The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือวิทยากรหลักสูตรฝึกอบรมการพัฒนาวิถีชีวิตสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง โครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ปีงบประมาณ 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by training-nakhonnayok Library, 2022-05-19 05:21:02

คู่มือวิทยากรหลักสูตรฝึกอบรมการพัฒนาวิถีชีวิตสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง

คู่มือวิทยากรหลักสูตรฝึกอบรมการพัฒนาวิถีชีวิตสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง โครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ปีงบประมาณ 2565

ค่มู ือวทิ ยากร

หลักสูตรฝกึ อบรมการพฒั นาวถิ ีชีวติ
สู่ระบบเศรษฐกิจพอเพยี ง

โครงการพฒั นาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ปงี บประมาณ พ.ศ.2565

ศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชมุ ชนนครนายก
สถาบันการพัฒนาชุมชน
กรมการพัฒนาชมุ ชน

กรมTกhาisรพteฒัmpนlaาtชe ุมwชasนcreกaรteะdทbรyวSงlมidหesาgดoไทย

คำนำ

กรมกำรพัฒนำชุมชน สังกัดกระทรวงมหำดไทยเป็นหน่วยงำนท่ีดำเนินกำรส่งเสรมิ กระบวนกำร
เรยี นรู้ และกำรมี ส่วนรว่ มของประชำชน ส่งเสรมิ และพัฒนำเศรษฐกิจชุมชนฐำนรำกให้มีควำมม่ันคงและมี
เสถียรภำพโดยสนับสนุนให้มีกำรจัดทำและใช้ประโยชน์จำกข้อมูลสำรสนเทศ ศึกษำ วเิ ครำะห์ วจิ ัย
จดั ทำยุทธศำสตรช์ ุมชน ตลอดจนกำรฝึกอบรมและพัฒนำบุคลำกรท่ีเกี่ยวข้องในกำรพัฒนำชุมชน เพื่อให้
เป็นชุมชนเข้มแข็งอย่ำงยั่งยืน และด้วยวสิ ัยทัศน์ “เศรษฐกิจฐำนรำกม่ันคงและชุมชนพึ่งตนเองได้ ภำยในปี
2565 จงึ ได้น้อมนำหลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียงมำเป็นหลัก ในกำรส่งเสรมิ กระบวนกำรเรยี นรูแ้ ละ
กำรมีส่วนรว่ มของประชำชนเน้นประชำชนเป็นศูนย์กลำง โดยกำรพัฒนำคนให้พึ่งตนเอง มีควำมเป็นเจำ้ ของ
และบรหิ ำรจัดกำรโดยชุมชน พัฒนำหมู่บ้ำนหรอื ชุมชนให้มีวถิ ีชีวติ เศรษฐกิจพอเพียงและเป็นสังคม
“อยู่เย็น เป็นสุข จึงจัดทำโครงกำรพัฒนำหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปีงบประมำณ กิจกรรมท่ี 1
สรำ้ งและพัฒนำกลไกขับเคลื่อนในระดับพื้นที่ กิจกรรมท่ี 1.1 อบรมแกนนำขับเคล่ือนหมู่บ้ำนเศรษฐกิจ
พอเพียงขึ้น มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้เกิดผู้นำพัฒนำ (Change Leader) และแหล่งเรยี นรูท้ ี่อยู่ในชุมชน
และนำกำรพัฒนำให้สอดคล้องกับบรบิ ทชุมชน และนำไปสู่สิ่งท่ีชุมชนต้องกำร มีควำมรู้ควำมเข้ำใจ
หลักกำรพัฒนำหมู่บ้ำนตำมหลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียง และสำมำรถเป็นแกนนำในกำรขับเคล่ือน
กำรน้อมนำหลักปรชั ญของเศรษฐกิจพอเพียง

