The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suphasan Bamnejphan, 2020-02-07 03:10:26

สมุทรปราการ

AWCoverSPAnnualReport60

ส�ำ นกั งานจังหวัดสมทุ รปราการ

การวเิ คราะหส์ ภาวะแวดล้อม (SWOT Analysis)

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ หรือการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม เป็นเครื่องมือส�ำคัญใน
การประเมินสถานการณ์ เพื่อค้นหาจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมภายใน รวมทั้งประเมินโอกาสและภัยคุกคาม
จากภายนอก สำ� หรบั การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมและศักยภาพของจงั หวัดสมทุ รปราการ สามารถก�ำหนดจดุ แขง็ จดุ ออ่ น
โอกาส และภยั คกุ คาม ไดด้ ังนี้
จุดแข็ง (Strengths)
1) มีศักยภาพและโอกาสท่ีดีทางเศรษฐกิจและธุรกิจ เนื่องจากมีโรงงานอุตสาหกรรมจ�ำนวนมากที่สุดของ
ประเทศ (7,567 แห่ง) นคิ มอุตสาหกรรม 4 แหง่ และเปน็ ฐานการผลิตอตุ สาหกรรมต่อเนือ่ งเชอ่ื มโยง (Supply Chain) เช่น
อุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์อุตสาหกรรมเคร่ืองจักร/อุปกรณ์ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะ/เคมีภัณฑ์/
พลาสติก/ไฟฟา้ /อิเล็กทรอนกิ ส์ และอุตสาหกรรมผลิตอาหารแปรรูป
2) มีการจดทะเบียนนิติบุคคลอันดับ 3 ของประเทศ (36,207 ราย) มูลค่าทุนจดทะเบียนรวมจ�ำนวน
639,650.14 ล้านบาท
3) มีโรงงานอุตสาหกรรมต้นแบบทม่ี ีความรบั ผิดชอบตอ่ สภาพแวดล้อมชุมชน ด้านความปลอดภัย สขุ ภาพ
ประชาชน อาชวี อนามยั เปน็ แหลง่ เรยี นรใู้ นระดบั ประเทศและนานาชาติ
4) มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP: Gross Provincial Product) จ�ำนวน 685,392 ล้านบาท
สูงเป็นอันดับ 4 ของประเทศและมีรายได้เฉล่ียต่อหัวสูง (GPP per capita) จ�ำนวน 339,972 บาท สูงเป็นอันดับ 8
ของประเทศ เออื้ ตอ่ การออมและการเข้าถงึ แหล่งเงนิ ทุน
5) มเี สน้ ทางการคมนาคมทีเ่ ชอื่ มโยงภมู ภิ าคต่าง ๆ ของประเทศ อาทิ การขนสง่ ทางอากาศ ท่เี ป็น Hub of
Southeast Asia การคมนาคมทางบก เช่น ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม ถนนกาญจนาภิเษก และมีระบบขนส่งมวลชน
ที่ทันสมัย เช่น รถไฟฟ้า มีท่าเรือและคลังสินค้า ส�ำหรับรองรับการขนส่งสินค้าภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดไปสู่ท่าเรือน�้ำ
ลึกจำ� นวนมาก
6) มีความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐานด้านสาธารณูปโภค น้�ำประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์ อินเตอร์เน็ต และ
สาธารณปู การ
7) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีความเข้มแข็ง มีความพร้อมด้านบุคลากรและงบประมาณ เอ้ือต่อ
การพัฒนาพ้นื ท่ี รองรับการลงทุนและการขยายตัวของเมืองรวมทงั้ การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตประชาชน
8) มีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมและประเพณีท้องถ่ิน เช่น งานสงกรานต์พระประแดง ของชาวไทยรามัญ
ประเพณีรับบัว และมีสถานที่ท่องเท่ียวท่ีมีความหลากหลาย มีชื่อเสียง และมีศักยภาพ ในการรองรับนักท่องเท่ียว เช่น
วดั บางพลใี หญใ่ น สถานตากอากาศบางปู ปอ้ มพระจลุ จอมเกล้า องคพ์ ระสมุทรเจดยี ์ เมอื งโบราณ พิพธิ ภณั ฑช์ า้ งเอราวณั
ฟารม์ จระเขส้ วนสัตว์สมทุ รปราการ ตลาดนำ้� บางน�้ำผงึ้ ตลาดคลองสวนร้อยปี ตลาดโบราณบางพลี อ�ำเภอบางพลี การทอ่ ง
เท่ยี วทางน�ำ้ คลองสำ� โรง และพืน้ ที่ บางกะเจ้าหรอื กระเพาะหมู ซ่งึ นติ ยสารไทม์เอเชยี (Time Asia) ได้ยกย่องใหบ้ างกะเจ้า
เป็นปอดของกรุงเทพ (the lung of Bangkok)
จดุ อ่อน (Weaknesses)
1) มีประชากรแฝง ประมาณ 1.1 ล้านคนเศษ และแรงงานข้ามชาติ ประมาณ 200,000 คน ซึ่งประชากร
เหล่านี้จะขาดความรู้สึกในการเป็นเจ้าบ้านที่จะร่วมกันพัฒนาพื้นที่และด�ำรงรักษาไว้ซึ่งอัตลักษณ์ท่ีงดงามเพื่อให้เป็นเสน่ห์
ของเมืองส�ำหรับแขกผู้มาเยือน และขาดความร่วมมือในการพัฒนาจังหวัด ส่งผลให้เกิดปัญหาสังคม อาชญากรรม
ยาเสพติด และส่ิงแวดล้อม เพ่ิมขึ้น อีกท้ังยังเพ่ิมภาระด้านการบริการด้านสุขอนามัย การศึกษา สาธารณูปโภค
สาธารณูปการ และการบรกิ ารศาสนสถาน

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017 49

สำ�นักงานจังหวัดสมทุ รปราการ

2) จังหวัดสมุทรปราการก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุหรือ Aging Society (มีประชากรผู้สูงอายุ ร้อยละ 13)
ส่งผลกระทบอย่างกว้างขวางต่อ GDP รายได้ต่อหัวประชากร การออม การลงทุน งบประมาณ และการคลัง ผลิตภาพ
แรงงาน การจา้ งงาน และความต้องการผลติ ภณั ฑ์สินค้าและบรกิ ารด้านตา่ ง ๆ ทเ่ี ปลีย่ นแปลง
3) การพัฒนาที่ไม่สอดคล้องกับผังเมืองส่งผลให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ภายในเมือง เช่นความเสื่อมโทรมของ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การขยายตัวชุมชนเมืองและสภาวะการเปล่ียนแปลงการใช้ประโยชน์ท่ีดิน ปัญหานำ้�
ทว่ ม ปัญหาการสูญเสยี พ้ืนทช่ี ายฝ่งั ทะเล ปญั หามลพิษทางนำ้� ขยะมูลฝอยมลพษิ ทางเสียง และมลพิษทางอากาศ
4) ขาดการบูรณาการแผนบริหารจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งแผนลดและขจัด
มลพษิ ทตี่ อ่ เนือ่ งและเปน็ รูปธรรม เชน่ การจัดการขยะ การจัดการน�้ำเสยี ฯลฯ
5) การขาดแคลนแรงงานวิชาชีพเฉพาะด้านท่ีมีทักษะ (Skilled Labor) อาทิ ช่างฝีมือ แรงงานที่มีทักษะ
การใช้ภาษาสากลและภาษาอาเซยี น รวมท้ังปญั หาขาดแคลนแรงงานไร้ฝมื ือ
6) ปัญหาความแตกต่างระหว่างการพัฒนาพื้นที่ของภาคอุตสาหกรรม และเกษตรกรรมส่งผลให้ประชากร
มชี ่องวา่ งทางเศรษฐกจิ และสงั คมมากขน้ึ
7) การพัฒนาภาคอุตสาหกรรมในพ้ืนท่ีโดยเฉพาะธุรกิจขนาดกลาง ขนาดย่อม ขาดการสนับสนุนการวิจัย
และพัฒนา (R&D) และขาดการสร้างนวตั กรรมทางธรุ กจิ รวมทง้ั การถา่ ยทอดเทคโนโลยฯี (Technology Transfer)
8) ท่ีดินราคาสูงและมีแนวโน้มสูงข้ึนเร่ือย ๆ ทำ� ให้การลงทุนภาคธรุ กิจมีต้นทนุ สูงขึ้น
9) ภาคการเกษตรลดลงอยา่ งต่อเนือ่ งจากการขยายตวั ของชมุ ชนเมอื ง
โอกาส (Opportunities)
1) เป็นพ้ืนท่ีรองรับการขยายตัวของกรุงเทพมหานครและภาคตะวันออกส่งผลต่อการเจริญเติบโตของ
จังหวัดด้านการพัฒนาเมืองเช่น การขยายรถไฟฟ้าจ�ำนวนอย่างน้อย 2 สายทางจากกรุงเทพสู่สมุทรปราการท้ังฝั่งอำ� เภอ
พระประแดงบนถนนสุขสวัสดิ์ และฝั่งอ�ำเภอเมืองสมุทรปราการบนถนนสุขุมวิทในระยะอันใกล้จะส่งผลให้การเดินทาง
สะดวกขนึ้ ซ่งึ ได้เปรียบในการพฒั นาด้านเศรษฐกิจ การค้า การลงทนุ การขนสง่ สินคา้ และบรกิ าร
2) เป็นที่ต้ังท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิซึ่งเป็นศูนย์กลางการคมนาคมทางอากาศของประเทศและ
ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส่งผลให้เกิดการลงทุนในธุรกิจต่อเนื่องหลากหลายสาขาท้ังภาคการผลิต การค้า
การบรกิ ารการศกึ ษา การท่องเทย่ี ว และท่อี ย่อู าศัย โดยเฉพาะอย่างย่ิงมีการพฒั นากจิ กรรมดา้ น โลจสิ ตกิ สใ์ หเ้ ปน็ ฮบั ของ
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้
3) กระแสความนิยมการทอ่ งเทย่ี วเชิงนิเวศ เชิงศิลปวฒั นธรรม และเชิงสขุ ภาพ อาทิ กจิ กรรมปน่ั จกั รยาน
บรเิ วณบางกระเจา้ หรือกระเพาะหมูทีเ่ ป็นปอดของกรงุ เทพและเขตอ�ำเภอพระสมุทรเจดีย์แบบ One day Trip สอดคลอ้ ง
กบั ศักยภาพแหล่งทอ่ งเท่ยี วภายในจังหวดั และเพ่มิ รายได้ใหก้ ับประชาชนในเชงิ ธุรกจิ สนิ ค้า และบรกิ าร
4) ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบบั ท่ี 12 โดยก�ำหนดให้ภาคกลางเปน็ ศูนย์อตุ สาหกรรมสเี ขยี วช้นั นำ� ศนู ย์กลางการผลติ อาหารและสนิ คา้ เกษตรปลอดภยั
ได้มาตรฐานโลก ศูนย์รวมการท่องเท่ียวของเอเชีย และจังหวัดสมุทรปราการถูกจัดให้อยู่ในแผนพัฒนาเมืองปริมณฑลเพ่ือ
เปน็ ศูนย์กลางการบริการและการพาณิชย์ ศูนยก์ ลางการขนส่งและโลจิสติกส์ ศูนยบ์ ริการด้านสุขภาพ การศึกษา และเมือง
ทอ่ี ยู่อาศยั
5) ผังประเทศไทยปี พ.ศ. 2600 ก�ำหนดให้จังหวัดสมุทรปราการเป็นศูนย์กลางด้านคมนาคมทางอากาศ
ของเอเชยี และระบบโลจิสตกิ สข์ องอาเซียน

50 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

สำ�นักงานจงั หวดั สมุทรปราการ

ภยั คกุ คาม (Threats)
1) ดา้ นเศรษฐกจิ
1.1) การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมการผลิตสินค้าเพื่อการส่งออก
รวมทง้ั เศรษฐกิจภาคการค้าและการบรกิ ารที่พงึ่ พาเศรษฐกจิ โลก
1.2) นโยบายการคา้ เสรีและการรวมกลุ่มเศรษฐกจิ ในภูมภิ าค ท�ำใหภ้ าคอุตสาหกรรมการผลิตตอ้ งปรับ
ตวั ในสภาวการณท์ มี่ ีการแข่งขนั สงู เพื่อคงไว้ซึ่งความไดเ้ ปรียบเชิงเปรียบเทยี บ
1.3) ค่าจา้ งแรงงานในประเทศสงู เมอ่ื เทียบกับค่าจ้างแรงงานของประเทศเพ่อื นบ้านในกลุ่มอาเซยี น
2) ปญั หาภัยคุกคามดา้ นความม่ันคง อาทเิ ชน่
2.1) เป็นแหล่งพักยาเสพติดและมีการแพร่ระบาดในพื้นที่ เนื่องจากเป็นชุมชนเมืองที่มีเขตติดต่อ
กรุงเทพฯและเป็นทางผ่านเช่อื มโยงไปยังภูมภิ าคตา่ ง ๆ ได้งา่ ย
2.2) แรงงานต่างด้าวท่ีเข้ามาท�ำงานและอยู่อาศัยยังไม่ได้รับการจัดระเบียบเพ่ือการควบคุม
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
2.3) ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ เช่น ปัญหาการท�ำประมงผิดกฎหมาย การก่อการร้ายข้ามชาติ สินค้า
ละเมดิ ลขิ สิทธิ์ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
2.4) การท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม เช่น การบุกรกุ ปา่ ชายเลนและทีส่ าธารณะ ปญั หา
การกดั เซาะชายฝ่งั ปัญหามลภาวะจากโรงงานอตุ สาหกรรมและแหล่งชมุ ชนที่มีการขยายตัวอย่างรวดเรว็
3) ด้านสงั คม
3.1) ภยั คกุ คามด้านสุขภาพ เช่น โรคอบุ ตั ิใหม่ โรคอบุ ตั ิซ�้ำจากแรงงานข้ามชาติ
3.2) ปัญหาด้านการจารจรตดิ ขัดจากการขยายตัวของชุมชนเมอื ง

การก�ำหนดยุทธศาสตร์โดยใช้เทคนิค TOWS Matrix
หลังจากทมี่ ีการประเมินสภาพแวดลอ้ มโดยการวเิ คราะห์ SWOT Analysis เพอื่ ให้เหน็ จุดแข็ง (Strength)
จดุ ออ่ น (Weakness) โอกาส (Opportunity) และภยั คุกคาม (Threat) ของจงั หวดั สมทุ รปราการแล้วขอ้ มูลทั้งหมดทีไ่ ด้
จากการวิเคราะห์ก็จะถูกน�ำมาวิเคราะห์ในรูปแบบความสัมพันธ์เชิงเมตริกซ์ โดยใช้เทคนิค TOWS Matrix เพื่อก�ำหนด
ทางเลอื กประเด็นยทุ ธศาสตร์และน�ำไปสู่การก�ำหนดยทุ ธศาสตรต์ ่อไป

ปจั จัยภายใน S W
ปัจจยั ภายนอก
ทางเลอื กเชงิ รุก ทางเลอื กเชิงแก้ปัญหา
O (SO Strategy) (WO Strategy)
ทางเลือกเชงิ รับ
T ทางเลือกเชิงป้องกัน (WT Strategy)
(ST Strategy)

ตารางท่ี 2.44 การก�ำหนดยทุ ธศาสตร์โดยใชเ้ ทคนิค (TOWS Matrix)

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 51

สำ�นกั งานจังหวดั สมทุ รปราการ

เทคนคิ TOWS Matrix สามารถนำ� มาใช้ในการวิเคราะหค์ วามสัมพันธเ์ ชงิ ไขว้ระหวา่ งปัจจัยภายใน ประกอบ
ดว้ ย จุดแข็ง (S) และจดุ อ่อน (W) กับปัจจยั ภายนอก ประกอบดว้ ย โอกาส (O) และภัยคุกคาม (T) ซึ่งจะได้ความสัมพนั ธ์
ทง้ั สนิ้ 4 คู่
ซึ่งผลของการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ในข้อมูลแต่ละคู่ดังกล่าว น�ำไปสู่ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ 4 กลุ่ม
และสามารถอธบิ ายไดด้ ังนี้

ตารางที่ 2.45 ทางเลอื กประเดน็ ยุทธศาสตร์ท้ัง 4 กลมุ่

ลำ�ดับ ทางเลือกประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ คำ�อธิบาย
1 เชิงรุก (SO Strategy) จังหวดั มจี ุดแขง็ และสภาพแวดลอ้ มท่เี ปน็ โอกาสเชงิ บวก ดงั น้ัน
สามารถใช้จุดแข็งที่มีอยู่ประสานกับโอกาสให้เปน็ ประโยชนอ์ ย่างสูง
2 เชงิ ปอ้ งกนั (ST Strategy) ตอ่ จังหวัดได้
จังหวดั มีจดุ แขง็ ขณะเดยี วกันกเ็ จอกบั สภาพแวดลอ้ มทเี่ ปน็ ภยั
3 เชิงแก้ปญั หา(WO Strategy) คกุ คามจากภายนอกทีจ่ ังหวัดควบคุมไม่ได้ แตส่ ามารถใช้จดุ แขง็
4 เชิงรบั (WT Strategy) ทม่ี ีอยใู่ นการปอ้ งกันภยั คกุ คามทม่ี าจากภายนอกได้
จังหวดั มโี อกาสที่จะนำ�แนวคดิ หรอื วิธกี ารใหม่ ๆ มาใช้แกไ้ ขหรือ
แก้ปญั หาจดุ อ่อนทจ่ี งั หวัดมอี ยู่
จงั หวดั เผชิญกับท้งั จุดอ่อนและภัยคุกคามภายนอกทีจ่ ังหวัด
ไม่สามารถควบคมุ ได้

จากทางเลือกที่วิเคราะห์มาท้ังหมด 21 ทางเลือกการพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์ สามารถน�ำมาจัดกลุ่มรวมเป็น
ยุทธศาสตร์หลักของจังหวัดสมุทรปราการ ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 – 2564 ได้ทั้งส้ิน 5 ประเด็นยุทธศาสตร์
(ซ่ึงในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์อาจประกอบด้วยท้ังทางเลือกเชิงรุก ทางเลือกเชิงป้องกัน ทางเลือกเชิงแก้ปัญหา และ
ทางเลอื กเชิงรบั ) โดยมรี ายละเอียดดงั น้ี
1) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมให้มีศักยภาพเพ่ือการแข่งขันในภูมิภาค
เขตเศรษฐกิจอาเซียน และประเทศคู่เจรจาการค้ากับเขตเศรษฐกิจอาเซียน โดยพัฒนากระบวนการผลิตท่ีเป็นมิตรกับ
สิ่งแวดลอ้ ม รวมทง้ั อนรุ กั ษแ์ ละฟน้ื ฟูทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม(SO1,SO2,ST1,ST4,WO4,WO8)
2) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน โดยยกระดับรายได้และการจัดการ
ด้านการศึกษา สาธารณสุข ศาสนาศิลปวัฒนธรรม และสาธารณูปโภคสาธารณูปการให้เพียงพอ เท่าเทียม และท่ัวถึง
(SO5,WO2,WO3,WO7,WT1,)
3) ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ส่งเสรมิ ระบบ Logistics เชื่อมโยงเขตเศรษฐกิจอาเซียน และประเทศคู่เจรจา
การค้ากับเขตเศรษฐกิจอาเซียน โดยพัฒนาการบริหารจัดการ และปรับปรุงโครงข่ายการคมนาคมขนส่งให้สมบูรณ์ย่ิงขึ้น
เพ่อื ลดตน้ ทนุ และเพ่ิมขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน(SO1,SO2,SO5)
4) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ประวัติศาสตร์ และศิลปวัฒนธรรม
โดยการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียว สินค้า การบริการและประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จักและประทับใจของนักท่องเท่ียว
(SO2,SO3,ST2)
5) ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 5 เสริมสร้างความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน
โดยการพัฒนาระบบป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคามความม่ันคง พร้อมท้ังพัฒนาวิถีชีวิตประชาธิปไตยแก่ประชาชน
(WO1,WO2,WO6,WT1

