The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิทยาศาสตร์ ป.4 หน่วยที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by potchana1212, 2019-10-15 04:44:44

หน่วยที่-1 จิ๊บ

วิทยาศาสตร์ ป.4 หน่วยที่ 1

สารบญั หนา้
1
เร่ือง 4
7
มาตรฐานและตัวชว้ี ัด 8
คาอธิบายรายวิชา 11
โครงสร้างรายวิชา 12
โครงสรา้ งหน่วยการเรยี นรู้ 13
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 การเรียนรู้ส่ิงตา่ งๆรอบตัว 18
บูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง การสบื เสาะหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ 23
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 เร่อื ง การวัดและการใชจ้ านวนของ
นกั วทิ ยาศาสตร์
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3 เร่อื ง การทดลองของนักวิทยาศาสตร์

1

มาตรฐาน/ตัวช้วี ดั
วิชา วิทยาศาสตร์ ป.4

สาระที่ 1วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัตขิ องส่งิ มชี วี ติ หนว่ ยพื้นฐานของส่ิงมชี ีวิตการลาเลียงสารผา่ นเซลล์ความสัมพันธข์ อง
โครงสรา้ งและหนา้ ที่ของระบบต่างๆของสตั ว์และมนุษยท์ ่ีทางานสัมพนั ธก์ ันความสัมพนั ธข์ องโครงสร้างและหนา้ ท่ี
ของอวัยวะตา่ งๆของพชื ทที่ างานสมั พันธ์กันรวมทั้งนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
ตวั ช้ีวดั

ว 1.2 ป.4/1 บรรยายหน้าที่ของรากลาต้นใบและดอกของพืชดอกโดยใช้ขอ้ มลู ท่รี วบรวมได้

สาระท1ี่ วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.3 เขา้ ใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมสารพันธกุ รรม
การเปลี่ยนแปลงทางพนั ธุกรรมทีม่ ีผลตอ่ ส่งิ มีชวี ิตความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการ
ของส่งิ มีชีวติ รวมทง้ั นาความร้ไู ปใช้ประโยชน์
ตวั ชวี้ ัด

ว 1.3 ป.4/1 จาแนกสง่ิ มีชวี ิตโดยใช้ความเหมือนและความแตกตา่ งของลกั ษณะของส่งิ มีชวี ิตออกเปน็ กลุ่ม
พืชกลุ่มสัตวแ์ ละกลมุ่ ท่ีไมใ่ ช่พชื และสัตว์

ว 1.3 ป.4/2 จาแนกพืชออกเปน็ พืชดอกและพืชไม่มีดอกโดยใชก้ ารมีดอกเป็นเกณฑโ์ ดยใช้ข้อมูลที่รวบรวม
ได้

ว 1.3 ป.4/3 จาแนกสตั วอ์ อกเปน็ สัตว์มกี ระดูกสนั หลงั และสัตวไ์ ม่มีกระดูกสนั หลังโดยใชก้ ารมีกระดกู สนั
หลังเป็นเกณฑ์โดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้

ว 1.3 ป.4/4 บรรยายลักษณะเฉพาะทส่ี ังเกตได้ของสัตว์มกี ระดูกสนั หลังในกลมุ่ ปลากลมุ่ สัตวส์ ะเทินน้า
สะเทนิ บกกลุ่มสัตวเ์ ล้อื ยคลานกลุ่มนกและกลุ่มสตั ว์เล้ยี งลูกด้วยนา้ นมและยกตวั อย่างสิ่งมีชวี ิตในแต่ละกลุ่ม

สาระท่ี 2วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสารองค์ประกอบของสสารความสัมพันธร์ ะหวา่ งสมบัตขิ องสสารกับโครงสร้าง
และแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนุภาคหลกั และธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสารการเกิดสารละลายและ
การเกิดปฏิกิริยาเคมี
ตวั ช้ีวดั

ว 2.1 ป.4/1 เปรยี บเทยี บสมบตั ทิ างกายภาพดา้ นความแขง็ สภาพยืดหยุ่นการนาความรอ้ น
และการนาไฟฟา้ ของวสั ดโุ ดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจักษ์จากการทดลองและระบกุ ารนาสมบัติเรอื่ งความแข็งสภาพ
ยืดหยนุ่ การนาความร้อนและการนาไฟฟา้ ของวสั ดไุ ปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ผ่านกระบวนการออกแบบชน้ิ งาน

ว 2.1 ป.4/2 แลกเปลยี่ นความคิดกับผอู้ ืน่ โดยการอภปิ รายเก่ยี วกับสมบัตทิ างกายภาพของวสั ดอุ ย่างมี
เหตุผลจากการทดลอง

ว 2.1 ป.4/3 เปรียบเทียบสมบตั ิของสสารทั้ง3สถานะจากข้อมลู ท่ไี ดจ้ ากการสงั เกตมวลการต้องการทอ่ี ยู่
รูปร่างและปริมาตรของสสาร

ว 2.1 ป.4/4 ใชเ้ คร่ืองมือเพอ่ื วดั มวลและปรมิ าตรของสสารท้ัง3สถานะ

2

สาระท่ี 2วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องแรงในชีวิตประจาวันผลของแรงท่ีกระทาต่อวัตถลุ ักษณะการเคล่ือนที่แบบ
ต่างๆของวัตถุรวมทง้ั นาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์
ตวั ช้วี ัด

ว 2.2 ป.4/1 ระบผุ ลของแรงโน้มถ่วงที่มีตอ่ วตั ถจุ ากหลักฐานเชิงประจักษ์
ว 2.2 ป.4/2 ใช้เครื่องชงั่ สปริงในการวัดนา้ หนกั ของวัตถุ
ว 2.2 ป.4/3 บรรยายมวลของวตั ถุทม่ี ผี ลตอ่ การเปลยี่ นแปลงการเคล่ือนทขี่ องวัตถจุ ากหลักฐานเชิง
ประจกั ษ์

สาระท2่ี วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลงั งานการเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงานปฏสิ ัมพนั ธ์ระหว่างสสาร
และพลังงานพลงั งานในชวี ิตประจาวนั ธรรมชาตขิ องคลนื่ ปรากฏการณ์ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับเสียงแสง
และคล่ืนแม่เหล็กไฟฟา้ รวมทงั้ นาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์
ตวั ช้ีวดั

ว 2.3 ป.4/1 จาแนกวัตถเุ ปน็ ตัวกลางโปร่งใสตัวกลางโปร่งแสงและวัตถุทบึ แสงโดยใช้ลักษณะการมองเห็นสิ่ง
ตา่ งๆผา่ นวัตถนุ ั้นเป็นเกณฑจ์ ากหลักฐานเชิงประจกั ษ์

สาระท่ี 3วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองคป์ ระกอบลักษณะกระบวนการเกิดและวิวัฒนาการของเอกภพกาแล็กซดี าวฤกษ์

และระบบสุรยิ ะรวมทัง้ ปฏิสัมพันธภ์ ายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสง่ิ มีชีวิตและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
อวกาศ

ตัวช้ีวดั
ว 3.1ป.4/1 อธิบายแบบรูปเสน้ ทางการขึ้นและตก ของดวงจันทร์ โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์
ว 3.1ป.4/2 สรา้ งแบบจาลองทีอ่ ธิบายแบบรปู การเปลีย่ นแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจนั ทร์ และ

พยากรณ์รปู รา่ งปรากฏของดวงจนั ทร์
ว 3.1ป.4/3 สร้างแบบจาลองแสดงองค์ประกอบของระบบสุรยิ ะ และอธิบายเปรียบเทยี บคาบ การ

โคจรของดาวเคราะห์ตา่ ง ๆ จากแบบจาลอง

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชิงคานวณในการแก้ปัญหาทพ่ี บในชีวติ จริงอย่างเปน็ ข้นั ตอนและเป็น

ระบบใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารในการเรยี นรู้ การทางาน และการแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
รู้เท่าทัน และมจี รยิ ธรรม

ตวั ชวี้ ดั
ว 4.2ป.4/1 ใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการแก้ปญั หา การอธิบายการทางาน การคาดการณผ์ ลลพั ธ์ จาก

ปญั หาอย่างงา่ ย
ว 4.2ป.4/2 ออกแบบ และเขยี นโปรแกรมอยา่ งงา่ ย โดยใช้ซอฟตแ์ วร์ หรือสื่อ และตรวจหาข้อผิดพลาด

และแกไ้ ข
ว 4.2ป.4/3 ใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ค้นหาความรู้ และประเมินความนา่ เช่อื ถือของข้อมูล

3
ว 4.2ป.4/4 รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมลู และสารสนเทศ โดยใช้ซอฟตแ์ วรท์ ี่หลากหลาย เพอ่ื
แกป้ ัญหาในชวี ิตประจาวัน
ว 4.2ป.4/5 ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เขา้ ใจสิทธิและหนา้ ที่ของตน เคารพในสทิ ธิ
ของผู้อนื่ แจ้งผู้เกยี่ วข้องเมือ่ พบข้อมูล หรอื บุคคลที่ไม่เหมาะสม

คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน

4

รหสั วชิ า ว14101 รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ 4

กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 เวลา 120 ชั่วโมง /ปี

ศกึ ษา บรรยายหน้าทขี่ องราก ลาตน้ ใบ และดอกของพืชดอก โดยใชข้ ้อมูลทีร่ วบรวมได้ จาแนก
ส่งิ มชี วี ติ โดยใชค้ วามเหมือน และความแตกตา่ งของลักษณะของส่งิ มีชวี ติ ออกเปน็ กลุ่มพืช กลมุ่ สตั ว์ และกลุ่มท่ี
ไม่ใช่พืชและสัตว์ จาแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอกโดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ โดยใช้ขอ้ มูลที่
รวบรวมได้ จาแนกสตั วอ์ อกเปน็ สัตว์มีกระดูกสันหลังและสตั ว์ไม่มีกระดูกสันหลัง โดยใชก้ ารมีกระดูกสันหลัง
เปน็ เกณฑ์ โดยใช้ขอ้ มูลที่รวบรวมได้ บรรยายลักษณะเฉพาะท่ีสังเกตได้ของสตั ว์มีกระดกู สันหลงั ในกลุ่มปลา
กล่มุ สัตว์สะเทนิ นา้ สะเทนิ บก กลุ่มสัตวเ์ ล้ือยคลาน กลมุ่ นก และกลมุ่ สัตวเ์ ลีย้ งลูกด้วยนา้ นม และยกตวั อย่าง
ส่งิ มีชีวติ ในแต่ละกลุ่ม เปรียบเทียบสมบตั ิทางกายภาพด้านความแขง็ สภาพยดื หย่นุ การนาความร้อน และ
การนาไฟฟ้าของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจกั ษจ์ ากการทดลองและระบุการนาสมบัติเร่อื งความแข็ง สภาพ
ยืดหยุ่น การนาความร้อน และการนาไฟฟา้ ของวัสดไุ ปใช้ในชวี ิตประจาวันผา่ นกระบวนการออกแบบชิ้นงาน
แลกเปล่ียนความคดิ กับผู้อน่ื โดยการอภิปรายเก่ยี วกับสมบตั ทิ างกายภาพของวัสดอุ ย่างมเี หตุผลจากการทดลอง
เปรยี บเทียบสมบัตขิ องสสารทั้ง 3 สถานะ จากขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากการสงั เกตมวล การต้องการท่อี ยู่ รปู รา่ งและ
ปรมิ าตรของสสาร ใช้เคร่ืองมอื เพ่ือวัดมวล และปริมาตรของสสารท้งั 3 สถานะ ระบผุ ลของแรงโน้มถ่วงท่ีมีต่อ
วตั ถุจากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ใช้เครื่องช่งั สปริงในการวดั น้าหนักของวตั ถุ บรรยายมวลของวตั ถุท่ีมผี ลตอ่ การ
เปลยี่ นแปลงการเคลื่อนทข่ี องวตั ถุจากหลักฐานเชิงประจกั ษ์ จาแนกวัตถุเปน็ ตัวกลางโปรง่ ใสตัวกลางโปร่งแสง
และวตั ถทุ ึบแสง จากลกั ษณะการมองเหน็ สิง่ ตา่ ง ๆ ผา่ นวัตถนุ ้ันเปน็ เกณฑโ์ ดยใชห้ ลักฐานเชิงประจกั ษ์ อธบิ าย
แบบรูปเสน้ ทางการขน้ึ และตกของดวงจันทร์ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ สร้างแบบจาลองที่อธบิ ายแบบ
รูปการเปลย่ี นแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ และพยากรณ์รปู ร่างปรากฏของดวงจนั ทร์ สร้างแบบจาลอง
แสดงองค์ประกอบของระบบสุริยะ และอธิบายเปรียบเทียบคาบการโคจรของดาวเคราะห์ต่าง ๆ จาก
แบบจาลอง

ฝกึ ทักษะเก่ยี วกับการใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธบิ ายการทางานหรือการคาดการ
ผลลพั ธ์จากปญั หาอย่างงา่ ย การออกแบบและเขยี นโปรแกรมอย่างง่าย การตรวจหาข้อผิดพลาดในโปรแกรม
การค้นหาขอ้ มูลในอินเทอร์เน็ตและการใช้คาค้น การประเมนิ ความนา่ เชอื่ ถอื ของข้อมูล การรวบรวมข้อมูล
การประมวลผลอยา่ งง่าย การวเิ คราะหผ์ ลและสร้างทางเลอื ก การนาเสนอข้อมูล การส่ือสารอย่างมีมารยาท
และรกู้ าลเทศะ การปกป้องข้อมูลส่วนตัว โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวทิ ยาศาสตร์ในการสืบ
เสาะหาความรู้ การแก้ปัญหาโดยตงั้ คาถามเก่ียวกับเร่ืองที่จะศึกษาตามท่ีกาหนดใหห้ รือตามความสนใจ วาง
แผนการสงั เกต สารวจตรวจสอบ ศึกษาคน้ ควา้ โดยใช้ความคดิ ของตนเองและของครู ใช้วสั ดอุ ุปกรณใ์ นการ
สารวจตรวจสอบและบันทึกผลด้วยวธิ ีง่าย ๆ จดั กลมุ่ ข้อมูลท่ไี ดจ้ ากการสารวจตรวจสอบและนาเสนอผล แสดง
ความคิดเห็นในการสารวจ ตรวจสอบ บันทึกและอธบิ ายผลการสงั เกต สารวจตรวจสอบโดยเขียนภา พหรือ
ขอ้ ความสน้ั ๆ และนาเสนอผลงานด้วยวาจาให้ผู้อ่นื เข้าใจ แลกเปลยี่ นข้อมลู สารสนเทศดา้ นวิทยาศาสตร์และ
แนวคดิ สง่ เสริมการคน้ พบ ของประเทศสมาชิกอาเซยี น

5

เพื่อใหผ้ ูเ้ รยี นไดเ้ รียนรู้ความรู้วิทยาศาสตร์อย่างถูกต้อง มกี ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการ ค้นหา
ควา มรู้ด้วยตน เอง ผู้เรียน สา มา ร ถคิดวิเคร า ะห์ คิดตัดสิน ใจ และสา มา ร ถสื่อสา ร เป็น ท่ีเข้าใจ
ตรงกันรวมทงั้ มจี ิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมทเี่ หมาะสม ตลอดจนเชอ่ื มโยงความรูแ้ ละนา
ความรไู้ ปใชใ้ นชีวติ ประจาวันได้