ศูนย์ศึกษำและพัฒนำชุมชน สังกัดสถำบันกำรพัฒนำชุมชน ได้รบั มอบหมำยให้ดำเนินกำรฝกึ อบรม
ในโครงกำรพัฒนำหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 กิจกรรมที่ 1 สรำ้ งและพัฒนำ
กลไกขับเคล่ือนในระดับพื้นท่ี กิจกรรมที่ 1.1 อบรมแกนนำขับเคลื่อนหมู่บ้ำนเศรษฐกิจพอเพี ยงขึ้น
หลักสูตรกำรพัฒนำวถิ ีชีวติ สู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 2 รุน่ และเพ่ือให้กำรดำเนินโครงกำรบรรลุ
ตำมวัตถุประสงค์และเป็นไปได้และทิศทำงเดียวกันกับสถำบันกำรพัฒนำชุมชน ศูนย์ฯ จึงได้จัดทำคู่มือ
หลักสูตรดังกล่ำวเพ่ือให้ทมี วทิ ยำกรได้ใชเ้ ป็นแนวทำงในกำรอบรม

ศูนย์ศึกษำและพัฒนำชุมชนนครนำยก
ปงี บประมำณ 2565

สารบัญ

ความเปน็ มา หน้า

๑. ตารางกิจกรรม ๑
๒. แผนการสอน ๒
๓. สงั เขปวชิ า ๗
4. เนื้อหาวชิ า ๒๑

หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และทฤษฎีใหม่ ๒๑

หลกั กสิกรรมธรรมชาติ ๖๐

ทฤษฎีบันได ๙ ขัน้ สู่ความพอเพียง ๘๓

สุขภาพพึง่ ตน พัฒนา ๓ ขุมพลงั “พลังกาย พลงั ใจ พลังปญั ญา” ๘๖

ยุทธศาสตรก์ ารขบั เคล่ือนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ ๘๗

เรยี นรจู้ ากการฝกึ ปฏิบตั ิ “9 ฐานการเรยี นรู้ สู่เศรษฐกิจพอเพยี ง” ๘๙

หลกั การออกแบบเชงิ ภูมิสังคมและการออกแบบโคก หนอง นาฯ เบื้องต้น ๑๒๙

Work shop การจดั การพื้นท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นาโมเดล” ๑๓๕

ถอดรหัส “พระมหาชนก” ๑๓๗

ถอดบทเรยี นผา่ นส่ือแผ่นดินไทย ตอน “แผ่นดินวกิ ฤต” ๑๔๑

ถอดบทเรยี นประสบการณ์จากปราชญ์ชาวบ้าน “วถิ ีภมู ิปญั ญาไทยกับการพ่ึงตนเอง” ๑๔๒

ถอดบทเรยี น “เอาม้ือสามัคคี” ๑๔๓

ภาคผนวก
- การต้ังปณิธานทาความดี “ในหลวงในดวงใจ”
- แนวทางการประเมินหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง /การพัฒนาหมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อสรา้ งความสุขให้ชุมชน
- กิจกรรมหน้าเสาธง บทคากลา่ วปฏิญาณตนหน้าเสาธง , บทพิจารณาอาหาร, คาถาเลีย้ งดิน
- QR Code วชิ าเรยี น ศพพ. และ เพลงอบรมกสิกรรมฯ

ความเป็นมา

โครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง

กิจกรรมที่ 1. สรา้ งและพัฒนากลไกการขบั เคล่ือนในระดับพนื้ ที่

กิจกรรมท่ี 1.1

ฝกึ อบรมการพฒั นาวถิ ีชวี ติ สู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง (ภาคทฤษฎีและปฏิบัติ)

1. หลักการและเหตุผล

สถานการณ์โลกในปัจจุบัน มีความผันแปรสูงทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และ
เทคโนโลยี ซง่ึ ล้วนส่งผลถึงประเทศไทยที่เรม่ ิ เปลี่ยนจากสังคมเกษตรสู่สังคมอุตสาหกรรม อีกท้ัง
ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีมีระบบเศรษฐกิจแบบเปิด การค้าระหว่างประเทศจึงมีบทบาทสาคัญใน
ฐานะกลไกในการพัฒนา และนาความเจรญิ รุง่ เรอื งมาสู่ประเทศ รวมทั้งมีส่วนสาคัญในการผลักดันให้
เศรษฐกิจของประเทศขยายตัว อยา่ งรวดเรว็