52 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

สำ�นกั งานจงั หวัดสมทุ รปราการ

ทางเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ SO Strategy ประเด็นยุทธศาสตร์ SO Strategy

SO1 การพัฒนาภาคอุตสาหกรรมเพ่ือการส่งออกสู่ตลาดโลก โดยพัฒนานวัตกรรม 1. ส่งเสริมอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมให้มี
และให้ความส�ำคัญกับการส่งเสริมอุตสาหกรรมสะอาดเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมให้มากขึ้น รวมท้ัง ศักยภาพเพื่อการแขง่ ขนั ในภมู ิภาคเขตเศรษฐกิจอาเซยี น และ
เนน้ การเชื่อมโยงการคมนาคมขนสง่ และระบบโลจิสติกส์ ประเทศคู่เจรจาการค้ากับเขตเศรษฐกิจอาเซียน โดยพัฒนา
SO2 สนับสนุนการขยายตลาดการค้าและการลงทุนภาคอุตสาหกรรมการผลิต การ กระบวนการผลิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม รวมท้ังอนุรักษ์
ค้าและบริการ การพาณิชกรรม การท่องเที่ยว และการจัดการระบบโลจิสติกส์เพ่ือส่งเสริมห่วงโซ่ และฟน้ื ฟูทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม
อปุ ทานให้มีความเขม้ แขง็ และมีความไดเ้ ปรยี บเชงิ เปรยี บเทียบในภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SO1,SO2,ST1,ST4,WO4,WO8)
SO3 สง่ เสริมและพัฒนาการทอ่ งเท่ียวเชิงนเิ วศ ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม วิถชี ีวิตชุมชน 2. พัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน โดยยกระดับ
และสขุ ภาพ ในแหล่งท่องเท่ียวของจังหวดั สมทุ รปราการ และประชาสมั พนั ธ์ ให้เปน็ ทีร่ ้จู ักมากข้นึ รายไดแ้ ละการจัดการดา้ นการศกึ ษา สาธารณสุข ศาสนาศิลป
ในบรรดานกั ทอ่ งเทยี่ วทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ วัฒนธรรม สาธารณูปโภค และสาธารณูปการให้เพียงพอ
SO4 พัฒนาเครือข่ายธุรกิจเพื่อให้เกิดนวัตกรรมในกระบวนการผลิต การค้าและการ เทา่ เทียม และทว่ั ถงึ
บรกิ าร สง่ เสริมหว่ งโซ่คณุ คา่ ในระบบเศรษฐกิจ ให้มีความเขม้ แข็งรองรบั บการคา้ ระดบั สากล (SO5,WO2,WO3,WO7,WT1,)
SO5 ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการจัดการด้านโลจสิ ติกส์ ระบบสาธารณปู โภคและ 3. สง่ เสรมิ ระบบ Logistics เช่อื มโยงเขตเศรษฐกิจ
โครงข่ายคมนาคมเพ่ือรองรับการเป็นศูนย์กลางคมนาคมทางอากาศของเอเชียและระบบโลจิสติกส์ อาเซียน และประเทศคู่เจรจาการค้ากับเขตเศรษฐกิจ
ของอาเซยี น อาเซียน โดยพฒั นาการบรหิ ารจัดการ และปรับปรุงโครงขา่ ย
การคมนาคมขนสง่ ให้สมบูรณย์ ่ิงข้ึน เพือ่ ลดตน้ ทนุ และเพิ่มขีด
ทางเลือกประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ST Strategy ความสามารถในการแข่งขนั
(SO1,SO2,SO5)
ST1 ส่งเสริมให้นักลงทุนจากต่างประเทศเข้ามาลงทุนใน Cluster อุตสาหกรรมเป้า 4. ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หมาย เพอ่ื เพ่มิ มูลคา่ ของหว่ งโซ่เศรษฐกจิ ในพนื้ ท่ี (Value Chain) ขยายการสร้างโอกาส สร้างราย ประวัติศาสตร์ และศิลปวัฒนธรรม โดยการพัฒนาแหล่งท่อง
ไดใ้ หก้ บั อุตสาหกรรมทเ่ี ก่ียวเนอื่ ง (Supply Chain) และแรงงานในพนื้ ที่ เทย่ี ว สนิ ค้า การบรกิ ารและประชาสัมพนั ธ์ให้เปน็ ท่รี ู้จักและ
ST2 สร้างเสริมคณุ คา่ และมลู ค่าศิลปวฒั นธรรม ประเพณที ้องถน่ิ ประวตั ศิ าสตร์และ ประทับใจของนักทอ่ งเทีย่ ว
วิถีชุมชนที่เป็นอัตลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยว โดยสร้างความหลากหลายในกิจกรรมการท่องเท่ียว (SO2,SO3,ST2)
และนันทนาการ รวมทั้งพัฒนาสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐานเป็นที่รู้จักอย่าง 5. เสริมสร้างความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของ
แพรห่ ลาย ประชาชน โดยการพัฒนาระบบป้องกันและแก้ไขปัญหาภัย
ST3 ส่งเสริมให้มีการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการผังเมือง การควบคุมอาคารและ คุกคามความมั่นคง พร้อมท้ังพัฒนาวิถีชีวิตประชาธิปไตย
กฎหมายอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องอย่างเป็นรูปธรรมเป็นแนวทางในการพัฒนาเมือง เพื่อควบคุมการใช้และ แก่ประชาชน
พัฒนาที่ดินได้อย่างสอดคล้องกับศักยภาพของพ้ืนท่ีอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นระเบียบ สวยงาม (WO1,WO2,WO6,WT1)
สะดวกสบาย ปลอดภัย และป้องกันภัยพิบัติ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เพื่อรองรับ
การขยายตัวของเมอื งในอนาคตอย่างยงั่ ยนื ภาพที่ 2.16 ความสัมพันธ์ระหว่างทางเลือก
ST4 ส่งเสริมผู้ประกอบการและนักลงทุนให้มีธรรมาภิบาลทางธุรกิจและส่ิงแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ และประเด็น
โดยการน�ำเอาขยะโรงงานอุตสาหกรรมและเศษวัตถุดิบท่ีไม่ใช้แล้ว มาสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่เพ่ือเพ่ิม ยทุ ธศาสตรข์ องจงั หวดั สมทุ รปราการ
มลู ค่าดว้ ยนวตั กรรม 3 R และการสร้างการมสี ่วนรว่ มธรรมาภิบาลโรงงานของชุมชน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 – 2564
ST5 ส่งเสริมการตลาดและการประชาสัมพันธ์ด้านการท่องเท่ียวในกลุ่มนักท่องเท่ียว
ชาวต่างประเทศ โดยเฉพาะกลุ่มนักท่องเที่ยวจากประเทศในอาเซียนโดยร่วมมือกับภาคเอกชน
เพอื่ ให้จงั หวัดสมุทรปราการเปน็ เป้าหมายการท่องเที่ยวทน่ี ่าสนใจและคมุ้ ค่า

ทางเลอื กประเด็นยทุ ธศาสตร์ WO Strategy

WO1 เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนโดยสร้างเสริมค่านิยมรักษ์ถ่ินเพ่ือร่วมกันด�ำรง
รักษาอัตลักษณ์และการรักษาความสงบเรียบร้อย ความมั่นคง ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของ
ประชาชน
WO2 ลดเหตุปัจจัยคุกคามต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนโดยมุ่งเน้นการพัฒนา
ประสิทธิภาพการบริการประชาชนท้ังด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต และกิจกรรมทางศาสนาทั้งใน
เชิงคุณภาพและเชงิ ปรมิ าณ
WO3 เน้นการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานทุกระดับและวิชาชีพเฉพาะด้าน รวมทั้งด้าน
ภาษาสากล และภาษาเพอื่ นบ้านใหม้ ีขดี ความสามารถในระดับสากลเพอื่ สรา้ งโอกาสในการแขง่ ขนั
WO4 ส่งเสริมกระบวนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้มีความคุ้มค่า และส่งเสริม
กระบวนการมีส่วนร่วมของภาคีทุกภาคส่วนในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิง
แวดล้อม รวมทั้งสนับสนุนการจัดท�ำแผนเชิงบูรณาการด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอ้ ม แผนลดและขจัดมลพิษ โดยด�ำเนนิ การอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ใหเ้ กิดผลเปน็ รูปธรรม
WO5 พัฒนาบุคลากรภาครัฐ ให้มีความรอบรู้ด้านอัตลักษณ์อาเซียน (ภาษา ศาสนา
วฒั นธรรม สังคม และชุมชน) รวมทั้งภาษาสากลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
WO6 สร้างเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มีความม่ันคงปลอดภัยในทุก ๆ มิติ
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือให้หลุดพ้นจากความยากจนอย่างย่ังยืน โดยมุ่งเน้น
พฒั นาหมู่บ้านชุมชน และองคก์ รภาคประชาชน ใหม้ คี วามเขม้ แข็ง ปลอดภัย มีความสุข
WO7 ส่งเสริมและสนับสนุนการขับเคล่ือนตามแผนผู้สูงอายุจังหวัดสมุทรปราการ
ให้เกดิ ผลสำ� เร็จอยา่ งจรงิ จัง

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 53

ส�ำ นกั งานจงั หวดั สมุทรปราการ

สว่ นท่ี 3

ผปจสงัว่รลหนะกสวราทิดัารธชสปภิกมราาทุะเพรมรแปในิลนรปะกจารางกั ะรหสาปวรทิ ฏดัปธบิตรภิ ะตัาาจมริพำ� ามปใชนาี พกตกา.ราศรรก.ปมา2รฏ.54ปบิ 64รตั 0บั ริ ปารชงุการของ

54 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

ส่วนท่ี 3 ผลการประเมนิ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัตริ าชการของส่วนราชการและจงั หวดั ตามมาตรการปรบั ปรุง
ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิราชการ ม.44 จงั หวัดสมุทรปราการประจ�ำปี พ.ศ. 2560

องคป์ ระกอบการประเมนิ ตวั ชว้ี ัด เปา้ หมาย คา่ คะแนน ผลการประเมนิ สรปุ ผล หนว่ ยงาน
รอบ 2 ที่ท�ำได้ การประเมิน ทรี่ ับผิดชอบ

(Agenda Based) 1.การบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอย -สำ� นกั งาน
ประสิทธิภาพในการ 1.1 ร้อยละปรมิ าณขยะมูลฝอยตกค้าง  ทรพั ยากรธรรมชาติ
ด�ำเนินงานตามหลกั ภารกิจ ไดร้ ับการจัดการอยา่ งถกู ตอ้ งตามหลักวิชาการ 79.08 94.66  และส่งิ แวดลอ้ ม
ยทุ ธศาสตร์ ท่ีไดร้ ับ (เป้าหมายท้ังปี รอ้ ยละ 94.89) 96.18 99.35  สูงกว่า
มอบหมายเปน็ พเิ ศษ แจง้ ลา่ สดุ เปา้ หมาย
1.2 ร้อยละของปรมิ าณขยะมูลฝอยที่ได้รบั มากกวา่
การจดั การอยา่ งถกู ตอ้ งตามหลักวชิ าการ ครัง้ ท่ี 1 แล้ว
(เปา้ หมายท้งั ปีไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 96.18) ถอื ว่าผ่าน

(Area Based) 1.มลู ค่าการลงทนุ ดา้ นอุตสาหกรรม 22,801.81 37,030.39  -สนง.อตุ สาหกรรม
ประสิทธภิ าพในการ (เปา้ หมายท้งั ปีไมน่ ้อยกว่า 27,362.18 ล้านบาท) ล้านบาท ลา้ นบาท จังหวดั
ด�ำเนินงานตามหลกั ภารกจิ  (ข้อ1,3)
พ้ืนท/ี่ ทอ้ งถน่ิ ภูมภิ าค 2.ระดบั คุณภาพของแหล่งน�้ำทดี่ ี เสอ่ื มโทรม 
จังหวดั กลุม่ จังหวดั หรือ (เป้าหมายทง้ั ปี พอใช)้ พอใช้ ค่า WQI 42.13 -สนง.
การบรู ณาการ ทรพั ยากรธรรมชาติ
***รายงานผลรอบแรก 28 ก.พ60 คา่ WQI 41.5 31 ก.ค.60 และสงิ่ แวดลอ้ ม
(ขอ้ 2)
การด�ำเนนิ งานหลายพื้นท่ี 3.จ�ำนวนสถานประกอบการณ์ทีผ่ ่านเกณฑG์ reen 88 แห่ง 88 แหง่ สูงกวา่ -ท่ีทำ� การปกครอง
หรือหลายหนว่ ยงาน Industry เป้าหมาย จงั หวดั /
สำ�นักงานจงั หวดั สมทุ รปราการทท่ี �ำการปกครอง
(เป้าหมายท้ังปไี ม่นอ้ ยกวา่ 88 แห่ง) อ�ำเภอ
รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 55 (ข้อ 4)
4.การปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ 59.83 60.51
4.1 ร้อยละของจ�ำนวนหม่บู า้ น/ชมุ ชนระดับเฝ้าระวัง
ทวั่ ไป (หมูบ่ า้ นสขี าว)

(เปา้ หมายท้งั ปไี มน่ อ้ ยกวา่ 59.83)

4.2 รอ้ ยละของจำ� นวนหม่บู ้าน/ชมุ ชนระดบั เฝา้ ระวัง 9.57 1.37
มาก (หมบู่ ้านสแี ดง)

(เปา้ หมายทัง้ ปไี ม่เกนิ 9.57)

ส�ำ นกั งานจังหวัดสมุทรปราการองค์ประกอบการประเมินตวั ชวี้ ัดเป้าหมายค่าคะแนนผลการประเมนิกาสรรปปุ รผะเลมิน ทหร่ี นบั ว่ผยิดงชาอนบ
รอบ 2 ทที่ ำ� ได้
56 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017 
(Innovation Based) 1.รอ้ ยละความสำ� เรจ็ ในการเบกิ จา่ ยงบประมาณ (บงั คบั ) 46.82  -ส�ำนกั งานคลัง
ประสทิ ธิภาพในการ การเบกิ จา่ ยงบประมาณรายจา่ ยภาพรวม (งบจงั หวดั ฯ) จงั หวัด
บนวริหัตากรรจรมดั กในากรแารลบะพรหิ ัฒานรา (ข้อมลู ณ วันท่ี 31 กรกฏาคม 2560) 80 รายงาน สมุทรปราการ
(เปา้ หมายทั้งปีร้อยละ 96) ผลแล้ว -สำ� นกั งาน
จดั การระบบงานงบประมาณ เปน็ ไปตาม อุตสาหกรรมจงั หวัด
ทการรพั ใยหา้บกรรกิ บาคุ รคปลระแชลาะชน พ2.ฒัปรนะาสนิทวธัตภิ การพรมในการบริหารจัดการและ ผลลพั ธท์ ่ีเกิด เสรจ็ เปา้ หมาย สมทุ รปราการ
หรือหน่วยงานของรัฐ 2.1การพัฒนานวตั กรรมการบรหิ ารจดั การขยะตาม จากการ สมบรู ณ์
นโยบายจงั หวัดสะอาด ดำ� เนนิ งาน
เสร็จ
(Potential Basd) 1.โครงการส่งเสริมการผลติ และแปรรปู สินคา้ เกษตร ดำ� เนินการ สมบรู ณ์ ส�ำนกั งานเกษตร
รศากั ชยกภาารพทใี่มนีคกวาารมเปสน็�ำคสญัว่ น ปลอดภัยแบบครบวงจร แล้วเสร็จ เสร็จ  จงั หวดั
เชิงยทุ ธศาสตรเ์ พื่อ สมบูรณ์ สมุทรปราการ
กตาารมพแฒัผนนหารปอื รนะเโทยศบาย ด�ำเนนิ การ เสรจ็ 
ระดบั ชาตินโยบายของ 2.โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาศักยภาพเกษตรกร แล้วเสรจ็ สมบรู ณ์ สำ� นักงานเกษตร
สู่ความเปน็ เลิศ Smart farmer เสรจ็  จังหวัด
ดำ� เนนิ การ สมบรู ณ์ สมทุ รปราการ
รฐั บาล 3.โครงการพัฒนาการผลติ สินคา้ ของวสิ าหกจิ ชมุ ชน แลว้ เสร็จ เสรจ็ สงู กว่า ส�ำนกั งานเกษตร
สมบรู ณ์ เป้าหมาย จงั หวดั
*** จงั หวัดสมุทรปราการ และกลมุ่ เกษตรกรให้มีศักยภาพ ดำ� เนินการ เสรจ็ สมทุ รปราการ
คยทุดั เธลศือากสโตครร์จงังกหาวรตัดาฯมปงบี 60 แล้วเสรจ็ สมบูรณ์  สำ� นกั งาน
ท่ีสอดคล้องกับ 4.โครงการพฒั นาสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมใหม่จากวสั ดุ ดำ� เนินการ  อุตสาหกรรมจังหวดั
แดผา้ นนกยาทุ รธแศขาง่ สขตันรช์ าติ ทไี่ ม่ใช้แล้วโดยเทคโนโลยกี ารผลิตทส่ี ะอาด 3 R แลว้ เสรจ็  สมทุ รปราการ
ดำ� เนินการ  สำ� นักงานท่องเท่ยี ว
จำ� นวน 7 โครงการ 5.โครงการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากรการทอ่ งเทยี่ ว แล้วเสรจ็ และกีฬาจังหวดั
ของจงั หวดั สมุทรปราการ ด�ำเนินการ อยู่ในระดบั มาตรฐาน ส�ำนักงานท่องเท่ียว
แล้วเสรจ็ และกฬี าจงั หวัด
6.โครงการเพม่ิ ศกั ยภาพการแข่งขันทางการท่องเทีย่ ว ส�ำนกั งานทอ่ งเที่ยว
ของจังหวัดสมุทรปราการ และกีฬาจังหวัด

7.โครงการประชาสมั พนั ธ์การทอ่ งเทย่ี ว
ของจังหวัดสมุทรปราการ

สรปุ ผลการดำ� เนนิ การ

หลกั เกณฑ์การประเมินภาพรวม
หลกั การ : เปน็ การคดิ ค่าคะแนนของจงั หวดั ในภาพรวม โดยพจิ ารณาจากผลการประเมนิ

ทกุ องค์ประกอบ ซงึ่ จ�ำแนกเปน็ 3 ระดบั คอื
1) ระดับคุณภาพ 2) ระดบั มาตรฐาน 3) ระดับตอ้ งปรบั ปรงุ

ระดับ เกณฑ์การวัด ความเปน็ ไปได้ คะแนน รปู แบบ
(รคะะดแบั นคนุณ1ภ0า0พ)
สูงกวา่ เปา้ หมายทุกองคป์ ระกอบ สงู กวา่ เป้าหมายทกุ องคป์ ระกอบ 100

(คระะแดนบั นมา7ต5รฐ–า9น9) 1เปอน็ งไคป์ปตราะมกเปอา้บหแมตา่ตย้อองยไ่ามงต่น่�ำอ้ กยว่า 1.เปน็ ไปตามเปา้ หมาย 95
เปา้ หมาย 1 องคป์ ระกอบ 90
2.เปน็ ไปตามเป้าหมาย 85
ระดบั ตอ้ งปรบั ปรงุ ต่ำ� กวา่ เป้าหมายในองคป์ ระกอบใด 2 องค์ประกอบ 75
(คะแนน 0 – 74 ) องคป์ ระกอบหนง่ึ 3.เปน็ ไปตามเปา้ หมาย 70
3 องค์ประกอบ 65
4.เป็นไปตามเป้าหมาย 60
ทุกองคป์ ระกอบ 55
ต่ำ� กวา่ เป้าหมาย 1 องคป์ ระกอบ 60

