The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suphasan Bamnejphan, 2020-02-07 03:10:26

สมุทรปราการ

AWCoverSPAnnualReport60

ส�ำ นกั งานจงั หวัดสมทุ รปราการ

2.6 สังคม ผู้ปกครองและผู้เรียนบางส่วนยังมีทัศนคติ ค่านิยมท่ีไม่ถูกต้อง รวมทั้งความปลอดภัยของบุตรหลานใน
การเข้าศึกษาต่อในระดับอาชีวศึกษา ท�ำให้สัดส่วนการเข้าศึกษาต่อสายอาชีวศึกษาไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ส่งผลให้
ขาดแคลนแรงงานดา้ นสายอาชพี
2.7 สถานประกอบการต้องการแรงงานที่มีทักษะ และฝีมือการปฏิบัติงาน ตามมาตรฐานความต้องการของ
สถานประกอบการ
2.8 จังหวัดสมุทรปราการมีกลุ่มประชากรแฝงท่ีไม่มีช่ือในทะเบียนราษฎร คิดเป็นร้อยละ 47.50 และประชากร
ท่ีเดินทางเช้าไปเย็นกลับ ประมาณร้อยละ 14 (แผนพัฒนาจังหวัดจังหวัดสมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ..2561-2564) ส่งผล
ใหก้ ารจดั การศึกษาในสถานศึกษาเกิดความคาดเคล่ือนและคุณภาพทางการเรียนไม่เปน็ ไป ตามเปา้ หมาย
2.9 ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาขาดความเป็นเอกภาพ และไม่เป็นปัจจุบันที่จะน�ำมาวางแผนพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษาของจังหวดั สมทุ รปราการ
2.10 หนว่ ยงานที่จดั การศกึ ษามีหลายสงั กดั ขาดการวางแผนและการบรูณาจัดการศกึ ษารว่ มกนั
2.11 ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตมีความซ�้ำซ้อน และมีประสิทธิภาพไม่เพียงพอกับความต้องการ ใช้งานของ
ผู้รบั บริการ
2.12 ผู้เรียน ครูหรือบุคลากรทางการศึกษายังขาดทักษะภาษาต่างประเทศโดยเฉพาะภาษาอังกฤษและภาษา
อาเซียน เนอื่ งจากกระบวนการจดั การเรียนรไู้ มเ่ นน้ การสอื่ สาร
2.13 ผู้เรยี นบางส่วนยังขาดทกั ษะการคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ หรอื คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ สง่ ผลใหส้ งั คม/สถาน
ประกอบการไม่ยอมรับคณุ ภาพของผู้เรียน
2.14 สถานศึกษาบางแห่ง ขาดแคลนครูเฉพาะทาง/สาขา เพ่ือการจัดการเรียนการสอนแก่ผู้เรียน/กลุ่มท่ีมีความ
ต้องการพิเศษ
2.15 ผเู้ รียน ครหู รอื บุคลากรทางการศึกษายังขาดทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยที ี่ทันสมัย
2.16 ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเป็นหน่วยงานที่ต้ังข้ึนใหม่ ท�ำให้การประชาสัมพันธ์ บทบาท ภารกิจ หน้าท่ีให้
กับหนว่ ยงานทางการศกึ ษา สว่ นราชการ ภาคเอกชนและประชาชนใหร้ ับทราบยงั มนี อ้ ย
ข้อเสนอแนะทีส่ �ำคญั เกี่ยวกบั การพฒั นาดา้ นการศกึ ษาของจงั หวัดสมุทรปราการ
1. น้อมน�ำแนวพระราชด�ำริ สืบสานพระราชปณิธานและพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร ขับเคล่ือนงานด้าน
การศกึ ษาให้เกิดเป็นรปู ธรรม
2. ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา เพือ่ ให้ผู้เรยี นมีคณุ ภาพตามมาตรฐานของหลกั สูตรมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ทักษะอาชีพ
ทักษะในศตวรรษที่ 21 และคา่ นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ
3. สง่ เสริม สนบั สนุนการสร้างประสบการณอ์ าชีพให้กบั ผเู้ รียนเพอ่ื การมงี านทำ� และรองรับตลาดแรงงาน
4. ครูและบุคลากรทางการศึกษาทกุ คนได้รบั การพฒั นาความสามารถและมีความก้าวหนา้ ในวชิ าชพี ตามศักยภาพ
5. สถานศกึ ษามรี ะบบการประกันคุณภาพภายในทีเ่ ขม้ แข็ง และด�ำเนินการอยา่ งตอ่ เนื่อง
6. หน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาน�ำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการและการเรียน
การสอนอยา่ งมีประสิทธิภาพ
7. ส่งเสริมการพัฒนาการบริหารเชิงพื้นท่ีให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการบูรณาการจัดการศึกษา

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017 99

สำ�นักงานจงั หวัดสมุทรปราการ

สรุปสภาพบริบท/ แนวโนม้ และปญั หาท่ีส�ำคญั ดา้ นการศึกษาของจังหวัดสมุทรปราการ

1. ด้านโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา
จังหวัดสมุทรปราการ มีประชากรท่ีอยู่ในวัยการศึกษา อายุ 3-22 ปี จ�ำนวน 320,091 คน และได้รับการศึกษา
จำ� นวน 207,150 คน คดิ เป็นร้อยละ 64.72 ผเู้ รยี นในระดบั ก่อนประถมศกึ ษา ได้รับการเตรยี มความพร้อม คิดเปน็ รอ้ ยละ
84.81 ผู้เรียนในระดับประถมศึกษา ได้เข้าเรียน คิดเป็น ร้อยละ 100 แต่ยังมีผู้เรียนอีกจ�ำนวนหน่ึงที่ยังไม่จบการศึกษา
ภาคบังคับ คิดเป็นร้อยละ 5.93 ซ่ึงในจ�ำนวนน้ีไม่รวมผู้เรียนในระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
สังกัดส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จ�ำนวน 1,160 คน ส�ำหรับการศึกษาในระดับ
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ยงั ไดร้ บั ความนิยมเรียนตอ่ ในสายสามัญมากกว่าสายอาชวี ศกึ ษา โดยมีสัดส่วน 79:21 ไมเ่ ปน็ ไปตาม
เป้าหมายที่ก�ำหนด ซ่ึงส่วนหน่ึงเกิดจากค่านิยมของผู้ปกครองนักเรียนและผู้เรียน รวมทั้งความปลอดภัยในชีวิตของ
ผู้เรียนด้วย ผู้เรียนส่วนใหญ่อยู่ในสถานศึกษาของรัฐมากกว่าสถานศึกษาเอกชน คิดเป็นร้อยละ 69:31 นอกจากนี้ยังมี
ผ้เู รียนออกกลางคัน ในปกี ารศึกษา 2559 จำ� นวน 550 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.46
อนึ่ง จังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดที่มีประชากรแฝงจ�ำนวนมาก อพยพมาจากต่างจังหวัด และต่างด้าวเพ่ือ
มาประกอบอาชีพในโรงงานอุตสาหกรรม และการก่อสร้างรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีเขียว แบร่ิง-สมุทรปราการ จึงเป็นภาระ
รับผิดชอบของจังหวัดสมุทรปราการท่ีต้องจัดบริการการศึกษาให้ทั่วถึง ส�ำหรับแนวโน้มการอพยพเคล่ือนย้ายของผู้เรียน
เพ่ิมข้ึน หรือลดลงจะเป็นไปตามสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ แต่อย่างไรก็ตามจะส่งผลกระทบทางด้านประสิทธิภาพ
ทางการศกึ ษาของผเู้ รียนคือ อัตราการออกกลางคนั การยา้ ยเขา้ และการย้ายออกของผเู้ รยี นเป็นส�ำคญั
2. ด้านคณุ ภาพการศึกษา
- คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ (O-NET) ในวิชาหลัก ปีการศึกษา 2559 โดยเปรียบเทียบคะแนน
คา่ เฉลยี่ ร้อยละระหว่างระดบั จังหวดั กับประเทศ พบวา่
1. ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 มีค่าเฉลี่ยรอ้ ยละสงู กวา่ ระดบั ประเทศทุกวชิ าหลัก ได้แก่ วชิ าภาษาไทย คิดเป็นร้อยละ
2.69 วชิ าคณิตศาสตร์ คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.14 วชิ าภาษาองั กฤษ คิดเป็นร้อยละ 4.45 วชิ าวิทยาศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 1.04
และสังคมศกึ ษา 2.79
2. ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีค่าเฉล่ียร้อยละสูงกว่าระดับประเทศทุกวิชาหลัก ได้แก่ วิชาภาษาไทย คิดเป็นร้อยละ
1.62 วิชาคณติ ศาสตร์ คดิ เป็นรอ้ ยละ 1.02 วิชาภาษาอังกฤษ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.54 วชิ าวทิ ยาศาสตร์ คดิ เป็นร้อยละ 0.44
และสงั คมศกึ ษา 2.09
3.ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 มีค่าเฉลี่ยร้อยละสูงกว่าระดับประเทศ 4 วิชาหลัก ได้แก่ วิชาภาษาไทย คิดเป็นร้อยละ
1.92 วิชาคณิตศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 0.75 วิชาภาษาอังกฤษ คิดเป็นร้อยละ 2.75 วิชาสังคมศึกษา 0.74 ยกเว้นวิชา
วิทยาศาสตร์มีคา่ เฉลย่ี ต�่ำกวา่ ระดับอยู่ 0.44
3. ด้านบริหารจดั การ
- การพฒั นาการศกึ ษาของจงั หวัดสมทุ รปราการ มีหน่วยงานของรฐั องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และ
ภาคประชาสังคมเข้ามามีส่วนร่วมส่งเสริมสนับสนุน พัฒนา และแก้ไขปัญหาทางการศึกษา โดยจัดสรรงบประมาณจ้างครู
สื่อนวัตกรรมและปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน อาคารประกอบ เพ่ือเสริมสร้างความเข้มแข็ง ร่วมพัฒนาการศึกษาสู่
ความเป็นเลิศทางวิชาการ แต่อย่างไรก็ตามสถานศึกษาในสังกัดยังมีความขาดแคลน/ความพร้อมในด้านโครงสร้างพื้นฐาน
เช่น อาคารเรยี น อาคารประกอบ สว้ ม สนาม/ลานกีฬา และอ่นื ๆ ท่ีจะรองรับการขยายตวั ของนกั เรยี น/ชุมชน มีแนวโนม้
ท่ีเพิ่มขน้ึ อย่ตู ลอดเวลา

100รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

สำ�นักงานจังหวัดสมทุ รปราการ

- การบริหารจัดการงบประมาณ การใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายมีความยุ่งยากซับซ้อนในการปฏิบัติงาน มีการ
ก�ำหนดมาตรการตั้งแต่การจัดตั้งและจัดสรรงบประมาณในรูปแบบคณะกรรมการ ตัวแทนตามขนาดโรงเรียนด้วยความ
ยุติธรรม โปร่งใส จากฐานข้อมูลความต้องการจ�ำเป็น และขาดแคลนส�ำหรับการเบิกจ่ายมีการติดตามเร่งรัดผลการด�ำเนิน
งานเป็นรายโรงเรียนทุกเดือน รวมทั้งควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณรายสถานศึกษาด้วยทะเบียนคุมย่อยตามรายการ
พร้อมท้ังมีการวิเคราะห์ข้อมูลเสนอผู้บริหาร เพื่อก�ำกับ ควบคุม ติดตาม เร่งรัดการเบิกจ่ายเงินงบประมาณให้เป็นไปตาม
แผน

- จงั หวัดสมทุ รปราการเป็นเมืองอุตสาหกรรม ทรพั ยากรและสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม เปน็ ผลกระทบจากการพัฒนา
อุตสาหกรรมในอดีต ก่อให้เกิดมลพิษท้ังทางด้านน�้ำ ควัน กล่ิน เสียงและทางอากาศ เป็นสาเหตุที่ท�ำลายสุขภาพผู้เรียน
ส่งผลตอ่ การเรยี นรู้

- การขยายตัวทางเศรษฐกิจและสภาวะสังคมท่ีเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วท�ำให้สภาพครอบครัวขาดความอบอุ่น
พ่อแม่ ผู้ปกครองต้องท�ำงานหนักไม่มีเวลาให้ลูกเท่าที่ควร ท�ำให้เกิดปัญหานักเรียนขาดการปลูกฝังคุณลักษณะท่ีพึง
ประสงค์ ซงึ่ เปน็ คณุ ธรรม จริยธรรมที่ส�ำคัญ ได้แก่ จริยธรรมดา้ นระเบียบวินยั ความรบั ผดิ ชอบ ความขยัน อดทน ทำ� ให้
เด็กแสดงพฤตกิ รรมทีไ่ มเ่ หมาะสม เช่น การสบู บุหร่ี มัว่ สมุ ตามทส่ี าธารณะอ่ืนๆ การทะเลาะ วิวาท และติดยาเสพตดิ

สภาพบรหิ ารจัดการศกึ ษาของจังหวดั สมทุ รปราการ
ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันท่ี 21 มีนาคม 2559 ได้เผยแพร่ประกาศค�ำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ที่ 10/2559 เร่ือง การขบั เคลื่อนการปฏริ ปู การศกึ ษาของกระทรวง ศึกษาธิการในภูมภิ าค และ 11/2559 เรื่อง การบริหาร
ราชการของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค โดยท่ีได้ปรากฏข้อเท็จจริงถึงสภาพปัญหาในการจัดการศึกษาในส่วนภูมิภาค
ของประเทศว่า เกิดจากปัญหาการสั่งการ และการบริหารจัดการที่ไม่มีประสิทธิภาพและไม่เป็นเอกภาพเป็นปัญหาสำ� คัญ
ดังนั้น เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูประบบการศึกษาให้สามารถขับเคลื่อนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อ
การพัฒนาประเทศ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)
พุทธศักราช 2557 หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ให้ตั้งคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด เรียกโดยย่อว่า “กศจ.”
ประกอบดว้ ย
- ผวู้ ่าราชการจังหวดั ประธาน
- ศกึ ษาธกิ ารภาคในพ้ืนที่รับผิดชอบ รองประธาน
- ผแู้ ทนส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน กรรมการ
- ผแู้ ทนส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กรรมการ
- ผแู้ ทนสำ� นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
- ผแู้ ทนส�ำนกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา กรรมการ
กรรมการ
- ผแู้ ทนส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน กรรมการ
- ผู้แทนสำ� นกั ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย กรรมการ
- ท่องเทยี่ วและกีฬาจงั หวัด กรรมการ
- ท้องถน่ิ จังหวัด กรรมการ
- ประธานสภาอตุ สาหกรรมจงั หวดั กรรมการ
- ประธานสภาหอการคา้ จงั หวดั กรรมการ
- ผู้อำ� นวยการส�ำนกั งานพระพทุ ธศาสนาจังหวัด กรรมการ
- วฒั นธรรมจังหวดั กรรมการ
- ผู้แทนภาคประชาชนในทอ้ งถิ่น จำ� นวน 2 คน กรรมการ
- ผู้แทนข้าราชการครใู นท้องถ่ิน จ�ำนวน 2 คน กรรมการ
- กรรมการผทู้ รงวุฒิ อาทิ ด้านกฎหมาย บรหิ ารงานบุคคล หรือดา้ นอนื่ ๆ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ
ทีเ่ กี่ยวข้อง จำ� นวนไมเ่ กนิ 3 คน
- ศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด กรรมการและเลขานกุ าร

