The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suphasan Bamnejphan, 2020-02-07 03:10:26

สมุทรปราการ

AWCoverSPAnnualReport60

Samutprakan
Annual Report 2017

รายงาน2ปร5ะจ6ำ0�ปี

จังหวัดสมุทรปราการ
www.samutprakan.go.th



Samutprakan
Annual Report 2017

ราย2งา5น6ปร0ะจำ�ปี

จังหวัดสมุทรปราการ
www.samutprakan.go.th

ส�ำ นกั งานจังหวัดสมทุ รปราการ

2 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

สำ�นกั งานจงั หวัดสมุทรปราการ

ค�ำน�ำ


จังหวดั สมทุ รปราการ มชี ัยภูมิเปน็ เมอื งหนา้ ดา่ นทางทะเลทม่ี คี วามสำ� คญั เกย่ี วขอ้ งกบั ความเปน็ มาของ
ประเทศไทยสืบเนื่องมาตั้งแต่ครั้งอดีตกาล จากชัยภูมิอันมีท่ีต้ังอยู่บริเวณปากแม่น้�ำเจ้าพระยา และมีพ้ืนที่ตอนในเช่ือมต่อ
กับกรุงเทพมหานคร ส่งผลให้มีความส�ำคัญในฐานะเป็นเมืองหน้าด่านทางการค้า การพาณิชย์ และการติดต่อระหว่าง
ประเทศผ่านการคมนาคมทางน�้ำ จวบจนกระท่ังในปัจจุบัน ที่ยังคงความส�ำคัญในมิติดังกล่าวเพ่ิมมากย่ิงขึ้นจากการเป็น
ที่ต้ังของสนามบินนานาชาติสุวรรณภูมิ ซึ่งเป็นสนามบินหลักของประเทศอันเป็นช่องทางการคมนาคมขนส่งที่ส�ำคัญท่ีสุด
ในยุคน้ี จึงอาจถือได้ว่าจังหวัดสมุทรปราการเปรียบเสมือนกับห้องรับรองของประเทศที่จะเป็นด่านแรกและด่านสุดท้าย
ในการเดินทางเขา้ ออกของนักท่องเท่ียวและชาวต่างชาตทิ ่ีเดนิ ทางมาส่ปู ระเทศไทย
นอกจากความส�ำคัญในมิติด้านการคมนาคมและภูมิศาสตร์ข้างต้น โดยเนื้อแท้แห่งการพัฒนาของ
จังหวัดสมุทรปราการถือเป็นจังหวัดปริมณฑลที่เป็นพ้ืนฐานส�ำคัญด้านการพาณิชยกรรม อุตสาหกรรม และภาคการขนส่ง
ท่ีส�ำคัญของประเทศ รวมถึงเป็นจังหวัดที่มีจ�ำนวนประชากรหนาแน่นในล�ำดับต้นๆ ของประเทศ ปัจจัยเหล่านี้ล้วน
เป็นสง่ิ ทา้ ทายตอ่ การบริหารจัดการภายในจงั หวัด ท่ามกลางกระแสการเปลีย่ นแปลงของโลกยคุ ปจั จบุ นั เปน็ อย่างย่ิง
การจัดท�ำ “รายงานประจ�ำปี 2560 จังหวัดสมุทรปราการ” ฉบับน้ี จึงมีวัตถุประสงค์หลักส�ำคัญใน
การน�ำเสนอและเผยแพร่ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์เกี่ยวกับการพัฒนาจังหวัดสมุทรปราการ โดยจะเป็นการน�ำเสนอข้อมูล
ส�ำคัญพ้ืนฐาน ยุทธศาสตร์การพัฒนาของจังหวัดในห้วงเวลาท่ีผ่านมา ตลอดจนเป็นการรายงานความคืบหน้าและน�ำเสนอ
ผลการด�ำเนินงานท่ีน่าสนใจตามแนวทางและนโยบายของรัฐบาลในรอบปี 2560 ของจังหวัดสมุทรปราการให้สาธารณชน
รับทราบ และน�ำไปใชป้ ระโยชนใ์ นสว่ นทเี่ กี่ยวข้องตอ่ ไป

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 3

ส�ำ นักงานจังหวดั สมุทรปราการ

สารบญั / CONTENTS

สว่ นท่ี 1 : ข้อมลู สภาพท่วั ไปของจงั หวดั สมทุ รปราการ 5
• ย้อนอดีตเมอื งปากน�ำ้
• ขอ้ มูลพ้นื ฐานท่ัวไปของจังหวัดสมทุ รปราการ
สว่ นท่ี 2 : ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาจงั หวัดสมทุ รปราการ 47
• วสิ ยั ทัศน์
• พนั ธกจิ /เป้าประสงค์
• ประเดน็ ยุทธศาสตร์
• การวเิ คราะหส์ ภาวะแวดล้อม (SWOT Analysis)
• สรปุ ผลการด�ำเนินงานโดยภาพรวม
สว่ นท่ี 3 : ผลการประเมนิ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการของสว่ นราชการและจังหวดั 54
ตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการ ม.44
จังหวดั สมทุ รปราการประจำ� ปี พ.ศ. 2560
สว่ นท่ี 4 : ผลการดำ� เนินงานโครงการส�ำคัญของจังหวดั 58
• โครงการฝึกอบรมเรื่องการจดั บญั ชีครัวเรือน การรวมกล่มุ สหกรณ์และศกึ ษาดงู านแปลง 59
สาธติ การเกษตรและกลมุ่ สหกรณ์ (ของศษิ ย์พระดาบส ปกี ารศกึ ษา 2560 วชิ าชีพการเกษตรพอเพียง)
• โครงการประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการจัดทำ� แผนปฏิบัตริ าชการ ประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 61
ของสำ� นักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั สมุทรปราการ (ฉบบั จดั ท�ำค�ำของบประมาณรายจา่ ยประจำ� ป)ี
• โครงการจดั ท�ำข้อมลู ด้านการศึกษาจงั หวดั สมทุ รปราการ 63
• โครงการการดำ� เนินงานคลนิ กิ หมอครอบครวั (Primary Care Cluster : PCC) 66
• โครงการการด�ำเนินการพฒั นาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) 70
• โครงการพฒั นาสรา้ งสรรคน์ วัตกรรมใหมจ่ ากวัสดุทไ่ี มใ่ ชแ้ ลว้ โดยเทคโนโลยีการผลติ ทส่ี ะอาด 3 71
• โครงการพัฒนาเอสเอม็ อตี ามแนวประชารฐั 83
• โครงการสง่ เสริมและพัฒนาด้านการมาตรฐานเพือ่ เพ่มิ ขีดความสามารถในการแข่งขัน : 86
งานมาตรฐานผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน ประจ�ำปีงบประมาณ 2560
• โครงการปอ้ งกันกลุ่มเส่ยี งทม่ี โี อกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด และการสรา้ งสภาพแวดล้อม 90
เพอื่ ปอ้ งกันปญั หายาเสพติด
สว่ นที่ 5 : สรุปสถานการณ์แนวโน้มปัญหาส�ำคญั 95

4 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

สว่ นท่ี 1

ขอ้ มลู สภาพทว่ั ไปของจงั หวดั สมทุ รปราการ

ส�ำ นกั งานจงั หวัดสมุทรปราการ

ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู สภาพท่ัวไปของจงั หวัดสมุทรปราการ

1.1 ความเป็นมา

ภาพท่ี 1.1 พระสมุทรเจดยี ์
“สมทุ รปราการ” เปน็ เมอื งทมี่ คี วามสำ� คญั มาแตโ่ บราณ เนอื่ งจากทต่ี ง้ั เปน็ เขตยทุ ธศาสตรท์ างนำ้� คำ� วา่ “สมทุ รปราการ”

มาจาก ค�ำว่า “สมุทร” ซ่ึงแปลว่าทะเล และ “ปราการ” ท่ีแปลว่า ก�ำแพง จึงมีความหมายโดยรวมว่า “ก�ำแพงริมน้�ำ”
และหากย้อนหลังไป 800 ปีเศษ ชนชาติขอมซ่ึงมีความรุ่งเรืองอยู่ ในขณะน้ันได้สร้างเมืองพระประแดงบริเวณปากแม่น�้ำ
เจ้าพระยาเพื่อเป็นเมืองหน้าด่านซ่ึงสันนิษฐานว่าในปัจจุบันคือบริเวณท่าเรือคลองเตย และต่อมาแผ่นดินบริเวณรอบเมือง
พระประแดงน้ันได้งอกออกไปในทะเลโดยทิศใต้แผ่นดินงอกถึงแถบต�ำบลปากคลองบางปลากดซ่ึงอยู่ทางฝั่งขวาของแม่น้�ำ
เจ้าพระยา และทางฝั่งซ้ายของแม่น้�ำเจ้าพระยาแผ่นดินได้งอกถึงบริเวณต�ำบลบางด้วน บางหมู และบางนางเกรง ท�ำให้
เมืองพระประแดงมีความส�ำคัญลดลง เนื่องจากอยู่ห่างจากบริเวณปากแม่น้�ำ ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2163-2171
สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ได้โปรดให้สร้างเมืองสมุทรปราการขึ้นใหม่ เพื่อเป็นเมืองปากน�้ำหน้า
ดา่ นของกรงุ ศรอี ยธุ ยา และใชเ้ ปน็ สถานทที่ ำ� การคา้ ขายกบั ชาวฮอลนั ดาโดยทรงพระราชทานทดี่ นิ บรเิ วณคลองบางปลากด
ใหช้ าวฮอลนั ดาไวเ้ ปน็ เมอื งการค้าซง่ึ เรียกวา่ “นวิ อมั สเตอรด์ ัม”

ในปี พ.ศ. 2306 สมยั กรงุ ธนบรุ ี เปน็ สมยั ทส่ี รา้ งราชธานใี หม่ สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ โปรดเกลา้ ฯ ใหร้ อ้ื กำ� แพงเมอื ง
พระประแดงเดมิ ทตี่ ำ� บลราษฎรบ์ รู ณะ เพอ่ื ไปสรา้ งกำ� แพงพระราชวงั จงึ ทำ� ใหก้ ำ� แพงเมอื งพระประแดงเดมิ สญู หายสนิ้ ซากนบั แตน่ น้ั มา
ในปี พ.ศ. 2352 สมัยกรุงรตั นโกสนิ ทร์ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ทรงเห็นความส�ำคัญที่
จะต้องสร้างเมืองทางชายฝั่ง เพื่อป้องกันศัตรูที่จะรุกล้�ำมาจากทางทะเลสู่แม่น้�ำเจ้าพระยา ซ่ึงเดิมมีเมืองพระประแดงและ
เมืองสมุทรปราการเป็นเมืองหน้าด่าน แต่อยู่ในสภาพทรุดโทรมมาก พระองค์จึงด�ำริท่ีจะบูรณะเมืองพระประแดง ซึ่งอยู่
ทางด้านขวาของแม่น้�ำเจ้าพระยา ระหว่างเมืองสมุทรปราการและกรุงเทพฯ โดยโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบวรราชเจ้า
มหาสุรสิงหนาท ลงส�ำรวจพื้นที่บริเวณปากน�้ำเจ้าพระยา เพื่อสร้างเมืองขึ้นใหม่และสร้าง “ป้อมวิทยาคม” ท่ีฝั่งซ้ายของ
แม่นำ้� เจา้ พระยา
ในปี พ.ศ. 2362 พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หล้านภาลัย รัชกาลท่ี 2 ทรงโปรดเกล้าฯใหด้ ำ� เนินการสร้างปอ้ ม
ทสี่ ำ� คญั หลายปอ้ ม และทรงพระราชทานนาม ใหมว่ า่ “เมอื งนครเขอื่ นขนั ธ”์ และทรงมพี ระมหากรณุ าธคิ ณุ ให้อพยพครอบครัว
ชาวมอญ โดยมีชายฉกรรจ์ประมาณ 300 คน ซึ่งมีพระยาเจ่งเป็นผู้น�ำจากเมืองปทุมธานีมาอยู่ ณ เมืองนครเข่ือนขันธ์
เพ่ือเปน็ ก�ำลังสำ� คัญในการรักษาเมือง นอกจากการสร้างเมืองนครเข่ือนขันธแ์ ล้วพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ยงั

6 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นักงานจังหวดั สมุทรปราการ

ทรงสรา้ งเมอื งสมทุ รปราการขน้ึ มาใหม่ เนอ่ื งจากทรงไมไ่ วว้ างใจญวนนกั ประกอบกับเมืองสมุทรปราการเองก็เป็นเมืองท่ีอยู่ติด
กับทะเลมากกวา่ จึงทรงโปรดเกล้าฯ ให้สรา้ งป้อมเพิม่ อกี จำ� นวน 6 ปอ้ มทงั้ ดา้ นซา้ ยและขวาของแมน่ ้�ำเจา้ พระยา

ภาพที่ 1.2 ป้อมแผลงไฟฟ้า
ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 รัฐบาลไทยได้อนุมัติสัมปทานแก่บริษัท
ชาวเดนมาร์ก เพื่อสร้างทางรถไฟสายแรกข้ึนในประเทศไทย ระหว่าง กรุงเทพฯ-สมุทรปราการแต่บริษัทยังขาดทุนทรัพย์
จงึ มไิ ดด้ ำ� เนนิ การกอ่ สรา้ ง พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหย้ มื ทนุ ทรพั ยไ์ ปสมทบ
ดว้ ยสว่ นหน่ึง และได้เสดจ็ พระราชดำ� เนินแซะดนิ เปน็ ปฐมฤกษ์ เมอื่ วนั ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2434 กบั ได้เปดิ ทางรถไฟ
ณ สถานสี มทุ รปราการ เมอ่ื วนั ที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2436 โดยใชร้ ถจกั รไอนำ้� ลากจงู แตต่ อ่ มาภายหลงั เปลย่ี นใชร้ ถไฟฟา้
ทางรถไฟสายนไ้ี ดย้ ุบเลกิ กิจการไป เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2503
ในรชั สมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี 6 ทรงเปลยี่ นชอื่ เมอื งนครเขอื่ นขนั ธก์ ลบั เปน็
“เมอื งพระประแดง” ดงั เดมิ เพราะยงั คงบรเิ วณเดมิ ของพระประแดง และในปี พ.ศ. 2459 ทรงเปลยี่ นคำ� วา่ เมอื งเปน็ จงั หวดั
เมืองสมุทรปราการจึงเปล่ียนเป็น “จังหวัดสมุทรปราการ” ประกอบด้วยอ�ำเภอสมุทรปราการ อ�ำเภอบ่อ อ�ำเภอบางพลี
และอ�ำเภอสีชัง และเมืองพระประแดงเป็น จังหวัดพระประแดง ประกอบด้วยอ�ำเภอพระประแดง อ�ำเภอพระโขนง และ
อำ� เภอราษฎรบ์ รู ณะ

ภาพท่ี 1.3 ภาพจำ� ลองรถไฟสายแรกของประเทศไทย และภาพหมขู่ า้ ราชการเมอื งสมุทรปราการ
ปี พ.ศ. 2475 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เกิดวิกฤตการณ์เศรษฐกิจตกต�่ำ
ทั่วโลก รัฐบาลต้องประหยัดการใช้จ่ายเงินของแผ่นดิน จึงโปรดฯ ให้ยุบจังหวัดพระประแดงขน้ึ กบั จงั หวดั สมทุ รปราการ
อำ� เภอพระโขนงขนึ้ กบั จงั หวดั พระนคร และอำ� เภอราษฎรบ์ รู ณะขน้ึ กบั จงั หวดั ธนบรุ ี
ในปี พ.ศ. 2485 ได้มีพระราชบัญญัติรวมจังหวัดพระนคร ธนบุรี สมุทรปราการ และนนทบุรีเข้าไว้ด้วยกัน
รวมเรียกว่า นครบาล กรุงเทพฯ ธนบุรี และในปี พ.ศ. 2486 มีการปรับปรุงระเบียบการปกครองใหม่ ยุบจังหวัด
สมุทรปราการข้นึ กบั จงั หวดั พระนคร และในปี พ.ศ. 2489 ไดม้ พี ระราชบัญญตั จิ ดั ตั้งจังหวดั สมุทรปราการ จังหวดั นนทบรุ ี
จงั หวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึง่ มผี ลใช้บังคับตง้ั แต่วนั ที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 7

ส�ำ นกั งานจงั หวดั สมุทรปราการ

1.2 ข้อมลู ท่ัวไปจังหวัด

ตราประจ�ำจงั หวัดสมุทรปราการ
เป็นรปู พระสมทุ รเจดีย์และพระอโุ บสถทป่ี ระดษิ ฐาน
พระพุทธรปู ปางหา้ มสมุทร

ความหมาย
พระเจดยี ์ หมายถึง พระสมุทรเจดียท์ ่สี รา้ งอย่กู ลางแมน่ �้ำ ภายในเจดียบ์ รรจุ
พระบรมสารรี กิ ธาตุ และพระไตรปฎิ ก
ภาพสทมี่ 1ุท.ร4ปตรราากจาังรหวดั พระอุโบสถ หมายถึง พระอโุ บสถท่ีประดิษฐานพระพทุ ธรปู ยืนปางหา้ มสมทุ ร

ภาพท่ี 1.5 ตน้ ไมป้ ระจำ� จังหวดั สมุทรปราการไดแ้ ก่ ต้นโพทะเล และดอกไมป้ ระจ�ำจงั หวัดสมทุ รปราการ ได้แก่ ดอกดาวเรือง

ช่อื พนั ธไุ์ ม้ โพทะเล
ลักษณะท่ัวไป ตน้ โพทะเลเปน็ ไมย้ นื ต้นขนาดกลางสูง 10–15 เมตร เปลอื กสี
และถ่นิ ก�ำเนดิ น�ำ้ ตาลออ่ นอมชมพู ขรุขระ ใบเปน็ ใบเดยี่ วเรยี งสลบั แผ่นใบรูป
ชื่อดอกไม้ หวั ใจ ดอกสีเหลืองขนาดใหญ่ ออกตามงา่ มใบ ออกดอกชว่ ง
ลกั ษณะท่ัวไป เดือนพฤษภาคม-มถิ นุ ายน ผลโตขนาด 4 ซ.ม. มีถิน่ ก�ำเนิด
และถิ่นกำ� เนิด บริเวณปา่ ชายเลนทางภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉยี งใต้
ดอกดาวเรอื ง
ดาวเรือง หรอื Mary’s gold มถี ิน่ ก�ำเนิดในประเทศเม็กซโิ ก
เนือ่ งจากเป็นไมท้ ปี่ ลกู ง่ายมดี อกสเี หลอื งสวยงามและมีชือ่ ที่
เป็นมงคล และเปน็ ดอกไม้ประจำ� รัชกาลที่ 9 ผคู้ นจึงนิยมปลกู
อยา่ งแพร่หลายเพื่อใช้บูชาเทพเจา้ และสงิ่ ศกั ดิ์สิทธ์ิ ในปัจจบุ ัน
ยังใช้ดอกดาวเรอื งผสมในอาหารสัตวเ์ ป็นอาหารเสรมิ อกี ด้วย

8 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นักงานจังหวัดสมุทรปราการ

1.3 ค�ำขวัญจงั หวัด
ปอ้ มยุทธนาวี พระเจดีย์กลางน�้ำ ฟาร์มจระเขใ้ หญ่ งามวไิ ลเมอื งโบราณ

สงกรานตพ์ ระประแดง ปลาสลดิ แห้งรสดี ประเพณรี บั บวั ครบถว้ นทวั่ อตุ สาหกรรม

ป้อมยุทธนาวี พระเจดยี ก์ ลางน้ำ�
งามวิไลเมอื งโบราณ
ฟารม์ จระเข้ใหญ่ ปลาสลดิ แหง้ รสดี
ครบถ้วนทว่ั อุตสาหกรรม
สงกรานต์พระประแดง
รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017 9
ประเพณรี ับบวั
ภาพท่ี 1.6 คำ� ขวัญจังหวัดสมทุ รปราการ

สำ�นกั งานจงั หวดั สมุทรปราการ

1.4 ลกั ษณะทางกายภาพ

ภาพท่ี 1.7 แสดงแผนทจ่ี ังหวดั สมุทรปราการ

1.4.1 ที่ตั้งและขนาดพ้ืนที่ จังหวัดสมุทรปราการต้ังอยู่ริมฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยา โดยอยู่ตอนปลายสุดของแม่น�้ำ
เจา้ พระยาและเหนืออา่ วไทย ระหวา่ งเสน้ รงุ้ ท่ ี 13 – 14 องศาเหนอื และเสน้ แวงท่ี 100 – 101 องศาตะวันออก มเี น้อื ท่ี
ประมาณ 1,004.092 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 627,557.50 ไร่ อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้
เป็นระยะทางประมาณ 30 กิโลเมตร ซ่ึงถ้าหากสังเกตแนวแบ่งเขตของจังหวัดสมุทรปราการตั้งแต่อ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์
อำ� เภอพระประแดง ไปจรดอ�ำเภอบางบ่อ ดว้ ยจินตนาการก็จะพบวา่ จงั หวดั สมุทรปราการมีรปู รา่ งคล้ายส่วนหวั และลำ� ตวั
ของ “ฮิปโปโปเตมัส” ท่ีหันหน้าออกสู่ฝั่งอ่าวไทยเพื่อคอยปกป้องประเทศชาติจากการรุกรานของมวลหมู่ปัจจามิตร
ดว้ ยจติ สำ� นึกและสญั ชาตญิ าณรกั ษ์ถ่นิ ย่ิงชพี ของตนเอง โดยพืน้ ทีข่ องจงั หวดั ฯ มอี าณาเขตติดตอ่ กบั พื้นที่ ใกลเ้ คียง ดงั น้ี

- ทศิ เหนือติดกบั กรงุ เทพมหานคร ระยะทาง 55.00 กิโลเมตร
- ทศิ ใตต้ ดิ กับอ่าวไทย (พนื้ ทีช่ ายฝัง่ ทะเล) ระยะทาง 47.20 กโิ ลเมตร
- ทิศตะวันออกติดกบั จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ระยะทาง 42.60 กิโลเมตร
- ทิศตะวันตกติดกบั กรุงเทพมหานคร ระยะทาง 34.20 กโิ ลเมตร

1.4.2 สภาพภมู ปิ ระเทศ พนื้ ทส่ี ว่ นใหญเ่ ปน็ ทรี่ าบลมุ่ มี แมน่ ำ้� เจา้ พระยาไหลผา่ น ไมม่ ภี เู ขา มลี ำ� คลองรวม 63 สาย
โดยเป็นคลองชลประทาน 15 สาย คลองธรรมชาติ 48 สาย ใช้ประโยชน์ทางคมนาคมและการขนส่งทางน�้ำ รวมท้ัง
การประมงและการเกษตรกรรม จังหวัดฯ ไม่มีพื้นที่ป่าไม้ (ป่าบก) มีแต่ป่าชายเลน ลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดแบ่ง
ออกเป็น 3 ส่วน คือ
1) บริเวณริมแม่น�้ำเจ้าพระยา บริเวณทั้งสองฝั่งเป็นท่ีราบลุ่มเหมาะแก่การท�ำนาท�ำสวน และเพาะเลี้ยง
สตั ว์น้�ำ แตป่ ัจจุบันพืน้ ที่บางส่วนไดเ้ ปลี่ยนไปเปน็ โรงงาน ทอี่ ยู่อาศัย และเขตพาณชิ ยกรรมตามสภาพสภาวะเศรษฐกิจด้าน
การค้า การลงทนุ และชมุ ชนเมืองทเ่ี กดิ ข้ึนใหม่
2) บริเวณตอนใต้ชายติดทะเล เป็นบริเวณที่ได้รับอิทธิพลของน้�ำทะเลท่วมถึง ส่วนใหญ่เป็นท่ีราบลุ่ม
เปน็ ดินเหลวลุ่ม เหมาะแก่การทำ� ปา่ จากป่าชายเลน และการเพาะเล้ยี งสตั วช์ ายฝง่ั
3) บริเวณที่ราบตอนเหนือและตะวันออก บริเวณน้ีเป็นท่ีราบกว้างใหญ่ ส�ำหรับระบายน�้ำและเก็บกักน้�ำ
อ�ำนวยประโยชนใ์ นดา้ นการชลประทาน การท�ำนา การเพาะเล้ียงสัตว์น�ำ้ ปัจจบุ ันเปน็ ทต่ี ง้ั ของสนามบนิ สวุ รรณภูมิ และมี
ธรุ กรรมที่ตอ่ เน่อื งเชอื่ มโยงหรือ Supply Chain ทั้งด้านการคา้ การลงทนุ ภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรมแปรรูป กจิ กรรม
Logistics และอสงั หารมิ ทรพั ย์ ฯลฯ