สำ�นักงานจงั หวดั สมทุ รปราการ

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 57

ส�ำ นักงานจงั หวดั สมุทรปราการ

สว่ นที่ 4

ผลการดำ� เนนิ งาน
โครงการสำ� คญั ของจงั หวดั

58 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

สำ�นกั งานจงั หวดั สมุทรปราการ

สว่ นท่ี 4 ผลการด�ำเนินงานโครงการส�ำคัญของจังหวดั

1. โครงการฝึกอบรมเรื่องการจัดท�ำบัญชีครัวเรือน การรวมกลุ่มสหกรณ์และศึกษาดูงาน
แปลงสาธิตการเกษตร และกลุ่มสหกรณ์

1. ชื่อโครงการ/กจิ กรรม
โครงการฝึกอบรมเรื่องการจัดท�ำบัญชีครัวเรือน การรวมกลุ่มสหกรณ์และศึกษาดูงานแปลงสาธิตการเกษตร และ
กลุ่มสหกรณ์ (ของศิษยพ์ ระดาบส ปีการศกึ ษา 2560 วชิ าชพี การเกษตรพอเพยี ง)
2. หลกั การและเหตุผล

ดว้ ยในปกี ารศกึ ษา 2560 มลู นิธพิ ระดาบส ได้เปิดรับสมคั รบคุ คลผดู้ ้อยโอกาสทางการศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์
ตลอดจนยังไม่มีอาชีพและความรู้พื้นฐานเพียงพอท่ีจะเข้าศึกษาต่อในสถาบันการศึกษาข้ันสูง หากแต่มีความยินดีสนใจ
ใฝ่ศึกษาและมีความเพียรอย่างจริงจังให้ได้รับโอกาสฝึกวิชาชีพและฝึกอบรมคุณธรรมศีลธรรมโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้
สามารถออกไปประกอบสัมมาอาชีวะ สร้างตนเอง ช่วยเหลือครอบครัวและและประเทศชาติโดยหลักสูตรที่สอนประกอบ
ด้วยหลักสูตรวิชาช่างยนต์ช่างอิเล็กทรอนิกส์ช่างไฟฟ้าช่างซ่อมบ�ำรุงเคหะบริบาลช่างไม้เครื่องเรือนช่างเชื่อม และวิชาชีพ
การเกษตรพอเพียงส�ำหรับหลักสูตรการเกษตรพอเพียง จะมาฝึกปฏิบัติท่ีโครงการลูกพระดาบส สมุทรปราการตาม
พระราชด�ำริ โดยวิชาท่ีมีความส�ำคัญในการจะน�ำไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพคือการจัดท�ำบัญชีครัวเรือน
การรวมกลมุ่ สหกรณ์

นอกจากน้ัน นักเรียนยังมีความสนใจเรื่องการท�ำแปลงเกษตรแบบครบวงจรในทุกกิจกรรม และสนใจในเร่ืองการ
รวมกลุ่มแบบสหกรณ์ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยเห็นว่าจะสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพได้เป็น
อยา่ งดี ส�ำนกั งานเกษตรและสหกรณ์จังหวดั สมุทรปราการ ในฐานะหน่วยงานท่ีมีภารกจิ ในการประสานงาน และสนับสนุน
การด�ำเนินงานเกี่ยวกับโครงการพระราชด�ำริ จึงเห็นควรจัดฝึกอบรมเร่ืองการจัดท�ำบัญชีครัวเรือน การรวมกลุ่มสหกรณ์
และพานกั เรยี นของโครงการ เดนิ ทางไปศกึ ษาดงู านเรอ่ื งแปลงสาธติ การเกษตร และการรวมกลุ่มแบบสหกรณ์ เพ่ือเพิ่มพูน
ความรแู้ ละประสบการณ์ในการประกอบอาชพี ในอนาคตตอ่ ไป

3.วัตถุประสงค์
3.1 เพื่อเป็นการสนับสนุนกิจกรรมตามแนวพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9

ในเรอื่ งการจดั ท�ำบัญชคี รวั เรอื นและการรวมกลุ่มแบบสหกรณ์แก่ศิษย์พระดาบส
3.2 เพือ่ ให้นักเรียนและเจ้าหนา้ ท่ไี ดเ้ รยี นรู้แปลงสาธิตการเกษตรและสามารถนำ� ไปปรบั ใช้ในการประกอบอาชีพได้
3.3 เพอื่ เป็นการแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ ระหว่างนกั เรียนของโครงการและวทิ ยากรผู้ปฏิบัติงานในพนื้ ท่ี

ระยะเวลาการดำ�เนินการ

ระหวา่ งวนั ที่ 14 – 15 มนี าคม 2560
1. วิธีการดำ�เนนิ การ
วนั แรก การบรรยายโดยวิทยากรจากหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีเน้ือหาดังนี้

- ทางเลือกทางการเกษตรเพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- สหกรณ์กับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- การจัดท�ำบัญชีครัวเรือน
วนั ทสี่ อง เดนิ ทางไปศกึ ษาดงู านทศี่ นู ยฝ์ กึ และพฒั นาอาชพี เกษตรกรรมวดั ญาณสงั วรารามวรวหิ าร อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017 59

ส�ำ นกั งานจังหวดั สมุทรปราการ

- รับฟังการบรรยายเรื่องแปลงสาธิตการเกษตร/การรวมกลุ่มสหกรณ์การเกษตร
- ศึกษาดูงานในพื้นที่
1. สรปุ ผลการด�ำ เนนิ งาน (บรรยายข้อมลู เชงิ คณุ ภาพ)
ศิษย์พระดาบส ปีการศึกษา 2560 วิชาชีพการเกษตรพอเพียงได้รับฟังการบรรยายเกี่ยวกับการท�ำการเกษตร
เพ่ือลดรายจ่ายในครัวเรือนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสหกรณ์กับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และได้รับฟัง
การบรรยายและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดท�ำบัญชีครัวเรือน

นอกจากนั้นยังได้เดินทางไปศึกษาดูงานท่ีศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรวิหาร
อันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ โดยรับฟังการบรรยายเร่ืองแปลงสาธิตการเกษตร/การรวมกลุ่มสหกรณ์การเกษตรและ
ศึกษาดูงานในพื้นท่ีโครงการด้วย

ผลจากการด�ำเนินงานโครงการ ท�ำให้นักเรียนหลักสูตรการเกษตรพอเพียงของโครงการลูกพระดาบส
สมุทรปราการตามพระราชด�ำริได้รับความรู้เร่ืองการจัดท�ำบัญชีครัวเรือนและการรวมกลุ่มสหกรณ์และได้เรียนรู้แปลง
สาธิตการท�ำการเกษตรในรูปแบบต่างๆ สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพของตนเองตลอดจนขยายผล
ให้เป็นประโยชน์ต่อคนในชุมชนได้

60 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นกั งานจงั หวัดสมทุ รปราการ

2. โครงการ ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั ิการการจดั ทำ�แผนปฏิบัติราชการประจ�ำ ปงี บประมาณ พ.ศ.2562

ของส�ำ นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั สมทุ รปราการ (ฉบบั จดั ท�ำ ค�ำ ของบประมาณรายจา่ ยประจ�ำ ป)ี

1. โครงการ

ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดท�ำแผนปฏิบัติราชการประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ของส�ำนักงานศึกษาธิการ
จงั หวัดสมทุ รปราการ

2. หลกั การและเหตุผล

แผนปฏิบัติราชการประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ของส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัด (ฉบับจัดท�ำค�ำของบ
ประมาณรายจ่ายประจ�ำปี) เป็นแผนที่จัดท�ำตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวธิ กี ารบรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งทดี่ ี
พ.ศ. 2546 มาตรา 9 การบรหิ ารราชการเพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธติ์ อ่ ภารกจิ ของรฐั ใหส้ ว่ นราชการปฏบิ ตั ดิ งั ตอ่ ไปน้ี (1) กอ่ นจะ
ดำ� เนนิ การตามภารกจิ ใดสว่ นราชการตอ้ งจดั ทำ� แผนปฏบิ ตั ริ าชการไวเ้ ปน็ การลว่ งหนา้ (2) การกำ� หนดแผนปฏบิ ตั ริ าชการของ
สว่ นราชการตาม (1) ตอ้ งมรี ายละเอยี ดของขนั้ ตอนระยะเวลาและงบประมาณทจี่ ะตอ้ งใชใ้ นการดำ� เนนิ การของแตล่ ะขนั้ ตอน
เปา้ หมายของภารกจิ ผลสมั ฤทธขิ์ องภารกจิ  และตวั ชวี้ ดั ความสำ� เรจ็ ของภารกจิ และ มาตรา 16 ใหส้ ว่ นราชการจดั ทำ� แผน
ปฏบิ ตั ริ าชการของสว่ นราชการนนั้ โดยจดั ทำ� เป็นแผนสีป่ ี ซ่ึงจะตอ้ งสอดคล้องกับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน และใน
วรรค 2 ในแตล่ ะปงี บประมาณ ใหส้ ว่ นราชการจดั ทำ� แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำ� ปี โดยใหร้ ะบสุ าระสำ� คญั เกย่ี วกบั นโยบาย
การปฏบิ ตั ริ าชการของสว่ นราชการ เปา้ หมาย และผลสมั ฤทธข์ิ องงาน รวมทงั้ ประมาณการรายไดแ้ ละรายจา่ ยและทรพั ยากร
อนื่ ทจ่ี ะตอ้ งใช้ เสนอตอ่ รฐั มนตรเี พอ่ื ใหค้ วามเหน็ ชอบ ดงั นนั้ จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารจดั ทำ� แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำ� ปงี บประมาณ
พ.ศ. 2562 ของสำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั สมทุ รปราการ (ฉบบั จดั ทำ� คำ� ของบประมาณรายจา่ ยประจำ� ป)ี ขน้ึ

3. วัตถปุ ระสงค์
1. เพอื่ ใช้เป็นกรอบแนวทางในการจดั ทำ� คำ� ของบประมาณประจำ� ปี พ.ศ. 2562

2. เพอื่ ใหก้ ารจดั ทำ� แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ.2562 สามารถเปน็ กรอบแนวทางในการดำ� เนนิ งาน
ดา้ นการศึกษาและขบั เคล่ือนการบริหารจดั การศึกษาของจังหวัด ใหต้ รงต่อความตอ้ งการของผู้เรียน ผปู้ กครอง และชุมชน

4. ระยะเวลาและสถานท่ดี �ำเนินการ
เดือนสงิ หาคม 2560 สถานทห่ี อ้ งประชมุ หนา้ มขุ สำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั สมทุ รปราการ

5. วธิ ดี �ำเนนิ การ/ขนั้ ตอนการด�ำเนนิ งาน

ท่ี กจิ กรรมหลกั ระยะเวลา หมายเหตุ
1 แตง่ ตั้งคณะทำ�งานประชมุ เชิงปฏิบัติการการจัดทำ�แผนปฏิบตั ริ าชการ ส.ค.60

ประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ.2562 ของสำ�นกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั สมทุ รปราการ 21 ส.ค.60
(ฉบบั จดั ทำ�คำ�ของบประมาณรายจา่ ยประจำ�ป)ี (1 วัน)

2 ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการจัดทำ�แผนปฏิบัติราชการประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.2562
ของสำ�นักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดสมุทรปราการ (ฉบบั จัดทำ�คำ�ของบประมาณราย
จา่ ยประจำ�ป)ี

3 จัดทำ�เล่มแผนแผนปฏบิ ตั ิราชการประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ส.ค.60
ของสำ�นักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั สมุทรปราการ (ฉบับจดั ทำ�คำ�ขอ
งบประมาณรายจ่ายประจำ�ปี) สง่ ใหห้ น่วยงานท่ีเก่ียวข้อง

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017 61

สำ�นกั งานจังหวดั สมุทรปราการ

6. สรปุ ผลการด�ำเนนิ งาน (บรรยายขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพ ค่าเป้าหมาย

ตวั ชวี้ ดั 10 เลม่
เชิงปรมิ าณ 100
1. จำ�นวนแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ของสำ�นกั งาน
ศกึ ษาธิการจงั หวัดสมทุ รปราการ (ฉบับจดั ทำ�คำ�ของบประมาณรายจ่ายประจำ�ป)ี 100
เชงิ คุณภาพ
1. รอ้ ยละของแผนปฏบิ ตั ิราชการประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ของสำ�นักงาน
ศึกษาธิการจังหวัดสมทุ รปราการ (ฉบบั จัดทำ�คำ�ของบประมาณรายจ่ายประจำ�ป)ี มีความเชือ่ มโยง
สอดคลอ้ งกับนโยบายรฐั บาล นโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ ยุทธศาสตรจ์ ังหวดั และความตอ้ งการของ
ประชาชนในพืน้ ที่ เปน็ กรอบแนวทางในการดำ�เนินการพัฒนาการศกึ ษาให้บรรลเุ ปา้ หมายท่ีกำ�หนดไว้
2. ร้อยละของแผนปฏิบัตริ าชการประจำ�ปงี บประมาณ พ.ศ.2562 ของสำ�นักงาน
ศึกษาธกิ ารจังหวดั สมุทรปราการ (ฉบบั จดั ทำ�คำ�ของบประมาณรายจา่ ยประจำ�ป)ี เปน็ กรอบใน
การติดตาม ประเมินผลการดำ�เนนิ งานของสำ�นักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั สมทุ รปราการ ส่งผลใหเ้ กิด
ประสิทธิภาพ ประสิทธผิ ลสูงสุดต่อการบรหิ ารจัดการศึกษา มีคณุ ภาพและนำ�ไปใชไ้ ด้จริง

7. ขอ้ มลู ผลการด�ำเนนิ งานเชงิ สถติ หิ รอื เชงิ ปรมิ าณ (ในรปู แบบตารางสรปุ ขอ้ มลู )
เปา้ หมาย
เชงิ ปรมิ าณ

- ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการจดั ทำ� แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ.2562 ของสำ� นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั
สมทุ รปราการ (ฉบบั จดั ทำ� คำ� ของบประมาณรายจา่ ยประจำ� ป)ี จำ� นวน 20 คน เปน็ เวลา 1 วนั

เชงิ คณุ ภาพ
- สำ� นกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั สมทุ รปราการ มแี ผนปฏบิ ัตริ าชการประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ.2562 ทส่ี อดคลอ้ ง
กบั นโยบายรฐั บาล หน่วยงานต้นสังกัด นโยบายการพัฒนาจังหวดั และสภาพปญั หาความต้องการของประชาชนในพื้นที่

การวเิ คราะหค์ วามเสย่ี งของโครงการ
ปัจจยั ความเสย่ี ง

ขอ้ มลู ท่ใี ช้ประกอบการจดั ท�ำแผน
ปฏิบัติราชการประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2562
ของส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสมุทรปราการ
(ฉบับจัดท�ำค�ำของบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี)
มีบางส่วนที่ยังไม่ครบถ้วน ทนั ตอ่ เหตุการณ์
แนวทางการบรหิ ารความเสีย่ ง

ผู้รบั ผิดชอบข้อมูล ตดิ ตามข้อมลู ทใี่ ช้
ประกอบการจัดท�ำแผนปฏิบัติราชการประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ของส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสมุทรปราการ
(ฉบบั จัดทำ� คำ� ของบประมาณรายจ่ายประจ�ำป)ี ใหค้ รบถว้ น สามารถประกอบการตดั สินใจได้

62 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

สำ�นักงานจงั หวดั สมทุ รปราการ

8. ปญั หาและอปุ สรรคในการด�ำเนนิ งาน
ไม่มี

ผลที่คาดวา่ จะได้รบั


ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสมุทรปราการ มีแผนปฏิบัติราชการประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ใช้ในการ
จัดท�ำค�ำของบประมาณประจ�ำปี พ.ศ. 2562 และเป็นแนวทางในการขับเคลื่อนการบริหารจัดการศึกษาของจังหวัดให้ตรง
ตอ่ ความต้องการของผู้เรยี น ผู้ปกครอง และชมุ ชน

3.โครงการจัดท�ำขอ้ มลู ดา้ นการศกึ ษาจังหวดั สมุทรปราการ

1. โครงการ : จัดท�ำขอ้ มลู ดา้ นการศกึ ษาจงั หวดั สมุทรปราการ
2. หลักการและเหตุผล

ส�ำนักศึกษาธิการจังหวัดในฐานะหน่วยงานที่จัดตั้งข้ึนใหม่ ตามค�ำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติท่ี 19/2560
ลงวันที่ 3 เมษายน พุทธศักราช 2560 เรื่อง การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ มีภารกิจเก่ียวกับ
การบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาภายในจังหวดั ตามที่ไดร้ บั มอบหมายใหเ้ กิดประสิทธิภาพ มีความเชือ่ มโยงและบรูณาการ
การจัดการศึกษาทุกระดับของจังหวัดให้มีเอกภาพเชิงนโยบาย หลากหลายการปฏิบัติ ตลอดจนเพื่อให้เกิดความร่วมมือ
ของทุกภาคส่วนท้งั หน่วยงานในสงั กัดกระทรวงศกึ ษาธิการ และหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง ท้ังภาคเอกชน ภาคประชาชน และ
องค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่

แต่เนื่องจากหน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาในจังหวัดสมุทรปราการมีหลายสังกัด ท้ังในและนอก
กระทรวงศึกษาธิการ มีขอ้ มลู มากมาย กระจดั กระจายอยู่ในส่วนตา่ งๆ ตามภาระหนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบ การบรหิ ารจัดการ

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017 63

สำ�นกั งานจงั หวัดสมุทรปราการ

ข้อมูลของหน่วยงานระดับจังหวัดเป็นลักษณะต่างคนต่างจัดเก็บข้อมูลตามโปรแกรมท่ีต้นสังกัดก�ำหนด ท�ำให้ขาด
การประสานงาน การบรู ณาการ และการแลกเปลีย่ นข้อมลู ระหวา่ งหนว่ ยงานในจงั หวดั ขาดขอ้ มลู สารสนเทศทีส่ �ำคัญหรือ
ใช้ข้อมลู ได้ไม่คุ้มคา่ สง่ ผลตอ่ ประสิทธภิ าพการจัดการศกึ ษาจงั หวดั เปน็ อยา่ งมาก จึงไดจ้ ัดทำ� โครงการนี้ข้นึ

3. วตั ถปุ ระสงค์

1.เพอื่ มขี อ้ มลู กลางดา้ นการศกึ ษาของจงั หวดั สมทุ รปราการ
2. เพ่ือพัฒนาฐานข้อมูลกลางส�ำหรับการบูรณาการข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาของ ทุกหน่วยงานทาง
การศึกษาในจงั หวดั เชือ่ มโยงกนั อย่างเป็นระบบ
3.เพอ่ื เผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู สารสนเทศดา้ นการศกึ ษาของจงั หวดั แกห่ นว่ ยงานทจ่ี ดั
การศกึ ษาหน่วยงานที่เก่ยี วขอ้ งและผสู้ นใจทวั่ ไป

