่ 6 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) - - - - - ด - ร - ม - ร - ด ด ด - ซ - ม - ร - ด - ซ - ด - ร - ม


95 ประโยคที่ 6 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวนกลอน พบว่า มีความใกล้เคียงกับท านองหลักมีการผันแปรจากท านองหลักในห้องที่ 7 โดยเพิ่มเสียง ซอล เพื่อแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวา ประโยคที่ 7 (ท านองหลัก) ขวา - - - - - ด - ร - ม - ร - - ด ด - ม – ม - ร - ม - ม - ม - ม - ร ซ้าย - - - - - ด - ร - ม - ร - ด - - - ซ - ม - ร - ซ - ล - ซ - ม - ร ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) ประโยคที่ 7 - - - - - ด - ร - ม - ร - ด ด ด - ซ - ม - ร - ซ - ล - ซ - ม - ร ประโยคที่ 7 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวนกลอน พบว่า มีความใกล้เคียงกับท านองหลักทั้งหมด ประโยคที่ 8 (ท านองหลัก) ขวา - - ซ ล - ด - ล - - ซ ล - - ด ร - ม - ร - - ด ด - ร ม ร - - - ด ซ้าย - ม - - ซ - ซ - ซ ม - - ซ ล - - - ม - ร - ด - - ร - - - ด ล - ซ ประโยคที่ 8 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) - - - ซ - - - ล - ร - ล - ด - ร - ม - ร - ด ด ด ร ด ม ร ด ล - ด ประโยคที่ 8 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวนกลอน พบว่า มีความใกล้เคียงกับท านองเกือบทั้งหมดจะมีในห้องที่ 7 ที่ท านองปี่ชวามีการผันแปรจาก ท านองหลักในลักษณะเก็บพยางค์ถี่เป็นการรักษาท านองหลักแต่เพิ่มกลวิธีพิเศษเข้าไปแทนนับเป็น ความละเอียดละออในการบรรเลงปี่ชวา ประโยคที่1 (ท านองหลัก) เที่ยวกลับต้น ขวา - - - ด - - ร ร - - - ม - - ร ร - ม – ม - ม - - ร ร - - ด ด – ล ซ้าย - - - ด - ร - - - - - ม - ร - - - ม - ซ - ม - ร - - - ด - - - ม ประโยคที่ 1 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) ร ด ร ร ร ม ร ร ร ซ ร ร ร ม ร ร ด ล ซ ล ด ร ม ซ ม ล ม ซ ม ร ด –


96 ประโยคที่ 1 เที่ยวกลับต้น ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ใน กลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวน กลอนปี่ชวา พบว่า เป็นการเก็บพยางค์ถี่ทั้งหมดผู้ประพันธ์ประดิษฐ์ส านวนกลอนในเที่ยวกลับต้นให้มี ความซับซ้อนกว่าเที่ยวแรกและมีการยักเยื้องจังหวะในตัวโน้ตห้องที่ 8 เพื่อเพิ่มท่วงท่าลีลาให้มีความ โดดเด่นยิ่งขึ้น ลูกตกในห้องที่ 5-8 พบว่าไม่สัมพันธ์กันผู้ประพันธ์เจตนาประดิษฐ์ส านวนเพื่อให้สัมผัส กลอนเชื่อมต่อกันได้อย่างแยบยล ประโยคที่ 2 (ท านองหลัก) เที่ยวกลับต้น ขวา - - ด ด - ร - ซ - - - - - ซล- ด - ซ - ด - - ร ม - ร - - ม ม - ร ซ้าย - ด - - - ร – ร - - ม - ฟ - - ด - ร – ด - - - ม - ร - ม - - - ร ท านองปี่ชวาเพลงพระทอง (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 2 ล – ซ ล ด ร ม ซ - ม ร ซ ด ม ร ด ล ซ ร ม ฟํ ล ซ ฟํ ด ฟํ ม ฟํ ร ม ด ร ประโยคที่ 2 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน แต่มีการใช้โน้ตจรคือเสียง ฟา ในห้องที่ 6 และ 7 ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า ผู้ประพันธ์ส านวนกลอนปี่ชวาได้ประดิษฐ์ ส านวนกลอนปี่ชวาที่มีการเก็บเป็นพยางค์ถี่ มีการยักเยื้องจังหวะในห้องที่ 1 เพื่อเชื่อมจังหวะจาก ประโยคที่ 1 แสดงให้เห็นถึงความวิจิตรในการใช้ส านวนกลอนปี่ชวา ประโยคที่ 3 (ท านองหลัก) เที่ยวกลับต้น ขวา - - - - - ด - ร - ม - ร - - ม ม - - - - - ด - ร - ม - ร - - ด ด ซ้าย - - - - - ด - ร - ม - ร - ม - - - - - - - ด - ร - ม - ร - ด - - ประโยคที่ 3 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) - - - - - ด - ร - ม - ร ซ ม ม ม ฟํ ซ ฟํ ล ซ ฟํ ม ร ด ซ ล ท ด ม ร ด ประโยคที่ 3ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน แต่มีการใช้โน้ตจรคือเสียง ฟา ในห้องที่ 6 และ 7 ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า ลูกตกระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวามีความสัมพันธ์ กัน ในตัวโน้ต3 ห้องแรกส านวนกลอนด าเนินท านองใกล้เคียงกับท านองหลัก ในห้องที่ 4 – 8 ส านวน กลอนปี่ชวามีการเก็บพยางค์ถึ่เพื่อแสดงให้เห็นถึงส านวนกลอนปี่ชวาที่คมคายวิจิตรพิสดาร


97 ประโยคที่ 4 (ท านองหลัก) เที่ยวกลับต้น ขวา - ม – ม - ร - ม - ม - ม - ม – ม - ม – ม - ร - ด - ร - - ม ม - ร ซ้าย - ซ - ม - ร – ซ - ด - ล - ซ - ม - ซ - ม - ร – ด - ร - ม - - - ร ประโยคที่ 4 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) - ซ - ม - ร - ซ - ด - ล - ซ ล – ซ ม - – ซ ล ซ ม ร ด ฟํ ด ฟํ ล ซ ฟํ ม ร ประโยคที่ 4 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน แต่มีการใช้โน้ตจรคือเสียง ฟา ในห้องที่ 6 และ 7 เพื่อเชื่อมกลอนให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า วรรคแรกส านวนกลอนมีความใกล้เคียงกับท านองหลักแต่มีการใช้กลวิธีพิเศษเพื่อปรุงแต่งให้เห็นถึง ความเป็นเอกลักษณ์ของปี่ชวาทในวรรคหลังห้องที่ 5 มีการยักเยื้องจังหวะแล้วกลับมาเก็บพยางค์ถี่ใน ห้องต่อไปแสดงให้เห็นถึงความวิจิตรพิสดารในการบรรเลงปี่ชวา ประโยคที่ 5 (ท านองหลัก) เที่ยวกลับต้น ขวา - - ซ ล - ด - ล - - ซ ล - - ด ร - ม - ร - - ด ด - ร ม ร - - - ด ซ้าย - ม - - ซ - ซ - ซ ม - - ซ ล - - - ม - ร - ด - - ร - - - ด ล - ซ ท านองปี่ชวาเพลงพระทอง (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 5 ม ม ม ด ล ด ซ ล ม ซ ม ล ซ ล ด ร ม ร ด ซ ล ท ด ร ด ซ ล ท ด ม ร ด ประโยคที่ 5 เที่ยวกลับต้น ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ใน กลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวน กลอนปี่ชวา พบว่า ผู้ประพันธ์ส านวนกลอนเป็นส านวนเก็บพยางค์ถี่ทุกห้องเพื่อแสดงให้เห็นถึงการ บรรเลง ปี่ชวาที่ฉีกออกจากท านองหลักท าให้มีความโดดเด่นมากขึ้นมีการเปลี่ยนลูกตกในห้องที่ 5 –7 เพื่อเชื่อมกลอนปี่ชวาให้เกิดร้อยเรียงกันท าให้สัมผัสของกลอนมีความสัมพันธ์กันไพเราะน่าฟังมี การปรับส านวนกลอนจากเที่ยวแรกเป็นบางส านวนแสดงให้เห็นถึงความละเอียดในการคิดส านวน กลอนของผู้ประพันธ์ส านวนกลอนปี่ชวา ประโยคที่ 6 (ท านองหลัก) เที่ยวกลับต้น ขวา - - - - - ด - ร - ม - ร - - ด ด - ม – ม - ร - - ด ด - - ร ร - ม ซ้าย - - - - - ด - ร - ม - ร - ด - - - ซ - ม - ร - ด - - - ร - - - ม ประโยคที่ 6 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) - - - - - ด - ร - ม - ร - ด ด ด – ซ ล ซ ม ร ด ท ล ซ - ด – ร ม


98 ประโยคที่ 6 เที่ยวกลับต้น ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ใน กลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวน กลอนปี่ชวา พบว่า มีการใช้ส านวนกลอนปี่ชวาที่หลากหลาย ในวรรคแรกส านวนกลอนด าเนินท านอง ใกล้เคียงกับท านองหลักในห้องที่ 5 มีการยักเยื้องจังหวะแล้วกลับมาเก็บพยางค์ถี่ในห้องที่ 6 และมี การยักเยื้องจังหวะในห้องที่ 7 และ 8 นับเป็นส านวนกลอนปี่ชวาที่มีท่วงท่างดงามแสดงถึงความปราด เปรียวคล่องแคล่วว่องไวส านวนกลอนมีความลื่นไหลเชื่อมต่อกันได้อย่างวิจิตรพิสดาร ประโยคที่ 7 (ท านองหลัก) เที่ยวกลับต้น ขวา - - - - - ด - ร - ม - ร - - ด ด - ม – ม - ร - ม - ม - ม - ม - ร ซ้าย - - - - - ด - ร - ม - ร - ด - - - ซ - ม - ร - ซ - ล - ซ - ม - ร ประโยคที่ 7 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) - - - - - ด - ร - ม - ร - ด ด ด - ซ - ม - ร - ซ - ล - ซ - ม - ร ประโยคที่ 7 เที่ยวกลับต้น ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ใน กลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวน กลอน พบว่า มีความใกล้เคียงกับท านองหลักทั้งหมด ประโยคที่ 8 (ท านองหลัก) เที่ยวกลับต้น ขวา - - ซ ล - ด - ล - - ซ ล - - ด ร - ม - ร - - ด ด - ร ม ร - - - ด ซ้าย - ม - - ซ - ซ - ซ ม - - ซ ล - - - ม - ร - ด - - ร - - - ด ล - ซ ประโยคที่ 8 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) - - ซ ฟํ ม ร ด ล - ซ - ล - ด - ร - ม - ร - ด ด ด ร ด ม ร ด ล - ด ประโยคที่ 8 เที่ยวกลับต้น ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ใน กลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวน กลอนปี่ชวา พบว่า ผู้ประพันธ์ได้ประดิษฐ์ส านวนกลอนปี่ชวาให้แตกต่างไปจากเที่ยวแรกโดยเพิ่มการ ยักเยื้องจังหวะในห้องที่ 1 แสดงให้เห็นถึงความพิถีพิถันในการคิดส านวนกลอนปี่ชวาของผู้ประพันธ์ ผลการวิเคราะห์ส านวนกลอนปี่ชวาในเพลงพระทอง 2 ชั้น ผู้วิจัยสรุปได้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวาในเพลงพระทอง 2 ชั้น มี ความสัมพันธ์กันทั้งหมดโดยอยู่ในกลุ่มเสียง ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) มีการใช้โน้ตจรเสียง ฟา เพื่อเชื่อมส านวนกลอนปี่ชวาให้มีความสนิทสนมท านองปี่ชวาในเที่ยวแรกพบว่าครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) ได้ประดิษฐ์ส านวนที่มีความใกล้เคียงกับท านองหลักและมีการเก็บพยางค์ถี่เป็น ช่วง ๆ เป็นส่วนใหญ่ในเที่ยวกลับต้นพบว่าท านองปี่ชวามีความสลับซับซ้อนขึ้นลักษณะของส านวน กลอนปี่ชวามีการเก็บพยางค์ถี่ๆ ผสมกับการยักเยื้องจังหวะเป็นส่วนใหญ่


99 เพลงเบ้าหลุด สองชั้น ประโยคที่ 1 (ท านองหลัก) ขวา - - - ด - - ร ร - - - ร - - ร ร - - ด ด - ท - ด - - - - - ร - ร ซ้าย - - - ด - ร - - - - - ฟ - ร - - - ด - - - ทฺ - ด - - - ร - - - - ประโยคที่ 1 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) - - - ด - ร ร ร - ล - ซ - ฟํ - ร - ด ด ด - ท - ด ล ซ ฟฺ - ท – ด ร ประโยคที่ 1 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ทดร x ฟซ x (บันไดเสียง ท) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวนกลอน ปี่ชวา พบว่า มีความใกล้เคียงกับท านองหลักแต่มีการแปรผันจากท านองหลักในห้องที่ 3 -4 และมีการ ยักเยื้องจังหวะในห้องที่ 7 – 8 แสดงให้เห็นถึงท านองท่วงท่าลีลาที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของปี่ชวา ผู้ประพันธ์ประดิษฐ์ท านองปี่ชวาได้อย่างกลมกลืนกับท าหนองหลักอย่างวิจิตรงดงาม ประโยคที่ 2 (ท านองหลัก) ขวา - - ด ร - ฟ - ซ - ท - ซ - ฟ - ร - ฟ - ซ - ฟ - - ร ร - - ด ด - ท ซ้าย - ทฺ - - - ฟฺ - ซฺ - ทฺ - ซฺ - ฟฺ - ลฺ - ฟฺ - ซฺ - ฟฺ - ลฺ - - - ซฺ - - - ฟฺ ประโยคที่ 2 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) ท ด ท ร ด ร ฟํ ซ ล ซ ฟฺ - ท – ด ร ร ฟํร ซ ร ฟํร ด ท ฟ ซ ล ท ร ด ท ประโยคที่ 2 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ทดร x ฟซ x (บันไดเสียง ท) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันแต่มีการใช้โน้ตจรคือเสียง ลา ในห้องที่ 3 และ 7 เพื่อเชื่อมส านวนกลอนของปี่ชวาให้สัมพันธ์กัน ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า มีการเก็บพยางค์ถี่แล้วมีการยักเยื้องจังหวะระหว่างห้องที่ 3 – 4 แล้วกับมาเป็นเก็บเป็นพยางค์ ถี่ๆ อีกทีแสดงให้เห็นถึงท่วงท านองของปี่ชวาในส านวนกลอนที่ไม่ได้เก็บพยางค์ถี่ทั้งหมดมีการใช้การ ยักเยื้องจังหวะเข้ามาช่วยท าให้ส านวนกลอนปี่ชวามีลีลาท่วงท านองที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ประโยคที่ 3 (ท านองหลัก) ขวา - - - ซ - ฟ - - ท ท - - ด ด - ร - ร - ร - - ด ด - ร - ด - - ท ท ซ้าย - - - ร - ด - ทฺ - - - ด - - - ร - ฟ – ซ - ด - - - ร - ด - ทฺ - - ประโยคที่ 3 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) - - - ซ - ฟ - ท ล ซ ฟ - ท – ด ร ฟํ ร ซ ฟํ ร ฟํร ด ท ฟ ซ ล ท ร ด ท ประโยคที่ 3 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ทดร x ฟซ x (บันไดเสียง ท) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันแต่มีการใช้โน้ตจร คือ


100 เสียง ลา ในห้องที่ 3 เพื่อเชื่อมส านวนกลอนของปี่ชวาให้สัมพันธ์กัน ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่าในห้องที่ 1 – 2 ส านวนกลอนปี่ชวามีความใกล้เคียงกับท านองหลักและมีการยักเยื้องจังหวะ ระหว่างห้องที่ 3 –4 แล้วเปลี่ยนมาเป็นส านวนเก็บพยางค์ถี่แสดงให้เห็นถึงส านวนกลอนที่หลากหลาย ผู้ประพันธ์ประดิษฐ์ท านองได้อย่างแยบยลคมคาย ประโยคที่ 4 (ท านองหลัก) ขวา - - ท ด - - ท ด - - ท ด ร ด - - ด ล - - ซ ล - ล - - ซ ล - - ท ด ซ้าย ซ ล - - ท ล - - ท ล - - - - ท ล - - ซ ฟ - - ซ - ซ ฟ - - ซ ล - - ประโยคที่ 4 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) ซ ล ท ด ร ฟํ ร ด ร ซ ร ฟ ร ด ท ล ท ด ร ล ท ด ซ ล ท ด ท ฟ ซ ล ท ด ประโยคที่ 4 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ทดร x ฟซ x (บันไดเสียง ท) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันแต่มีการใช้โน้ตจร คือ เสียง ลา เพื่อให้ส านวนเชื่อมกันได้อย่างไพเราะ ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า มีการเก็บพยางค์ถี่ ทั้งหมดโดยผู้ประพันธ์ได้ร้อยเรียงส านวนกลอนปี่ชวาได้อย่างไพเราะสนิทสนม ประโยคที่ 5 (ท านองหลัก) ขวา - - - ท - - ด ด - - - ร - - ด ด - ฟ - ท - - ด ร - ร - ร - ด - ท ซ้าย - - - ทฺ - ด - - - - - ร - ด - - - ด - ทฺ - - - ลร - ฟ - ร - ด - ท ประโยคที่ 5 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) - - - ท - ด ด ด - - - ร - ด ด ด ล ซ ฟฺ ท ล ท ด ร ซ ล ท ด ท ร ด ท ประโยคที่ 5 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ทดร x ฟซ x (บันไดเสียง ท) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันแต่มีการใช้โน้ตจร คือ เสียง ลา เพื่อให้ส านวนเชื่อมกันได้อย่างไพเราะลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า ในวรรคแรก ส านวนกลอนมีความใกล้เคียงกับท านองหลักแล้วเปลี่ยนเป็นการเก็บพยางค์ถี่ลูกตกระหว่างท านอง หลักและท านองปี่ชวามีความสัมพันธ์กลมกลืนกันได้อย่างวิจิตรงดงาม ประโยคที่ 6 (ท านองหลัก) ขวา - - - ร - - ด ร - ม - ม - ร - ด - ร - ร - ด - - ท ท - - ด ด - ร ซ้าย - ร - - - ท - - - ซ - ฟ - ร - ด - ฟ - ร - ด - ทฺ - - - ด - - - ร ประโยคที่ 6 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) ฟํร ร ร ฟํร ร ร ฟํ ร ซ ฟํ ร ฟํร ด ล ซ ฟํ ร ด - รดท - - - ด รดท - ดร