10 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นักงานจงั หวดั สมุทรปราการ

1.4.3 สภาพภูมิอากาศ จังหวัดสมุทรปราการมีสภาพภูมิอากาศแบบพื้นท่ีชายทะเล ในฤดูร้อนมีความช้ืนใน
อากาศสูง เน่ืองจากอิทธิพลของลมทะเลและลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ฤดูฝนมีฝนตกมาก ฤดูหนาวก็ไม่หนาวจนเกินไป
อณุ หภูมิเฉลยี่ สงู สดุ 32.60 องศาเซลเซยี ส อุณหภมู ิเฉล่ยี ต�ำ่ สุด 28.91 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉล่ยี 29.75 องศาเซลเซียส
1.4.4 การใช้ประโยชน์ที่ดินจากผังเมืองรวม จังหวัดสมุทรปราการได้มีการใช้ผังเมืองรวมสมุทรปราการ ฉบับปี
พ.ศ. 2556 โดยประกาศเปน็ กฎกระทรวงใหใ้ ชบ้ งั คบั ผงั เมอื งรวมจงั หวดั สมทุ รปราการ พ.ศ. 2556 ตามทไี่ ดป้ ระกาศใหม้ ผี ลบงั คบั
ใชแ้ ลว้ ตง้ั แตว่ นั ท่ี 5 กมุ ภาพนั ธ์ 2557 ตามกฎกระทรวง ออกตามความในมาตรา 5 แหง่ พระราชบญั ญตั กิ ารผงั เมอื ง พ.ศ. 2518
ผงั เมอื งรวมสมทุ รปราการ ไดก้ ำ� หนดแผนผงั กำ� หนดการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ตามทไี่ ดจ้ ำ� แนกประเภทไว้ 13 ประเภท ซงึ่ ผงั เมอื ง
รวมในปจั จบุ นั จะไมก่ ำ� หนดอายกุ ารใชบ้ งั คบั แตจ่ ะตอ้ งจดั ทำ� รายงานการประเมนิ ผลผงั เมอื งรวมทกุ หา้ ปแี ละทำ� การปรบั ปรงุ
ผงั เมอื งรวมตามพระราชบญั ญตั กิ ารผงั เมอื ง (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ.2558

ภาพที่ 1.8 แผนภาพแสดงผงั ก�ำหนดการใช้ประโยชน์ทีด่ นิ ตามท่ีไดจ้ ำ� แนกประเภทไว้
จังหวัดสมุทรปราการในปัจจุบันถือเป็นเมืองอุตสาหกรรมหลัก ซึ่งมีความต้องการใช้แรงงานภาคอุตสาหกรรม
จ�ำนวนมากมีทักษะฝีมือและต�่ำกว่าจากนอกพื้นท่ีและในพื้นท่ี ท้ังประเภทไปเช้า-เย็นกลับ และมาพักค้างคืน ประกอบกับ
เม่ือ 2554 ได้เกิดมหาอุทกภัยกับกรุงเทพมหานครและจังหวัดฯ ทั่วประเทศ แตจ่ งั หวดั สมทุ รปราการไมไ่ ดร้ บั ผลกระทบ
จากอทุ กภยั ดงั กลา่ ว จงึ สง่ ผลใหเ้ กดิ การขยายตวั ของชมุ ชนทอี่ ยอู่ าศยั เดมิ และเกดิ ชมุ ชนทอ่ี ยอู่ าศยั ใหม่ ทง้ั ในรปู แบบหมบู่ า้ นจดั สรร
บา้ นเชา่ หอ้ งเชา่ คอนโดมเิ นยี ม อาคารชดุ บา้ นเออ้ื อาทร ท�ำให้มีประชาชนมาอยู่อาศัยอยู่ในจังหวัดหนาแน่นเพิ่มมากข้ึน
โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ การมีโครงการเอื้ออาทรทั้ง 17 โครงการ มีท่ีอยอู่ าศยั 30,557 แห่ง รวมท้งั เป็นแหล่งสะสม Land bank
ของบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และกลุ่มประชาชนท่ีมีรายได้หรือเงินออมสูง ซึ่งจะส่งผลต่อแนวโน้มการเพิ่มขึ้น
ของประชากรและราคาที่ดินแบบก้าวกระโดดในอนาคตอันใกล้ เมื่อมีการเปิดใช้เส้นทางรถไฟฟ้า ช่วงแบร่ิง-การเคหะ
สมุทรปราการ และการขยายโครงข่ายรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน-ราษฎร์บูรณะ-ครุใน โครงข่ายรถไฟฟ้าสวยสีเหลือง
ช่วงลาดพร้าว-ส�ำโรง ซ่ึงจะส่งผลให้เกิดปัญหาด้านสาธารณูปโภค สาธารณูปการท่ีมีอยู่ไม่สามารถรองรับได้อย่างเพียงพอ
เกิดปัญหาการจราจรติดขัด บริการสาธารณะต่าง ๆ ไม่เพียงพอ เกิดผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนในทุกด้าน
ดังน้ัน จึงเป็นปัญหาส�ำคัญท่ีจังหวัดและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเร่งด�ำเนินการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
รองรบั การขยายตวั แบบกา้ วกระโดดทจี่ ะเกิดขนึ้ ในอนาคต

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017 11

สำ�นักงานจงั หวัดสมุทรปราการ

1.5 ขอ้ มูลการปกครองและประชากร

1.5.1 การปกครอง แบง่ เขตการปกครองภายในจงั หวดั ออกเปน็ 6 อำ� เภอ ซง่ึ มี 50 ตำ� บล 394 หมบู่ า้ น โดยมอี งค์การ
บริหารราชการส่วนท้องถ่ินจ�ำนวน 49 แห่ง ประกอบด้วยองค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาล จ�ำนวน 18 แหง่
1 เทศบาลนคร 4 เทศบาลเมอื ง และ 13 เทศบาลตำ� บล) และองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล จำ� นวน 30 แห่ง สามารถจ�ำแนกตาม
รายอ�ำเภอไดด้ งั นี้ (ดงั ตารางท่ี 11)
1) อ�ำเภอเมอื งสมุทรปราการ ประกอบด้วย เทศบาล 7 แหง่  : เทศบาลนครสมุทรปราการ เทศบาลเมอื ง
ปากน้�ำสมุทรปราการ เทศบาลต�ำบลส�ำโรงเหนือ เทศบาลต�ำบลบางปู เทศบาลต�ำบลแพรกษา เทศบาลต�ำบลด่านส�ำโรง
และเทศบาลตำ� บลบางเมือง อบต. 4 แห่ง : แพรกษา บางด้วน บางโปรง เทพารักษ์ และแพรกษาใหม่
2) อำ� เภอบางบอ่ ประกอบดว้ ย เทศบาล 4 แหง่  : เทศบาลตำ� บลบางบอ่ เทศบาลตำ� บลคลองสวน เทศบาล
ตำ� บลคลองดา่ น และเทศบาลตำ� บลบางพลนี อ้ ย อบต. 7 แหง่  : บางเพรยี ง บา้ นระกาศ คลองดา่ น บางบอ่ คลองนิยมยาตรา
คลองสวน และเปร็ง
3) อำ� เภอบางพลี ประกอบดว้ ยเทศบาล 1 แหง่  : เทศบาลตำ� บลบางพลี อบต. 6 แหง่  : บางพลใี หญ่ บางแกว้
บางโฉลง บางปลา ราชาเทวะ และหนองปรอื
4) อำ� เภอพระประแดง ประกอบดว้ ยเทศบาล 3 แหง่  : เทศบาลเมอื งพระประแดง เทศบาลเมอื งลดั หลวง และเทศบาล
เมอื งปเู่ จา้ สมงิ พราย อบต. 6 แหง่  : ทรงคนอง บางกระสอบ บางยอ บางนำ�้ ผง้ึ บางกะเจา้ และบางกอบวั
5) อ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์ ประกอบด้วยเทศบาล 2 แห่ง : เทศบาลต�ำบลพระสมุทรเจดีย์และเทศบาล
ตำ� บลแหลมฟ้าผ่า อบต. 4 แหง่  : บา้ นคลองสวน ในคลองบางปลากด แหลมฟา้ ผ่า และนาเกลือ
6) อ�ำเภอบางเสาธง ประกอบด้วยเทศบาล 1 แห่ง : เทศบาลต�ำบลบางเสาธง อบต. 3 แห่ง : บางเสาธง
ศีรษะจรเขน้ อ้ ย และศีรษะจรเข้ใหญ่

ตารางที่ 1.1 แสดงจำ� นวนหมบู่ า้ น ตำ� บล เทศบาลและองคก์ ารบริหารสว่ นตำ� บล พ.ศ. 2558

อำ�เภอ (ตพร้นื.กทม่ี .) ต(แำ�หบ่งล) ห(มแห่บู ง่า้ )น เท(แศหบ่งา)ล (อแบหต่ง.) หมายเหตุฯ
30 1431 เเเทททศศศบบบาาาลลลเตนมำคือ�บรงล
จังหวัดสมุทรปราการ 1,004.09 50 399 18 511เเเทททศศศบบบาาาลลลตเนมำ�คบอื รงล
5 3 เทศบาลเมือง
เมอื งสมุทรปราการ 190.55 13 95 7 6 1 เทศบาลตำ�บล
6 2 เทศบาลตำ�บล
พระประแดง 73.37 15 67 3 4 4 เทศบาลตำ�บล
บางพลี 243.89 6 83 1 6 1 เทศบาลตำ�บล
พระสมุทรเจดีย์ 120.38 5 42 2 3
บางบอ่ 245.01 8 74 4
บางเสาธง 130.89 3 38 1

แหล่งท่มี า: ข้อมูลจากสำ� นกั นโยบายและแผน กระทรวงมหาดไทย

1.5.2 การบริหารราชการในพ้ืนท่ีจังหวัดฯ มีหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน
แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ไดแ้ ก่
1) สว่ นราชการสังกัดส่วนภูมภิ าค มีจำ� นวน 31 หนว่ ยงาน
2) สว่ นราชการสังกดั สว่ นกลาง มีจ�ำนวน 52 หนว่ ยงาน
3) ส่วนราชการสงั กดั สว่ นทอ้ งถนิ่ มจี �ำนวน 49 หน่วยงาน
4) ส่วนราชการอสิ ระ มีจำ� นวน 5 หน่วยงาน
5) รัฐวิสาหกิจ มีจำ� นวน 15 หนว่ ยงาน

12 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

สำ�นกั งานจงั หวัดสมทุ รปราการ

1.5.3 ประชากรและโครงสร้างประชากร
1) จ�ำนวนประชากร จงั หวดั สมทุ รปราการมีประชากรตามทะเบียนราษฎรมากเป็นอันดับ 14 ของประเทศ
และอนั ดบั 2 ของภาคกลาง รองจากกรงุ เทพมหานคร เนอ่ื งจากเปน็ จงั หวดั ฯ รองรบั การขยายตวั จากกรงุ เทพฯ และสนามบนิ
นานาชาติสุวรรณภูมิ ทั้งในด้านการผลิตภาคอุตสาหกรรม การค้า การบริการและการกระจายตวั ของประชากร จงึ ทำ� ให้
จงั หวดั ฯ มปี ระชากรทย่ี า้ ยถน่ิ จากทอ่ี น่ื มาอาศยั อยใู่ นพน้ื ทเี่ ปน็ จำ� นวนมาก ซ่ึงมีท้ังประชากรที่เคล่ือนย้ายเข้ามาโดยแจ้งย้าย
ที่อยู่อย่างถูกต้อง และไม่แจ้งย้ายที่อยู่เข้ามาอาศัยท�ำให้จ�ำนวนประชากรท่ีมีอยู่จริงสูงกว่าจ�ำนวนประชากรตามทะเบียน
ราษฎรเกือบเท่าตัว (บทวิเคราะห์อยู่ในหวั ขอ้ ท่ี 1.7 ลกั ษณะทางสงั คม) โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ผทู้ อ่ี ยใู่ นวยั ทำ� งานจะมรี ายชอื่ อยใู่ น
ทะเบยี นราษฎรตำ�่ กวา่ กลมุ่ อน่ื โดยขอ้ มลู ณ เดอื นมถิ นุ ายน 2560 จงั หวดั ฯ มปี ระชากรตามทะเบยี นราษฎรทง้ั สนิ้ 1,301,560 คน
แยกเปน็ ชาย 623,478 คน หญงิ 678,082 คน ซงึ่ จะพบวา่ ประชากรสว่ นใหญอ่ าศยั อยใู่ นพน้ื ทอี่ ำ� เภอเมอื งสมทุ รปราการ
มากทสี่ ดุ รองลงมาคอื อำ� เภอบางพลี และอำ� เภอพระประแดง ตามลำ� ดบั โดยมอี ตั ราการขยายตวั เพ่ิมขึ้นเร่ือย ๆ เมื่อเปรียบ
เทียบกบั จ�ำนวนประชากรตอ่ พ้ืนทจ่ี งั หวัดฯ โดยเฉล่ียประมาณ 1,296 คนต่อตารางกโิ ลเมตร (ดงั ตารางที่ 1.2)

ตารางท่ี 1.2 แสดงจ�ำนวนประชากรแยกตามอ�ำเภอ พ.ศ. 2557 – มิถุนายน 2560

ปี พ.ศ. อำ�เภอ รวม ชาย หญงิ จำ�นวนบ้าน คว(หามนห่วนยา: แคนนน่/ตปรร.ะกชมา.)กร
เมอื งสมทุ รปราการ 525,982 251,188 274,794 226,721 2,760.34

พระประแดง 200,005 96,952 103,053 84,093 2,725.98

2557 บางพลี 229,708 108,737 120,971 133,461 941.85
พระสมุทรเจดยี ์ 128,200 62,273 65,927 55,822 1,064.96

บางบอ่ 103,123 50,433 52,690 39,291 420.89

บางเสาธง 74,512 36,119 38,393 50,525 569.27

รวมท้งั สนิ้ 1,261,530 605,702 655,828 589,913 1,256.39

เมอื งสมทุ รปราการ 530,547 253,082 277,465 232,856 2,784.29

พระประแดง 198,849 96,252 102,597 84,877 2,710.22

2558 บางพลี 237,611 112,369 125,242 140,498 974.25
พระสมทุ รเจดีย์ 131,814 64,087 67,727 56,698 1,094.98

บางบ่อ 104,762 51,255 53,507 40,867 427.58

บางเสาธง 75,727 36,733 38,994 52,641 578.55

รวมทัง้ สิ้น 1,279,310 613,778 665,532 608,437 1,274.10

เมอื งสมทุ รปราการ 533,102 253,954 279,148 245,160 2,797.70

พระประแดง 197,122 95,263 101,859 86,627 2,686.68

2559 บางพลี 245,339 115,907 129,432 146,999 1,005.94
พระสมทุ รเจดีย์ 135,098 65,633 69,465 59,180 1,122.26

บางบ่อ 106,268 51,987 54,281 42,276 433.73

บางเสาธง 76,624 37,167 39,457 53,835 585.41

รวมท้งั สิ้น 1,293,553 619,911 673,642 634,077 1,288.28

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 13

ส�ำ นักงานจังหวัดสมทุ รปราการ

เมืองสมุทรปราการ 534,691 254,683 280,008 248,739 2,806.04
196,540 94,893 101,647 86,848 2,678.75
พระประแดง 249,113 117,628 131,485 149,588 1,021.42
137,091 66,589 70,502 60,118 1,138.82
2560 บางพลี 107,088 52,350 54,738 42,910 437.08
พระสมทุ รเจดยี ์ 77,037 37,335 39,702 55,408 588.56
1,301,560 623,478 678,082 643,611 1,296.26
บางบ่อ

บางเสาธง

รวมทงั้ สนิ้

แหล่งท่มี า: ส�ำนักบรหิ ารการทะเบยี น กรมการปกครอง ณ 30 มถิ ุนายน 2560

ภาพท่ี 1.9 แสดงจำ� นวนประชากร พ.ศ. 2557 – สิงหาคม 2560 จำ� แนกรายอ�ำเภอ

1.6 ขอ้ มลู เศรษฐกจิ

1.6.1 อตั ราการขยายตวั ของมลู คา่ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวดั (GPP : Gross Provincial Product)
จังหวัดสมุทรปราการ มีฐานเศรษฐกิจส่วนใหญ่อยู่ในภาคอุตสาหกรรม และภาคพาณิชย์กรรม โดยเฉพาะ
อุตสาหกรรมการผลติ ยานยนต์ ช้นิ สว่ นยานยนต์ อปุ กรณเ์ ครอื่ งจกั ร ผลิตภัณฑ์โลหะ เคมภี ณั ฑ์ พลาสตกิ เครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ /
อิเล็กทรอนิกส์ อาหารแปรรูป การขนส่งสินค้าและบริการ (Logistic) และธุรกิจค้าขายของภาคเอกชน ซ่ึงการวิเคราะห์
ข้อมูล GPP พบว่าในปี พ.ศ.2558 จังหวัดสมุทรปราการ มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP : Gross Provincial
Product) จ�ำนวน 685,392 ล้านบาท สูงเป็นอนั ดบั 4 ของประเทศ รองจากกรงุ เทพมหานคร ระยอง และชลบรุ ี โดยมี
อัตราการขยายตัว ณ ราคาคงท่ีจากปีทผี่ า่ นมา คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.3 และมีมูลค่าผลติ ภัณฑม์ วลรวมจงั หวัดเฉล่ียตอ่ คน (GPP
Per Capita) อยู่ท่ี 339,972 บาท สูงเป็นอันดับ 8 ของประเทศ รองจากระยอง กรุงเทพฯ ชลบุรี พระนครศรีอยุธยา
ฉะเชงิ เทรา สมทุ รสาคร และปราจนี บรุ ี

14 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

สำ�นกั งานจงั หวัดสมทุ รปราการ

จากการวิเคราะห์มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสมุทรปราการ ปี พ.ศ. 2558 ณ ราคาประจ�ำปี พบว่า
สัดส่วนโครงสร้างเศรษฐกิจของจังหวัดสมุทรปราการปี พ.ศ. 2558 ส่วนใหญ่เป็นภาคอุตสาหกรรม รอ้ ยละ 45 การขนสง่
รอ้ ยละ 22 การขายสง่ ขายปลกี รอ้ ยละ 14 และการบรกิ ารดา้ นอสงั หารมิ ทรพั ยฯ์ รอ้ ยละ 6

ภาพที่ 1.10 แสดงสดั สว่ นผลิตภณั ฑม์ วลรวมจงั หวัด (GPP) สมุทรปราการ รายสาขาการผลติ ปี 2558

1.6.2 โครงสรา้ งรายไดห้ ลกั
1) เศรษฐกจิ ภาคอตุ สาหกรรม
จงั หวดั สมทุ รปราการเปน็ แหล่งวตั ถดุ บิ ทนี่ ำ� เข้าจากตา่ งประเทศ และเป็นคลงั สนิ ค้าทสี่ ำ� คญั นอกจากน้ี
ยงั เปน็ ศนู ยก์ ลางการขนสง่ ทงั้ ทางบก ทางนำ้� และทางอากาศ ซงึ่ มคี วามสะดวก รวดเรว็ และชว่ ยในการลดตน้ ทนุ การผลติ
ของภาคอตุ สาหกรรม จงึ สง่ ผลนกั ลงทนุ เขา้ มาประกอบกจิ การโรงงานอตุ สาหกรรมเปน็ จำ� นวนมาก โดยดไู ดจ้ ากการขอจดทะเบยี น
โรงงานของจงั หวดั ฯ พบวา่ มโี รงงานอตุ สาหกรรมทไี่ ดร้ บั การจดทะเบยี นทง้ั สนิ้ 7,567 แหง่ (รวมในนคิ มอตุ สาหกรรม) ขอ้ มลู
ณ วนั ที่ 20 กนั ยายน 2560 เงนิ ทนุ 607,873.984 ลา้ นบาท มคี นงานจำ� นวน 467,041 คน แบง่ เปน็ เพศชาย จำ� นวน 272,381 คน
และเพศหญงิ จำ� นวน 194,660 คน นบั ไดว้ า่ เปน็ จงั หวดั ทมี่ โี รงงานอตุ สาหกรรมเปน็ จำ� นวนมากทสี่ ดุ แหง่ หนง่ึ ในประเทศ และ
มอี ตุ สาหกรรมการผลติ ทส่ี ำ� คญั ไดแ้ ก่ ยานยนตแ์ ละชน้ิ สว่ นรถยนต์ เครอื่ งจกั ร/อปุ กรณผ์ ลติ ภณั ฑโ์ ลหะ เครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ และ
อิเล็กทรอนิกส์ ส่ิงทอ ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป เคมีภัณฑ์/พลาสติก ฯลฯ โดยต้ังอยู่ในนิคมอุตสาหกรรม และนอกนิคม
อตุ สาหกรรม ซง่ึ เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ชว่ งระยะเวลาเดยี วกนั กบั ปที แี่ ลว้ พบวา่ มอี ตั ราจำ� นวนโรงงานทไี่ ดร้ บั อนญุ าตใหมเ่ พม่ิ ขน้ึ
เลก็ นอ้ ย เพยี งรอ้ ยละ 2.8 และเงนิ ลงทนุ เพมิ่ ขนึ้ รอ้ ยละ 4 ซง่ึ จากนโยบายรฐั บาลทเี่ ออื้ ตอ่ การลงทนุ ภาคอตุ สาหกรรม รวมถงึ
การมคี วามพรอ้ มดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐาน เสน้ ทางคมนาคมทเ่ี ชอ่ื มโยงภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ทง้ั ทางบก ทางนำ้� ทางอากาศ สะดวกตอ่
การคมนาคมขนสง่ แตย่ งั มอี ปุ สรรคตอ่ การการลงทนุ จากการกำ� หนดผงั เมอื งรวมทำ� ใหม้ ขี อ้ จำ� กดั ในการขออนญุ าตตงั้ และขยาย
โรงงานไดเ้ ฉพาะบางพืน้ ทแ่ี ละบางชนดิ ประเภทของโรงงาน และทีด่ นิ ราคาสงู และมีแนวโนม้ สงู ข้ึนเร่ือย ๆ ท�ำใหก้ ารลงทุน
ภาคธุรกิจมีต้นทุนสูงข้ึน ประกอบกับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไม่มั่นใจต่อเศรษฐกิจท�ำให้ระมัดระวังในการลงทุน
หรอื การขยายการลงทนุ ดงั นน้ั จงึ สง่ ผลทำ� ใหก้ ารลงทนุ ภาคอตุ สาหกรรมในปจั จบุ นั เตบิ โตในอตั ราทต่ี ำ่�

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017 15

ส�ำ นักงานจังหวัดสมทุ รปราการ

นิคมอุตสาหกรรม การแบ่งพ้ืนท่ีในนิคมอุตสาหกรรม สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
(1) เขตอุตสาหกรรมท่ัวไป (General Industrial Zone) คือ เขตพื้นท่ีที่ก�ำหนดไว้ส�ำหรับการประกอบอุตสาหกรรม
การบริการหรือกิจการอื่นท่ีเป็นประโยชน์ หรือเกี่ยวเนื่องกับการประกอบอุตสาหกรรมหรือการบริการ (2) เขตประกอบ
การเสรี (I-EA-T Free Zone) คือ เขตพื้นที่ท่ีก�ำหนดไว้ส�ำหรับการประกอบอุตสาหกรรมพาณิชยกรรม หรือกิจการอ่ืน
ที่เก่ียวเนื่องกับการประกอบอุตสาหกรรมหรือพาณิชยกรรมเพื่อประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ การรักษาความมั่นคงของรัฐ
สวัสดภิ าพของประชาชน การจดั การด้านส่ิงแวดลอ้ ม หรอื ความจ�ำเปน็ อ่ืนตามท่คี ณะกรรมการกำ� หนด โดยของทนี่ �ำเข้าไป
ในเขตดงั กลา่ วจะไดร้ บั สทิ ธปิ ระโยชนท์ างภาษอี ากรและคา่ ธรรมเนยี มเพมิ่ ขน้ึ ตามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ซิ ง่ึ จงั หวดั สมทุ รปราการ
มนี คิ มอตุ สาหกรรมที่อยใู่ นพ้ืนที่ จ�ำนวน 4 แห่งประกอบดว้ ย
1) นคิ มอุตสาหกรรม บางปู Bangpoo Industrial Estate
ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2520 ตั้งอยู่กิโลเมตรท่ี 34-37 ถ.สุขุมวิท ต.บางปูใหม่ และต.แพรกษา อ.เมือง
จ.สมุทรปราการ ระยะทางจากสถานที่ต่างๆ โดยอยู่ห่างจากสนามบินสุวรรณภูมิ 25 กิโลเมตร กรุงเทพมหานคร
37 กโิ ลเมตร ท่าเรอื กรุงเทพ 24 กโิ ลเมตร ทา่ เรือแหลมฉบัง 100 กิโลเมตร และมีพนื้ ท่ีโครงการทงั้ หมดจำ� นวน 5,472 -
2-68 ไร่ แบง่ เป็นเขตอุตสาหกรรมท่วั ไปจ�ำนวน 3,659- 0-96 ไร่ เขตประกอบการเสรจี ำ� นวน 377-3-56 ไร่ เขตทพ่ี ักอาศัย/
พาณิชยจ์ ำ� นวน 149-1-60 ไร่ และพน้ื ทส่ี าธารณูปโภคและส่ิงอ�ำนวยความสะดวกจำ� นวน 1,286-0-56 ไร่
2) นคิ มอตุ สาหกรรมบางพลี Bangplee Industrial Estate
ก่อตั้งเม่ือปี พ.ศ. 2532 ตั้งอยู่เลขที่ 136/2 หมู่ 17 ถนนเทพารักษ์ ต�ำบลบางเสาธง ก่ิงอ�ำเภอ
บางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ 10540 ระยะทางจากสถานที่ต่างๆ โดยห่างจากสนามบินสุวรรณภูมิ 20 กิโลเมตร
สนามบินดอนเมือง 50 กโิ ลเมตร ท่าเรือแหลมฉบัง 60 กิโลเมตร ท่าเรอื มาบตาพุด 150 กิโลเมตร นคิ มอุตสาหกรรมบางปู
25 กิโลเมตร นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง 23 กิโลเมตร สถานท่ีตากอากาศบางปู 24 กิโลเมตร จังหวัดสมุทรปราการ
30 กิโลเมตร กรุงเทพฯ 60 กิโลเมตร และมีพื้นท่ีโครงการทั้งหมด 1,004 ไร่ แบ่งเป็น เขตอุตสาหกรรมทั่วไป 781.5 ไร่
เขตส�ำนักงาน 14 ไร่ พ้นื ทีส่ าธารณูปโภค และสงิ่ อ�ำนวยความสะดวก 194 ไร่
3) นิคมอุตสาหกรรมเอเชยี (สุวรรณภูม)ิ
กอ่ ตง้ั เมื่อปี พ.ศ. 2551 ตั้งอย่ทู ห่ี ลกั กโิ ลเมตรที่ 13-14 ถนนสาย ฉช.3001 (ถนนหลวงแพร่ง) และ
บรเิ วณทางหลวงชนบทหมายเลข สป.73001 (ถนนรตั นโกสนิ ทรส์ มโภช 200 ป)ี ต�ำบลบ้านระกาศ ตำ� บลคลองสวน ตำ� บล
บางพลีน้อย ต�ำบลเปร็ง ตำ� บลจระเข้นอ้ ย อ�ำเภอบางบ่อ จังหวัดสมทุ รปราการ และพ้นื ทีโ่ ครงการทง้ั หมดจำ� นวน 3,700 ไร่
แบง่ เป็นเขตอตุ สาหกรรม 2,886 ไร่ 3 งาน 80 ตารางวา พน้ื ทส่ี าธารณปู โภคและ ส่ิงอ�ำนวยความสะดวก 457 ไร่ 3 งาน
52 ตารางวา พื้นท่ีสีเขียว 207 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา ระยะทางจากสถานท่ีต่าง ๆ โดยอยู่ห่างจากสนามบินสุวรรณภูมิ
21 กโิ ลเมตร
4) นิคมอตุ สาหกรรมบางปู (เหนือ)
ปีท่ีก่อต้ัง 2556 ตั้งอยู่ที่ ถนนบางพลี-ต�ำหรุ ต�ำบล แพรกษา อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัด
สมุทรปราการ เน้ือที่รวม 742 ไร่ 1 งาน 20.70 ตารางวา การจัดสรรท่ีดินแบ่งเป็นพื้นท่ีสาธารณูปโภคโครงการจ�ำนวน
50 แปลง และพ้นื ทเี่ พ่อื ขายจ�ำนวน 69 แปลง ความคืบหน้าในการพัฒนาโครงการดา้ นงานพัฒนาท่ดี ินแลว้ เสรจ็ ร้อยละ 70
และงานก่อสร้างของสาธารณปู โภคส่วนกลางแลว้ เสร็จรอ้ ยละ 80 ระยะเวลาในการพฒั นาโครงการ ปี พ.ศ. 2560 – 2562
ระยะทางจากสถานที่ต่าง ๆ โดยอยู่ติดกับสนามกอล์ฟบางปูห่างจากสถานตากอากาศบางปู 6.20 กิโลเมตร สนามบิน
สุวรรณภมู ิ 25 กิโลเมตร กรุงเทพมหานคร 37 กิโลเมตรทา่ เรือกรงุ เทพ 24 กโิ ลเมตร ทา่ เรือแหลมฉบงั 100 กโิ ลเมตร

16 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นักงานจงั หวัดสมทุ รปราการ

ภาพที่ 1.11 แสดงพน้ื ทภ่ี ายในนิคมอุตสาหกรรมบางปู
ภาพที่ 1.12 แผนภาพแสดงพื้นที่ภายในนิคมอุตสาหกรรมบางพลี

ภาพที่ 1.13 แสดงพ้นื ที่ภายในนิคมอตุ สาหกรรมเอเชยี (สวุ รรณภูม)ิ

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 17

ส�ำ นักงานจังหวดั สมุทรปราการ

ภาพท่ี 1.14 แสดงพ้นื ทภ่ี ายในนคิ มอุตสาหกรรมบางปู (เหนอื )

2) เศรษฐกจิ ภาคเกษตรกรรม
จังหวัดสมุทรปราการมีพื้นท่ีท�ำเกษตรกรรมลดลง เนื่องจากการพัฒนาเมือง การขยายตัวของภาค
อตุ สาหกรรม และความเจรญิ ดา้ นโครงสรา้ งพืน้ ฐาน ประกอบกบั ราคาท่ดี นิ มีราคาสูงทำ� ใหเ้ กษตรกรท่เี คยเปน็ เจา้ ของทีด่ ิน
เม่ือประสบปัญหาในการท�ำการเกษตรก็เริ่มทยอยขายท่ีดินให้กับนายทุน จากข้อมูลของส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ในปี พ.ศ.2556 มีพ้ืนที่ใช้ประโยชน์ทางการเกษตร จ�ำนวน 211,449 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 33.69 พื้นที่ใช้ประโยชน์นอก
การเกษตรจ�ำนวน 407,467 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 64.93 และพื้นท่ีป่าไม้/ชายเลน จ�ำนวน 8,642 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.38
จากตารางขอ้ มลู พบวา่ เนอื้ ทใ่ี ชป้ ระโยชนท์ างการเกษตรตง้ั แตป่ ี พ.ศ.2555 -2556 ลดลงคดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.18 ดงั ตารางท่ี 1.3

ตารางท่ี 1.3 แสดงเนอื้ ท่ีใช้ประโยชน์ทางการเกษตร จงั หวัดสมุทรปราการ พ.ศ. 2552 - 2556

ปี พ.ศ. เน้อื ท่ี เน้อื ที่ เนอ้ื ที่ ขนาด จำ� นวน เนื้อทกี่ ารใช้ประโยชน์ทางการเกษตร เนอ้ื ท่ี
ท้งั หมด ป่าไม้ ใชป้ ระโยชน์ ของ ฟารม์ นาขา้ ว พชื ไร่ สวนไม้ สวนผกั เนอ้ื ทใ่ี ช้ ใชป้ ระโยชน์
ทางการ ฟาร์ม ผล ไม้ดอก/ ประโยชน์ นอกการเกษตร
เกษตร ไม้ ไมป้ ระดบั ทางการเกษตร
ยนื ต้น อืน่ ๆ

2552 627,558 6,995 205,556 18.06 11,381 36,216 0 9,309 253 159,778 415,007

2553 627,558 6,995 209,800 26.55 7,903 41,169 0 7,915 256 160,460 410,763

2554 627,558 6,995 212,117 19.77 10,730 41,424 0 7,163 396 163,134 408,446

2555 627,558 6,995 211,838 19.61 10,803 41,377 0 7,108 358 162,995 408,725

2556 627,558 8,642 211,449 42.58 4,966 41,505 0 7,191 323 162,430 407,467

แหล่งทม่ี า: สำ� นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

3) เศรษฐกจิ ภาคการทอ่ งเทยี่ ว
จังหวัดสมุทรปราการมีสถานที่ท่องเท่ียวที่ส�ำคัญท่ีหลากหลาย อาทิ เช่น สถานท่ีท่องเที่ยว เชิงศิลป
วฒั นธรรม เชงิ ศาสนา เชงิ ประวตั ิศาสตร์ เชงิ นิเวศ และประเพณที ส่ี ำ� คัญ เนอ่ื งจากมพี น้ื ที่ตดิ ต่อกับกรงุ เทพฯ และจงั หวัด
ปริมณฑลท่ีมีแหล่งท่องเท่ียวท่ีหลากหลายเชื่อมโยงเป็นเส้นทางการท่องเที่ยว ทั้งนี้ สามารถเดินทางไปกลับได้เพียง 1 วัน
จึงท�ำให้นักท่องเที่ยวมีความสะดวกในการเดินทาง และในอนาคตจะมีนักท่องเท่ียวเพิ่มข้ึนอย่างก้าวกระโดด ซึ่งเป็นผล
มาจากการเดนิ ทางทีส่ ะดวกจากรถไฟฟา้ และการจดั ระบบจราจรท่มี ีประสิทธิภาพผนวกกบั นโยบายส่งเสรมิ การทอ่ งเทย่ี ว
แบบ One Day Trip และศักยภาพดา้ นแหล่งท่องเทีย่ วในพ้นื ที่ โดยสามารถจ�ำแนกแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วทส่ี �ำคญั ได้

18 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นักงานจงั หวดั สมุทรปราการ

แหล่งท่องท่องเที่ยวท่ีส�ำคัญในจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการมีสถานท่ีท่องเที่ยวท่ีส�ำคัญ
ท่หี ลากหลาย โดยสามารถจ�ำแนกแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วท่ีสำ� คญั และมชี ือ่ เสียง ไดด้ งั นี้

ตารางที่ 1.4 แสดงแหล่งทอ่ งเทีย่ วทสี่ ำ� คญั ดา้ นต่าง ๆ

ที่ แหล่งท่องเท่ยี ว ความเปน็ มา/กิจกรรมส�ำคญั ท่ีตั้ง

แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วดา้ นโบราณสถาน

1 เมืองโบราณ เป็นพพิ ิธภณั ฑก์ ลางแจง้ ทใี่ หญท่ สี่ ุดในโลกปัจจบุ ันมสี ่ิงกอ่ สรา้ งสถานท่ี ถ.สขุ ุมวิท กม. 33
สำ� คญั ๆ ท้งั ท่ีเปน็ แบบจำ� ลองจากภาคเหนอื ตะวันออกเฉียงเหนอื กลาง ต.บางปูใหม่ อ.เมอื งฯ
และใต้ ซง่ึ สิ่งก่อสรา้ งมีทงั้ ขนาดย่อสว่ นและเทา่ ขนาดจริง

2 อุทยานประวัติศาสตร์ เปน็ ปอ้ มทท่ี นั สมยั และมบี ทบาทสำ� คญั ยง่ิ ในการปกปอ้ งอธปิ ไตยของชาติ ริมปากแมน่ ้�ำเจา้ พระยา
ทหารเรือ หรือป้อมพระ ซงึ่ เปน็ ทที่ ำ� การยงิ ตอ่ สกู้ บั อรริ าชศตั รมู าแลว้ ครง้ั หนง่ึ เมอ่ื ต.แหลมฟ้าผ่า
จุลจอมเกลา้ ฯ ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) และทจี่ ารกึ อยใู่ นความทรงจำ� ของคนไทย อ.พระสมุทรเจดยี ์

3 ปอ้ มแผลงไฟฟา้ เป็นป้อมปราการแห่งหนึง่ ของ ฐานทัพเมืองนครเขอื่ นขันธ์ ตำ� บลตลาด
เป็นเสมือนหน่งึ ฐานทัพดา้ นปากแม่น�ำ้ เจ้าพระยา และเป็นเมืองทม่ี ปี อ้ ม ติดกบั โรงเรียนเทศบาล
ปราการหลายแห่ง เนื่องดว้ ย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลก พระประแดง
มหาราช (รัชกาลที่ 1) มีพระราชด�ำริทจี่ ะใชป้ อ้ งกนั พระราชอาณาจกั ร
ปจั จบุ นั เทศบาลเมอื งพระประแดงไดท้ ำ� การบรู ณะเปน็ ท่พี กั ผอ่ นหยอ่ นใจ
ของประชาชน โดยบรเิ วณขา้ งบนของป้อมได้จัดปนื ใหญ่โบราณ
หลายกระบอกตัง้ ไว้ให้ชมรอบๆ บรเิ วณจัดปลูกตน้ ไม้รม่ ร่ืน

แหลง่ ทอ่ งเที่ยวด้านสถาปตั ยกรรม

1 องคพ์ ระสมุทรเจดีย์ พระเจดยี น์ ตี้ ง้ั อยบู่ นเกาะกลางปากแมน่ ำ้� เจา้ พระยา ทา้ ยปอ้ มผเี สอ้ื สมทุ ร ถ.สขุ สวสั ด์ิ
รปู ทรงพระเจดยี เ์ ปน็ แบบระฆงั ควำ่� สงู 38 เมตร ภายในบรรจุ ต.ปากคลองบางปลากด
พระบรมสารรี กิ ธาตพุ ระชยั วฒั นแ์ ละพระปางหา้ มสมทุ ร อ.พระสมุทรเจดยี ์

2 พพิ ิธภัณฑช์ า้ งเอราวัณ เปน็ สถานทเี่ กบ็ รกั ษาศลิ ปวตั ถุ มรดกทางวฒั นธรรมดา้ นตา่ ง ๆ ซง่ึ ชา้ งเอราวณั ถ.สขุ มุ วิท
หรอื ชา้ งสามเศยี ร เปน็ ประตมิ ากรรมลอยตวั ด้วยวิธีเคาะมือแห่งแรกทีใ่ หญ่ ต.บางเมืองใหม่
ท่สี ดุ ในโลกท�ำจากโลหะทองแดง แผน่ เล็กสุดขนาดเท่าฝา่ มือ อ.เมอื ง

3 ศาลเจา้ มลู นธิ ธิ รรมกตญั ญู เปน็ ศาลเจา้ ทส่ี วยงาม สถาปตั ยกรรมเพยี บพรอ้ มไปดว้ ยศลิ ปวฒั นธรรมของ ถนนสุขุมวิท
(เสียนหลอไต้เทียนกง) ชาวจนี โบราณ ฝมี อื แกะสลกั หนิ อนั ปราณตี เปน็ ทป่ี ระดษิ ฐานเทพเจา้ ขนุ ศกึ ต�ำบลบางปูใหม่
ทศ่ี กั ดสิ์ ทิ ธขิ์ องชาวไตห้ วนั 5 องค์ คอื เทพเจา้ ตระกลู หลี่ เทพเจา้ ตระกลู ฉอื อ�ำเภอเมอื ง
เทพเจา้ ตระกลู อู่ เทพเจา้ ตระกลู จู และเทพเจา้ ตระกลู ฟา่ น ซง่ึ เรยี กชอ่ื รวมกนั วา่
“อฟู๋ เุ่ ซยี นสว้ ย” (โหวงหวงั เอย้ี ) ภายในบรเิ วณศาลเจา้ สามารถชมภาพ
แกะสลกั หนิ เขยี ว เกยี่ วกบั เทพนยิ ายจนี และตะเกยี งไมช้ บุ ทองคำ� ซง่ึ ตกแตง่
อยบู่ นฝา้ เพดาน นอกจากนยี้ งั มศี าลเจา้ แมก่ วนอมิ และเทพเจา้ องคอ์ นื่ ๆ
เพอ่ื ใหป้ ระชาชนสกั การะ เทพเจา้ ตระกลู ทง้ั 5 หรอื โหวงหวงั เอย้ี
เปน็ ยอดขนุ พลทม่ี คี วามสจุ รติ มาก เปน็ ขนุ นางทจ่ี งรกั ภกั ดสี มยั ราชวงศห์ มงิ
ไดเ้ สดจ็ เดนิ ทางลงใตจ้ ากมณฑล ฮกเกย้ี นถงึ เกาะหนานคนุ เซนิ ประเทศไตห้ วนั
เปน็ ทเี่ ลอ่ื มใสในหมปู่ ระชาชน แตส่ ง่ิ ทเี่ ปน็ จดุ เดน่ ทนี่ กั ทอ่ งเทยี่ วจะตอ้ งชมและ
เกบ็ ภาพไวเ้ ปน็ ทรี่ ะลกึ คอื สงิ โตคู่ ใหญท่ ส่ี ดุ ในประเทศไทย แกะสลกั จากหนิ
หยกเขยี ว นำ� เขา้ จากประเทศจนี สงิ โตคตู่ ามความเชอื่ ของชาวจนี ถอื วา่ เปน็
สง่ิ ทสี่ รา้ งขน้ึ เพอ่ื เปน็ สริ มิ งคล มสี งา่ ราศี มองดนู า่ เกรงขามยง่ิ ใหญเ่ กรยี งไกร

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 19

สำ�นกั งานจังหวดั สมุทรปราการ

ตารางที่ 1.4 แสดงแหลง่ ท่องเท่ียวท่สี �ำคัญดา้ นตา่ ง ๆ (ตอ่ ) ท่ตี ้ัง
ท่ี แหล่งท่องเทีย่ ว ความเป็นมา/กิจกรรมสำ�คัญ ถนนสขุ มุ วิท ต�ำบล
ปากน้ำ� ตรงขา้ มกับ
แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วด้านสถาปตั ยกรรม โรงเรยี นนายเรือ

4 พพิ ธิ ภัณฑ์ทหารเรอื เปน็ สถานท่ีรวบรวมและอนุรกั ษว์ ัตถุส่งิ ของเครอื่ งใชต้ ่าง ๆ และ วัดพิชยั สงคราม 
รวบรวมข้อมลู ทางประวัติศาสตร์เกยี่ วกับกองทัพเรือไทยและยุทธนาวี ต.ปากนำ้� อ.เมอื ง ฯ
ครั้งส�ำคญั แบ่งเป็น 2 อาคาร คือ อาคาร 1 จดั แสดงประวัตบิ คุ คล
สำ� คญั ทเ่ี กีย่ วกบั กองทัพเรอื อาทิ สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช วัดชยั มงคล 
กรมหลวงชมุ พรเขตอุดมศักดิ์ องคพ์ ระบิดาของทหารเรือไทย และหอ้ ง ต.ปากน�้ำ อ.เมือง ฯ
จดั แสดงเคร่อื งแบบตา่ งๆ ของทหารเรือไทย อาคาร 2 ชั้นล่างจดั แสดง วัดกลางวรวหิ าร 
อาวธุ ยุทโธปกรณต์ ่าง ๆ ชนั้ 2 จัดแสดงเก่ยี วกบั เรอื พระราชพิธี ช้ัน 3 ต.ปากน้�ำ อ.เมอื ง ฯ
เปน็ การจดั แสดงนทิ รรศการพิเศษ หมุนเวียนตามช่วงเวลาและ
เหตกุ ารณ์ส�ำคัญ เช่น ยทุ ธนาวที ี่เกาะชา้ ง สงครามเอเชยี มหาบรู พา วัดอโศการาม
วรี กรรมทด่ี อนนอ้ ย เรอื ด�ำน้ำ� แห่งราชนาวี และการปฏบิ ตั กิ ารของทหาร ต.บางปูใหม่ อ.เมอื งฯ
นาวกิ โยธิน เปน็ ต้น นอกจากน้ี ยงั มีการจัดแสดงวัตถุอาวุธยทุ โธปกรณ์ วดั ทรงธรรมวรวหิ าร 
ขนาดใหญใ่ นบรเิ วณโดยรอบ อาทิ เรอื ดำ� น้�ำ รถสะเทินน�ำ้ สะเทนิ บก
รวมทง้ั ยงั สามารถชมประภาคารแห่งแรกของประเทศไทยได้ อ.พระประแดง
วดั ไพชยนต์พลเสพย ์
แหล่งท่องเท่ียวดา้ นประติมากรรม วดั พระสมุทรเจดีย์
วดั โปรดเกศเชษฐาราม
1 พระมาลยั หนา้ อโุ บสถเกา่ มีลักษณะเหมอื นพระสงฆ์ธรรมดา อ.พระสมุทรเจดยี ์
วดั พชิ ัยสงคราม  วดั บางพลีใหญใ่ น
ต.บางพลใี หญ่ อ.บางพลี
2 พระประธานในอโุ บสถ เป็นพระพุทธรูปส�ำริดสมัยสโุ ขทัย
วดั ชัยมงคล  วัดปา่ เกด 
วัดบางพลีใหญ่กลาง
3 พระประธานในอโุ บสถเกา่ เปน็ พระพทุ ธรปู ปางมารวชิ ยั หนา้ ตกั กวา้ ง 205 ซ.ม. สรา้ งดว้ ยศลิ าแลง
วดั กลางวรวิหาร   หมุ้ ปนู ปิดทอง และใบเสมาท่แี กะสลกั จากหนิ แกรนติ สว่ นยอดแกะสลกั ต.บางพลใี หญ่
เปน็ พระเกยี้ ว ซมุ้ เสมารปู กบู เอวเสมาคอดเลก็ มลี ายนาคสามเศียร อ.บางพลี
เปน็ ตวั เหงา ตัวเสมาตรงกลางแกะสลักเป็นแถวยาว กลางแถบ
เปน็ ลายประจำ� ยาม ดา้ นบนมลี ายรปู ดอกไม้

4 หลวงพอ่ สินสมทุ ร   เปน็ พระประธานในอโุ บสถวดั อโศการามเปน็ พระพทุ ธรปู ทองเหลอื ง
ปางสมาธิอย่างอินเดีย

5 พระประธานในอุโบสถ เปน็ พระพทุ ธรปู ปางมารวชิ ยั สมยั สโุ ขทยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้า
วัดทรงธรรมวรวหิ าร  เจ้าอยู่หัวพระราชทานให้

6 พระประธานในอโุ บสถ เป็นพระพุทธรูปปนู ปัน้ บทุ อง                
วดั ไพชยนต์พลเสพย์ 

7 พระพทุ ธรูปปางหา้ ม สรา้ งในรชั สมยั พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั และมพี ระพทุ ธรปู ปางนใ้ี นพระอโุ บสถ
สมทุ รในพระวหิ ารหนา้ พระ วดั โปรดเกศเชษฐาราม อกี สององค์
สมทุ รเจดยี ์

8 หลวงพ่อโต เปน็ พระพุทธรปู สำ�ริด ตามประวัตมิ วี า่ ลอยนำ้ �มาจากกรุงเก่า

9 พระประธานในอโุ บสถ เปน็ พระปนู ป้ัน ลงรักปดิ ทอง ปางมารวิชยั ประดิษฐาน
วดั ปา่ เกด  ปูนป้นั ปดิ ทอง ประดับกระจก

10 พระไสยาสน์ (พระนอน) พระพทุ ธรปู ปางไสยาสนท์ ใี่ หญ่ทส่ี ดุ ในประเทศไทย ยาวประมาณ 53
เมตร แลว้ สรา้ งพระวหิ ารคลมุ ทหี ลัง ความสูงของวิหารเท่าอาคาร 4 ชั้น
ภายในองค์พระใหญ่พอทจ่ี ะแบง่ ใหม้ ีห้องปฏบิ ตั ิธรรม เสาและผนัง
มีภาพเขยี นเรอ่ื งราวของเทวดา นรก สวรรค์ คตธิ รรม จำ�นวนมากมาย
กว่า 100 รปู และมีหอ้ งหัวใจพระซง่ึ ประชาชนนยิ มมาปดิ ทองเพือ่ เปน็
ศิริมงคล