4. ระยะเวลาและสถานที่ด�ำเนนิ การ
ระหว่างเดือนสิงหาคม - กันยายน 2560

5. วิธีด�ำเนนิ การ/ขนั้ ตอนการด�ำเนินงาน

ที่ กิจกรรมหลกั ระยะเวลา หมายเหตุ
1 แตง่ ตัง้ คณะทำ�งานจดั ทำ�ข้อมลู กลางดา้ นการศึกษา ส.ค.60
ส.ค.60
เพ่ือการบรหิ ารจดั การระดับจงั หวดั 15 ส.ค.60
2 ประสานงานระหว่างหนว่ ยงานทางการศกึ ษา เพอื่ จัดทำ�ข้อมูลกลาง และการ (1 วัน)

เช่ือมโยงระบบเครอื ขา่ ยทางการศกึ ษาของจังหวัด ก.ย.60
3 จัดประชมุ เชิงปฏิบตั กิ ารบูรณาการขอ้ มูลกลางด้านการศึกษา

เพ่ือการบริหารจัดการ ระดับจงั หวัด
3.1 กำ�หนดขอบเขตและรูปแบบขอ้ มูลกลางด้านการศึกษาทตี่ ้องจัดเกบ็ ใหเ้ ป็นไป
ในทิศทางเดยี วกัน
3.2 กำ�หนดฐานข้อมูลกลางดา้ นการศึกษาและรอบระยะเวลา
ในการจัดเกบ็ ข้อมลู ของทกุ หน่วยงานทางการศึกษาในจงั หวัด
3.3 วิเคราะห์ กล่นั กรองฐานข้อมลู กลางด้านการศกึ ษาเพอ่ื ใหผ้ ู้บริหารสามารถนำ�
ไปใชส้ นบั สนนุ การตัดสนิ ใจในการวางแผนด้านการจดั การศึกษาของจงั หวดั เป็น
2 ประเภท

3.3.1 ข้อมลู สนับสนนุ การบริหารจัดการ
3.3.2 ขอ้ มูลเพ่อื การวางแผนและการปฏิบัติงาน
4 นำ�เสนอ เผยแพร่ ประชาสัมพันธข์ ้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา
ของจังหวดั แก่หน่วยงานที่จัดการศึกษา หนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้องและผู้สนใจทว่ั ไป
โดย
4.1 จัดทำ�ในรูปเอกสารขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นการศึกษาของจงั หวัดสมุทรปราการ
4.2 เผยแพรผ่ า่ น Web site ของหน่วยงานทางการศกึ ษาทกุ สงั กดั
ในจงั หวดั

64 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

สำ�นักงานจังหวัดสมุทรปราการ

6. สรุปผลการด�ำเนนิ การ (บรรยายขอ้ มูลเชงิ คุณภาพ)
เชงิ คุณภาพ

ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสมุทรปราการ และหน่วยงานทางศึกษาทุกสังกัด มีระบบฐานข้อมูลกลางด้าน
การศึกษาท่ีครบถ้วน ถูกต้อง เชื่อถือได้ ทันสมัย ตรงตามความต้องการและทันต่อเวลา เชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ และ
นำ� มาใช้บรหิ ารจดั การศกึ ษาในจังหวัดไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

7. ข้อมลู การด�ำเนนิ งานเชงิ สถิตหิ รอื เชิงปรมิ าณ (ในรปู แบบตารางสรปุ ข้อมูล)
เปา้ หมาย

เชิงปริมาณ
1. คณะท�ำงานจัดทำ� ข้อมลู สารสนเทศด้านการศกึ ษา ระดบั จังหวดั จำ� นวน 14 คน
2. เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านข้อมูลสารสนเทศของหน่วยงานทางการศึกษาทุกสังกัด และเจ้าหน้าที่ท่ีเก่ียวข้อง
จำ� นวน 16 คน

ตวั ช้ีวัดและคา่ เป้าหมาย

ตัวชว้ี ดั คา่ เปา้ หมาย
90
เชิงปรมิ าณ 90
1) ร้อยละของขอ้ มลู กลางด้านการศกึ ษา มคี วามถกู ต้อง ครบถ้วน น่าเช่ือถือ 100
2) รอ้ ยละของหน่วยงานทางการศกึ ษามีการปรับปรงุ ข้อมลู สำ�คญั ท่ีต้องจัดเก็บไดต้ ามรอบระยะ
90
เวลาทีก่ ำ�หนด 90
3) ร้อยละของหน่วยงานทางการศกึ ษาทุกสงั กัดเข้าร่วมประชุมปฏบิ ตั กิ ารจัดทำ�ฐานขอ้ มลู กลาง 90
ด้านการศึกษาครบถว้ น

เชงิ คณุ ภาพ ในการวางแผน
1) ร้อยละของหนว่ ยงานทางการศึกษาสามารถนำ�ขอ้ มูลสารสนเทศไปใช้ ดา้ นการศกึ ษาได้
บริหารจดั การศึกษาไดอ้ ยา่ งประสิทธภิ าพ
2) รอ้ ยละความพงึ พอใจของผูร้ ับบรกิ ารข้อมลู สารสนเทศ
3) รอ้ ยละของหน่วยงานทางการศึกษามีระบบการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
อย่างเหมาะสมสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของผูร้ ับบรกิ าร

การวิเคราะห์ความเสีย่ งของโครงการ
ปัจจัยความเสยี่ ง
ฐานข้อมูลดา้ นการศกึ ษาของหนว่ ยงานทางการศกึ ษาในจังหวัด ยังกระจัดกระจายอย่ใู น ส่วนต่าง ๆ ตามภาระ
หน้าที่ความรับผิดชอบ การบริหารจัดการข้อมูลของหน่วยงานระดับจังหวัดเป็นลักษณะต่างคนต่างจัดเก็บข้อมูล
ตามโปรแกรมท่ีต้นสังกัดก�ำหนด ท�ำให้ขาดการประสานงานการบูรณาการ และการแลกเปล่ียนข้อมูลระหว่างหน่วยงาน
ในจังหวัด ฐานข้อมูลกลางขาดความสมบูรณ์ ขาดข้อมูลสารสนเทศที่ส�ำคัญและใช้ข้อมูลไม่คุ้มค่า และบุคลากร/หน่วยงาน
ไม่ปรับปรงุ ขอ้ มลู ให้เปน็ ปจั จุบนั

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 65

สำ�นกั งานจงั หวดั สมุทรปราการ

แนวทางการบรหิ ารความเสย่ี ง
1. กำ� หนดผู้รบั ผิดชอบและรอบระยะเวลาในการปรับปรงุ ข้อมลู ที่ตอ้ งจัดเกบ็ ใหช้ ัดเจน
2. ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานทางการศึกษาทุกสังกัด ในจังหวัดท่ีจะรับผิดชอบ การน�ำเข้าข้อมูลที่

จ�ำเป็นส�ำหรับออกรายงานตามรอบเวลาท่ีก�ำหนด รวมทั้งก�ำหนดมาตรฐานการท�ำงาน ท่ีสอดคล้องกัน เพื่อให้ข้อมูลที่
น�ำเขา้ ไปมีความถกู ตอ้ ง สมบรู ณ์มากที่สุดผลท่คี าดวา่ จะได้รบั

ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสมุทรปราการ สามารถน�ำระบบฐานข้อมูลสารสนเทศกลางด้านการศึกษา มาใช้
ในการวางแผน การบริหารจดั การการศกึ ษาของจงั หวัด ให้มคี วามถูกต้อง เหมาะสม รวดเร็ว มปี ระสทิ ธิภาพ และเชอื่ มโยง
ติดตอ่ สอื่ สารข้อมลู ถงึ กันได้ทุกระดับ

8. ปัญหาและอปุ สรรคในการด�ำเนินงาน
ไม่มี

4.โครงการการด�ำเนินงานคลนิ กิ หมอครอบครัว (Primary Care Cluster : PCC)

1.ชอื่ โครงการ/กิจกรรม
การด�ำเนินงานคลินกิ หมอครอบครวั (Primary Care Cluster : PCC)

2.หลักการและเหตุผล
ระบบบรกิ ารสุขภาพในปัจจบุ นั ขบั เคลื่อนด้วยโรงพยาบาลใหญแ่ พทย์เฉพาะทาง ดแู ลรายโรค รายอวยั วะ

ไม่มีเจ้าภาพดูแลแบบองค์รวม ขาดความมั่นคงในระบบ ประกอบกับร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เมื่อวันที่ 7
สิงหาคม 2559 กำ� หนดไว้ใน หมวด 16 การปฏิรูปประเทศ (5) ใหม้ รี ะบบการแพทยป์ ฐมภมู ทิ ่มี ีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครวั
ดูแลประชาชนในสัดส่วนท่ีเหมาะสม และเพื่อให้สอดคล้องกับแนวยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีของรัฐบาล แผนพัฒนาสุขภาพ
แหง่ ชาติฉบบั ท่ี 12 และ แผน 20 ปีกระทรวงสาธารณสขุ องคก์ รแห่งความเป็นเลิศ 4 ด้าน คอื เปน็ เลศิ ดา้ นสขุ ภาพดี (P&P
Excellence) เป็นเลิศด้านบริการดี (Service Excellence) เป็นเลิศด้านคนดี(People Excellence) และ เป็นเลิศด้าน
บริหารดี (Governance Excellence) เพ่อื มุง่ สู่เป้าหมายประชาชนสุขภาพดี เจ้าหนา้ ทม่ี ีความสขุ ระบบสขุ ภาพยัง่ ยนื

กระทรวงสาธารณสุข จึงก�ำหนดนโยบายปฏิรูประบบบริการสุขภาพด้านปฐมภูมิ โดยจัดท�ำโครงการ
คลินกิ หมอครอบครัว (Primary Care Cluster) เพอ่ื ปรบั สามเหลี่ยมใหก้ ลบั ตั้งอยู่บนฐานท่มี ีความม่ันคง ลดความเหลีย่ มลำ้�
ในการเขา้ ถงึ การบริการประชาชน

3.วตั ถปุ ระสงค์

1. เพือ่ ใหเ้ กิดระบบการดูแลแบบองคร์ วม
2. เพอื่ ใหเ้ กิดการพัฒนาระบบบรกิ ารประชาชน ด้วยการบรกิ าร ทุกคน ทกุ อย่าง ทกุ ที่
ทุกเวลาด้วยเทคโนโลยี ด้วยทมี หมอครอบครวั
4.ระยะเวลาการด�ำเนนิ การ

ตุลาคม 2559 – กันยายน 2560
5.วธิ ีการด�ำเนินการ

1.วางระบบบคุ ลากร ตามสัดส่วนประชากร และตามกรอบอัตราก�ำลงั ของ PCC
2.วางระบบขอ้ มูลสารสนเทศ เพอ่ื ใหไ้ ด้ขอ้ มลู ในการวางแผนและพัฒนา
3.จัดระบบบริการท่ีดูแลแบบองค์รวมด้วยทีมหมอครอบครัว และกรอบแนวทางการด�ำเนินงาน
สมุทรปราการโมเดล
๔.วางระบบการสนบั สนุนจากแม่ข่าย ดา้ น ยา เวชภณั ฑ์ และเทคโนโลยี และการสง่ ต่อผู้ปว่ ย

66 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

สำ�นักงานจงั หวดั สมทุ รปราการ

5.การตดิ ตาม ประเมนิ ผลการด�ำเนนิ งาน
6.สรุปผลการด�ำเนินงาน (บรรยายขอ้ มูลเชงิ คุณภาพ)

กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุขได้ก�ำหนดนโยบายปฏิรูประบบริการสุขภาพด้านปฐมโดย
อาสาจัดท�ำคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care cluster) เพ่ือปรับสามเหลี่ยมให้กลับต้ังอยู่บนฐานท่ีมีความม่ันคง
ลดความเหลื่อมล�้ำ ด้วยแนวคิด บริการทุกคน ทุกอย่าง ทุกที่ ด้วยทีมหมอครอบครัวอันประกอบด้วยแพทย์เวชศาสตร์
ครอบครัว และสหวิชาชีพ ดูแลสุขภาพประชาชน ด้วยกระบวนการเวชศาสตร์ครอบครัว จังหวัดสมุทรปราการ โดย
Cup ทุกแห่งได้วางแผนการจัดตั้ง PCC/FCT ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ซึ่งภายใน 10 ปี จะมี 44 PCC และ 139 ทีม
แต่เน่ืองจาก ในปี 2560 จังหวัดสมุทรปราการมีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวท่ีผ่านการอบรมระยะส้ัน 11 คน และ
แพทยเ์ ฉพาะทางเวชศาสตร์ครอบครวั 3 คน รวมจำ� นวน 14 คน จงึ ทำ� ให้เกดิ PCC ตามเกณฑท์ ี่กำ� หนดคือ

1.โรงพยาบาลทั่วไป 2 แห่ง คือ โรงพยาบาลสมุทรปราการ เปิด 2 PCC คือ PCC ราชา และ PCC
เทพารักษ์ ส่วนโรงพยาบาลบางพลี เปดิ 1 PCC คอื PCC บางแกว้

2.โรงพยาบาลชุมชน 4 แห่ง คือ บางบ่อ/บางจาก/พระสมุทรเจดีย์และโรงพยาบาลบางเสาธง มี FCT
โรงพยาบาลละ 1 แหง่ โรงพยาบาลพระสมทุ รเจดีย์ มี ๒ FCT

ซ่ึงจังหวัดสมุทรปราการได้วางแนวทางการด�ำเนินงานตามหลักเวชศาสตร์ครอบครัวมีนักเวชศาสตร์และ
ทีมสุขภาพในต�ำบล ชุมชน ด�ำเนินการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม โดยมีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวเป็นหัวหน้าทีมเป็นท่ี
ปรึกษาและเป็นพี่เลี้ยงให้แก่ทีมสุขภาพ ในการดูแลประชาชนในพ้ืนท่ีรับผิดชอบและได้วางแผนจัดตั้ง PCC และแผนองค์
ประกอบ 4 ด้าน (แผน 10 ป)ี ประกอบดว้ ย โครงสร้าง 4 S ไดแ้ ก่

1. Staff - การจดั ทำ� แผนอัตราก�ำลงั ในทกุ สาขา
2. System - การพฒั นาระบบบรกิ าร ระบบสง่ ตอ่ ระบบขอ้ มูล ระบบการจดั การ
3. Structure - การพัฒนาดา้ นโครงสร้างรพ.สต. /PCC
4. Service - การจดั ระบบบรกิ าร
รายละเอยี ดดงั น้ี
1. Staff - การจัดท�ำแผนอัตรากำ� ลังในทกุ สาขา มกี ารพัฒนาทีม FCT สหเวชศาสตร์ในปี 2559 ร่วมมอื กบั คณะ
สหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลิตนักสหเวชศาสตร์ชุมชนจ�ำนวน 206 คน และอสม.พนักงานสหเวชศาสตร์
ชุมชน จ�ำนวน 150 คน (มีความรู้และทักษะด้านเวชศาสตร์ครอบครัวและสหสาชาวิชาชีพที่เก่ียวข้องกับการดูแลผู้ป่วย/
ประชาชน) ให้ปฏิบัติงานในทุก รพ.สต.ทุกแห่งๆละ 2 – 3 คน เพ่ือเป็นแกนน�ำในการน�ำบางด้วนโมเดลไปขยายผลในทีม
FCTทุกคนในรพ.สต. เพื่อเปน็ ฐานทสี่ �ำคญั ของการทำ� งาน PCC
2. System - การพฒั นาระบบบรกิ าร ระบบส่งตอ่ ระบบขอ้ มลู ระบบการจดั การ จังหวัดสมุทรปราการมีการ
ดำ� เนินการ ไดแ้ ก่

2.1 พฒั นาระบบปฐมภมู ิ “สมุทรปราการโมเดล ปี 2560” ทเี่ ชื่อมต่อจากโรงพยาบาลแมข่ า่ ยจนถึงครอบครวั
โดยใช้ FCT (หมอครอบครัว) ระดับชุมชนเป็นผู้ขับเคลื่อนและเช่ือมต่อบริการจากโรงพยาบาลถึงชุมชนผ่าน อสม.
(อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจ�ำหมู่บา้ น) และถงึ ครัวเรอื นโดยแกนนำ� สุขภาพครอบครวั (กสค.)/อาสาสมัครประจำ� ครอบครัว
(อสค.) ดูแลกลุ่มเป้าหมายครอบคลุมทุกกลุ่มวัยและทุกกลุ่มบริการตามหลักเวชศาสตร์ครอบครัวรวมถึงการจัดการสุขภาพ
ชมุ ชนยอ่ ย Micro DHS เชอ่ื มตอ่ สรู่ ะบบสุขภาพอำ� เภอ

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 67

สำ�นกั งานจังหวดั สมุทรปราการ

2.2 พัฒนารูปแบบและระบบการดูแลตามหลักเวชศาสตร์ครอบครัวในทุกกลุ่มวัยและกลุ่มเป้าหมายที่ต้อง
ดูแลโดยร่วมมือกับ Cup เมืองสมุทรปราการ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวของโรงพยาบาลสมุทรปราการ ทีมเจ้าหน้าท่ี
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบางด้วน ใช้รพ.สต.บางด้วนเป็นสถานท่ี(ห้องLAB) ในการเรียนรู้และพัฒนาระบบบริการ
“บางด้วนโมเดล” ซง่ึ เป็นการพัฒนาระบบการดูแลตามหลักเวชศาสตรค์ รอบครัวรองรบั PCC ใน 3 ประเด็น

2.2.1 พัฒนาเครือ่ งมอื การดแู ลผู้ป่วยตามหลักเวชศาสตร์ครอบครวั และชดุ เรียนรู้ (Starter Kit) 4 ชดุ
ประกอบด้วย ชุดท่ี 1 ปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม ชุดที่ 2 ผพู้ ิการ/ผ้ดู แู ล ชุดที่ 3 วางแผนบนั้ ปลายชวี ติ ชดุ ท่ี 4 ไตวาย ซง่ึ ทัง้
4 ชุด ได้เผยแพร่เปน็ Clip ผา่ น YouTube และเว็บไซต์ ให้ FCT ของจังหวดั สมทุ รปราการได้เรยี นรแู้ ละพฒั นาการทำ� งาน

2.2.2 พัฒนาระบบ IT เพ่ือการจัดเก็บข้อมูลตามเคร่ืองมือที่ใช้ในการดูแลฯและการใช้ข้อมูลของทีม
FCT ในทุกระดับท่ีเช่ือมโยงกันถึงแพทย์ FM และทีมสหวิชาชีพ ผ่าน Smart Phone/Tablet/Notebook ใช้
Telemedicine ในการดูแลเฝ้าระวังผู้ป่วยทางไลน์ ฯลฯ และเครื่องมืออ่ืน ๆ ที่จ�ำเป็น เช่น Sticker ช่วยเตือนโรคหลอด
เลอื ดสมอง หัวใจขาดเลอื ด การรบั ประทานยา ฯลฯ มีแผนการพฒั นาต่อดงั นี้