101 ประโยคที่ 6 ผู้วิจัยพบว่ากลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ทดร x ฟซ x (บันไดเสียง ท) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันแต่มีการใช้โน้ตจร คือ เสียง ลา ใน ห้องที่ 5 เพื่อเชื่อมส านวนกลอนให้มีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า ลูกตกระหว่าง ท านองหลักและส านวนกลอนปี่ชวามีความสัมพันธ์กันส านวนกลอนในห้องที่ 1 –5 มีการเก็บเป็นพยางค์ ถี่ และในห้องที่ 6 – 8 มีการยักเยื้องจังหวะเพื่อให้เกิดท่วงท านองที่มีความโดดเด่นมากยิ่งขึ้น ประโยคที่ 7 (ท านองหลัก) ขวา - - - - - ร - ร - ร - ร - ด ท ด - - - - - ด - ด - ร - ร - ด - ท ซ้าย - - - ร - - - - - ฟ - ร - ด ทฺ ด - - - ด - - - - - ฟ - ร - ด - ทฺ ประโยคที่ 7 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) - - - ร - ร ร ร ด ร ฟํ ร ด ท - ด - - - ด - ด ด ด ล ซ ฟํ ร ด - รดท ประโยคที่ 7 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ทดร x ฟซ x (บันไดเสียง ท) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันแต่มีการใช้โน้ตจรคือเสียง ลา ในห้องที่ 7 ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า มีการใช้ส านวนกลอนที่หลากหลาย มีทั้งส านวน ใกล้เคียงท านองหลัก ส านวนกลอนที่มีการยักเยื้องจังหวะ และส านวนเก็บพยางค์ถี่ แสดงให้เห็นถึง ความหลากหลายในการใช้ส านวนกลอนปี่ชวา และลูกตกระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวามี ความสัมพันธ์กันทั้งหมดแสดงให้เห็นถึงความสนิทสนมของทั้ง 2 ท านองได้อย่างกลมกลืน ประโยคที่ 8 (ท านองหลัก) ขวา - - - ล - - - ซ - - - ด - - - ท - - - ล - - - ซ - - ล - ล - - ซ ซ้าย - - - ลฺ - - - ซฺ - - - ด - - - ทฺ - - - ลฺ - - - ซฺ - - - ซ - ฟ - ร ประโยคที่ 8 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) - - - ล - - - ซ - - - ด - - - ท - - ด ร ด ท ล ซ ฟฺซ ล ซ ล ฟฺ - ซ ประโยคที่ 8 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ทดร x ฟซ x (บันไดเสียง ท) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันแต่มีการใช้โน้ตจรคือเสียง ลา เพื่อให้ส านวนมีความไพเราะมากยิ่งขึ้น ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า วรรคแรกส านวนกลอน ปี่ชวาพบส านวนที่ใกล้เคียงกับท านองหลักแล้วเปลี่ยนเป็นการเก็บในวรรคหลังลูกตกระหว่างท านอง หลักและท านองปี่ชวามีความสัมพันธ์กันทั้งหมดแสดงให้เห็นถึงความวิจิตรพิสดารของส านวนกลอน ปี่ชวาที่สอดคล้องกลมกลืนกับท านองหลักได้อย่างลงตัว


102 ประโยคที่ 1 (ท านองหลัก) ขวา - - - ด - - ร ร - - - ร - - ร ร - - ด ด - ท - ด - - - - - ร - ร ซ้าย - - - ด - ร - - - - - ฟ - ร - - - ด - - - ทฺ - ด - - - ร - - - - ประโยคที่ 1 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) - - - ด - ร ร ร - ล - ซ ฟํ ล ซ ฟํ - ร - ด ด ด - ท - ด - ฟ - - ท – ด ร ประโยคที่ 1 เที่ยวกลับต้น ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ใน กลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ทดร x ฟซ x (บันไดเสียง ท) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันแต่มีการใช้โน้ตจร คือเสียง ลา เพื่อให้ส านวนมีความไพเราะมากยิ่งขึ้น ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า ในวรรคแรก ส านวนกลอนปี่ชวาพบว่า วรรคแรกส านวนกลอนปี่ชวาพบส านวนที่ใกล้เคียงกับท านองหลักแต่มีการ เพิ่มกลวิธีพิเศษผสมกับการยักเยื้องจังหวะในตัวตัวโน้ตห้องที่ 4 แล้วกลับมาด าเนินท านองที่ใกล้เคียง ท านองหลักแต่ในระหว่างห้องที่ 7 – 8 ผู้ประพันธ์ได้ประดิษฐ์ส านวนที่มีการยักเยื้องจังหวะเพื่อแสดง ให้เห็นถึงลีลาเฉพาะตัวของท านอปี่ชวา ประโยคที่ 2 (ท านองหลัก) ขวา - - ด ร - ฟ - ซ - ท - ซ - ฟ - ร - ฟ - ซ - ฟ - - ร ร - - ด ด - ท ซ้าย - ทฺ - - - ฟฺ - ซฺ - ทฺ - ซฺ - ฟฺ - ลฺ - ฟฺ - ซฺ - ฟฺ - ลฺ - - - ซฺ - - - ฟฺ ประโยคที่ 2 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) ท ด ท ร ด ร ฟํ ซ ล ซ ฟ - ท – ด ร ร ฟํร ซ ร ฟํร ด ท ฟ ซ ล ท ร ด ท ประโยคที่ 2 เที่ยวกลับต้น ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ใน กลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ทดร x ฟซ x (บันไดเสียง ท) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันแต่มีการใช้โน้ตจร คือเสียง ลา ในห้องที่ 3 และ 7 เพื่อเชื่อมส านวนกลอนให้มีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวนกลอนปี่ ชวา พบว่า เป็นการเก็บพยางค์ถี่แต่ในห้องที่ 3 – 4 มีการยักเยื้องจังหวะเพื่อให้เกิดท่วงท านองที่มี ความโดดเด่นมากยิ่งขึ้น ประโยคที่ 3 (ท านองหลัก) ขวา - - - ซ - ฟ - - ท ท - - ด ด - ร - ร - ร - - ด ด - ร - ด - - ท ท ซ้าย - - - ร - ด - ทฺ - - - ด - - - ร - ฟ – ซ - ด - - - ร - ด - ทฺ - - ประโยคที่ 3 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) ฟํ ฟฺซ ล ท ซ ล ท ด ล ท ด ร ท ด ร ฟํ ร ซ ฟํ ร ฟํร ด ท ฟ ซ ล ท ร ด ท


103 ประโยคที่ 3 เที่ยวกลับต้น ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ใน กลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ทดร x ฟซ x (บันไดเสียง ท) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันแต่มีการใช้โน้ตจร คือเสียง ลา ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า มีการเก็บพยางค์ถี่ทั้งหมดโดยผู้ประพันธ์ได้ร้อยเรียง ส านวนกลอนปี่ชวาได้อย่างไพเราะสนิทสนม ประโยคที่ 4 (ท านองหลัก) ขวา - - ท ด - - ท ด - - ท ด ร ด - - ด ล - - ซ ล - ล - - ซ ล - - ท ด ซ้าย ซ ล - - ท ล - - ท ล - - - - ท ล - - ซ ฟ - - ซ - ซ ฟ - - ซ ล - - ประโยคที่ 4 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 4 ซ ล ท ด ร ฟํร ด ร ซ ร ฟํ ร ด ท ล ท ด ร ล ท ด ซ ล ท ด ท ฟ ซ ล ท ด ประโยคที่ 4 เที่ยวกลับต้น ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ใน กลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ทดร x ฟซ x (บันไดเสียง ท) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันแต่มีการใช้โน้ตจร คือเสียง ลา ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า มีการเก็บพยางค์ถี่ทั้งหมดโดยผู้ประพันธ์ได้ร้อยเรียง ส านวนกลอนปี่ชวาได้อย่างไพเราะสนิทสนมลูกตกมีความสัมพันธ์กันทั้งหมดแสดงให้เห็นถึงส านวน เก็บถี่ที่มีความกลมกลืนสนิทสนมไปกันท านองหลัก ประโยคที่ 5 (ท านองหลัก) ขวา - - - ท - - ด ด - - - ร - - ด ด - ฟ - ท - - ด ร - ร - ร - ด - ท ซ้าย - - - ทฺ - ด - - - - - ร - ด - - - ด - ทฺ - - - ลร - ฟ - ร - ด - ท ประโยคที่ 5 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) ด ท ด ด ด ร ด ด ด ฟํ ด ด ด ร ด ด ล ซ ฟฺ ท ล ท ด ร ซ ล ท ด ท ร ด ท ประโยคที่ 5 เที่ยวกลับต้น ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ใน กลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ทดร x ฟซ x (บันไดเสียง ท) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันแต่มีการใช้โน้ตจร คือเสียง ลา ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า มีการเก็บพยางค์ถี่ทั้งหมดโดยผู้ประพันธ์ได้ร้อยเรียง ส านวนกลอนปี่ชวาได้อย่างไพเราะสนิทสนมลูกตกมีความสัมพันธ์กันทั้งหมดแสดงให้เห็นถึงส านวน เก็บถี่ที่มีความกลมกลืนสนิทสนมไปกันท านองหลัก ประโยคที่ 6 (ท านองหลัก) ขวา - - - ร - - ด ร - ม - ม - ร - ด - ร - ร - ด - - ท ท - - ด ด - ร ซ้าย - ร - - - ท - - - ซ - ฟ - ร - ด - ฟ - ร - ด - ทฺ - - - ด - - - ร ประโยคที่ 6 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) ฟํร ร ร ฟํร ร ร ฟํ ร ซ ฟํ ร ฟํร ด ล ซ ฟํ ร ฟํ ร ด ท ฟฺ ฟฺ ฟ ฺ ท ด ท ฟํ ร


104 ประโยคที่ 6 เที่ยวกลับต้น ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ใน กลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ทดร x ฟซ x (บันไดเสียง ท) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันแต่มีการใช้โน้ตจร คือเสียง ลา ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า มีการเก็บพยางค์ถี่ทั้งหมดโดยผู้ประพันธ์ได้ร้อยเรียง ส านวนกลอนปี่ชวาได้อย่างไพเราะสนิทสนมลูกตกมีความสัมพันธ์กันทั้งหมดแสดงให้เห็นถึงส านวน เก็บถี่ที่มีความกลมกลืนสนิทสนมไปกันท านองหลัก ประโยคที่ 7 (ท านองหลัก) ขวา - - - - - ร - ร - ร - ร - ด ท ด - - - - - ด - ด - ร - ร - ด - ท ซ้าย - - - ร - - - - - ฟ - ร - ด ทฺ ด - - - ด - - - - - ฟ - ร - ด - ทฺ ประโยคที่ 7 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) - - - ร - ร ร ร ด ร ฟํ ร ด ท - ด - - - ด - ด ด ด ล ซ ฟํ ร ด - รดท ประโยคที่ 7 เที่ยวกลับต้น ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ใน กลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ทดร x ฟซ x (บันไดเสียง ท) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันแต่มีการใช้โน้ตจร คือเสียง ลา ในห้องที่ 7 ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า มีการใช้ส านวนกลอนที่หลากหลาย มีทั้ง ส านวนใกล้เคียงท านองหลัก ส านวนกลอนที่มีการยักเยื้องจังหวะ และส านวนเก็บพยางค์ถี่ แสดงให้ เห็นถึงความหลากหลายในการใช้ส านวนกลอนปี่ชวา และลูกตกระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวา มีความสัมพันธ์กันทั้งหมดแสดงให้เห็นถึงความสนิทสนมของทั้ง 2 ท านองได้อย่างกลมกลืน ประโยคที่ 8 (ท านองหลัก) ขวา - - - ล - - - ซ - - - ด - - - ท - - - ล - - - ซ - - ล - ล - - ซ ซ้าย - - - ลฺ - - - ซฺ - - - ด - - - ทฺ - - - ลฺ - - - ซฺ - - - ซ - ฟ - ร ประโยคที่ 8 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) - ล - ล - - - ซ - - - ด - - - ท - - ด ร ด ท ฟํ ซ ฟํ ซ ล ซ ล ฟํ - ซ ประโยคที่ 8 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ทดร x ฟซ x (บันไดเสียง ท) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันแต่มีการใช้โน้ตจรคือเสียง ลา เพื่อให้ส านวนมีความไพเราะมากยิ่งขึ้น ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า วรรคแรกส านวนกลอน ปี่ชวาพบส านวนที่ใกล้เคียงกับท านองหลักแล้วเปลี่ยนเป็นการเก็บในวรรคหลังลูกตกระหว่างท านอง หลักและท านองปี่ชวามีความสัมพันธ์กันทั้งหมดแสดงให้เห็นถึงความวิจิตรพิสดารของส านวนกลอน ปี่ชวาที่สอดคล้องกลมกลืนกับท านองหลักได้อย่างลงตัวผู้ประพันธ์ประดิษฐ์ส านวนกลอนคล้ายกับ เที่ยวแรกแต่จะเปลี่ยนมาใช้เสียงสูงในการเป่าปี่ชวา


105 ผลการวิเคราะห์ส านวนกลอนปี่ชวาในเพลงเบ้าหลุด 2 ชั้น ผู้วิจัยสรุปได้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวาในเพลงเบ้าหลุด 2 ชั้น มีความสัมพันธ์กันทั้งหมดโดยอยู่ในกลุ่มเสียง ทดร x ฟซ x (บันไดเสียง ท) มีการใช้โน้ตจรเสียง ลา เพื่อเชื่อมส านวนกลอนปี่ชวาให้มีความสนิทสนมท านองปี่ชวาในเพลงเบ้าหลุดพบว่าครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) ได้ประดิษฐ์ร้อยเรียงส านวนที่มีความใกล้เคียงกับท านองหลัก การเก็บพยางค์ถี่ และการยักเยื้องจังหวะ ทั้งในเที่ยวแรกและในเที่ยวกลับต้นนับเป็นส านวนกลอนปี่ชวาที่มีความ สมบูรณ์มีท่วงท่าลีลาเฉพาะตัวของการบรรเลงปี่ชวาอยู่ครบถ้วนสมบูรณ์ เพลงสะระบุหร่ง สองชั้น ประโยคที่ 1 (ท านองหลัก) ขวา - - ม ม - ม - - ด ด - - ร ร - ม - - ด - - ร ม - ม - ม - ม - ม - ร ซ้าย - ม - - - ซ - ด - - - ร - - - ม - - ด - ด - - ซ - ล - ซ - ม - ร ประโยคที่ 1 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) - - - ม - ซ – ด - ซฺ - ด - ร - ม - ซ - ม - ร - ซ - ล - ซ - ม - ร ประโยคที่ 1 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวนกลอน ปี่ชวา พบว่า มีการใช้ส านวนกลอนใกล้เคียงกลับท านองหลักลูกตกระหว่างท านองหลักและท านองปี่ ชวามีความสัมพันธ์กันได้อย่างสนิทสนม ประโยคที่ 2 (ท านองหลัก) ขวา - - - - - ร - ร - ม - ร - ด - ล - ล - - ล ซ - ล - ร - - ด ด - ร ซ้าย - - - ร - - - - - ม - ร - ด - ม - ซ - ม - ร - ม - ร - ด - - - ร ประโยคที่ 2 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) - - - ร - ร - ร - ม - ร - ด - ลฺ - ร - ม - ซ - ล - - - ด - - - ร ประโยคที่ 2 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวนกลอน ปี่ชวา พบว่า มีการใช้ส านวนกลอนใกล้เคียงกลับท านองหลักลูกตกระหว่างท านองหลัก และท านอง ปี่ชวามีความสัมพันธ์กันได้อย่างสนิทสนม