แทรกเนอ้ื หาอาเซียน

1. ระบบนเิ วศประกอบด้วยอะไร และองค์ประกอบในระบบนิเวศมปี ฏิสัมพันธ์กันอยา่ งไร

2. การแลกเปล่ียนสารสนเทศดา้ นวิทยาศาสตร์และแนวคิด สง่ เสรมิ การค้นพบ

3. การจดั การกบั ปญั หาทซี่ ับซ้อน การค้นหา ความคดิ และมุมมองใหม่ ๆ สามารถชว่ ยให้เกดิ ผลลัพธ์ท่ี
มน่ั คงและยัง่ ยืน การส่อื สาร การใชเ้ ทคโนโลยี มีผลกระทบตอ่ ชีวิตประจาวนั

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั

ว 1.2 ป 4/1 ว 1.3 ป 4/1, ป 4/2, ป 4/3, ป 4/4
ว 2.1 ป 4/1, ป 4/2, ป 4/3, ป 4/4 ว 2.2 ป 4/1, ป 4/2, ป 4/3
ว 2.3 ป 4/1 ว 3.1 ป 4/1, ป 4/2, ป 4/3
ว 4.2 ป 4/1, ป 4/2 , ป 4/3, ป 4/4, ป 4/5
รวมท้ังหมด 7 มาตรฐาน 21 ตวั ชว้ี ัด

ผลการเรยี นร้อู าเซียน

1. ระบบนเิ วศของอาเซยี นประกอบด้วยความหลากหลายอย่างมากของสิง่ มีชวี ิตและสง่ิ ไม่มีชวี ิตในทุกระดบั

2. การแลกเปลี่ยนข้อมูลสารสนเทศสามารถนาไปสกู่ ารคน้ พบที่สาคญั

3. เทคโนโลยียังคงมคี วามเหลือ่ มลา้ ในการเข้าถึงขอ้ มูล ความรขู้ องประเทศสมาชิกอาเซยี น
4. การตระหนักวา่ การแลกเปลยี่ นทางความคิดมีหลายวิธี เช่น ใช้เทคโนโลยเี ป็นเครอื่ งมือแบ่งปนั

ขอ้ มลู ข่าวสาร แลกเปล่ยี นแนวทางปฏิบตั ติ า่ ง ๆ ซ่งึ ส่ิงเหล่านี้ ส่งผลกระทบตอ่ วิถชี วี ติ ประจาวนั ใน
แตล่ ะชมุ ชน
5. การรับรวู้ ่าการเขา้ ถึงทรพั ยากร เทคโนโลยี และการบริการ สง่ ผลกระทบต่อการศกึ ษา สุขภาพและ
ความเป็นอยทู่ ่ดี ีของประชากร รวมถงึ ความมนั่ คงทางสงั คมและการเมอื ง

รวมท้งั หมด 5 ผลการเรียนรู้

6

โครงสร้างรายวชิ า

รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ 4 ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4
รหสั วิชา ว14101 เวลา 120 ช่วั โมง / ปี

โครงสรา้ งหน่วยการเรยี นรู้

รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ 4 ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4
รหัสวิชา ว14101 เวลา 120 ชั่วโมง / ปี

ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ รหสั ตัวช้ีวัด จานวน 7
(ชั่วโมง) นา้ หนกั
หน่วยท่ี 1 การเรียนรู้สิง่ ตา่ งๆรอบตัว ว4.2 ป.4/1, ป.4/4 คะแนน
15
- การสบื เสาะหาความร้ทู างวิทยาศาสตร์ และทักษะทางวทิ ยาศาสตร์ 20
24
- การวดั และการใช้จานวนของนกั วิทยาศาสตร์ 30
20
- การทดลองของนกั วทิ ยาศาสตร์ 1 20
35 30
หนว่ ยท่ี 2 ส่งิ มชี วี ติ ว1.2 ป.4/1 40
24
- สิง่ มชี วี ิตรอบตัว และการจดั กล่มุ สงิ่ มีชวี ติ ว1.3 ป.4/1,ป.4/2,ป.4/3, 30
1
- ส่วนต่างๆของพชื ดอก ป.4/4 30

ว4.2 ป.4/1,ป.4/2,ป.4/3,

ป.4/4, ป.4/5

หนว่ ยท่ี 3 แรงและพลงั งาน ว2.2 ป.4/1,ป.4/2,ป.4/3

- มวลและแรงโน้มถ่วงของโลก ว4.2 ป.4/1,ป.4/2,ป.4/3,

- ตวั กลางของแสง ป.4/4, ป.4/5

สอบปลายภาคเรียนท่ี 1

หน่วยท่ี 4 วสั ดุและสสาร ว2.1 ป.4/1,ป.4/2,ป.4/3,

- ความแขง็ ของวัสดุ ป.4/4

- สภาพยดื หยุ่นของวสั ดุ ว4.2 ป.4/1,ป.4/2,ป.4/3,

- การนาความร้อนของวัสดุ ป.4/4, ป.4/5

- การนาไฟฟา้ ของวสั ดุ

- สถานะของสาร

หนว่ ยท่ี 5 โลกและอวกาศ ว 3.1 ป4/1, ป4/2, ป4/3,

- ดวงจนั ทร์ของเรา ป.4/4

- ระบบสรุ ิยะของเรา ว4.2 ป.4/1,ป.4/2,ป.4/3,

ป.4/4, ป.4/5

สอบปลายภาคเรยี นท่ี 2

รวม(คะแนนเฉลีย่ ของเทอม 1และ 2) 21 120 100

หน่วยการ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรู/้ แผนการจัดการเรยี นรู้ เวลา
เรยี นรทู้ ่ี ชว่ั โมง

1 การเรียนรู้ส่งิ ตา่ งๆรอบตัว 15
บทที่ 1 การเรียนรู้แบบนักวิทยาศาสตร์
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 เรือ่ ง การสบื เสาะหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์ 4
กจิ กรรมที่ 1 ถัว่ เต้นระบาไดอ้ ย่างไร
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง การวดั และการใช้จานวนของนักวทิ ยาศาสตร์ 5

กจิ กรรมท่ี 2.1 การวดั ทาได้อยา่ งไร 8
กจิ กรรมท่ี 2.2 การใชจ้ านวนทาไดอ้ ย่างไร
3
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 3 เร่ือง การทดลองของนักวทิ ยาศาสตร์ 2
กจิ กรรมที่ 3.1 การทดลองทาได้อย่างไร 1
สรปุ ผงั มโนทศั น์ประจาบทที่ 1 การเรยี นรแู้ บบนกั วทิ ยาศาสตร์ 24
12
แลกเปล่ียนเรียนรู้ แบบฝกึ หัดท้ายบทท่ี 1 การเรยี นรู้แบบนกั วทิ ยาศาสตร์
2
2 สง่ิ มีชีวติ 2
6
บทท่ี 1 ส่ิงมชี ีวติ รอบตวั
1
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง การจัดกลมุ่ ส่งิ มชี วี ิต 1
กิจกรรมท่ี 1.1 เราจาแนกสง่ิ มชี วี ติ ได้อยา่ งไร
กิจกรรมท่ี 1.2 เราจาแนกสตั วไ์ ดอ้ ย่างไร เวลา
กจิ กรรมที่ 1.3 เราจาแนกสตั วม์ กี ระดูกสันหลังไดอ้ ยา่ งไร ชั่วโมง
กจิ กรรมที่ 1.4 เราจาแนกพืชได้อยา่ งไร
20
สรปุ ผังมโนทศั นป์ ระจาบทที่ 1 ส่งิ มีชีวิตรอบตวั
แลกเปล่ยี นเรียนรู้ แบบฝึกหัดทา้ ยบทท่ี 1 สงิ่ มชี วี ิตรอบตวั

บทท่ี 2 สว่ นตา่ งๆของพชื ดอก

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 เร่อื ง หน้าที่ส่วนตา่ งๆของพชื ดอก
กิจกรรมที่ 1.1 รากและลาตน้ ของพืชทาหนา้ ท่อี ะไร
กจิ กรรมท่ี 1.2 ใบของพืชทาหนา้ ท่ีอะไร
กจิ กรรมที่ 1.3 ดอกของพชื ทาหน้าท่ีอะไร

สรปุ ผงั มโนทศั นป์ ระจาบทท่ี 2 สว่ นต่างๆของพืชดอก

แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ แบบฝกึ หัดท้ายบทที่ 2 ส่วนตา่ งๆของพืชดอก

หนว่ ยการ ช่อื หน่วยการเรยี นรู้/แผนการจัดการเรยี นรู้
เรียนร้ทู ่ี

3 แรงและพลังงาน
บทท่ี 1 มวลและนา้ หนกั

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 เรื่อง มวลและแรงโน้มถ่วงของโลก 9
กิจกรรมท่ี 1.1 วัตถเุ คล่อื นทอี่ ย่างไรเมอื่ ถูกปลอ่ ยมอื
กิจกรรมที่ 1.2 มวลและน้าหนกั สมั พนั ธก์ ันอย่างไร 10
กิจกรรมท่ี 1.3 มวลมผี ลตอ่ การเปล่ียนแปลงการเคลื่อนทขี่ องวตั ถุอยา่ งไร
2
สรุปผงั มโนทศั น์ประจาบทที่ 1 มวลและน้าหนกั 2
6
แลกเปลยี่ นเรียนรู้ แบบฝกึ หดั ท้ายบทท่ี 1 มวลและน้าหนกั 2
บทที่ 2 ตวั กลางของแสง 2
35
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 เร่ือง ตวั กลางของแสง 4
กจิ กรรมท่ี 2.1 ลักษณะการมองเหน็ ตา่ งกันอยา่ งไร เม่ือมวี ตั ถุมากนั้ แสง 4
2
สรุปผงั มโนทัศนป์ ระจาบทที่ 2 ตวั กลางของแสง 6
1
แลกเปลย่ี นเรียนรู้ แบบฝึกหดั ท้ายบทท่ี 2 ตวั กลางของแสง 1

4 วัสดแุ ละสสาร
บทที่ 1 สมบัติทางกายภาพของวัสดุ

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง ความแขง็ ของวัสดุ
กจิ กรรมที่ 1 วสั ดุแตล่ ะชนดิ มคี วามแข็งเปน็ อย่างไร

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 เร่อื ง สภาพยืดหยุ่นของวัสดุ
กิจกรรมที่ 2 วสั ดแุ ตล่ ะชนดิ มสี ภาพยดื หยุ่นเปน็ อยา่ งไร

แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 3 เร่อื ง การนาความรอ้ นของวัสดุ
กิจกรรมที่ 3 วสั ดแุ ตล่ ะชนดิ มีการนาความรอ้ นเป็นอย่างไร

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 4 เรอ่ื ง การนาไฟฟ้าของวัสดุ
กิจกรรมที่ 4 วสั ดแุ ต่ละชนดิ มกี ารนาไฟฟา้ เป็นอย่างไร

สรปุ ผงั มโนทศั นป์ ระจาบทท่ี 1 สมบัตทิ างกายภาพของวัสดุ
แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ แบบฝึกหัดทา้ ยบทที่ 1 สมบตั ิทางกายภาพของวสั ดุ

หน่วยการ ช่อื หน่วยการเรยี นร/ู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา
เรยี นรทู้ ี่ ชัว่ โมง

บทที่ 2 สถานะของสสาร 10
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 เร่อื ง ของแข็ง
6
กจิ กรรมท่ี 1.1 ของแขง็ มีมวลและต้องการทีอ่ ย่หู รือไม่ และมีรูปร่างอย่างไร
กจิ กรรมท่ี 1.2 ของแข็งมปี รมิ าตรเปน็ อยา่ งไร 6
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 เรอ่ื ง ของเหลว
3
กจิ กรรมที่ 2.1 ของเหลวมมี วลและตอ้ งการทีอ่ ยหู่ รอื ไม่
กิจกรรมที่ 2.2 ของเหลวมปี ริมาตร รูปร่างและระดับผิวหนา้ เป็นอย่างไร 1
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 7 เรื่อง แกส๊ 1
24
กิจกรรมท่ี 3.1 แก๊สมมี วลและตอ้ งการที่อยหู่ รือไม่ 8
กจิ กรรมท่ี 3.2 แก๊สมปี รมิ าตร รปู ร่างหนา้ เป็นอยา่ งไร
สรุปผงั มโนทัศน์ประจาบทที่ 2 สถานะของสสาร 2
2
แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ แบบฝึกหดั ทา้ ยบทท่ี 2 สถานะของสสาร 8
2
5 โลกและอวกาศ 2

บทที่ 1 ดวงจนั ทร์ของเรา
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 เรือ่ ง การขึ้นและตกและรปู รา่ งของดวงจันทร์

กิจกรรมที่ 1.1 ดวงจันทร์มกี ารข้นึ และตกหรือไม่อยา่ งไร
กจิ กรรมที่ 1.2 ในแต่ละวนั มองเห็นดวงจันทรม์ ีรปู ร่างอย่างไร
สรุปผังมโนทัศน์ประจาบทท่ี 1 ดวงจนั ทร์ของเรา

แลกเปล่ยี นเรียนรู้ แบบฝกึ หดั ทา้ ยบทท่ี 1 ดวงจันทร์ของเรา

บทท่ี 2 ระบบสรุ ิยะของเรา

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 เรอ่ื ง ระบบสุริยะ
กจิ กรรมที่ 1 ระบบสุรยิ ะมีลกั ษณะอยา่ งไร

สรุปผังมโนทัศน์ประจาบทท่ี 2 ระบบสุริยะของเรา
แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ แบบฝกึ หัดท้ายบทท่ี 2 ระบบสรุ ยิ ะของเรา

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1
การเรียนรสู้ ิง่ ตา่ งๆรอบตวั

หน่วยการ ช่ือหน่วยการเรยี นร/ู้ แผนการจัดการเรียนรู้ 11
เรยี นรู้ที่
เวลา
1 การเรยี นรู้ส่ิงตา่ งๆรอบตวั ชั่วโมง

บทที่ 1 การเรียนรู้แบบนกั วิทยาศาสตร์ 15
4
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 เรื่อง การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ 5
กจิ กรรมท่ี 1 ถวั่ เตน้ ระบาได้อย่างไร
3
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรื่อง การวดั และการใช้จานวนของนักวทิ ยาศาสตร์ 2
กิจกรรมที่ 2.1 การวัดทาไดอ้ ยา่ งไร 1
กจิ กรรมท่ี 2.2 การใชจ้ านวนทาไดอ้ ยา่ งไร

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 3 เรื่อง การทดลองของนกั วิทยาศาสตร์
กิจกรรมท่ี 3.1 การทดลองทาไดอ้ ย่างไร

สรุปผงั มโนทัศน์ประจาบทที่ 1 การเรยี นรู้แบบนักวิทยาศาสตร์

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แบบฝึกหดั ท้ายบทที่ 1 การเรยี นรู้แบบนักวทิ ยาศาสตร์

บูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี ง

ครู

ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล การมภี มู ิคุ้มกนั ในตัวท่ดี ี

12

1.ออกแบบการจดั กจิ กรรม ตรงตาม 1.ออกแบบการเรียนร้สู ่งเสริมกระบวนการคดิ 1. ศกึ ษาแนวทางการจดั การเรียนร้ลู ว่ งหนา้

ตวั ชว้ี ดั 2. ใชเ้ ทคนคิ การจัดการเรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย 2. จดั เตรียมการวดั ผลประเมินผล และแบบ

2. เลือกสือ่ แหล่งเรยี นร้เู หมาะสม สังเกตพฤติกรมนักเรยี น

3. วดั ผลประเมนิ ผลตรงตามเนอ้ื หา

เง่อื นไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม

1. รูจ้ ักเทคนคิ การสอนท่ีสง่ เสริมกระบวนการคิด และนักเรยี น 1. มคี วามขยนั เสยี สละ และมุ่งมนั่ ในการจดั หาสอ่ื มาพฒั นานกั เรียน