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017101

สำ�นกั งานจังหวัดสมทุ รปราการ

คณะกรรมการศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั มีอ�ำนาจหน้าท่ีในแตล่ ะเขตดงั นี้
1. ก�ำหนดยุทธศาสตร์ แนวทางการจัดการศึกษาและการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาทุกระดับและ
ทุกประเภท ประสานและส่งเสริมการบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริม
และสนับสนุนการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา
สถานประกอบการ และสถาบนั สังคมอนื่ ทจ่ี ดั การศกึ ษาในรูปแบบทห่ี ลากหลายในจงั หวดั
2. พิจารณาและให้ความเหน็ ชอบแผนพัฒนาการศึกษาของจังหวัด
3. พิจารณาและให้ความเห็นชอบกรอบการประเมินผลการปฏิบัติงานและตัวช้ีวัดในการด�ำเนินงานในลักษณะ
ตวั ชีว้ ดั ร่วมของส่วนราชการหรือหนว่ ยงาน และสถานศึกษาในสังกดั กระทรวงศกึ ษาธิการในจังหวดั
4. เสนอความเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในจังหวัดต่อ
คณะกรรมการขับเคล่ือนการปฎริ ูปการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารในภมู ภิ าคเพ่อื ใช้อำ� นาจตามขอ้ 2 (4)
5. ก�ำกับ เร่งรัด ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการหรือหน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัด
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารในจังหวดั
6. วางแผนการจดั ศกึ ษาในจังหวดั และพจิ ารณาเสนอแนะการจดั สรรงบประมาณใหแ้ กส่ ถานศึกษา
7. เสนอคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค เพ่ือแต่ตั้งอนุกรรมการ
และคณะท�ำงานเพ่อื ชว่ ยเหลือการปฏิบัตงิ านของ กศจ. ได้ตามความจำ� เป็น
8. ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายก�ำหนด หรือตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวง
ศกึ ษาธกิ ารในภมู ิภาคมอบหมาย

ด้านเศรษฐกจิ (เศรษฐกิจโดยรวมของจงั หวดั )

1) สถานการณด์ ้านเศรษฐกจิ โดยรวมในปจั จบุ ันและแนวโน้มทิศทางด้านเศรษฐกิจโดยรวม ของจงั หวดั สมทุ รปราการ
จากการวิเคราะห์ข้อมลู ผลติ ภัณฑม์ วลรวมจงั หวดั ณ ราคาประจำ� ปี จำ� แนกตามสาขาการผลติ พ.ศ. 2556 –2558
พบว่าภาคเกษตรมีอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดลงลดลงอย่างต่อเน่ือง โดยในปี 2558 ลดลงถึงร้อยละ
17.7 เมื่อเทียบกับปี 2557 แต่ในส่วนอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดภาคนอกเกษตรมีเพ่ิมข้ึนอย่างต่อ
เนือ่ ง โดยในปี 2558 เพิม่ ข้นร้อยละ 3.6 เม่ือเทยี บกับปี 2557 ทำ� ใหผ้ ลิตภณั ฑม์ วลรวมจงั หวดั ตอ่ คนเพ่มิ ขึน้ จาก 334,451
บาท ในปี 2557 เป็น 339,972 บาท หรอื เพม่ิ ข้ึนรอ้ ยละ 1.7 เมอื่ นำ� ข้อมูลใช้ทีด่ นิ ของส�ำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตรมารว่ ม
วิเคราะห์พบว่าเนื้อท่ีใช้ประโยชน์ทางการเกษตรลดลงอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยที่เน้ือท่ีใช้ประโยชน์นอกการเกษตรเพิ่มขึ้น
โดยในสภาพปัจจุบันมีการสร้างที่อยู่อาศัยในจังหวัดสมุทรปราการเพิ่มขึ้นเพื่อรองรับจ�ำนวนประชากรท่ีเพิ่มข้ึน เพราะ
จังหวัดสมุทรปราการเป็นแหล่งงานแหล่งการลงทุนในเกือบทุกประเภทของภาคเศรษฐกิจมีสถานประกอบการจ�ำนวนมาก
ทัง้ ในภาคการผลิตและการบรกิ าร โดยใน ปี 2558 อัตราการขยายตวั ของผลติ ภณั ฑ์มวลรวมในสาขาโรงแรมและภตั ราคาร
เพ่มิ ขน้ึ ร้อยละ 12.1 (ปี 2557 ร้อยละ 9.7 และ ปี 2558 ร้อยละ 21.8) ซึ่งถ้านำ� ขอ้ มูลดา้ นการทอ่ งเทยี่ วของกรมการทอ่ ง
เท่ียวมาร่วมวิเคราะห์พบว่าใน ปี 2559 จังหวัดสมุทรปราการมีรายได้จากการท่องเที่ยว 5,265 ล้านบาท ท�ำให้เห็นว่า
จงั หวัดสมทุ รปราการเป็นอกี จังหวัดที่มีศกั ยภาพทางดา้ นเศรษฐกิจในหลายดา้ น

ดังนั้นจากข้อมูลและศักภาพพื้นฐานท่ีดีในหลายด้านแนวโน้มทิศทางด้านเศรษฐกิจของจังหวัดน่าจะเติบโตข้ึนถ้า
ไม่มีปัจจัยภายนอกประเทศมากระทบเพราะปัจจัยภายในประเทศเริ่มมีความม่ันคงมากขึ้นในภาคการลงทุนด้านโครงสร้าง
พ้ืนฐานของรัฐบาลในด้านต่างๆ ก็เป็นการน�ำเงินมาลงทุนในระบบเป็นการสร้างงานก็เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจอีกทางหน่ึง
ซึ่งจงั หวัดสมุทรปราการกไ็ ด้รบั งบประมาณในการจัดการด้านโครงสรา้ งพ้ืนฐานเช่นกนั

102รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017

สำ�นักงานจังหวัดสมทุ รปราการ

2) ปญั หาหรืออปุ สรรคส�ำคญั ด้านเศรษฐกจิ โดยรวมของจงั หวัดสมุทรปราการ ทีค่ วรได้รบั การแก้ไขโดยเรง่ ด่วน
1. แรงงาน ส่วนใหญ่เป็นแรงงานทางด้านการผลิต ควรมีการดูแลเร่ืองสวัสดิการให้ดียิ่งขึ้น เรื่องค่าตอบแทน
แรงงานให้เหมาะสมกบั สภาวะคา่ ครองชีพในปจั จบุ นั หรือเพ่มิ ศกั ยภาพระดบั ความเชี่ยวชาญของแรงงานเพ่ือให้สามารถรบั
คา่ ตอบแทนแรงงานให้สงู ข้นึ และเป็นทต่ี ้องการของผู้ประกอบการ
2. ควรมีบริหารจดั การแรงงานตา่ งดา้ ว ซึง่ เป็นแรงงานที่ผปู้ ระกอบการในจงั หวัดจ้างงานในหลายประเภทการผลติ
และบริการ ควรมีการดแู ลในดา้ นตา่ ง ๆ ในมากขึน้ เช่นด้านสุขภาพ ด้านทีอ่ ย่อู าศยั ด้านคา่ ตอบแทนแรงงาน และอ่นื ๆ ที่
เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกันโรคระบาดในกลุ่มแรงงานต่างด้าว เพ่ือป้องกันการเกิดอาชญากรรมท่ีผู้ต้องหาเป็นแรงงานต่างด้าว
การประทว้ งนายจา้ งเพอื่ เรยี กรอ้ งสทิ ธใิ นการทำ� งาน สงิ่ เหลา่ นถ้ี า้ ขาการบรหิ ารจดั การทด่ี อี าจสง่ ผลกระทบดา้ นเศรษฐกจิ ได้
3. ดา้ นมลภาวะต่าง ๆ ด้านฝุน่ ควัน น้ำ� เสีย ซ่ึงเป็นผลมาจากแหล่งอตุ สาหกรรมทม่ี หี ลายแหง่ ในจงั หวัดควรมกี าร
กำ� กบั ดแู ลอย่างจริงจงั มีการจัดการท่ีดีเพ่ือใหส้ ถานประกอบแหล่งการผลติ การบรกิ ารมคี วามรับผดิ ชอบตอ่ สังคมและชุมชน
เพ่ือให้สามารถอยู่ร่วมกันได้เพราะถ้าไม่มีการบริหารจัดการท่ีดีผลกระทบก็จะเกิดขึ้นเป็นปัญหาเรื้อรังและส่งผลกระทบ
ต่อเศรษฐกจิ ของจังหวดั เชน่ เปน็ จงั หวัดที่มฝี ุ่น ควนั พิษมากนักท่องเทยี่ วไมอ่ ยากมาเท่ียว เป็นตน้
4. การจราจรคับคั่ง ปัญหารถติดซ่ึงเป็นปัญหาใหญ่อีกปัญหาหนึ่งของจังหวัดสมุทรปราการ เพราะเป็น
จุดศูนย์กลางของการผลิต การขนส่ง และยังเป็นจังหวัดท่ีมีสนามบิน ถ้ายังไม่สามารถแก้ไขปัญหารถติดได้ก็คงต้องถือเป็น
อกี ปญั หาท่ีจะสง่ ผลกระทบตอ่ เศรษฐกิจของจงั หวดั
3) ข้อมูลตัวเลข/ข้อมูลสถิติและข้อเสนอแนะท่ีส�ำคัญเก่ียวกับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจโดยรวม ของจังหวัด
สมทุ รปราการ
1. ขอ้ มลู สถติ ิ