ซ่ึงเศรษฐกิจและการค้าของไทยในระยะที่ผ่านมาขยายตั วในอัตราที่สูงมาก แต่ จาก
สถานการณ์ เศรษฐกิจและการค้าของโลกทก่ี าลังเปล่ียนแปลงไป ได้มีการนามาตรการใหม่ๆ มาเป็น
ขอ้ อ้างในการกีดกัน การค้ามากขึน้ ผทู้ สี่ ามารถเข้าถึงทรพั ยากรได้มากกว่า ก็สามารถสรา้ งความม่ังค่ัง
ได้มากกว่า กล่าวคือ “คนรวย ก็รวยขึ้น คนจนก็จนลง” เกิดเป็นปัญหาความเหลื่อมล้าด้านรายได้
สง่ ผลกระทบเปน็ ลูกโซ่ ทง้ั ในส่วน ของเศรษฐกิจ สงั คม และการเมือง

ยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕8๐) ท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาประเทศไทยให้บรรลุ
วสิ ัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง” จงึ เปน็ การพัฒนาให้ประชาชนคนไทยมีคุณภาพชวี ติ ท่ีดี มีความสุข
สรา้ งพ้ืนฐานการพึ่งตนเอง ลดความเหลื่อมล้าในระดับครวั เรอื น ชุมชน และส่งผลให้ประเทศมีความ
เข้มแข็ง ในการใชค้ วามสามารถ บรหิ ารจดั การชวี ติ และบรหิ ารจดั การชุมชน ส่งเสรมิ การสรา้ งรายได้
พัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ส่งเสรมิ ความ เสมอภาคและเปน็ ธรรม

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการน้อมนาแนวพระราชดารสั ในพระบาทสมเด็จพระบรม
ชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไปสู่การปฏิบัติ เพ่ือการพัฒนาท่ีสมดุล
เป็นธรรมและมีภูมิคุ้มกัน กับผลกระทบการเปล่ียนแปลงทง้ั จากภายในชุมชน ประเทศและภายนอก
จากสังคมโลก ที่จะส่งผล - ต่อครอบครวั การเตรยี มความพรอ้ มแต่ละครวั เรอื นให้ได้รบั การพัฒนา
อย่างบูรณาการตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงและศาสตรพ์ ระราชา โดยสอดคล้องกับภูมิสังคมท่ี
แต่ละพ้ืนท่ีมีความแตกต่างกัน ของปัจจยั พื้นฐาน ด้านศักยภาพ วถิ ีชวี ติ วัฒนธรรมและอัตลักษณ์
ตัวอย่างเชน่ การบรหิ ารจัดการน้าและพื้นที่ การเกษตรด้วย “โคก หนอง นา โมเดล” ด้านการทา
เกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ บรหิ ารจดั การน้าและพ้ืนที่การเกษตร ผสมผสาน
กับภูมปิ ญั ญาพื้นบ้านได้อยา่ งสอดคล้องกัน