สามารถเรียนร้ไู ดอ้ ยา่ งมีความสขุ ให้บรรลตุ ามจดุ ประสงค์

2. มีความรู้เก่ียวกับการเรียนร้สู ่ิงตา่ งๆรอบตวั ในเร่ืองการสบื 2. มีความอดทนเพอื่ พัฒนานกั เรยี นโดยใชเ้ ทคนิคการสอนท่ี

เสาะหาความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์ การวดั การใช้จานวนของ หลากหลาย

นักวทิ ยาศาสตร์ และการทดลองของนกั วทิ ยาศาสตร์

นกั เรยี น

ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล การมีภูมิค้มุ กนั ในตัวทีด่ ี

1. การใช้เวลาในการทากจิ กรรม/ภาระงาน 1. ฝึกกระบวนการทางานเป็นกลมุ่ 1. วางแผนการศกึ ษาใบงาน/ใบกจิ กรรม

ได้อย่างเหมาะสม ทนั เวลา 2. ฝึกกระบวนการสงั เกต อธิบาย ทกั ษะการ 2. นาความรู้เรอ่ื งการเรยี นรู้สงิ่ ตา่ งๆรอบตัว

2. เลือกสมาชกิ กลุ่มได้เหมาะสมกับเน้อื หาที่ สืบเสาะหาความรู้ การวดั การใชจ้ านวนทาง ไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้

เรยี นและศกั ยภาพของตน วทิ ยาศาสตร์ และการทดลองตา่ งๆ ตลอดจน

การเลอื กใช้วัสดอุ ปุ กรณ์ในการทดลอง

เง่อื นไขความรู้ เง่อื นไขคุณธรรม

1. มีความรูเ้ รอ่ื ง การเรยี นรสู้ ่งิ ต่างๆรอบตัว ในเรือ่ งการสบื เสาะหา 1. มคี วามรบั ผิดชอบ และปฏบิ ัตติ ามขอ้ ตกลงของกลุ่ม

ความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ การวัด การใช้จานวนของนักวิทยาศาสตร์ 2. มสี ติ มีสมาธิช่วยเหลอื กนั ในการทางานร่วมกัน

การทดลองของนกั วิทยาศาสตร์ และสามารถสรา้ งจดั ทาช้นิ งาน

ผลงานและใบงานได้ตามวัตถปุ ระสงค์

สง่ ผลต่อการพัฒนา 4 มิตใิ หย้ ง่ั ยืนยอมรับต่อการเปล่ียนแปลงในยคุ โลกาภิวัฒน์

วัตถุ สังคม สง่ิ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม

ความรู้ (K) มีความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับ การเรียนรสู้ งิ่ มีความรู้และเขา้ ใจ มคี วามรู้และเข้าใจ มีความรแู้ ละเขา้ ใจการ

ต่างๆรอบตัว ในเรือ่ งการสบื เสาะหา กระบวนการทางาน เก่ียวกบั สง่ิ แวดล้อม ช่วยเหลอื แบง่ บนั

ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ การวดั การใช้ กลมุ่ และสงิ่ ตา่ งๆรอบตวั

จานวนของนกั วทิ ยาศาสตร์ และการ

ทดลองของนกั วิทยาศาสตร์

ทกั ษะ (P) สามารถสร้างชิ้นงาน ผลงาน ใบงาน ทางานได้สาเร็จตาม ใช้แหลง่ เรยี นรโู้ ดยไม่ ช่วยเหลือ แบ่งบันซึง่

แบบทดสอบเรือ่ งการสบื เสาะหาความรู้ เปา้ หมาย ด้วย ทาลายสง่ิ แวดล้อม กนั และกัน

ทางวิทยาศาสตร์ การวดั การใชจ้ านวน กระบวนการกลุ่ม

ของนักวทิ ยาศาสตร์ และการทดลองของ

นักวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์

คา่ นยิ ม (A) เห็นประโยชน์ของ การเรยี นรสู้ ิ่งต่างๆ เห็นคุณคา่ และ เหน็ คณุ คา่ ของการใช้ ปลกู ฝงั นิสยั การ

รอบตวั ในเรื่องการสืบเสาะหาความรทู้ าง ภาคภูมใิ จในการ แหลง่ เรียนรู้โดยไม่ ชว่ ยเหลือแบ่งบนั

วิทยาศาสตร์ การวัด การใช้จานวนของ ทางานรว่ มกนั ได้ ทาลายสิง่ แวดล้อม

นกั วทิ ยาศาสตร์ การทดลองของ สาเรจ็

นกั วทิ ยาศาสตร์

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 การเรยี นรู้สงิ่ ตา่ งๆรอบตัว แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 1 การสืบเสาะหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์

วิชาวทิ ยาศาสตร์ ว14101 ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4

เวลา 4 ชวั่ โมง ผสู้ อน พจนา กาญจนบรุ างกรู

13

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคิดเชิงคานวณในการแก้ปญั หาท่พี บในชวี ิตจรงิ อย่างเป็นขัน้ ตอน
และเป็นระบบใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารในการเรยี นรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธิภาพ รู้เท่าทนั และมีจรยิ ธรรม
ตัวชีว้ ดั
1.ว 4.2ป.4/1 ใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะในการแกป้ ัญหา การอธบิ ายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์
จากปญั หาอย่างงา่ ย
2. ว 4.2ป.4/4 รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมลู และสารสนเทศ โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์ที่หลากหลาย เพ่อื
แก้ปญั หาในชีวติ ประจาวัน
ทกั ษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

จุดประสงคก์ ารเรยี นรูส้ ูต่ ัวช้วี ัด

1. สืบเสาะหาความร้ทู างวิทยาศาสตร์ (P)
2. ตงั้ สมมตฐิ าน ระบุตวั แปร ตวั แปรต้น ตวั แปรตาม ตวั แปรควบคมุ (K)
3. เปน็ คนชา่ งสงั เกต ชา่ งคิด ช่างสงสัย และเป็นผทู้ ี่มคี วามกระตือรือรน้ ในการเสาะแสวงหาความรู้ (A)

สาระสาคัญ

ผู้เรยี นจะไดเ้ รียนรู้เกยี่ วกับ การสืบเสาะหาความรทู้ างวิทยาศาสตรใ์ นการหาคาตอบในสง่ิ ทส่ี งสัย ใน
การสบื เสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มลี ักษณะสาคัญดังน้ี การมีส่วนรว่ มในการตัง้ คาถามทางวิทยาศาสตร์
การรวบรวมขอ้ มูลหรือหลักฐานทเี่ กย่ี วข้อง การอธิบายสงิ่ ทส่ี งสยั ด้วยขอ้ มูลหรือหลักฐานอย่างมีเหตผุ ล การ
อธบิ ายส่งิ ทไ่ี ด้คน้ พบกับความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ และการสื่อสารสิ่งที่ไดค้ ้นพบและใหเ้ หตุผล

สาระการเรียนรู้

การต้ังสมมติฐาน คอื การทานายผลลว่ งหน้าโดยไมท่ ราบ ความสมั พันธเ์ ก่ียวขอ้ งระหว่างข้อมลู
การพยากรณ์ คือ การทานายผลล่วงหนา้ โดยการทราบความสมั พันธ์ระหว่างข้อมูลที่เก่ียวขอ้ งใน
การทานายล่วงหน้า
หลักการตั้งสมมุติฐาน
1) สมมติฐานต้องเปน็ ข้อความที่บอกความสัมพันธ์ระหว่าง ตวั แปรต้น กับ ตวั แปรตาม
2) ในสถานการณห์ น่ึง ๆ อาจตงั้ หนึ่งสมมตฐิ านหรอื หลายสมมตฐิ านก็ได้ สมมตฐิ านทตี่ ง้ั ขึน้ อาจจะถกู
หรือผดิ ก็ได้ ดงั น้ันจาเป็นตอ้ งมกี ารทดลองเพื่อตรวจสอบวา่ สมมติฐานทีต่ ัง้ ขึ้นนัน้ เปน็ ทย่ี อมรับหรอื ไมซ่ ึง่ จะ
ทราบภายหลังจากการทดลองหาคาตอบแลว้

ชนดิ ของตัวแปรในการทดลอง

14

1. ตวั แปรตน้ หรือตวั แปรอสิ ระ คอื สิ่งท่ตี ้องจัดให้แตกต่างกัน ไมข่ ึ้นอยกู่ บั สง่ิ ใด มคี วามเป็นอสิ ระใน
ตัวเอง

2. ตวั แปรตาม คอื สิ่งทีต่ ้องติดตามดผู ลจากการจัดสง่ิ ทแ่ี ตกตา่ งกนั ไม่มอี สิ ระในตัวเอง ตอ้ งแปร
เปลี่ยนไปตามเหตกุ ารณห์ รอื การทดลอง

3. ตวั แปรควบคมุ คอื สง่ิ ทตี่ อ้ งจัดให้เหมอื นกัน เป็นการควบคมุ เพื่อให้แนใ่ จว่าผลการทดลองเกิดจากตัว
แปรต้นอยา่ งแทจ้ ริง

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21

1. การสรา้ งสรรค์
2. การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ
3. การแก้ปัญหา
4. ความร่วมมือ

ชิ้นงานหรอื ภาระงาน (หลักฐาน รอ่ งรอยแสดงความร้)ู

แผนภาพการตั้งสมมตฐิ าน และการกาหนดตัวแปร

การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

ชว่ั โมงท่ี 1
ข้ันท่ี 1 สรา้ งความสนใจ (engagement)

ครูนาเข้าสบู่ ทเรียนเกย่ี วกับสภาพอากาศในวันน้ี และตง้ั คาถามให้นกั เรียนคาดเดาสภาพอากาศใน
ช่วงเวลาตา่ งๆ และอธบิ ายถงึ การตัง้ สมมติฐาน

ขน้ั ที่ 2 สารวจและค้นหา (exploration)
1. ให้นักเรยี นแบ่งกล่มุ กลุ่มละ 5 คน จากน้ันใหน้ กั เรยี นอา่ นบัตรขอ้ ความการทดลองต่างๆ และให้

นักเรยี นในกลุม่ ช่วยกนั ต้งั สมมติฐาน

ขน้ั ที่ 3 อธิบายและลงข้อสรปุ (explanation)
1. ให้ผแู้ ทนนกั เรยี นแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทากจิ กรรมหน้าช้ันเรียน เพ่อื เปรยี บเทยี บและ

ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง
2. ให้นกั เรียนร่วมกนั อภปิ รายเก่ยี วกับผลการทากิจกรรม จากนั้นฝึกถามคาถามทีส่ งสัย

ดว้ ยการถามเพ่อื นโดยไมจ่ าเป็นตอ้ งถามครอู ยา่ งเดยี ว
3. ใหน้ กั เรียนร่วมกนั สรุปความรูเ้ กย่ี วกับการตงั้ สมมตฐิ าน
4. ครเู ชอ่ื มโยงความรู้เกีย่ วกบั การกาหนดตัวแปร

ข้นั ที่ 4 ขยายความรู้ (elaboration)

15

1. ใหน้ ักเรยี นเขยี นแผนภาพความคิด ระบุตวั แปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม ของการทดลองท่ี
นกั เรียนไดต้ ้ังสมมติฐานไว้

2. คณุ ครเู ปน็ ท่ปี รึกษาในการดาเนินกิจกรรม

ขั้นท่ี 5 ประเมิน (evaluation)
ครปู ระเมนิ การเรียนรู้ของนักเรียน ดังน้ี สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนขณะทางานรว่ มกัน

สังเกตการตอบคาถามของนักเรยี นในชน้ั เรียน ประเมนิ แผนภาพความคดิ และประเมนิ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี
21 โดยใชแ้ บบประเมนิ ตามสภาพจรงิ

ชว่ั โมงท่ี 2
ขน้ั ท่ี 1 สรา้ งความสนใจ (engagement)

ครนู าเขา้ สบู่ ทเรยี นโดยการทบทวนความรูเ้ ดมิ เก่ียวกบั การตั้งสมมตฐิ าน และการกาหนดตัวแปร โดย
การยกตัวอยา่ งการทดลองงา่ ยๆ ใหน้ ักเรยี นต้ังสมมตฐิ าน และกาหนดตัวแปร

ขน้ั ที่ 2 สารวจและคน้ หา (exploration)
1. ให้นักเรียนแบ่งกลมุ่ กลมุ่ ละ 5 คน จากน้นั ให้นกั เรียนศึกษาใบกิจกรรม ถั่วเตน้ ระบาได้อย่างไร

และร่วมกันตง้ั สมมตฐิ าน และกาหนดตัวแปร จากนน้ั
2. ทาการทดลอง กิจกรรมถ่วั เตน้ ระบาไดอ้ ยา่ งไร

ขัน้ ท่ี 3 อธิบายและลงข้อสรุป (explanation)
1. ใหผ้ ู้แทนนักเรยี นแต่ละกลมุ่ นาเสนอผลการทากจิ กรรมหน้าชัน้ เรยี น เพอ่ื เปรียบเทียบและ

ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง
2. ใหน้ ักเรยี นร่วมกันอภปิ รายเกย่ี วกับผลการทากิจกรรม จากนั้นฝึกถามคาถามทสี่ งสยั

ดว้ ยการถามเพื่อนโดยไม่จาเปน็ ต้องถามครอู ย่างเดียว
3. ใหน้ กั เรยี นร่วมกนั สรุปความรู้เกย่ี วกบั การตง้ั สมมติฐาน
4. ครูเชือ่ มโยงความรเู้ กี่ยวกับการกาหนดตวั แปร

ขนั้ ท่ี 4 ขยายความรู้ (elaboration)
1. ใหน้ กั เรยี นเขียนแผนภาพความคดิ ระบุตวั แปรต้น ตวั แปรตาม ตวั แปรควบคมุ และผลการทดลอง

กจิ กรรมถวั่ เต้นระบาได้อยา่ งไร
2. คณุ ครเู ป็นทป่ี รึกษาในการดาเนินกจิ กรรม

ขั้นท่ี 5 ประเมนิ (evaluation)
ครปู ระเมนิ การเรียนรขู้ องนกั เรียน ดังน้ี สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนขณะทางานรว่ มกนั

สงั เกตการตอบคาถามของนักเรียนในชน้ั เรียน ประเมินแผนภาพความคดิ และประเมนิ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี
21 โดยใชแ้ บบประเมินตามสภาพจรงิ

ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้

16

บตั รภาพตัวอย่างการทดลอง
ใบกจิ กรรมและการทดลอง ถัว่ เต้นระบาไดอ้ ยา่ งไร

แบบประเมินการเรยี นรู้

เกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบประเมนิ ปฏิบตั ิการทดลองของนกั เรยี น

ตวั ช้ีวดั 4 ระดับคะแนน 2 1
3

1. การทดลองตาม ทดลองตามวธิ กี ารและข้นั ตอนท่ี ทดลองตามวิธีการและ ทดลองตามวธิ ีการและ ทดลองไมถ่ กู ตอ้ งตามวิธีการ

แผนทก่ี าหนด กาหนดไวอ้ ยา่ งถูกต้องดว้ ยตนเอง ขน้ั ตอนท่ีกาหนดไว้ดว้ ย ขั้นตอนท่ีกาหนดไว้ และขั้นตอนท่กี าหนดไว้
มกี ารปรับปรุงแก้ไขเป็นระยะ ตนเอง มกี ารปรบั ปรงุ แกไ้ ข โดยมีครหู รอื ผูอ้ น่ื เป็น ไม่มกี ารปรับปรงุ แก้ไข