1.1 รายงานสถติ ิ พ.ศ. 2560 ซึง่ มสี ถิตดิ า้ นตา่ ง ๆ ท่เี ก็บรวบรวมไว้ เชน่
- บญั ชปี ระชาชาติ สถิติผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจังหวัด
- สถิตกิ ารทอ่ งเทย่ี ว
- สถิตแิ รงงาน
- สถติ อิ ุตสาหกรรม
1.2 รานงานส�ำมะโนอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2560 ขอ้ มูลพืน้ ฐานจงั หวดั สมทุ รปราการ
2. ข้อเสนอแนะที่ส�ำคัญเก่ียวกับการพัฒนาดา้ นเศรษฐกจิ โดยรวม จงั หวัดสมทุ รปราการมศี กั ยภาพหลายดา้ น เป็น
แหลง่ ทนุ แหล่งงาน มจี ำ� นวนสถานประกอบการทงั้ ทางดา้ นการผลติ และทางบรกิ าร มีโครงสร้างพนื้ ฐานทคี่ รบถว้ น มสี นาม
บินขนาดใหญ่ มีถนนหลายเส้นทางเช่ือมต่อกันเป็นโครงข่าย มีการบริการขนส่งสินค้าทั้ง บก เรือ และอากาศ และยังมี
สถานที่ท่องเที่ยวหลายแห่ง ศักยภาพเหล่าน้ีเป็นตัวขับเคลื่อนด้านเศรษฐกิจของจังหวัดอย่างชัดเจนอยู่แล้ว แต่การพัฒนา
ดา้ นเศรษฐกิจก็ทำ� ใหเ้ กดิ ปัญหาตา่ ง ๆ เกดิ ขนึ้ ในจังหวดั สมุทรปราการ เช่น ปญั หารถติด ปัญหามลพิษ ปัญหาขยะ ปญั หา
อาชญากรรม อุบตั เิ หตุ ปัญหาแรงงานต่างดา้ วและอกี หลาย ๆ ปัญหา ทางจงั หวัดตอ้ งเตรยี มตง้ั รบั ปัญหาเหลา่ น้ีและหาวธิ ี
บริหารจัดการปัญหาโดยปัญหาเหล่านี้เป็นปัญหาเร้ือรังต้องใช้เวลาในการแก้ไขปัญหาและทุกภาคส่วนต้องร่วมมือกันแก้ไข
ปญั หา คงตอ้ งรว่ มการระดมความคดิ ของทกุ ภาคสว่ น ทง้ั ภาครฐั เอกชน และภาคประชาชน เพอื่ ชว่ ยคลค่ี ลายปญั หาตา่ งใหล้ ดลง.

ดา้ นสังคม (สาธารณสุข)

1) สถานการณด์ า้ นแรงงานในปจั จบุ นั และแนวโน้มทางด้านสาธารณสขุ ของจงั หวัดสมทุ รปราการ
การด�ำเนนิ งานวณั โรคในเรอื นจ�ำ จะอย่ใู นพืน้ ทีบ่ ริการของโรงพยาบาลบางบ่อ อำ� เอบางบ่อ จังหวัดสมทุ รปราการ ซง่ึ

หากมีผปู้ ่วย หรือผู้สงสัยว่าจะป่วยด้วยวณั โรค ก็จะถกู สง่ ตัวต่อไปยังโรงพยาบาลบางบอ่ เพ่อื รบั การตรวจวินิจฉัยโดยแพทย์

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017103

ส�ำ นักงานจังหวัดสมทุ รปราการ

และขึ้นทะเบียนการรักษา และกลับมารับการก�ำกับการกินยาต่อจนครบระยะเวลาการรักษา ประมาณ 6-8 เดือน
ที่เรอื นจ�ำกลางสมุทรปราการ โดยมีทมี เจา้ หน้าท่พี ยาบาล และอาสาสมคั รเรอื นจำ� เป็นผู้ควบคมุ ดูแล

และในปีงบประมาณ 2560 ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวดั สมุทรปราการ ด�ำเนนิ โครงการรณรงคค์ น้ หาผ้ปู ่วยวัณโรค
รายใหม่ในเรือนจ�ำกลางจังหวัดสมุทรปราการ วัตถุประสงค์เพ่ือค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในกลุ่มผู้ต้องขัง ลดการระบาด
ของวณั โรคในเรือนจ�ำ และลดการเสยี ชีวิตของผู้ต้องขงั ท่ปี ว่ ยดว้ ยวณั โรค

ด�ำเนนิ การในเดือน มถิ ุนายน – กนั ยายน 2560 โดยสถานการณ์กล่มุ ผูต้ อ้ งขังในเรอื นจำ� ณ เดอื นมิถนุ ายน 2560 มี
ผู้ต้องขังท้ังหมดจ�ำนวน 5,801 คน เป็นผู้ป่วยวัณโรคอยู่เดิม จ�ำนวน 49 ราย ด�ำเนินการตรวจ X-Ray ปอด 100 %
ในผู้ต้องขังทุกคน ผลการตรวจ พบผู้มีฟิลม์ผิดปกติที่สงสัยวัณโรคจ�ำนวน 454 คน และน�ำไปตรวจ Confirm ซ้�ำ โดยส่ง
ตรวจเสมหะด้วยวิธี AFB และ Gene X-pert มีผลการตรวจพบเชื้อวัณโรคจ�ำนวน 67 ราย และน�ำมาขึ้นทะเบียนรักษา
วัณโรคต่อไป
2) ปญั หาหรอื อุปสรรคส�ำคญั ด้านสาธารณสุขของจังหวดั สมทุ รปราการ ทค่ี วรไดร้ ับการแก้ไขเรง่ ดว่ น
ในประเด็นการดูแลผ้ปู ่วยวณั โรคในเรอื นจ�ำ จะมปี ัญหาในการด�ำเนนิ การอยู่บา้ งเช่น
1. ด้านการคน้ หาผปู้ ่วยรายใหม่ หากพบผ้มู อี าการสงสยั วณั โรค ตอ้ งนำ� ออกไปตรวจท่โี รงพยาบาลบางบอ่ เนอ่ื งจาก
เรอื นจำ� ไมม่ ีเคร่ืองเอ็กซเรยป์ อดและไมม่ ีแพทย์ทกุ วัน
2. การจ�ำหน่ายการรักษาผู้ป่วยท่ียังรักษาไม่ครบ6เดือน เม่ือออกมาจากเรือนจ�ำแล้ว บางรายไม่ไปรับการรรักษา
ต่อที่โรงพยาบาล
3. เรอื นพยาบาลคับแคบยงั รองรับผปู้ ว่ ยวัณโรคจ�ำนวนมากไม่ได้
3) ขอ้ มูลตัวเลข/ข้อมูลสถติ ิและข้อเสนอแนะท่ีส�ำคญั กบั การพัฒนาด้านสาธารณสขุ ของจงั หวดั สมทุ รปราการ
จากข้อมลู การคนั หาผู้ปว่ ยวณั โรครายใหม่ ตามโครงการรณรงคค์ น้ หาผู้ป่วยวณั โรครายใหมใ่ นเรอื นจ�ำกลาง
จังหวดั สมทุ รปราการ น้ัน ในช่วงด�ำเนนิ การเพียง 2 เดอื น พบผปู้ ว่ ยวัณโรครายใหม่จ�ำนวนมากถงึ 67 ราย และ
เดิมที่มีอยู่แล้วจ�ำนวน 49 ราย ท�ำให้ผู้ป่วยวัณโรครวมของเรือนจ�ำกลางสมุทรปรากร มีจ�ำนวน 126 ราย ซ่ึงถีอว่า
เป็นจ�ำนวนมาก เรือนจ�ำกลางสมุทรปราการและหน่วยบริการสาธารณสุขในพ้ืนที่ จะต้องวางแผนกระบวนการรักษาและ
ป้องกนั โรค ใหผ้ ปู้ ่วยเหล่าน้กี ินยาจนครบและมีผลการจ�ำหนา่ ยหายปว่ ยจากวณั โรค จดั มุมรกั ษาแยกโรค ไม่ให้แพร่เชือ้ ไปสู่
ผู้ผูต้ อ้ งขงั อ่นื ได้