106 ประโยคที่ 3 (ท านองหลัก) ขวา - ซ - ด - - ร ม - ร - - ม ม - ร - ม - ร - ด - ล - ด - - ร ร - ด ซ้าย - ร - ด - - - ม - ร - ม - - - ร - ม - ร - ด - ม - ด - ร - - - ด ประโยคที่ 3 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) - - ซ ล ซ ด ร ม ฟํ ม ฟํ ล ซ ฟํ ม ร - ม - ร - ด - ล - ด - ซ - ล - ด ประโยคที่ 3 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันมีการใช้โน้ตจรเสียง ฟา เพื่อเชื่อมส านวนกลอนปี่ชวาให้มีความสนิทสนมมากยิ่งขึ้น ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า ในวรรคแรกพบส านวนเก็บพยางค์ถี่แต่มีการยักเยื้องจังหวะในห้องที่ 1 แสดงถึงท่วงท่าลีลาเฉพาะของ ปี่ชวาและในวรรคหลัง พบส านวนกลอนที่ใกล้เคียงกับท านองหลักโดยเปลี่ยนลูกตกในห้องที่ 7 ตัวโน้ต เสียง ซอล เพื่อสร้างความแตกต่างระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวา ประโยคที่ 4 (ท านองหลัก) ขวา - - - ล - ซ - - ด ด - - ร ร - ม - - ด - - ร ม - ม - ม - ม - ม - ร ซ้าย - - - ม - ร - ด - - - ร - - - ม - - ด - ด - - ซ - ล - ซ - ม - ร ประโยคที่ 4 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) ท ซ ล ท ด ล ท ด ร ท ด ร ม ด ร ม ล ซ ร ม ฟํ ล ซ ฟํ ด ฟํ ม ฟํ ร ม ด ร ประโยคที่ 4 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันมีการใช้โน้ตจรเสียง ฟา เพื่อเชื่อม ส านวนกลอนปี่ชวาให้ร้อยเรียงไพเราะอย่างเหมาะสม ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า ส านวนกลอนปี่ชวา มีการเก็บเป็นพยางค์ถี่ทั้งหมดผู้ประพันธ์ได้ร้อยเรียงส านวนกลอนปี่ชวาขึ้นลงไปมาอย่างงดงาม ประโยคที่ 5 (ท านองหลัก) ขวา - - - ด - - ร ร - - - ม - - ร ร - ซ - ด - - ร ม - ม - ม - ร - ด ซ้าย - - - ด - ร - - - - - ม - ร - - - ร – ด - - - ม - ซ - ม - ร – ด ประโยคที่ 5 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) ร ด ร ร ร ม ร ร ร ซ ร ร ร ม ร ร ซ ซ ซ ด ซ ด ร ม ซ ล ซ ร ซ ม ร ด ประโยคที่ 5 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันลักษณะส านวนกลอน ปี่ชวา พบว่า ส านวนกลอนปี่ชวามีการเก็บเป็นพยางค์ถี่ทั้งหมดผู้ประพันธ์ได้ร้อยเรียงส านวนกลอน ปี่ชวาได้อย่างคมคายลูกตกระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวามีความสัมพันธ์กันทั้งหมดแสดงให้ เห็นถึงการสอดประสานที่กลมกลืนสนิทสนม


107 ประโยคที่ 6 (ท านองหลัก) ขวา - - - ล - - ด ด - - - ร - - ด ด - - ม ม - ร - - ด ด - - ซ ซ – ล ซ้าย - - - ม - ด - - - - - ร - ด - - - ม - - - ร - ด - - - ร - - - ม ประโยคที่ 6 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) - - ซ ด ท ล ท ด ท ล ร ด ท ล ท ด - ซ - ม - ร - ด - ซ - ด - ท - ล ประโยคที่ 6 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันมีลักษณะส านวนกลอน ปี่ชวา พบว่า ในวรรคแรกพบส านวนเก็บพยางค์ถี่แต่มีการยักเยื้องจังหวะในห้องที่ 1 แสดงถึงท่วงท่า ลีลาเฉพาะของปี่ชวาและในวรรคหลัง พบส านวนกลอนที่ใกล้เคียงกับท านองหลักโดยเปลี่ยนลูกตก ในห้องที่ 7 ตัวโน้ตเสียง ซอล เพื่อสร้างความแตกต่างระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวา ประโยคที่ 7 (ท านองหลัก) ขวา - ท ร - ท ล - - - - - - ล ซ - ล - - ล - ล ซ - ล - ร - - ด ด – ร ซ้าย - - - ล - - ซ ม - ร - ม - ร - ม - - ซ ม - ร – ม - ร - ด - - - ร ประโยคที่ 7 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) - ท ร ล ท ล ซ ม - ร - ม - ซ - ล - ร - ม - ซ - ล - ร - ล - ด - ร ประโยคที่ 7 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวนกลอน ปี่ชวา พบว่า มีการใช้ส านวนกลอนใกล้เคียงกลับท านองหลักมีการผันแปรจากท านองหลักในห้องที่ 7 ตัวโน้ตเสียง ลา เพื่อสร้างความแตกต่างระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวาลูกตกระหว่างท านอง หลักและท านองปี่ชวามีความสัมพันธ์กันได้อย่างสนิทสนม ประโยคที่ 8 (ท านองหลัก) ขวา - - - - - ร - ร - ด - ล - ซ - ด - - ซ ล - ด - ร - ม - ร - ด - ล ซ้าย - - - ร - - - - - ด – ม - ร – ด - ฟ - - - ด - ร - ม - ร - ด - ม ประโยคที่ 8 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) - - - ร - ร ร ร ม ร ด ล - ซ - ด ร ม ซ ล - ด - ร - ม - ร - ด - ล ประโยคที่ 8 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันลักษณะส านวนกลอน ปี่ชวา พบว่า มีการใช้ส านวนกลอนใกล้เคียงกลับท านองหลักและทรอดแทรกการเก็บเป็นพยางค์เก็บ ในห้องที่ 3 และห้องที่ 5 แสดงให้เห็นถึงความหลากหลายในการใช้ส านวนกลอนลูกตกระหว่างท านอง หลักและท านองปี่ชวามีความสัมพันธ์กันทั้งหมดอย่างกลมกลืนวิจิตรงดงาม


108 ประโยคที่ 9 (ท านองหลัก) ขวา - ล - - ซ ซ - - ล ล - - ด ด – ร - ม - ม - ร - - ด ด - - ร ร - ม ซ้าย - ลฺ - ซฺ - - - ลฺ - - - ด - - - ร - ซ - ม - ร - ด - - - ร - - - ม ประโยคที่ 9 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) ประโยคที่ 9 - - - ซ - - - ล - ร - ล - ด - ร - ซ - ม - ร - ด - - ม ร ด ร - ม ประโยคที่ 9 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวนกลอน ปี่ชวา พบว่า มีการใช้ส านวนกลอนใกล้เคียงกลับท านองหลักมีการยักเยื้องจังหวะในห้องที่ 7 ลูกตก ระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวามีความสัมพันธ์กันได้อย่างสนิทสนม ประโยคที่ 1 (ท านองหลัก) ขวา - - ม ม - ม - - ด ด - - ร ร - ม - - ด - - ร ม - ม - ม - ม - ม - ร ซ้าย - ม - - - ซ - ด - - - ร - - - ม - - ด - ด - - ซ - ล - ซ - ม - ร ประโยคที่ 1 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) - - - ม - ซ - ด ทฺ ลฺ ซฺ - ด – ร ม ล ซ ร ม ฟ ล ซ ฟ ด ฟ ม ฟ ร ม ด ร ประโยคที่ 1 เที่ยวกลับต้น ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ใน กลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันมีการใช้โน้ตจร เสียง ฟา เพื่อเชื่อมส านวนกลอนปี่ชวาให้ร้อยเรียงไพเราะอย่างเหมาะสม ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า ใน 2 ห้องแรกมีการด าเนินท านองที่ใกล้เคียงท านองหลักและมีการยักเยื้องจังหวะระหว่างห้อง ที่ 3 – 4 แล้วเปลี่ยนมาเก็บพยางค์ถี่ในวรรคหลังส านวนกลอนปี่ชวาเที่ยวกลับต้นมีการใช้ส านวนที่ หลากหลายวิจิตรพิสดารกว่าเที่ยวแรก ประโยคที่ 2 (ท านองหลัก) ขวา - - - - - ร - ร - ม - ร - ด - ล - ล - - ล ซ - ล - ร - - ด ด - ร ซ้าย - - - ร - - - - - ม - ร - ด - ม - ซ - ม - ร - ม - ร - ด - - - ร ประโยคที่ 2 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) ร ด ร ร ร ม ร ร ม ล ซ ร ม ร ด ลฺ ม ม ม ด ล ด ซ ล ม ซ ม ล ซ ล ด ร ประโยคที่ 2 เที่ยวกลับต้น ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ใน กลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันลักษณะส านวน กลอนปี่ชวา พบว่า ส านวนกลอนปี่ชวามีการเก็บเป็นพยางค์ถี่ทั้งหมดผู้ประพันธ์ได้ร้อยเรียงส านวน กลอนปี่ชวาได้อย่างคมคายลูกตกระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวามีความสัมพันธ์กันทั้งหมด แสดงให้เห็นถึงการสอดประสานที่กลมกลืนสนิทสนม


109 ประโยคที่ 3 (ท านองหลัก) ขวา - ซ - ด - - ร ม - ร - - ม ม - ร - ม - ร - ด - ล - ด - - ร ร - ด ซ้าย - ร - ด - - - ม - ร - ม - - - ร - ม - ร - ด - ม - ด - ร - - - ด ประโยคที่ 3 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) - - ซ ล ซ ด ร ม ฟํ ม ฟํ ล ซ ฟํ ม ร ฟํ ซ ฟํ ล ซ ฟํ ม ร ด ซ ล ท ด ม ร ด ประโยคที่ 3 เที่ยวกลับต้น ผู้วิจัยพบว่ากลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่ม เสียงเดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันมีการใช้โน้ตจรเสียง ฟา เพื่อเชื่อมส านวนกลอนปี่ชวาให้มีความสนิทสนมมากยิ่งขึ้น ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่าในวรรคแรก พบส านวนเก็บพยางค์ถี่แต่มีการยักเยื้องจังหวะในห้องที่ 1 แสดงถึงท่วงท่าลีลาเฉพาะของปี่ชวาและใน วรรคหลังมีการเพิ่การเก็บพยางค์ถี่แสดงให้เห็นถึงความสลับซับซ้อนมากขึ้นกว่าเที่ยวแรก ประโยคที่ 4 (ท านองหลัก) ขวา - - - ล - ซ - - ด ด - - ร ร - ม - - ด - - ร ม - ม - ม - ม - ม - ร ซ้าย - - - ม - ร - ด - - - ร - - - ม - - ด - ด - - ซ - ล - ซ - ม - ร ประโยคที่ 4 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) ท ซ ล ท ด ล ท ด ร ท ด ร ม ด ร ม ล ซ ร ม ฟํ ล ซ ฟํ ด ฟํ ม ฟํ ร ม ด ร ประโยคที่ 4 เที่ยวกลับต้น ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ใน กลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันมีการใช้โน้ตจร เสียง ฟา เพื่อเชื่อมส านวนกลอนปี่ชวาให้ร้อยเรียงไพเราะอย่างเหมาะสม ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า ส านวนกลอนปี่ชวามีการเก็บเป็นพยางค์ถี่มีการเปลี่ยนส านวนให้ซับซ้อนมากขึ้นกว่าเที่ยวแรก ทั้งหมดผู้ประพันธ์ได้ร้อยเรียงส านวนกลอนปี่ชวาขึ้นลงไปมาอย่างวิจิตรงดงาม ประโยคที่ 5 (ท านองหลัก) ขวา - - - ด - - ร ร - - - ม - - ร ร - ซ - ด - - ร ม - ม - ม - ร - ด ซ้าย - - - ด - ร - - - - - ม - ร - - - ร – ด - - - ม - ซ - ม - ร – ด ประโยคที่ 5 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 5 ร ด ร ร ร ม ร ร ร ซ ร ร ร ม ร ร ซ ล ซ ด ซ ด ร ม ซ ล ซ ม ซ ม ร ด ประโยคที่ 5 เที่ยวกลับต้น ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ใน กลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันลักษณะส านวน กลอนปี่ชวา พบว่า ส านวนกลอนปี่ชวามีการเก็บเป็นพยางค์ถี่ทั้งหมดผู้ประพันธ์ได้ร้อยเรียงส านวน กลอนปี่ชวาได้อย่างคมคายลูกตกระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวามีความสัมพันธ์กันทั้งหมด แสดงให้เห็นถึงการสอดประสานที่กลมกลืนสนิทสนม


110 ประโยคที่6 (ท านองหลัก) ขวา - - - ล - - ด ด - - - ร - - ด ด - - ม ม - ร - - ด ด - - ซ ซ – ล ซ้าย - - - ม - ด - - - - - ร - ด - - - ม - - - ร - ด - - - ร - - - ม ประโยคที่ 6 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) - - ซ ด ท ล ท ด ท ล ร ด ท ล ท ด ซ ล ซ ร ซ ม ร ด ซ ด ท ด ล ท ซ ล ประโยคที่ 6 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันมีลักษณะส านวนกลอน ปี่ชวา พบว่า ในวรรคแรกพบส านวนเก็บพยางค์ถี่แต่มีการยักเยื้องจังหวะในห้องที่ 1 แสดงถึงท่วงท่า ลีลาเฉพาะของปี่ชวาและในวรรคหลังมีการเปลี่ยนส านวนให้ซับซ้อนกว่าเที่ยวแรกเป็นพยางค์เก็บถี่ ประโยคที่ 7 (ท านองหลัก) ขวา - ท ร - ท ล - - - - - - ล ซ - ล - - ล - ล ซ - ล - ร - - ด ด – ร ซ้าย - - - ล - - ซ ม - ร - ม - ร - ม - - ซ ม - ร – ม - ร - ด - - - ร ประโยคที่ 7 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) ท ม ร ล ท ล ซ ม - ร - ม - ซ - ล ม ม ม ด ล ด ซ ล ม ซ ม ล ซ ล ด ร ประโยคที่ 7 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันมีลักษณะส านวนกลอน ปี่ชวา พบว่า ในวรรคแรก 2 ห้องแรกมีการเก็บพยางค์ถี่และกลับมาด าเนินท านองในส านวนกลอนที่ ใกล้เคียงกับท านองหลักแล้วเปลี่ยนมาเก็บทั้งหมดในวรรคหลังแสดงถึงส านวนกลอนที่หลากหลายคม คายแยบยล ประโยคที่ 8 (ท านองหลัก) ขวา - - - - - ร - ร - ด - ล - ซ - ด - - ซ ล - ด - ร - ม - ร - ด - ล ซ้าย - - - ร - - - - - ด – ม - ร – ด - ฟ - - - ด - ร - ม - ร - ด - ม ประโยคที่ 8 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) - - - ร - ร ร ร ม ร ด ล - ซ - ด ร ม ซ ล - ด - ร ม ล ซ ร ม ร ด ล ประโยคที่ 8 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันลักษณะส านวนกลอน ปี่ชวา พบว่า มีการใช้ส านวนกลอนใกล้เคียงกลับท านองหลักและทรอดแทรกการเก็บเป็นพยางค์เก็บ ในห้องที่ 3 และห้องที่ 5 และพบการเก็บเป็นพยางค์ถี่แสดงให้เห็นถึงความหลากหลายในการใช้ ส านวนกลอนและมีการเพิ่มความซับซ้อนกว่าเที่ยวแรกลูกตกระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวามี ความสัมพันธ์กันทั้งหมดอย่างกลมกลืนวิจิตรงดงาม


111 ประโยคที่ 9 (ท านองหลัก) ขวา - ล - - ซ ซ - - ล ล - - ด ด – ร - ม - ม - ร - - ด ด - - ร ร - ม ซ้าย - ลฺ - ซฺ - - - ลฺ - - - ด - - - ร - ซ - ม - ร - ด - - - ร - - - ม ประโยคที่ 9 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น ม ม ม ซ ม ซ ม ล ม ซ ม ล ซ ล ด ร ท ล ซ ร ซ ม ร ด ร ม ซ ร ซ ม ม ม ประโยคที่ 9 เที่ยวกลับต้น ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ใน กลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวน กลอนปี่ชวา พบว่า ส านวนกลอนปี่ชวามีการเก็บเป็นพยางค์ถี่ทั้งหมดมีการเปลี่ยนส านวนให้ซับซ้อน มากขึ้นกว่าเที่ยวแรกผู้ประพันธ์ได้ร้อยเรียงส านวนกลอนปี่ชวาขึ้นลงไปมาอย่างวิจิตรงดงาม ผลการวิเคราะห์ส านวนกลอนปี่ชวาในเพลสะระบุหร่ง 2 ชั้น ผู้วิจัยสรุปได้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวาในเพลงสะระบุหร่ง 2 ชั้น มีความสัมพันธ์กันทั้งหมดโดยอยู่ในกลุ่มเสียง ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) มีการใช้โน้ตจรเสียง ฟา เพื่อเชื่อมส านวนกลอนปี่ชวาในเที่ยวแรกส านวนกลอนปี่ชวามีการด าเนินท านองในที่ใกล้เคียงกับ ท านองหลักมีการเก็บพยางค์ถี่และมีการใช้การยักเยื้องจังหวะเป็นบางที่เที่ยวกลับต้นมีการเพิ่มส านวน เก็บพยางค์ถี่มากขึ้นแสดงให้เห็นถึงความพิถีพิถันในการเลือกใช้ส านวนกลอนปี่ชวาได้อย่างวิจิตรงดงาม เพลงบลิ่ม สองชั้น ประโยคที่ 1 (ท านองหลัก) ขวา - - - - - ม - ม - - ด ด - ร - ม - ม - ม - ม - - ม ม - - ร ร - ด ซ้าย - - - ม - - - - - ด - - - ร - ม - ซ - ล - ซ - ม - - - ร - - - ด ประโยคที่ 1 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) - - - ม - ม ม ม - - ซ ล ซ ด ร ม ม ซฺ ม ร ม ซ ม ร ด ซ ล ท ด ม ร ด ประโยคที่ 1 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันมีการใช้โน้ตเสียงจร คือ ตัวโน้ตเสียง ท เพื่อเชื่อท านองให้สมบูรณ์ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า ใน 2 ห้องแรก มีการใช้ ส านวนที่ใกล้เคียงกับท านองหลักและมีการยักเยื้องจังหวะในห้องที่ 3 และเปลี่ยนเป็นเก็บพยางค์ถี่ ๆ ในห้องที่ 4 – 8 แสดงให้เห็นถึงความหลากหลายในการใช้ส านวนกลอนปี่ชวาผู้ประพันธ์ประดิษฐ์ ท านองได่ประณีตแยบยลคมคาย