20 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

สำ�นักงานจังหวดั สมทุ รปราการ

ตารางที่ 1.4 แสดงแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วท่ีส�ำคัญดา้ นต่าง ๆ (ตอ่ )
ท่ี แหล่งทอ่ งเท่ยี ว ความเป็นมา/กิจกรรมสำ�คัญ ทต่ี ัง้
วัดกิง่ แก้ว
แหลง่ ท่องเท่ียวดา้ นประตมิ ากรรม ต.ราชาเทวะ อ.บางพลี
วดั บางด้วนนอก
11 เจดยี ์หลวงปูเ่ ผอื ก รอบองคเ์ จดยี ป์ ระดบั ดว้ ยกระเบอ้ื งสสี ม้ และประดบั ดว้ ย ครฑุ ต.บางด้วน อ.เมือง

12 หลวงพ่อสจุ ติ ดาราม เรม่ิ สรา้ งตง้ั แต่สมยั กรงุ ศรีอยธุ ยาเป็นราชธานี เดิมเรยี กว่า อ.พระประแดง
(หลวงพ่อดำ�) “วดั สุจติ ดาราม”ซงึ่ ในสมัยนน้ั ยงั ไม่มีความเจริญเท่าใดนักต่อมาถงึ สมยั วดั ทรงธรรมวรวิหาร 
กรงุ รัตนโกสินทร์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชริ ญาณวโรรสได้
เสดจ็ มา ณ วัดสุจิตตาราม พระองคไ์ ดท้ ราบวา่ ประชาชนแถบน้ี อ.พระประแดง
เรยี กทอ้ งถน่ิ นว้ี า่ “บางดว้ น” ดงั นนั้ พระองคจ์ งึ คดิ ทีจ่ ะขนานช่ือ วัดบางพลีใหญใ่ น
วัดสจุ ิตตาราม เสยี ใหม่ ต.บางพลีใหญ่

แหล่งท่องเท่ียวประเภทการละเล่นพนื้ บ้าน อ.บางพลี

1 สะบา้ มอญ  เปน็ ประเพณวี ัฒนธรรมดั้งเดิมของชาวมอญท่ี อ.พระประแดง
พระประแดงเพอ่ื ใหห้ นมุ่ สาวพบปะพดู คยุ กนั โดยจะเลน่ ในวันนกั ขัตฤกษ์
วดั มงคลโคธาวาส
2 สะบา้ ทอย  เป็นการละเลน่ ของผชู้ ายในวนั สงกรานตพ์ ระประแดง แตกต่างจาก อ.บางบ่อ
สะบ้ามอญตรงทเ่ี ป็นเรือ่ งของผู้ชาย เป็นการประลองความแข็งแรงและ
ความแมน่ ยำ�ของการทอยสะบา้ อำ�เภอพระสมุทรเจดยี ์

ขนบธรรมเนียมและประเพณที อ้ งถ่นิ

1 ประเพณีรบั บวั เกดิ จากชาวมอญพระประแดงทไ่ี ปทำ�นาในฤดู ทำ�นา ณ อำ�เภอบางพลี
และเมอ่ื หมดฤดกู จ็ ะกลบั ไปพระประแดง ซง่ึ จะพอดกี บั เทศกาล
ออกพรรษา จงึ เกบ็ ดอกบวั ทม่ี อี ยมู่ ากมายทต่ี ำ�บลบางพลใี หญก่ ลบั ไปดว้ ย
ตอ่ มาชาวอำ�เภอบางพลเี หน็ วา่ ชาวมอญมกั จะเกบ็ ดอกบวั กลบั ไปทกุ ปี
จงึ เกบ็ ดอกบวั เตรยี มไวใ้ หด้ ว้ ยความเออ้ื เฟอ่ื เผอ่ื แผ่ ตอ่ มาเกดิ ความคนุ้ เคย
กนั มากขน้ึ จงึ โยนบวั ใหก้ นั หากอยไู่ กล ตอ่ มาชาวบา้ นซง่ึ นยิ มถวายดอกบวั
แกพ่ ระในวนั ออกพรรษาจงึ ไดส้ รา้ งกจิ กรรม งานประเพณรี บั บวั ใหไ้ ดม้ ี
การระลกึ ถงึ กนั และเปน็ โอกาสใหไ้ ดร้ ว่ มทำ�บญุ ทำ�กศุ ล อกี ทง้ั ยงั เปน็ การ
รว่ มสนกุ กนั เปน็ ประจำ�ทกุ ปี

2 สงกรานต์พระประแดง เป็นงานประเพณีสงกรานต์ทย่ี ่งิ ใหญ่ จัดโดยชาวไทยเชอ้ื สายมอญ
โดยจะเริ่มในวนั อาทิตยแ์ รกหลงั วนั ท่ี 13 เมษายน ซง่ึ เดิมเรียกวา่
สงกรานต์ปากลัด ในงานมขี บวนแห่นางสงกรานต์ การละเล่นพ้นื เมอื ง
ของชาวมอญ เชน่ การสรงนำ้ �พระ รดน้ำ�ขอพรผใู้ หญ่ ปล่อยนก
ปลอ่ ยปลา การเลน่ สะบ้า และเล่นสาดนำ้ �กนั อย่างสนุกสนาน ขบวนแห่
นางสงกรานต์จะมีสาวงามแต่งชุดไทยหรอื ชดุ รามัญ (มอญ)

3 งานนมสั การหลวงพอ่ ปาน เป็นงานประจำ�ปขี องชาวอำ�เภอบางบ่อ งานน้ีเกดิ ข้ึนจากคุณความดีแล
วัดมงคลโคธาวาส คุณธรรมอันสูงสง่ ของหลวงพ่อปาน พทุ ธศาสนกิ ชนหลง่ั ไหลกนั มาวดั
มงคลโคธาวาส เพ่อื นมสั การรปู หลอ่ จำ�ลองของหลวงพอ่ ปาน ทุกปี
งานนมสั การหลวงพ่อปาน จดั ขึน้ ในวันขน้ึ 5-7 คำ่ � เดอื น 12 ของปี
รวม 3 วัน 3 คืน โดยในวันแรกของงานจะมกี ารอนั เชิญรปู หล่อ
ของหลวงพ่อปานแหท่ างเรือไปตามลำ�คลองปีกกา เพอ่ื ใหป้ ระชาชน
สักการะแลว้ แห่กลับวดั มงคลโคธาวาส หลงั จากเสรจ็ สน้ิ การกราบไหว้
บชู าแลว้ ประชาชนจะสนุกสนานรื่นเริงกบั มหรสพต่าง ๆ

4 งานนมัสการ เป็นงานประเพณีทีส่ บื สานกนั มายาวนานกว่า 185 ปี เพราะองค์
องคพ์ ระสมทุ รเจดีย์ พระสมุทรเจดียเ์ ปน็ ทเี่ คารพสักการะทีถ่ ือเปน็ ส่ิงศักด์ิสิทธ์ิ ซ่งึ ต้ังอยู่
ทางทิศตะวนั ตกของแม่นำ้ �เจ้าพระยา ชาวสมุทรปราการจงึ จัดใหม้ ี
การสมโภชเปน็ เวลา 9 วนั 9 คืน ต้งั แตว่ นั แรม 5 ค่ำ� เดือน 11 ในงาน
ประเพณจี ะมีมหรสพสมโภชมีการแขง่ เรอื และการจำ�หน่ายสินค้าชุมชน

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 21

สำ�นักงานจงั หวัดสมุทรปราการ

ตารางที่ 1.4 แสดงแหล่งทอ่ งเทย่ี วท่สี �ำคัญดา้ นตา่ ง ๆ (ต่อ)

ท่ี แหล่งท่องเทีย่ ว ความเปน็ มา/กจิ กรรมสำ�คญั ท่ตี งั้
อำ�เภอพระประแดง
ขนบธรรมเนียมและประเพณีทอ้ งถ่ิน
ริมคลองส�ำโรงตดิ กับ
5 งานประเพณี มีมานานกวา่ 30 ปี จะจดั ขน้ึ ทกุ วนั ท่ี 13 เมษายนของทุกปี โดยมีจดุ วัดบางพลีใหญใ่ น
แห่หงสธ์ งตะขาบ มงุ่ หมายเพือ่ รำ�ลกึ ถงึ บรรพบรุ ุษชาวมอญ หงส์ เปน็ สัญลกั ษณต์ วั แทน ต.บางพลีใหญ่
ตำ�นานการกำ�เนิดถ่ินฐานของมอญ ณ กรุงหงสาวดี และตะขาบเปน็
สัญลักษณข์ องคติธรรม ความเช่ือทางพทุ ธศาสนาทเ่ี ปรยี บดังสัดส่วนใน อ.บางพลี
อวัยวะ ตา่ ง ๆ ของตัวตะขาบ ชาวมอญทง้ั 7 หมบู่ า้ น จะรว่ มกนั จดั ทำ� ต.คลองสวน
ธงตะขาบของ หมบู่ ้านตน และหมนุ เวยี นกันเปน็ เจา้ ภาพ โดยมารวม อ.บางบอ่
ตัวกนั ที่ ศนู ย์วฒั นธรรมอ.พระประแดง ต้ังขบวนแหไ่ ปตามจดุ ต่าง ๆ
ของตลาดพระประแดงหลงั จากเสร็จการแห่ ชาวมอญแตล่ ะหมบู่ า้ น หมู่ 10
ก็จะนำ�ธงตะขาบไปแขวนทเี่ สาหงสข์ องแตล่ ะวัดในหมูบ่ า้ น
เลขที่ 164
แหลง่ ท่องเทย่ี วเชงิ นิเวศและสนั ทนาการ หมู่ 2 ถ.สขุ มุ วทิ

1 ตลาดโบราณบางพลี เดมิ ชื่อ “ตลาดศริ โิ สภณ” เป็นตลาดเกา่ แก่ตลาดหนึง่ พ้ืนตลาดท�ำจาก 555 หมู่ 7
พืน้ ไม้ สามารถเดนิ ติดตอ่ กนั ได้ถึง 500 เมตร มีอายุประมาณ 141 ปี ถ.ท้ายบ้าน
ตลาดนตี้ ้ังอยู่บนฝงั่ เหนือของคลองสำ� โรงชว่ งอ�ำเภอบางพลี ต.ทา้ ยบ้าน อ.เมืองฯ

2 ตลาดคลองสวน 100 ปี ก่อตัง้ ข้นึ โดยชาวจนี กล่มุ หนึ่งเมือ่ ราว พ.ศ. 2444 นบั ถงึ ปัจจบุ ันเ
ปน็ เวลามากกว่า 100 ปี ตลาดแห่งน้ตี ้งั อยู่บนฝัง่ คลองประเวศบรุ รี มย์
เชอ่ื มต่อคลองพระยานาคราช ตลาดคลองสวนเป็นศนู ยร์ วมของ
การตดิ ตอ่ ค้าขาย และแลกเปลยี่ นสนิ ค้าของผูค้ นจากหมู่บ้านตา่ ง ๆ
หลายหมูบ่ า้ น บริเวณใกล้กบั ตลาดคลองสวนมีฟารม์ เพาะเลย้ี งเปด็
มากกวา่ 10 แห่ง อาหารขน้ึ ชื่อของท่นี ี้คอื เป็ดพะโล้

3 ตลาดนำ้� บางน้�ำผึ้ง จดั ต้ังขนึ้ ในปี พ.ศ. 2547 นับเปน็ ตลาดใกลก้ รุงที่มสี ินค้าหลากหลาย
ท้ังของกินของใชข้ องฝากนานาชนดิ จดั เปน็ ซมุ้ ใหม้ ีทางเดินยาวกว่า 2
กิโลเมตร ขนานไปกับคลองซอยสายเลก็ ๆ ท่ีแตกแขนงจากแมน่ ำ�้
เจา้ พระยาเข้ามาในพนื้ ทท่ี ีท่ ำ� การเกษตรของชาวบ้าน จดั จำ� หน่ายต้นไม้
นานาพนั ธุ,์ ปลาสวยงามหลากชนิด, และผลิตผลของชาวบ้าน
นอกจากนี้ยงั เป็นศนู ย์รวมสินค้า OTOP ทส่ี รา้ งสรรคจ์ ากคนในชมุ ชน
บางน้�ำผงึ้ และตำ� บลใกลเ้ คยี งในจังหวดั สมุทรปราการ เชน่ ดอกไม้
เกล็ดปลา บา้ นธปู สมนุ ไพร ผลิตภณั ฑจ์ ากทะเล โมบายล์ ลกู ตนี เป็ด
รูปรา่ งแปลกตา เป็นต้น

4 สถานตากอากาศบางปู เป็นสถานท่ีพกั ผอ่ น ซงึ่ บริเวณโดยรอบปกคลมุ ลอ้ มรอบดว้ ยป่าชายเลน
ทย่ี งั คงความสมบูรณ์ตามระบบนเิ วศวทิ ยา “สะพานสุขตา” ยืนออกไป
สู่ทะเลประมาณ500 เมตร และมี “ศาลาสุขใจ” ซงึ่ เปน็ รา้ นอาหาร
สวสั ดิการของกองอ�ำนวยการสถานพักผอ่ นกรมพลาธกิ ารทหารบก
สามารถนั่งรบั ประทานอาหาร พร้อมทงั้ ชมทัศนยี ภาพอ่าวไทยได้
นอกจากนีย้ งั มเี สน้ ทางการศึกษาธรรมชาตใิ ห้ประชาชนอกี ด้วย

5 ฟารม์ จระเข้และสวนสัตว์ โดยกอ่ ตง้ั ข้นึ เมือ่ พ.ศ. 2493 ปัจจบุ นั เปน็ ฟาร์มจระเข้
สมุทรปราการ ทใ่ี หญท่ สี่ ดุ ในโลก ภายในเปน็ สถานเพาะเลย้ี งจระเขข้ นาดตา่ งๆ กวา่ 60,000ตวั
เสือ ลงิ ชิมแปนซี ชะนี เตา่ งู นก อฐู ฮปิ โปโปเตมัส กวาง และปลา
จ�ำนวนมาก

22 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

สำ�นักงานจงั หวัดสมุทรปราการ

ตารางท่ี 1.4 แสดงแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วที่สำ� คญั ดา้ นต่าง ๆ (ต่อ)

ที่ แหล่งท่องเทีย่ ว ความเปน็ มา/กิจกรรมสำ�คญั ทต่ี ั้ง

แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วเชิงนิเวศและสนั ทนาการ 175/1 หมู่ 12
ถ.บางนา – ตราด กม.13
6 บึงตะโก้ เปน็ บงึ ที่นักทอ่ งเท่ยี วนยิ มเล่นกฬี าทางนำ้ � ได้แก่ เคเบ้ิลสกี และ ต.บางพลใี หญ่ อ.บางพลี
วนิ ดเ์ ชริ ฟ์
ถ.เพ็ชรหงึ ษ์
7 สวนศรีนครเขื่อนขนั ธ์ เปน็ สวนสาธารณะทมี่ เี น้อื ท่ี 200 ไรเ่ ศษ แวดลอ้ มไปดว้ ยสวนหมาก ต.บางกระเจา้
สวนผลไม้ และเปน็ พ้ืนท่สี ีเขยี วท่ีรัฐบาลกำ�หนดใหเ้ ปน็ ปอดของ อ.พระประแดง
ประชาชนอีกแหง่ หนึ่ง เปน็ สถานทพี่ กั ผอ่ น ออกกำ�ลังกายและศกึ ษา
ระบบนเิ วศนข์ องพันธ์พุ ืชและพนั ธส์ุ ัตว์

1.7 ลักษณะทางสังคม

1.7.1 สถานการณด์ า้ นประชากร
1) ประชากรตามทะเบียนราษฎร
จงั หวัดสมุทรปราการมีประชากรตามทะเบียนราษฎรทงั้ ส้ิน 1,301,560 คน แยกเปน็ ชาย 623,478 คน
หญิง 678,082 คน ซ่ึงจะพบว่ามีประชากรตามทะเบียนราษฎรในพ้ืนท่ีอ�ำเภอเมืองสมุทรปราการมากที่สุด รองลงมาคือ
อ�ำเภอบางพลี และอ�ำเภอพระประแดง ตามล�ำดับ และประชากรส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่หนาแนน่ ในพน้ื ทอี่ �ำเภอเมอื ง
สมทุ รปราการ รองลงมาคอื อำ� เภอพระประแดง และอำ� เภอพระสมทุ รเจดยี ์ ดงั ตารางท่ี 1.5

ตารางท่ี 1.5 แสดงจ�ำนวนประชากรแยกตามอ�ำเภอ ณ 30 มถิ ุนายน 2560 ความหนาแน่นประชากร
(คน/ตร.กม.)
ปี พ.ศ. อำ�เภอ รวม ชาย หญงิ จำ�นวนบ้าน

2560 เมืองสมทุ รปราการ 534,691 254,683 280,008 248,739 2,806.04

พระประแดง 196,540 94,893 101,647 86,848 2,678.75

บางพลี 249,113 117,628 131,485 149,588 1,021.42

พระสมุทรเจดีย์ 137,091 66,589 70,502 60,118 1,138.82

บางบอ่ 107,088 52,350 54,738 42,910 437.08

บางเสาธง 77,037 37,335 39,702 55,408 588.56

รวมทัง้ สิน้ 1,301,560 623,478 678,082 643,611 1,296.26

แหล่งทมี่ า: ส�ำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ณ 30 มิถนุ ายน 2560
2) ประชากรแฝง
อยา่ งไรกต็ าม จงั หวัดสมุทรปราการยงั มกี ลุม่ ประชากรแฝงทไ่ี มม่ ีชอื่ ในทะเบยี นราษฎร และเดนิ ทางเขา้
มาท�ำงานไปเช้า – เย็นกลับ ซ่ึงท�ำให้ประชากรท่ีอาศัยอยู่จริงมากกว่าประชากรท่ีปรากฏตามทะเบียนราษฎร จากการ
ส�ำรวจข้อมูลสัดส่วนประชากรแฝงของจังหวัดสมุทรปราการ โดยส�ำนักวิจัยเศรษฐกิจและการประเมินผลของบริษัทเอก
เซลเลนทบ์ สิ เนส จ�ำกดั พบว่า จงั หวดั ฯ มีสัดสว่ นประชากรทม่ี ีช่อื ในทะเบียนราษฎร คดิ เปน็ รอ้ ยละ 51.1 ประชากรทไ่ี มม่ ี
ชื่อในทะเบียนราษฎร คิดเป็นร้อยละ 47.5 และประชากรท่ีเดินทางเช้าไปเย็นกลับ ประมาณร้อยละ 1.4 ของจ�ำนวน
ประชากรที่เข้ามาอาศัยอยู่จริง ดังน้ัน เมื่อวิเคราะห์คาดการณ์จังหวัดสมุทรปราการน่าจะมีประชากรท่ีเข้ามาอยู่อาศัยจริง

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 23

สำ�นกั งานจงั หวัดสมุทรปราการ

และเข้ามาท�ำงานท้ังสิ้นประมาณ 2,621,087 คน ซ่ึงประกอบด้วยประชากรท่ีมีช่ืออยู่ในทะเบียนราษฎร จ�ำนวน
1,301,560 คน ประชากรที่ไม่มชี ่อื อย่ใู นทะเบยี นราษฎร จำ� นวน 1,283,338 คน และประชากรทเ่ี ดนิ ทางแบบไปเชา้ - เย็น
กลบั จ�ำนวน 36,189 คน ซ่ึงเป็นภาระรับผดิ ชอบของภาครัฐท่ีจะใหบ้ ริการ และดูแลในเร่ืองของสขุ อนามัย การศึกษา และ
สาธารณปู โภคขั้นพ้ืนฐานให้เพียงพอและทัว่ ถึง

ภาพที่ 1.15 แสดงสดั สว่ นประชากรทเ่ี ขา้ มาอยู่อาศยั จรงิ และเขา้ มาท�ำงานของจังหวดั สมทุ รปราการ

3) ประชากรจ�ำแนกตามกลมุ่ อายุ
จงั หวดั สมทุ รปราการ มีโครงสรา้ งประชากรทีส่ ามารถจ�ำแนกตามกลุ่มอายุ ประกอบดว้ ย อายุต่ำ� กว่า 5
ปี (วยั เดก็ ) อายุ 5-14 ปี (วยั เรยี น) อายุ 15-59 ปี (วัยแรงงาน) และอายุ 60 ปีข้ึนไป (วยั สงู อายุ) มรี ายละเอียดดังน้ี

ตารางท่ี 1.6 แสดงประชากรจ�ำแนกตามกลุ่มอายุ พ.ศ. 2556 - 2559

ประชากร พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559
จำ� แนกตามกลมุ่ อายุ
จำ� นวน (คน) ร้อยละ จ�ำนวน (คน) ร้อยละ จำ� นวน (คน) ร้อยละ จำ� นวน (คน) ร้อยละ
อายุตำ�่ กวา่ 5 ปี (วยั เดก็ )
อายุ 5-14 ปี (วยั เรียน) 71,769 5.78 71,956 5.70 71,433 5.58 70,211 5.43
อายุ 15-59 ปี (วัยแรงงาน)
อายุ 60 ปขี ้ึนไป (วัยสงู อาย)ุ 152,223 12.26 151,798 12.03 150,871 11.79 151,552 11.72
ไมท่ ราบ
851,035 68.54 860,113 68.18 868,127 67.86 874,428 67.60

166,583 13.42 177,663 14.08 164,744 12.88 172,240 13.32

- - - - 24,135 1.89 25,122 1.94

24 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นกั งานจังหวดั สมุทรปราการ

แหล่งท่มี า: ระบบสถิตทิ างการทะเบียน กรมการปกครอง ข้อมลู ณ เดือนกันยายน 2560

ภาพท่ี 1.16 แสดงประชากรจำ� แนกตามกลุ่มอายุ พ.ศ. 2556 - 2559

จากการวิเคราะห์โครงสร้างประชากร โดยจ�ำแนกตามกลุ่มอายุ/กลุ่มประชากร ปี พ.ศ. 2559 พบว่าจังหวัด
สมทุ รปราการมปี ระชากรสว่ นใหญ่อยใู่ นวยั แรงงาน (อายุ 15-59 ปี) คิดเป็นรอ้ ยละ 68 รองลงมาคือวยั สงู อายุ (อายุ 60 ปี
ข้นึ ไป) วยั เรยี น (อายุ 5- 14 ป)ี และวยั เดก็ (อายุตำ่� กว่า 5 ป)ี คิดเปน็ ร้อยละ 13, 12 และ 5 ตามลำ� ดับ

หากวเิ คราะหส์ ถติ โิ ครงสรา้ งประชากร จำ� แนกตามกลมุ่ อาย/ุ กลมุ่ ประชากร ในชว่ ง ปี พ.ศ. 2555 – 2559 พบวา่ ประชากร
วัยแรงงาน มีจ�ำนวนเพิ่มมากข้ึนในทุก ๆ ปี แต่มีสัดส่วนลดลงเล็กน้อยเมื่อเปรียบเทียบกับจ�ำนวนประชากรในภาพรวม
ในขณะที่ประชากรวัยเรียน มีจ�ำนวนลดลงเล็กน้อยในทุก ๆ ปี และมีสัดส่วนลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับประชากรในภาพ
รวม ส่วนประชากรวยั เดก็ มีสัดสว่ นลดลงเร่ือย ๆ เม่ือเปรียบเทยี บกบั ประชากรในภาพรวม

จากสถิติโครงสร้างประชากรในกลมุ่ ประชากรวัยสูงอายุ พบว่า จังหวดั สมทุ รปราการ มีจำ� นวนประชากรวยั สงู อายุ
เพม่ิ ขนึ้ ทกุ ๆ ปี และมสี ดั สว่ นของประชากรกลมุ่ วยั สงู อายสุ งู ขน้ึ เรอ่ื ย ๆ จากปี พ.ศ. 2555 – 2558 และมีจ�ำนวนลดลงในปี
พ.ศ. 2558 อย่างไรกต็ าม สัดสว่ นของจำ� นวนประชากรวยั สูงอายขุ องจังหวดั สมุทรปราการ ในปี พ.ศ. 2555 – 2559 นั้นมี
สัดส่วนประชากรเกินกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งจังหวัด ซ่ึงแสดงให้เห็นว่า จังหวัดสมุทรปราการน้ันเป็นสังคมท่ี
กา้ วเข้าสู่สงั คมผู้สูงอายุ (Aging society)


4) ประชากรจ�ำแนกตามการนับถอื ศาสนา

จงั หวดั สมทุ รปราการ มปี ระชากรสว่ นใหญน่ บั ถอื ศาสนาพทุ ธ รอ้ ยละ 93.53 (1,187,750 คน) รองลงมาคอื
ศาสนาอิสลาม ครสิ ต์ และพราหมณ์ ฮินดู คิดเป็นรอ้ ยละ 3.86 , 2.26 และ 0.31 ตามล�ำดบั