ด้านเศรษฐกิจ (ภาคการท่องเท่ียว)

1) สถานการณ์ดา้ นการทอ่ งเท่ยี วในปจั จบุ ันและแนวโน้มทิศทางด้านการทอ่ งเท่ียว ของจงั หวัดสมทุ รปราการ
ปัจจุบันแนวโน้ม ทิศทาง สถานการณ์การด้านการท่องเที่ยว ในจังหวัดสมุทรปราการเป็นไปใน ทางท่ีดีขึ้นเร่ือยๆ
ตามนโยบายส่งเสริมการทอ่ งเทีย่ วปี 2560 เทยี่ ววิถไี ทยเก๋ไก๋ สไตล์ลึกซ้งึ ทกี่ ารท่องเที่ยวแหง่ ประเทศไทย สภาอตุ สาหกรรม
ท่องเที่ยวจังหวัดสมุทรปราการได้วางแนวทางไว้และจังหวัดสมุทรปราการได้สนับสนุนการท่องเที่ยวให้แต่ละต�ำบลหรือ
องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ประชาสมั พันธ์ สรา้ งสรรค์ ชอู ัตลกั ษณ์ของสนิ ค้า ผลิตภณั ฑ์ของท้องถน่ิ ให้โดดเดน่ สรา้ งจุดขาย
ให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางผ่านหลายช่องทางการประชาสัมพันธ์ท่ีมีมากข้ึน การให้สินค้าในท้องถิ่นของตนเองเป็น
ผลิตภัณฑ์ที่จะสามารถต่อยอดพัฒนาให้ได้หลายรูปแบบ ลดต้นทุน เพ่ิมรายได้ให้แก่ชุมชน คนในชุมชนมีแนวคิดที่จะสร้าง
packaging ของผลิตภณั ฑส์ วยงามข้ึน ชว่ ยดงึ ดูดใจในการตดั สินใจซ้ือได้งา่ ย พัฒนาไปถึงการสร้างสรรค์อาหารทม่ี ีรสชาตดิ ี
มคี ุณภาพ ราคาไมแ่ พง การตกแต่งร้านให้มีสไตล์เขา้ กับพื้นท่เี ป็นจุดสนใจในแหล่งท่องเทีย่ วน้นั ส่งเสรมิ ให้พน้ื ท่ีและท้องถน่ิ
มีแหล่งท่องเท่ียวเพ่ิมขึ้น ท่ีสามารถดึงดูดนักท่องเท่ียวได้ ส่งผลท�ำให้นักท่องเท่ียวเพิ่มขึ้นและพ้ืนที่ใกล้เคียงก็สามารถ
พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวของตนเองได้ แข่งขันให้ทัดเทียมพัฒนาเพื่อประโยชน์ของท้องถิ่น เป็นผลดีแก่นักท่องเที่ยวและ

104รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นักงานจังหวดั สมุทรปราการ

ภาพรวมการทอ่ งเทย่ี วในจงั หวดั การสร้างจุดถ่ายรูปเม่ือมาถงึ แหลง่ ทอ่ งเท่ียว (check point) กเ็ ปน็ สิ่งทส่ี ร้างขนึ้ อย่างแพร่
หลาย การประชาสัมพันธท์ าง Social media มคี วามส�ำคญั อย่างมากในปัจจบุ นั ส่ือสารได้หลายช่องมากยิง่ ข้นึ โทรศัพท์มือ
ถือมีส่วนท่ีท�ำให้สถานที่ท่องเท่ียวของจังหวัดสมุทรปราการเป็นท่ีรู้จักเช่นกัน จากการ check in สถานที่ท่องเท่ียว
ที่ไปเยอื นแลว้ ทำ� การเผยแพร่รปู ภาพแหง่ นั้น (post) ผา่ น Social media ทำ� ใหเ้ ปน็ ทร่ี ู้จกั แพรห่ ลายในวงกว้างอยา่ งรวดเร็ว
การมายังสถานที่ท่องเท่ียวแห่งนั้นก็ท�ำได้ง่ายจากการค้นหาจากแผนท่ีในโทรศัพท์มือถือ (google maps) ท่ีได้มี
การ check in ไว้แล้ว ซึ่งสถานการณ์การท่องเท่ียวภาพรวมปี 2560 ถือว่าเป็นไปในทิศทางท่ีดี ตามที่ภาครัฐและภาค
เอกชนให้การสนับสนุน โดยทางสภาอุตสาหกรรมท่องเท่ียวสมุทรปราการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้การสนับสนุน
อย่างเต็มท่ีทุกด้านเพื่อต่อยอดไปสู่ปีต่อไปให้เป็นตามนโยบายของรัฐบาลท่ีขับเคลื่อนโดยคณะกรรมการนโยบาย
การท่องเท่ยี วแหง่ ชาติ (ท.ท.ช) ภายใต้แนวทาง ปีท่องเทยี่ ววิถไี ทย เกไ๋ ก๋อย่างย่งั ยืน 2561
2) ปัญหาหรืออุปสรรคส�ำคัญดา้ นการทอ่ งเที่ยวของจงั หวดั สมุทรปราการ ที่ควรได้รบั การแก้ไขโดยเร่งด่วน
ปญั หาและอุปสรรคส�ำคญั ดา้ นการทอ่ งเทยี่ วของจงั หวดั สมทุ รปราการในปจั จบุ ัน สามารถสรปุ ประเดน็ ได้ ดงั น้ี
1) ปัญหาการจราจร เนอ่ื งจากเปน็ จังหวัดสมทุ รปราการเป็นแหลง่ ท่องเที่ยวท่ตี ิดกับกรุงเทพและเป็นเขตปริมณฑล
โดยปกติก็มีปัญหาสภาพการจราจรอยู่แล้ว สถานท่ีท่องเท่ียวใดเป็นที่นิยมมากก็จะมีปัญหาการจราจรท�ำให้รถติดหรือ
บางแห่งถนนท่ีจะเป็นยังท่ีท่องเท่ียวน้ัน ไม่สามารถขยายได้เพราะเป็นชุมชนด้ังเดิม รวมถึงแหล่งท่องเที่ยวที่เกิดข้ึนใหม่
นักทอ่ งเทีย่ วไมท่ ราบเสน้ ทางอาจเปน็ ปัญหาการจราจรได้
2) ป้ายบอกเส้นทางสถานทท่ี อ่ งเท่ยี วยงั มีไม่เพยี งพอ ทำ� ใหบ้ างแหง่ ยังไมเ่ ปน็ ที่รู้จักมากนกั หากไมส่ ังเกตุจากปา้ ย
บอกเส้นทาง บางแห่งมีปัญหาในการติดตั้งป้ายในเขตชุมชนท่ีประชาชนเจ้าของพื้นที่ไม่อยากให้ติดต้ังหรือการติดป้ายจาก
ถนนหลวงต้องมีขออนุญาตจากกรมทางหลวงและกรมทางหลวงชนบท บางพ้ืนที่ไม่สามารถอนุญาตให้ได้ บางแห่ง
กม็ ีอุปสรรคด้านอืน่ ๆ ในการมีปา้ ยบอกเสน้ ทางเช่นกัน
3) ปญั หาด้านความปลอดภยั ของนักทอ่ งเทย่ี ว บางแห่งทีจ่ อดรถอยู่ไกลหรอื ลับตาเกนิ ไป ไฟทางส่องสวา่ งในสถาน
ท่ีท่องเที่ยว ท่ีเปิดให้บริการเวลากลางคืนไม่เพียงพอ การจัดเจ้าหน้าที่เพื่อดูแลความปลอดภัยให้นักท่องเท่ียวไม่ว่าจะเป็น
เจ้าหน้าท่ีต�ำรวจหรือเจ้าหน้าท่ีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังมีไม่เพียงพอกับนักท่องเท่ียวเพราะบางแห่งมี
นักท่องเท่ยี วเพ่มิ ขน้ึ หากไม่มกี ารแก้ไขปญั หาเหล่าน้ี จะทำ� ใหม้ ปี ัญหาการเกดิ อาชญากรรมขน้ึ ได้
4) การขาดความร่วมมือของผู้น�ำชุมชนหรือประชาชนในพื้นท่ีกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท�ำให้แหล่งท่องเที่ยว
ไม่สามารถพัฒนาข้ึนมาได้ เป็นไปอย่างล่าช้า แนวความคิด มุมมองท่ีแตกต่างกับประชาชนบางครั้งการน�ำเสนอนโยบาย
จากผู้บริหารหรือทีมงานเพื่อพัฒนาการท่องเท่ียวขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินไม่สามารถท�ำให้เป็นที่ยอมรับหรือ
ตอบโจทย์ของประชาชนได้ เน่ืองจากวิถีชีวิตดั้งเดิม ค่านิยม พฤติกรรมของประชาชนในพื้นที่คือสิ่งท่ีปรับเปลี่ยนได้ยาก
ต้องอาศัยระยะเวลาในการสร้างความเข้าใจร่วมกัน ระดมความคิดในการสร้างสรรค์แหล่งท่องเที่ยวให้เป็นที่นิยมให้ได้
ในอนาคต
5) ปัญหาขยะเป็นส่ิงท่ีแหล่งท่องเท่ียวหลายแห่งประสบปัญหา นักท่องเที่ยวมีมากข้ึนก็จะมีขยะเพิ่มขึ้น ถังขยะ
ไม่เพยี งพอหรือไมส่ ามารถเขา้ ไปจดั เกบ็ ไดท้ นั เวลา การท้งิ ขยะไม่เปน็ ที่ เป็นทางของนักท่องเทีย่ วก็จะเกิดการสะสมจนเป็น
ปญั หาทีย่ ากจะแก้ไขได้
6) การไมซ่ อื่ สัตยต์ อ่ ลูกค้า ผ้บู ริโภค ร้านคา้ ขายสนิ คา้ หรอื อาหารไม่มคี ุณภาพ ไม่สดสะอาด คา้ งเกา่ ให้กบั นกั ท่อง
เท่ียว ท�ำให้แหล่งท่องเที่ยวเสียชื่อเสียง ไม่เป็นท่ีประทับใจท�ำให้ถูกบอกต่อกันไป จะท�ำให้กระทบไปถึงร้านค้าอื่นๆ
ที่มคี วามตั้งใจทจ่ี ะขายสนิ คา้ และบรกิ ารท่มี ีคุณภาพ ซ่งึ ตอ้ งมมี าตรการควบคุมไม่ให้เกิดปัญหาเช่นน้ตี ่อไป

รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017105

ส�ำ นกั งานจงั หวัดสมทุ รปราการ

3) ข้อมูลตัวเลข/ขอ้ มูลสถิติและขอ้ เสนอแนะท่ีส�ำคัญเกย่ี วกบั การพัฒนาด้านการทอ่ งเที่ยวของจังหวดั สมทุ รปราการ
จากข้อมูลสถิตินักท่องเที่ยวของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาล่าสุด ในเดือนกรกฎาคมจ�ำนวนนักท่องเท่ียว
เมอื่ เทยี บกบั ในเดอื นทผ่ี า่ นมา มจี ำ� นวน 222,339 คน เพมิ่ ขน้ึ รอ้ ยละ 0.03 แบง่ เปน็ นกั ทอ่ งเทยี่ วคนไทยจำ� นวน 152,225 คน
เพ่ิมขนึ้ ร้อยละ 0.02 นกั ทอ่ งเท่ยี วตา่ งชาตจิ �ำนวน 70,114 คน เพ่มิ ขน้ึ รอ้ ยละ 0.05 และในส่วนของรายได้จากนักทอ่ งเที่ยว
น้ันประมาณ 442 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.08 จากเดือนที่ ผ่านมา แบ่งเป็นรายได้จากนักท่องเที่ยวคนไทยจ�ำนวน
227 ลา้ นบาท เพมิ่ ขนึ้ รอ้ ยละ 0.08 รายไดจ้ ากนกั ทอ่ งเทย่ี วตา่ งชาตจิ ำ� นวน 214 ลา้ นบาท เพม่ิ ขนึ้ รอ้ ยละ 0.09 จะเหน็ ไดว้ า่
นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นไม่มากเลย เมื่อเทียบจากสัดส่วน แต่สถิติเกือบท้ังประเทศแต่ละจังหวัดก็เพ่ิมขึ้นไม่ถึงร้อยละ 1
ถือว่าทรงตัว
ข้อเสนอแนะในการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวของจังหวัดสมุทรปราการนั้น หลายภาคส่วนให้การสนับสนุน
แหล่งท่องเท่ียวตา่ งๆ ท้ังในด้านงบประมาณหรอื ดา้ นอน่ื ผา่ นทางอำ� เภอฯ องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ หรือแหลง่ ท่องเท่ียว
โดยตรงมากข้ึน เพ่ือให้พัฒนาได้อย่างเป็นรูปธรรม การส่งเสริมการท่องเท่ียวเป็นสิ่งที่จะพัฒนาให้ทุกพ้ืนที่มีรายได้
จากกจิ กรรมหรอื ธรุ กจิ ทจี่ ะเกดิ ขน้ึ อกี หลายประเภท ชมุ ชนมรี ายไดก้ จ็ ะสรา้ งคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี แตห่ ากจะพฒั นาใหก้ ารทอ่ งเทย่ี ว
เป็นไปได้อย่างราบร่ืน ต้องมีการประชุมร่วมกันเพ่ือแก้ไขปัญหาท่ีมีอยู่ มีข้อเสนอแนะแนวทางร่วมกัน เริ่มจากองค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ินที่ถือว่าเป็นผู้ดูแลพ้ืนท่ีท่ีมีแหล่งท่องเท่ียว ผู้น�ำชุมชน ประชาชนในพ้ืนท่ี พ่อค้า แม่ค้า หารือเรื่อง
ปัญหาอุปสรรคที่มีในพ้ืนท่ีแล้วแก้ไขให้ถูกจุดตั้งแต่ต้นเหตุของปัญหา มีแนวทางจะแก้ไขให้ชัดเจนได้อย่างไร การประชุม
หารือ พบพูดคุยกันจะทราบปัญหาที่แท้จริงทุกเร่ือง หากในระดับท้องถิ่นยังไม่สามารถแก้ปัญหาได้ ขอให้มีการหารือ
ในระดับอ�ำเภอไปจนถึงระดับจังหวัดซ่ึงปัญหาเร่ืองการท่องเท่ียวของจังหวัดถือว่าเป็นสิ่งที่ไม่สามารถละเลยได้ บางแห่ง
สถิตินักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วต้องท�ำ ให้เป็นได้คงเดิมตลอดไป ต้องร่วมมือกันทุกภาคส่วนเพื่อให้ถึงเป้าหมาย
ทกี่ ำ� หนดเอาไว้

ด้านเศรษฐกจิ (ภาคอตุ สาหกรรม)