1. พัฒนา Starter Kit ตามปัญหาทพ่ี บ เช่น ชุดเดก็ อ้วน การฟน้ื ฟูทางจติ ใจ
2. พัฒนา GIS ในการตดิ ตามผู้ป่วยและระบบส่งต่อ
3. ใช้ Drone ในการสง่ ยา/อุปกรณ์ให้ญาตใิ นกลุม่ ผปู้ ว่ ยติดเตียง ฯลฯ
2.2.3 การพฒั นา PCCบางแกว้ เปน็ ตน้ แบบในการพัฒนาระบบ PCC ในระดับอ�ำเภอประกอบด้วย
1. การน�ำ/การก�ำกับ/การอภบิ าลระบบ/การบริหารด้านการเงนิ การคลงั
2. ภารกจิ ดา้ นการรบั สง่ ต่อในระบบบริการ
3. ด้านการจดั ระบบสนับสนุนไดแ้ ก่ PCC
จากการพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิจังหวัดสมุทรปราการท่ีกล่าวมาแล้ว นอกจากจะเป็นการพัฒนาเพื่อรองรับ
นโยบาย PCC แล้วยังเป็นการพัฒนาเพ่ือรองรับนโยบาย Thailand 4.0 ในการน�ำ Technology มาใช้ในการพัฒนา
คุณภาพบริการและนวัตกรรมบริการโดยพัฒนาเครื่องมือการดูแลผู้ป่วยตามหลักเวชศาสตร์ครอบครัว มีการพัฒนาระบบ
IT เพื่อการจัดเก็บข้อมูล ตามเคร่ืองมือ ทั้ง 4 ชุด นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาต่อยอดงาน จากบางด้วนโมเดล ได้แก่
1) พัฒนาค�ำช่วยอ่านในฉลากยาโดยน�ำระบบQR CODE มาใช้ 2) ใช้ระบบการเรียกคิวมาจัดการในการให้บริการโดย
เชอ่ื มกับฐานข้อมลู เดมิ ทีม่ ีอย่แู ล้ว 3)ทำ� สติกเกอร์ช่วยเตอื นโรคที่เกดิ ความพิการหรือสูญเสียโดยระบบLINE

68 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นกั งานจังหวัดสมุทรปราการ

3. Structure - พัฒนาด้านโครงสร้างรพ.สต. /PCC ใช้รพ.สต.ที่เป็นแม่ข่ายของ CLUSTER เป็นคลินิกหมอ
ครอบครวั จดั ท�ำแผน 10 ปี ขอสนับสนุนวสั ดอุ ปุ กรณใ์ นการด�ำเนนิ งาน เชน่ อาคารสถานท่ี Unit ทันตกรรม EKG U/S
รถ Ambulance

4. Service - จัดระบบบรกิ ารครอบคลุม 5 กลุ่มวยั (Before Womb To Tomb SPK) /4 กล่มุ เป้าหมายตามหลัก
เวชศาสตร์ครอบครัวและจดั ระบบบรกิ าร SP เช่ือมต่อจาก รพ.แมข่ ่าย ถึงชมุ ชน จ�ำนวน 11 สาขา และเชอ่ื มโยงการดแู ล
ชุมชนด้วยระบบสขุ ภาพชุมชนยอ่ ย / การจดั การชุมชนโดยทมี หมอครอบครวั
7.ขอ้ มลู การด�ำ เนนิ งานเชิงสถิตหิ รือเชงิ ปรมิ าณ (ในรูปแบบตารางสรปุ ข้อมลู )
จ�ำนวน 14 คน จงึ ทำ� ให้เกดิ PCC ตามเกณฑท์ ก่ี ำ� หนดคือ

1. โรงพยาบาลท่ัวไป 2 แห่ง คือ โรงพยาบาลสมุทรปราการ เปิด 2 PCC คือ PCC ราชา และ PCC เทพารักษ์
ส่วนโรงพยาบาลบางพลี เปิด 1 PCC คือ PCC บางแกว้
2. โรงพยาบาลชมุ ชน 4 แหง่ คอื บางบอ่ /บางจาก/พระสมทุ รเจดยี ์และโรงพยาบาลบางเสาธง มี FCT โรงพยาบาล
ละ 1 แหง่ โรงพยาบาลพระสมทุ รเจดีย์ มี 2 FCT

ขอ้ มูล PCC สมทุ รปราการ ปี 2560

ที่ อำ�เภอ ชอื่ PCC จำ�นวนทมี หนว่ ย
1 เมอื ง pcc ราชา 3 ทีม
2 เมือง pcc เทพารักษ์ 3 ทมี
3 บางพลี pcc บางแกว้ 3 ทีม
4 พระประแดง ทีมบางพงึ่ 1 ทีม
5 บางเสาธง ทมี โรงพยาบาลบางเสาธง 1 ทีม
6 บางบ่อ ทีมโรงพยาบาลบางบอ่ 1 ทีม
7 พระสมทุ รเจดยี ์ ทีมรพสต.แหลมฟ้าผา่ 1 ทีม
8 พระสมทุ รเจดยี ์ ทีมรพสต.ในคลองบางปลากด 1 ทมี

14 ทมี

แผนจดั ตัง้ PCC 10 ปี จังหวดั สมทุ รปราการ

ซ่ึงจังหวัดสมุทรปราการได้วางแนวทางการด�ำเนินงานตามหลักเวชศาสตร์ครอบครัวมีนักเวชศาสตร์และ
ทีมสขุ ภาพในตำ� บล ชมุ ชน ดำ� เนนิ การดูแลสขุ ภาพแบบองคร์ วม โดยมีแพทยเ์ วชศาสตร์ครอบครวั เป็นหวั หนา้ ทีม

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017 69

สำ�นกั งานจังหวัดสมทุ รปราการ

8.ปญั หาและอปุ สรรคในการด�ำเนนิ งาน
1. บคุ ลากรในทีมหมอครอบครวั ขาดสาขาแพทยเ์ วชศาสตร์ครอบครัว

2. ขาดการแลกเปลี่ยนเรยี นรใู้ นทมี สหวิชาชพี

5.โครงการการด�ำเนินการพัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพ (Service Plan)

1.ชอ่ื โครงการ/กจิ กรรม
การดำ� เนินการพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ (Service Plan) สาขามะเร็ง
2.หลกั การและเหตผุ ล
จังหวัดสมุทรปราการเป็นเมืองอุตสาหกรรม ประชาชนอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น มีวิถีชีวิตท่ีเร่งรีบ ส่วนใหญ่
ประกอบอาชีพรับจ้างในโรงงานอุตสาหกรรม ซ่ึงมีมากกว่า 6,000 แหง่ สาเหตกุ ารตายตามรหสั โรค ICD10 อันดบั แรก คือ
มะเร็ง โดยพบอัตราตายท่ีส�ำคัญ คือ มะเร็งปอด,มะเร็งตับ, มะเร็งเต้านม, และมะเร็งล�ำไส้ใหญ่ ตามล�ำดับ และพบอัตรา
ป่วยด้วยโรคมะเร็งเรียงลำ� ดับจากมากไปนอ้ ยคอื มะเรง็ เต้านม, มะเร็งล�ำไส,้ มะเรง็ ปอด,มะเรง็ ปากมดลูก และมะเร็งตับ
3.วัตถปุ ระสงค์
3.1 เพ่ือใหป้ ระชาชนเขา้ ถึงการรกั ษาใหไ้ ดม้ ากขนึ้
3.2 เพอ่ื ใหเ้ กิดการพัฒนาระบบบรกิ าร
4.ระยะเวลาการด�ำเนนิ การ
ตุลาคม 2559-กนั ยายน 2560
5.วธิ กี ารด�ำเนนิ การ
5.1 จัดตง้ั คณะกรรมการ Service plan สาขามะเรง็
5.2 จัดประชุมคณะกรรมการทกุ 3 เดือน
5.3 จัดตั้งระบบการรายงานโดยใชโ้ ปรแกรม Thai cancer base
5.4 สรปุ ปญั หาการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้
5.5 การติดตาม ประเมินผลการด�ำเนนิ งาน
6.สรุปผลการด�ำเนนิ งาน
หน่วยเคมีบ�ำบัด เปิดให้บริการตั้งแต่วันท่ี 1 เดือนมิถุนายน 2560 เปิดให้บริการวันจันทร์ – ศุกร์ ช่วงบ่าย เวลา
13.00 – 16.00 น.ทุกวนั ยกเว้นวันพุธ ให้บรกิ ารการรักษาผู้ป่วยมะเรง็ มี 3 วธิ ี คือ
1.การผ่าตัด การรักษาด้วยวิธีการผ่าตัดของโรงพยาบาลสมุทรปราการสามารถผ่าตัดภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์
2.การให้ยาเคมีบ�ำบัด การรักษาแบบการให้ยาเคมีบ�ำบัด จะมีคนไข้แต่ละวันประมาณ 5-10 รายต่อวัน และมี
แนวโน้มจะเพิ่มข้ึนมากเรื่อยๆ นอกจากจะรักษาแล้วที่หน่วยยังให้ค�ำปรึกษาเก่ียวกับการเตรียมตัวก่อนให้ยาเคมีกับผู้ป่วย
และญาติของผูป้ ่วยเพ่อื สร้างความคนุ้ เคยและความเขา้ ใจเก่ยี วกับระบบการรักษา
การนดั เราจะนัดใหย้ าเคมชี ่วงเชา้ เวลา 08.00-12.00 น. จะเรยี กวา่ “Day care” คือมาเชา้ กลับเยน็ และอีกแบบ
คอื แบบนอนโรงพยาบาล เราจะนดั คนไข้มานอนโรงพยาบาลเพอ่ื ให้ยาเปน็ รอบๆ
ผู้ป่วยที่ให้ยาเคมีแบบนอนโรงพยาบาล ผู้ป่วยจะนอนที่ศัลยกรรมชายและศัลยกรรมหญิง ในวันจันทร์ - วันพุธ
1 สัปดาห์ จะมีผู้ป่วยประมาณ 8-10 รายต่อสัปดาห์ เนื่องจากผู้ป่วยมะเร็งมาใช้บริการเพิ่มมากขึ้น ในอนาคตจะมีวอร์ด
การใหย้ าเคมี
3.การฉายแสง การรกั ษาดว้ ยวิธีฉายแสงโรงพยาบาลสมทุ รปราการยงั ไมส่ ามารถใหบ้ ริการด้วยวิธีฉายแสงได้ จะส่ง
ต่อไปรักษาในเขตและนอกเขตบริการตามผู้ป่วยสะดวกในการเดินทางและโรงพยาบาลสมุทรปราการยังไม่มีแพทย์เฉพาะ
ทางด้านมะเร็งโรคเลือด จงึ ตอ้ งสง่ ต่อผ้ปู ่วยมะเร็งโรคเลอื ดเพอื่ ท�ำการรกั ษา

70 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นักงานจังหวดั สมุทรปราการ

นอกจาการรักษาแล้วหน่วยเคมีบ�ำบัดของโรงพยาบาลสมุทรปราการยังมีบริการด้านการให้ค�ำปรึกษา การตรวจ
รักษาและการติดตามอาการของผู้ป่วยมะเร็ง ในส่วนน้ีจะเป็นส่วนของคลินิกมะเร็งในหน่วยเคมีบ�ำบัด จะเปิดให้บริการใน
เวลา 13.00-16.00 น. วนั จันทร-์ วนั ศกุ ร์

ผลงานตามตัวชวี้ ดั Service plan ยุทธศาสตร์ที่ 4 การรักษาโรคมะเรง็ (Cancer Treatment)

1.ระยะเวลาการรอคอยรกั ษาด้วยการผ่าตัด ภายใน 4 สปั ดาห์ เป้าหมาย 178
≥ ร้อยละ 80
2.ระยะเวลาการรอคอยรักษาด้วยเคมีบำ�บดั ภายใน 6 สัปดาห์ ผลงาน(ราย) 170
≥ รอ้ ยละ 80 ร้อยละ 95.5
3.ระยะเวลาการรอคอยรักษาด้วยรังสีรกั ษา ภายใน 6 สปั ดาห์ เปา้ หมาย 186
≥ ร้อยละ 80 ผลงาน(ราย) 160
ร้อยละ 86.02
เปา้ หมาย 86
ผลงาน(ราย) 75
รอ้ ยละ 87.20

สรุปผลงาน ตวั ชวี้ ัดผา่ นทั้ง 3 ตวั
7.ปัญหาและอปุ สรรคในการด�ำเนนิ งาน
7.1 การจดั สรรทรพั ยากรไม่เพียงพอต่อการให้บรกิ าร
7.2 ขาดบคุ ลากรทางการแพทยเ์ ฉพาะทาง เชน่ แพทย์มะเรง็ โรคเลือด
7.3 สถานที่ผสมยาเคมีบ�ำบัดยังไม่ได้มาตรฐาน ตู้ผสมยาเคมีบ�ำบัดยังไม่สามารถติดตั้งได้ ขณะนี้ส่งรพ.เอกชน
ผสมยาให้ ทรี่ พ.จุฬารัตน์ 9 ขณะนี้กำ� ลงั ดำ� เนินการปรบั ปรุงหอ้ งผสมยาเคมใี ห้ได้มาตรฐาน
7.4 ขาดบุคลากรการแพทย์ แพทย์เฉพาะทางมะเร็งหลายสาขา เช่น แพทย์ Oncogynae, Colorectal,
Hematology, Pathology พยาบาลเฉพาะทางมะเรง็ พยาบาลผา่ นอบรมใหย้ าเคมบี ำ� บดั 10 วนั , เภสชั กรผสมยาเคมบี ำ� บดั
7.5 ผู้ป่วยมะเร็งท่ีต้องเดินทางไปรักษาต่อด้วยการฉายแสงมีปัญหาการเดินทาง ค่าใช้จ่ายในการเดินทางและ
ไมม่ ผี ตู้ ิดตามดูแล
7.6 ระยะรอคอยฉายแสงนาน แมว้ ่าจะสง่ refer ตง้ั แตแ่ รกทีใ่ หย้ าเคมบี ำ� บดั ในบางราย

6.โครงการพฒั นาสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมใหมจ่ ากวสั ดทุ ี่ไมใ่ ชแ้ ลว้ โดยเทคโนโลยกี ารผลติ ทส่ี ะอาด 3

1. ช่อื โครงการ/กจิ กรรม
โครงการพัฒนาสร้างสรรคน์ วัตกรรมใหม่จากวสั ดุท่ไี มใ่ ช้แลว้ โดยเทคโนโลยกี ารผลิตทสี่ ะอาด 3

2. หลักการและเหตุผล
จากแผนพัฒนาจังหวัดสมุทรปราการพบว่าสถานการณ์แนวโน้มและปัญหาด้านขยะมูลฝอยมีปริมาณแนวโน้ม
มากข้ึนเร่ือย ๆ ปัญหาส�ำคัญที่เกิดข้ึนคือ ไม่มีระบบการคัดแยกขยะไม่มีสถานที่ทิ้งขยะหรือสถานท่ีก�ำจัดขยะเป็น
ของตนเอง สถานที่ก�ำจัดไม่ถูกสุขลักขณะ ระบบก�ำจัดขยะมูลฝอยขาดประสิทธิภาพ มีการลักลอบทิ้งขยะมูลฝอย วิธีการ
ก�ำจดั ไม่ถกู สขุ ลักษณะ
ดังน้ัน การพัฒนาสร้างสรรคน์ วัตกรรมใหมจ่ ากวัสดทุ ่ีไมใ่ ชแ้ ล้วโดยเทคโนโลยีการผลิตทีส่ ะอาด 3R ดว้ ยการน�ำของ
เสียท่ีเกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมมาสร้างเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ และสร้างแนวคิดในการน�ำนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์มาใช้ให้
เกดิ ความคุม้ ค่าในด้านเศรษฐกจิ รวมท้ังลดปญั หาทางดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มให้แกโ่ รงงานอุตสาหกรรมดว้ ย

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017 71

ส�ำ นกั งานจังหวดั สมุทรปราการ

3. วตั ถปุ ระสงค์
3.1 น�ำวสั ดุทไี่ ม่ใช้แล้วทไ่ี ด้จากการใช้เทคโนโลยกี ารผลติ ทีส่ ะอาด ๓R มาสรา้ งเปน็ ผลติ ภัณฑใ์ หม่
3.2 เพื่อสร้างแนวคิดในการน�ำนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์มาใช้ให้เกิดความคุ้มค่าในด้านเศรษฐกิจรวมทั้งลดปัญหา

ทางดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มใหแ้ กโ่ รงงานอตุ สาหกรรม
3.3 ลดปริมาณและเพิม่ มลู ค่าส่งิ ปฏิกูลหรอื วสั ดุท่ีไมใ่ ชแ้ ล้วจากโรงงานอตุ สาหกรรม

4. ระยะเวลาด�ำเนินการ
29 พฤศจกิ ายน 2559 - 26 มถิ นุ ายน 2560

5. วิธกี ารด�ำเนินการ
5.1 ประชาสัมพันธ์โครงการ อบรม/สัมมนาให้ความรู้ และรับสมัคร/คัดเลือกสถานประกอบการท่ีมี ความพร้อม
เขา้ ร่วมโครงการ
5.2 จัดศึกษาดูงานในประเทศให้กับผู้ประกอบการท่ีเข้าร่วมโครงการ เพื่อให้เกิดแนวคิดในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์
ทไี่ ม่ใชแ้ ลว้ ให้เกดิ มลู ค่าทางเศรษฐกิจเพ่ิมขึน้
5.3 ท่ีปรึกษาลงพ้ืนท่ีในการให้ค�ำแนะน�ำแก่สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จาก
วสั ดุทีไ่ มใ่ ช้แล้ว ด้วยเทคโนโลยีสะอาด 3R Reduce Reuse Recycle
5.4 ศกึ ษาความคุม้ คา่ ของการลงทุนผลิตภณั ฑ์ การตลาดและกลุ่มเปา้ หมาย

5.5 พฒั นาผลิตภัณฑใ์ หม่จากวสั ดุท่ไี ม่ใช้แลว้ ด้วยเทคโนโลยีสะอาด 3R Reduce Reuse Recycle
5.6 เผยแพร่ผลการด�ำเนินโครงการ เพ่ือประชาสัมพันธ์ให้เห็นความส�ำคัญของการลดปริมาณวัสดุ หรือส่ิงปฏิกูล
จากระบวนการผลิตและเพม่ิ มลู ค่าให้วสั ดุท่ีไมใ่ ช้แล้ว

6. สรุปผลการด�ำเนินงาน (บรรยายข้อมลู เชิงคณุ ภาพ)
1. กิจกรรมสัมมนาเปิดโครงการ
จังหวัดสมุทรปราการ โดยส�ำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสมุทรปราการ ร่วมกับที่ปรึกษาด�ำเนินการจัดสัมมนาให้
ความรู้กับผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมในจงั หวดั สมทุ รปราการ ตามหลักการ ๓R ในวันพฤหสั บดที ่ี ๑๒ มกราคม 2560 เวลา
08.30 – 15.00 น. ณ โรงแรม มิราเคิล สวุ รรณภูมิ แอร์พอรต์ จังหวดั สมทุ รปราการ มผี ปู้ ระกอบการเขา้ รว่ มสมั มนาจำ� นวน
214 ราย โดยมีนายธนู บุญเลศิ รองผูว้ า่ ราชการจงั หวัดสมุทรปราการ ใหเ้ กียรตเิ ป็นประธานในพธิ ีเปิดงานสมั มนา ที่ปรกึ ษา
ไดม้ ีการประชาสมั พนั ธแ์ ละรบั สมคั รสถานประกอบการเขา้ รว่ มโครงการดงั กล่าว
2. กิจกรรมศึกษาดงู านในประเทศ
ท่ีปรึกษาได้พาผู้ประกอบการอุตสาหกรรมน�ำร่อง 7 โรงงาน ท่ีเข้าร่วมโครงการฯ พร้อมท้ังเจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้อง
รวม 25 คน ศึกษาดูงานสถานประกอบการ บริษัท คอนวูด จ�ำกัด และสวนม่ิงมงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษา
จังหวัดสระบุรี ซ่ึงเป็นอุตสาหกรรมช้ันน�ำแนวหน้าในกลุ่มบริษัท โฮลซิมแห่งประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ที่มีการตระหนักถึง
การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ จากส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจากการประกอบกิจการโรงงาน ท่ีไม่เป็นการท�ำลายธรรมชาติและ
สง่ิ แวดล้อม ระหว่างวนั ที่ 22 - 23 กมุ ภาพันธ์ 2560