112 ประโยคที่ 2 (ท านองหลัก) ขวา - - - ด - - ร ร - - - ม - - ร ร - ม - ม - ร - - ด ด - - ร ร - ม ซ้าย - - - ด - ร - - - - - ม - ร - - - ซ - ม - ร - ด - - - ร - - - ม ประโยคที่ 2 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) ร ด ร ร ร ม ร ร ร ซ ร ร ร ม ร ร ซ ล ซ ร ซ ม ร ด ร ม ซ ร ซ ม ม ม ประโยคที่ 2 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวนกลอน ปี่ชวา พบว่า เป็นส านวนเก็บพยางค์ถี่ทั้งหมดโดยลูกตกระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวา มีความสัมพันธ์กันแสดงให้เห็นถึงสัมผัสของกลอนที่ร้อยเรียงเข้ากันกับท านองหลักอย่างลงตัว ประโยคที่ 3 (ท านองหลัก) ขวา - ม - ม - ร - - ด ด - - ร ร - ม - - - - - ร - ม - ร - - - ม - ม ซ้าย - ซ - ม - ร - ด - - - ร - - - ม - - - - - ร - ม - ร - ม - - - - ประโยคที่ 3 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) ซ ล ซ ร ซ ม ร ด ท ล ซ - ด – ร ม - - - - - ร - ม - ร - ม - ม ม ม ประโยคที่ 3 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันมีการใช้โน้ตเสียงจร คือ ตัวโน้ตเสียง ท เพื่อเชื่อท านองให้สมบูรณ์ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า ใน 2 ห้องแรก พบส านวนเก็บพยางค์ถี่และมีการยักเยื้องจังหวะระหว่างห้องที่ 3 – 4 ให้ห้องที่ 6 – 8 มีการใช้ท านอง ที่ใกล้เคียงกับท านองหลักแสดงให้เห็นถึงส านวนกลอนปี่ชวาที่หลากหลายมีการใช้ส านวนกลอนต่างๆ อยู่ครบถ้วน ประโยคที่ 4 (ท านองหลัก) ขวา - ม - - ร ร - - ม ม - - ซ ซ - ล - - -ลท - ร - - - - ร - ท - - - ซ้าย - ม - ร - - - ม - - - ร - - - ม - - ซ - - - - ล - - ซ - - ลซ- ม ประโยคที่ 4 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) ท ท ท ร ท ท ท ม ท ร ท ม ร ม ซ ล ซ ม ร ท ม ร ท ล ร ท ล ซ ท ล ซ ม ประโยคที่ 4 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันมีการใช้โน้ตเสียงจร คือ ตัวโน้ตเสียง ท เพื่อเชื่อท านองให้สมบูรณ์ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า เป็นส านวนเก็บพยางค์ถี่ ทั้งหมดโดยลูกตกระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวามีความสัมพันธ์กันแสดงให้เห็นถึงสัมผัสของ กลอนที่ร้อยเรียงเข้ากันกับท านองหลักอย่างลงตัว


113 ประโยคที่ 5 (ท านองหลัก) ขวา - ม - ม - ร - - ด ด - - ร ร - ม - ม - ม - ม - - ม ม - - ร ร - ด ซ้าย - ซ - ม - ร - ด - - - ร - - - ม - ซ - ล - ซ - ม - - - ร - - - ด ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) ประโยคที่ 5 ท ล ซ ร ซ ม ร ด ร ม ซ ร ซ ม ม ม ซ ร ม ซ ม ล ม ซ ม ร ด ซ ซ ม ร ด ประโยคที่ 5 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันมีการใช้โน้ตเสียงจร คือ ตัวโน้ตเสียง ท เพื่อเชื่อท านองให้สมบูรณ์ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า เป็นส านวนเก็บพยางค์ถี่ ทั้งหมดโดยลูกตกระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวาไม่ความสัมพันธ์กันทั้งหมดผู้ประพันธ์มีการ เปลี่ยลูกตกท านองปี่ชวาเพื่อให้ส านวนกลอนเก็บร้อยเรียงสัมพันธ์กันอย่างวิจิตรงดงาม ประโยคที่ 6 (ท านองหลัก) ขวา - - - ด - - ร ร - - - ม - - ร ร - ม - ม - ร - - ด ด - - ร ร - ม ซ้าย - - - ด - ร - - - - - ม - ร - - - ซ - ม - ร - ด - - - ร - - - ม ประโยคที่ 6 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) ร ด ร ร ร ม ร ร ร ซ ร ร ร ม ร ร ด ล ซ ร ซ ม ร ด ท ล ซ - ด – ร ม ประโยคที่ 6 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันมีการใช้โน้ตเสียงจร คือ ตัวโน้ตเสียง ท เพื่อเชื่อท านองให้สมบูรณ์ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า เป็นส านวนเก็บพยางค์ถี่ มีการยักเยื้องจังหวะระหว่างห้องที่ 7 – 8 ลูกตกระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวามีความสัมพันธ์ กันทั้งหมดแสดงถึงความประณีตในการคิดประดิษฐ์ส านวนกลอนปี่ชวาของผู้ประพันธ์ ประโยคที่ 7 (ท านองหลัก) ขวา - ม - ม - ร - - ด ด - - ร ร - ม - ล - - ซ ซ - - ล ล - - ด ด - ร ซ้าย - ซ - ม - ร - ด - - - ร - - - ม - ม - ร - - - ม - - - ด - - - ร ประโยคที่ 7 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) ซ ล ซ ร ซ ม ร ด ร ม ซ ร ซ ม ม ม - - - ซ - - - ล - - - ด - - - ร ประโยคที่ 7 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวนกลอน ปี่ชวา พบว่า ในวรรคแรกส านวนกลอนปี่ชวามีการเก็บพยางค์ถี่และในวรรคหลังมีการใช้ส านวนที่ ใกล้เคียงกับท านองหลักแสดงการผันแปรระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวาได้อย่างงดงาม


114 ประโยคที่ 8 (ท านองหลัก) ขวา - - - ซ - - - ล - - - ด - - - ร - - - - - ด - ร - ด - - - ร - ร ซ้าย - - - ร - - - ม - - - ด - - - ร - - - - - ด - ร - ด - ร - - - - ประโยคที่ 8 ท านองปี่ชวา (เที่ยวแรก) - - - ซ - - - ล - ร - ล - ด - ร - - - - - ด - ร - ด - ร - ร ร ร ประโยคที่ 8 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวนกลอน ปี่ชวา พบว่า มีการใช้ส านวนที่ใกล้เคียงกับท านองหลักแต่มีการเปลี่ยนแปลงตัวโน้ตในห้องที่ 3 เพื่อให้ ท านองมีความโดดเด่นแตกต่างจากท านองหลัก ประโยคที่ 1 (ท านองหลัก) ขวา - - - - - ม - ม - - ด ด - ร - ม - ม - ม - ม - - ม ม - - ร ร - ด ซ้าย - - - ม - - - - - ด - - - ร - ม - ซ - ล - ซ - ม - - - ร - - - ด ประโยคที่ 1 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) ซ ม ม ม ซ ม ม ม - - ซ ล ซ ด ร ม ม ล ม ร ม ซ ม ร ด ซ ล ท ด ม ร ด ประโยคที่ 1 เที่ยวกลับต้น ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ใน กลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันมีการใช้โน้ตเสียง จร คือ ตัวโน้ตเสียง ท เพื่อเชื่อท านองให้สมบูรณ์ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา มีการเก็บพยางค์ถี่ ๆ เป็นส่วนใหญ่แต่มีการยักเยื้องจังหวะในห้องที่ 3 เพื่อสร้างความโดดเด่นในท่วงท านองลีลา เฉพาะของปี่ชวา ประโยคที่ 2 (ท านองหลัก) ขวา - - - ด - - ร ร - - - ม - - ร ร - ม - ม - ร - - ด ด - - ร ร - ม ซ้าย - - - ด - ร - - - - - ม - ร - - - ซ - ม - ร - ด - - - ร - - - ม ประโยคที่ 2 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) ร ด ร ร ร ม ร ร ร ซ ร ร ร ม ร ร ด ล ซ ร ซ ม ร ด ร ม ซ ร ซ ม ม ม ประโยคที่ 2 เที่ยวกลับต้น ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ใน กลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวน กลอนปี่ชวา พบว่า เป็นส านวนเก็บพยางค์ถี่ทั้งหมดและลูกตกระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวามี ความสัมพันธ์กันแสดงให้เห็นถึงการร้อยเรียงส านวนกลอนปี่ชวาที่มีความสอดคล้องกลมกลืนไปกับ ท านองหลักอย่างแยบยลคมคาย


115 ประโยคที่ 3 (ท านองหลัก) ขวา - ม - ม - ร - - ด ด - - ร ร - ม - - - - - ร - ม - ร - - - ม - ม ซ้าย - ซ - ม - ร - ด - - - ร - - - ม - - - - - ร - ม - ร - ม - - - - ประโยคที่ 3 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) ซ ล ซ ร ซ ม ร ด ท ล ซ - ด – ร ม - - - - - ร - ม - ร - ม - ม ม ม ประโยคที่ 3 ผู้วิจัยพบว่ากลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียงเดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันมีการใช้โน้ตเสียงจร คือ ตัวโน้ตเสียง ท เพื่อเชื่อท านองให้สมบูรณ์ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า ใน 2 ห้องแรก พบส านวนเก็บพยางค์ถี่และ มีการยักเยื้องจังหวะระหว่างห้องที่ 3 –4 ให้ห้องที่ 6 –8 มีการใช้ท านองที่ใกล้เคียงกับท านองหลักแสดง ให้เห็นถึงส านวนกลอนปี่ชวาที่หลากหลายมีการใช้ส านวนกลอนต่างๆอยู่ครบถ้วน ประโยคที่ 4 (ท านองหลัก) ขวา - ม - - ร ร - - ม ม - - ซ ซ - ล - - -ลท - ร - - - - ร - ท - - - ซ้าย - ม - ร - - - ม - - - ร - - - ม - - ซ - - - - ล - - ซ - - ลซ- ม ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 4 ท ท ท ร ท ท ท ม ท ร ท ม ร ม ซ ล ซ ม ร ท ม ร ท ล ท ล ซ - ด - ร ม ประโยคที่ 4 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันมีการใช้โน้ตเสียงจร คือ ตัวโน้ตเสียง ท เพื่อเชื่อท านองให้สมบูรณ์ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า เป็นส านวนเก็บพยางค์ถี่ เกือบทั้งหมดพบการยักเยื้องจังหวะในห้องที่ 7 – 8 เพื่อท าให้ท านองปี่ชวามีความโดดเด่นเป็น เอกลักษณ์มากยิ่งขึ้นโดยลูกตกระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวามีความสัมพันธ์กันแสดงให้เห็นถึง สัมผัสของกลอนที่ร้อยเรียงเข้ากันกับท านองหลักอย่างลงตัว ประโยคที่ 5 (ท านองหลัก) ขวา - ม - ม - ร - - ด ด - - ร ร - ม - ม - ม - ม - - ม ม - - ร ร - ด ซ้าย - ซ - ม - ร - ด - - - ร - - - ม - ซ - ล - ซ - ม - - - ร - - - ด ประโยคที่ 5 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) ซ ล ซ ร ซ ม ร ด ร ม ซ ร ม ซ - ม - - ซ ล ด ร ด ม ม ร ด ซ ซ ม ร ด ประโยคที่ 5 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวนกลอน ปี่ชวา พบว่า พบส านวนกลอนเก็บเป็นส่วนใหญมีการยักเยื้องจังหวะระหว่างห้อง 4 – 5 แล้วกลับมา เก็บพยางค์ถี่อีกครั้งแสดงให้เห็นถึงความวิจิตรงดงามของส านวนกลอนปี่ชวาที่มีความโดดเด่น เป็นเอกลักษณ์


116 ประโยคที่ 6 (ท านองหลัก) ขวา - - - ด - - ร ร - - - ม - - ร ร - ม - ม - ร - - ด ด - - ร ร - ม ซ้าย - - - ด - ร - - - - - ม - ร - - - ซ - ม - ร - ด - - - ร - - - ม ประโยคที่ 6 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) ร ด ร ร ร ม ร ร ร ซ ร ร ร ม ร ร ด ล ซ ร ซ ม ร ด ท ล ซ - ด – ร ม ประโยคที่ 6 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กันมีการใช้โน้ตเสียงจร คือ ตัวโน้ตเสียง ท เพื่อเชื่อท านองให้สมบูรณ์ลักษณะส านวนกลอนปี่ชวา พบว่า พบส านวนกลอนเก็บ เป็นส่วนใหญมีการยักเยื้องจังหวะระหว่างห้อง 7 – 8 เพื่อเพิ่มความโดดเด่นให้ส านวนกลอนปี่ชวา ประโยคที่ 7 (ท านองหลัก) ขวา - ม - ม - ร - - ด ด - - ร ร - ม - ล - - ซ ซ - - ล ล - - ด ด - ร ซ้าย - ซ - ม - ร - ด - - - ร - - - ม - ม - ร - - - ม - - - ด - - - ร ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) ประโยคที่ 7 ซ ล ซ ร ซ ม ร ด ร ม ซ ร ซ ม ม ม - - - ซ - - - ล - - - ด - - - ร ประโยคที่ 7 ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่มเสียง เดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวนกลอน ปี่ชวา พบว่า ในวรรคแรกมีการเก็บเป็นเป็นพยาวค์ถี่ส่วนในวรรคหลังมีการเปลี่ยนมาใช้ส านวนกลอน ที่ใกล้เคียงกับท านองหลักโดยมีการดัดเปลงจากท านองหลักโดยการเป่าเสียงที่ยาวแต่ยังคงรักษาลูก ตกท้ายท านองไว้ได้อย่างกลมกลืน ประโยคที่ 8 (ท านองหลัก) ขวา - - - ซ - - - ล - - - ด - - - ร - - - - - ด - ร - ด - - - ร - ร ซ้าย - - - ร - - - ม - - - ด - - - ร - - - - - ด - ร - ด - ร - - - - ประโยคที่ 8 ท านองปี่ชวา (เที่ยวกลับต้น) - - - ซ - - - ล - ร - ล - ด - ร - - - - - ด - ร - ด - ร - ร ร ร ประโยคที่ 8 กลับต้น ผู้วิจัยพบว่า กลุ่มเสียงระหว่างท านองหลักกับท านองปี่ชวาอยู่ในกลุ่ม เสียงเดียวกัน คือ ดรม x ซล x (บันไดเสียง โด) ทั้ง 2 ท านองมีความสัมพันธ์กัน ลักษณะส านวน กลอนปี่ชวา พบว่า มีการใช้ส านวนที่ใกล้เคียงกับท านองหลักแต่มีการเปลี่ยนแปลงตัวโน้ตในห้องที่ 3 เพื่อให้ท านองมีความโดดเด่นแตกต่างจากท านองหลัก


117 ผลการวิเคราะห์ส านวนกลอนปี่ชวาในเพลงบลิ่ม 2 ชั้น ผู้วิจัยสรุปได้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างท านองหลักและท านองปี่ชวาในเพลงบลิ่ม 2 ชั้น มีความสัมพันธ์กันทั้งหมดโดยอยู่ในกลุ่มเสียง ดรม x ซล x (บันไดเสียง ด) มีการใช้โน้ตจรเสียง ที เพื่อเชื่อมส านวนกลอนปี่ชวาให้มีความสนิทสนมกันลักษณะส านวนกลอนปี่ชวาที่พบในเพลงบลิ่ม 2 ชั้น พบว่า มีการเก็บพยางค์ถี่เป็นส่วนใหญ่และพบการยักเยื้องจังหวะเป็นบางจุดนับเป็นจุดเด่น ในการบรรเลงปี่ชวา 2.5 ส านวนกลอนปี่ชวาที่เป็นจุดเด่นของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) ผู้วิจัยได้สรุปเกี่ยวประเด็นเรื่องส านวนกลอนปี่ชวาที่เป็นจุดเด่นของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) โดยยกตัวอย่างจากส านวนกลอนปี่ชวาในเพลงระบ าสี่บท มีดังนี้ 1) การยักเยื้องจังหวะ เป็นส านวนกลอนที่พบบ่อยในท านองปี่ชวาเพลงระบ าสี่บทโดย ครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) จะสอดแทรกการยักเยื้องจังหวะไว้ในส านวนกลอนเพื่อเพิ่ม ท่วงท่าลีลาให้ส านวนกลอนปี่ชวานั้น ๆ มีความสวยงามมากขึ้น ลีลาการยักเยื้องจังหวะที่พบในเพลง ระบ าสี่บท มีดังนี้ ท านองล้าหลัง หมายถึง การบรรเลงอย่างหนึ่งซึ่งประดิษฐ์ท านองให้เสียงที่ควรจะตก ลงตรงจังหวะไปตกลงภายหลังจังหวะท าให้ท านองของวรรคหรือประโยคนี้จะยาวกว่าวรรคหรือ ประโยคธรรมดา (ประชากร ศรีสาคร, 2564, น. 86 ) ตัวอย่าง ท านองปี่ชวาในเพลงระบ าสี่บทที่มีการล้าหลังจังหวะเพื่อให้การด าเนินท านองปี่ชวาใน ประโยคนั้นมีความยาวกว่าวรรคธรรมดา ท านองหลักเพลงพระทอง ประโยคที่ 1 ขวา - - - ด - - ร ร - - - ม - - ร ร - ม – ม - ม - - ร ร - - ด ด – ล ซ้าย - - - ด - ร - - - - - ม - ร - - - ม - ซ - ม - ร - - - ด - - - ม ท านองปี่ชวาเพลงพระทอง ประโยคที่ 1 (เที่ยวกลับต้น) ร ด ร ร ร ม ร ร ร ซ ร ร ร ม ร ร ด ล ซ ล ด ร ม ซ ม ล ม ซ ม ร ด - ล – ซ ล ในท านองปี่ชวาเพลงพระทอง ประโยคที่ 1 เที่ยวกลับต้น ปรากฏการล้าหลังในวรรคหลังตัว โน้ตเสียง ลา ซึ่งตามความจริงแล้วลูกตกจะต้องตกอยู่ภายในห้องที่ 8 แต่มีการประดิษฐ์ส านวนให้ตก ลงภายหลังจังหวะท าให้ประโยคนี้มีความยาวกว่าประโยคปกติ