1) สถานการณด์ ้านอตุ สาหกรรมในปัจจุบนั และแนวโนม้ ทศิ ทางดา้ นอตุ สาหกรรม ของจังหวัดสมทุ รปราการ
ปจั จุบนั จงั หวัดสมุทรปราการมีจำ� นวนโรงงานจำ� แนกตามจำ� พวกโรงงาน ได้แก่ ในนิคมอุตสาหกรรม 641 โรงงาน
โรงงานจ�ำพวกที่ 1 จ�ำนวน 46 โรงงาน โรงงานจ�ำพวกที่ 2 จ�ำนวน 783 โรงงาน และโรงงานจ�ำพวกท่ี 3 จ�ำนวน 6,119
โรงงาน รวมท้ังสิ้น 7,589 โรงงาน เมื่อพิจารณาตามหมวดของการลงทุนพบว่าประเภทกิจการที่มีการลงทุนมากท่ีสุด
3 อนั ดบั แรกของจงั หวัด ได้แก่
1. อุตสาหกรรมผลิตยานพาหนะและอุปกรณ์รวมท้ังการซ่อมยานพาหนะและอุปกรณ์ ปัจจุบันมีจ�ำนวนโรงงาน
ท้งั สนิ้ 594 โรงงาน เงนิ ลงทุน 61,044.39 ล้านบาท คนงาน 58,589 คน
2. อุตสาหกรรมผลิตภัณฑโ์ ลหะ ประกอบด้วย กิจการเกีย่ วกบั ผลติ ภัณฑ์โลหะ ที่เป็นชนิ้ สว่ นเครอ่ื งจกั รเปน็ หลัก
เชน่ ผลิตชิ้นสว่ นเครื่องจักร,น็อต,แหวนสกรู,แมพ่ ิมพ์ ฯลฯ รองลงมาไดแ้ ก่ กิจการเกยี่ วกับผลติ ภณั ฑโ์ ลหะส�ำหรับใชใ้ นการ
ก่อสร้างหรือติดตั้ง และ การผลิต ตบแต่ง ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเครื่องเรือนหรือเคร่ืองตบแต่ง ภายในอาคารท่ีท�ำจาก
โลหะหรือโลหะเป็นส่วนใหญ่ และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ของเครื่องเรือน หรือเคร่ืองตบแต่งดังกล่าว ตามล�ำดับ
ปจั จุบันมจี �ำนวนโรงงานทั้งสน้ิ 1,402 โรงงาน เงนิ ลงทุน 36,152.40 ลา้ นบาท คนงาน 60,287 คน
3. อตุ สาหกรรมอน่ื ๆ นอกเหนือจาก 20 ประเภทตามหมวดอตุ สาหกรรม ซง่ึ ไดแ้ ก่ โรงงานผลติ เคร่อื งมอื เคร่ืองใช้
เก่ียวกบั นัยนต์ า โรงงานประกอบกิจการเก่ยี วกบั เพชร พลอย ทอง เงนิ นาก โรงงานผลติ หรือประกอบเครื่องดนตรี ปจั จบุ นั
มีจำ� นวนทั้งส้นิ 633 โรงงาน เงินลงทนุ 33,312.35 ลา้ นบาท คนงาน 39,682 คน
ผลจากการพิจารณาข้อมูลการลงทุนอุตสาหกรรมในเดือนน้ี (กันยายน 2560) เปรียบเทียบกับช่วงระยะเวลา
เดยี วกันในปีกอ่ น พบวา่ มอี ัตราการขยายตวั ของจำ� นวนโรงงานท่ีได้รบั อนญุ าตใหม่ เพิม่ ข้ึนคิดเป็นร้อยละ 13.9 จำ� นวนเงนิ
ลงทนุ เพ่มิ ข้นึ คิดเปน็ ร้อยละ 34.64 และอัตราการจ้างงาน เพิ่มข้ึนคดิ เป็นรอ้ ยละ 52.59

106รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

ส�ำ นกั งานจงั หวดั สมทุ รปราการ

แนวโน้มทิศทางด้านอุตสาหกรรม คาดว่า ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมจะขยายตัว จากช่วงเดียวกันของปี 2559
จากการทยอยฟื้นตัวอย่างช้าๆ ของเศรษฐกิจภายในจังหวัดสมุทรปราการ เน่ืองจากการลงทุนภาครัฐท่ีมีแนวโน้มขยายตัว
มากขึ้น โดยเฉพาะการลงทุนโครงสร้างพ้ืนฐานด้านคมนาคม โครงการกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ และ
โครงการอื่น ๆ ที่ภาครัฐ/หน่วยงานของรัฐสนับสนุน ประกอบกับความเชื่อมันในเรื่องนโยบายทางการเมือง ซ่ึงจะส่งผล
ให้เกดิ ความเชอื่ ม่ันในการลงทนุ มากขึน้

2) ปัญหาหรอื อุปสรรคส�ำคัญดา้ นอตุ สาหกรรมของจังหวัดสมุทรปราการ ท่คี วรได้รับการแก้ไขโดยด่วน
จังหวัดสมุทรปราการ ในอดีตเม่ือประมาณ 30 ปีท่ีแล้วมา เป็นพ้ืนที่อพยพของโรงงานอุตสาหกรรมท่ีขยายตัว
มาจากกรุงเทพมหานคร สร้างรายได้ให้แก่จังหวัดเป็นอันดับสูงสุดของประเทศ จวบจนปัจจุบันจังหวัดสมุทรปราการ
ก็ยังครองรายได้ต่อคนของประชาชนที่สูง มูลค่าการลงทุนภาคอุตสาหกรรมมีมูลค่าที่สูงเป็นอันดับแรกของจังหวัด โดยมี
มูลคา่ การลงทุนกว่า 271,104 ล้านบาท การจา้ งงาน 467,886 คน (ไม่รวมนิคมอุตสาหกรรม) ข้อมลู ณ วันที่ 30 กนั ยายน
พ.ศ. 2560 ซึง่ สร้างรายไดใ้ ห้กับจงั หวัดเปน็ จำ� นวนมาก จากความหนาแน่นของจ�ำนวนโรงงานอุตสาหกรรม และการพัฒนา
อุตสาหกรรมในปัจจุบันมีการขยายตวั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง สง่ ผลให้มมี ีประชากรอาศัยอยหู่ นาแน่นตามการเตบิ โตของเมอื ง ทำ� ให้
มีการใช้ทรัพยากรในพ้ืนที่จ�ำนวนมาก และไม่มีการช่วยกันดูแลรักษา จึงก่อให้เกิดมลพิษต่าง ๆ ตามมา เช่น น�้ำเสีย
สารมลพิษทางอากาศ ก๊าซคาร์บอนมอนน๊อกไซด์ ก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอน ฝุ่นละออง
สารตะก่วั และกา๊ ซซัลเฟอรไ์ ดออกไซดแ์ ละขยะมูลฝอย เกิดความเสือ่ มโทรมของสิง่ แวดลอ้ ม เกิดโรคภัยไขเ้ จ็บตามมา ท�ำให้
ภาครัฐสูญเสียค่าใช้ในการรักษาพยาบาลมากขึ้น ซ่ึงนับเป็นปัญหาส�ำคัญของจังหวัด หากไม่ได้รับการแก้ไขอย่างถูกต้อง
และเรง่ ด่วน จะสง่ ผลกระทบตอ่ สภาพแวดล้อมในจงั หวัดระยะยาว ซึง่ การปลูกมจี ิตสำ� นกึ ให้โรงงานอุตสาหกรรม ชุมชน ให้
ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบ และการรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชนร่วมกัน อันจะส่งผลให้โรงงานอุตสาหกรรม และ
ชุมชนอยรู่ ่วมกันไดอ้ ย่างผาสขุ ได้ ภายใต้การชว่ ยเหลอื เกื้อกูลซง่ึ กันและกัน

3) ข้อมลู ตัวเลข/ข้อมูลสถิตและข้อเสนอแนะทส่ี �ำคญั เกย่ี วกับการพฒั นาดา้ นอตุ สาหกรรม ของจงั หวัดสมทุ รปราการ
ในพืน้ ที่จงั หวดั สมุทรปราการมโี รงงานท่ีได้รับอนุญาตใหป้ ระกอบกจิ การ (สะสม) ณ วนั ท่ี 30 กันยายน พ.ศ. 2560

จ�ำนวนทั้งสนิ้ 6,897 โรงงาน เงนิ ทุนรวม 268,744.30 ลา้ นบาท และมจี ำ� นวนคนงาน 466,867 คน และการแจง้ ประกอบ
กจิ การในปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 สามารถจ�ำแนกออกเปน็ จ�ำพวกโรงงานตามพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 ไดด้ งั น้ี

การจดทะเบียนโรงงานอตุ สาหกรรมท่ปี ระกอบกจิ การใหม่ของจังหวดั สมุทรปราการ

จำ�แนกตามประเภทอุตสาหกรรม ประจำ�ปีงบประมาณ 2560 (ตลุ าคม 2559 - กันยายน 2560)

ท่ี รายการ จดทะเบียน เลิกกจิ การ ลกู จ้างถูกเลิกจ้างจาก
โรงงาน

จำ�นวน(ราย) เงนิ ทุน (ลา้ น คนงาน จำ�นวน เลกิ กจิ การ(คน)
บาท) (คน) (ราย)