3. กิจกรรมให้คำ� ปรกึ ษาและพฒั นาผลติ ภัณฑ์จากวัสดทุ ่ีไม่ใชแ้ ล้วของโรงงาน
ท่ีปรึกษาได้ลงพ้ืนท่ีแต่ละสถานประกอบการเพ่ือเข้าพัฒนาให้ค�ำแนะน�ำแก่สถานประกอบการอุตสาหกรรม
ทีเ่ ข้ารว่ มโครงการ ในการสร้างนวัตกรรมจากวัสดุท่ีไมใ่ ช้แล้วโดยเทคโนโลยีสะอาด 3R จำ� นวน 7 โรงงาน ๆ ละ 4 ครง้ั ดงั นี้

72 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นกั งานจังหวดั สมทุ รปราการ

คร้ังท่ี 1 เพ่ือชี้แจงรายละเอียดโครงการ ฝึกอบให้ความรู้ตามหลักการ 3R และให้ค�ำปรึกษาการค้นหา
ผลติ ภณั ฑ์ใหมจ่ ากวัดสุทีไ่ ม่ใช้แล้ว และจัดตัง้ คณะท�ำงานของแต่ละบรษิ ทั ฯ เพื่อแสดงถึงความมุ่งม่นั ของผ้บู รหิ าร และเปน็
แนวทางในการทำ� เทคโนโลยกี ารผลติ ท่ีสะอาด หรือ 3R ของบริษทั

ครั้งที่ 2 เพื่อส�ำรวจและตรวจประเมินกระบวนการผลิต ระดมสมองหาแนวทางการน�ำของเสียมาใช้
ประโยชน์ และคดั เลอื กผลติ ภณั ฑใ์ หม่ท่ีจะพัฒนาขน้ึ มา

คร้ังที่ 3 ได้จัดท�ำสรุปด้านเทคนิคของกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ใหม่จากวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว และสรุปการ
ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility study) ของผลิตภัณฑ์ รวมถึงการทดสอบและพิสูจน์ความเป็นไปได้ในการผลิตภัณฑ์
ใหม่จากวดั สทุ ี่ไม่ใชแ้ ลว้ เสนอให้แตล่ ะบริษัทพิจารณา

คร้ังท่ี 4 สรุปผลการด�ำเนินการและจัดแผนการด�ำเนินงานเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากวัดสุที่ไม่ใช้แล้ว
เพ่ือใหบ้ รษิ ทั น�ำเสนอรายงานต่อผู้บรหิ ารในการตัดสนิ ใจลงทุน

4. การพฒั นาผลิตภณั ฑจ์ ากวดั สทุ ่ีไม่ใช้แลว้
จากการให้ค�ำแนะน�ำของท่ีปรึกษา สถานประกอบการท่ีเข้าร่วมโครงการจ�ำนวน 7 ราย ระดมความคิด

เห็นของคณะทำ� งานแตล่ ะสถานประกอบการ ได้ตัดสินใจเลอื กสง่ิ ปฏิกลู หรอื วสั ดทุ ีไ่ มใ่ ช้แลว้ จากการประกอบกิจการโรงงาน
เพื่อนำ� มาสรา้ งสรรค์ผลิตภณั ฑใ์ หม่ ดังน้ี

ล�ำดับ รายช่ือ ของเสียทค่ี ดั เลอื ก ผลิตภัณฑท์ ีพ่ ฒั นา
1 บรษิ ัท พ๊อตเตอรส์ (ประเทศไทย) จ�ำกดั
2 บรษิ ัท สยาม ยเี อส แบตเตอร่ี จ�ำกัด ฝ่นุ กระจก สารเคลอื บตกแต่งในงานเซรามกิ

3 บริษทั เพอร์เฟค คอมพาเนยี น กรปุ๊ จำ� กดั กากตะกอนระบบบำ� บดั ดนิ เซรามกิ ในงานตกแตง่
น�้ำเสีย
4 บริษทั พรเี มยี ร์ โฟรเซน่ โพรดกั ส์ จำ� กดั
5 บริษัท ถุงเท้าไทย จ�ำกัด กากตะกอนระบบบำ� บัด เช้ือเพลงิ ความรอ้ นสูงจาก
นำ�้ เสยี กากตะกอน
6 บริษัท อินเตอรไ์ ฮด์ จำ� กดั (มหาชน)
7 บรษิ ทั ไทยฮอสพิทอล โปรดักส์ จำ� กดั เศษเหด็ ฟาง สบบู่ ำ� รุงผิวจากเห็ดฟาง

เศษดา้ ย Polyester และ น้ำ� มนั ไพโรไลซีส
เศษพลาสตกิ

เศษนมหมู บสิ กิตสำ� หรับสุนขั

เศษพลาสตกิ ก้อน สายรัดขอ้ มือผ้ปู ว่ ย

5. กิจกรรมสมั มนาปดิ โครงการและการจัดนิทรรศการการพัฒนาผลติ ภณั ฑจ์ ากวสั ดทุ ี่ไมใ่ ชแ้ ล้ว
ในวันอังคารที่ 20 มิถุนายน 2560 เวลา 08.30 – 15.00 น. จังหวัดสมุทรปราการ โดยส�ำนักงานอุตสาหกรรม

จังหวัดสมุทรปราการ ร่วมกับท่ีปรึกษาจัดสัมมนาให้ความรู้ด้านประสบการณ์จริงที่ได้จากสถานประกอบการน�ำร่อง และ
จัดนิทรรศการเผยแพร่การใช้เทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด 3R พร้อมแสดงผลงานนวัตกรรมที่ได้จากโครงการแก่ผู้ประกอบ
การโรงงานอุตสาหกรรมของจังหวัดสมุทรปราการ โดยมีนายชาติชาย อุทัยพันธ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ ให้
เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิดสัมมนาและปิดโครงการสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ จากวัสดุที่ไม่ใช้แล้วโดยเทคโนโลยีการผลิต
ที่สะอาด 3R และมอบโลป่ ระกาศเกียรติคุณใหแ้ ก่ผบู้ รหิ ารของสถานประกอบการทีเ่ ข้ารว่ มโครงการ ทั้ง 7 ราย พร้อมทงั้ ได้
รบั เกียรติจากนายธนู บุญเลศิ รองผวู้ า่ ราชการจังหวัดสมุทรปราการ ให้เกยี รตริ ว่ มงานดังกล่าวดว้ ย โดยมีผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม
รวม 214 ราย ณ โรงแรมมิราเคิล สุวรรณภูมิ แอรพ์ อร์ต จังหวดั สมทุ รปราการ

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017 73

สำ�นักงานจงั หวดั สมุทรปราการ

รูปภาพกจิ กรรม

1. กจิ กรรมสมั มนาเปิดโครงการ

ภาพที่ 1 กจิ กรรมสัมมนาใหค้ วามรู้หลักการ 3R วนั พฤหสั บดีที่ 12 มกราคม 2560
ณ โรงแรม มิราเคลิ สวุ รรณภูมิ แอรพ์ อร์ต จงั หวัดสมทุ รปราการ

ภาพท่ี 2 กจิ กรรมสัมมนาให้ความรหู้ ลกั การ 3R วนั พฤหสั บดีท่ี ๑๒ มกราคม ๒๕๖๐
ณ โรงแรม มริ าเคลิ สวุ รรณภูมิ แอรพ์ อร์ต จังหวดั สมุทรปราการ
74 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

สำ�นักงานจังหวดั สมุทรปราการ

2. กิจกรรมศกึ ษาดงู านในประเทศ

ภาพที่ 3 นำ� ผู้ประกอบการศกึ ษาดงู านจากสถานประกอบการตน้ แบบ
ณ บรษิ ทั คอนวูด จ�ำกัด ระหว่างวนั ที่ 22 - 23 กุมภาพนั ธ์ 2560

ภาพที่ 4 นำ� ผู้ประกอบการศึกษาดงู านจากสถานประกอบการต้นแบบ
ณ บริษทั คอนวูด จ�ำกดั ระหวา่ งวันท่ี 22 - 23 กมุ ภาพันธ์ 2560

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 75

สำ�นกั งานจังหวัดสมทุ รปราการ

3. กิจกรรมใหค้ �ำปรึกษาและพัฒนาผลิตภณั ฑ์จากวสั ดทุ ่ีไมใ่ ชแ้ ลว้ ของโรงงาน

76 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

สำ�นกั งานจงั หวัดสมทุ รปราการ

ภาพท่ี 5 - 16 การลงพ้ืนที่แต่ละสถานประกอบการท่ีเข้าร่วมโครงการ ท้ัง 7 แห่ง ของที่ปรึกษาและเจ้าหน้าที่ส�ำนักงาน
อตุ สาหกรรมจงั หวัดสมุทรปราการ

4. การพัฒนาผลิตภณั ฑจ์ ากวดั สทุ ี่ไม่ใชแ้ ล้ว

ดังภาพตวั อยา่ ง ดังนี้
1. บรษิ ทั พอ๊ ตเตอร์ส (ประเทศไทย) จ�ำกัด

ภาพที่ 17 การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากวัดสทุ ไี่ มใ่ ชแ้ ลว้ บริษทั พอ๊ ตเตอรส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

2. บรษิ ัท สยาม ยีเอส แบตเตอรี่ จ�ำกดั

ภาพท่ี 18 การพฒั นาผลิตภัณฑจ์ ากวัดสุทไ่ี ม่ใชแ้ ลว้ บริษทั สยาม ยีเอส แบตเตอร่ี จำ� กัด
รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 77

สำ�นักงานจังหวดั สมุทรปราการ

3. บรษิ ัท เพอร์เฟค คอมพาเนียน กรุป๊ จ�ำกดั

ภาพที่ 19 การพัฒนาผลติ ภณั ฑจ์ ากวดั สุท่ีไมใ่ ชแ้ ล้ว บริษัท เพอรเ์ ฟค คอมพาเนยี น กรุป๊ จ�ำกดั

4. บริษัท พรีเมียร์ โฟรเซน่ โพรดักส์ จ�ำกัด

ภาพที่ 20 การพฒั นาผลิตภัณฑจ์ ากวดั สทุ ่ไี มใ่ ช้แลว้ บริษทั พรีเมยี ร์ โฟรเซน่ โพรดกั ส์ จำ� กัด

5. บรษิ ทั ถงุ เทา้ ไทย จ�ำกัด

ภาพท่ี 21 การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์จากวดั สุทไี่ ม่ใช้แลว้ บรษิ ัท ถงุ เทา้ ไทย จ�ำกัด
78 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นกั งานจังหวดั สมุทรปราการ

6. บรษิ ทั อนิ เตอรไ์ ฮด์ จำ� กัด (มหาชน)

ภาพที่ 22 การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์จากวดั สุท่ีไมใ่ ช้แล้ว บริษทั อินเตอรไ์ ฮด์ จ�ำกัด (มหาชน)
7. บริษทั ไทยฮอสพทิ อล โปรดักส์ จ�ำกดั

ภาพที่ 23 การพฒั นาผลิตภัณฑ์จากวัดสุที่ไม่ใช้แลว้ บริษทั ไทยฮอสพิทอล โปรดักส์ จ�ำกดั

5. กจิ กรรมสมั มนาปดิ โครงการและการจดั นทิ รรศการการพฒั นาผลติ ภณั ฑจ์ ากวสั ดทุ ี่ไมใ่ ชแ้ ลว้

ภาพที่ 24 เอกสารประกอบการสัมมนา เร่ือง
“กลยุทธ์สู่ความส�ำเร็จของการเป็นโรงงานแห่งนวัตกรรม
จากของเสีย” ในวนั ท่ี 20 มิถุนายน 2560 เวลา 08.30 –
15.00 น. ณ โรงแรมมิราเคิล สุวรรณภูมิ แอร์พอร์ต
จงั หวดั สมทุ รปราการ

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 79

สำ�นกั งานจงั หวดั สมุทรปราการ

ภาพท่ี 26 - 29 การแถลงผลส�ำเร็จของการด�ำเนินโครงการ โดยนายชาติชาย อุทัยพันธ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ และ
กลา่ วรายงานโดยนายสมพล โนดไธสง อุตสาหกรรมจงั หวัดสมุทรปราการ
80 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นักงานจังหวัดสมทุ รปราการ

ภาพท่ี 30 – 31 นายชาตชิ าย อุทยั พันธ์ ผ้วู ่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ ประธานในพิธมี อบโล่ประกาศเกยี รตคิ ณุ ให้แกผ่ บู้ ริหาร
ของสถานประกอบการที่เขา้ ร่วมโครงการ ท้ัง 7 ราย

ภาพที่ 32 การเสวนาเปิดมุมมอง เร่ือง “กลยุทธ์สู่ความส�ำเร็จของการเป็นโรงงานแห่งนวัตกรรมจากของเสีย” โดยนายสมพล
โนดไธสง อุตสาหกรรมจังหวดั สมุทรปราการ , รองศาสตราจารย์ ดร.สมรฐั เกดิ สุวรรณ (ที่ปรกึ ษา) , ผูบ้ ริหาร บรษิ ัท สยาม ยเี อส แบตเตอรี่
จ�ำกดั , บรษิ ัท ไทยฮอสพทิ อล โปรดักส์ จำ� กดั และบรษิ ัท อินเตอรไ์ ฮด์ จ�ำกัด (มหาชน)

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017 81

สำ�นักงานจงั หวดั สมุทรปราการ

ภาพที่ 11 - 13 นายชาติชาย อุทัยพันธ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ เดินชมนิทรรศการการแสดงผลงาน 3R
(Re-Innovation) ของสถานประกอบการทงั้ 7 แหง่

7. ข้อมูลผลการด�ำเนินงานเชงิ สถติ ิหรือปริมาณ (ในรปู แบบตารางสรุปขอ้ มูล)
7.1 ผูป้ ระกอบการไดร้ ับความรู้หลกั 3R Reduce Reuse Recycle จำ� นวน 214 ราย

7.2 มีสถานประกอบการเข้าร่วมโครงการ และได้รับการแนะน�ำในการด�ำเนินกิจกรรม 3R Reduce Reuse
Recycle สกู่ ารพัฒนาพัฒนานวตั กรรมใหมจ่ ากวสั ดทุ ไ่ี มใ่ ชแ้ ล้ว จ�ำนวน 7 โรงงาน

7.3 สถานประกอบการมีต้นแบบในการพัฒนาผลติ ภณั ฑใ์ หม่จากวสั ดทุ ไ่ี มใ่ ชแ้ ลว้ จำ� นวน 7 ผลิตภัณฑ์
8. ปญั หาและอปุ สรรคในการด�ำเนนิ การ

8.1 บางสถานประกอบการมเี ศษวสั ดทุ ไี่ ม่ใชแ้ ล้วแตไ่ มไ่ ดม้ าจากกระบวนการผลติ เชน่ กล่องนม เศษอาหาร แก้ว
กรวยกระดาษ ซึ่งอยากให้มีหน่วยงานให้การสนับสนุนการน�ำขยะนี้มาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น เดียวกับโครงการนี้
สามารถนำ� ไปใชป้ ระโยชน์อนื่ ๆ เพิ่มมลู ค่าได้ ซงึ่ จะท�ำให้บริษทั ลดค่าใชจ้ ่ายในการกำ� จดั ขยะนี้ลง

8.2 ยังขาดการวิจัยและพัฒนาทางด้านการตลาดท่ีเพียงพอ ซ่ึงเป็นอุปสรรคต่อความเชื่อม่ันในการลงทุนของ
ผู้บริหารระดับสูง

8.3 การผลิตผลิตภัณฑ์ใหม่จากวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วของสถานประกอบการ ต้องแจ้งขอเพิ่มประเภทการประกอบ
กจิ การเพ่ิมเตมิ

82 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นกั งานจังหวัดสมทุ รปราการ

7.โครงการกองทุนพฒั นาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ

1. ช่ือโครงการ: กองทนุ พัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ (20,000 ลา้ นบาท)
2. หลักการและเหตผุ ล

ตามท่ีรัฐบาลมีนโยบายการขับเคลื่อนประเทศตามโมเดล Thailand 4.0 ซึ่งต้องมีการปรับเปล่ียนโครงสร้างทาง
เศรษฐกิจจากเดิมที่ขับเคล่ือนด้วยการพัฒนาประสิทธิภาพในการผลิตภาคอุตสาหกรรมไปสู่เศรษฐกิจท่ีขับเคลื่อนด้วย
เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม (Innovation Drive Economy) รวมทง้ั มงุ่ เนน้ การพฒั นาเศรษฐกจิ ในประเทศ (Local Economy)
โดยให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาในมิติเชิงพ้ืนที่(Area Based) และเน้นกลุ่มจังหวัดซ่ึงมีท้ังหมด 18 กลุ่มดังน้ัน เพื่อเสริม
สร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ จึงจ�ำเป็นต้องใช้กลไกของประชารัฐในการขับเคลื่อน เน้นการปรับสมดุล
การพัฒนาในมิติตา่ งๆ ไปพร้อมกนั เพื่อให้สามารถรับมอื กบั การเปลี่ยนแปลงพลวัตโลก สามารถน�ำประเทศไปสู่ความม่ันคง
ม่ังคั่ง และย่ังยืน รัฐบาลจึงได้เตรียมงบประมาณพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศ(Local Economy) 110,000 ล้านบาท
ซ่ึงเป็นงบประมาณกลางปี 2560 เพ่ือพัฒนาและกระตุ้นเศรษฐกิจในแต่ละพ้ืนท่ี โดยให้กลุ่มจังหวัด 18 กลุ่ม น�ำไปลงทุน
พัฒนาในโครงการท่ีเป็นประโยชน์ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม และชุมชน ของแต่ละจังหวัดตามความเหมาะสมและสอดคล้อง
กับยุทธศาสตรป์ ระเทศ

เนื่องจากปัจจุบันภาคเอกชนยังไม่มีความเช่ือมั่นในการลงทุนสถาบันการเงินไม่มีนโยบายเร่งรัดการอนุมัติสินเชื่อ
ในอัตราดอกเบ้ียต�่ำในสภาวะเศรษฐกิจท่ีไม่ดี อีกทั้งยังมีระบบบริหารความเส่ียงที่ปิดก้ันโอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุนของ
SMEs ประกอบกับการสนับสนุนทางการเงินในรูปแบบการร่วมลงทุนที่มีอยู่ในปัจจุบันยังมีรูปแบบและกระบวนการด�ำเนิน
งานที่ยุ่งยากใช้เวลานาน มีการคัดเลือกและตั้งเง่ือนไขการร่วมลงทุนท่ีเข้มงวด มุ่งสนใจเฉพาะโครงการที่ให้ผลตอบแทน
สงู ๆ จงึ ท�ำให้ผปู้ ระกอบการ SMEs ไมส่ ามารถเขา้ ถึงแหล่งเงนิ ทุนได้

เพอื่ สนบั สนนุ ให้ความช่วยเหลือเงินทุน และเพิ่มช่องทางการเข้าถงึ แหล่งเงนิ ทุนใหก้ บั SMEs ที่มีศักยภาพในการ
ต่อยอดธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพและย่ังยืน เช่ือมโยงกับการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศ (Local Economy)
รัฐบาลจึงจัดสรรงบประมาณการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศ (Local Economy) ให้กระทรวงอุตสาหกรรมมาจัดต้ัง
กองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ กรอบวงเงิน 20,000 ล้านบาท ซึ่งการด�ำเนินการจะต้องใช้กลไกประชารัฐ
ผ่านหนว่ ยรว่ มด�ำเนินการทงั้ ภาครฐั และเอกชนของพ้นื ที่แต่ละจงั หวัดในรปู แบบของคณะอนุกรรมการฯ ระดับจังหวดั ซงึ่ มี
ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือรองผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน เพื่อพิจารณาคัดเลือก SMEs เป้าหมายที่จะส่งเสริมพัฒนา
และสอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตรจ์ งั หวัด กลน่ั กรองและวิเคราะหด์ า้ นการเงินของ SMEs และอนมุ ัติสินเช่อื และร่วมลงทุนใหก้ บั
ผู้ประกอบการ SMEs ท่ีมีศักยภาพท่ีขอรับความช่วยเหลือทางด้านการเงินจากกองทุน ตามนโยบาย/ยุทธศาสตร์/
แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดท่ีผ่านการพิจารณาร่วมกันของคณะอนุกรรมการฯ
ระดบั จงั หวัด
3.วัตถุประสงค์