บา้ ง ผแู้ นะนา

2. การใช้อปุ กรณแ์ ละ/ ใชอ้ ุปกรณแ์ ละ/หรอื เคร่ืองมือในการ ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละ/หรอื เครื่องมือ ใช้อปุ กรณ์และ/หรือเครอ่ื งมือ ใชอ้ ุปกรณ์และ/หรอื เครือ่ งมอื

หรือเครอื่ งมอื ทดลองได้อย่างถกู ต้องตามหลกั การ ในการทดลองไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ในการทดลองได้อยา่ งถูกต้อง ในการทดลองไม่ถูกตอ้ ง และ

ปฏิบตั ิ และคล่องแคลว่ ตามหลักการปฏิบัติ โดยมคี รหู รอื ผูอ้ ่นื เป็น ไมม่ คี วามคล่องแคล่วในการใช้

แต่ไมค่ ลอ่ งแคล่ว ผแู้ นะนา

3. การบันทกึ ผลการ บนั ทึกผลเป็นระยะอยา่ งถูกตอ้ ง มี บนั ทกึ ผลเปน็ ระยะอยา่ ง บนั ทกึ ผลเป็นระยะ แตไ่ มเ่ ป็น บันทึกผลไมค่ รบ ไม่มกี าร
ทดลอง ระเบียบ ไม่มีการระบหุ นว่ ย ระบุหนว่ ย และไม่เป็นไปตาม
ระเบียบ มีการระบหุ นว่ ย มีการ ถูกต้อง มรี ะเบียบ มกี าร และไมม่ กี ารอธบิ ายข้อมูล การทดลอง
ให้เห็นถึงความสัมพันธข์ อง
อธิบายข้อมูลใหเ้ หน็ ความเชื่อมโยง ระบหุ น่วย มกี ารอธบิ าย การทดลอง

เป็นภาพรวม เป็นเหตุเปน็ ผล และ ข้อมลู ให้เห็นถงึ ความสัมพนั ธ์

เปน็ ไปตามการทดลอง เป็นไปตามการทดลอง

4. การจัดกระทา จัดกระทาขอ้ มลู อยา่ งเป็นระบบ จัดกระทาข้อมูลอยา่ งเปน็ จัดกระทาข้อมูลอย่างเปน็ จดั กระทาข้อมลู อย่างไม่เป็น
ข้อมูลและการ มกี ารเช่อื มโยงให้เหน็ เปน็ ภาพรวม ระบบ มีการจาแนกข้อมลู ระบบ มกี ารยกตัวอยา่ ง ระบบ และมกี ารนาเสนอ

นาเสนอ และนาเสนอดว้ ยแบบตา่ ง ๆ อยา่ ง ใหเ้ หน็ ความสมั พันธ์ เพม่ิ เติมให้เข้าใจงา่ ยและ ไม่สื่อความหมาย

ชัดเจนถูกตอ้ ง นาเสนอดว้ ยแบบต่าง ๆ ได้ นาเสนอดว้ ยแบบต่าง ๆ แต่ และไม่ชดั เจน

แตย่ งั ไม่ชดั เจน ยงั ไม่ชดั เจน และไมถ่ กู ต้อง

5. การสรุปผลการ สรุปผลการทดลองไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง สรปุ ผลการทดลองได้ถกู ต้อง สรปุ ผลการทดลองได้ สรปุ ผลการทดลองตามความรู้
ทดลอง
กระชบั ชดั เจน และครอบคลุม แตย่ ังไมค่ รอบคลมุ ข้อมูลจาก โดยมีครู หรอื ผ้อู ่ืนแนะนาบ้าง ที่พอมอี ยู่ โดยไม่ใช้ขอ้ มูลจาก

ข้อมลู จากการวิเคราะหท์ ัง้ หมด การวเิ คราะห์ทงั้ หมด จงึ สามารถสรปุ ไดถ้ ูกตอ้ ง การทดลอง

6. การดูแลและการ ดูแลอปุ กรณแ์ ละ/หรอื เครอื่ งมอื ใน ดแู ลอุปกรณ์และ/หรือ ดแู ลอุปกรณ์และ/หรอื ไมด่ ูแลอุปกรณแ์ ละ/หรือ
เก็บ การทดลองและมกี ารทาความ เคร่อื งมือในการทดลองและ เคร่อื งมือในการทดลอง เครอื่ งมอื ในการทดลองและ
สะอาดและเก็บอยา่ งถูกตอ้ งตาม มกี ารทาความสะอาดอย่าง มกี ารทาความสะอาด ไม่สนใจทาความสะอาด
อุปกรณแ์ ละ/หรอื หลักการและแนะนาใหผ้ ูอ้ ่ืนดูแล ถกู ต้อง แตเ่ ก็บไม่ถูกต้อง แตเ่ กบ็ ไม่ถูกต้อง ต้องให้ครู รวมท้ังเกบ็ ไมถ่ กู ตอ้ ง
เครือ่ งมือ และเก็บรกั ษาไดถ้ ูกต้อง หรือผูอ้ ืน่ แนะนา

เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบประเมนิ การจดั กระทาและนาเสนอแผนภาพความคิด

ตวั ชว้ี ัด 4 ระดบั คะแนน 1
32

การจดั กระทาและ จดั กระทาแผนภาพ จัดกระทาแผนภาพ จดั กระทาแผนภาพ จดั กระทาแผนภาพ

นาเสนอแผนภาพ ความคดิ อย่างเป็นระบบ ความคดิ อย่างเป็นระบบ ความคดิ ได้ มกี าร ความคิดอยา่ งไมเ่ ป็น

ความคิด และนาเสนอดว้ ยแบบท่ี มกี ารจาแนกขอ้ มูล ยกตัวอย่างเพมิ่ เติม และ ระบบ และนาเสนอ

ชัดเจน ถูกตอ้ ง ให้เหน็ ความสัมพนั ธ์ นาเสนอดว้ ยแบบตา่ ง ๆ ไม่สือ่ ความหมาย

ครอบคลมุ และมกี าร และนาเสนอดว้ ยแบบที่ แตย่ ังไม่ครอบคลุม และไมช่ ัดเจน

เช่อื มโยงให้เหน็ ครอบคลมุ

เป็นภาพรวม

17

ขอ้ เสนอแนะของหัวหนา้ สถานศึกษาหรือผู้ท่ไี ด้รับมอบหมาย

............................................................................................................................. .................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................................

ลงช่อื ..................................................................
(.................................................................)
ตาแหนง่ ................................................
วนั ท่.ี ......เดอื น........................พ.ศ. ..........

บันทกึ หลังสอน

ผลการสอน

............................................................................................................................. .................................................

..............................................................................................................................................................................

นกั เรยี นเกิดทักษะใดบ้าง ทาเครอื่ งหมาย  ในช่องว่างท่ตี รงกับส่ิงท่ีทาได้

 การสังเกต  การวดั  การใชจ้ านวน  การจาแนกประเภท

การหาความสัมพันธร์ ะหว่าง  สเปซกบั สเปซ  สเปซกบั เวลา

 การจดั กระทาและการส่อื ความหมายข้อมลู  การพยากรณ์

 การลงความเห็นจากขอ้ มลู  การต้งั สมมติฐาน  การกาหนดนยิ ามเชิงปฏิบตั ิการ

 การกาหนดและควบคุมตวั แปร  การทดลอง  การตคี วามหมายและลงข้อสรุป

 การสรา้ งแบบจาลอง

นักเรยี นเกิดทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ใดบา้ ง ทาเคร่อื งหมาย  ในชอ่ งวา่ งทีต่ รงกับทักษะทเี่ กดิ

 การสร้างสรรค์  การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ  การแกป้ ัญหา

 การสอ่ื สาร  ความรว่ มมือ  การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

ปญั หาและอปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................. ............

ลงช่อื ..................................................................
(.................................................................)
ตาแหนง่ ................................................
วันท่.ี ......เดือน........................พ.ศ. ..........

18

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 การเรียนรูส้ ง่ิ ตา่ งๆรอบตวั แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 2 การวัดและการใช้จานวนของนกั วิทยาศาสตร์
วิชาวทิ ยาศาสตร์ ว14101 ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4
เวลา 5 ชัว่ โมง ผูส้ อน พจนา กาญจนบรุ างกูร

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชงิ คานวณในการแกป้ ญั หาทพี่ บในชีวิตจรงิ อยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน
และเป็นระบบใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาไดอ้ ย่างมี
ประสิทธภิ าพ รู้เทา่ ทนั และมจี ริยธรรม

ตวั ชว้ี ัด
1.ว 4.2ป.4/1 ใชเ้ หตผุ ลเชิงตรรกะในการแกป้ ัญหา การอธิบายการทางาน การคาดการณผ์ ลลพั ธ์
จากปญั หาอยา่ งง่าย
2. ว 4.2ป.4/4 รวบรวม ประเมนิ นาเสนอขอ้ มูลและสารสนเทศ โดยใช้ซอฟตแ์ วร์ที่หลากหลาย เพอื่
แก้ปญั หาในชีวติ ประจาวัน
ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้สตู่ ัวชวี้ ดั

1. มีความรเู้ ก่ียวกับวิธกี ารวดั และการใชจ้ านวนทางวทิ ยาศาสตร์ (K)
2. สามารถวดั และใช้จานวนทางวทิ ยาศาสตร์ (P)
3. เปน็ คนชา่ งสงั เกต ชา่ งคดิ ช่างสงสัย และเปน็ ผทู้ ่ีมคี วามกระตอื รือร้นในการเสาะแสวงหาความรู้ (A)

สาระสาคัญ

ผเู้ รยี นจะได้เรยี นรู้เก่ียวกับ ทกั ษะการวดั ทางวทิ ยาศาสตร์ การเลอื กใชเ้ ครอื่ งมอื ในการวดั อย่าง
เหมาะสม และวดั ปรมิ าณต่างๆได้อยา่ งถูกตอ้ ง ออกมาเป็นตวั เลข และระบุหนว่ ยการวดั ไดอ้ ย่างชดั เจน
ตลอดจนสามารถใช้จานวนทางวทิ ยาศาสตร์ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม

สาระการเรยี นรู้

การวดั ( measurement ) หมายถงึ ความสามารถในการเลือกใชเ้ ครอื่ งมือในการวัดอยา่ งเหมาะสม
และใช้เคร่ืองมอื น้ันหาปริมาณของสิ่งตา่ งๆ ออกมาเป็นตัวเลขได้ถูกตอ้ งและรวดเรว็ โดยมีหนว่ ยกากบั ตลอดจน

สามารถอ่านคาที่วดั ได้ถกู ต้องและใกล้เคียงกบั ความเป็นจรงิ
ผู้ทม่ี ีทักษะการวัด ตอ้ งมีความสามารถที่แสดงใหเ้ ห็นวา่ เกิดทกั ษะน้ปี ระกอบด้วย
1. เลือกเครอ่ื งมอื ทีเ่ หมาะสมในการวดั ปริมาณต่าง ๆ ของส่งิ ที่ศึกษา
2. ใชเ้ ครอื่ งมือวดั ปริมาณต่างๆ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง แม่นยา รวดเรว็
3. คดิ วิธีการท่จี ะหาค่าปรมิ าณต่างๆ ได้ ในกรณที ีไ่ ม่อาจใช้เคร่อื งมอื วดั ปรมิ าณนัน้ ไดโ้ ดยตรง
4. บอกความหมายของปรมิ าณซึ่งไดจ้ ากการวัดได้อยา่ งเหมาะสม กล่าวคือ ปริมาณทีไ่ ดจ้ ากการวัด

ละเอยี ดถงึ ทศนยิ มหนง่ึ ตาแหนง่ ของหนว่ ยยอ่ ยทีส่ ุดเท่าน้ัน
5. บอกความหมายของเลขนัยสาคัญได้

19

ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21

1. การสรา้ งสรรค์
2. การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ
3. การสอ่ื สาร
4. การแก้ปญั หา
5. ความรว่ มมอื

ชิ้นงานหรอื ภาระงาน (หลกั ฐาน รอ่ งรอยแสดงความร)ู้

แผนภาพความคดิ การวัดและการใช้จานวน

การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

ชัว่ โมงท่ี 1-3
ขั้นที่ 1 สรา้ งความสนใจ (engagement)

ครนู าเขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใชน้ กั เรียนสังเกตน้าในภาชนะ 2 ใบท่มี ีรูปรา่ งต่างกนั ว่าใบไหนมปี ริมาณ
มากกว่ากนั และใหน้ ักเรียนคาดคะเนผลไม้ 2 ชนดิ วา่ ชนดิ ใดหนักกวา่ กัน โดยเขยี นการคาดคะเนใน
แผ่นกระดาษและเกบ็ ไว้

ขนั้ ท่ี 2 สารวจและค้นหา (exploration)
1. ใหน้ กั เรยี นแบ่งกล่มุ กลุม่ ละ 5 คน จากนั้นให้นักเรียนทากิจกรรม การวัดทาได้อยา่ งไร โดยเลอื ก

เครอื่ งมอื ในการวดั ปริมาณน้า และหานา้ หนักของผลไม้ และช่วยกันหาปรมิ าณน้า และน้าหนักของผลไม้ เปน็
คา่ ตวั เลข และหนว่ ยในการวดั

2. คณุ ครูเปน็ ท่ีปรกึ ษาในการดาเนนิ กจิ กรรม

ขนั้ ท่ี 3 อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (explanation)
1. ใหผ้ แู้ ทนนักเรียนแต่ละกลมุ่ นาเสนอผลการทากจิ กรรม การวัดทาได้อย่างไร หนา้ ช้ันเรียน เพ่อื

เปรยี บเทยี บและตรวจสอบความถกู ตอ้ ง
2. ใหน้ กั เรียนร่วมกันอภิปรายเกยี่ วกับผลการทากิจกรรม จากนัน้ ฝึกถามคาถามทสี่ งสยั

ดว้ ยการถามเพ่ือนโดยไม่จาเป็นต้องถามครอู ย่างเดียว

ข้นั ที่ 4 ขยายความรู้ (elaboration)
1. ให้นกั เรยี นเขยี นแผนภาพความคิด สรุปการเคร่ืองมอื การวัด วิธีการวัด การอา่ นคา่ การวดั และ

หน่วยการวดั
2. คุณครูเปน็ ทีป่ รกึ ษาในการดาเนินกิจกรรม























31

สาระสาคญั

ผเู้ รยี นจะไดเ้ รยี นรู้เกี่ยวกบั การจาแนกส่งิ มีชีวติ ออกเป็นกลมุ่ พืช กล่มุ สตั ว์ และกลมุ่ ที่ไมใ่ ชพ่ ืชและ
สตั ว์ การจาแนกสัตว์โดยใช้กระดูกสันหลงั เปน็ เกณฑ์ และการจาแนกพชื โดยใช้เกณฑม์ ดี อกและไมม่ ีดอก

สาระการเรยี นรู้

ลักษณะตา่ งๆ ของสิง่ มชี วี ติ รอบๆ ตัวเรามีส่งิ ตา่ งๆ ทม่ี ีอยมู่ ากมาย เช่น ตน้ ไม้, ผเี สอ้ื , นก, ลงิ , สุนขั ,
แมว,ดวงอาทิตย์, ก้อนเมฆ, บา้ น, ต้นไม้, ถนน เป็นต้น ส่ิงเหล่าน้จี าแนกเปน็ กลุ่มใหญไ่ ด้ 2 กลมุ่ คอื สิ่งมีชวี ติ
กับสิง่ ไม่มชี ีวิต