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017 25

สำ�นกั งานจงั หวัดสมุทรปราการ

ภาพที่ 1.17 แสดงประชากร จำ� แนกตามการนับถอื ศาสนา
แหล่งท่ีมา: ส�ำนักงานพระพทุ ธศาสนาจงั หวัดสมทุ รปราการ

5) กลุ่มชาติพนั ธ์ุ
จงั หวดั สมทุ รปราการมีกลมุ่ ทางชาตพิ นั ธุ์ที่หลากหลาย ไดแ้ ก่ กลมุ่ คนไทยพนื้ เมอื ง มลายู ลาว มอญ

จีน ฯลฯ ปัจจัยส�ำคัญท่ีก่อให้เกิดความหลากหลายทางชาติพันธุ์นี้มีหลายสาเหตุด้วยกันคือ กลุ่มมอญท่ีเข้ามาตั้งถิ่นฐาน
สร้างชุมชนเมืองหน้าด่านป้องกันศึกทางทะเล กลุ่มลาวท่ีถูกกวาดต้อนมาในสมัยสงครามแถบคลองมหาวงษ์และส่วนใหญ่
ยา้ ยกลับไปอย่แู ถบนครนายก กลมุ่ มลายูมุสลมิ ทเี่ ขา้ มาท�ำการเกษตรและเปน็ แรงงานในการขุดคลองเพ่อื ชลประทาน กลุ่ม
คนจีนท่เี ขา้ มาคา้ ขาย กลุ่มชาติพนั ธ์กลมุ่ ตา่ งๆ เหล่านก้ี ลายเป็นประชากรในจังหวดั ฯ สบื ทอดมาถงึ ปจั จุบัน เช่น
- พระประแดงแหลง่ มอญ ในสมยั รชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั มชี าวมอญอพยพหนภี ยั
สงครามเข้ามามากจึงโปรดเกล้าฯ ให้ไปตั้งภูมิล�ำเนาในแขวงเมืองธนบุรี นนทบุรี และนครเข่ือนขันธ์หรือพระประแดง
พระประแดงจึงกลายเป็นชุมชนมอญขนาดใหญ่มาจนถึงปัจจุบัน ต่อมาได้ขยายการตั้งถิ่นฐานไปยังอ�ำเภอบางพลีและ
อำ� เภอบางบอ่ มอี าชพี ทำ� นาเปน็ หลกั ในอำ� เภอพระประแดงมวี ดั ทรงธรรม และวดั คนั ลดั ซึง่ เปน็ ศูนยก์ ลางชมุ ชน กลุ่มชาวไทย
เช้ือสายมอญเหล่านี้ยังสามารถรักษาความเช่ือขนบธรรมเนียมประเพณีของตนไว้ได้จนถึงปัจจุบัน เช่น การนับถือผี
การสวดมนต์ การเผาศพ ประเพณสี งกรานต์ และการตง้ั บา้ นเรอื น ฯลฯ
- จีนผู้กุมฐานเศรษฐกิจ บริเวณอ�ำเภอเมืองเป็นย่านชุมชนท่ีอยู่อาศัยของชาวจีน ซ่ึงเข้ามาต้ังรกราก
ค้าขายริมแม่น�้ำเจ้าพระยาบริเวณเมืองสมุทรปราการและริมคลองส�ำโรงและคลองสาขา มีศาลเจ้าจีนและเจวด็ ไม้ ไดแ้ ก่
ศาลเจ้าแม่ทับทิม ศาลเจ้าพ่อบางพลีใหญ่ และศาลเจ้าต้ัวปูนเถ่ากง ส่วนศาลเจ้าหลักเมืองเดิมเป็นอาคารทรงไทย แต่เมื่อ
ทรุดโทรมลงผู้ท่ีเคารพบูชาซึ่งส่วนใหญ่มีเช้ือสายจีนจึงร่วมกันสร้างรูปแบบศาลเจ้าจีน และเมื่อมีการขยายตัวของชุมชน
รวมท้งั การให้ความส�ำคญั กบั ถนนศาลเจา้ จงึ เปลีย่ นมาอยู่ริมถนนแทน ศาลเจ้ารุ่นหลังๆ ทเ่ี พ่งิ สร้างขึ้นมาใหมบ่ างแห่งสร้าง
โดยชาวจนี ไต้หวันที่เขา้ มาท�ำโรงงานอตุ สาหกรรม

26 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

สำ�นกั งานจงั หวดั สมทุ รปราการ

1.7.2 การบริการทางสังคม
1) สถานศึกษา
1.1) สถานศกึ ษาจดั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน สังกดั กระทรวงศกึ ษาธิการ
จังหวัดสมุทรปราการมีสถานศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน ท่ีจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน จ�ำนวนทั้งส้ิน 276 แห่ง มีจ�ำนวน
นักเรียนท้ังสิ้น 178,530 คน ครู 9,246 คน และห้องเรียน 5,683 ห้อง คิดเป็นอัตราส่วนครูต่อนักเรียน 19:1 และ
นักเรียนต่อห้องเรียน 31:1 แสดงว่าจังหวัดฯ อัตราส่วนครูต่อนักเรียน และนักเรียนต่อห้องเรียน เป็นไปตามเกณฑ์ที่
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และส�ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ก�ำหนด ดงั ตารางท่ี 1.7

ตารางท่ี 1.7 แสดงอัตราส่วนนกั เรยี น/ครู นกั เรยี น/หอ้ งเรียน จ�ำแนกตามสังกัด พ.ศ. 2560

สังกัด ภาครฐั และภาคเอกชน นกั เรยี น:ครู นกั เรยี น:หอ้ ง

สพป.สมทุ รปราการ เขต 1 โรงเรยี น นกั เรียน ครู ห้องเรยี น 21:1 29:1
สพป.สมทุ รปราการ เขต 2 72 1,265 22:1 28:1
สพม.6 71 36,977 1,726 1,806 28:1 40:1
ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจ�ำจงั หวดั - 25 1,271 13:1 9:1
สมทุ รปราการ 1 30,261 1,382 20
สำ� นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ -การศกึ ษา 15:1 30:1
เอกชน (เอกชนในระบบ) 107 50,586 1,835 2,077 19:1 31:1
276 5,683
รวมแตล่ ะสงั กัด 173 73

62,778 4,070
178,530 9,246

แหลง่ ทมี่ า: สำ� นกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดสมทุ รปราการ

1.2) สถานศึกษาสงั กดั องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น
ในปี พ.ศ. 2560 จังหวัดสมุทรปราการ มีสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรวม
จำ� นวน 121 แหง่ แบง่ เป็น สถานศึกษาในสังกัด จ�ำนวน 26 แห่ง มนี ักเรยี นจ�ำนวน 12,914 คน และศนู ย์พฒั นาเดก็
เลก็ ในสังกัด จ�ำนวน 95 แหง่ มีนกั เรียนจ�ำนวน 8,255 คน ซงึ่ จำ� นวนนกั เรยี นและสถานศึกษาในสงั กดั องค์กรปกครอง
ส่วนทอ้ งถนิ่ มแี นวโนม้ เพม่ิ ข้นึ จากปี พ.ศ. 2559 ดังตารางท่ี 1.8

ตารางที่ 1.8 แสดงจำ� นวนสถานศึกษาในสงั กดั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน พ.ศ. 2559 - 2560

สถานศกึ ษาในสังกัด อปท. พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560

โรงเรยี น นักเรียน โรงเรียน นักเรียน โรงเรยี น
ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก
12,077 25 12,914 26
รวม
8,317 95 8,255 95
แหลง่ ทม่ี า: ส�ำนักงานท้องถิ่นจังหวัดสมทุ รปราการ
20,394 120 21,169 121

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017 27

สำ�นักงานจงั หวดั สมุทรปราการ

1.3) สถานศกึ ษาในระดับอดุ มศึกษา
จงั หวดั สมุทรปราการมีสถานศึกษาในระดับอุดมศึกษาท้งั หมด 8 แหง่ โดยแบง่ เป็นภาครัฐจำ� นวน
2 แห่ง ได้แก่ (1) มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี วิทยาเขตสมทุ รปราการ อ�ำเภอบางพลี และ (2) ศูนยฝ์ กึ พาณิชย์
นาวี สังกัดกรมเจ้าท่า กระทรวงคมนาคม (3) โรงเรียนนายเรือ สงั กดั กองทัพเรือ กระทรวงกลาโหม (4) สถาบนั การแพทย์
จักรีนฤบดินทร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และภาคเอกชน 4 แห่ง ได้แก่ (1) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ วิทยาเขตสุวรรณภูมิ
(บางนา) อำ� เภอบางเสาธง (2) มหาวทิ ยาลัยหวั เฉียว เฉลิมพระเกยี รติ อำ� เภอบางพลี (3) วิทยาลยั เซาทอ์ ีส
บางกอก อ�ำเภอบางพลี และ (4) สถาบนั เทคโนโลยี แหง่ สุวรรณภมู ิ อ�ำเภอบางพลี
1.4) สถานศกึ ษาในระดับอาชีวศึกษา
จังหวัดสมุทรปราการ มีสถานศึกษาในระดับอาชีวศึกษาท้ังหมด 11 แห่ง โดยแบ่งเป็นภาครัฐ
จ�ำนวน 4 แห่ง (1) วิทยาลัยเทคนิคสมุทรปราการ อ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ (2) วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก
สมุทรปราการ อำ� เภอบางบอ่ (3) วทิ ยาลัยสารพัดชา่ งสมทุ รปราการ อำ� เภอเมอื งสมทุ รปราการ (4) วิทยาลัยการอาชีพพระ
สมุทรเจดยี ์ อำ� เภอพระสมุทรเจดยี ์ และภาคเอกชน 7 แห่ง ได้แก่ (1) วทิ ยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจสมุทรปราการ อำ� เภอ
บางพลี (2) โรงเรยี นเกรกิ วทิ ยาลยั อ�ำเภอบางพลี (3) วิทยาลัยเทคโนโลยีสมุทรปราการ (ช.เทค) อำ� เภอเมืองสมุทรปราการ
(4) วิทยาลัยเทคโนโลยีสุวรรณภูมิบริหารธุรกิจ อ�ำเภอบางพลี (5) วิทยาลัยไทยโกลบอลบริหารธุรกิจ อ�ำเภอเมือง
สมทุ รปราการ (6) วิทยาลัยเกวลินบริหารธรุ กิจ อำ� เภอบางเสาธง (7) วิทยาลยั เทคโนโลยี ไทย-ไตห้ วัน (BBI) อำ� เภอบางพลี
1.5) สถานศึกษาสังกัดส�ำนักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด
สมุทรปราการ
จังหวัดสมุทรปราการ มีสถานศึกษาในสังกัดส�ำนักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ทั้งหมด 6 แห่ง ได้แก่ (1) สำ� นกั งาน กศน. อำ� เมืองสมทุ รปราการ (2) สำ� นกั งาน กศน. อำ� เภอพระประแดง (3) สำ� นกั งาน
กศน. อำ� เภอบางพลี (4) สำ� นกั งาน กศน. อำ� เภอบางเสาธง (5) ส�ำนกั งาน กศน. อ�ำเภอพระสมทุ รเจดีย์ (6) สำ� นกั งาน กศน.
อำ� เภอบางบอ่ มีนกั เรยี น จ�ำนวน 11,388 คน ครู 101 คน

2) การบรกิ ารด้านสาธารณสขุ
2.1) สถานรักษาพยาบาล
จงั หวดั สมทุ รปราการมโี รงพยาบาลศนู ย์ จำ� นวน 1 แหง่ โรงพยาบาลทวั่ ไป 1 แหง่ โรงพยาบาลชมุ ชน 4
แหง่ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บล (รพ.สต.) หรอื สถานอี นามยั เดมิ จำ� นวนทงั้ สนิ้ 74 แหง่
รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 1.9

ตารางท่ี 1.9 แสดงข้อมลู สถานบริการสาธารณสขุ พ.ศ. 2560 จ�ำแนกตามรายอ�ำเภอ
สจถำ� าแนนรกักตษาามพปยราะบเภาทล เมือง บางบ่อ บางพลี พรเะจสดมยี ทุ์ ร พระประแดง บางเสาธง รวม

1. โรงพยาบาลศนู ย์ (แหง่ /เตียง) 1/415 - - - - - 1/415
- 1/200
2. โรงพยาบาลท่วั ไป (แห่ง/เตียง) 1/200 - - 1/0 4/234
- 4/430
3. โรงพยาบาลชมุ ชน (แห่ง/เตียง) - 1/120 - 1/74 1/41
2/126 18/2,091
4. เโตรงยี พง)ยาบาลรัฐสังกดั กระทรวงอ่ืน ๆ (แหง่ / 2/170 - - 1/250 1/10 16 196
1 35
5. โรงพยาบาลเอกชน (เตยี ง/แห่ง) 6/785 1/100 6/680 2/340 1/60

6. คลืนกิ เวชกรรม (แห่ง) 97 9 42 25 7

7. คลนิ กิ เวชกรรมเฉพาะทาง (แหง่ ) 20 - 4 9 1

28 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

สำ�นกั งานจังหวัดสมทุ รปราการ

ตารางที่ 1.9 แสดงขอ้ มูลสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ปี 2560 จ�ำแนกตามประเภทรายอำ� เภอ (ตอ่ )

สจถ�ำาแนนรกักตษาามพปยราะบเภาทล เมอื ง บางบ่อ บางพลี พระสมทุ ร พระประแดง บางเสาธง รวม
เจดยี ์
8. คลินิกทนั ตกรรม (แหง่ )
9. คลนิ กิ ทนั ตกรรมเฉพาะทาง (แหง่ ) 73 7 20 20 2 12 134
10. โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพต�ำบล (แหง่ ) 2- - - - -2
19 13 8 16 10 8 74

แหล่งทมี่ า: กลมุ่ งานคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค สำ� นกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สมทุ รปราการ ขอ้ มลู ณ มถิ นุ ายน 2560

2.2) สถานบริการสขุ ภาพ การพัฒนาและยกระดับสถานบริการสาธารณสขุ
จงั หวดั สมุทรปราการ ได้ก�ำหนดเป้าหมายในการพฒั นาและยกระดับสถานบริการสาธารณสุขของ
จังหวัดฯ ทุกระดับ โดยมีเป้าหมายในการยกระดับโรงพยาบาลสมุทรปราการ เป็นโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลบางพลี
เป็นโรงพยาบาลท่ัวไปขนาดเล็ก โรงพยาบาลบางบ่อ ยกระดับเป็นโรงพยาบาลแม่ข่าย โรงพยาบาลบางจากยกระดับเป็น
โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ โรงพยาบาลพระสมุทรเจดียฯ์ เปน็ โรงพยาบาลชุมชนขนาดกลาง ๖๐ เตียง และโรงพยาบาล
บางเสาธง ทว่ี างแผนยกระดบั เป็นโรงพยาบาลชมุ ชนขนาดกลาง ๓๐ เตียง ตามแผนพัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพ Service
Plan ของกระทรวงสาธารณสขุ เพอื่ รองรับสภาพปญั หาและความตอ้ งการของพ้นื ทีแ่ ละรองรับการเปดิ ประชาคมอาเซยี น
ในปนี ้นั
แม้จังหวัดสมุทรปราการจะมีโรงพยาบาลเอกชนและมีจ�ำนวนเตียงมากกว่าโรงพยาบาลภาครัฐ
อย่างไรก็ตามบริการสร้างเสริมสุขภาพ และบริการขั้นพ้ืนฐานท่ีจ�ำเป็นยังเป็นบทบาทหน้าท่ีหลักของหน่วยงานภาครัฐท่ี
ต้องรับผดิ ชอบด�ำเนนิ การ
ซึ่งจังหวัดสมุทรปราการ ได้ก�ำหนดเป้าหมายในการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ
ฝั่งตะวันออกของแม่น้�ำเจ้าพระยา ให้เป็นศูนย์กลางในการเป็นเครือข่ายการดูแลสุขภาพ ได้แก่ โรงพยาบาลบางพลี
ซ่ึงยกระดับเป็นโรงพยาบาลท่ัวไปขนาดเล็ก โดยมีโรงพยาบาลบางบ่อ ซึ่งเป็นโรงพยาบาลแม่ข่ายประจ�ำจังหวัด และ
โรงพยาบาลบางเสาธงเปน็ โรงพยาบาลชมุ ชนสร้างใหม่ (F1) ซึ่งมแี ผนในการขอยกระดบั เป็นโรงพยาบาลชมุ ชนขนาดกลาง
(F2) ส�ำหรับสถานบริการของรัฐฝั่งตะวันตกของแม่น้�ำเจ้าพระยา ก�ำหนดเป้าหมายในการพัฒนาโรงพยาบาลบางจาก
เป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ (F1) ซึ่งมีแผนในการขอยกระดับเป็นโรงพยาบาลชุมชนแม่ข่าย (M2) รองรับการดูแล
ประชาชน ในพื้นท่อี �ำเภอพระประแดงและพระสมุทรเจดยี ์ โดยมโี รงพยาบาลสมุทรปราการเป็นโรงพยาบาลศูนย์ประจำ� จัง
หวดั ฯ ดแู ลพ้นื ที่อ�ำเภอเมืองสมทุ รปราการ และรองรบั การสง่ ตอ่ จากเครอื ขา่ ยโรงพยาบาลทกุ แห่ง

ตารางที่ 1.10 แสดงข้อมลู แสดงข้อมูลโรงพยาบาลภาครฐั พ.ศ. 2559 จ�ำแนกตามสงั กดั

รพ.ภาครัฐ สังกัด สป.สธ. รพ.ภาครัฐ สงั กัดกรมต่างๆ รพ.เอกชน
1.รพท.สมุทรปราการ (415 เตียง ) 1.สถาบันราชประชาสมาสัย (250 เตียง) 15 แห่ง 2,044 เตียง
2.รพท.บางพลี (200 เตียง) 2.รพ.ยุวประสาทฯ (140 เตยี ง)
3.รพช.บางบ่อ (120 เตียง ) 3.รพ.รร.นายเรือ (30 เตยี ง) รวม 15 แหง่ 2,044 เตียง
4.รพช.บางจาก (74 เตียง ) 4.รพ.ปอ้ มพระจุลจอมเกล้า (10 เตยี ง) (61.5 %)
5.รพช.พระสมทุ รเจดยี ฯ์ (41 เตียง)
6.รพ.บางเสาธง ( - ) รวม 4 แหง่ 430 เตยี ง
(12.9 %)
รวม 6 แหง่ 850 เตยี ง
(25.6 %)

แหล่งทม่ี า: กลมุ่ งานคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค สำ� นกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั สมทุ รปราการ ขอ้ มลู ณ มถิ นุ ายน 2560

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 29

ส�ำ นักงานจงั หวัดสมทุ รปราการ

ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ซ่ึงเป็นหน่วยงานบริหารส่วนภูมิภาค ภายใต้
การบริหารของกระทรวงสาธารณสขุ และเขตสขุ ภาพที่ ๖ ไดว้ างแผนในการพฒั นาระบบบริการสขุ ภาพ (Service Plan)
ในการยกระดับโรงพยาบาล ขยายขนาดจ�ำนวนเตียง และพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขให้สามารถรองรับสภาพปัญหา
ความต้องการของพื้นที่ การขยายตัว และเจรญิ เตบิ โตอย่างรวดเรว็ ของจังหวดั สมทุ รปราการ ดงั น้ี
2.3) บคุ ลากรทางการแพทย์ของภาครัฐ
จังหวัดสมุทรปราการมีโรงพยาบาลภาครัฐ จ�ำนวน 6 แห่ง ซึ่งพบว่าจังหวัดฯ มีบุคลากรทางการ
แพทย์ทุกสาขาวิชาชีพ ซึง่ ยงั มีการขาดแคลนวชิ าชพี ทง้ั 4 สายงานหลกั ดังตารางท่ี 1.11

ตารางที่ 1.11 แสดงข้อมลู จำ� นวนบุคลากรทางการแพทยจ์ ำ� แนกวชิ าชีพหลัก

บคุ ลากรจำ�นกตามวชิ าชพี จำ�นวนท่มี ีจริง จำ�นวนที่ควรมตี ามเกณฑ์ จำ�นวนขาด
แพทย์ 209 203
46 119 73
ทันตแพทย์ 96 110 14
เภสชั กร 765 1,209 444
พยาบาล 1,116 1,641 531

รวม

แหล่งทมี่ า: กลมุ่ งานทรัพยากรบุคคล สำ� นักงานสาธารณสุขจังหวัดสมทุ รปราการ ณ วนั ที่ 30 เมษายน 2560

อายคุ าดเฉลีย่ ของคนจงั หวดั สมทุ รปราการ
กระทรวงสาธารณสุขก�ำหนดเป้าหมาย ภายในทศวรรษหน้า อายุคาดเฉล่ียเม่ือแรกเกิดไม่น้อยกว่า ๘๐ ปี และ

อายุคาดเฉล่ียการมีสขุ ภาพดี ไม่น้อยกว่า ๗๒ ปี จากการวิเคราะหอ์ ายคุ าดเฉลี่ยของประชาชนจงั หวัดสมุทรปราการ พบ
ว่าอายุคาดเฉลี่ยของประชาชนจงั หวัดสมุทรปราการในปี ๒๕๕9 ท้ังเพศชาย 67.09 ปี และเพศหญงิ 74.20 ปี นอ้ ยกวา่ คา่
เฉลย่ี ของประเทศ (เพศชาย 71.08 ปี และเพศหญงิ 78.60 ป)ี
3) สถานท่รี บั บ�ำบัดฟื้นฟูผ้เู สพ/ผู้ตดิ สารเสพตดิ
จังหวัดสมุทรปราการมีสถานท่ีรับบ�ำบัดและฟื้นฟูผู้เสพ/ผู้ติดสารเสพติด ซึ่งตั้งอยู่ในสถานีอนามัยใน
พื้นทท่ี ัง้ 6 อำ� เภอ จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 63 แหง่ โดยรบั บ�ำบัดฟนื้ ฟูผู้เสพ/ผตู้ ดิ ฯ ระบบสมคั รใจในรปู แบบ matrix program
ดังน้ี (ตารางที่ 1.12)

ตารางที่ 1.12 แสดงขอ้ มลู รายชอ่ื สถานอี นามยั สถานทร่ี บั บำ� บดั และฟน้ื ฟผู เู้สพ/ผตู้ ดิ สารเสพตดิ ในพนื้ ท่ี 6 อำ� เภอ

อำ�เภอ รายชอื่ สถานอี นามยั สถานทีร่ ับบำ�บัดและฟ้นื ฟูผู้เสพ/ผตู้ ิดสารเสพติด
อำ�เภอเมอื งสมุทรปราการ 81114311127161952.4...6.1..0.3.5 ....... สสสสศสสสสสสศสสสศสสสสสสสสสสสสสนูนููนอออออออออออออยยย.............์์สส์สตตตตตแตตตเตตตฉขุุขขุ พ...........บบบทบบเทสบบลภภภทรำิมา้าาาาาาาา้้าาา�กพโงงงงนงงยยพพพพรษปโปเดเาบบคงมมรชชชปรา้วใููเาา้้ละอืือมุมุมุรหกัหนนนเองงงชชชษมกนใใงนนนียห่์หอืเกรพบรมมม่า้ตุญทุ่่ โิฯธศพริรบธักิ์ิา้ ษนาคลองบางปิง้

30 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นักงานจังหวัดสมทุ รปราการ

ตารางที่ 1.12 แสดงขอ้ มลู รายชอ่ื สถานอี นามยั สถานทร่ี บั บำ� บดั และฟน้ื ฟผู เู้สพ/ผตู้ ดิ สารเสพตดิ ในพน้ื ท่ี 6 อำ� เภอ (ตอ่ )