118 ท านองหลักเพลงเบ้าหลุด ประโยคที่ 2 ขวา - - ด ร - ฟ - ซ - ท - ซ - ฟ - ร - ฟ - ซ - ฟ - - ร ร - - ด ด - ท ซ้าย - ทฺ - - - ฟฺ - ซฺ - ทฺ - ซฺ - ฟฺ - ลฺ - ฟฺ - ซฺ - ฟฺ - ลฺ - - - ซฺ - - - ฟฺ ท านองปี่ชวาเพลงเบ้าหลุด ประโยคที่ 2 (เที่ยวแรก) ท ด ท ร ด ร ฟํซ ล ซ ฟ - ท – ด ร ร ฟํ ร ซ ร ฟํ ร ด ท ฟ ซ ล ท ร ด ท ในท านองปี่ชวาเพลงเบ้าหลุด ประโยคที่ 2 เที่ยวแรก ปรากฏการล้าหลัง 1 จุด ในวรรคแรก ตัวโน้ตเสียง ฟา ห้องที่ 3 มีการลากเสียงให้มีความยาวกว่าปกติเพื่อที่จะฝากลูกตกเสียง ที ไว้ในห้องที่ 4 ท านองหลักเพลงบลิ่ม ประโยคที่ 6 ขวา - - - ด - - ร ร - - - ม - - ร ร - ม - ม - ร - - ด ด - - ร ร - ม ซ้าย - - - ด - ร - - - - - ม - ร - - - ซ - ม - ร - ด - - - ร - - - ม ท านองปี่ชวาเพลงบลิ่ม ประโยคที่ 6 เที่ยวแรก ร ด ร ร ร ม ร ร ร ซ ร ร ร ม ร ร ด ล ซ ร ซ ม ร ด ท ล ซ - ด – ร ม ในท านองปี่ชวาเพลงบลิ่ม ประโยคที่ 2 เที่ยวแรก ปรากฏการล้าหลัง 1 จุด ในวรรคหลังตัว โน้ตเสียง ซอล ห้องที่ 7 มีการลากเสียงให้มีความยาวกว่าปกติเพื่อที่จะฝากลูกตกเสียง โด ไว้ในห้องที่ 8 2) การใช้ส านวนกลอนปี่ชวาที่มีความหลากหลาย วิธีประดิษฐ์ส านวนกลอนปี่ชวาของ ครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) จะไม่ใช้ส านวนกลอนที่เก็บเป็นพยางค์ถี่ทั้งหมดเพลงและจะไม่ใช้ ส านวนกลอนปี่ชวาที่คล้ายคลึงกับท านองหลักทั้งหมดแต่จะใช้ผสมผสานกันบางส านวนอาจมีการยัก เยื้องจังหวะเพื่อเพิ่มท่วงท่าลีลาให้ส านวนกลอนปี่ชวามีความโดดเด่นไพเราะมากยิ่งขึ้น ผู้วิจัยได้ ยกตัวอย่างส านวนกลอนปี่ชวาที่พบในเพลงระบ าสี่บท ดังนี้ ตัวอย่างส านวนกลอนปี่ชวาที่มีการเป่าผสมผสานระหว่าง การเก็บพยางค์ถี่ ใกล้เคียงกับท านอง หลัก และใช้การยักเยื้องจังหวะ ตัวอย่างที่ 1 (ประโยคที่ 4 ท านองปี่ชวา เที่ยวกลับต้น เพลงพระทอง 2 ชั้น) ท านองหลัก ขวา - ม – ม - ร - ม - ม - ม - ม – ม - ม – ม - ร - ด - ร - - ม ม - ร ซ้าย - ซ - ม - ร – ซ - ด - ล - ซ - ม - ซ - ม - ร – ด - ร - ม - - - ร ท านองปี่ชวา - ซ - ม - ร - ซ - ด - ล - ซ ล – ซ ม - – ซ ล ซ ม ร ด ฟํ ด ฟํ ล ซ ฟํ ม ร ตัวโน้ตใน 3 ห้องแรกมีการด าเนินท านองแบบใกล้เคียงท านองหลัก และมีการยักเยื้องจังหวะ ระหว่างตัวโน้ตห้องที่ 4 และ 5 แล้เปลี่ยนมาเก็บพยางค์ถี่ในห้องที่ 6 – 8


119 ตัวอย่างที่2 (ประโยคที่ 3 ท านองปี่ชวา เที่ยวแรก เพลงบลิ่ม 2 ชั้น) ท านองหลัก ขวา - ม - ม - ร - - ด ด - - ร ร - ม - - - - - ร - ม - ร - - - ม - ม ซ้าย - ซ - ม - ร - ด - - - ร - - - ม - - - - - ร - ม - ร - ม - - - - ท านองปี่ชวา ซ ล ซ ร ซ ม ร ด ท ล ซ - ด – ร ม - - - - - ร - ม - ร - ม - ม ม ม ตัวโน้ต 2 ห้องแรกมีการเก็บพยางค์ถี่และมีการยักเยื้องจังหวะในห้องที่ 3 – 4 แล้ว เปลี่ยนเป็นการเป่าที่ใกล้เคียงกับท านองหลัก ตัวอย่างที่ 3 (ประโยคที่ 1 ท านองปี่ชวา เที่ยวกลับต้น เพลงสะระบุหร่ง 2 ชั้น) ท านองหลัก ขวา - - ม ม - ม - - ด ด - - ร ร - ม - - ด - - ร ม - ม - ม - ม - ม - ร ซ้าย - ม - - - ซ - ด - - - ร - - - ม - - ด - ด - - ซ - ล - ซ - ม - ร ท านองปี่ชวา - - - ม - ซ - ด ทฺ ลฺ ซฺ - ด – ร ม ล ซ ร ม ฟ ล ซ ฟ ด ฟ ม ฟ ร ม ด ร ตัวโน้ตในห้อง 2 ห้องแรกมีการด าเนินท านองใกล้เคียงกับท านองหลักมีการใช้การยักเยื้อง จังหวะในห้องที่ 3 – 4 แล้วเปลี่ยนมาด าเนินท านองเป็นส านวนเก็บพยางค์ถี่ในวรรคหลัง ตัวอย่างที่ 4 (ประโยคที่ 3 ท านองปี่ชวา เที่ยวแรก เพลงเบ้าหลุด 2 ชั้น) ท านองหลัก ขวา - - - ซ - ฟ - - ท ท - - ด ด - ร - ร - ร - - ด ด - ร - ด - - ท ท ซ้าย - - - ร - ด - ทฺ - - - ด - - - ร - ฟ – ซ - ด - - - ร - ด - ทฺ - - ท านองปี่ชวา - - - ซ - ฟ - ท ล ซ ฟ - ท – ด ร ฟํ ร ซ ฟํ ร ฟํ ร ด ท ฟ ซ ล ท ร ด ท ตัวโน้ตในห้อง 2 ห้องแรกมีการด าเนินท านองใกล้เคียงกับท านองหลักมีการใช้การยักเยื้อง จังหวะในห้องที่ 3 – 4 แล้วเปลี่ยนมาด าเนินท านองเป็นส านวนเก็บพยางค์ถี่ในวรรคหลัง สรุปผลการวิเคราะห์จุดเด่นในส านวนกลอนปี่ชวาของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) ที่ปรากฎในเพลงระบ าสี่บท ประกอบไปด้วย ลีลาการเป่าปี่ชวาในรูปแบบการยักเยื้อง ล้าหลัง มีการใช้ ส านวนกลอนในการเป่าปี่ชวาที่หลากหลายส านวนกลอนปี่ชวาที่มีการเป่าผสมผสานระหว่าง การเก็บ พยางค์ถี่ ใกล้เคียงกับท านองหลัก และใช้การยักเยื้องจังหวะ นับเป็นท่วงท่าลีลาเฉพาะที่มีความโดดเด่น อีกทั้งท านองปี่ชวาในเพลงระบ าสี่บทที่ครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) ได้ประดิษฐ์ร้อยเรียงขึ้น อย่างวิจิตรพิสดารนั้นแสดงให้เห็นถึงเอกลักษณ์ของสายส านักและแนวคิดส านวนกลอนปี่ชวาที่ สามารถน ามาเป็นกลอนต้นแบบในการบรรเลงปี่ชวาได้เป็นอย่างดี


120 จากการวิเคราะห์กระบวนการฝึกทักษะและกลวิธีในการเป่าปี่ชวาของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) โดยผู้วิจัยได้จ าแนกประเด็นแยกย่อยต่าง ๆ ประกอบไปด้วย แนวทางในการ ถ่ายทอดการเป่าปี่ชวาให้แก่ผู้เรียนของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) การฝึกทักษะการเป่าปี่ ชวาในเพลงระบ าสี่บท การวิเคราะห์กลวิธีพิเศษในการเป่าปี่ชวาเพลงระบ าสี่บท และ ส านวนกลอนปี่ ชวาที่เป็นเอกลักษณ์ของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) สามารถสรุปได้ว่า ครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) จะดูความพร้อมทางด้านศักยภาพของผู้ศึกษาเป็นหลักว่ามีทักษะและความสมบูรณ์ ในการที่จะเป่าปี่ชวาหรือไม่เพราะการที่จะฝึกหัดเป่าปี่ชวาได้นั้นจะต้องมีพื้นฐานในการใช้ลิ้น การใช้ลม การใช้นิ้ว จากการเป่าปี่ในมาก่อนเพราะกระบวนพื้นฐานในการใช้ลม ใช้ลิ้น ใช้นิ้ว ในการเป่าปี่ชวา มีรากฐานมาจากการฝึกเป่าปี่ในมาก่อน ไม่ว่าจะเป็น การตอดเสียง การระบายลม การประคองลิ้น ประคองลม แต่การใช้ลม ใช้ลิ้น ใช้นิ้วในการเป่าปี่ชวามีความยากความลึกซึ้งกว่าปี่ในเนื่องด้วยปี่ชวา มีลักษณะเสียงที่แหลมสูงมีความดังท าให้การที่จะเป่าให้มีความไพเราะนั้นยากปี่ชวาโดยกายภาพ แล้วมีเสียงที่ดังแหลมสูงอีกทั้งในการเป่าเกิดความเพี้ยนได้ง่ายรูปแบบการสอนมีขั้นตอนที่ชัดเจน ไม่ข้ามขั้นตอนโดยจุดประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาทางด้านทักษะปฏิบัติสามารถประดิษฐ์เสียงปี่ ชวาที่มีคุณภาพวิธีการสอนในรูปแบบนี้นับเป็นระบบการถ่ายทอดที่เป็นแบบแผนเฉพาะของสายส านัก ที่ครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) ได้ซึมซับจากผู้เป็นบิดาคือ ครูเทียบ คงลายทอง ในขั้นตอน กระบวนการฝึกทักษะการเป่าปี่ชวาเพลงระบ าสี่บทขั้นตอนแรกครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) จะอธิบายความส าคัญในการเรียนปี่ชวาในเพลงนี้และให้ผู้เรียนคอยปฏิบัติตามจากนั้นจึงต่อท านองปี่ชวา ต่อไปโดยท่านจะคิดแปรท านองที่ใกล้เคียงกับท านองหลักก่อนประกอบกับจะตีท านองหลักควบคุมไป ในขณะที่ผู้เรียนก าลังเป่าอยู่เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจในโครงสร้างระหว่างท านองหลักและท านองปี่ ชวาเมื่อผู้เรียนมีความแม่นย าแล้วครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) จึงต่อท านองปี่ชวาที่มีความ ซับซ้อนมากขึ้นโดยจะปฏิบัติให้ดูก่อนเล้วให้ผู้เรียนเป่าตามตรงไหนที่ผู้เรียนยังไม่เข้าใจก็จะให้ปฏิบัติ ซ้ า ๆ เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจในรายละเอียดต่าง ๆ ในการเป่าปี่ชวาเมื่อเห็นว่าผู้เรียนเป่าได้แล้วจึงจะให้ ผู้เรียนได้ฝึกทักษะด้วยตนเองในการเป่าปี่ชวากระบวนการฝึกทักษะการเป่าปี่ชวาในตามแนวทางของ ครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) นับเป็นการแสดงให้เห็นถึงความพิถีพิถันในการฝึกทักษะปฏิบัติ ที่มีขั้นตอนชัดเจนไม่ข้ามขั้นทั้งนี้เพื่อมุ้งเน้นให้ผู้เรียนสามารถน ากลเม็ดเด็ดพราย กลวิธีต่าง ๆ เกี่ยวกับการเป่าปี่ชวาไปใช้ในการบรรเลงจริงได้ท าให้บทเพลงนั้นเกิดคุณค่ามีความไพเราะในด้าน กลวิธีพิเศษผู้วิจัยพบกลวิธีการประคองลิ้นประคองลม การตอดเสียงสั้น การตอดเสียงหลายๆ พยางค์ การใช้นิ้วควงการปริบเสียง การตีนิ้ว การกลับลิ้นกลับลม ซึ่งสิ่งเหล่านี้สามารถสร้างความไพเราะ และความโดดเด่นของเสียงปี่ชวาให้เกิดความไพเราะได้อีกทั้งส านวนกลอนในการบรรเลงปี่ชวา ที่ครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) ได้ประดิษฐ์ขิ้นเพื่อถ่ายทอดแก่ผู้เรียนนับเป็นรูปแบบส าคัญที่จะ ท าให้ผู้เรียนเข้าใจใน ท่วงท านองลีลาที่เป็นเอกลักษณ์ในการเป่าปี่ชวาซึ่งประกอบด้วย การยักเยื้อง จังหวะ ส านวนเก็บ เป็นพยางค์ถี่ ส านวนที่ใกล้เคียงกับท านองหลัก ส านวนกลอนปี่ชวาที่ปรากฏใน เพลงระบ าสี่บทสามารถเป็นกลอนต้นแบบในการบรรเลงปี่ชวาได้เป็นอย่างดี


บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ การวิจัยเรื่องกระบวนการฝึกทักษะการเป่าปี่ชวา เพลงระบ าสี่บท ตามแนวทางของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ)ที่ผู้วิจัยได้ท าการศึกษาวิเคราะห์ประเด็นต่าง ๆ และได้สรุปผล อภิปราย ผล และข้อเสนอแนะไว้ดังนี้ 1. สรุปผลการวิจัย 1.1 แนวทางในการถ่ายทอดการเป่าปี่ชวาให้แก่ผู้เรียนของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) ครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) จะดูความพร้อมทางด้านศักยภาพของผู้ศึกษาเป็นหลัก ว่ามีทักษะและความสมบูรณ์ในการเป่าปี่ชวาถึงระดับใดเป็นการวิเคราะห์เพื่อให้การเรียนประสบ ความส าเร็จแก่ผู้เรียนโดยวิธีการสอนของท่านจะใช้เพลงทางพื้นง่าย ๆ มาแปรท านองปี่ชวาการเลือก เพลงที่จะน ามาฝึกหัดแก่ผู้เรียนปี่ชวาจะเน้นทักษะการเป่าปี่ชวาให้มีความสมบูรณ์ อันเนื่องจากมี ความยากในการบังคับเสียงลักษณะของเสียงปี่ชวามีความดังและมีเสียงที่แหลมสูงมีความเสี่ยงที่จะ เป่าเพี้ยนได้ง่ายจึงต้องมีการเรียนเพื่อให้เข้าใจกระบวนบังคับเสียงปี่ชวาโดยในการต่อเพลง ครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) จะปฏิบัติให้ดูแล้วให้ผู้เรียนท าตามเมื่อยังท าไม่ได้จะให้ผู้เรียน ปฏิบัติซ้ า ๆ เมื่อผู้เรียนสามารถปฏิบัติได้แล้วก็จะต่อท านองปี่ชวาเพิ่มเติมต่อไปกระบวนพื้นฐาน ในการใช้ลม ใช้ลิ้น ใช้นิ้ว ในการเป่าปี่ชวามีรากฐานมาจากการฝึกเป่าปี่ในมาก่อน ไม่ว่าจะเป็น การตอดเสียง การระบายลม การประคองลิ้นประคองลม แต่การใช้ลม ใช้ลิ้น ใช้นิ้วในการเป่าปี่ชวามี ความยากความลึกซึ้งกว่าปี่ในเนื่องด้วยปี่ชวามีลักษณะเสียงที่แหลมสูงมีความดังท าให้การที่จะเป่าให้ มีความไพเราะนั้นยากล าบากดังนั้นการถ่ายทอดการเป่าปี่ชวาให้แก่ผู้เรียนของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) จึงเป็นการต่อส านวนกลอนและลีลาเฉพาะของปี่ชวาโดยจะสอดแทรกเทคนิค การบังคับเสียงปี่ชวาในส านวนนั้น ๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการบังคับควบคุมเสียงปี่ชวาไปในตัว 1.2 กระบวนการฝึกทักษะปี่ชวาในเพลงระบ าสี่บท กระบวนการฝึกทักษะการเป่าปี่ชวา เพลงระบ าสี่บท ตามแนวทางของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) ประกอบไปด้วย 5 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นเตรียมความพร้อม คือ ผู้สอนบอกความส าคัญ ในการฝึกปี่ชวาในแต่ละจุดโดยผู้เรียนจะปฏิบัติตามไปพร้อมกัน 2) การฝึกเป่าปี่ชวาเพลงระบ าสี่บท โดยเป่าท านองเป็นส านวนที่ใกล้เคียงกับท านองหลักเพื่อความคุ้นชิน 3) การฝึกเป่าปี่ชวาเพลงระบ า สี่บท ที่มีท านองซับซ้อนมากยิ่งขึ้นโดยผู้สอนจะตีท านองหลักก ากับไปด้วย 4) การเรียนรู้และแก้ไข จุดบกพร่องของผู้เรียน โดยผู้สอนจะเป็นผู้คอยชี้แนะ 5) การฝึกให้ผู้เรียนปฏิบัติการเป่าปี่ชวาด้วย ตนเองทั้งหมด โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินความก้าวหน้า ทั้ง 5 กระบวนการนี้ มีลักษณะที่สามารถ เทียบเคียงกับแนวคิดรูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ ซึ่งเป็นนักการศึกษาของโลก