1) ลกั ษณะสาคญั ของสิ่งมีชวี ิต คอื สามารถหายใจได้, กินอาหารได้, ขบั ถ่ายได้, เคล่อื นไหวได้,
ตอบสนองต่อส่ิงตา่ งๆ ได้, เจริญเตบิ โตได้ และสืบพนั ธ์ไุ ด้

2) ส่วนลักษณะของสิง่ ไม่มีชวี ติ จะตรงกนั ขา้ มกบั ลักษณะของสง่ิ มีชีวิต เชน่ ไม่สามารถเคลื่อนท่ไี ด้เอง
และไมส่ ามารถตอบสนองตอ่ ส่งิ ต่างๆ ได้ นน่ั เอง

1.เกณฑ์ท่ีใช้กระดูกสันหลงั เป็นเกณฑ์จะสัตวแ์ บง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คอื
1.1. สัตว์มกี ระดกู สนั หลงั ถ้าแบง่ ตามอณุ หภูมริ า่ งกายได้ 2 กลุ่ม คอื
- สตั วเ์ ลือดเย็น เช่น จาพวกปลา (ปลาต่าง ๆ) จาพวกสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า (กบ)
และจาพวกสัตวเ์ ลอื้ ยคลาน (เตา่ )
- สัตวเ์ ลอื ดอุ่น เชน่ จาพวกสตั ว์ปีก (นก) และจาพวกสตั วเ์ ล้ียงลกู ด้วยนม (สุนขั
ชา้ ง คน)
1.2. สัตว์ไมม่ ีกระดูกสนั หลงั ถ้าแบ่งตามลกั ษณะเด่นได้ 3 กลุ่มคอื
- พวกลาตวั เปน็ โพรง เชน่ จาพวกลาตวั พรุน (ฟองนา้ หินปนู ) และจาพวกลาตัว มโี พรง (แมงกะพรุน)
- พวกลาตวั คล้ายหนอน เชน่ จาพวกหนอนตวั แบน (พยาธิตวั ตืด) จาพวกหนอน ตวั กลม (พยาธิ
ไส้เดอื น) และจาพวกหนอนปล้อง (ไส้เดือนดนิ )
- พวกมเี ปลือกแข็งห้มุ ภายนอก เชน่ จาพวกมขี าเปน็ ขอ้ (ผีเสือ้ ) จาพวกลาตัวน่ิม(หอย) และจาพวก
สัตว์ทะเลผวิ ขรขุ ระ (ดาวทะเล)
2. การจาแนกพชื พชื เป็นส่งิ มชี ีวติ ทมี่ คี วามสาคญั ต่อคนและสตั ว์เปน็ อย่างมาก เพราะเป็นแหลง่
อาหารและอากาศซึง่ จาเปน็ ต่อการดารงชวี ิตของคนและสัตว์และยงั ช่วยสร้างสมดุลใหแ้ ก่ธรรมชาติ ซึ่ง
พชื ในโลกนีม้ อี ยูม่ ากมายหลายชนิด นักวทิ ยาศาสตรจ์ งึ ได้ใช้เกณฑต์ ่าง ๆ ในการจดั หมวดหมู่พชื
เกณฑ์ท่ีใชใ้ นการจัดหมวดหมพู่ ืชทแี่ สดงถงึ สายสมั พนั ธุ์ของพืชท่ใี กลช้ ดิ ทสี่ ุดคือ การจาแนกพชื โดยการ
สบื พนั ธุ์ ซ่ึงทาให้สามารถแบ่งพชื ไดเ้ ปน็ 2 กลุ่ม ไดแ้ ก่ พชื มดี อก และพืชไม่มดี อก

ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21

1. การสรา้ งสรรค์
2. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
3. การสอ่ื สาร
4. การแก้ปญั หา
5. ความรว่ มมือ
6. การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร

32

ชน้ิ งานหรือภาระงาน (หลักฐาน รอ่ งรอยแสดงความรู้)

แผนผังความคิดการจาแนกส่งิ มีชีวติ
สมดุ เลม่ เล็กการจาแนกสัตวม์ กี ระดกู สันหลัง
แผนผงั ความคิดการจาแนกพชื

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

ชั่วโมงท่ี 1-2
ข้นั ท่ี 1 สรา้ งความสนใจ (engagement)

ครูนาเข้าสบู่ ทเรยี นโดยใช้นกั เรียนดภู าพสิ่งมชี วี ิตต่างๆ และถามคาถาม “ภาพใดตอ่ ไปนี้เป็นพืช สตั ว์
และสิ่งมชี วี ิตท่ีไมใ่ ช่พืชและสัตว์

ขน้ั ที่ 2 สารวจและค้นหา (exploration)
1. ใหน้ กั เรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 5 คน จากนัน้ ให้นกั เรียนทากิจกรรม เราจาแนกสงิ่ มีชวี ิตได้อย่างไร

จาแนกส่งิ มีชวี ิตออกเปน็ กลุ่ม โดยใชเ้ กณฑ์การเคล่อื นที่และการสรา้ งอาหารเปน็ เกณฑ์
2. คณุ ครเู ปน็ ทป่ี รกึ ษาในการดาเนนิ กจิ กรรม

ขัน้ ท่ี 3 อธิบายและลงข้อสรปุ (explanation)
1. ให้ผแู้ ทนนักเรียนแต่ละกลมุ่ นาเสนอผลการทากิจกรรม หน้าชนั้ เรยี น เพอื่ เปรยี บเทยี บและ

ตรวจสอบความถูกต้อง
2. ใหน้ ักเรียนรว่ มกนั อภิปรายเกยี่ วกับผลการทากจิ กรรม จากนั้นฝึกถามคาถามทสี่ งสยั

ดว้ ยการถามเพ่อื นโดยไม่จาเป็นตอ้ งถามครอู ยา่ งเดียว

ข้นั ที่ 4 ขยายความรู้ (elaboration)
1. ให้นักเรียนเขยี นแผนผังความคดิ การจาแนกสง่ิ มชี ีวติ
2. คุณครูเปน็ ที่ปรกึ ษาในการดาเนินกจิ กรรม

ข้นั ที่ 5 ประเมิน (evaluation)
ครปู ระเมนิ การเรยี นรขู้ องนกั เรยี น ดังน้ี สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นขณะทางานร่วมกัน

สงั เกตการตอบคาถามของนักเรียนในชนั้ เรียน ประเมินแผนภาพความคิด และประเมินทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่
21 โดยใชแ้ บบประเมินตามสภาพจริง

ชว่ั โมงท่ี 3-4
ขน้ั ที่ 1 สรา้ งความสนใจ (engagement)

ครนู าเขา้ สู่บทเรียนให้นกั เรียนดภู าพสตั ว์หลากหลายชนดิ และถามคาถามนา “นักเรียนคดิ วา่ จะ
จาแนกสัตวเ์ หล่านี้ออกเปน็ กล่มุ ๆไดอ้ ยา่ งไร”

33

ขน้ั ที่ 2 สารวจและค้นหา (exploration)
1. ใหน้ กั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน จากนนั้ ให้นกั เรียนทากิจกรรม เราจาแนกสตั วไ์ ดอ้ ยา่ งไร
2. คุณครูเปน็ ท่ีปรึกษาในการดาเนนิ กจิ กรรม

ข้นั ที่ 3 อธิบายและลงขอ้ สรปุ (explanation)
1. ใหผ้ ้แู ทนนักเรยี นแตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลการทากจิ กรรม หนา้ ช้นั เรียน เพ่อื เปรยี บเทยี บและ

ตรวจสอบความถกู ต้อง
2. ใหน้ กั เรยี นร่วมกนั อภิปรายเกี่ยวกบั ผลการทากจิ กรรม จากน้ันฝึกถามคาถามท่สี งสัย

ดว้ ยการถามเพื่อนโดยไมจ่ าเปน็ ต้องถามครูอยา่ งเดยี ว

ขั้นท่ี 4 ขยายความรู้ (elaboration)
1. ให้นกั เรียนทาแผนผังความคดิ การจาแนกสตั ว์ (มกี ระดูกสันหลงั /ไม่มีกระดกู สันหลัง)
2. คุณครเู ป็นทปี่ รึกษาในการดาเนินกจิ กรรม

ขนั้ ที่ 5 ประเมนิ (evaluation)
ครูประเมนิ การเรยี นรขู้ องนกั เรยี น ดังน้ี สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นขณะทางานรว่ มกนั

สังเกตการตอบคาถามของนักเรยี นในช้นั เรียน ประเมนิ แผนภาพความคดิ และประเมินทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่
21 โดยใชแ้ บบประเมินตามสภาพจริง

ชั่วโมงที่ 5-6
ข้ันที่ 1 สรา้ งความสนใจ (engagement)

ครูนาเข้าส่บู ทเรยี นใหน้ กั เรียนดภู าพสัตวม์ กี ระดกู สันหลงั และถามคาถามนา “นักเรียนคดิ จะจดั กล่มุ
สัตวม์ กี ระดูกสนั หลงั ได้กีก่ ลมุ่ อะไรบา้ ง”

ขั้นท่ี 2 สารวจและคน้ หา (exploration)
1. ใหน้ กั เรียนแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 5 คน จากนั้นใหน้ ักเรยี นทากิจกรรม เราจาแนกสตั วม์ ีกระดูกสนั หลงั

ได้อยา่ งไร
2. คุณครูเปน็ ทีป่ รึกษาในการดาเนินกจิ กรรม

ชั่วโมงท่ี 7-8
ขั้นท่ี 3 อธิบายและลงขอ้ สรุป (explanation)

1. ให้ผ้แู ทนนักเรียนแต่ละกลมุ่ นาเสนอผลการทากจิ กรรม หน้าชั้นเรียน เพอ่ื เปรยี บเทียบและ
ตรวจสอบความถกู ต้อง

2. ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเกีย่ วกับผลการทากิจกรรม จากน้นั ฝกึ ถามคาถามท่ีสงสัย
ด้วยการถามเพอ่ื นโดยไม่จาเป็นต้องถามครูอย่างเดยี ว
ข้นั ที่ 4 ขยายความรู้ (elaboration)

1. ใหน้ กั เรยี นทาสมดุ เล่มเล็กการจาแนกสตั ว์มีกระดูกสันหลงั
2. คุณครูเป็นท่ปี รึกษาในการดาเนนิ กิจกรรม

34

ขน้ั ท่ี 5 ประเมนิ (evaluation)
ครปู ระเมนิ การเรยี นรขู้ องนักเรยี น ดงั น้ี สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนขณะทางานร่วมกนั

สงั เกตการตอบคาถามของนกั เรยี นในชน้ั เรียน ประเมินแผนภาพความคดิ และประเมนิ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่
21 โดยใช้แบบประเมินตามสภาพจริง

ช่ัวโมงท่ี 9-10
ขน้ั ท่ี 1 สรา้ งความสนใจ (engagement)

ครนู าเขา้ ส่บู ทเรยี นใหน้ กั เรียนดูภาพดอกและพืชไร้ดอก และถามคาถามนา “นักเรียนคิดวา่ เราจะ
จาแนกพชื เป็นกลุม่ ไดอ้ ยา่ งไร”

ขน้ั ท่ี 2 สารวจและค้นหา (exploration)
1. ให้นักเรยี นแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 5 คน จากน้ันให้นกั เรยี นทากจิ กรรม เราจาแนกพชื ได้อย่างไร
2. คณุ ครเู ป็นท่ปี รึกษาในการดาเนินกจิ กรรม

ขั้นท่ี 3 อธิบายและลงขอ้ สรปุ (explanation)
1. ใหผ้ แู้ ทนนกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอผลการทากจิ กรรม หนา้ ชั้นเรยี น เพื่อเปรียบเทียบและ

ตรวจสอบความถูกต้อง
2. ให้นักเรยี นร่วมกนั อภิปรายเกี่ยวกับผลการทากิจกรรม จากนัน้ ฝกึ ถามคาถามทสี่ งสยั

ดว้ ยการถามเพื่อนโดยไมจ่ าเป็นตอ้ งถามครูอยา่ งเดียว

ชั่วโมงที่ 11-12
ขน้ั ท่ี 4 ขยายความรู้ (elaboration)

1. ให้นกั เรียนแผนผังความคดิ การจาแนกพชื (พืชดอก/พืชไร้ดอก)
2. คุณครูเป็นทปี่ รึกษาในการดาเนนิ กิจกรรม

ข้นั ท่ี 5 ประเมนิ (evaluation)
ครูประเมนิ การเรยี นรู้ของนกั เรียน ดังน้ี สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นขณะทางานรว่ มกัน

สังเกตการตอบคาถามของนกั เรยี นในชนั้ เรียน ประเมินแผนภาพความคดิ และประเมินทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่
21 โดยใช้แบบประเมนิ ตามสภาพจริง

ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้

ภาพสงิ่ มชี ีวติ ต่างๆ
ตัวอย่างภาพสัตว์
ตัวอย่างภาพพชื ดอก พืชไรด้ อก

35

แบบประเมนิ การเรียนรู้

เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบประเมนิ การจดั กระทาและนาเสนอแผนภาพความคิด

ตวั ชีว้ ดั 4 ระดับคะแนน 1
32

การจดั กระทาและ จัดกระทาแผนภาพ จัดกระทาแผนภาพ จดั กระทาแผนภาพ จัดกระทาแผนภาพ

นาเสนอแผนภาพ ความคิดอย่างเป็นระบบ ความคดิ อยา่ งเป็นระบบ ความคิดได้ มกี าร ความคดิ อยา่ งไมเ่ ปน็

ความคดิ และนาเสนอด้วยแบบท่ี มกี ารจาแนกขอ้ มูล ยกตวั อย่างเพม่ิ เติม และ ระบบ และนาเสนอ

ชดั เจน ถกู ตอ้ ง ใหเ้ หน็ ความสัมพนั ธ์ นาเสนอด้วยแบบตา่ ง ๆ ไมส่ ่อื ความหมาย

ครอบคลมุ และมีการ และนาเสนอด้วยแบบที่ แตย่ ังไมค่ รอบคลมุ และไมช่ ัดเจน

เช่อื มโยงใหเ้ ห็น ครอบคลุม

เป็นภาพรวม

เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบประเมินปฏิบัติการทดลองของนักเรยี น

ตวั ช้วี ดั ระดบั คะแนน
1. การทดลองตาม
4 32 1
ทดลองไมถ่ ูกตอ้ งตามวิธกี าร
ทดลองตามวธิ กี ารและข้ันตอนที่ ทดลองตามวธิ กี ารและ ทดลองตามวธิ ีการและ

แผนทกี่ าหนด กาหนดไวอ้ ยา่ งถูกตอ้ งด้วยตนเอง ข้ันตอนท่ีกาหนดไว้ด้วย ขน้ั ตอนทกี่ าหนดไว้ และขน้ั ตอนทีก่ าหนดไว้
มีการปรับปรงุ แกไ้ ขเป็นระยะ ตนเอง มีการปรบั ปรุงแก้ไข โดยมีครหู รอื ผ้อู ืน่ เป็น ไม่มกี ารปรบั ปรงุ แกไ้ ข

บา้ ง ผู้แนะนา

2. การใช้อุปกรณ์และ/ ใช้อปุ กรณแ์ ละ/หรอื เครอ่ื งมอื ในการ ใชอ้ ปุ กรณ์และ/หรือเครอื่ งมอื ใช้อุปกรณ์และ/หรือเคร่ืองมอื ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละ/หรอื เครื่องมอื

หรือเคร่อื งมอื ทดลองได้อยา่ งถูกต้องตามหลักการ ในการทดลองไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ในการทดลองไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง ในการทดลองไมถ่ กู ต้อง และ