1. เพื่อเป็นทนุ ช่วยเหลือ สนบั สนุน SMEs ใหม้ กี ารพัฒนาไปสู่อุตสาหกรรมทม่ี มี ูลค่าสงู
ตามยุทธศาสตรช์ าติและยทุ ธศาสตร์การปฏิรปู ประเทศไทยที่สอดคลอ้ ง ตามนโยบาย Thailand 4.0

2. เพ่ือเป็นกองทุนที่จะช่วยเติมเต็มให้ SMEs ที่มีอุปสรรคไม่สามารถเข้าถึงแหล่ง เงินทุนปกติได้ มีเงินทุนที่จะ
สามารถพัฒนาธุรกิจให้มีศักยภาพเพียงพอที่จะเข้าสู่ ระบบการเงินปกติของสถาบันการเงิน เอกชนได้ ซ่ึงจะท�ำให้ SMEs
เป็นฐาน การสร้างรายไดแ้ ละฐานทางเศรษฐกจิ ของประเทศ

3. เพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ และยกระดับให้เป็นประเทศท่ีมีรายได้สูง โดยเน้นการสร้าง ความเข้มแข็ง
จากเศรษฐกิจภายใน (Local economy) ตามหลกั การ Thailand 4.0
4. ระยะเวลาการด�ำเนนิ การ
1 พฤษภาคม – 30 กันยายน พ.ศ.2560

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017 83

สำ�นักงานจังหวดั สมทุ รปราการ

5. วธิ กี ารด�ำเนินการ
สำ� นักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสมุทรปราการ ไดร้ ับจัดสรรวงเงนิ การใหส้ นิ เช่อื ของกองทนุ พฒั นา
เอสเอ็มอตี ามแนวประชารฐั ประจำ� ปี 2560 จ�ำนวน 225 ล้านบาท
1. การคัดเลอื กเอสเอม็ อที มี่ ีศกั ยภาพทีข่ อรับการช่วยเหลือ
2. การวเิ คราะหค์ วามเป็นไปได้ของโครงการ
3. การกล่นั กรองและวิเคราะห์ดา้ นการเงนิ ของเอสเอม็ อีที่ขอรับการชว่ ยเหลอื
4. การอนมุ ัตสิ ินเช่อื
4.1 ไม่เกิน 3.00 ลา้ นบาท/ราย
4.2 เกิน 3.00 – 10.00 ล้านบาท/ราย
6. สรปุ ผลการด�ำเนนิ งาน (บรรยายขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพ)
1. ผ้ปู ระกอบการ SMEs สามารถเพิ่มศกั ยภาพในการแขง่ ขัน
2. ผู้ประกอบการ SMEs ได้รับการส่งเสริม พัฒนาและให้ความรู้ในด้านการพัฒนาเทคโนโลยี/มาตรฐานเพ่ือ
เพิ่มผลิตภาพ/การบรหิ ารจัดการ/การตลาด/การเพม่ิ ผลิตภาพของบคุ ลากร
3. สรา้ งมลู คา่ เพ่มิ ทางเศรษฐกจิ ใหแ้ ก่จงั หวดั สมุทรปราการ
7. ขอ้ มูลผลการด�ำเนนิ งานเชงิ สถติ ิหรอื เชิงปรมิ าณ (ในรปู แบบตารางสรปุ ขอ้ มูล)

ที่ ชือ่ ผู้ประกอบการเอสเอ็มอี จำ�นวนเงินให้กู้ (ล้านบาท)

1 บจก.ขาวละออเภสัช 3.00
2 บจก.แฮปป้ี มฟู 3.00
3 บจก.เอเซยี ทราโฟ 3.00
4 บจก.เคบเี ค โกลบอล 3.00
5 บจก.ทินแคน อินดสั ตรี้ 9.20
6 บจก.ทที แี อนด์เค โปรโมชั่น 1.69
7 บจก.ไมโคร ปรีซิชนั่ 3.00
8 บจก.วที ีเอ ซพั พลาย 1.50
9 บจก.ชาญสนิ รไี ซเคิล 0.87
10 บจก.ออโธพเี ซยี 10.0
11 บจก.บับเบิล้ รีพลับบิค 3.50
12 บจก.เทด็ ด้ี เทรด แอนด์ เซอรว์ สิ 2.30
13 บจก.สยามฟอรจ์ ิง 10.0
14 บจก.เวิร์สออโตเมชน่ั 0.54
15 บจก.แมส แอคเซสซอร่ี 3.00
16 บจก.ไฮโดรซิน 1.00
17 บจก. เอสทีเอส คอนซเู มอร์ โปรดักส์ 2.50
18 บจก.ครเี อเทค (ประเทศไทย) 3.00
รวม 64.10

84 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นกั งานจังหวดั สมทุ รปราการ

8. ปญั หาและอุปสรรคในการด�ำเนนิ การ
1. จากการวิเคราะห์ความสามารถทางการเงินของผู้ประกอบการเอสเอ็มอี อยู่ในระดับต่�ำกว่าเกณฑ์ ในการให้
สินเช่อื ของกองทนุ ฯ
2. ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีส่วนใหญ่ต้องการขอรับความช่วยเหลือเพ่ือน�ำไปใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนของกิจการ
ซงึ่ ไมต่ รงตามวัตถปุ ระสงค์ของกองทุน ฯ
3. ผปู้ ระกอบการเอสเอม็ อี นำ� ส่งเอกสารเพ่ิมเติมล่าช้า ทำ� ให้ไม่สามารถดำ� เนนิ การในขั้นตอนการวเิ คราะหไ์ ด้
การประชุมคณะอนกุ รรมการวิเคราะหเ์ อสเอ็มอที างการเงนิ จังหวัดสมุทรปราการ

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 85

สำ�นกั งานจังหวัดสมุทรปราการ

การประชมุ คณะอนกุ รรมการบรหิ ารกองทนุ พัฒนาเอสเอม็ อีตามแนวประชารัฐ จงั หวดั สมทุ รปราการ

8.โครงการสง่ เสริมและพัฒนาดา้ นการมาตรฐานเพอื่ เพิ่มขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั :
งานมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน ประจ�ำปงี บประมาณ 2560

2.หลักการและเหตุผล
ตามที่รัฐบาลได้มีนโยบายในการส่งเสริมสนับสนุนผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น ในระดับฐานราก ให้มีโอกาสใน

การพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ชุมชนให้ได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนและแสดงเคร่ืองหมายการรับรอง
เพ่ือส่งเสริมด้านการตลาดของผลิตภัณฑ์ให้เป็นท่ียอมรับอย่างแพร่หลายและสร้างความเช่ือม่ันให้กับผู้บริโภคในการเลือก
ซ้ือผลิตภัณฑ์ชุมชนท้ังในและต่างประเทศ และเพอ่ื เปน็ พน้ื ฐานในการพัฒนาประเทศไดอ้ ีกทางหนง่ึ สำ� นกั งานอตุ สาหกรรม
จังหวัดสมุทรปราการ เห็นว่าผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นของจังหวัดสมุทรปราการ ยังมีอีกเป็นจ�ำนวนมากที่ยังไม่ได้รับ
การรับรองมาตรฐานและแสดงเครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน จึงได้จัดท�ำโครงการส่งเสริมและพัฒนาด้าน
การมาตรฐานเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน : งานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน เพ่ือเป็นการส่งเสริมและสนับสนุน
ให้ผลติ ภัณฑช์ มุ ชนและท้องถ่ินเข้าสรู่ ะบบมาตรฐานผลติ ภัณฑช์ ุมชน
3.วัตถปุ ระสงค์
3.1 เพ่ือกระตุ้นให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความสนใจและตระหนักในเร่ืองการขอรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์
ชุมชน

3.2 เพ่อื สง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพผลติ ภณั ฑข์ องวสิ าหกจิ ชมุ ชน ให้ยืน่ ขอรบั การรับรองมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชุมชน
และแสดงเครอ่ื งหมายการรบั รอง

86 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

สำ�นกั งานจังหวดั สมุทรปราการ

3.3 เพ่ือส่งเสริมด้านการตลาดของผลิตภัณฑ์ ให้เป็นท่ียอมรับอย่างแพร่หลาย และสร้างความเชื่อมั่นให้แก่
ผูบ้ ริโภค
4.ระยะเวลาการด�ำเนินการ

เดือนตุลาคม 2559 – เดือนกันยายน 2560

5.วิธีการด�ำเนินการ
5.1 การให้การรบั รองมาตรฐานผลิตภณั ฑช์ ุมชน เป้าหมาย 50 ราย

5.1.1 รับคำ� ขอ
5.1.2 ตรวจสถานทีผ่ ลติ
5.1.3 เกบ็ ตวั อยา่ งครงั้ ที่ 1
5.1.4 เก็บตวั อยา่ งคร้ังท่ี 2
5.1.5 สง่ ทดสอบ
5.1.6 ลงข้อมลู ในโปรแกรมการรบั รองคณุ ภาพผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน
5.1.7 ประเมินผลการตรวจสอบ
5.1.8 แจง้ หนงั สอื ปรับปรงุ ตัวอยา่ งผลติ ภัณฑ์ กรณผี ลการตรวจสอบไมผ่ ่านคร้ังท1่ี
5.1.9 แจ้งหนังสือปรบั ปรุงตวั อย่างผลิตภัณฑ์ กรณีผลการตรวจสอบไมผ่ ่านคร้ังท่ี2
5.1.10 จัดการประชุมคณะกรรมการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนจังหวดั สมทุ รปราการ
5.1.11 จัดทำ� ใบรับรองเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดและมอบให้แกผ่ ูผ้ ลิตสนิ คา้ ชุนชน

5.2 ตรวจตดิ ตาม เปา้ หมาย 20 ราย
5.2.1 จัดทำ� แผนงานรายเดือน
5.2.2 ตรวจสถานท่ีทำ�
5.2.3 จัดซอื้ ตวั อย่าง
5.2.4 สง่ ทดสอบ

5.3 สง่ เสรมิ พัฒนาคณุ ภาพผลิตภัณฑช์ ุมชน
5.3.1 ประชาสัมพันธ์/เชิญชวนให้ผู้ผลิตสินค้าชุมชนที่ยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน
เข้าส่กู ารรับรองมาตรฐาน
5.3.2 สง่ เสริมและพฒั นาคณุ ภาพผลติ ภณั ฑ์ใหก้ ับกลุ่มเป้าหมายเพือ่ ใหไ้ ดก้ ารรับรองมาตรฐาน
5.3.3 ประชาสัมพันธ์ให้ผู้บริโภคหรือประชาชนทั่วไป ได้เห็นถึงประโยชน์จากการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์
ทไี่ ด้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน
5.3.4 ประสานการจัดสัมมนาให้กับสำ� นักงานมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม (สมอ.)

6. สรุปผลการด�ำเนินงาน (บรรยายข้อมูลเชงิ คณุ ภาพ)

6.1 ผลิตภัณฑช์ ุมชนและทอ้ งถิน่ เข้าส่รู ะบบการรับรองมาตรฐานผลติ ภัณฑช์ ุมชนเพ่มิ ข้นึ
6.2 กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และความเข้าใจแนวทางการผลิตสินค้าให้ได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์
ชมุ ชน
6.3 ผลิตภณั ฑช์ มุ ชนและท้องถิ่น เป็นท่ยี อมรับและสร้างความเช่อื มน่ั แกผ่ ู้บริโภค
6.4 ผู้ประกอบการรกั ษาคุณภาพผลติ ภัณฑ์ให้ได้มาตรฐานอยา่ งสมำ่� เสมอ
7. ข้อมลู ผลการด�ำเนินงานเชงิ สถิตหิ รอื เชิงปริมาณ (ในรูปแบบตารางสรปุ ขอ้ มูล)

รบั ค�ำขอ 54 คำ� ขอ
ออกใบรับรองมาตรฐานผลิตภณั ฑช์ มุ ชน 34 ใบรบั รอง

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017 87

สำ�นักงานจังหวัดสมุทรปราการ

8. ปญั หาและอุปสรรคในการด�ำเนินการ
ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทอาหาร เคร่ืองดื่ม สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร ที่ได้รับมาตรฐาน อย. ส่วนใหญ่

จะไมด่ ำ� เนินการขอรับการรบั รองมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน (มผช.) เนือ่ งจากหากได้รับมาตรฐาน อย. แลว้ สามารถเขา้ รบั
การคัดสรร OTOP Product Champion ได้โดยไมต่ ้องขอ มผช.

วนั ที่ 29 มถิ นุ ายน 2560 เวลา 10.00 น. สำ� นกั งานอตุ สาหกรรมจงั หวดั สมทุ รปราการ โดยมี นายสมพล โนดไธสง

อุตสาหกรรมจงั หวดั สมทุ รปราการ นางสาวนติ ยา ชา่ งสมบูรณ์ หัวหนา้ ฝา่ ยสง่ เสริมอตุ สาหกรรม และเจ้าหนา้ ทฝ่ี า่ ยสง่ เสริม
อตุ สาหกรรม ไดจ้ ัดพธิ มี อบใบรบั รองมาตรฐานผลิตภณั ฑช์ มุ ชน (มผช.) โดยมี นายชาติชาย อุทัยพันธ์ ผ้วู า่ ราชการจังหวัด
สมุทรปราการ เป็นประธานในพิธีมอบใบรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ให้กับผู้ประกอบการ ที่ผลิต ผลิตภัณฑ์
ได้คุณภาพตามมาตรฐาน จ�ำนวน 6 ราย 7 ผลิตภัณฑ์ ซ่ึงนับเป็นผู้ผลิต 6 รายแรก ที่ได้รับการรับรอง โดยจังหวัด
สมทุ รปราการ นอกจากนี้ในส่วนของส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อตุ สาหกรรม (สมอ.) ไดอ้ อกใบรบั รองให้ผปู้ ระกอบการ
จ�ำนวน 4 ราย 6 ผลิตภณั ฑ์ ณ หอ้ งประชมุ 1 ศาลากลางจงั หวดั สมทุ รปราการ

88 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นักงานจังหวดั สมทุ รปราการ

วันท่ี 24 พฤษภาคม 2560 เวลา 10.00 น. ส�ำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสมุทรปราการ ได้จัดประชุมคณะ
กรรมการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน จังหวัดสมุทรปราการ คร้ังที่ 1/2560 ณ ห้องประชุม 2 ศาลากลางจังหวัด
สมทุ รปราการ โดยมี นายธนู บญุ เลศิ รองผวู้ า่ ราชการจงั หวดั สมทุ รปราการ เปน็ ประธานกรรมการ และนายสมพล โนดไธสง
อุตสาหกรรมจังหวัดสมุทรปราการ เป็นกรรมการ และเลขานุการ ร่วมกับคณะกรรมการ จากหน่วยงานราชการ และ
สถาบนั การศึกษา รวมท้ังสนิ้ 14 คน เพ่ือพจิ ารณาให้การรับรองผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนทีผ่ ลผา่ นการตรวจสอบตามหลักเกณฑ์ของ
หน่วยตรวจสอบและเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานท่ีส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมก�ำหนด จ�ำนวน
7 ผลติ ภณั ฑ์

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 89

สำ�นกั งานจังหวดั สมทุ รปราการ

การลงพ้ืนที่ของเจ้าหน้าท่ีฝ่ายส่งเสริมอุตสาหกรรม ในการรับค�ำขอ /ตรวจสถานท่ี / เก็บตัวอย่างผลิตภัณฑ์

ของนาง สมสกุล พัฒนประยูรวงศ์ ผู้ท่ีย่ืนขอ มผช.417/2547 กระเป๋าผ้า สถานที่ผลิต 53/99 ม.1 ต.ศีรษะจระเข้น้อย อ.บางบ่อ
จ.สมุทรปราการ

9.โครงการป้องกันกลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด และการสร้าง
สภาพแวดลอ้ มเพ่อื ป้องกันปญั หายาเสพตดิ

หัวข้อเรือ่ ง
การป้องกันกลุ่มเส่ียงที่มีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด และการสร้างสภาพแวดล้อมเพื่อป้องกันปัญหา
ยาเสพตดิ
สรปุ รายละเอียดกิจกรรม/ผลการด�ำเนนิ การ

1) โครงการป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ในสถานประกอบกิจการ (งบพฒั นาจังหวดั )
2) โครงการส่งเสริมระบบการจัดการด้านยาเสพติดในสถานประกอบกิจการ (งบกรมสวัสดิการและคุ้มครอง
แรงงาน)

90 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นกั งานจังหวดั สมุทรปราการ

ล�ำดบั ที่ ชื่อแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เป้าหมายการด�ำเนนิ งาน งบประมาณ ผลการด�ำเนินงาน
เป้าหมาย เปา้ หมาย
โครงการป้องกันและแกไ้ ขปัญหายา จ�ำนวน แหลง่ งบ
เสพติดในสถานประกอบกิจการ บคุ คล (บาท) ประมาณ
1 จัดประชมุ เชิงปฏิบตั ิการการจัดทำ� ระบบ 1,752,000
มาตรฐานการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา 1 100 คน งบยทุ ธศาสตร์
ยาเสพติดในสถานประกอบกจิ การ (มยส.) 1 รุน่ 100 คน จังหวดั
2 จดั ประชมุ ช้แี จงแนวทางการจัดท�ำระบบ 1 รนุ่ 70 คน
มาตรฐานการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา 17 พ.ย. 59 1 รุ่น 110 คน/
ยาเสพติดในสถานประกอบกจิ การ (มยส.) หอ้ งประชมุ สปก.47 แหง่
3 สัมมนาพัฒนาความเขม้ แขง็ ของเครอื ขา่ ย สสค.สป
แรงงานปอ้ งกนั ยาเสพติด
30 พ.ย. 59 1 รุ่น 114 คน/
ภัตตาคาร สปก. 87 แหง่
ง้วนเฮงอ.เมอื ง

25-26 พ.ย. 59 1 รุน่ 71 คน/
ณ สุชาดา การ สปก. 46 แหง่

เด้น
ลอรจ์ รสี อร์ท

4 จดั อบรมเพือ่ สรา้ งเครอื ข่ายแรงงาน 2 รุน่ 130 คน 22 ม.ค. 60 2 รุ่น 130 คน/
ปอ้ งกนั ยาเสพติด หอ้ งประชมุ สปก.๗๕ แหง่
สสค.สป

5 การตรวจประเมนิ มาตรฐานการป้องกนั 200 แหง่ 152 แห่ง
และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถาน
ประกอบกจิ การ

6 กจิ กรรมสรา้ งแรงจงู ใจการเขา้ รว่ มจดั ท�ำ ด�ำเนนิ การเดือน
ระบบมาตรฐานการป้องกนั และแก้ไข ส.ค.- ก.ย.60
ปญั หายาเสพติดให้กับสถานประกอบกิ
จารโดยการจัดพิธมี อบรางวลั เพื่อประกาศ
เกยี รตคิ ณุ ให้แก่สถานประกอบกจิ การท่มี ี
ผลการประเมินไม่ตำ�่ กวา่ รอ้ ยละ 60

โครงการสง่ เสริมระบบการจดั การดา้ น กรมสวสั ดกิ าร
ยาเสพตดิ ในสถานประกอบกจิ การ และค้มุ ครอง

แรงงาน

1 โครงการรณรงค์ประชาสัมพนั ธค์ วามรู้ 650 แหง่ 89,000คน 130,000 690 แหง่
เกยี่ วกบั การปอ้ งกนั ฯในสถานประกอบ 126,169 คน
กิจการ 3,000
16,000 75 แห่ง
2 ตรวจประเมินในสถานประกอบกิจการจน 15 แห่ง 92 แห่ง
กระทง่ั ผ่านเกณฑ์ มยส.