อำ�เภอ รายช่อื สถานอี นามัยสถานทร่ี ับบำ�บัดและฟ้นื ฟูผเู้ สพ/ผู้ติดสารเสพติด
อำ�เภอบางบอ่ 1. คลองดา่ น หมู่ 13
2. คลองดา่ นหมู่ 1
อำ�เภอบางพลี 3. นยิ มยาตรา
อำ�เภอพระประแดง 4. บางบ่อ
5. บ้านระกาศ หมู่ 3
อำ�เภอพระสมุทรเจดยี ์ 6. บ้านระกาศ หมู่ 8
อำ�เภอบางเสาธง 7. บางพลนี ้อย หมู่ 3
8. บางพลีน้อย หมู่ 5
9. บางพลนี ้อย หมู่ 8
10. บางเพรยี ง
11. คลองสวน
12. เปร็ง
1. บางแกว้
2. ราชาเทวะ
3. บางปลา
4. บางโฉลง
5. วดั สลดุ
6. หนองปรือ
7. คลองส่ี
1. สำ�โรง
2. สำ�โรงกลาง
3. สำ�โรงใต้
4. บางครุ
5. ทรงคนอง
6. บางยอ
7. บางหวั เสือ
8. บางหญา้ แพรก
9. บางกอบัวหมู่ 2
10. บางกอบวั หมู่ 12
11. บางพง่ึ
12. บางน้ำ�ผึ้ง
13. บางกระสอบ
14. บางกระเจ้า
15. บางจาก
1. บ้านขุนสมทุ รไทย
2. บ้านขนุ สมุทร
3. คลองทะเล
4. บา้ นคลองสวน
5. บ้านคู่สร้าง
6. ในคลองบางปลากด
7. นาเกลอื
8. แหลมฟ้าผา่
1. บางเสาธง
2. เมอื งใหมบ่ างพลี
3. เสาธงกลาง
4. ศีรษะจรเข้น้อย
5. ศรี ษะจรเขใ้ หญ่
6. วดั ศรีวารีน้อย

แหล่งทมี่ า: แผนปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพตดิ จงั หวดั สมทุ รปราการระยะ 5 ปี (พ.ศ.2558 - 2562)

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 31

ส�ำ นกั งานจังหวดั สมทุ รปราการ

4) ศาสนสถาน
จงั หวัดสมทุ รปราการ มีศาสนสถานท้ังสน้ิ จ�ำนวน 142 แหง่ ประกอบดว้ ย วัดท่มี ีพระสงฆ์จำ� พรรษา
จ�ำนวน 127 แหง่ มสั ยดิ จำ� นวน 12 แห่ง และโบสถค์ รสิ ต์ จำ� นวน 3 แห่ง วัดในศาสนาพุทธ กระจายตวั มากในเขตพนื้ ที่
อ.พระประแดง อ.เมืองสมทุ รปราการ และ อ.บางบอ่ ตามล�ำดับ โดยเป็นวดั มหานิกาย 119 แห่ง และวัดธรรมยตุ 8 แหง่
ข้อมูลจ�ำนวนพระภกิ ษุและสามเณร ณ วนั ที่ 20 สิงหาคม 2559 มีพระภกิ ษุ 3924 รูป แบ่งเปน็ มหานกิ าย 3,619 รูป ธรรม
ยุต 305 รูป และสามเณร 278 รปู แบง่ เปน็ มหานกิ าย 257รปู ธรรมยุต 21 รูป ดงั ตารางท่ี 1.13

ตารางท่ี 1.13 แสดงจำ� นวนศาสนสถานในพืน้ ท่ี

ศาสนา จำ�นวน (แห่ง)
พุทธ 127 แหง่ (ธรรมยตุ 8 แหง่ มหานกิ าย 119 แหง่ )
อิสลาม
คริสต์ 12 แหง่
พราหมณ์ ฮนิ ดแู ละอ่ืน ๆ 3 แห่ง
แหล่งท่มี า: สำ� นกั งานพระพทุ ธศาสนาจงั หวัดสมุทรปราการ
-

1.8 โครงสร้างพืน้ ฐานและการเขา้ ถึงการบรกิ าร

1.8.1 การคมนาคมและการขนสง่
1) การคมนาคมทางบก
1.1) ทางหลวงสายหลกั
ทางหลวงสายหลักซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของแขวงทางหลวงสมุทรปราการที่ส�ำคัญ ในพ้ืนท่ี
มที งั้ หมด 17 สายทาง ซง่ึ มรี ะยะทางรวม 219.62 กโิ ลเมตร ได้แก่ (รายละเอียดตามตารางท่ี 1-9)

(1) ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 3 (ถนนสุขมุ วิท)
(2) ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 34 (ถนนบางนา – ตราด)
(3) ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 303 (ถนนสขุ สวัสด)ิ์
(4) ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 354 (ทางแยกเขา้ สนามบนิ สวุ รรณภมู ิ ดา้ นทศิ ตะวนั ตก)
(5) ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3104 (ถนนเพชรหึงส)์
(6) ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 3113 (ถนนปูเ่ จา้ สมิงพราย)
(7) ทางหลวงแผน่ ดิน หมายเลข 3116 (ถนนบางปิง้ -แพรกษา)
(8) ทางหลวงแผน่ ดิน หมายเลข 3117 (ถนนปานวิถี)
(9) ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 3243 (ถนนแหลมฟ้าผา่ )
(10) ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 3344 (ถนนศรนี ครนิ ทร)์
(11) ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 3256 (ถนนกง่ิ แกว้ )
(12) ทางหลวงแผน่ ดนิ หมายเลข 3268 (ถนนเทพารกั ษ)์
(13) ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 3413 (ถนนเล่ยี งเมอื งบางบอ่ )
(14) ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3701 (ทางบริการพเิ ศษสายมอเตอร์เวยด์ ้านซา้ ย)

32 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นกั งานจงั หวัดสมุทรปราการ

(15) ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 3702 (ทางบริการพิเศษสายมอเตอร์เวยด์ า้ นขวา)
(16) ทางหลวงแผน่ ดิน หมายเลข 3901 (ทางบริการถนนกาญจนาภเิ ษกดา้ นซ้าย)
(17) ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 3902 (ทางบริการถนนกาญจนาภิเษกดา้ นขวา)
1.2) ทางหลวงสายรอง
ทางหลวงสายรอง ท่ีอยู่ในความรับผิดชอบของแขวงทางหลวงชนบทสมุทรปราการท่ีส�ำคัญ
ในพื้นท่มี ที ้งั หมด 13 สายทาง ซ่ึงมีระยะทางรวม 95.591 กิโลเมตร (รายละเอยี ดตาม ตารางที่ 1-10)
(1) แยก ทล.หมายเลข 314 (กม.ท่ี 14.800) – บ้านลาดกระบงั (ตอนสมทุ รปราการ)
(2) แยก ทล.หมายเลข 34 (กม.ที่ 18.165) – ออ่ นนชุ
(3) แยก ทล.หมายเลข 3344(กม.ท1ี่ 5.568) – บ้านบางพลีใหญ่
(4) แยก ทล.หมายเลข 34 (กม.ที่ 26.150) - ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7
(5) แยกทล.หมายเลข ฉช. 3001 (กม.ท่ี 11.485) - บา้ นคลองนิยมยาตรา
(6) แยก ทล.หมายเลข 3 (กม.ที่ 60.250) – บ้านบางพลนี อ้ ย
(7) แยก ทล.หมายเลข 3 (กม.ที5่ 2.600)- เคหะบางพลี
(8) แยก ทลช.หมายเลข สป.5004 (กม.ที่ 3.520)- บา้ นเทพราช
(9) แยก ทล.หมายเลข 3256 (กม.ท่ี 17.085)–วดั กง่ิ แกว้
(10) แยก ทล.หมายเลข 3344 (กม.ท่ี 13.750) – สุขมุ วทิ
(11) เชือ่ มทางหลวงหมายเลข 3243 (กม.ที่ 5.317) – บางขนุ เทียน
(12) แยก ทล.หมายเลข 3 (กม.ท่ี 49.035) – เทพารกั ษ์
(13) แยก ทล.หมายเลข 34 (กม.ท่ี 29.800) - รร.คลองหลมุ ลกึ
1.3) เส้นทางการคมนาคมอ่นื ๆ ทีส่ �ำคญั
จังหวัดสมุทรปราการนอกจากจะมีทางหลวงสายหลัก-สายรองแล้ว ยังมีทางหลวงพิเศษซ่ึงอยู่ใน
ความรับผิดชอบของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ได้แก่ ทางพิเศษสายมอเตอร์เวย์ และทางด่วนกาญจนาภิเษกที่
เช่ือมต่อสายบางพลี-สุขสวัสดิ์ ทางพิเศษบรู พาวถิ ี ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม พร้อมทัง้ มีสะพานแขวนขา้ มแมน่ �ำ้ เจา้ พระยา
จำ� นวน 2 แห่ง คอื สะพานกาญจนาภเิ ษก และสะพานภูมิพล 1 สะพานภมู พิ ล 2 รวมทง้ั ทางเช่ือมเสน้ ทางดว่ นกาญจนา
ภิเษกสายบางพลี-สุขสวัสด์ิ กับถนนวงแหวนอุตสาหกรรม (ช่วงบางหัวเสือ) และทางพิเศษบูรพาวิถี (ช่วงด่านบางแก้ว)
และมีโครงข่ายเชื่อมโยงถนนสายหลักสายรองท่ีถ่ายโอนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินดูแล จ�ำนวนท้ังส้ิน 82 สายทาง
ซึ่งเส้นทางคมนาคมหลักในจังหวัดฯ จะใช้ในการขนส่งสินค้าของภาคอุตสาหกรรมและภาคการเกษตรของจังหวัดฯและ
พ้ืนที่ติดต่อใกล้เคียง ท�ำให้มีปริมาณการจราจรหนาแน่นและติดขัดในชั่วโมงเร่งด่วนส่งผลให้เกิดวิกฤตด้านการจราจร
อย่างหนัก ประกอบกับจังหวัดฯ ได้มีการประกาศใช้ผังเมืองรวมสมุทรปราการ ฉบับปี พ.ศ. 2556 ซ่ึงได้ก�ำหนดแผนผัง
โครงการคมนาคมและขนสง่ ในพน้ื ท่ี ซงึ่ จะมผี ลบงั คบั ใช้ 5 ปี นบั ตงั้ แตว่ นั ที่ 5 กมุ ภาพนั ธ์ 2557 -วนั ที่ 4 กมุ ภาพนั ธ์ 2562

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017 33

สำ�นักงานจังหวดั สมุทรปราการ

ภาพที่ 1.18 แผนภาพผังแสดงโครงการคมนาคมและขนสง่ ในพ้นื ที่

2) การคมนาคมทางน�ำ้
จังหวัดสมุทรปราการมีท่าเทียบเรือขนส่งโดยสารสาธารณะ และท่าขนส่งสินค้าที่ส�ำคัญ รวม 30 แห่ง
และมีท่าเทียบเรอื ขนาดเกนิ กว่า 500 ตนั จำ� นวน 55 ทา่ โดยมีทา่ เทียบเรือทส่ี �ำคัญ ดังน้ี
- ท่าเรือพิบลู ยศ์ รี ต้ังอยู่ที่ตำ� บลปากน้ำ� อ�ำเภอเมืองบางประกอก
- ทา่ เรือพระประแดง ต้ังอยู่ท่ีหน้าทวี่ า่ การอำ� เภอพระประแดง
- ท่าเรอื คลองดา่ น ตัง้ อยทู่ ตี่ ำ� บลคลองดา่ น อำ� เภอบางบ่อ
- ทา่ ห้องเย็น ตง้ั อยทู่ ต่ี �ำบลทา้ ยบา้ น อ�ำเภอเมืองสมทุ รปราการ
- ท่าสะพานปลา ต้ังอยทู่ ีต่ �ำบลท้ายบา้ น อำ� เภอเมืองสมุทรปราการ
- ท่าเรือข้ามฝากเภทรา ใช้บรรทุกยานพาหนะข้ามฟากระหว่างอ�ำเภอพระประแดงฝั่งตะวันตก
และตะวันออก
- ท่าเรอื อายโิ นะโมโต๊ะ อยใู่ นเขตอ�ำเภอพระประแดง ใชบ้ รรทกุ ยานพาหนะขา้ มฟากไปยงั บริเวณท่าเรอื
ขา้ มฟาก อำ� เภอบางเสาธง
3) การคมนาคมทางอากาศ
จงั หวดั สมทุ รปราการมี ทา่ อากาศยานนานาชาตสิ วุ รรณภมู ิ (Suvarnabhumi International Airport)
ซง่ึ เปน็ ศนู ยก์ ลางการคมนาคมทางอากาศทส่ี ำ� คญั ของประเทศไทย ภมู ภิ าค และของโลก ตงั้ อยทู่ ถี่ นนบางนา-ตราด ประมาณ
กโิ ลเมตรท่ี 15 ตำ� บลราชาเทวะ อำ� เภอบางพลี จงั หวดั สมทุ รปราการ หา่ งจากใจกลางกรงุ เทพมหานคร 25 กโิ ลเมตร เปดิ ใชง้ าน
วนั ที่ 28 กนั ยายน 2549 นบั เปน็ ทา่ อากาศยานทมี่ พี น้ื ทขี่ นาดใหญท่ ส่ี ดุ ของไทย (เนอ้ื ท่ี 20,000 ไร)่ มปี รมิ าณผโู้ ดยสารสงู ถงึ
58 ลา้ นคนตอ่ ปี รองรบั เทยี่ วบนิ 76 เทยี่ วตอ่ ชวั่ โมง และรองรบั การขนสง่ สนิ คา้ ทางอากาศ 3 ลา้ นตนั ตอ่ ปี ขณะนก้ี ำ� ลงั ขยายเฟส 2

34 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นักงานจงั หวัดสมทุ รปราการ

เพอ่ื เพมิ่ หลมุ จอดอกี 28 หลมุ จอด และเพมิ่ ทางวง่ิ จาก 2 รนั เวยเ์ ปน็ 4 รนั เวย์ คาดวา่ จะแลว้ เสรจ็ ในปี พ.ศ. 2563 ซงึ่ จะสามารถ
รองรบั ผโู้ ดยสารได้ 85 ลา้ นคนตอ่ ปี และเปน็ สว่ นสำ� คญั ในการผลกั ดนั ใหป้ ระเทศไทยสามารถพฒั นาไปสคู่ วามเปน็ ศนู ยก์ ลางดา้ น
การบนิ ของภมู ภิ าค โดยทา่ อากาศยานนานาชาตสิ วุ รรณภมู เิ ปน็ ศนู ยก์ ลางการบนิ ประตสู เู่ อเชยี และเปน็ แหลง่ กำ� เนดิ กจิ กรรมการ
ขนส่งขนาดใหญ่ที่เป็นเขตอุตสาหกรรมหนาแน่น เขตพาณิชยกรรม เขตแหล่งท่องเที่ยวในอนาคตคาดว่าแหล่งก�ำเนิด
กจิ กรรมเหลา่ น้จี ะขยายตวั และกอ่ ใหเ้ กดิ ปรมิ าณการเดนิ ทางหลากหลายรปู แบบ
4) การคมนาคมระบบราง
4.1) โครงการรถไฟฟา้ สายสเี ขียว ช่วงแบร่งิ -สมุทรปราการ
คณะรฐั มนตรใี นคราวประชุมเมือ่ วนั ที่ 27 พฤศจกิ ายน 2551 ได้มมี ติเหน็ ชอบให้ รฟม. ดำ� เนนิ การ
กอ่ สรา้ งโครงการรถไฟฟา้ สายสเี ขียว ชว่ งหมอชิต - สะพานใหม่ และชว่ งแบรงิ่ - สมุทรปราการ รวมเปน็ ระยะทางประมาณ
25 กิโลเมตร โดยแนวเส้นทางโครงการระบบขนสง่ กรงุ เทพมหานคร ชว่ งแบริ่ง – สมทุ รปราการ มีโครงสร้างรถไฟฟา้ แบบ
ยกระดบั ตลอดเสน้ ทาง ระยะทาง 13 กโิ ลเมตร เป็นระบบรถไฟฟ้าขนาดใหญ่ (Heavy Rail Transit System) แนวเสน้ ทาง
เร่มิ ต้นต่อเนอ่ื งจากแนวเส้นทางของโครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (BTS) สว่ นตอ่ ขยายสายสุขุมวิท ตอนท่ี
1 ชว่ งอ่อนนุช - แบริ่ง บรเิ วณซอยสุขมุ วิท 107 (แบรงิ่ ) ไปตามแนวเกาะกลางของถนนสุขุมวิท ผา่ นคลองสำ� โรง ผ่านแยก
เทพารักษ์ แยกปู่เจ้าสมิงพราย เมือ่ ถึงบริเวณจุดตัดกบั โครงการถนนวงแหวนรอบนอกดา้ นใต้แนวจะเบย่ี งจากเกาะกลางไป
ทางทิศตะวันตกของถนนสุขุมวิท เพื่อข้ามทางต่างระดับสุขุมวิท จากน้ันจึงเบ่ียงกลับมาอยู่ในแนวเกาะกลางถนนสุขุมวิท
ผา่ นแยกศาลากลาง แยกการไฟฟา้ แยกแพรกษา แยกสายลวด จนถงึ จดุ ส้นิ สุดโครงการบริเวณหนา้ สถานไี ฟฟา้ ยอ่ ยบางปงิ้
โดยแนวเส้นทางจะเบี่ยงออกทางด้านทศิ ตะวันตก และลดระดบั เพอ่ื เข้าศนู ยซ์ ่อมบ�ำรงุ
สถานีรถไฟฟ้าสายสีเขียว ช่วงแบริ่ง – สมุทรปราการประกอบด้วยสถานีท้ังหมด 9 สถานี ได้แก่
สถานีส�ำโรง สถานีปู่เจ้าสมิงพราย สถานีเอราวัณ สถานีโรงเรียนนายเรือ สถานีสมุทรปราการ สถานีศรีนครินทร์ สถานี
แพรกษา สถานสี ายลวด และสถานเี คหะสมทุ รปราการ โดยบางสถานจี ะเชอื่ มต่อกบั ระบบขนส่งมวลชนสายอื่น ๆ เพือ่ ให้
ผู้โดยสารสามารถเดินทางได้อย่างสะดวก นอกจากน้ียังมีบันไดเลื่อน ลิฟต์ ห้องน้�ำ ป้ายประชาสัมพันธ์และสิ่งอ�ำนวย
ความสะดวกตา่ ง ๆ เพอื่ ผพู้ ิการอกี ดว้ ย
ปจั จบุ นั (31 สงิ หาคม 2559) การกอ่ สรา้ งรถไฟฟา้ มคี วามกา้ วหนา้ ไปกวา่ 95.04 % ซงึ่ มกี ำ� หนดการเปดิ ให้
บรกิ ารในปี พ.ศ. 2561 หากเปดิ ใชบ้ รกิ ารแลว้ กจ็ ะชว่ ยอำ� นวยความสะดวกในการเดนิ ทางแกป่ ระชาชนที่มาพักอาศัย ประกอบ
ธุรกรรมและทอ่ งเทย่ี วในพนื้ ท่ี รวมทงั้ สามารถแก้ไขปญั หาการจราจรได้อกี ทางหนึง่

ภาพท่ี 1.19 แสดงสถานรี ถไฟฟ้าสายสีเขยี ว ชว่ งแบร่ิง – สมุทรปราการ
แหล่งทมี่ า : การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

4.2) โครงการรถไฟฟา้ สายสีมว่ ง ชว่ งเตาปูน - ราษฎรบ์ ูรณะ (วงแหวนกาญจนาภเิ ษก)
โครงสร้างรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน-ราษฎร์บูรณะ มีระยะทางท้ังสิ้น 23.6 กิโลเมตร
เป็นโครงสร้างทางว่ิงใต้ดิน 12.6 กิโลเมตร และโครงสร้างทางยกระดับ 11 กิโลเมตร และมีสถานีทั้งสิ้น 17 สถานี
เปน็ สถานีใตด้ นิ 10 สถานี และสถานียกระดบั 7 สถานี

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 35

ส�ำ นักงานจังหวดั สมทุ รปราการ

แนวเส้นทางโครงสร้างรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน-ราษฎร์บูรณะ เร่ิมจากจุดเชื่อมต่อโครงการ
รถไฟฟา้ สายสีม่วง ช่วงบางใหญ่ - บางซื่อ ที่บริเวณสถานีเตาปูน โดยเปลยี่ นเป็นเส้นทางใตด้ ินแล้วเบ่ียงเขา้ สู่ ถนนสามเสน
ผ่านรัฐสภาแห่งใหม่ (โรงเรียนโยธินบูรณะเดิม) โรงเรียนราชินีบน กรมชลประทาน โรงพยาบาลวชิรพยาบาล
หอสมดุ แหง่ ชาติ คลองบางลำ� พู เลี้ยวซ้ายเข้าถนนพระสุเมรุ ผ่านวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร แยกผา่ นฟ้า เข้าสถู่ นนมหาไชย
ผ่านวัดราชนัดดารามวรวิหาร เข้าสู่ถนนจักรเพชร ลอดใต้แม่น�้ำเจ้าพระยาบริเวณสะพานพระปกเกล้า เข้าสู่ถนน
ประชาธปิ ก ผ่านสีแยกบ้านแขก ลอดใตว้ งเวยี นใหญ่ เข้าสู่ถนนสมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ ลอดแยกมไหสวรรย์ จากน้นั เปลี่ยน
เส้นทางยกระดับผ่านแยกถนนจอมทองเข้าสู่ถนนสุขสวัสดิ์ ผ่านแยกถนนประชาอุทิศ ข้ามทางด่วนเฉลิมมหานคร เข้าสู่
ราษฎร์บูรณะข้ามคลองแจงร้อน ผ่านสามแยกพระประแดง และสิ้นสุดเส้นทางบริเวณครุใน โดยมีแผนก่อสร้างโครงการ
และทดสอบระบบ ในปี พ.ศ. 2560 – 2565 ซึ่งคาดว่าจะเปิดบริการในช่วงเดือนมกราคม พ.ศ. 2566

ภาพที่ 1.20 แนวเสน้ ทางโครงการรถไฟฟา้ สายสมี ว่ ง ชว่ งเตาปนู - ราษฎรบ์ รู ณะ (วงแหวนกาญจนาภเิ ษก)
แหล่งท่ีมา : การรถไฟฟา้ ขนส่งมวลชนแหง่ ประเทศไทย

4.3) โครงการรถไฟฟ้าสายสเี หลอื ง ชว่ งลาดพรา้ ว-ส�ำโรง
โครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-ส�ำโรง เป็นระบบขนส่งมวลชนประเภทรถไฟฟ้า
รางเด่ียว (Straddle Monorail) มีลักษณะเป็นโครงสร้างยกระดับตลอดแนวเส้นทาง มีระยะทางทั้งส้ิน 30.4 กิโลเมตร
รวม 23 สถานี มีจุดประสงคเ์ พอื่ เช่ือมต่อการเดนิ ทางระหว่างสายสีน้�ำเงนิ ที่สถานีรัชดา (สถานีลาดพรา้ วของสายสนี ำ้� เงิน)
กับระบบขนส่งมวลชน 4 สาย คือ สายสีเทาของกรุงเทพ สายสีส้มบริเวณทางแยกล�ำสาลี รถไฟเชื่อมต่อท่าอากาศยาน
(Airport Rail Link) บริเวณทางแยกตา่ งระดับพระราม 9 และสายสีเขียว ช่วงแบรงิ่ -สมทุ รปราการ ท่สี ถานสี ำ� โรง

36 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นักงานจงั หวดั สมุทรปราการ

โดยแนวเส้นทางโครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-ส�ำโรง เร่ิมต้นท่ีจุดเช่ือมต่อกับ
ระบบรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน�้ำเงินระยะแรก) ที่แยกรัชดา-ลาดพร้าว ไปตามแนวถนนลาดพร้าว
โดยเช่ือมต่อกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีเทาของกรุงเทพมหานครที่แยกฉลองรัช และยกระดับข้ามทางด่วนฉลองรัชจนถึง
ทางแยกบางกะปิ จากนน้ั แนวเสน้ ทางจะเลีย้ วขวาไปทางทศิ ใตต้ ามถนนศรีนครนิ ทร์ เชื่อมตอ่ กับโครงการรถไฟฟ้าสายสสี ม้
ที่ทางแยกล�ำสาลี ต่อจากน้ันแนวเส้นทางจะยกระดับข้ามทางแยกต่างระดับพระราม 9 โดยเชื่อมต่อกับโครงการรถไฟฟ้า
เชื่อมต่อท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Airport Rail Link) และผา่ นแยกพฒั นาการ แยกศรนี ชุ แยกศรอี ดุ มสขุ แยกศรเี อย่ี ม
จนถงึ แยกศรเี ทพา จากนนั้ แนวเสน้ ทางจะเลยี้ วขวาอีกคร้ังไปทางทิศตะวันตก ตามแนวถนนเทพารักษ์ ผ่านจุดเชื่อมต่อกับ
โครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียวช่วงแบริ่ง-สมุทรปราการ ที่สถานีส�ำโรง และส้ินสุดแนวเส้นทางบริเวณถนนปู่เจ้าสมิงพราย
รวมระยะทางทงั้ ส้นิ ประมาณ 30.4 กโิ ลเมตร ประกอบดว้ ยสถานที ง้ั หมด 23 แหง่ โรงจอดรถศนู ยซ์ อ่ มบำ� รงุ 1 แหง่ อาคารและ
ลานจอดแลว้ จร 1 แห่ง บรเิ วณพืน้ ท่ีทางแยกตา่ งระดบั ศรเี อี่ยม