ปฏบิ ตั ิ และคล่องแคล่ว ตามหลักการปฏิบัติ โดยมีครูหรือผูอ้ ่นื เปน็ ไม่มคี วามคล่องแคล่วในการใช้

แตไ่ มค่ ล่องแคล่ว ผแู้ นะนา

3. การบนั ทกึ ผลการ บันทึกผลเปน็ ระยะอย่างถกู ตอ้ ง มี บันทึกผลเปน็ ระยะอย่าง บนั ทึกผลเปน็ ระยะ แตไ่ ม่เป็น บันทึกผลไม่ครบ ไมม่ กี าร
ทดลอง ระเบยี บ มีการระบุหนว่ ย มีการ ถกู ตอ้ ง มรี ะเบียบ มีการ ระเบยี บ ไม่มีการระบุหนว่ ย ระบหุ นว่ ย และไมเ่ ปน็ ไปตาม
และไม่มีการอธิบายขอ้ มูล การทดลอง
อธบิ ายข้อมูลให้เหน็ ความเชื่อมโยง ระบุหน่วย มกี ารอธบิ าย

เป็นภาพรวม เปน็ เหตเุ ป็นผล และ ข้อมลู ให้เหน็ ถงึ ความสัมพนั ธ์ ให้เหน็ ถึงความสัมพนั ธ์ของ

เปน็ ไปตามการทดลอง เปน็ ไปตามการทดลอง การทดลอง

4. การจัดกระทา จดั กระทาข้อมลู อย่างเป็นระบบ จดั กระทาขอ้ มลู อย่างเป็น จัดกระทาข้อมูลอย่างเปน็ จัดกระทาข้อมลู อยา่ งไมเ่ ป็น
ข้อมูลและการ มกี ารเชื่อมโยงให้เห็นเป็นภาพรวม ระบบ มีการจาแนกขอ้ มูล ระบบ มีการยกตวั อย่าง ระบบ และมีการนาเสนอ

นาเสนอ และนาเสนอดว้ ยแบบต่าง ๆ อย่าง ให้เหน็ ความสัมพันธ์ เพม่ิ เติมให้เขา้ ใจงา่ ยและ ไมส่ ่อื ความหมาย
5. การสรุปผลการ นาเสนอด้วยแบบตา่ ง ๆ แต่ และไม่ชัดเจน
ชดั เจนถูกตอ้ ง นาเสนอดว้ ยแบบตา่ ง ๆ ได้ ยังไมช่ ัดเจน และไม่ถกู ตอ้ ง
สรปุ ผลการทดลองได้ สรุปผลการทดลองตามความรู้
แต่ยงั ไม่ชัดเจน

สรุปผลการทดลองได้อย่างถูกตอ้ ง สรปุ ผลการทดลองไดถ้ ูกต้อง

ทดลอง กระชับ ชัดเจน และครอบคลมุ แต่ยังไมค่ รอบคลุมขอ้ มูลจาก โดยมคี รู หรือผูอ้ น่ื แนะนาบ้าง ทีพ่ อมอี ยู่ โดยไม่ใช้ขอ้ มลู จาก
ขอ้ มูลจากการวเิ คราะห์ท้งั หมด การวิเคราะหท์ ัง้ หมด
6. การดแู ลและการ ดแู ลอปุ กรณแ์ ละ/หรือเครือ่ งมือใน ดแู ลอุปกรณ์และ/หรอื จงึ สามารถสรปุ ได้ถูกต้อง การทดลอง
เก็บ การทดลองและมีการทาความ เครอ่ื งมือในการทดลองและ
สะอาดและเกบ็ อย่างถูกต้องตาม มกี ารทาความสะอาดอย่าง ดูแลอปุ กรณแ์ ละ/หรอื ไมด่ ูแลอุปกรณแ์ ละ/หรือ
อปุ กรณ์และ/หรือ
เคร่ืองมอื ในการทดลอง เคร่อื งมือในการทดลองและ

มกี ารทาความสะอาด ไม่สนใจทาความสะอาด

เครื่องมือ หลักการและแนะนาให้ผอู้ ื่นดแู ล ถกู ตอ้ ง แต่เกบ็ ไม่ถกู ต้อง แต่เก็บไมถ่ ูกตอ้ ง ต้องใหค้ รู รวมทงั้ เก็บไม่ถูกต้อง

และเก็บรักษาได้ถกู ตอ้ ง หรอื ผู้อื่นแนะนา

36

เกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการจดั กระทาสมดุ เล่มเล็กสัตว์มีกระดูกสันหลงั

ตัวช้ีวดั 4 ระดับคะแนน 1
32

การจดั กระทาสมดุ เล่ม รวบรวมและจดั กระทา รวบรวมและจดั กระทา รวบรวมและจดั กระทา รวบรวมและจัดกระทา

เลก็ สัตวม์ ีกระดกู สัน สมดุ เล่มเลก็ อยา่ งเปน็ สมดุ เลม่ เล็กอย่างเป็น สมุดเล่มเล็กอยา่ งเปน็ สมุดเลม่ เล็กอยา่ งไม่เป็น

หลงั ระบบ และนาเสนอด้วย ระบบ มีการจาแนกข้อมลู ระบบ มกี ารยกตวั อย่าง ระบบ และนาเสนอ

แบบท่ีชัดเจน ถกู ตอ้ ง ใหเ้ ห็นความสมั พนั ธ์ เพมิ่ เตมิ ใหเ้ ข้าใจง่าย และ ไมส่ ื่อความหมาย

ครอบคลมุ และมีการ และนาเสนอด้วยแบบท่ี นาเสนอด้วยแบบตา่ ง ๆ และไม่ชดั เจน

เชื่อมโยงใหเ้ หน็ ถกู ตอ้ ง ครอบคลุม แต่ยงั ไม่ครอบคลมุ

เป็นภาพรวม

37

ขอ้ เสนอแนะของหัวหนา้ สถานศึกษาหรือผู้ท่ไี ด้รับมอบหมาย

............................................................................................................................. .................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................................

ลงช่อื ..................................................................
(.................................................................)
ตาแหนง่ ................................................
วนั ท่.ี ......เดอื น........................พ.ศ. ..........

บันทกึ หลังสอน

ผลการสอน

............................................................................................................................. .................................................

..............................................................................................................................................................................

นกั เรยี นเกิดทักษะใดบ้าง ทาเครอื่ งหมาย  ในช่องว่างท่ตี รงกับส่ิงท่ีทาได้

 การสังเกต  การวดั  การใชจ้ านวน  การจาแนกประเภท

การหาความสัมพันธร์ ะหว่าง  สเปซกบั สเปซ  สเปซกบั เวลา

 การจดั กระทาและการส่อื ความหมายข้อมลู  การพยากรณ์

 การลงความเห็นจากขอ้ มลู  การต้งั สมมติฐาน  การกาหนดนยิ ามเชิงปฏิบตั ิการ

 การกาหนดและควบคุมตวั แปร  การทดลอง  การตคี วามหมายและลงข้อสรปุ

 การสรา้ งแบบจาลอง

นักเรยี นเกิดทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ใดบา้ ง ทาเคร่อื งหมาย  ในชอ่ งว่างท่ตี รงกบั ทักษะทเี่ กดิ

 การสร้างสรรค์  การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ  การแกป้ ัญหา

 การสอ่ื สาร  ความรว่ มมือ  การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

ปญั หาและอปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................. ............

ลงช่อื ..................................................................
(.................................................................)
ตาแหนง่ ................................................
วันท่.ี ......เดือน........................พ.ศ. ..........

38

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 สง่ิ มชี วี ิต แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 2 สว่ นตา่ งๆของพชื ดอก
วิชาวิทยาศาสตร์ ว14101 ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4
เวลา 8 ช่ัวโมง ผ้สู อน พจนา กาญจนบรุ างกรู

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัติของส่งิ มีชวี ิตหนว่ ยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตการลาเลียงสารผา่ นเซลล์
ความสัมพันธ์ของโครงสรา้ งและหน้าที่ของระบบต่างๆของสตั วแ์ ละมนุษย์ท่ีทางานสมั พันธก์ นั ความสัมพนั ธ์ของ
โครงสรา้ งและหนา้ ทีข่ องอวัยวะต่างๆของพชื ที่ทางานสัมพนั ธ์กันรวมทง้ั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตวั ช้ีวัด
ว 1.2 ป.4/1 บรรยายหน้าทขี่ องรากลาต้นใบและดอกของพชื ดอกโดยใชข้ ้อมูลท่ีรวบรวมได้
มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคดิ เชิงคานวณในการแก้ปัญหาทีพ่ บในชวี ติ จริงอยา่ งเปน็ ขนั้ ตอนและ
เป็นระบบใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแกป้ ญั หาได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
รูเ้ ทา่ ทนั และมจี รยิ ธรรม
ตวั ช้วี ดั

ว 4.2ป.4/1 ใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะในการแกป้ ัญหา การอธิบายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จาก
ปญั หาอย่างง่าย

ว 4.2ป.4/2 ออกแบบ และเขยี นโปรแกรมอย่างงา่ ย โดยใชซ้ อฟต์แวร์ หรือสือ่ และตรวจหาข้อผดิ พลาด

และแก้ไข
ว 4.2ป.4/3 ใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตคน้ หาความรู้ และประเมินความน่าเช่ือถือของขอ้ มูล
ว 4.2ป.4/4 รวบรวม ประเมิน นาเสนอขอ้ มลู และสารสนเทศ โดยใช้ซอฟตแ์ วรท์ ่หี ลากหลาย เพ่อื

แก้ปัญหาในชีวติ ประจาวัน
ว 4.2ป.4/5 ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย เขา้ ใจสทิ ธแิ ละหนา้ ท่ีของตน เคารพในสิทธิ

ของผ้อู ่นื แจง้ ผูเ้ กยี่ วขอ้ งเม่อื พบข้อมูล หรือบคุ คลทไ่ี ม่เหมาะสม

จุดประสงคก์ ารเรียนร้สู ตู่ วั ชว้ี ัด

1. มคี วามรู้เกี่ยวกบั หน้าท่ขี องส่วนตา่ งๆของพืชดอก ไดแ้ ก่ ราก ลาต้น ใบ และดอก (K)
2. สามารถอธิบาย หนา้ ที่ของส่วนตา่ งๆของพืชดอก ตลอดจนทาการทดลองตา่ งๆได้ (P)
3. เป็นคนชา่ งสงั เกต ช่างคดิ ชา่ งสงสยั และเปน็ ผ้ทู ่ีมคี วามกระตอื รือรน้ ในการเสาะแสวงหาความรู้ (A)

สาระสาคญั

ผเู้ รียนจะได้เรียนร้เู กยี่ วกบั หนา้ ทีข่ องสว่ นตา่ งๆของพืชดอก ไดแ้ ก่ ราก ลาต้น ใบ และดอก

สาระการเรยี นรู้

ราก คอื ส่วนหน่ึงท่งี อกต่อจากตน้ ลงไปในดิน ไมแ่ บ่งข้อและไม่แบง่ ปลอ้ ง ไมม่ ใี บ ตา และดอก หน้าท่ี
ของราก คือ สะสมและดูดซึมอาหารมาบารงุ เลยี้ งต้นพชื นอกจากนยี้ ังยึดและคา้ จุนตน้ พืช รากของพืชแบ่ง
ออกเป็น 2 ระบบ คอื

1.ระบบรากแกว้ ตน้ พชื หลายชนดิ เปน็ แบบรากแกว้ คือมรี ากสาคัญงอกออกจากลาต้นสว่ นปลาย
รูปร่างยาว ใหญ่ เป็นรูปกรวยดา้ นข้างของราแก้ว จะแตกแขนงออกได้ 2-3 ครั้ง ไปเรอื่ ย ๆ รากเล็กสว่ นปลาย

39

จะมีรากฝอยเล็ก ๆ ออกมาเปน็ จานวนมาก เพอ่ื เพิม่ เนื้อท่ใี นการดดู ซมึ อาหารใหก้ บั ตน้ พืช มักจะพบว่าพชื ใบ
เลี้ยงคจู่ ะมีรากแบบรากแก้ว ตัวอย่างพชื ที่มลี ักษณะนค้ี ือ ข้เี หล็ก คูน มะกา มะหาด เป็นตน้

2. ระบบรากฝอย เป็นรากทีง่ อกออกจากลาต้นส่วนปลายพร้อมกนั หลายๆ ราก ลกั ษณะ เปน็ รากกลม
ยาวขนาดเท่าๆ กนั พบว่าพืชใบเล้ียงเด่ียวจะมรี ากแบบรากฝอย ตัวอย่างพชื ทม่ี ีรากแบบนคี้ ือ ตะไคร้ หญ้าคา
เปน็ ต้น บางทีรากจะเปล่ยี นลกั ษณะไป เนือ่ งจากไดร้ บั อทิ ธพิ ล จากสง่ิ แวดล้อมภายนอก รากทเ่ี ปล่ียนลักษณะ
ไปนม้ี หี ลายชนิด เชน่ รากสะสมอาหาร รากคา้ จนุ รากเกย่ี วพนั รากอากาศ เป็นตน้ บางชนิดนี้บางครัง้ กอ็ ยบู่ น
ดนิ จะตอ้ งใชก้ ารสังเกต แต่อย่างไรก็ตาม มนั ยงั คงลกั ษณะทว่ั ไปของรากให้เราสังเกตเห็นได้