-2-
กระทรวงมหาดไทย มอบหมายให้กรมการพัฒนาชุมชน ได้น้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง มาเป็นหลักในการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชน ตั้งแต่ปี 2549 ซง่ึ สอดคล้องกับภารกิจหลักของ
กรมการพัฒนาชุมชน คือ การส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรู้และการมีส่วนรว่ มของประชาชนผ่าน
กระบวนการสรา้ งและพัฒนาผู้นาชุมชนและได้ยกระดับการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนา
เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ตั้งแต่ปี 2552 ถึงปัจจุบัน และปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กับ
การก้าวย่างเข้าสู่ปีท่ี 60 ของการก่อต้ังกรมการพัฒนาชุมชน ได้ให้ความสาคัญกับการสานต่อการ
ทางานเคียงข้างประชาชน ด้วยการน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปสรา้ งภูมิคุ้มกันให้
ประชาชนในการดาเนินชวี ติ ด้วยความพอประมาณ ความมีเหตุผล ความมีภูมิคุ้มกัน และใชค้ วามรู้ คู่
คุณธรรมในการดาเนินชวี ติ ส่งเสรมิ ให้ชุมชนเข้มแข็งพ่ึงตนเอง จึงได้วางเป้าหมายตามวาระกรมการ
พัฒนาชุมชน ปี 2565 คือหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืน มีอาชีพ มีรายได้ และมี
ความสุข โดยการบูรณาการความรว่ มมือจากทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้อง เพื่อทาให้ชุมชนเข้มแข็ง มีความ
มัน่ คง มั่งคั่ง ย่ังยนื ตามเปา้ หมายยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี
จากสถานการณ์ของประเทศไทยในปัจจุบันต้องเผชญิ กับผลกระทบจากวกิ ฤตการแพรร่ ะบาด
ของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ซงึ่ ส่งผลกระทบไปถึงวกิ ฤตทางด้านเศรษฐกิจ ด้านการ
สาธารณสุขด้านการคมนาคมและอื่นๆส่งผลให้เกิดวกิ ฤตทางสังคมขนาดหนักไปท่ัว จงึ ทาให้ต้องมีการ
ปรบั เปล่ียนวธิ กี ารฝึกอบรมโดยใชว้ ธิ กี ารฝึกอบรมแบบทางไกล (online) ผ่านระบบ Zoom หรอื ระบบ
อ่ืนทีไ่ ม่ต้องมีการรวมกลุ่มเป็นจานวนมาก เพื่อลดการรวมกลุ่มตามมาตรการของรฐั บาล และเพื่อให้การ
ดาเนินโครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์และเป็นไปได้ในทิศทางเดียวกัน สถาบันการพัฒนาชุมชนได้
จดั ทาคู่มือฝึกอบรมโครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ในกิจกรรมท่ี 1 สรา้ งและพัฒนากลไก
การขบั เคลื่อนในระดับพ้ืนท่ี กิจกรรมท่ี 1.1 อบรมแกนนาขับเคล่ือนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง หลกั สูตร
เพิ่มทกั ษะระยะสั้น การพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ "โคก หนอง นา โมเดล" เพ่ือใช้
เปน็ แนวทางในการฝกึ อบรม
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสรมิ การใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการพัฒนา
หมู่บ้าน ให้มีระบบการบรหิ ารจัดการชุมชนแบบบูรณาการที่เข้มแข็ง และพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนให้
มนั่ คง

2. เพ่ือให้ เกิดผู้นาพัฒนา (Change Leader) ท่ีอยู่ในชุมชน และนาการพัฒนาให้
สอดคล้องกับบรบิ ทชุมชน และนาไปสู่ส่งิ ทช่ี ุมชนต้องการ
วธิ กี าร/ข้ันตอนการดาเนินงาน/เง่อื นไขของกิจกรรม

สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด/อาเภอ และศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน รว่ มกันจัดประชุม
อบรมแกนนาขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงในรูปแบบออนไลน์ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้
ความเข้าใจในหลักการแนวทางพัฒนาหมู่บ้านตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถ
ขบั เคลอื่ นการพัฒนาหมู่บา้ นให้เป็นแหล่งเรยี นรูต้ ้นแบบรว่ มกันของชุมชน รายละเอยี ด ดังนี้

-3-

1. สานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวัด/อาเภอ คัดเลือกหมู่บ้านเป้าหมายที่มีความพรอ้ มใน

การพัฒนาเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง และมีพื้นท่ีของครวั เรอื นท่ีสมัครใจและพรอ้ มท่ีจะ

พัฒนาพ้ืนที่ให้เปน็ แหล่งเรยี นรู“้ โคก หนอง นา”(1 หมู่บ้าน/แปลง) โดยคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย

เพ่ือเขา้ รว่ มฝกึ อบรม ดังน้ี

1.1 ผู้แทนครวั เรอื นพัฒนาพื้นท่ีเรยี นรู้ “โคก หนอง นาโมเดล” ในหมู่บ้านเป้าหมาย

จานวน 1 คน/ หมู่บ้าน ผู้นาชุมชนของหมู่บ้าน เป้าหมายจานวน 1 คน/หมู่บ้าน และเจา้ หน้าท่ี

พัฒนาชุมชนทร่ี บั ผดิ ชอบ จานวน 1 คน เขา้ รว่ มอบรมในรปู แบบออนไลน์

1.2 สานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวัด/อาเภอ จัดทาทะเบียนรายชอ่ื หมู่บ้านเป้าหมาย

และรายชอื่ ครวั เรอื นพัฒนาพ้ืนทเี่ รยี นรู้ “โคก หนอง นาโมเดล” ทจ่ี ะเข้ารบั การอบรมตามแบบท่ี

กรมฯ กาหนด และส่งให้กรมการพัฒนาชุมชน

2. สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด/อาเภอ กาหนดสถานท่ีดาเนินการจัดฝึกอบรมที่

เหมาะสมเพื่อดาเนินการฝึกอบรมในรูปแบบออนไลน์ จานวน 5 วัน ตามความเหมาะสมของ

พ้นื ท่ี

3. สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดจังหวัด/อาเภอ แจ้งประสานกลุ่มเป้าหมาย ผู้แทน

ครวั เรอื นพัฒนาพื้นที่เรยี นรู้ โคก หนอง นา ผู้นาชุมชนของหมู่บ้านเป้าหมาย เจา้ หน้าท่ีพัฒนา

ชุมชนทร่ี บั ผิดชอบ เขา้ รว่ มอบรมตามกาหนดการท่สี ถาบันการพัฒนาชุมชนกาหนด

4. สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด/อาเภอ รว่ มกับศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน จัด

ฝึกอบรมให้กับกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้แทนครวั เรอื นพัฒนาพ้ืนท่ีเรยี นรู้ โคก หนอง นา ผู้นา

ชุมชนของหมู่บ้านเป้าหมาย เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนท่ีรบั ผิดชอบ ตามรูปแบบออนไลน์ และ

วธิ กี ารท่ีกาหนด โดยมุ่งเน้นการการปรบั กรอบความคิด กระบวนการทางความคิด (Mindset)

ให้กลุ่มเป้าหมายตระหนักถึงความสาคัญของการทาหน้าท่ี และสามารถนาไปปฏิบัติใชใ้ นการ

บรหิ ารจดั การพืน้ ทต่ี นเองได้

5. มอบภารกิจให้ผู้แทนครวั เรอื นพัฒนาพื้นท่ีเรยี นรู้ โคก หนอง นา ไปขับเคล่ือนการ

พัฒนาในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงในระดับครวั เรอื น ระดับชุมชน ตามหลักปรชั ญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง

กลุ่มเปา้ หมาย ผู้แทนครวั เรอื นพัฒนาพ้ืนที่เรยี นรู้ “โคก หนอง นาโมเดล” ปี 2565

จานวน 1 คน/หมู่บ้าน รวมจานวนท้ังส้ิน 3,308 คน/หมู่บ้าน ผู้นาชุมชนของหมู่บ้านเป้าหมาย

จานวน 1 คน/หมบู่ ้าน และเจา้ หน้าทพี่ ัฒนาชุมชน ทร่ี บั ผดิ ชอบ จานวน 1 คน

งบประมาณ จานวน 14,696,600 บาท ตามทะเบยี นจดั สรร

หน่วยดาเนินการ สานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวัด/อาเภอ/ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน

พื้นท่ดี าเนินการ สานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวัด/อาเภอ/ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน

-4-

ระยะเวลาดาเนินการ
- ดาเนินการ 33 รุน่ ๆ ละ 5 วัน ไตรมาส 1 (เดือนตุลาคม – ธนั วาคม 2564)