ภแหาพล่งทท่ี 1ี่ม.า21: แนวเสน้ ทางโครงการรถไฟฟ้าสายสเี หลือง ช่วงลาดพรา้ ว-ส�ำโรง
การรถไฟฟ้าขนสง่ มวลชนแหง่ ประเทศไทย

1.8.2 การไฟฟ้า
1) การใหบ้ ริการการไฟฟ้า
จังหวัดสมุทรปราการอยู่ในเขตความรับผิดชอบของการไฟฟ้านครหลวง มีการบริการไฟฟ้าครอบคลุม
พ้ืนที่ทุกอ�ำเภอ โดยแบง่ เขตความรับผดิ ชอบการใหบ้ รกิ ารไฟฟ้าเปน็ 4 เขต ไดแ้ ก่

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 37

ส�ำ นักงานจังหวัดสมุทรปราการ

1.1) การไฟฟา้ นครหลวง เขตสมทุ รปราการ
1.2) การไฟฟ้านครหลวง เขตบางพลี
1.3) การไฟฟ้านครหลวง เขตประเวศ
1.4) การไฟฟ้านครหลวง เขตราษฎร์บรู ณะ
2) สถิตกิ ารใช้ไฟฟา้
สำ� หรบั การใหบ้ รกิ ารไฟฟา้ ในพนื้ ท่ี เมอ่ื ปี พ.ศ. 2559 พบวา่ มจี ำ� นวนผใู้ ชก้ ระแสไฟฟา้ ทง้ั สน้ิ 461,517 ราย
ใช้กระแสไฟฟา้ รวม 10,005 ล้านกิโลวตั ต/์ ชวั่ โมง โดยใชใ้ นทอ่ี ยอู่ าศัยจ�ำนวน 1,445 ล้านกโิ ลวัตต์/ช่ัวโมง สถานธรุ กจิ และ
อุตสาหกรรม จำ� นวน 8,312 ล้านกิโลวตั ต/์ ชัว่ โมง และอน่ื ๆ จำ� นวน 248 ลา้ นกโิ ลวัตต์/ช่วั โมง ซงึ่ มแี นวโนม้ เพมิ่ ขน้ึ เรื่อย ๆ
รายเอียดดังตารางท่ี 1.14

ตารางท่ี 1.14 สถิติผู้ใชไ้ ฟฟา้ และการจ�ำหน่ายพลังงานไฟฟา้ ของการไฟฟา้ นครหลวง
จำ� แนกตามประเภทผใู้ ช้ จงั หวัดสมุทรปราการ พ.ศ. 2556 - 2559

ประเภทผใู้ ช้ พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559

จำ� นวนผใู้ ชไ้ ฟฟา้ (ราย) 413,082 433,057 443,224 461,517
พลังงานไฟฟา้ ท่จี ำ� หนา่ ยและใช้ (กโิ ลวัตต์-ชว่ั โมง) 9,292,128,316 9,417,229,005 9,582,473,251 10,005,960,749
บ้านอยูอ่ าศัย 1,175,627,359 1,244,319,237 1,354,600,291 1,445,352,060
กิจการขนาดเล็ก 841,427,453 837,964,312 867,586,151
กิจการขนาดกลาง 1,652,431,077 1,707,216,731 1,790,630,130 907,071,239
กจิ การขนาดใหญ่ 5,436,242,822 5,416,398,400 5,341,589,138 1,635,155,155
อื่น ๆ* 186,399,605 211,330,325 228,067,541 5,769,974,801
248,407,494

หแหมลาย่งทเหม่ี ตา*ุ : การไฟฟา้ นครหลวง
ผู้ใชไ้ ฟฟ้าประเภท กิจการเฉพาะอยา่ ง องคก์ รทไี่ มแ่ สงหาก�ำไร สบู นำ้� เพื่อการเกษตรไฟฟ้าชัว่ คราว และไฟฟรี

บา้ นอยู่อาศยั 111,1,12,,374455444,5,63,,623107590,2,32,,2503996710 พ.ศ. 2559
กจิ การขนาดเลก้ 888934607177,,,,945062874761,,,,341215532319 พ.ศ. 2558
กิจการขนาดกลาง พ.ศ. 2557
กิจการขนาดใหญ๋ 1111,,,66,7735095270,,,14,2653135160,,,10,7157335710 555,,3,445413,71666,,5,329894,96827,,1,484302,880201 พ.ศ. 2556

อน�ื ๆ 122281486188,,,3,34093069077,,,6,34502945541

0 4,000,000,000

ภาพที่ 1.22 สถิตผิ ูใ้ ช้ไฟฟา้ และการจ�ำหนา่ ยพลงั งานไฟฟา้ ของการไฟฟา้ นครหลวง จำ� แนกตาม
ประเภทผู้ใช้ จังหวดั สมุทรปราการ พ.ศ. 2556 - 2559

38 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นักงานจังหวดั สมุทรปราการ

1.8.3 การประปา
จังหวัดสมุทรปราการอยู่ในความรับผิดชอบของการประปานครหลวง โดยส�ำนักงานการประปานครหลวง
สมุทรปราการได้ราบงานข้อมูลในภาพรวมปี พ.ศ. 2559 จ�ำนวนผู้ใช้น้�ำประปาท้ังส้ิน 334,483 ราย และมีปริมาณน้�ำ
ท่ีจ�ำหน่ายแก่ผู้ใช้ 243,081,032 ลูกบาศก์เมตร มีผู้ใช้น้�ำสูงสุดในอ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ อ�ำเภอบางพลี และอ�ำเภอ
พระประแดง ตามลำ� ดับ ดงั ตารางที่ 1.15

ตารางท่ี 1.15 สถิตกิ ารประปา เป็นรายอ�ำเภอ พ.ศ. 2559

พื้นท่ี ปริมาณน้ำ� ท่ีจำ� หน่ายแกผ่ ูใ้ ช้ (ลบ.ม.) ผู้ใชน้ ำ้� (ราย)
Water sales (Cu.M.) Consumers (Persons)
จงั หวดั สมุทรปราการ 243,081,032
เมอื งสมทุ รปราการ 90,089,894 334,483
บางบ่อ 17,099,255 140,142
บางพลี 61,026,933 21,508
พระประแดง 33,386,145 76,531
พระสมุทรเจดยี ์ 17,602,705 41,106
บางเสาธง 23,876,100 35,284
19,912

1.8.4 การบริการโทรศัพท์
1) ชมุ สายโทรศพั ท์ทใ่ี หบ้ รกิ ารในพื้นท่ี
จังหวัดสมุทรปราการมีชุมสายโทรศัพท์ท่ีเปิดด�ำเนินการให้บริการประชาชนครอบคลุมทุกพ้ืนท่ี
ในจังหวดั สมทุ รปราการ มชี ุมสายโทรศัพทท์ เี่ ปดิ ด�ำเนินการ จ�ำนวน 9 ชุมสาย ไดแ้ ก่
(1) ชมุ สายโทรศพั ทส์ มทุ รปราการ ตง้ั อยถู่ นนสขุ มุ วทิ อำ� เภอเมอื งสมทุ รปราการ เขตรบั ผดิ ชอบคอื บรเิ วณ
สะพานวนั มหาวงษเ์ ขตเทศบาลเมอื งสมทุ รปราการ จนถงึ บรเิ วณถนนสขุ มุ วทิ (สายเกา่ ) กม.ที่ 30
(2) ชุมสายโทรศัพท์บางปู ต้ังอยู่ในเขตอ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ เขตรับผิดชอบคือ บริเวณกิโลเมตร
ที่ 30 ถนนสุขมุ วิท ไปจนสุดเขตบางปใู หม่
(3) ชุมสายโทรศัพท์ปู่เจ้าสมิงพราย ต้ังอยู่ในเขตอ�ำเภอพระประแดง เขตรับผิดชอบคือ บริเวณเชิง
สะพานวัดมหาวงษ์ ถนนเทพารกั ษ์ ปากซอยสขุ มุ วิท 109 และในบริเวณวดั ด่านส�ำโรง
(4) ชุมสายโทรศพั ทบ์ างนา ตง้ั อยู่ถนนบางนา-ตราด เขตรบั ผิดชอบคอื บรเิ วณซอยสุขมุ วทิ 101/1 -10
(5) ชุมสายโทรศัพท์บางพลี ตั้งอยู่ในเขตอ�ำเภอบางพลี เขตรับผิดชอบคือ ถนนบางนา-ตราด กม.5
ถงึ กม.23 และถนนเทพารกั ษ์ กม. 12-กม. 17 ทงั้ 2 ฝงั่
(6) ชุมสายโทรศัพท์บางพลี-บางบ่อ ตั้งอยู่ในเขตอ�ำเภอบางพลี เขตรับผิดชอบคือ ถนนบางนา-ตราด
กม. 23- กม. 25 และถนนเทพารกั ษ์ กม.17 ถึงนิคมอตุ สาหกรรมบางพลี
(7) ชุมสายโทรศัพทน์ คิ มบางปู
(8) ชุมสายโทรศัพท์บางบอ่
(9) ชมุ สายโทรศัพท์บางนาทาวเวอร์
2) สถติ ิการใหบ้ ริการโทรศัพทใ์ นพืน้ ที่
จังหวัดสมุทรปราการมีเลขหมายโทรศัพท์ของบริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน)ท้ังหมด จำ� นวน 83,349
หมายเลข ในปี พ.ศ. 2559 มีผู้ขอเช่าหมายเลขเป็นผู้ประกอบธุรกิจ จ�ำนวน 10,953 หมายเลข บ้านพักอาศัยจ�ำนวน
28,536 หมายเลข และสถานทีร่ าชการจำ� นวน 764 หมายเลข รวมทง้ั มีการใหบ้ ริการโทรศัพท์สาธารณะ จำ� นวน 650 คู่
สาย ซง่ึ ปัจจุบนั เป็นของบริษทั ทีโอที จ�ำกดั (มหาชน) ทง้ั หมด ไมม่ บี ริษัทสัมปทาน ดังตารางที่ 1.16

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017 39

สำ�นกั งานจงั หวดั สมทุ รปราการ

ตารางท่ี 1.16 แสดงการใหบ้ รกิ ารโทรศพั ท์ พ.ศ. 2556 – 2559

รายการ พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559
เลขหมายโทรศพั ท์ท่มี (ี 1)       

บริษทั ทโี อที จำ� กดั (มหาชน) 83,349 83,349 83,349 83,349

บรษิ ทั สมั ปทาน  -  -  -  -

เลขหมายโทรศัพทท์ มี่ ผี ้เู ช่า     

บรษิ ทั ทโี อที จ�ำกดั (มหาชน)

ธุรกิจ 10,926 10,629 9,381 10,953

บา้ นพัก 33,409 32,590 32,878 28,536

ราชการ 912 857 1,053 764

บรษิ ัท ทโี อที จ�ำกัด (มหาชน) - ---

โทรศัพท์สาธารณะ(2) 718 537 650 650

บริษัทสมั ปทาน - ---

แหลง่ ที่มา: บรษิ ทั ทโี อที จ�ำกัด (มหาชน)
หมายเหตุ (1) ประกอบดว้ ยเลขหมายโทรศัพทป์ ระจ�ำที่ และสาธารณะ

(2) แสดงข้อมลู เฉพาะ ท่ี บรษิ ัท ทโี อที จำ� กัด (มหาชน) ดำ� เนินการเอง ไม่รวมทบ่ี รษิ ทั ทโี อที จ�ำกัด (มหาชน)
เชา่ ตู้/เครื่อง และท่ีให้สิทธแิ ก่ กสท.

1.8.5 การบรกิ ารไปรษณีย์
1) ชุมสายโทรศัพทท์ ี่ใหบ้ รกิ ารในพืน้ ท่ี
จังหวัดสมุทรปราการมีท่ีท�ำการไปรษณีย์ครอบคลุมและกระจายในทุกอ�ำเภอ โดยมีที่ท�ำการไปรษณีย์
ท้ังหมด 16 แห่ง ซ่ึงมีมากในอ�ำเภอเมืองสมุทรปราการ อ�ำเภอพระประแดง และอ�ำเภอบางพลี เนื่องจากเป็นศูนย์กลาง
ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และมีประชาชากรอาศัยอยู่หนาแน่น รวมท้ังยังมีร้านไปรษณีย์ ที่คอยให้บริการในทุกพ้ืนท่ีอีก
จำ� นวน 8 แหง่ ดงั ตารางท่ี 1.17 และ 1.18

ตารางท่ี 1.17 แสดงข้อมลู ไปรษณยี ์ไทย และรา้ นไปรษณยี ไ์ ทยในจังหวัดสมุทรปราการ

ที่ รหสั ไปรษณยี ์ ชอื่ ท่ีท�ำการ/หน่วยงาน ทีอ่ ยู่

1 10270 ปจ.สมุทรปราการ 87 ถ.สขุ ุมวิท ต.ปากน้�ำ อ.เมอื งฯ

2 10270 ปณ.ดา่ นสำ� โรง 173/1-2 ม. 5 ถ. ศรนี ครนิ ทร์ ต.สำ� โรงเหนอื อ.เมืองฯ

3 10270 ปณ.บางปู 400 ม.2 ถ.สุขุมวิท ต.ท้ายบา้ น อ.เมืองฯ

4 10270 ปณ.ปากน้ำ� 5 ม.2 ถ.สุทธภิ ิรมย์ ต.ปากน�้ำ อ.เมอื งฯ

5 10270 ปณ.สำ� โรง 176-177 ม.9 ถ.สขุ มุ วิท ต.เทพารักษ์ อ.เมอื งฯ

6 10560 ปณ.บางบอ่ 323 ม.1 ถ.รตั นราช ต.บางบอ่ อ.บางบ่อ

7 10550 ปณ.คลองดา่ น 151/1 ม. ต.คลองด่าน อ.บางบอ่

40 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นักงานจังหวัดสมทุ รปราการ

ตารางท่ี 1.17 แสดงขอ้ มลู ไปรษณียไ์ ทย และรา้ นไปรษณยี ์ไทยในจังหวดั สมุทรปราการ (ต่อ)

ท่ี รหสั ไปรษณีย์ ช่ือทีท่ ำ� การ/หนว่ ยงาน ที่อยู่
8 10540 ปณ.บางพลี 99/4 ม.12 ถ.รตั นพิศาล ต.บางพลใี หญ่ อ.บางพลี
2/3 ม. 14 ซ.อาคารบางนาทาว์เวอร์ ชนั้ เอ ถ.บางนา-ตราด
9 10540 ปณ.บางนาทาวเ์ วอร์ ต.บางแก้ว อ.บางพลี
ทา่ อากาศยานสวุ รรณภูมิ ต.หนองปรือ อ.บางพลี
10 10540 ปณ.ทา่ อากาศยานสวุ รรณภมู ิ ทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิ ม.7 ต.ราชาเทวะ อ.บางพลี
11 10540 ศนู ย์ไปรษณียส์ วุ รรณภมู ิ 213/2 ม. 1 ต.บางเสาธง อ.บางเสาธง
12 10542 39 ม.18 ถ.สขุ สวสั ด์ิ ต.บางพึง อ.พระประแดง
13 10130 ปณ.บางเสาธง 40 ถ.ศรีนครเขื่อนขนั ธ์ ต.ตลาด อ.พระประแดง
14 10130 ปณ.พระประแดง 14/14-15 ถ.ปเู่ จ้าสมงิ พราย ต.ส�ำโรงกลาง อ.พระประแดง
15 10130 193 ม. 3 ถ.สุขสวัสดิ์ ต.ปากคลองบางปลากด อ.พระสมทุ รเจดีย์
16 10290 ปณ.ปากลดั
ปณ.ส�ำโรงใต้
ปณ.พระสมทุ รเจดีย์

แหล่งทม่ี า: ที่ท�ำการไปรษณยี ไ์ ทย (Thailand Post)

ตารางที่ 1.18 แสดงข้อมลู ร้านไปรษณีย์ไทยในจังหวัดสมุทรปราการ ทอ่ี ยู่
ท่ี ชื่อท่ีทำ� การ/หนว่ ยงาน 143 ถ.ศรสี มทุ ร ต.ปากนำ้� อ.เมืองฯ
1 ปณร.สมุทรปราการ201 (ศรีสมทุ ร) 420/185 ม.5 ถ.เทพารกั ษ์ อ.เมอื งฯ
2 ปณร.สมทุ รปราการ 202 (เทพารกั ษ์)  431/6 ม. 3 ต. แพรกษา อ. เมืองฯ
3 ปณร.สมุทรปราการ 201 (แพรกษา)  CG 46 ชั้น 1 เลขที่ 999 ถ.สขุ มุ วทิ ต.ส�ำโรง อ.เมืองฯ
4 ปณร.สมุทรปราการ 203 (อิมพเี รียลสำ� โรง)  228 ม. 5 ต. บางเมือง อ.เมอื งฯ
5 ปณร.สมุทรปราการ 204 (ทรพั ยบ์ ญุ ชัย)  1054/9 ม. 6 ถ. เทพารกั ษ์ อ.เมืองฯ
6 ปณร.สมุทรปราการ 205 (ตลาดหนามแดง)  128/25 ม. 1 ถ. เทพารกั ษ์ อ.บางพลี
7 ปณร.บางพลี 201 (ตลาดไทยประกัน)  36/14 ม.1 ต.ราชาเทวะ อ.บางพลี
8 ปณร.บางพลี 202 (กงิ่ แก้ว 4) 

แหลง่ ท่มี า: ท่ที ำ� การไปรษณีย์ไทย (Thailand Post)

1.9 ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

1.9.1 ทรพั ยากรนำ้�
1) ลักษณะทางกายภาพ
ลักษณะทางกายภาพของจังหวัดสมุทรปราการ เป็นท่ีราบลุ่มชายฝั่งทะเล มีระดับความสูงของผิวดิน
จากระดับน�้ำทะเลปานกลางระหว่าง +0.50 ถึง +1.50 เมตร รทก. แหล่งน้�ำส�ำคัญของจังหวัดมี 2 แหล่ง ได้แก่
แม่น�้ำเจ้าพระยาและคลองระบายน�้ำในพื้นที่ ซึ่งนอกจากจะท�ำหน้าท่ีเป็นแหล่งน้�ำส�ำหรับเกษตรกรรม การประมงและ
เป็นเส้นทางคมนาคมทางน้�ำแล้ว ยังท�ำหน้าที่ในการรองรับน้�ำเหนือในฤดูฝน เพ่ือระบายลงสู่ทะเลอ่าวไทย ซ่ึงมีแหล่งน�้ำ
ทีส่ �ำคญั ดังน้ี

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017 41

ส�ำ นักงานจังหวดั สมุทรปราการ

1.1) แม่นำ้� เจา้ พระยา
แม่น�้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น�้ำส�ำคัญท่ีไหลผ่านเขตจังหวัดสมุทรปราการ มีแนวการไหลจากทศิ เหนอื
ลงสู่ทิศใต้ ต่อเนื่องจากเขตกรุงเทพมหานคร โดยไหลผ่านอ�ำเภอพระประแดง อ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์ และอ�ำเภอเมือง
สมุทรปราการ ระยะทางประมาณ 30 กิโลเมตร แม้ว่าแม่น้�ำเจ้าพระยาจะเป็นแหล่งน�้ำที่หล่อเล้ียงพื้นท่ีการเกษตรใน
ภาคกลาง แต่เนื่องจากแม่น�้ำเจ้าพระยาช่วงท่ีไหลผ่านจังหวัดสมุทรปราการ มีคุณภาพน้�ำลดลงรวมท้ังได้รับอิทธิพลจาก
ความเค็มของน�้ำทะเล ประกอบกับเขตพ้ืนท่ีท่ีแม่น�้ำไหลผ่านมีการท�ำการเกษตรเพียงส่วนน้อยในเขตอ�ำเภอพระประแดง
ดังนัน้ การใช้ประโยชนจ์ ากแมน่ ำ�้ เจ้าพระยาจงึ มีเฉพาะ ด้านการระบายน�ำ้ และการคมนาคมทางนำ้� เปน็ หลกั
1.2) คลองระบายนำ้�
คลองระบายน้�ำ เป็นแหล่งน้�ำส�ำคัญที่ใช้ในการบริหารจัดการด้านการชลประทานของจังหวัด
สมุทรปราการ เนอื่ งจากจังหวัดสมุทรปราการมีระบบคลองในพ้นื ทีเ่ ชื่อมโยงกันเป็นจำ� นวนมาก คลองบางสาย เช่น คลอง
ประเวศบุรีรมย์ คลองส�ำโรง คลองด่าน ถูกขุดขึ้นตั้งแต่สมัยอยุธยา ปัจจุบันพื้นท่ีการเกษตรในจังหวัดสมุทรปราการได้รับ
น้�ำต้นทนุ จากคลองสายตา่ ง ๆ ซ่ึงได้รบั ปรมิ าณน้�ำจากแหล่งน้ำ� ในจังหวดั พืน้ ทีต่ อนบนอีกทอดหนึ่ง ท�ำใหใ้ นฤดูแล้งประสบ
ปัญหาขาดแคลนนำ้� โดยไมส่ ามารถกำ� หนดปรมิ าณน้�ำได้ตามระยะเวลา รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 1.19

ตารางที่ 1.19 แสดงข้อมูลรายชือ่ คลองสายต่าง ๆ ในเขตจังหวดั ฝ่งั ตะวันออก จ�ำแนกตามความรบั ผิดชอบ

ประเภท ขนาดคลอง ความลกึ ปรมิ าณน�้ำ หนว่ ย
ลำ� ดบั ช่ือคลอง คลอง ความยาว ทอ้ งคลอง ตลิ่งกว้าง เฉล่ีย(ม.) เกบ็ กกั สงู สุด งาน
1 คลองดา่ น ชป. (กม.) เฉลย่ี (ม.) เฉลี่ย(ม.) ชป.
2 บางปลา ชป. 9.000 25 60 3.50 (ลบ.ม.) ชป.
3 เจรญิ ราษฎร์ ชป. 10.850 16 40 3.20 1,338,750 ชป.
4 ชายทะเล ชป. 10.480 12 30 3.00 972,160 ชป.
5 จระเขใ้ หญ่ ชป. 30.000 15 40 3.20 660,240 ชป.
6 ลาดบวั - บางพลี ชป. 17.145 16 40 3.00 2,640,000 ชป.
7 เสาธง - เพชรพชิ ัย ชป. 14.550 8 30 3.00 1,440,180 ชป.
8 ส�ำโรง ชป. 16.000 12 30 3.00 829,350 ชป.
9 บางโฉลง ชป. 38.150 16 45 3.20 1,008,000 ชป.
10 กันยา ชป. 13.100 16 40 3.00 3,723,440 ชป.
11 ประเวศบุรรี มย์ ชป. 6.000 4 25 3.00 1,100,400 ชป.
12 บ้านระกาศ ชป. 11.000 16 40 3.00 261,000 ชป.
13 ชวดพร้าว ชป. 6.500 12 30 3.00 924,000 ชป.
14 เปร็ง ชป. 5.000 12 30 3.00 409,500 ชป.
15 พระองค์ไชยานชุ ิต ชป. 7.000 12 30 3.00 315,000 ชป.
16 สุวรรณภูมิ ชป. 14.500 25 50 3.50 441,000 ชป.
17 บางคลี่ ธรรมชาติ 10.120 48 75 3.50 1,903,125 อปท.
18 ปนั้ หยา - ธรรมชาติ 11.760 4 25 2.50 2,000,000 อปท.
บางเพรียง 8.220 4 25 2.50 426,300
19 โก่งประทนุ ธรรมชาติ 2.50 297,975
20 บางปลาร้า ธรรมชาติ 2.50
21 บางปู ธรรมชาติ 4.670 4 20 2.50 140,100 อปท.
22 มหาชนื้ ธรรมชาติ 12.580 4 20 2.50 377,400 อปท.
23 ลาดหวาย ธรรมชาติ 2.500 4 20 2.50 75,000 อปท.
4.615 4 20 138,450 อปท.
10.430 6 25 404,163 อปท.