รากมีหนา้ ทห่ี ลักทส่ี าคญั คือ
1. ดูด (absorption) น้าและแรธ่ าตทุ ล่ี ะลายนา้ จากดินเขา้ ไปในลาตน้
2. ลาเลียง (conduction) นา้ และแร่ธาตรุ วมทัง้ อาหารซึ่งพืชสะสมไว้ในรากขนึ้ สูส่ ่วนตา่ งๆของลาตน้
3. ยดึ (anchorage) ลาต้นใหต้ ดิ กบั พนื้ ดิน
4. แหลง่ สร้างฮอร์โมน (producing hormones) รากเป็นแหลง่ สาคัญในการผลิตฮอรโ์ มนพชื หลาย
ชนดิ เช่น ไซโทไคนิน จบิ เบอเรลลิน ซ่งึ จะถกู ลาเลยี งไปใช้เพ่ือการเจรญิ พฒั นาของสว่ นลาต้น ส่วน
ยอด และสว่ นอน่ื ๆของพืชนอกจากนี้ยังมรี ากของพืชอกี หลายชนดิ ท่ที าหน้าทพ่ี ิเศษอน่ื ๆ เช่น สะสม
อาหาร สังเคราะหแ์ สง คา้ จุน ยดึ เกาะ หายใจ เปน็ ต้น
ลาตน้ (stem) เป็นอวัยวะของพชื ซง่ึ สว่ นใหญจ่ ะเจริญขึ้นมาเหนอื ดนิ แตก่ ม็ ีพืชบางชนิดท่ลี า ตน้ อย่ใู ต้
ดนิ ลาตน้ ประกอบดว้ ยสว่ นสาคัญ 2 ส่วนคอื
1. ข้อ (node) เปน็ ส่วนของลาตน้ ท่ีมตี า(bud)ซ่ึงจะเจรญิ ไปเป็นกิ่ง ดอก หรือใบ
2..ปลอ้ ง(internode) เปน็ สว่ นของลาต้นที่อยู่ระหว่างข้อ
พชื ใบเลีย้ งเด่ยี วจะสงั เกตส่วนของขอ้ ปลอ้ งไดอ้ ยา่ งชัดเจนตลอดชีวิต เชน่ ตน้ ไผ่ ตน้ อ้อย ขา้ วโพด เปน็
ตน้ ส่วนพชื ใบเลี้ยงคูน่ น้ั ส่วนใหญ่แล้วขอ้ ปล้องจะสงั เกตได้ไม่ชดั เจนท้ังน้ี เพราะเม่อื เจริญเตบิ โตเต็มทแ่ี ล้ว
มักจะมีเนือ้ เยอ่ื ชั้นคอรก์ (cork) มาห้มุ โดยรอบเอาไว้ การจะสงั เกตอาจจะสังเกตในขณะที่พชื ยังออ่ นอยู่ แต่
ก็ยังมีพชื ใบเลี้ยงคบู่ างชนดิ ที่สามารถสังเกตเห็นขอ้ ปล้องได้อยา่ งชดั เจน ตลอดชวี ิตเหมือนพืชใบเล้ียงเดี่ยว
ได้แกพ่ วกไม้ล้มลกุ ต่างๆ เช่น ต้นตาลงึ ฟกั ทอง และผักบ้งุ เปน็ ตน้
ใบถอื ว่าเปน็ องคป์ ระกอบที่สาคญั ต่อพชื เปน็ อย่างยิ่งเพราะพลังงานทไ่ี ด้มานัน้ ต้องอาศัยการ
สังเคราะห์แสงซ่งึ เกอื บทัง้ หมดจะเกิดขึน้ ทใ่ี บของพืช
หนา้ ท่ขี องใบ
ใบมีหน้าที่สรา้ งอาหาร เรียกว่า “การสังเคราะหด์ ้วยแสง” (สามารถศึกษาเพมิ่ เตมิ ไดจ้ ากบทเรยี น
เรือ่ ง การสงั เคราะห์ด้วยแสง) นอกจากน้ียัง ทาหน้าท่คี ายนา้ ทางปากใบ
นอกจากนใี้ บของพชื บางชนิดยงั ทาหนา้ ทอ่ี ยา่ งอน่ื อกี เชน่ ใบตาลงึ มะระ และถ่ัวลนั เตา ทาหน้าท่ี
ยดึ และพยงุ ลาต้นใหไ้ ต่ข้นึ ท่ีสูงได้
ใบกระบองเพชรจะเปล่ียนเป็นหนามแหลม เพือ่ ลดการคายนา้ ของใบ เนอื่ ง จากกระบองเพชร
ดารงชวี ิตอยู่ในท่แี ห้งแล้ง ไม่มนี า้
ใบหมอ้ ข้าวหม้อแกงลงิ ทาหนา้ ท่ีจับแมลงเป็นอาหาร
ใบวา่ นหวงจระเข้ กลีบของกระเทียม และหวั หอม ทาหน้าท่ีสะสมอาหาร
ดอกของพืชดอกจงึ มลี กั ษณะขนาดและสีท่ี ตา่ งกนั ออกไป แต่ไม่ว่าจะเปน็ พืชชนดิ ใด ดอกจะมี
สว่ นประกอบทสี่ าคัญคือ กลีบเล้ียง กลีบดอก เกสรตัวผู้ เกสรตวั ฐานรองดอก

40

ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21

1. การสรา้ งสรรค์
2. การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ
3. การส่อื สาร
4. การแกป้ ัญหา
5. ความร่วมมอื
6. การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร

ชิ้นงานหรอื ภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความร้)ู

แผนภาพส่วนตา่ งๆของพืชดอก
แผนภาพการทดลองและสรุปผลการทดลอง
แผนภาพสว่ นประกอบดอก

การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

ชว่ั โมงท่ี 1-2
ขน้ั ท่ี 1 สร้างความสนใจ (engagement)

ครนู าเขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใชน้ ักเรียนดูภาพพืชดอก และถามคาถาม “พชื ดอกทีน่ ักเรยี นเห็นมี
ส่วนประกอบใดบ้าง” “แตล่ ะสว่ นประกอบมหี นา้ ทอ่ี ะไร”

ข้ันที่ 2 สารวจและค้นหา (exploration)
1. ใหน้ กั เรียนแบง่ กลุ่ม กล่มุ ละ 5 คน จากนน้ั ให้นกั เรียนทากิจกรรม รากและลาต้นของพชื ทาหน้าท่ี

อะไร
2. คณุ ครเู ป็นที่ปรกึ ษาในการดาเนินกจิ กรรม

ข้นั ท่ี 3 อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (explanation)
1. ให้ผู้แทนนักเรยี นแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทากิจกรรม หน้าช้ันเรียน เพื่อเปรียบเทยี บและ

ตรวจสอบความถกู ต้อง
2. ใหน้ กั เรียนรว่ มกันอภิปรายเก่ียวกับผลการทากิจกรรม จากน้ันฝึกถามคาถามทีส่ งสยั

ด้วยการถามเพอื่ นโดยไมจ่ าเป็นตอ้ งถามครูอย่างเดยี ว
ช่ัวโมงท่ี 3-4
ขัน้ ที่ 4 ขยายความรู้ (elaboration)

1. ใหน้ ักเรียนเขยี นแผนภาพสว่ นต่างๆของพืชดอก
2. คณุ ครเู ป็นทป่ี รึกษาในการดาเนินกิจกรรม

ขน้ั ท่ี 5 ประเมิน (evaluation)
ครูประเมินการเรยี นรขู้ องนักเรียน ดังนี้ สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นขณะทางานร่วมกัน

สังเกตการตอบคาถามของนกั เรียนในชน้ั เรียน ประเมินแผนภาพความคิด และประเมนิ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่
21 โดยใช้แบบประเมินตามสภาพจรงิ

41

ชว่ั โมงที่ 5-6
ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ (engagement)

ครนู าเข้าสบู่ ทเรยี นให้นักเรียนดใู บไม้รูปร่างตา่ งๆ และถามคาถามนา “นักเรยี นคดิ ว่าใบมีหนา้ ที่อะไร”

ข้ันที่ 2 สารวจและค้นหา (exploration)
1. ให้นักเรียนแบง่ กลมุ่ กลุ่มละ 5 คน จากนั้นให้นักเรียนทากิจกรรม ใบของพืชทาหนา้ ทอี่ ะไร
2. คุณครเู ป็นทีป่ รึกษาในการดาเนนิ กิจกรรม

ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรปุ (explanation)
1. ใหผ้ ู้แทนนกั เรยี นแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทากิจกรรม หน้าชนั้ เรยี น เพอ่ื เปรียบเทียบและ

ตรวจสอบความถูกต้อง
2. ใหน้ กั เรยี นร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับผลการทากจิ กรรม จากนน้ั ฝกึ ถามคาถามทสี่ งสยั

ด้วยการถามเพื่อนโดยไม่จาเป็นต้องถามครูอย่างเดียว

ขัน้ ที่ 4 ขยายความรู้ (elaboration)
1. ให้นักเรยี นทาแผนภาพการทดลองและสรปุ ผลการทดลอง
2. คณุ ครูเปน็ ที่ปรกึ ษาในการดาเนินกจิ กรรม

ข้ันที่ 5 ประเมิน (evaluation)
ครปู ระเมนิ การเรยี นรู้ของนักเรยี น ดังนี้ สงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นขณะทางานร่วมกัน

สังเกตการตอบคาถามของนกั เรยี นในชน้ั เรียน ประเมนิ แผนภาพความคดิ และประเมินทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี
21 โดยใชแ้ บบประเมนิ ตามสภาพจริง

ชว่ั โมงที่ 7-8
ขนั้ ที่ 1 สร้างความสนใจ (engagement)

ครูนาเขา้ ส่บู ทเรียนให้นกั เรยี นดดู อกไม้หลากหลายชนิด และถามคาถามนา “นักเรยี นคดิ จะจดั กลมุ่
สตั วม์ ีกระดูกสันหลงั ได้กีก่ ล่มุ อะไรบา้ ง”

ขั้นที่ 2 สารวจและคน้ หา (exploration)
1. ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 5 คน จากนั้นให้นกั เรียนทากิจกรรม ดอกของพชื ทาหนา้ ที่อะไร
2. คณุ ครเู ป็นท่ปี รึกษาในการดาเนินกิจกรรม

ข้นั ท่ี 3 อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (explanation)
1. ให้ผูแ้ ทนนกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอผลการทากจิ กรรม หนา้ ชั้นเรียน เพือ่ เปรียบเทียบและ

ตรวจสอบความถูกต้อง
2. ให้นักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเก่ยี วกบั ผลการทากิจกรรม จากนนั้ ฝกึ ถามคาถามทีส่ งสัย

ดว้ ยการถามเพอื่ นโดยไม่จาเปน็ ต้องถามครูอย่างเดียว

42

ขั้นท่ี 4 ขยายความรู้ (elaboration)
1. ใหน้ กั เรียนทาแผนภาพส่วนประกอบดอก
2. คณุ ครูเปน็ ทีป่ รึกษาในการดาเนินกจิ กรรม

ขัน้ ที่ 5 ประเมิน (evaluation)
ครูประเมนิ การเรียนรู้ของนักเรียน ดังน้ี สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นขณะทางานรว่ มกัน

สังเกตการตอบคาถามของนักเรยี นในชนั้ เรยี น ประเมินแผนภาพความคดิ และประเมินทกั ษะแห่งศตวรรษที่
21 โดยใช้แบบประเมนิ ตามสภาพจริง

ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้

ภาพส่ิงมชี วี ติ ตา่ งๆ
ตัวอยา่ งภาพสัตว์
ตัวอย่างภาพพชื ดอก พชื ไร้ดอก
วสั ดอุ ปุ กรณ์ กจิ กรรมรากและลาต้นของพืชทาหน้าท่อี ะไร
วัสดอุ ุปกรณ์ กจิ กรรมใบของพืชทาหนา้ ทอ่ี ะไร
วัสดุอปุ กรณ์ กิจกรรมดอกของพชื ทาหน้าท่ีอะไร

43

แบบประเมนิ การเรยี นรู้

เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบประเมนิ การจดั กระทาและนาเสนอแผนภาพความคิด

ตัวชีว้ ดั 4 ระดับคะแนน 1
32

การจดั กระทาและ จัดกระทาแผนภาพ จัดกระทาแผนภาพ จดั กระทาแผนภาพ จัดกระทาแผนภาพ

นาเสนอแผนภาพ ความคิดอย่างเป็นระบบ ความคดิ อยา่ งเป็นระบบ ความคิดได้ มกี าร ความคดิ อยา่ งไมเ่ ปน็

ความคดิ และนาเสนอดว้ ยแบบท่ี มกี ารจาแนกขอ้ มูล ยกตวั อย่างเพม่ิ เติม และ ระบบ และนาเสนอ

ชดั เจน ถูกตอ้ ง ใหเ้ หน็ ความสัมพนั ธ์ นาเสนอด้วยแบบตา่ ง ๆ ไม่สอ่ื ความหมาย

ครอบคลุมและมีการ และนาเสนอด้วยแบบที่ แตย่ ังไมค่ รอบคลมุ และไมช่ ัดเจน

เชือ่ มโยงใหเ้ ห็น ครอบคลมุ

เปน็ ภาพรวม

เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบประเมนิ ปฏิบัติการทดลองของนักเรยี น

ตวั ช้วี ดั 4 ระดบั คะแนน 2 1
3

1. การทดลองตาม ทดลองตามวธิ กี ารและข้นั ตอนท่ี ทดลองตามวธิ กี ารและ ทดลองตามวธิ ีการและ ทดลองไมถ่ ูกตอ้ งตามวิธกี าร

แผนทกี่ าหนด กาหนดไว้อยา่ งถกู ต้องดว้ ยตนเอง ข้ันตอนทกี่ าหนดไว้ด้วย ขน้ั ตอนทกี่ าหนดไว้ และขน้ั ตอนทีก่ าหนดไว้
มีการปรับปรุงแก้ไขเปน็ ระยะ ตนเอง มกี ารปรบั ปรุงแก้ไข โดยมีครหู รอื ผ้อู ืน่ เป็น ไมม่ ีการปรบั ปรงุ แกไ้ ข

บา้ ง ผู้แนะนา

2. การใช้อุปกรณ์และ/ ใช้อปุ กรณแ์ ละ/หรือเครอ่ื งมอื ในการ ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละ/หรือเครอื่ งมอื ใช้อุปกรณ์และ/หรือเคร่ืองมอื ใชอ้ ุปกรณแ์ ละ/หรอื เครื่องมอื

หรอื เคร่อื งมอื ทดลองไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งตามหลักการ ในการทดลองไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ในการทดลองไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ในการทดลองไมถ่ กู ต้อง และ

ปฏบิ ตั ิ และคล่องแคลว่ ตามหลักการปฏิบัติ โดยมีครูหรือผูอ้ ่นื เปน็ ไม่มคี วามคล่องแคล่วในการใช้

แตไ่ มค่ ลอ่ งแคลว่ ผแู้ นะนา

3. การบนั ทกึ ผลการ บันทึกผลเป็นระยะอย่างถูกตอ้ ง มี บันทึกผลเปน็ ระยะอย่าง บนั ทึกผลเปน็ ระยะ แต่ไมเ่ ปน็ บันทึกผลไม่ครบ ไมม่ กี าร
ทดลอง ระเบียบ มกี ารระบหุ นว่ ย มกี าร ถกู ตอ้ ง มีระเบียบ มีการ ระเบยี บ ไม่มีการระบหุ น่วย ระบุหนว่ ย และไมเ่ ปน็ ไปตาม

อธบิ ายข้อมูลใหเ้ หน็ ความเช่อื มโยง ระบุหนว่ ย มกี ารอธบิ าย และไม่มีการอธิบายข้อมูล การทดลอง
เป็นภาพรวม เป็นเหตุเปน็ ผล และ ข้อมลู ให้เหน็ ถึงความสัมพนั ธ์ ให้เหน็ ถึงความสัมพันธ์ของ

เปน็ ไปตามการทดลอง เปน็ ไปตามการทดลอง การทดลอง

4. การจัดกระทา จดั กระทาขอ้ มลู อยา่ งเป็นระบบ จดั กระทาขอ้ มลู อย่างเป็น จัดกระทาข้อมูลอย่างเปน็ จดั กระทาข้อมลู อยา่ งไมเ่ ป็น
ข้อมลู และการ มกี ารเชือ่ มโยงใหเ้ หน็ เป็นภาพรวม ระบบ มีการจาแนกขอ้ มลู ระบบ มีการยกตวั อย่าง ระบบ และมีการนาเสนอ

นาเสนอ และนาเสนอด้วยแบบต่าง ๆ อยา่ ง ให้เหน็ ความสัมพันธ์ เพม่ิ เติมให้เขา้ ใจงา่ ยและ ไมส่ อ่ื ความหมาย

ชดั เจนถกู ต้อง นาเสนอด้วยแบบตา่ ง ๆ ได้ นาเสนอด้วยแบบตา่ ง ๆ แต่ และไม่ชัดเจน

แต่ยงั ไมช่ ดั เจน ยังไมช่ ัดเจน และไม่ถูกตอ้ ง
สรปุ ผลการทดลองไดถ้ ูกต้อง
5. การสรุปผลการ สรุปผลการทดลองไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง แต่ยังไมค่ รอบคลุมขอ้ มูลจาก สรปุ ผลการทดลองได้ สรปุ ผลการทดลองตามความรู้
ทดลอง กระชับ ชัดเจน และครอบคลมุ การวิเคราะหท์ ัง้ หมด
ขอ้ มลู จากการวเิ คราะหท์ ง้ั หมด โดยมคี รู หรือผูอ้ น่ื แนะนาบา้ ง ทพ่ี อมอี ยู่ โดยไม่ใช้ขอ้ มลู จาก

จงึ สามารถสรปุ ได้ถูกตอ้ ง การทดลอง

6. การดแู ลและการ ดแู ลอุปกรณ์และ/หรือเครือ่ งมือใน ดแู ลอุปกรณ์และ/หรอื ดูแลอปุ กรณแ์ ละ/หรอื ไม่ดูแลอุปกรณแ์ ละ/หรือ
เก็บ การทดลองและมกี ารทาความ เครอ่ื งมือในการทดลองและ เคร่ืองมอื ในการทดลอง เครอ่ื งมือในการทดลองและ
สะอาดและเก็บอย่างถกู ตอ้ งตาม มกี ารทาความสะอาดอย่าง มกี ารทาความสะอาด ไม่สนใจทาความสะอาด
อปุ กรณ์และ/หรือ หลักการและแนะนาใหผ้ ้อู ื่นดแู ล ถกู ตอ้ ง แตเ่ ก็บไม่ถกู ต้อง แต่เก็บไมถ่ ูกตอ้ ง ตอ้ งให้ครู รวมทงั้ เก็บไม่ถูกต้อง
เครื่องมือ

และเก็บรกั ษาไดถ้ ูกตอ้ ง หรอื ผู้อื่นแนะนา

44

ขอ้ เสนอแนะของหัวหนา้ สถานศึกษาหรือผู้ท่ไี ด้รับมอบหมาย

............................................................................................................................. .................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................................