3 ตรวจติดตามเพ่ือให้สถานประกอบกิจการ 75 แห่ง
มีระบบการจัดการปัญหายาเสพติดอย่าง
ต่อเนอ่ื ง

4 จัดประชุมชี้แจงเก่ียวกับการจัดท�ำ 1 รุน่ 100 คน 80,000 1 รุ่น 100 คน
มาตรฐานการป้องกันและแก้ไขปัญหายา
เสพติดในสถานประกอบกจิ การ (มยส.)

5 โครงการอบรมเพื่อสร้างเจตคติที่ดีและ 1 ครั้ง 10,000 1 คร้งั /1,213คน/
สร้างความเข้มแข็งเครอื ขา่ ย 312 แห่ง
40,000 40 แหง่
6 โครงการโรงงานสีขาว 40 แห่ง 462,600
1 คร้ัง/152 แห่ง
๗ การจดั พธิ มี อบรางวลั เพอื่ ประกาศเกยี รตคิ ณุ 200 /761คน
ใหแ้ ก่สถานประกอบกิจการทม่ี ีผล
การประเมนิ ไมต่ ่ำ� กว่าร้อยละ 60

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 91

ส�ำ นักงานจังหวดั สมุทรปราการ

ภาพประกอบการด�ำเนินการ “โครงการมาตรฐานการป้องกันและแก้ปญั หายาเสพติด
ในสถานประกอบกจิ การ

การจดั ประชมุ ชแี้ จงการจดั ท�ำโครงการมาตรฐานการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ในสถานประกอบกจิ การ

ณ ส�ำนกั งานสวสั ดกิ ารและคุม้ ครองแรงงานจังหวดั สมุทรปราการ

92 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นกั งานจงั หวัดสมุทรปราการ

การตรวจประเมินโดยคณะผู้ตรวจประเมินมาตรฐานการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด และการตรวจเยี่ยม
การประเมนิ ของคณะกรรมการกลนั่ กรองรบั รองมาตรฐานการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ในสถานประกอบกจิ การ


การประชุมคณะกรรมการ

กลั่นกรองรับรองมาตรฐานการ
ปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ
ณ ห้องประชุมส�ำนักงาน
สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
จงั หวดั สมทุ รปราการ

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017 93

ส�ำ นักงานจังหวัดสมทุ รปราการ

การจัดพิธีมอบรางวัลเพ่ือประกาศเกียรติคุณให้แก่สถานประกอบกิจการ ท่ีผ่านเกณฑ์มาตรฐานการป้องกัน

และแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบกิจการ จ�ำนวน ๑๕๒ แห่ง วันที่ ๑๓ กนั ยายน ๒๕๖๐
ณ โรงแรมโนโวเทลสุวรรณภูมิ

94 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นักงานจังหวดั สมทุ รปราการ

สว่ นที่ 5

สรปุ สถานการณ์ แนวโนม้ ปญั หาทสี่ ำ� คญั

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 95

ส�ำ นักงานจงั หวดั สมทุ รปราการ

ส่วนท่ี 5 สรุปสถานการณ์ แนวโนม้ ปัญหาท่ีส�ำคญั

ดา้ นเกษตกรรม

1) สถานการณด์ า้ นเกษตรกรรมในปัจจุบันและแนวโน้มทิศทางดา้ นเกษตรกรรมของจังหวัดสมุทรปราการ
สถานการณ์ด้านการเกษตรในปัจจบุ ัน
ในปี 2560 สภาพอากาศและปริมาณน�้ำมีเพียงพอเอื้ออ�ำนวยต่อการผลิตทางการเกษตรมากกว่าปี 2559
เนื่องจากปรากฏการณ์ลานีญาที่ส่งผลให้มีปริมาณน�้ำพอที่จะท�ำเกษตรกรรม ประกอบรัฐบาลมิได้ให้เกษตรกรงดปลูกข้าว
นาปรังใน 22 จังหวัดลุ่มน้�ำเจ้าพระยาเหมือนดังในปีท่ีผ่านมา พ้ืนที่การเกษตรของจังหวัดสมุทรปราการท้ังหมดอยู่ในเขต
ชลประทาน รวมทั้งไม่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติใดๆ ซึ่งในปี 2560กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ก�ำหนดให้เป็นปีแห่ง
การยกระดับมาตรฐานการเกษตรสู่ความย่ังยืน โดยมีนโยบายในการขับเคลื่อนผ่านโครงการต่างๆ อาทิเช่น Zoning by
Agri-Map การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการผลติ สนิ คา้ เกษตร เกษตรอนิ ทรยี ์ เกษตร
ทฤษฎใี หมเ่ กษตรผสมผสาน ธนาคารสนิ คา้ เกษตร แผนผลติ ขา้ วครบวงจร ระบบสง่ นำ้� /กระจายนำ้� และในชว่ งปลายงบประมาณ
ยงั มโี ครงการ 9101 ตามรอยเทา้ พอ่ ภายใตร้ ว่ มพระบารมี เพอื่ การพฒั นาการเกษตรอยา่ งยง่ั ยนื ชว่ ยเสรมิ และสนบั สนนุ ให้
เกษตรกรทำ� การเกษตรไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เนน้ การลดตน้ ทนุ เพม่ิ ผลผลติ พฒั นาคณุ ภาพสนิ คา้ เกษตรใหไ้ ดม้ าตรฐานและ
เพมิ่ รายไดใ้ หแ้ กเ่ กษตรกรและชมุ ชน
แนวโนม้ ทศิ ทางดา้ นเกษตรกรรม
แนวโนม้ เศรษฐกจิ ภาคการเกษตรของจงั หวดั สมทุ รปราการคาดวา่ นา่ จะขยายตวั ไดด้ กี วา่ ปที ผ่ี า่ นมา จากนโยบาย
กระทรวงเกษตรและสหกรณท์ ไ่ี ดม้ กี ารวางยทุ ธศาสตรร์ ะยะ 20 ปี เพอ่ื เปน็ กรอบการดำ� เนนิ งานในการพฒั นาภาคการเกษตร
โดยขบั เคลอื่ นผา่ นโครงการตา่ งๆ ดว้ ยการนำ� เครอ่ื งจกั รกลมาใชใ้ นการเกษตรทดแทนแรงงาน การนำ� เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม
มาใช้เพื่อเพ่ิมผลผลิต มีการบูรณาการหลายภาคส่วนท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน (ประชารัฐรักสามัคคี วิสาหกิจเพื่อสังคม)
เขา้ มาชว่ ยเหลอื และสนบั สนนุ สนิ คา้ เกษตรของจงั หวดั ใหม้ คี ณุ ภาพตรงกบั ความตอ้ งการของตลาด อยา่ งไรกต็ ามยงั มปี จั จยั อน่ื ๆ
เช่น ราคาน�้ำมันเช้ือเพลิงท่ีมีแนวโน้มสูงขึ้น อาจส่งผลกระทบต้นทุนการผลิตสินค้าเกษตรรวมท้ังการแข่งขันและมาตรฐาน
ของสนิ คา้
2) ปญั หาหรอื อปุ สรรคส�ำคญั ดา้ นเกษตรกรรมของจงั หวดั สมทุ รปราการ ทค่ี วรไดร้ บั การแก้ไขโดยเรง่ ดว่ น
1. พ้ืนที่การเกษตรเริ่มลดน้อยลงอย่างต่อเนื่อง สาเหตุน่าจะมาจากพื้นที่เกษตรกรรมส่วนใหญ่เป็นที่เช่า
ภาคอตุ สาหกรรมมกี ารขยายตวั ในแหลง่ ทเี่ คยเปน็ พน้ื ทเ่ี กษตรกรรม ควรมกี ารวางผงั เมอื งและกำ� หนดพน้ื ทก่ี ารใชป้ ระโยชนใ์ น
แตล่ ะประเภทใหช้ ดั เจน เพอื่ สรา้ งความมน่ั ใจใหก้ บั เกษตรกร
2. หนสี้ นิ ไมม่ กี รรมสทิ ธใิ์ นทด่ี นิ ทำ� กนิ อตั ราคา่ เชา่ สงู เกษตรกรไมม่ อี ำ� นาจในการตอ่ รอง
3. การนำ� เทคโนโลยหี รอื นวตั กรรมใหมๆ่ เขา้ มาใชใ้ นการผลติ แปรรปู ยงั มอี ยใู่ นวงจำ� กดั สว่ นใหญใ่ ชว้ ธิ เี ดมิ ๆ
3) ขอ้ มลู ตวั เลข/ขอ้ มลู สถติ แิ ละขอ้ เสนอแนะทส่ี �ำคญั เกยี่ วกบั การพฒั นาดา้ นเกษตรกรรมของจงั หวดั สมทุ รปราการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้วางยุทธศาสตร์เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตและยกระดับมาตรฐานสินค้า โดย
มอบหมายให้หน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในจังหวัดสมุทรปราการท่ีเกี่ยวข้องด�ำเนินการขับเคล่ือน
ด้วยการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรให้ตระหนักถึงความส�ำคัญในการผลิตสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานตามระบบ
การจัดการคุณภาพการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GAP (Good Agricultural Practices) และ GMP (Good Manu-
facturing Practices) มีเกษตรกรของจังหวัดสมุทรปราการขอรับการตรวจประเมินและผ่านการประเมินตามฐาน
ดังกล่าวทั้งด้านพืช ประมงและปศุสัตว์แล้วจ�ำนวนหน่ึง บางส่วนอยู่ระหว่างรอผลการตรวจประเมิน ส�ำหรับสินค้า
เกษตรกรท่ีผ่านการตรวจประเมินและรับรองแล้วในปีนี้ ดังน้ี

96 รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

สำ�นักงานจังหวัดสมทุ รปราการ

ชนิด จำ�นวน (ราย) มาตรฐาน หมายเหตุ
พชื

- เหด็ ถั่งเช่า 1 ราย GAP

- ไฮโดรโปนกิ ส์ 1 ราย GAP ขอ้ มูล ณ 24 ม.ี ค. 60
- เห็ด 1 ราย GAP

ด้านประมง

- ปลานิล 42 ราย GAP ขอ้ มลู ณ 9 ส.ค.60
- หอยแครง (แปลงใหญ่) 30 ราย GAP

- กุ้งทะเล 7 ราย GAP ข้อมูล ณ 9 ส.ค.60
- กงุ้ ขาว 10 ราย GAP

ดา้ นปศสุ ตั ว์

- หจก. สำ�โรงใต้คา้ สตั ว์ 1 แหง่ GMP ขอ้ มลู ณ 9 ต.ค.60
- บรษิ ัท พี.เอส.ฟดู้ โปรดกั ส์ จำ�กัด 1 แห่ง GMP

ดา้ นสงั คม (การศึกษา)

1. สถานการณ์ดา้ นการศกึ ษาในปจั จบุ ันและแนวโน้มทศิ ทางด้านการศกึ ษา ของจงั หวัดสมุทรปราการ

1.1 หนว่ ยงานทางการศกึ ษาและสถานศึกษาในจงั หวัดสมทุ รปราการ จัดการศกึ ษาครอบคลมุ ทุกระดับ ทกุ ประเภท
การศึกษา และตั้งกระจายอยู่ท่ัวจังหวัด ส่งผลให้เด็ก เยาวชนและประชาชน ได้รับการศึกษาอย่างท่ัวถึงและต่อเน่ือง
ตลอดชวี ิต
1.2 หน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาของจังหวัดสมุทรปราการ มีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถ่ินไปสู่สังคม
แห่งการเรียนรู้ รวมท้ังอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีและวิถีชีวิตท่ีเป็นเอกลักษณ์ของคนสมุทรปราการให้ด�ำรงคงอยู่ และ
สามารถให้บรกิ ารดา้ นอาคารสถานทแี่ ละวทิ ยาการแกช่ ุมชน

1.3 หน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษามีหลักสูตรที่หลากหลายตอบสนองต่อความต้องการของท้องถิ่นและ
ตลาดแรงงาน ซึ่งได้รับความร่วมมือจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและสถานประกอบการในการฝึกทักษะอาชีพ หรือฝึกวิชาชีพให้
กับผเู้ รียน

1.4 สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบประกันคุณภาพภายในท่ีเข้มแข็ง ส่งผลให้เกิดแรงขับเคล่ือนท่ีส�ำคัญ
ต่อการพฒั นาการศกึ ษา เพอ่ื รองรับการประกันคุณภาพภายนอก

1.5 ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาของจังหวัดสมุทรปราการ มีความรู้ ความช�ำนาญเฉพาะด้านและ
หลากหลาย สง่ ผลให้เกิดการประสานงาน และความร่วมมือระหวา่ งสถานศึกษากับหนว่ ยงานทงั้ ภาครฐั และเอกชน
1.6 หลักสูตร และกระบวนการจัดการเรียนรู้ของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
มีความยดื หยุ่น ตอบสนองความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมาย และทศิ ทางการพัฒนาประเทศ
1.7 สถานประกอบการ ให้การสนับสนุนการรับนักเรียนเข้าฝึกทักษะอาชีพ ระหว่างเรียนท�ำให้นักเรียน
มปี ระสบการณ์ทางอาชพี และรายไดร้ ะหว่างเรยี น
1.8 สถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานบางแหง่ ได้ท�ำขอ้ ตกลงกับสถานศึกษาอาชวี ะในการเรยี นสายอาชีพควบค่กู บั สายสามญั
ท�ำใหผ้ เู้ รียนได้รับวฒุ ิทางการศึกษาท้ังสายสามัญและสายอาชีพ (ทวศิ ึกษา)

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 97

สำ�นกั งานจงั หวดั สมทุ รปราการ

1.9 นโยบายรัฐบาลด้านการศึกษามุ่งสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ยกระดับคุณภาพการศึกษา
และพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษาตามหลกั ธรรมาภิบาล
1.10 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เน้นการเสริมสร้างศักยภาพคนทุกช่วงวัยให้มีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม ลดความ
เหล่ือมล้�ำทางสังคม พัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐให้มีประสิทธิภาพครอบคลุม ด้านโครงสร้างหน่วยงานและอัตรา
ก�ำลังคนท่ีเหมาะสม บริหารราชการแบบบูรณาการและกระจายอ�ำนาจ สู่ท้องถิ่น ปฏิบัติราชการแบบมีส่วนร่วมจาก
ทกุ ภาคสว่ นของสงั คมดว้ ยความโปร่งใส ตรวจสอบไดด้ ว้ ยกฎ ระเบียบที่ทนั สมยั กับบริบททเี่ ปลี่ยนแปลง
1.11 นโยบายเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล ส่งเสริมการเชื่อมโยงเครือข่าย และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ิม
ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการ การบรกิ าร และการเรียนรู้ ส่สู ังคมแห่งปัญญา
1.12 นโยบาย SMEs เป็นช่องทางพัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาต่อเน่ืองให้สอดคล้องกับทิศทางของประเทศใน
การสรา้ งผปู้ ระกอบการรายใหม่ ขนาดกลาง และขนาดยอ่ ม
1.13 นโยบายรฐั บาลด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทำ� ให้เกิดนวัตกรรมแนวทางจัดการเรียนรู้ STEM Education
เพื่อพัฒนาทักษะผูเ้ รียนที่จ�ำเป็นในศตวรรษที่ 21
1.14 การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกอย่างฉับพลัน กระตุ้นให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดกิจกรรมเพื่อ
ปลูกฝงั จิตสำ� นึก และรว่ มอนรุ กั ษ์ ฟน้ื ฟู รักษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มอย่างเป็นรปู ธรรม
1.15 มาตรการลดหยอ่ นภาษีเพอ่ื ศึกษาเปน็ แรงจูงใจใหภ้ าคเอกชนเข้ามามสี ่วนร่วมจดั การศกึ ษา
1.16 คำ� ส่ังของคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ยกระดบั นโยบายของรฐั บาลเรอ่ื ง“จดั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 15 ปี โดย
ไม่เก็บค่าใช้จ่าย” ให้เป็นหน้าที่ของรัฐบาลและมาตรการตามกฎหมาย เป็นการลดความเหล่ือมล้�ำ สร้างโอกาสทางการ
ศกึ ษา และความเปน็ ธรรมในสงั คม
1.17 องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ และสถานประกอบการในจงั หวัดเห็นความสำ� คัญของการศึกษา ทำ� ใหส้ ถานศกึ ษา
ไดร้ ับการสนบั สนนุ ทรัพยากรในการจัดการศึกษา
1.18 นโยบายขับเคล่ือนการบริหารราชการด้วยกลไกประชารัฐ เป็นการเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วน ของสังคมมี
สว่ นร่วมพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
1.19 จังหวัดสมุทรปราการเป็นศูนย์กลางการขนส่งท้ังทางบก ทางน�้ำ และทางอากาศ และเชื่อม ต่อกับระเบียง
เศรษฐกิจภาคตะวันออก ส่งผลให้นักลงทุนเข้ามาประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรม เป็นจ�ำนวนมาก (8.439 แห่ง)
เป็นโอกาสด้านแรงงาน การค้า การลงทุน และการท่องเท่ียว ซ่ึงมีผลต่ออัตราการเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจของจังหวัดที่
สูงขน้ึ ส่งผลใหส้ ถานศึกษามีการพฒั นาทางด้านภาษาและอาชพี ใหก้ บั ผเู้ รยี น และเยาวชน
2. ปญั หาอุปสรรคส�ำคญั ดา้ นการศึกษาของจงั หวัดสมทุ รปราการ ที่ควรได้รับการแก้ไขโดยเรง่ ดว่ น
2.1 นโยบายการศึกษาระดบั กระทรวงมกี ารเปล่ียนแปลงบอ่ ย ทำ� ใหก้ ารปฏิบตั ิงานขาด ความต่อเนื่อง
2.2 สภาพปัญหาทางสังคมที่เปล่ียนแปลงไปตามกระแสวัตถุนิยม/บริโภคนิยม และการอบรมเล้ียงดูของครอบครัว
ในการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมลดน้อยลง สง่ ผลใหเ้ ด็กและเยาวชนมีแนวโนม้ พฤตกิ รรมท่ีไมพ่ ึงประสงค์
2.3 ปัญหาทางสังคมที่เก่ียวกับยาเสพติด ปัญหาทางเพศ และอบายมุข สามารถแพร่กระจายเข้าสู่สถานศึกษาได้
งา่ ยข้ึน ผ่านทาง Social Media สง่ ผลกระทบตอ่ พฤตกิ รรมของผู้เรยี น
2.4 ความเหลื่อมล้�ำและช่องว่างระหว่างรายได้ของประชากร มีผลต่อโอกาสเข้าถึงการบริการทางการศึกษา
ท่ีมีคณุ ภาพแตกตา่ งกัน
2.5 ผู้ปกครองบางส่วนเป็นแรงงานจากต่างจังหวัดท่ีเข้ามาประกอบอาชีพ และมีการเคลื่อนย้ายแรงงานและการ
ลงทุน ส่งผลให้ผู้เรียนบางสว่ นออกกลางคนั หรอื กการจบการศกึ ษา ของผ้เู รียนไมเ่ ป็นไปตามระยะเวลาทก่ี �ำหนด

98 รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017


Click to View FlipBook Version