42 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

สำ�นักงานจังหวดั สมทุ รปราการ

ตารางท่ี 1.19 แสดงขอ้ มลู รายชอื่ คลองสายตา่ ง ๆ ในเขตจงั หวดั ฝง่ั ตะวนั ออก จำ� แนกตามความรบั ผดิ ชอบ (ตอ่ )

ลำ� ดบั ชือ่ คลอง ประเภท ความยาว ขนาดคลอง ความลึก ปริมาณน้�ำ หนว่ ย
24 สกัดย่ีสิบหา้ คลอง (กม.) ท้องคลอง ตลง่ิ กวา้ ง เฉลย่ี (ม.) เกบ็ กกั สูงสดุ งาน
25 สกดั ห้าสิบ ธรรมชาติ 3.230 เฉลีย่ (ม.) เฉล่ีย(ม.) 2.50 อปท.
26 หวั เกลือ ธรรมชาติ 4.300 2.50 (ลบ.ม.) อปท.
27 อ้อมคลองดา่ น ธรรมชาติ 6.190 4 15 2.50 76,713 อปท.
28 หกสว่ น ธรรมชาติ 1.100 4 15 3.20 102,125 อปท.
29 ทบั นาง - ต�ำหรุ ธรรมชาติ 4.450 4 20 2.50 185,700 อปท.
30 ควาย ธรรมชาติ 20 50 2.50 123,200 อปท.
31 หนองคา ธรรมชาติ 11.300 4 18 2.50 122,375 อปท.
32 หนง่ึ บางปลา ธรรมชาติ 3.100 4 18 2.50 310,750 อปท.
33 สองบางปลา ธรรมชาติ 2.800 6 25 2.50 120,125 อปท.
34 สามบางปลา ธรรมชาติ 6.000 4 18 2.50 77,000 อปท.
35 สบี่ างปลา ธรรมชาติ 6.000 4 18 2.50 165,000 อปท.
36 ห้าบางปลา ธรรมชาติ 6.000 4 18 2.50 165,000 อปท.
37 หกบางปลา ธรรมชาติ 9.500 4 18 2.50 165,000 อปท.
38 เจ็ดบางปลา ธรรมชาติ 9.500 5 20 2.50 296,875 อปท.
39 แปดบางปลา ธรรมชาติ 9.500 5 20 2.50 296,875 อปท.
40 เกา้ บางปลา ธรรมชาติ 8.500 4 15 2.50 225,625 อปท.
41 บางน�ำ้ จืด ธรรมชาติ 7.800 4 20 2.50 255,000 อปท.
42 มอญ (จรเข้นอ้ ย) ธรรมชาติ 7.500 4 15 2.50 185,250 อปท.
43 กาหลง ธรรมชาติ 11.200 5 20 2.50 234,375 อปท.
44 ชวดงูเหา่ ธรรมชาติ 5.150 12 30 2.50 588,000 อปท.
45 ชวดบัว ธรรมชาติ 7.240 5 25 2.50 193,125 อปท.
46 ชวดใหญ่ ธรรมชาติ 6.800 5 20 2.50 226,250 อปท.
47 ตาปู ธรรมชาติ 2.280 4 20 2.50 204,000 อปท.
48 บางกระเทียม ธรรมชาติ 1.600 4 20 2.50 68,400 อปท.
49 บางนา ธรรมชาติ 5.420 5 25 2.50 60,000 อปท.
50 ปากน�้ำ ธรรมชาติ 6.950 4 20 2.50 162,600 อปท.
51 มอญ ธรรมชาติ 4.250 5 25 2.50 260,625 อปท.
52 ลำ� ตน้ ไทร ธรรมชาติ 5.500 5 25 2.50 159,375 อปท.
53 สาระหงษ์ ธรรมชาติ 5.140 5 25 2.50 206,250 อปท.
54 สนามพลี ธรรมชาติ 3.520 4 20 2.50 154,200 อปท.
55 โอ่งแตก ธรรมชาติ 4.500 4 20 2.50 105,600 อปท.
56 บางเสาธง ธรรมชาติ 7.350 4 20 2.50 135,000 อปท.
57 บางพลี ธรรมชาติ 4.640 4 20 2.50 220,500 อปท.
58 บางเซา ธรรมชาติ 3.880 4 20 2.50 139,200 อปท.
59 ชา้ งตายบน ธรรมชาติ 2.540 4 20 2.50 116,400 อปท.
60 ช้างตายลา่ ง ธรรมชาติ 9.200 4 20 2.50 76,200 อปท.
ธรรมชาติ 1.600 4 20 2.50 276,000 อปท.
3.880 4 20 48,000
5 25 145,500

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017 43

ส�ำ นักงานจังหวัดสมทุ รปราการ

ตารางท่ี 1.19 แสดงขอ้ มลู รายชอื่ คลองสายตา่ ง ๆ ในเขตจงั หวดั ฝง่ั ตะวนั ออก จำ� แนกตามความรบั ผดิ ชอบ (ตอ่ )

ลำ� ดบั ชอื่ คลอง ประเภท ความยาว ขนาดคลอง ความลกึ ปริมาณนำ�้ หนว่ ย
คลอง (กม.) ท้องคลอง ตล่ิงกวา้ ง เฉล่ีย(ม.) เกบ็ กักสงู สดุ งาน
61 บางขวาง 4.430 เฉลย่ี (ม.) เฉล่ยี (ม.)
62 บางลำ� พู ธรรมชาติ 1.400 2.00 (ลบ.ม.) อปท.
63 ศาลเจา้ ธรรมชาติ 1.400 3 12 2.00 66,450 อปท.
64 บางกะสบี น ธรรมชาติ 1.467 2.00 21,000 อปท.
ธรรมชาติ 492,277 3 12 2.00 21,000 อปท.
รวม 22,005
3 12 28,608,200

3 12

แหล่งท่มี า: โครงการบำ� รงุ รกั ษาชลหารพจิ ติ รสมทุ รปราการ พ.ศ. 2559

2) การบริหารจดั การน�ำ้
จากลักษณะทางกายภาพของจังหวัดสมุทรปราการ สามารถแบ่งส่วนการบริหารจัดการน้�ำ ตาม
ลักษณะพนื้ ท่ีได้ 3 สว่ น ประกอบด้วย
2.1) พน้ื ทฝี่ ง่ั ตะวันตกของแมน่ ้�ำเจา้ พระยา
บริเวณอ�ำเภอพระประแดง และอ�ำเภอ พระสมุทรเจดีย์ จ�ำนวน 170 ตารางกิโลเมตร หรือ
106,250 ไร่ เป็นพื้นท่ีไม่มีระบบชลประทานอาศัยการเก็บกักน้�ำในคลองท่ีรับน้�ำจากแม่นำ�้ เจ้าพระยาและน้�ำทะเลซึ่งเป็น
น้ำ� กรอ่ ยท้ังหมด
2.2) พ้ืนท่ฝี งั่ ตะวนั ออกของแม่น้�ำเจ้าพระยา ดา้ นภายในคันกั้นน้ำ� พระราชด�ำริ
บริเวณพื้นที่ปิดล้อมระหว่างแม่น�้ำเจ้าพระยาและแนวคันก้ันน้�ำพระราชด�ำริ ในเขตอ�ำเภอเมือง
สมุทรปราการ และบางส่วนของอ�ำเภอบางพลี จ�ำนวน 210 ตารางกิโลเมตร หรือ 131,250 ไร่ เป็นพ้ืนที่เขตชุมชนเมือง
นอกเขตชลประทาน แต่สามารถรับน้�ำจากคลองชลประทานภายนอกเข้าไปใช้บริหารจัดการได้ โดยมีพื้นท่ีท�ำการเกษตร
จำ� นวนนอ้ ย ส่วนใหญ่ใชป้ ระโยชน์จากแหล่งน้ำ� เพ่อื การระบายน�ำ้ และรกั ษาระบบนิเวศนใ์ นเขตเมืองเปน็ หลกั
2.3) พืน้ ที่ฝั่งตะวนั ออกของแมน่ �้ำเจ้าพระยา ด้านนอกแนวคนั กน้ั น�้ำพระราชดำ� ริ
ในเขตอำ� เภอบางบอ่ อำ� เภอบางเสาธง และบางส่วนของอำ� เภอเมืองสมทุ รปราการ อ�ำเภอบางพลี
จ�ำนวน 264 ตารางกิโลเมตร หรือ 390,000 ไร่ เป็นพ้ืนท่ีในเขตชลประทานลุ่มเจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก รับน้�ำจาก
เขื่อนเจา้ พระยาและเขือ่ นปา่ สักชลสทิ ธิ์
ส�ำหรับแนวคันก้ันน�้ำพระราชด�ำริเป็นคันป้องกันน�้ำท่วม (King dike) ท่ีพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยหู่ วั รชั กาลที่ 9 ได้ทรงพระราชทานแนวทางป้องกันอทุ กภัยท่ีเกดิ ข้ึนในปี 2523 และ 2526 โดยใชแ้ นวถนนใน
ทิศทางเหนือ-ใต้ ตั้งแต่บริเวณจังหวัดปทุมธานี ผ่านกรุงเทพมหานคร และจรดแนวชายทะเลในเขตจังหวัดสมุทรปราการ
โดยในเขตจังหวัดสมุทรปราการใช้แนวถนนก่ิงแก้วและถนนบางพลี-ตำ� หรุเป็นแนวคันก้ันน้�ำ ปัจจุบันพื้นท่ีนอกแนวคัน
ก้ันน�้ำซึ่งเป็นพื้นท่ีรองรับการระบายน�้ำตามแนวพระราชด�ำริ ประกอบด้วย คลองระบายน้�ำตามธรรมชาติเช่ือมโยงถึงกัน
จ�ำนวน 63 สาย ปริมาณน้�ำเก็บกักสูงสุดประมาณ 26.600 ล้านลูกบาศก์เมตร โดยคลองทั้งหมดมีลักษณะเป็นคลองดิน
มีการใช้ประโยชน์ท้ังในด้านการส่งน้�ำและระบายน้�ำควบคู่กันไป คลองที่ส�ำคัญได้แก่คลองประเวศบุรีรมย์ คลองพระองค์
ไชยานุชิต คลองส�ำโรง คลองด่าน คลองลาดกระบัง คลองบางโฉลง คลองจระเข้ใหญ่ คลองบางเสาธง คลองบางปลา
คลองชายทะเล คลองเจริญราษฎร์ และคลองระบายน้�ำสุวรรณภูมิ ซ่ึงอยู่ในความรับผิดชอบ ตาม พรบ.การชลประทาน
หลวง พ.ศ. 2485 สำ� หรบั คลองขนาดเลก็ ตา่ งๆอยใู่ นความรบั ผดิ ชอบขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ มจี ำ� นวน 48 คลอง

44 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

สำ�นักงานจังหวดั สมุทรปราการ

1.9.2 ทรพั ยากรดนิ ลักษณะดินโดยท่ัวไปเกดิ จากกระบวนการ 3 ลักษณะ
1) เกดิ จากการทับถมของตะกอน นำ้� ทะเลบนขวากทะเล (estuarine)
2) เกิดจากการทับถมของตะกอนนำ้� กรอ่ ย หรือตะกอนน�้ำทะเลบนที่ราบนำ้� ทะเลเคยทว่ มถงึ
3) เกิดจากการทบั ถมของตะกอนนำ้� กร่อยทบั ตะกอนน้�ำทะเลบนท่รี าบน�้ำทะเลเคยท่วมถึง
ลักษณะเนื้อดินบนและดินล่างเป็นดินเหนียว หรือดินเหนียวปนทรายแห้ง ดินเป็นกรดจัดมากถึงด่าง
ปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลางถึงสูง บางบริเวณเป็นดินเค็มและดินกรดเนื่องจากมีน�้ำทะเลท่วมถึง และ
พบปริมาณก�ำมะถันหรือสารจาโรไซด์ในดินสูง ลักษณะดินท่ีพบในจังหวัดฯ สามารถจ�ำแนกได้ทั้งหมด 8 ชุดดิน คือ
(1) ดินชุดท่าจีน (2) ดินชุดบางปะกง (3) ดินชุดชะอ�ำ (4) ดินชุดสมุทรปราการ (5) ดินชุดสมุทรสงคราม (6) ดินชุด
บางกอก (7)ดนิ ชดุ บางน�ำ้ เปร้ยี ว และ (8) ดินชุดฉะเชงิ เทรา
1.9.3 ทรพั ยากรปา่ ชายเลน
จังหวัดสมุทรปราการเป็นจังหวัดที่มีพื้นท่ีส่วนใหญ่เป็นท่ีราบลุ่ม และที่ราบลุ่มปากแม่น�้ำ ดังน้ัน จึงมีพ้ืนที่
ป่าชายเลน ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 12,524.17 ไร่ ดินป่าชายเลนในจังหวัดฯ สามารถขุดหน้าตัดดินได้ลึกประมาณ
40 เซนตเิ มตร เกือบทงั้ หมดเปน็ ดินเหนยี วที่มีเน้อื ละเอยี ดมาก (มีขนาดเส้นผา่ นศนู ยก์ ลางน้อยกว่า 1 มลิ ลเิ มตร) สว่ นมาก
มกี ลนิ่ ของซากพชื ซากสตั ว์ ดนิ สว่ นใหญม่ สี ใี นกลมุ่ สนี า้ ตาล (7.5YR) และกลมุ่ สเี ทาอมฟา้ G2) 4 ท่ีความลึก 0-5 เซนติเมตร
อณุ หภมู ดิ ินอยู่ในชว่ ง 27.0-31.0 องศาเซลเซยี ส (เฉล่ีย 29.0 องศาเซลเซยี ส) มีคา่ pH อย่รู ะหวา่ ง 6.0-6.4 จัดอยู่ในกลมุ่
ดินท่ีมีความเป็นกรดปานกลาง ส่วนที่ความลึก 5-40 เซนติเมตร อุณหภูมิอยู่ในช่วงระหว่าง 25.0-28.0 องศาเซลเซียส
ที่ความลึกจากผิวดินลึกลงไปถึงระดับ 40 เซนติเมตร บนพ้ืนท่ีหน้าตัดส่วนมากพบรากไม้ปะปน และปริมาณจุดประ
(Jarosite)ในชั้นหน้าตัดดินระหว่างร้อยละ 2-20 แต่ไม่พบหินปะปนในช้ันหน้าตัดดินน้ี ปริมาณคาร์บอนรวมอยู่ในช่วง
รอ้ ยละ 1.78-3.67 โดยมีคา่ เฉลยี่ ร้อยละ 2.73 ปรมิ าณไนโตรเจน รวมอย่ใู นชว่ งรอ้ ยละ 0.23-0.41 ค่าเฉลี่ยเทา่ กับ 0.32
ค่า C:N ratio ของดินโดยรวมของจังหวัดสมุทรปราการเท่ากับ 8.5:1 บ่งช้ีว่าดินเลนบริเวณนี้มีไนโตรเจนในปริมาณท่ี
คอ่ นข้างมากเกินไป เทยี บกับปรมิ าณคาร์บอนในดนิ ปริมาณฟอสฟอรสั รวมอยใู่ นชว่ งร้อยละ 0.100-0.141 ค่าเฉล่ียเทา่ กับ
0.120
1) พันธ์ุไมแ้ ละลกั ษณะโครงสร้างปา่ ชายเลน
พนั ธไุ์ มเ้ ดน่ ในปา่ ชายเลนพื้นท่ีจังหวดั สมทุ รปราการ มจี �ำนวน 2 วงศ์ 2 สกลุ และ 4 ชนดิ คอื แสมทะเล,
แสมขาว, แสมด�ำ และโกงกางใบเล็ก ความหนาแน่นเฉลี่ยรวมของต้นไม้ต่อพ้ืนที่เท่ากับ 225.26 ต้น/ไร่ มีขนาด
เสน้ ผ่าศูนยก์ ลางเฉล่ยี และความสงู เฉล่ีย เท่ากับ 11.12 เซนตเิ มตร และ 7.36 เมตร ตามลำ� ดับ คา่ ดชั นคี วามหลากหลาย
ทางชนดิ พนั ธ์ุ (Shannon-Wiener diversity index) มคี า่ เทา่ กบั 0.1688 คา่ ความชกุ ชมุ ทางชนดิ พนั ธ์ุ (Margalef’s index)
เทา่ กบั 1.0996 และคา่ ความสมำ�่ เสมอทางชนดิ พนั ธ์ุ (Pielou’s evenness) เท่ากับ 0.2803 พันธุ์ไม้ท่ีมีค่าดัชนีความสำ� คัญ
(Important Value Index) สงู ทส่ี ดุ คอื แสมขาว มคี า่ เท่ากับ 182.56 รองลงมา คือ แสมทะเล เท่ากบั 61.72
2) สตั วท์ ี่พบในป่าชายเลน
สัตวท์ ่ีพบในป่าชายเลนจังหวัดสมทุ รปราการ ประกอบไปดว้ ย
2.1) กลมุ่ ของประชาคมสง่ิ มชี วี ติ พนื้ ปา่ ชายเลน (Mangrove Benthic Organism) หรอื สตั วห์ นา้ ดนิ พนื้ ปา่ ชาย
เลน ในจงั หวดั O พบมคี า่ ความหนาแนน่ เทา่ กบั 70.00 ตวั /ตารางเมตร มคี า่ ดชั นคี วามหลากหลาย (H/) เทา่ กบั 0.37 และมคี า่ ความ
สมำ�่ เสมอ (J/) เทา่ กบั 0.24 สตั วท์ พ่ี บไดแ้ ก่ หอยเรดเชลล์ ปแู สม ปกู า้ มดาบ และไสเ้ ดอื นทะเล
2.2) กลมุ่ ของนกในปา่ ชายเลน ในจงั หวดั สมทุ รปราการ พบจำ� นวน 16 ชนดิ 15 สกลุ 8 วงศ์ และ 4 อนั ดบั
ตวั อยา่ งนกทพี่ บไดแ้ ก่ นกตนี เทยี น นกหวั โตเลก็ ขาเหลอื ง นกกนิ เปย้ี ว เปน็ ตน้
2.3) กลมุ่ ของแมลง พบจำ� นวน 6 อนั ดบั 10 วงศ์ และ 13 ชนดิ ไดแ้ ก่ แมลงคอ่ มทอง, มวนหลงั แขง็ , ตอ่ , ผเี สอื้ เณร
ธรรมดา เปน็ ตน้ โดยไมส่ ามารถจำ� แนกวงศไ์ ด้ 1 ชนดิ ไดแ้ ก่ ผเี สอ้ื กลางวนั ฯลฯ

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 45

ส�ำ นกั งานจงั หวดั สมทุ รปราการ

3) การใชป้ ระโยชนท์ ี่ดินในพน้ื ท่ีป่าชายเลน
การเปลย่ี นแปลงพ้ืนที่ปา่ ชายเลนในจงั หวดั สมุทรปราการ เกิดจากการใช้ประโยชน์ท่ดี นิ ในพ้ืนที่ ปา่ ชาย
เลนเพื่อกจิ กรรมอื่น ๆ เชน่ การเกษตร นาเกลอื นากุ้ง ทา่ เทยี บเรอื เปน็ ตน้ จากโครงการจำ� แนกเขตการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดนิ
ป่าชายเลน พ.ศ. 2552 ได้จ�ำแนกเขตการใช้ประโยชนพ์ นื้ ท่ปี า่ ชายเลนออกเป็นพน้ื ทีต่ า่ ง ๆ แยกตามเขตการปกครองระดับ
อำ� เภอ ดังตารางที่ 1.20

ตารางท่ี 1.20 การจำ� แนกเขตการใช้ประโยชน์ท่ดี ินในพ้นื ที่ปา่ ชายเลน ตามเขตอ�ำเภอ

อำ�เภอ ปา่ ชายเลน (ไร่) นากุง้ (ไร)่ พืน้ ทเ่ี กษตร (ไร)่ อน่ื ๆ (ไร)่ รวม (ไร่)
พระประแดง - - 4.31 22.70 27.01
พระสมุทรเจดยี ์ 10,600.23 67,561.94
8,884.81 43,066.84 5,010.06 2,748.88 6,450.01
เมอื งฯ 1,003.72 358.29 2,339.12 15,580.23 19,460.43
บางบอ่ 2,635.64 1,244.56 28,952.06 93,499.40
รวม 12,524.17 - 8,598.05
43,425.12

แหลง่ ท่มี า: กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝงั่

46 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นักงานจังหวดั สมุทรปราการ

สว่ นท่ี 2

ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาจงั หวดั สมทุ รปราการ

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 47

ส�ำ นกั งานจังหวัดสมุทรปราการ

ส่วนท่ี 2 ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาจงั หวัดสมุทรปราการ

วสิ ยั ทัศนจ์ งั หวดั สมุทรปราการ (Vision)
“เมอื งอุตสาหกรรมสะอาด ปลอดภยั นา่ อย”ู่

ภายใต้วิสัยทัศน์ในการพัฒนาพื้นที่ (Area Vision) “เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เกษตรปลอดภัย
แหล่งท่างเที่ยวเชงิ ประวัติศาสตร์และศิลปวฒั นธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มมคี วามสมดุลกบั การพฒั นา
เมอื ง ประชาชนมคี ุณภาพชวี ติ ทด่ี ี สงั คมม่ันคงปลอดภยั ”

พนั ธกจิ (Mission)

1) ส่งเสรมิ ภาคอตุ สาหกรรมใหเ้ ป็นอตุ สาหกรรมสะอาดทอี่ ย่กู บั ชมุ ชน และสง่ิ แวดลอ้ มอย่างย่งั ยืน
2) เสริมสร้างความมนั่ คง ปลอดภยั ให้สงั คมน่าอยู่ และพฒั นาคุณภาพชวี ติ ทีด่ ีของประชาชน
3) พัฒนาระบบโครงสร้างพ้ืนฐานเพื่อเพ่ิมศักยภาพการบริหารจัดการด้าน Logistic เชื่อมโยง Supply

Chain ในระบบเศรษฐกิจ การคา้ การลงทนุ การบริการและการทอ่ งเที่ยว
4) สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมการท่องเทีย่ วเชงิ นเิ วศ ศิลปวัฒนธรรม กฬี าและนนั ทนาการ
5) ส่งเสริมเครือข่ายอนุรักษ์ บ�ำบัดและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีความสมดุลกับ

การพัฒนาเมอื ง
6) สง่ เสรมิ การเกษตรปลอดภัย ไมก่ อ่ มลพิษและเป็นมติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม (GAP)
7) สง่ เสรมิ การพัฒนาระบบบรกิ ารประชาชน และการบริหารราชการแผน่ ดินดว้ ยระบบธรรมาภบิ าล

เป้าประสงคร์ วม (Ultimate Goals)

1) เศรษฐกิจเจรญิ เติบโตต่อเนอ่ื ง
2) ประชาชนมคี ณุ ภาพชวี ิตท่ดี ี สังคมมนั่ คงปลอดภยั

ประเด็นยทุ ธศาสตร์

1) ส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมให้มีศักยภาพเพ่ือการแข่งขันในภูมิภาคอาเซียนโดย
พัฒนากระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมท้ังอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดล้อม

2) พฒั นาคุณภาพชวี ิตประชาชน โดยยกระดบั รายไดแ้ ละการจัดการด้านการศกึ ษา สาธารณสุข ศาสนา
ศิลปวฒั นธรรม สาธารณปู โภค และสาธารณูปการใหเ้ พียงพอ เท่าเทียม และทวั่ ถงึ

3) ส่งเสริมระบบ Logistics สู่ประชาคมอาเซียน โดยพัฒนาการบริหารจัดการ และปรับปรุงโครงข่าย
การคมนาคมขนสง่ ให้สมบูรณ์ยิง่ ข้นึ เพอื่ ลดตน้ ทุนและเพิม่ ขดี ความสามารถการแข่งขนั

4) สง่ เสรมิ กิจกรรมการท่องเทย่ี วเชงิ นเิ วศ ประวตั ศิ าสตร์ และศลิ ปวฒั นธรรม โดยการพัฒนาแหลง่ ท่อง
เท่ยี ว สินคา้ การบรกิ าร และประชาสัมพนั ธ์ใหเ้ ป็นทรี่ ู้จกั และประทับใจของนกั ท่องเทีย่ ว

5) เสรมิ สรา้ งความปลอดภัยในชีวิต และทรพั ยส์ นิ ของประชาชน โดยการพฒั นาระบบป้องกนั และแกไ้ ข
ปญั หาภัยคกุ คามความม่นั คง

48 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017


Click to View FlipBook Version