ลงช่อื ..................................................................
(.................................................................)
ตาแหนง่ ................................................
วนั ท่.ี ......เดอื น........................พ.ศ. ..........

บันทกึ หลังสอน

ผลการสอน

............................................................................................................................. .................................................

..............................................................................................................................................................................

นกั เรยี นเกิดทักษะใดบ้าง ทาเครอื่ งหมาย  ในช่องว่างท่ตี รงกับส่ิงท่ีทาได้

 การสังเกต  การวดั  การใชจ้ านวน  การจาแนกประเภท

การหาความสัมพนั ธร์ ะหว่าง  สเปซกบั สเปซ  สเปซกบั เวลา

 การจดั กระทาและการส่อื ความหมายข้อมลู  การพยากรณ์

 การลงความเห็นจากขอ้ มลู  การต้งั สมมติฐาน  การกาหนดนยิ ามเชิงปฏิบตั ิการ

 การกาหนดและควบคุมตวั แปร  การทดลอง  การตคี วามหมายและลงขอ้ สรปุ

 การสรา้ งแบบจาลอง

นักเรยี นเกิดทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ใดบา้ ง ทาเคร่อื งหมาย  ในชอ่ งว่างท่ตี รงกบั ทักษะทเี่ กดิ

 การสร้างสรรค์  การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ  การแกป้ ัญหา

 การสอ่ื สาร  ความรว่ มมือ  การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

ปญั หาและอปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................................. ............

ลงช่อื ..................................................................
(.................................................................)
ตาแหนง่ ................................................
วันท่.ี ......เดือน........................พ.ศ. ..........

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 3 45
แรงและพลงั งาน
เวลา
หนว่ ยการ ชือ่ หน่วยการเรียนร/ู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ชั่วโมง
เรยี นรทู้ ี่
20
3 แรงและพลงั งาน 6

บทที่ 1 มวลและน้าหนัก 2
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 เร่อื ง มวลและแรงโนม้ ถ่วงของโลก 2
กิจกรรมท่ี 1.1 วตั ถเุ คล่ือนท่ีอยา่ งไรเม่ือถกู ปล่อยมอื 6
2
กจิ กรรมท่ี 1.2 มวลและน้าหนักสัมพนั ธ์กันอย่างไร 2
กจิ กรรมท่ี 1.3 มวลมีผลต่อการเปล่ียนแปลงการเคลื่อนท่ีของวตั ถุอยา่ งไร
สรุปผังมโนทัศนป์ ระจาบทที่ 1 มวลและนา้ หนัก

แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ แบบฝกึ หัดทา้ ยบทที่ 1 มวลและนา้ หนัก

บทท่ี 2 ตวั กลางของแสง

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 เร่อื ง ตวั กลางของแสง
กิจกรรมที่ 2.1 ลักษณะการมองเห็นต่างกันอยา่ งไร เมอ่ื มวี ตั ถุมากั้นแสง

สรุปผังมโนทศั น์ประจาบทท่ี 2 ตวั กลางของแสง
แลกเปลย่ี นเรียนรู้ แบบฝึกหัดทา้ ยบทท่ี 2 ตวั กลางของแสง

46

บรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ครู

ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล การมีภูมคิ มุ้ กนั ในตัวที่ดี

1.ออกแบบการจดั กจิ กรรม ตรงตาม 1.ออกแบบการเรยี นรสู้ ง่ เสรมิ กระบวนการคิด 1. ศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรลู้ ว่ งหน้า

ตวั ชี้วัด 2. ใชเ้ ทคนคิ การจดั การเรียนรทู้ ี่หลากหลาย 2. จดั เตรียมการวดั ผลประเมนิ ผล และแบบ

2. เลือกส่ือ แหลง่ เรียนรู้เหมาะสม สงั เกตพฤตกิ รมนกั เรยี น

3. วัดผลประเมนิ ผลตรงตามเนือ้ หา

เงอื่ นไขความรู้ เงอื่ นไขคณุ ธรรม

1. รู้จกั เทคนิคการสอนท่สี ่งเสรมิ กระบวนการคดิ และนักเรยี น 1. มีความขยนั เสียสละ และมุ่งมน่ั ในการจดั หาส่ือมาพัฒนานกั เรยี น

สามารถเรยี นรไู้ ดอ้ ย่างมคี วามสุข ใหบ้ รรลตุ ามจดุ ประสงค์

2. มคี วามรู้เก่ียวกับแรงและพลังงาน ในเรอ่ื งมวล แรงโนม้ ถว่ งของ 2. มคี วามอดทนเพื่อพัฒนานกั เรยี นโดยใชเ้ ทคนิคการสอนท่ี

โลก และตัวกลางของแสง หลากหลาย

นกั เรียน

ความพอประมาณ ความมเี หตุผล การมภี มู คิ มุ้ กนั ในตวั ทด่ี ี

1. การใช้เวลาในการทากิจกรรม/ภาระงาน 1. ฝึกกระบวนการทางานเป็นกลุ่ม 1. วางแผนการศึกษาใบงาน/ใบกจิ กรรม

ไดอ้ ย่างเหมาะสม ทนั เวลา 2. ฝกึ กระบวนการสังเกต อธิบาย ทักษะการ 2. นาความรู้เรอื่ งแรงและพลังงาน ไปปรับใช้

2. เลือกสมาชิกกลุ่มไดเ้ หมาะสมกบั เนอ้ื หาที่ สบื เสาะหาความรู้ การจาแนกประเภท การลง ในชีวิตประจาวันได้

เรียนและศกั ยภาพของตน ความเห็นจากขอ้ มลู และการทดลองต่างๆ

เง่ือนไขความรู้ เงอื่ นไขคณุ ธรรม

1. มคี วามรูเ้ กีย่ วกบั แรงและพลังงาน ในเรอ่ื งมวล แรงโนม้ ถว่ งของโลก 1. มคี วามรับผิดชอบ และปฏบิ ตั ิตามขอ้ ตกลงของกล่มุ

และตวั กลางของแสง และสามารถสรา้ ง จัดทาช้นิ งาน ผลงานและใบ 2. มสี ติ มีสมาธิชว่ ยเหลอื กนั ในการทางานรว่ มกนั

งานได้ตามวตั ถปุ ระสงค์

ส่งผลตอ่ การพฒั นา 4 มิติให้ยงั่ ยนื ยอมรบั ต่อการเปล่ยี นแปลงในยคุ โลกาภิวัฒน์

วตั ถุ สังคม สิง่ แวดลอ้ ม วฒั นธรรม

ความรู้ (K) มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับแรงและ มคี วามรแู้ ละเข้าใจ มคี วามรแู้ ละเข้าใจ มีความรู้และเข้าใจการ

พลังงาน ในเร่อื งมวล แรงโน้มถ่วงของโลก กระบวนการทางาน เก่ียวกบั แรงและ ชว่ ยเหลอื แบง่ บัน

และตวั กลางของแสง กลุ่ม พลงั งาน ใน

สิ่งแวดลอ้ มต่างๆ

และในชวี ติ ประจาวนั

ทักษะ (P) สามารถสร้างช้ินงาน ผลงาน ใบงาน ทางานได้สาเร็จตาม ใช้แหล่งเรยี นรูโ้ ดยไม่ ชว่ ยเหลือ แบง่ บันซง่ึ

แบบทดสอบเรอ่ื งมวล แรงโนม้ ถว่ งของ เปา้ หมาย ด้วย ทาลายสง่ิ แวดลอ้ ม กัน และกัน

โลก และตวั กลางของแสงไดต้ รงตาม กระบวนการกลุม่

วัตถปุ ระสงค์

ค่านิยม (A) เหน็ ประโยชน์ของ การเรยี นร้สู ิ่งตา่ งๆ เหน็ คุณค่า และ เห็นคณุ ค่าของการใช้ ปลกู ฝังนสิ ยั การ

รอบตัว ในเรือ่ งแรงและพลงั งาน ภาคภูมใิ จในการ แหลง่ เรยี นรู้โดยไม่ ชว่ ยเหลอื แบง่ บนั

ทางานรว่ มกันได้ ทาลายสง่ิ แวดล้อม

สาเร็จ

47

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แรงและพลงั งาน แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 มวลและแรงโนม้ ถว่ งของโลก
วิชาวิทยาศาสตร์ ว14101 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4
เวลา 6 ช่ัวโมง ผูส้ อน พจนา กาญจนบุรางกรู

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ิตประจาวันผลของแรงท่กี ระทาตอ่ วัตถลุ กั ษณะการเคลื่อนท่ี
แบบต่างๆของวัตถรุ วมท้งั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
ตัวชว้ี ดั

ว 2.2 ป.4/1 ระบุผลของแรงโนม้ ถ่วงทม่ี ีต่อวตั ถจุ ากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์
ว 2.2 ป.4/2 ใช้เคร่ืองชัง่ สปรงิ ในการวดั น้าหนักของวตั ถุ
ว 2.2 ป.4/3 บรรยายมวลของวตั ถุท่มี ผี ลต่อการเปลย่ี นแปลงการเคล่อื นทข่ี องวัตถจุ ากหลกั ฐานเชิง
ประจักษ์
มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชิงคานวณในการแก้ปญั หาทพ่ี บในชีวิตจรงิ อยา่ งเป็นข้นั ตอนและเปน็
ระบบใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ
รูเ้ ทา่ ทัน และมีจริยธรรม
ตัวชว้ี ดั

ว 4.2ป.4/1 ใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทางาน การคาดการณผ์ ลลพั ธ์ จาก

ปัญหาอย่างง่าย
ว 4.2ป.4/2 ออกแบบ และเขยี นโปรแกรมอยา่ งงา่ ย โดยใชซ้ อฟตแ์ วร์ หรอื ส่อื และตรวจหาขอ้ ผดิ พลาด

และแก้ไข
ว 4.2ป.4/3 ใช้อินเทอรเ์ น็ตค้นหาความรู้ และประเมนิ ความน่าเชอื่ ถอื ของข้อมูล
ว 4.2ป.4/4 รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมลู และสารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวรท์ ห่ี ลากหลาย เพื่อ

แกป้ ัญหาในชวี ติ ประจาวนั
ว 4.2ป.4/5 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธแิ ละหน้าทข่ี องตน เคารพในสทิ ธิ

ของผ้อู ืน่ แจ้งผ้เู ก่ียวขอ้ งเมื่อพบขอ้ มลู หรอื บคุ คลท่ไี มเ่ หมาะสม

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้สู่ตวั ชีว้ ัด

1. มคี วามรู้เกยี่ วกับความแตกตา่ ง ความสัมพันธข์ องมวลกับน้าหนกั ผลของแรงโน้มถ่วง และการ
เคลื่อนท่ี (K)
2. สามารถวัดน้าหนักของวัตถุ และบรรยายเกยี่ วกับมวลและการเปลยี่ นแปลงการเคลื่อนที่ (P)
3. เป็นคนช่างสังเกต ชา่ งคิด ชา่ งสงสัย และเปน็ ผู้ท่ีมีความกระตอื รือร้นในการเสาะแสวงหาความรู้ (A)

สาระสาคญั

ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกยี่ วกับ ความหมาย ความแตกตา่ ง และความสมั พนั ธ์ของมวลกับนา้ หนัก มวลกบั
การเปล่ียนแปลงการเคลือ่ นที่ของวัตถุ

48

สาระการเรียนรู้

มวลของสารเปน็ สมบตั เิ ฉพาะตวั ของสารแต่ละชนดิ และมคี ่าคงที่ มวลสารท่ีถูกแรงโน้มถว่ งของโลก
หรอื แรงดึงดดู ของโลก กระทาเรยี กว่าน้าหนกั ดงั นนั้ น้าหนักจึงไมค่ งที่ มวลสารกอ้ นเดียวกันอาจมนี า้ หนกั
แตกต่างกัน เม่ืออยูใ่ นท่ีต่างๆกนั ถา้ แรงโน้มถว่ งทก่ี ระทาตา่ งกัน

สภาพการเคลอื่ นท่ขี องวัตถุแบง่ เปน็ 2 ประเภท คือ
สภาพการเคล่ือนทค่ี งเดมิ หมายถงึ อาการท่ีวตั ถุอย่นู ่ิงหรือมีความเร็วคงท่ี เช่นนักเรียนคนหนง่ึ ยนื อยู่นิ่งๆ
บนพืน้ เปน็ ต้น

สภาพการเคลื่อนทเ่ี ปลีย่ นแปลง หมายถงึ อาการท่วี ัตถุมกี ารเคล่ือนท่ีดว้ ยความเรง่ เช่น นกั เรยี นคน
หน่งึ กาลังออกวง่ิ รถยนต์กาลังเบรกกะทันหัน เปน็ ตน้

ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21

1. การสร้างสรรค์
2. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ
3. การสือ่ สาร
4. การแก้ปัญหา
5. ความร่วมมือ
6. การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร

ชิน้ งานหรอื ภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

ชิ้นงานเชงิ สร้างสรรค์ ความหมายของมวล แรงโน้มถ่วง และนา้ หนัก
แผนผงั สรปุ ผลการทดลอง “มวลกับนา้ หนกั ”
แผนผังความคิด “วตั ถบุ นโลก”

การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

ชวั่ โมงที่ 1-2
ข้นั ท่ี 1 สรา้ งความสนใจ (engagement)

ครนู าเขา้ สู่บทเรยี นให้นักเรยี นดูสงิ่ ของตัวอย่าง (ดินนา้ มัน ฟองนา้ แท่งไม้ ใบไม้ ลูกบอล และเมลด็
ถ่วั ) และเริ่มกระบวนการจัดการเรียนรโู้ ดยใชแ้ นวทางการสอน ทานาย สังเกต และอธิบาย Predict Observe
Explain (POE) ในขั้นตอน Predict โดยใหน้ กั เรียนทานายผลการปล่อยวัตถดุ ังกล่าวจากมอื วา่ ผลจะเปน็
อย่างไร

ขั้นที่ 2 สารวจและค้นหา (exploration)
1. ให้นักเรยี นแบง่ กลุ่ม กล่มุ ละ 5 คน จากนน้ั ให้นักเรียนทากจิ กรรม มวลและแรงโนม้ ถ่วงของโลก
2. ดาเนนิ การในข้นั ตอน Observe โดยใชน้ ักเรียนทดลองและสังเกตผลการทดลอง จากกจิ กรรม มวล
และแรงโนม้ ถว่ งของโลก


Click to View FlipBook Version