121 ได้เป็นอย่างดี เพราะทั้ง 2 รูปแบบการเรียนการสอนนี้ เป็นไปในลักษณะของการแสดงให้เห็นเป็น ตัวอย่าง และให้ผู้เรียนลงมือกระท าด้วยตนเอง จากนั้นจึงให้ผู้เรียนท าความรู้หรือแนวทางปฏิบัติที่ได้ ไปใช้ในการฝึกฝน โดยให้ระยะเวลาที่เพียงพอต่อการฝึกปฏิบัติทักษะนั้น ๆ จะท าให้ผู้เรียนปฏิบัติได้ อย่างเป็นธรรมชาติ ในการฝึกทักษะการเป่าปี่ชวาตามแนวทางของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) ผู้สอนจะคอยประกบและชี้แนะไปโดยตลอดการฝึกฝน ซึ่งกระบวนการนี้เป็นแนวทางที่ต่างกันในแง่ ของวัฒนธรรมการเรียนรู้ โดยวัฒนธรรมการเรียนรู้ของดนตรีไทยจะมีครู/ผู้สอน คอยดูแลชี้แนะไป ตลอดเพื่อป้องกันความผิดพลาด กระบวนการนี้ท าให้เกิดความผูกพันฉันครู-ศิษย์ และความซาบซึ้งต่อ วิชาที่ได้ร่ าเรียนของแต่ละส านักอันแสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมด้านการเคารพต่อวิชาและผู้ให้ความรู้ของผู้ที่ ศึกษาดนตรีไทย 1.3 กลวิธีพิเศษในการเป่าปี่ชวาของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) ที่พบในท านอง ปี่ชวาเพลงระบ าสี่บท กลวิธีพิเศษที่พบในท านองปี่ชวาเพลงระบ าสี่บทผู้วิจัยพบว่าครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปิน แห่งชาติ) จะสอดแทรกกลวิธีเทคนิคในการบังคับเสียงต่าง ๆ ในการเป่าปี่ชวาไว้ในท านองปี่ชวาเพลง ระบ าสี่บทเพื่อให้ผู้เรียนฝึกทักษะการฝึกบังคับเสียงของปี่ชวาระหว่าง การใช้ลม การใช้ลิ้น และการใช้นิ้ว จะต้องมีความสัมพันธ์กันจะท าให้เกิดเสียงปี่ชวาที่สมบูรณ์ จุดเด่นของการเป่าปี่ชวาเพลงระบ าสี่บทจะ อยู่ตรงเทคนิคการตอดลิ้นตอดลมในลักษณะเสียงสั้น ลักษณะตอด 3 พยางค์ ลักษณะตอดย้ า ๆ หลาย ๆ พยางค์ การกลับลิ้นกลับลม อีกทั้งเสียงของปี่ชวามีความแหลมสูงมีเสียงที่ดังและเพี้ยนเสียง ได้ง่ายจะต้องใช้การประคองลิ้นประคองลม การใช้นิ้วพิเศษต่าง ๆ ได้แก่ การตีนิ้ว การควงนิ้ว การปริบเสียง การสะบัด 3 เสียง ครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) จะเน้นย้ าตรงจุดนี้มาก ในการฝึกทักษะให้กับผู้เรียน เมื่อผ่านกระบวนการเรียนในเพลงชุดนี้แล้วจะท าให้มีความคล่องตัวมาก ขึ้นสามารถบังคับเสียงปี่ชวาได้ดีอีกทั้งครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) มีกลวิธีในการฝึกเป่าปี่ชวา ให้ผู้เรียนได้ฝึกการด าเนินท านองปี่ชวาที่หลากหลาย เช่น ลีลาการเป่าปี่ชวาในรูปแบบการยักเยื้อง ส านวนกลอนปี่ชวาที่เก็บเป็นพยางค์ถี่ ส านวนกลอนปี่ชวาที่มีความใกล้เคียงกลับท านองหลัก ท าให้ ผู้เรียนมีความเข้าใจในการแปรท านองของปี่ชวานับเป็นรูปแบบการฝึกทักษะปฏิบัติกระบวนการเรียน การสอนในรูปแบบนี้สะท้อนให้เห็นถึงกรรมวิธีอันชาญฉลาดในการเรียนการสอนของภูมิปัญญาดนตรีไทย ที่มีมาแต่โบราณเป็นการแสดงให้เห็นถึงความพิถีพิถันในการฝึกทักษะปฏิบัติที่มีขั้นตอนชัดเจน ไม่ข้ามขั้นตอนทั้งนี้เพื่อมุ้งเน้นให้ผู้เรียนสามารถน ากลเม็ดเด็ดพราย กลวิธีต่าง ๆเกี่ยวกับการเป่าปี่ชวา ไปใช้ในการบรรเลงจริงได้ท าให้บทเพลงนั้นเกิดคุณค่าเกิดความไพเราะ 2. อภิปรายผล กระบวนการฝึกทักษะการเป่าปี่ชวา เพลงระบ าสี่บท ตามแนวทางของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) ผู้วิจัยได้แบ่งประเด็นอภิปรายผลไว้ดังนี้ 2.1จากการศึกษาเรื่องกระบวนการฝึกทักษะการเป่าปี่ชวาเพลงระบ าสี่บทของ ครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) ผลการศึกษาพบว่า แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการฝึกทักษะการเป่าปี่ชวาเพลงระบ า สี่บทของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) (สัมภาษณ์, 21 มีนาคม 2564) ได้กล่าวว่าการต่อปี่ชวา


122 ในเพลงระบ าสี่บทจะเป็นไปในลักษณะการแปรท านองจากท านองหลักมาเป็นท านองปี่ชวา ในส านวน กลอนต่างๆก็จะเน้นไปที่การฝึกทักษะการใช้ ลม นิ้ว ลิ้น ให้มีความสัมพันธ์กันมีความสอดคล้องกับที่ ส าเนา เปี่ยมดนตรี (2552, น. 45) ได้อธิบายเกี่ยวกับกระบวนการถ่ายทอดปี่ในส านักครูเทียบ คงลายทอง ไว้ว่า กระบวนการถ่ายทอดของครูเทียบ คงลายทอง เป็นแบบมุขปาฐะสอนตาม คุณสมบัติของผู้เรียนโดยผู้สอนจะใช้ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่ได้เรียนรู้ที่ได้ปฏิบัติ น ามาปรับใช้วิธีการสอนให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคลและน ากลวิธีดังกล่าวมาใช้เป็นกระบวนการเรียน การสอนในรูปแบบขั้นพื้นฐานและสอดคล้องกับ จเร อู่แก้ว (2544, น. 54) ได้กล่าวถึงลักษณะรูปแบบ การสอนเครื่องเป่าไทยของครูเทียบ คงลายทอง ไว้ว่า ครูเทียบใช้วิธีการต่อท านองหลักผสมกับ ท านองแปร รูปแบบวิธีการสอนนี้ซึ่งมีขั้นตอนดังกล่าวท าให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะการใช้ลม ใช้นิ้ว และใช้ลิ้นได้ดี สามารถ เป่าเพลงอื่น ๆ ได้สะดวกยิ่งขึ้น วิธีการสอนปี่ชวาของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) สะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมด้านการเรียนการสอนดนตรีไทยที่สืบทอดมาแต่โบราณ ดังที่ บุญเสก บรรจงจัด (2555, น. 34 – 35) ได้กล่าวถึงศิษย์ของครูเทียบ คงลายทอง ว่ามีหลายท่าน แต่ผู้ที่ฝึกฝนกับครูเทียบ คงลายทอง จนถึงขั้นเพลงเดี่ยวและประกอบวิชาชีพศิลปินในเส้นทาง ดุริยางคศิลป์ไทย ในปัจจุบันได้แก่ ครูบุญช่วย โสวัตร ครูปี๊บ คงลายทอง และครูอนันต์ สบฤกษ์ ทั้ง 3 ท่านนี้ได้สืบอุดมการณ์ในการเป่าปี่ต่อจากครูเทียบ คงลายทอง และอบรมสั่งสอนศิษย์ใน สถานศึกษาต่าง ๆ บุคคลท่านหนึ่งซึ่งท าหน้าที่เป็นศิลปินดุริยางค์ไทย ส านักการสังคีต กรมศิลปากร ณ ปัจจุบันนี้แทนครูเทียบ คงลายทอง นั่นคือ ครูปี๊บ คงลายทอง บุตรชายของครู นอกจากนี้ลักษณะ กระบวนการฝึกเป่าปี่ชวาของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) เป็นการเรียนที่ต้องทักษะควบคู่ไปกับ ความไพเราะ ความงามของบทเพลง 2.2 จากการศึกษากลวิธีในการเป่าปี่ชวาของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) ผู้วิจัย พบว่า กลวิธีพิเศษที่ปรากฏในเพลงระบ าสี่บทอันประกอบไปด้วย เพลงพระทอง สองชั้น เพลงเบ้าหลุด สองชั้น เพลงสะระบุหร่ง สองชั้น เพลงบลิ่ม สองชั้น ครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) ได้สอดแทรกกลวิธีในการบังคับเสียงต่าง ๆ ได้แก่ การตอดลิ้นตอดลม การกลับลิ้นกลับลม การปริบ เสียง การใช้นิ้วพิเศษต่าง ๆในการเป่าปี่ชวา ซึ่งมีความสอดคล้องกับ กมล แก้วสว่าง (2556, น. 169) ได้อธิบายเกี่ยวกับการประดิษฐ์ท านองปี่ชวาของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) ว่ามีการประดิษฐ์ ท่วงท านองการบรรเลงปี่ชวาได้อย่างวิจิตรงดงาม และพบว่า ท่วงท านองมีเอกลักษณ์เฉพาะของ ท านองทางปี่ชวาปรากฏอยู่ในหลายประโยค มีการแปรท านองได้ไพเราะ กลมกลืน มีการสอดแทรก กลวิธีพิเศษของการบรรเลงปี่ชวาในลักษณะต่างๆเช่น การตอดลิ้น การปริบเสียง การตีนิ้ว นอกจากนี้ ยังมีการประคองลิ้นประคองลมในการประคองเสียงปี่ชวาให้ไม่ดังจนเกินไปเพราะโดยกายภาพแล้ว เสียงของปี่ชวามีเสียงที่ดังแหลมสูงเกิดความเพี้ยนได้ง่ายมีความสอดคล้องกับที่ พลณศักดิ์ ทรัพย์บางยาง (สัมภาษณ์, 30 มีนาคม 2564) ได้กล่าวไว้ว่า การเป่าปี่ชวามีความเสี่ยงสูงที่จะเพี้ยนได้ง่ายส าหรับสาย ส านัก ครูเทียบ คงลายทอง จะรู้เลยว่าเสียง “ฮ่อ” (ซอล) จะต้องเป่าประคองเสียงจะไม่เป่าเต็มลมจะ ประคองด้วยลิ้นด้วยลมซึ่งผู้ที่จะเป่าปี่ชวาได้ดีนั้นจะต้องการเรียนรู้กับผู้เชี่ยวชาญโดยตรงลู่ทางในการ เป่าเป็นอย่างไรซึ่งการฝึกของปี่ชวาเสียงแรกเลยที่จะต้องท าให้ได้คือเสียง “ฮ่อ” (ซอล) เป็นเสียงที่ผู้ เริ่มต้นเรียนจะท าให้ไพเราะได้ยากมากต้องใช้กลวิธีการประคองลิ้นประคองลมให้มีเสียงมีความพอดีเกิด ความไพเราะอีกทั้ง นาวาโทชัยนรินทร์ แถมมีทรัพย์(2564, 30 มีนาคม, สัมภาษณ์) ได้กล่าวไว้ว่า


123 การเป่าปี่ชวากับเป่าปี่ในจะใช้ก าลังในการเป่าแตกต่างกันปี่ในจะใช้ก าลังลมเต็มที่จากทรวงอกจนถึง กระพุงแก้มแต่การเป่าปี่ชวาจะใช้ก าลังลมจากช่วงล าคอจนถึงกระพุงแก้มเพราะการเป่าปี่ชวาจะต้อง เป่าให้มีความคล่องแคล่วว่องไวอีกทั้งมีเสียงที่ดังหากใช้ก าลังลมอย่างปี่ในมาก็จะท าให้เสียงปี่ชวาที่ เป่าออกมาไม่น่าฟังดังนั้นจะต้องมีการประคองลิ้นประคองลมควบคุมน้ าหนักลมให้ดีในการเป่าปี่ชวา กลวิธีการเป่าปี่ชวาที่ปรากฏในเพลงระบ าสี่บทนั้นนับมีความส าคัญในการน าไปบรรเลงปี่ชวาในวงต่าง ๆ ดังที่ ปี๊บ คงลายทอง (2564, 23 มีนาคม, สัมภาษณ์) ได้กล่าวไว้ว่า เมื่อเป่าปี่ชวาเพลงระบ าสี่บทนี้ จะสามารถน ากลวิธีการบังคับลิ้นลมและนิ้วต่าง ๆ ได้ ซึ่งในกระบวนการฝึกทักษะในเพลงนี้ ท าให้ผู้ เป่าผลิตเสียงปี่ชวาที่มีคุณภาพ ท าให้บทเพลงที่บรรเลงนั้นเกิดคุณค่ามีความไพเราะอีกทั้งผู้เรียนยังได้ จดจ าเกี่ยวกับส านวนกลอนปี่ชวาเพื่อที่จะน าไปประยุกต์ใช้ในการบรรเลงได้จริงสอดคล้องกับที่ ประชากร ศรีสาคร (2564, น. 34 - 35) ได้อธิบายเกี่ยวกับการฝึกส านวนกลอน ไว้ว่า ความสามารถ ในการผูกส านวนกลอนนั้นเป็นการตกผลึกทางความคิดซึ่งได้มาจากประสบการณ์ทางดนตรีทั้งสิ้นเมื่อ ประสบการณ์เรามีมากพอจึงท าให้เราสามารถผูกส านวนกลอนได้โดยพลันทั้งนี้เป็นเพราะ ประสบการณ์ทางดนตรีที่ก่อขึ้นทีละน้อยโดยไม่รู้ตัวจนเกิดความเข้าใจและปฏิบัติออกมาโดยพลันหาก จะกล่าวถึงประสบการณ์ทางดนตรีก็ย่อมรวมหมายถึงการได้รับการสืบทอดถ่ายทอดองค์ความรู้จาก ครูรวมถึง การได้รู้ ได้ยิน ได้ฟัง 3. ข้อเสนอแนะ 3.1 ข้อเสนอแนะทั่วไป 3.1.1 เทคนิคและกลวิธีในการเป่าปี่ชวาเพลงระบ าสี่บทของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) สามารถเสริมสร้างทักษะส าหรับผู้เรียนเครื่องเป่าไทย ในการใช้ลม การใช้ลิ้น และ การใช้นิ้ว ในการเป่าปี่ชวาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.1.2 ผลการวิจัยสามารถเป็นแนวทางในการศึกษาเกี่ยวกับเทคนิคและกลวิธีการเป่า ปี่ชวาแก่ผู้เรียนเครื่องเป่าไทย และสถาบันการศึกษาต่าง ๆ เช่น วิทยาลัยนาฏศิลป หรือมหาวิทยาลัย ต่าง ๆ ที่มีการเรียนการสอนสอนเกี่ยวกับดนตรีไทย 3.1.3 แนวทางในการพัฒนาทักษะการเป่าปี่ชวาของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินเเห่งชาติ) สามารถเป็นรูปแบบให้แก่ครูผู้สอนเครื่องเป่าไทยได้ 3.2 ข้อเสนอส าหรับการท าวิจัยครั้งต่อไป 3.2.1 กระบวนการฝึกทักษะการเป่าปี่ชวาเพลงระบ าสี่บทสามารถน าไปต่อยอด ในงานวิจัยครั้งต่อไปในหัวข้อเรื่องการบรรเลงปี่ชวาในจังหวะหน้าทับพิเศษต่าง ๆ เช่น หน้าทับลงสรง หน้าทับขึ้นม้า หน้าทับสมิงทอง เป็นต้น 3.2.2 สามารถน าไปต่อยอดในหัวข้องานวิจัยเรื่องรูปเเบบการเรียบเรียงส านวนกลอน ปี่ชวาในวงปี่พาทย์นางหงส์ของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินเเห่งชาติ)


บรรณานุกรม กมล แก้วสว่าง. (2556). การวิเคราะห์การเป่าปี่ชวาเพลงโหมโรงราโค ทางครูมนตรี ตราโมท กรณีศึกษา ครูปี๊บ คงลายทอง. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต).สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์, กรุงเทพมหานคร. กรมพลศึกษา. (2559). ประวัติศาสตร์มวยไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์บีทีเอสเพรส. กระทรวงวัฒนธรรม. (ม.ป.ป.) ค าประกาศเกียรติคุณ นายปี๊บ คงลายทอง ศิลปินแห่งชาติสาขา ศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) พุทธศักราช ๒๕๖๓. [ออนไลน์]สืบค้นเมื่อ 26 กันยาย 2564, จาก http://www.culture.go.th/culture_th/images/akasit/252630233.pdf. ก าจร สุนพงษ์ศรี. (2556). สุนทรียศาสตร์. กรุงเทพฯ: วีพริ้นท์. โครงการปริญญานิพนธ์ทางดุริยางคศิลป์ไทย. (2564). ล่องลมล าน า เพลงชีวิต ครูปี๊บ คงลายทอง. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 13 สิงหาคม 2564, จาก http://LONGLOM.COM จรัญ กาจนประดิษฐ์. (2560). เดี่ยวขลุ่ยเพียงออ: เพลงสองชั้น. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย ขอนแก่น. จเร อู่แก้ว. (2554). กระบวนการเรียนการสอนปี่ในสถาบันอุดมศึกษา. (วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล, นครปฐม. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2558). วงเครื่องสายปี่ชวา. เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการทาง ด้านดุริยางคศิลป์ไทยเรื่อง เครื่องสายปี่ชวา. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2557). ประวัติความเป็นมาของวงปี่ชวากลองแขก. เอกสาร ประกอบการสัมมนาเรื่องวงปี่ชวากลองแขกในงานพระราชพิธี. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ฐิรพล น้อยนิตย์. (2559). การเข้าหน้าทับ. กรุงเทพฯ: บัวเงิน. ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์. (2557). สารานุกรมเพลงไทย. นครปฐม: ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหิดล. ทิศนา แขมมณี. (2560). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บุญช่วย โสวัตร. (2541). การพัฒนามาตรฐานดนตรีไทยด้านคุณภาพเสียงและรสมือ. เอกสาร ประกอบการสัมมนาทางการพัฒนามาตรฐานดนตรีไทยด้านคุณภาพเสียง และรสมือ และ หลักทั่วไปของการขับร้องเพลงไทย. โรงแรมเมอร์เคียวร์ กรุงเทพฯ. บุญธรรม ตราโมท. (2540). ค าบรรยายวิชา ดุริยางคศาสตร์ไทย. กรุงเทพฯ: ศิลปสนองการพิมพ์. บุญธรรม ตราโมท. (2545). ค าบรรยายวิชา ดุริยางคศาสตร์ไทย. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. บุญเสก บรรจงจัด. (2552). วิเคราะห์ทางเดี่ยวปี่ใน เพลงพญาโศก 3 ชั้น สายพระยาเสนาะ. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์, กรุงเทพมหานคร. ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน. (2559). เครื่องสายปี่ชวา. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ประชากร ศรีสาคร. (2564). ท านองซออู้. กรุงเทพฯ: สหธรรมิก. พงษ์ศิลป์ อรุณรัตน์. (2554). ปฐมดนตรีไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.