1 อุตสาหกรรมการเกษตร 2 68.0 23 0 0

2 อตุ สาหกรรมอาหาร 32 2,416.75 1,512 6 151

3 อตุ สาหกรรมเครื่องดื่ม 4 71.0 175 0 0

4 อุตสาหกรรมส่งิ ทอ 5 253.39 178 6 1,046

5 อุตสาหกรรมเครอ่ื งแต่งกาย 3 95.0 491 6 1,187

6 อุตสาหกรรมเครอ่ื งหนัง 12 350.36 171 8 111

รายงานประจำ�ปี 2560 Annual Report 2017107

สำ�นกั งานจังหวัดสมทุ รปราการ

การจดทะเบียนโรงงานอุตสาหกรรมท่ีประกอบกิจการใหมข่ องจงั หวดั สมทุ รปราการ

จำ�แนกตามประเภทอุตสาหกรรม ประจำ�ปีงบประมาณ 2560 (ตุลาคม 2559 - กนั ยายน 2560)

7 อตุ สาหกรรมไม้และผลติ ภณั ฑ์ 2 33.97 40 1 9
จากไม้
25
8 อตุ สาหกรรมเฟอรน์ ิเจอร์และ 3 114.00 81 2
เคร่ืองเรือน 1,133

9 อตุ สาหกรรมกระดาษและผลติ ภณั ฑ์ 4 141.40 42 2 136
จากกระดาษ 41
0
10 อตุ สาหกรรมสิ่งพิมพ์ 6 330.45 296 2
24
11 อุตสาหกรรมเคมี 12 396.29 201 4 474

12 อตุ สาหกรรมปิโตรเคมีและ 1 30.0 6 0 3
ผลิตภณั ฑ์ 762
311
13 อตุ สาหกรรมยาง 2 10.31 40 2 692
452
14 อุตสาหกรรมพลาสตกิ 43 2,170.45 1,725 13 470
480
15 อตุ สาหกรรมอโลหะ 5 120.50 54 1 7,507

16 อตุ สาหกรรมโลหะ 5 5,398.69 571 7

17 อุตสาหกรรมผลิตภณั ฑ์โลหะ 68 3,114.46 1,664 16

18 อตุ สาหกรรมเครือ่ งจกั รกล 18 785.09 749 9

19 อุตสาหกรรมไฟฟ้า 13 400.59 523 7

20 อตุ สาหกรรมการขนสง่ 26 3,240.14 697 16

21 อุตสาหกรรมอื่นๆ 53 4,155.78 1,765 15

รวม 319 23,696.62 11,004 123

ที่มา : สำ�นักงานอตุ สาหกรรมจังหวัดสมทุ รปราการ

จากตารางจะเห็นได้ว่า อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะ ซ่ึงประกอบด้วย กิจการเก่ียวกับผลิตภัณฑ์โลหะ ที่เป็น
ช้ินส่วนเครื่องจักรเป็นหลัก เช่น ผลิตช้ินส่วนเคร่ืองจักร,น็อต,แหวนสกรู,แม่พิมพ์ ฯลฯ รองลงมาได้แก่ กิจการเก่ียวกับ
ผลิตภัณฑ์โลหะส�ำหรับใช้ในการก่อสร้างหรือติดต้ัง และการผลิต ตบแต่ง ดัดแปลง หรือซ่อมแซมเคร่ืองเรือนหรือเคร่ือง
ตบแต่ง ภายในอาคารท่ีท�ำจากโลหะหรือโลหะเป็นส่วนใหญ่ และรวมถึงส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ของเครื่องเรือน หรือ
เคร่ืองตบแตง่ มกี ารจดทะเบียนจัดตงั้ โรงงานในปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 สูงทีส่ ุด คือ 68 โรงงาน และอุตสาหกรรมโลหะ
เป็นอุตสาหกรรมที่มีเงินทุนในการจดทะเบียนสูงสุด โดยจะเห็นได้ว่ากลุ่มอุตสาหกรรมดังกล่าว ยังเป็นอุตสาหกรรม
ท่เี ตบิ โตได้อยา่ งต่อเน่อื ง ในสว่ นของการแจ้งยกเลกิ กิจการ อตุ สาหกรรมสงิ่ ทอ และอุตสาหกรรมเครื่องแตง่ กาย มีการแจง้
ยกเลิกท่ีมีผลต่อการจ�ำนวนลูกจ้างท่ีถูกยกเลิกสูงที่สุด รวม 2,233 คน ซ่ึงผลจากภาวะเศรษฐกิจท่ียังฟื้นตัวไม่ชัดเจน และ
เนอ่ื งจากผลิตมตี ้นทนุ การสงู ท�ำใหแ้ ข่งขันไดย้ ากข้นึ ซ่งึ บางแห่งย้ายฐานการผลติ ไปยังประเทศท่ีมีต้นทนุ การผลติ ท่ีตำ�่ กวา่

108รายงานประจ�ำ ปี 2560 Annual Report 2017

คณะกรรมการผ้จู ดั ท�ำ รายงานประจ�ำปี 2560
จังหวัดสมทุ รปราการ

ท่ปี รึกษา ผวู้ า่ ราชการจงั หวัดสมทุ รปราการ
1. นายชาติชาย อทุ ยั พันธ์ รองผู้ว่าราชการจงั หวัดสมทุ รปราการ
2. นายกมล เชยี งวงค์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการ
3. นางศวิ พร ฉั่วสวสั ดิ์

ผู้จดั ทำ� หวั หน้าส�ำ นกั งานจงั หวดั สมุทรปราการ
1. นายชยั พจน์ จรญู พงศ ์ ผอู้ �ำ นวยการกลมุ่ งานยุทธศาสตร์และขอ้ มูล
2. นายชนนิ ทร์ กาญจนสชุ า เพือ่ การพัฒนาจังหวัด
สำ�นักงานจงั หวัดสมทุ รปราการ
ผอู้ ำ�นวยการกลมุ่ งานบรหิ ารทรัพยากรบุคคล
3. นายสรุ กจิ สุวรรณนาคินทร์ สำ�นกั งานจงั หวัดสมทุ รปราการ
ผู้อ�ำ นวยการกลมุ่ งานศูนย์ดำ�รงธรรมจงั หวัด
4. นายดำ�รงศักดิ ์ ยอดทองด ี สำ�นกั งานจงั หวดั สมุทรปราการ
ผอู้ ำ�นวยการกลุ่มงานอ�ำ นวยการ
5. นายจกั รพนั ธ ์ ระงบั ส�ำ นักงานจงั หวดั สมุทรปราการ
นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชำ�นาญการ
6. นายฐิตภิ ทั ร ประกอบผล ส�ำ นักงานจงั หวดั สมทุ รปราการ
นักวเิ คราะห์นโยบายและแผนช�ำ นาญการ
7. นายเมธี สขุ สมบรู ณ์ ส�ำ นกั งานจงั หวัดสมทุ รปราการ
นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนปฏบิ ัตกิ าร
8. นายสานตะวัน คำ�รักษ์ สำ�นกั งานจังหวดั สมทุ รปราการ
นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนปฏบิ ัตกิ าร
9. น.ส.จีรนุช สีทา สำ�นกั งานจังหวัดสมทุ รปราการ
เจ้าหน้าท่วี ิเคราะหน์ โยบายและแผน
10. น.ส.วรรณวษิ า พาสี ส�ำ นกั งานจงั หวดั สมทุ รปราการ
เจา้ หน้าทธ่ี รุ การ
11. น.ส.ณชิ กานต์ เชอ่ื มวงศ์ สำ�นกั งานจงั หวดั สมุทรปราการ
พนักงานคอมพิวเตอร์
12. นายดิเรก คงสมบูรณ์ สำ�นักงานจังหวดั สมทุ รปราการ

Samutprakan
Annual Report 2017

2รา5ยง6า0นประจำ�ปี

ส�ำนกั งานจังหวัดสมทุ รปราการ

ศาลากลางจังหวัดสมทุ รปราการ ถนนสุทธิภริ มย์
ตำ� บลปากนำ�้ อำ� เภอเมืองสมุทรปราการ จังหวดั สมทุ รปราการ 10270
โทรศัพท์ 0-2702-5021-4
www.samutprakan.go.th


Click to View FlipBook Version