125 พลณศักดิ์ ทรัพย์บางยาง. (2559). แนววิธีการบรรเลงวงปี่ชวากลองแขกกับมวยไทยของสนามมวย เวทีราชด าเนิน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามห าบัณฑิต). สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กรุงเทพมหานคร. พวงเพ็ญ รักทอง. (2539). การศึกษาเรื่องเครื่องสายปี่ชวา. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยมหิดล, นครปฐม. พูนพิศ อมาตยกุล. (2527). ดนตรีวิจักษ์ : ความรู้เกี่ยวกับดนตรีเพื่อความชื่นชม. กรุงเทพฯ: เกียรติธุรกิจ. มนตรี ตราโมท. (2513). ประวัติดนตรีไทยสมัยกรุงสุโขทัยถึงกรุงรัตนโกสินทร์: อนุสรณ์ในงาน ฌาปนกิจศพกิจศพนางราชทัณฑพิทักษ์ (ล้วน อสัตถวาสี) ณ. ฌาปนสถานกองทัพบก วัดโสมนัสวิหาร วันจันทร์ที่ 1 มิถุนายน พุทธศักราช 2513.กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศนการพิมพ์. มานพ วิสุทธิแพทย์. (2556). ทฤษฎีการวิเคราะห์เพลงไทย. กรุงเทพฯ: สันติสิริการพิมพ์. ยุวรัตน์ นักท านา. (2563). การเป่าปี่ชวาตามแนวทางของครูปี๊บ คงลายทอง. (วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต). สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์, กรุงเทพมหานคร. ราชบัณฑิตยสถาน. (2545).สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย ภาคคีตะดุริยางค์. กรุงเทพฯ:ราชบัณฑิตยสถาน. ราชบัณฑิตยสถาน. (2552). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2552. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์. วรนาฏ พึ่งอุดม. (2548). ประวัติและผลงานในการบรรเลงปี่ในของ ครูปี๊บ คงลายทอง. ดนตรีนิพนธ์. ปริญญาตรีสาขาวิชาดนตรีไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม, กรุงเทพมหานคร วัศการก แก้วลอย. (2558). วิภัชเพลงเรื่อง. ขอนแก่น:คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ศุภกิจ จารุจรณ. (2539). ดนตรีส าหรับต่อสู้ป้องกันตัว มวยไทยและอาวุธโบราณ. (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล, นครปฐม. สงบศึก ธรรมวิหาร. (2542). ดุริยางค์ไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สงัด ภูเขาทอง. (2539). การดนตรีไทยและทางเข้าสู่ดนตรีไทย. กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์. สวรรยา ทับแสง. (2560). การศึกษาวิธีการขับร้องเพลงระบ าสี่บท ทางครูเจริญใจ สุนทรวาทิน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพมหานคร. ส านักมาตรฐานอุดมศึกษา ส านักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย. (2544). เกณฑ์มาตรฐานดนตรีไทย และเกณฑ์การประเมิน. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์. ส าเนา เปี่ยมดนตรี. (2552). ปี่ใน : กระบวนการถ่ายทอดส านักปี่ครูเทียบ คงลายทอง. (วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล, นครปฐม. สุกรี เจริญสุข. (2533). ประวัติและพัฒนาการของปี่ไทย. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อ พัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพมหานคร. สุรพล สุวรรณ. (2549). ดนตรีไทยในวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2553). หลักการสอน (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. อุทิศ นาคสวัสดิ์. (2546). ทฤษฎีและหลักปฏิบัติดนตรีไทยและพจนานุกรมดนตรีไทย. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.


บุคลานุกรม ชัยนรินทร์ แถมมีทรัพย์. ข้าราชการทหาร สังกัดกองทัพเรือ กองดุริยางค์ทหารเรือ. (ผู้ให้สัมภาษณ์) ศักดิ์สิทธิ์ ฤทธิ์รอด. (ผู้สัมภาษณ์). เมื่อ 30 มีนาคม 2564, 25 เมษายน 2564. บุญเสก บรรจงจัด. ผู้ช่วยศาสตราจารย์. หัวหน้าภาคดุริยางคศิลป์ คณะศิลปนาฏดุริยางค์ สถาบัน บัณฑิตพัฒนศิลป์. (ผู้ให้สัมภาษณ์). ศักดิ์สิทธิ์ ฤทธิ์รอด. (ผู้สัมภาษณ์). เมื่อ 4 พฤศจิกายน 2564. ปี๊บ คงลายทอง. ศิลปินแห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญดนตรีไทย ส านักการสังคีต กรมศิลปากร. (ผู้ให้สัมภาษณ์). ศักดิ์สิทธิ์ ฤทธิ์รอด. (ผู้สัมภาษณ์). เมื่อ 20 มีนาคม 2564 , 21 มีนาคม 2564,23 มีนาคม 2564, 24 มีนาคม 2564 , 25 มีนาคม 2564. พลณศักดิ์ ทรัพย์บางยาง. ข้าราชการครูช านาญการพิเศษ วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี. (ผู้ให้สัมภาษณ์). ศักดิ์สิทธิ์ ฤทธิ์รอด. (ผู้สัมภาษณ์). เมื่อ 21 มีนาคม 2564. ภัทระ คมข า,รองศาตราจารย์. อาจารย์และหัวหน้าภาควิชาดุริยางคศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. (ผู้ให้สัมภาษณ์) ศักดิ์สิทธิ์ ฤทธิ์รอด. (ผู้สัมภาษณ์เมื่อ 6 พฤศจิกายน 2564. รังสี เกษมสุข. ผู้ช่วยศาสตราจารย์. ข้าราชการครูบ านาญ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนคริน ทรวิโรฒประสานมิตร. (ผู้ให้สัมภาษณ์). ศักดิ์สิทธิ์ ฤทธิ์รอด. (ผู้สัมภาษณ์) เมื่อ 11 เมษายน 2564. สิงหล สังข์จุ้ย. ข้าราชการบ านาญ ส านักการสังคีต กรมศิลปากร. (ผู้ให้สัมภาษณ์). ศักดิ์สิทธิ์ ฤทธิ์รอด. (ผู้สัมภาษณ์). เมื่อ 22 เมษายน 2564. สุรพล หนูจ้อย. ข้าราชการบ านาญ ส านักการสังคีต กรมศิลปากร. (ผู้ให้สัมภาษณ์). ศักดิ์สิทธิ์ ฤทธิ์รอด. (ผู้สัมภาษณ์). เมื่อ 26 เมษายน 2564. สุรินทร์ เจือหอม. ข้าราชการครูบ านาญ โรงเรียนคงคาราม (ผู้ให้สัมภาษณ์) ศักดิ์สิทธิ์ ฤทธิ์รอด. (ผู้สัมภาษณ์). เมื่อ 23 เมษายน 2564. สุวรรณ ศาสนนันท์. ข้าราชการทหารบ านาญ สังกัดกองทัพเรือ กองดุริยางค์ทหารเรือ. (ผู้ให้สัมภาษณ์). ศักดิ์สิทธิ์ ฤทธิ์รอด. (ผู้สัมภาษณ์). เมื่อ 24 เมษายน 2564. อนันต์สบฤกษ์. ข้าราชการบ านาญ. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล. (ผู้ให้สัมภาษณ์). ศักดิ์สิทธิ์ ฤทธิ์รอด. (ผู้สัมภาษณ์). เมื่อ 11 เมษายน 2564.


ภาคผนวก


ภาคผนวก ก ภาพในการด าเนินงานวิจัย


129 ภาพที่51 ผู้วิจัยลงภาคสนามเพื่อต่อท านองปี่ชวาเพลงระบ าสี่บทกับครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) ณ ห้องปฏิบัติเครื่องเป่าไทย คณะศิลปนาฎดุริยางค์ ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่52 ครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) เป่าปี่ชวาเพลงระบ าสี่บทให้ผู้วิจัยได้ดูเป็นตัวอย่าง ที่มา: ผู้วิจัย


130 ภาพที่53 ผู้วิจัยสัมภาษณ์เพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวคิดในการพัฒนาทักษะการเป่าปี่ชวา ของครูปี๊บ คงลายทอง (ศิลปินแห่งชาติ) ณ ส านักการสังคีต กรมศิลปากร ที่มา: ผู้วิจัย ภาพที่54 สัมภาษณ์ครูสุรพล หนูจ้อย ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนเครื่องเป่าไทยใน วิทยาลัยนาฏศิลปะ และอธิบายเกี่ยวกับกลวิธีในการเป่าปี่ชวา พร้อมทั้งให้ดูปี่ชวาของ พระสรรเพลงสรวง (บัว กมลวาทิน) ที่มา: ผู้วิจัย


ภาคผนวก ข ค าสัมภาษณ์เพิ่มเติม


132 ภัทระ คมข า (2564 , 6 พฤศจิกายน , สัมภาษณ์) ได้กล่าวไว้ว่า “พื้นฐานส าคัญของคนเครื่องเป่า ไทยเนี่ยนะครับหัวใจส าคัญเลยก็คือ การใช้ลิ้น การใช้ลม การใช้นิ้ว ครับ ผู้ที่ขึ้นชื่อว่าเป่าปี่ดี จะต้องฝึก พื้นฐานทั้ง 3 ส่วนที่ครูบอกมานี้ให้ให้เกิดความช านาญ โดยเฉพาะทางสายส านักครูเทียบ คงลายทองนะ ครับจะเน้นย้ าในส่วนนี้เป็นอย่างมากและมีขั้นตอนที่ระเอียดลึกซึ้งในการฝึกผู้เรียนยกตัวอย่างนะครับ อย่างเช่นการเรียนปี่ใน ก็จะเริ่มปูพื้นฐาน การตอดลิ้นการตอดลม การฝึกเพลงเริ่มต้นที่เป็นเสียงยาวๆ ก่อนเพื่อที่จะปูพื้นฐานในการใช้ลมให้มีความช านาญ กระบวนการเรียนจะใช้เพลงต้นแบบที่มีลักษณะสั้น ๆ ง่าย ๆ การสอนจะแปรท านองจะฆ้องให้เป็นท านองลีลาเฉพาะของเครื่องเป่านั้นๆ และจะสอดแทรก เทคนิคการบังคับเสียงไปด้วยเพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจว่า การตอดลิ้น การใช้ลม การเชื่อมกลอนต่างๆเป็น อย่างไร อย่างเพลงโล้ก็ดีฝึกพื้นฐานการระบายลม หลังจากนั้นก็จะสู่การฝึกเพลงที่เริ่มยากขึ้นเรื่อย ๆ อย่างเพลง สามชั้น ในกลุ่มเสียงต่างๆ เช่น เพลงเขมรใหญ่ เพลงสุรินทราหู เพลงกลุ่มนี้เป็นเพลงที่ปี่เป่า ล าบากเพราะมีเสียงที่ตะแครงเป็นเสียงที่ไม่ตรงกับกลุ่มเสียงในโดยตรงเมื่อผู้เรียนฝึกแล้วก็จะใจการเชื่อม กลอนรวมถึงฝึกการใช้ลมไปในตัวด้วย การเรียนจะค่อยเป็นค่อยไปเริ่มต้นจะไปเพลงเดี่ยวเลยอย่างนี้ก็ ไม่ได้นี่เป็นระบบการเรียนซึ่งเป็นภูมิปัญญาที่ครูโบราณท่านได้คิดค้นค้นขึ้นและถ่ายทอดกันมาในระบบ ของมุขปาฐะจนกลายเป็นวัฒนธรรม วิธีการฝึกทักษะเครื่องเป่าในลักษณะนี้เมื่อฝึกแล้วมันท าให้เรามีฐาน ก าลัง ที่มั่นคง พอฐานเราแน่นเราจะไปเป่าอะไรก็ได้ไม่เพี้ยน มีก าลังที่ดีใช้ลมยาวๆได้ดีเพราะว่าฝึกกันอยู่ ตลอดเวลา เป่าปี่ก็ชัดน่าฟังเป่าเป็นค าๆในด้านการเป่าปี่ชวานะครับรากฐานพื้นฐานของการเป่าปี่ชวามา จากปีใน ไม่ว่าจะเป็น การระบายลม การตอดลิ้น ตอดลม ดังนั้นในการฝึกหัดปี่ชวาก็จะไปเริ่มที่ท านอง แปรเลยไม่เหมือนกับปี่ในที่ต้องเป่าแต่ละเสียงให้ได้ก่อนจะเริ่มแปรท านองเลยเพราะพื้นฐานในขั้นต้นได้ เริ่มฝึกจากปี่ในมาแล้ว ก็จะเป็นการเรียน ส านวนกลอน ลีลาเฉพาะตัวในการเป่าปี่ชวาซึ่งเป่าปี่ชวาไม่ง่าย นะครับจริงๆแล้วมีฐานจากการใช้ลม การใช้ลิ้นจากปี่ในก็จริงแต่ปี่ชวาโดยกายภาพแล้วมีความลึกเป็น อย่างมากครับในเรื่องของการประคองลม ประคองลิ้นปี่เพราะมีความดังแหลมสูงมากเสียงปี่ชวามีความ ล าบากมากครับต้องมีการเรียนจึงจะประสบความส าเร็จ อย่างเสียงแหบสูงถ้าตอดลิ้นอย่างเดียวถือว่าไม่ได้ เรียนมานะครับ แล้วนิ้วก็ต้องเรียนเพราะนิ้วชวาไม่ใช่ของทั่วไป ไม่ใช่ว่าใครจะมาจับปี่ชวาแล้วเป่าแล้วเป่า ดีได้เลยจะมีกระบวนการของนิ้วอยู่ มีกี่กลุ่ม 3 กลุ่ม ต้อ กลาง เเหบ ต้อก็คือเสียงต่ า กลางก็คือเสียงใช้ ทั่วไปลักษณะกระบวนการเรียนปี่ชวาก็จะเริ่มจากเพลงพื้นฐานก่อนเป็นล าดับขั้นเหมือนกันกับ ปี่ในที่ยกตัวอย่างไปข้างต้นนะครับการเรียนในสายส านักครูเทียบ คงลายทองที่ตกทอดมาถึงครูปี๊บ คงลายทอง สรุปเลยนะครับเป็นกระบวนการที่จะท าให้ผู้เรียนเข้าใจถึงกลเม็ดเด็ดพรายในการเป่าปี่เพื่อ น าไปประยุกต์ใช้ในการบรรเลงจริงสามารถประดิษฐ์เสียงออกมาได้อย่างไพเราะครับ”


133 พลณศักดิ์ ทรัพย์บางยาง (2564 , 21 มีนาคม , สัมภาษณ์) ได้กล่าวไว้ว่า “ส าหรับวงเครื่องสาย ปี่ชวานะครับเสียงปี่ชวาจะดังมากกว่าเพื่อนเป็นสิ่งที่ท าให้เครื่องดนตรีชิ้นอื่นดูเบาไปเลย เช่น จระเข้ ซอ ด้วง ซออู้ เนี่ยเป็นเครื่องดนตรีที่เสียงเบา ฉะนั้นหลักของปี่ชวาที่เป่าในวงเครื่องสายปี่ชวา จะต้องเป่าให้ รวดเร็วเพราะแนวของการบรรเลงค่อนข้างเร็วสูงจะเร็วแค่ไหนอยู่ที่ศักยภาพของผู้บรรเลงไม่ว่าจะเป็น ปี่ ชวา กลองแขก ซอด้วง ซออู้ จระเข้ เสียงปี่ชวาต้องไม่ดังจนเกินไปกว่าเครื่องดนตรีอื่นๆเพราะถ้าดังเกิน เสียงปี่ชวาจะกลบท านองเพลงท านองเครื่องอื่นๆให้เกิดความด้อยลงท าให้วงเครื่องสายปี่ชวาไม่มีความ ไพเราะเพราะเสียงของปี่ชวามีอิทธิพลอย่างมากต่อ เครื่องดนตรี 3 ชนิด คือ ซอด้วง ซออู้ จระเข้ แต่ก็ ไม่ใช่ว่าจะต้องใช้ลิ้นเป่าจนเกินไปเพียงแด่ต้องสามารถคุมเพลงทั้งเพลงได้จะโหยเหมือนกับเพลงอื่นไม่ได้ เพราะเหตุที่ว่ามันดังกว่าเครื่องอื่นจึงต้องเป็นการใช้เสียงของปี่ชวาในวงเครื่องสายปี่ชวานั้นจะต้องไม่ดัง จนเกินไปและไม่เบาจนเกินไปเหมือนจระเข้เหมือนซอด้วย ได้การรับ-ส่งเพลง ปี่ชวาเป็นเหมือนผู้น าวงใน วงเครื่องสายปี่ชวาอีกด้วย การเลือกระดับเสียงในการบรรเลงวงเครื่องสายปี่ชวาจะต้องค านึงถึงระบบ เสียงที่ท าให้ปี่ชวานั้นโดดเด่น ไม่ก าหนดตายตัว เพลงนั้นก็มีความส าคัญเช่นกันจะต้องค านึงถึงความโดด เด่นของปี่ชวา ส่วนมากที่จะเล่นกันก็เพลงลมพัดชายเขา เพลงปี่ชวาเป่าได้ล าบากคือเพลงที่ลบเสียง อย่างเช่นเพลงส าเนียงมอญต่าง ๆ วงนางหงส์มีบทบาทตรงขึ้นเพลง ส่วนในการเป่าในวงปี่พาทย์มันท าให้ การปี่ชวาด้อยลง ความโดดเด่นของปี่ชวาจะมีในเพลงชุดนางหงส์ กับเพลงประเภทภาษาส่วนเพลงสามชั้น ก่อนที่จะไปออก 2 ไม้จะไปออกเพลงภาษาเนี่ย หรือออกเพลงฉิ่งหรือเพลงเร็วพบว่าจากประสบการณ์ที่ ผมได้เป่ามา ฟังเสียงเนี่ยปี่ชวาท าได้ไม่ดีเท่าที่ควรหรือบางเพลงไปเจอนิ้วที่มันเป่ายาก สร้างความล าบาก ใจให้ผู้เป่าปี่ชวาพอสมควร วงเครื่องสายปี่ชวาและวงปี่พาทย์นางหงส์มีแนวการบรรเลงที่คล้ายคลึงกันคือ ค่อนข้างไปในความเร็วสูง คนที่เป่าปี่ชวาในวงนางหงส์จะต้องแม่นเพลง เพราะถ้าไม่แม่นเพลงแล้วจะท า ให้เป่ามาไม่น่าฟังเพราะในเรื่องของแนวเสียงก็เป่าล าบากอยู่แล้ว จะต้องมีการซ้อมมาอย่างดี แล้วพบว่า ในการเป่าปี่ชวาในดูเพลงเรื่องนางหงส์พอไปถึงเสียงต่าแล้วท าให้เราล าบาก อีกทั้งยังมีการเปลี่ยนเสียง อย่างฉับพลัน ปกติแล้วในวงปี่พาทย์นางหงส์จะเล่นทางเสียงเพียงออบนจะไม่บรรเลงเสียงปี่ชวาแท้ๆ เพลงเรื่องนางหงส์ส่วนใหญ่จะเล่นกันเฉพาะกลุ่มผู้บรรเลงเพราะฉะนั้นสิ่งส าคัญของผู้เป่าปี่ชวา จะต้อง แม่นเพลงแล้วจะต้องมีการซ้อมมาอย่างดี ปี่ชวาต้องรู้วิธีการเป่าจะเป่าตามเนื้อฆ้องนั้นไม่ได้ เอกลักษณ์ใน ที่นี้คือการใช้เสียงและการใช้ทางทางที่พูดถึงนี้ก็คือทางของเครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงยางระนาดบรรเลงไป ยังทางระนาดปี่ชวาก็เหมือนกันก็จะมีทางเฉพาะของเค้าในเรื่องของช่วงเสียงนั้นปี่ชวาท าได้ไม่เหมือนกับ เครื่องดนตรีอื่นอย่างเช่นระนาดถ้าไปเสียงต่ าลงไปแล้วนั้นก็ไม่มีทางไปต่อเพราะช่วงเสียงของปี่ชวาน้อย กว่าปี่ในจะต้องรู้ว่าโหยไปยังไงแล้วจะกลับมาเก็บได้ยังไง เสียงปี่ชวาในวงปี่พาทย์ค่อนข้างจะแหลม ดังนั้น ปี่ชวาในวงนางหงส์ไม่ควรจะเป่าดัง กลบเครื่องดนตรีอื่นๆอีกทั้งเอกต้องใช้การบรรเลงที่มีความเร็วสูงถ้า


134 เสียงปี่ชวาปล่อยกลบหมดแล้วถ้าเป่าทันก็ไม่เป็นไรแต่ถ้าเป่าไม่ทันก็มาไม่บาลานส ปี่ชวาถ้าเอากันให้ดี แล้วจะต้องมีการเรียนรู้ถึงจะเป่าได้ดี วงเครื่องสายปี่ชวาก็มีกันโหยหวยอยู่มากแต่วงปี่พาทย์นางหงส์ส่วน ใหญ่จะเก็บจริงๆบรมครูโบราณได้มีการทดสอบ ใช้ปี่นอกต่ ามาเป่าในวงนางหงส์ก่อน เพราะจริงๆปีชวามี เฉพาะวงบัวลอยเท่านั้น วงบัวลอยก็มีกลองมาลายู วงบัวลอยถือเป็นสูงสุดของผู้บรรเลงปี่ชวา กลองก็มี บทบาทหน้าทับนางหงส์ หน้าทับนางหน่ายวงบัวลอยปี่ชวาจะเป็นผู้น า คนเป่าบัวลอยได้ก็จะต้องมี ความสามารถสูงสุดกว่า 2 วงที่ผ่านมา ส่วนวงปี่ชวากลองแขกก็มีรายละเอียดมากพอๆกับวงบัวลอยเลยมี สะระหม่าเเขก สะระหม่าไทย มีปี่มวยกระบี่กระบอง ฉะนั้นพูดได้เป่าปี่ชวาใน 2 วงนี้ได้ 1. จะต้องมีสมาธิ สูง 2. ต้องได้เพลงเยอะ 3. และต้องมีความรู้สูง ใช้ปฏิภาณใช้ไหวพริบค่อนข้างสูง ต้องรู้หน้าทับด้วยต้อง เป่าให้ลง ต้องมีความช านาญดีใจที่มีสมาธิที่ดี ส าหรับปี่ชวากลองแขกนั้น สะระหม่าเเขกเกิดก่อนเพราะมา กับการร ากริชในละครเรื่องอิเหนามาตั้งแต่สมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ชั้นหลังมาจึงเกิดสาระหม่าไทย ส าหรับสาระมา 4 ตัวคือในช่วงโยนค าว่าท่าก็คือท่อนของเพลง ปี่ชวาที่เป่าเพลงสระหม่าไทยนี้ใช้ส าหรับ งานมงคล ปี่ชวานี้เพี้ยนง่ายส าหรับสายครูเทียบ คงลายทอง จะรู้เลยว่าเสียงฮ้อ จะต้องเป่าให้ประคบ เสียงจะไม่เป่าเต็มลม การเรียนนั้นจะรู้ด้วย ลู่ทางในการเป่าเป็นอย่างไรซึ่งตรงนี้คนปี่ด้วยกันจะรู้ดี เหมือน คนระนาดตีเพลงเดียว ก็รู้แล้วว่าเป็นอย่างไร การฝึกของปี่ชวาเสียงแรกเลยที่จะต้องท าให้ได้คือเสียงฮ้อ เพิ่งท ายากมาก และคนปี่ที่หัดปี่ชวาจะต้องไม่ใช้ลิ้นหนักมากจะท าให้ติด ลิ้นของปี่ชวาจะต้องตัดให้เล็กไม่ ใหญ่มาก ฝึกการตอด การควบคุมลม ที่เห็นกันมาส าหรับเพลงแรกในการฝึกเพลงปี่ชวาก็จะเป็นเพลงตับ ลมพัดชายเขา จะมีลูกที่เป็นเอกลักษณ์ของปี่ชวา ท าให้ลมกระชับ ฝึกเสียงไม่ให้เพี้ยน เพราะว่ามีบางลูกที่ ท าให้เพี้ยนง่าย แล้วก็จะเป็นเพลงอาวุธต่างๆเพลงสองชั้นง่ายๆ ปี่ชวาควรจะเรียนเป็นล าดับขั้นตอนถึงจะ ส าเร็จได้ดี ทีนี้มาพูดถึงเรื่องปี่ชวาเพลงระบ าสี่บท เพลงเหล่านี้ถึงจะใช้ในเพลงโขนละครก็จริงแต่เมื่อน ามา ฝึกปี่ชวาแล้วสามารถเป็นพื้นฐานในการเป่าปี่ชวาได้ดี อยู่ในกลุ่มที่สามารถจะมาต่อกันได้ถ้าหากคนผู้นั้นมี ความรู้ โดยเฉพาะพระทองกับเบ้าหลุดในระบบของการเรียนปี่ชวายังไม่มีต าราที่ชัดเจนมีแต่เฉพาะกลุ่ม ส านักปี่ครูเทียบ คงลายทอง ที่ชัดเจนที่สุดในเรื่องของกระบวนการฝึกเครื่องเป่าไทยทุกชนิด อีกเพลงหนึ่ง ที่น่าฝึก คือซัดชาตรีชาตรีนี้จะต้องได้เพลงชั้นเดียวเยอะมากแล้วจะต้องลอยให้เข้ากับกลองหน้าทับ การ เป่าปี่ชวาของครูปี๊บนั้นเลียนเเบบกันยาก ครุปี๊บมีการโหนลมที่เป็นเอกลักษณ์ ครูปี๊บเข้าใจเรื่องระบบเสียง การโรยเสียง การหลบเสียง การเป่าปี่ชวาจะต้องมีความคล่องตัวสูง ในการเป่าปี่ชวาเพลงระบ าสี่บทดู เหมือนจะมีลูกล่อลูกชนกว่าปีในคือบางที ลักจังหวะ ย้อยจังหวะซึ่งลูกพวกนี้ ก็จะไปปรากฏอยู่ในกลุ่ม เพลงต่างๆอย่างเช่นในวงเครื่องสายปี่ชวาในวงปี่พาทย์นางหงส์ในกลุ่มเพลงลมพัดชายเขาเป็นต้น เป็นการ ฝึกท านองปี่ชวาไปในตัวซึ่งสิ่งพวกนี้เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของปีชวาที่นักเรียนนักศึกษาควรจะต้องศึกษาไว้”


135 สุรินทร์ เจือหอม (2564 , 3 เมษายน, สัมภาษณ์) ได้กล่าวไว้ว่า “เริ่มเรียนปี่ในกับครูมาก่อนเหตุ ที่เรียนปี่ชวาก็เพราะว่าอยู่ห้องอาหารโอเร็นเต็ล บอกครูว่าต้องไปเป่าปี่ฟันดาบครูก็ต่อสะระหม่าให้ก่อนที่ จะต่อสะระหม่าผมเรียนระบ าสี่บทมาก่อน เป่าเพลง สองชั้นมาก่อน เช่นเพลงลมพัดชายเขา เพลงลงสรง ผมได้มาก่อนแล้วพอได้มาเรียนกับครูมันท าให้ได้นิ้วด้วย ครูเป่าอย่างไรเราก็ได้เห็นนิ้วทั้งหมด ระบ าสี่บท ก็มี พระทอง เบ้าหลุด สระบุหร่ง บลิ่ม ครูแม่นเพลงมากเราเป่าปี่แกสีซออู้เป็นท านองที่เราเป่าปี่ชวาที่บ้าน สวนผัก ระบ าสี่บทมีข้อดียังไงมันเปลี่ยนบันไดเสียงบ่อย ในตัวเพลง เริ่มจากพระทองก็มีเปลี่ยนบันไดเสียง พระทองมีท านองเรียบ ๆ ไม่มีอะไรก็น าไปใช้ด้วยที่โอเร็นเต็ล ครูจะให้เป่าเพลงที่เปลี่ยนบันไดเสียงส่วน ใหญ่ เอาง่ายๆแค่มอญร าดาบมีคนมาต่อกับผมหายไปหลายคนแล้วว่ายากเสียง เพราะเสียงของปี่ชวาเนี่ย บันไดเสียงมันไม่คุ้นกับประสาทหูของคนที่ไม่เคยหัดมาก่อน ปี่ชวาของครูรู้สึกว่าต่างจากปี่ของคนอื่นปี่ชวา บางเจ้าปิดหมดเสียงจะต่ าไปครึ่งเสียงไม่ได้ว่าผิดหรือถูกแต่เราคุ้นกับเสียงปี่ของครู กลวิธีในการเป่าปี่ชวา เพลงระบ าสี่บทก็คือเป็นทางปี่เลย ทางปี่เลย ลักษณะก็จะเป็นประมาณว่า ขึ้นไปหมดแล้วจะลงมาอย่างไร ท านองมันขึ้นสูงไปหมดแล้วจะกลับมาลงต่ าอย่างไรให้พอดี ได้อะไรเยอะมากระบ าสี่บทได้อะไรเยอะมาก ท าให้รู้และสามารถใช้เทคนิคเป่าเสียงได้ครบถ้วนอยู่ในปี่ชวาจะหมดไปข้างบนหรือหมดไปข้างล่างในเรื่อง ของนิ้วเสียงมันตะแครงเสียงมันไม่ตรงกับบันไดเสียงปี่ชวาทั้งสี่เพลงเลย ได้การใช้นิ้วเยอะมากถามว่าปี่ใน กับปี่ชวาอันไหนยากกว่ากันปี่ชวายากกว่านะยากในการท าลม ท าลิ้น ทุกวันนี้ผมฟังรัวบัวลอยของครูจ าได้ แต่ยังเป่าไม่ได้เลยครูปี๊บคล่องมาก ในระบ าสี่บทมีอะไรอยู่ในนั้นหมดทั้งสี่เพลงเลย สามารถน าไป ประยุกต์ใช้ในเพลงอื่นได้ทั้งหมดเลยไม่มีอะไรที่ยากไปกว่านี้แล้ว มีวิดีโออยู่อันหนึ่งครูปี๊บเป่าสะระหม่า แขก อู้หู พลั่งพลู คล่องมากเป่าคล่องมากเพราะฉะนั้นปี่ชวาไม่ง่ายนะ ไม่มีอะไรยากไปกว่าระบ าสี่บทแล้ว ระบ าสี่บทยากตรงที่เสียงมันหลบขึ้นหลบบน ท่าทางลีลาเนี่ยที่ได้ยินครูเป่า ก็จะมียักเยื้อง เนี่ยเรียกว่า ท่าทางเป็นเทคนิคของครูเลย ครูจะไม่เป่าตรงๆเป็นลักษณะเด่นของครูก็มีเห็นพี่ปี๊บกับครูเทียบที่เป่าแบบ นี้ เป่าให้มันมีท่ามีทางใครเรียงมาทางนี้ก็จะได้พวกนี้คือการยักเยื้อง ที่เป็นท่าทางเฉพาะของปี่ชวา ระบ า สี่บททั้งนั้นเลยนอกจากนั้นมีในบัวลอย ยังมีอะไรอีกเยอะมากครูเป่าไม่เคยซ้ า ครูแม่นเพลงมากครูปี๊บเนี่ย แม่นเพลงมาก ความส าคัญในการเป่าเพลงระบ าสี่บท คือ ท าให้เรารู้ระบบเสียงของปี่ชวามันพันไปพันมา ขึ้น ๆ ลง ๆ มันไม่ได้เสียงตรง ๆ เหมือนเพลงทั่ว ๆ ไปท าให้เรารู้กลวิธีที่จะน าไปใช้กับเพลงอื่นไม่มีอะไร ยากไปกว่านี่แล้วยกเว้นสะระหม่าที่พลิกแพลงครูคล่องมาก เพลงบางเพลงอย่างเพลงปี่พาทย์หงส์เนี่ยปี่ ชวาจะเป่าให้เพราะยาก อย่างครูเล็กเป่าปี่คล่องมากแต่ส านวนต่างกับทางนี้ คือคนที่เรียนกับใครมันก็จะ ไปกับทางนั้นเหมือนส าเนียงที่เราพูดอยู่บ้านไหนก็จะพูดแบบนั้น ครูปี๊บมีข้อเด่นตรงที่ท่านแม่นเพลงไป งานไหน ๆ เป่าไม่เคยซ้ ากันเวลาต่อเพลงถ้าเราจ าไม่ได้แล้วเนี่ยพออีกวันเปลี่ยนให้ใหม่อีกนี่คือปฏิภาณไหว พริบของแกสุดยอด ระบ าสี่บทปี่ชวาคือพื้นฐานที่ส าคัญสู่เพลงที่ใหญ่ขึ้นไปอีกต่างกับเพลง สองชั้น สามชั้น


Click to View FlipBook Version