ผลที่คาดว่าจะได้รบั ผ้แู ทนครวั เรอื นพัฒนาพ้ืนทีเ่ รยี นรู้ “โคก หนอง นาโมเดล” ปี 2565 ผู้นา
ชุมชนของหมู่บ้านเป้าหมาย เจา้ หน้าที่พัฒนาชุมชนที่รบั ผิดชอบ มีความรูค้ วามเข้าใจ หลักการ
แนวทางการพัฒนาหมบู่ า้ นตามหลักปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และผู้แทนครวั เรอื นพัฒนา
พน้ื ท่ีเรยี นรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” ปี 2565 สามารถเป็นแกนนาในการขับเคลื่อนการน้อมนา
หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่การปฏิบัติในรูปแบบ “โคก หนอง
นาโมเดล”

ตัวชวี้ ัดกิจกรรม จานวนผู้แทนครวั เรอื นพัฒนาพื้นที่เรยี นรู้ โคก หนอง นา ที่ได้รบั การ
พฒั นา 3,308 คน

หน่วยงานท่รี บั ผิดชอบ สถาบันการพัฒนาชุมชน และสานักเสรมิ สรา้ งความเขม้ แข็งชุมชน

@@@@@@@@@@@@@@

1

2

วางแผนขน้ั ตอนการฝกึ อบรม แกนนาหม่บู า้ น ศพพ. แบบออนไลน์ ผ่านระบบ Zoom
วันท่ี 1

เวลา หัวข้อ/วชิ า รายละเอียด อุปกรณ์ท่ใี ช้

08.00 – ลงทะเบียน/ วางแผนงาน แบง่ คน แบ่งงาน เจา้ หน้าท่ีผู้รบั ผิดชอบ - เอกสารลงทะเบียน
09.00 น. เข้าสู่ระบบ - ลงทะเบียนผู้อบรม บนั ทกึ ข้อมูลตามแบบฟอรม์ รายละเอียด - เว้นระยะห่าง
Zoom / - ถ่ายรปู รายบุคคล เพื่อยนื ยันการเข้ารว่ มอบรม
09.00 – ถ่ายภาพ - ซกั ซอ้ มความเข้าใจการอบรมแบบ ออนไลน์ ผ่านระบบ Zoom - ไมค์+ลาโพง
10.00 น. เปดิ การ วางแผนการทาพิธเี ปิดการฝึกอบรม - การนัง่ เวน้ ระยะห่าง
ฝึกอบรม - ชแี้ จงวัตถปุ ระสงค์ของการฝกึ อบรม ในกิจกรรมท่ี 1.1 อบรมแกนนา การฝึกอบรม
ขับเคล่ือนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ฝึกอบรมการพัฒนาวถิ ีชีวติ สู่
10.30 – รบั ประทาน ระบบเศรษฐกิจพอเพียง (ภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิ) สถานทไ่ี ม่แออัด
10.45 น. อาหารวา่ ง - รบั ประทานอาหารวา่ ง/เครอ่ ื งด่ืม
- เว้นระยะห่างของผู้เข้าฝึกอบรม

10.00 – หลักปรชั ญา หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และทฤษฎีใหม่ - ไมค์+ลาโพง
12.00 น. ของเศรษฐกิจ วางแผนหาผู้บรรยาย มีวชิ าการทบ่ี รรยาย ดังน้ี - ส่ือการบรรยาย
พอเพียง และ - ส.ค.ส. 2547 วกิ ฤตระเบิดส่ีลูก - ฟลิตชารท์ ปากกาเคมี
ทฤษฎีใหม่ - ปรชั ญา 3 ระบบ (ทนุ นิยม สังคมนิยม เศรษฐกิจพอเพียง) - การน่งั เวน้ ระยะห่าง
- แนวคิด ทฤษฎี นวัตกรรม ศาสตรพ์ ระราชา ว่าด้วยดิน น้า ป่า คน การฝึกอบรม

12.00 - รบั ประทาน แยกรบั ประทานอาหารกลางวนั เวน้ ระยะห่างตามมาตรการลดการแพร่ สถานทีอ่ บรม ไม่แออัด
13.00 น. อาหาร ระบาด ของ โควดิ -19
กลางวนั

13.00 – หลักปรชั ญา ผู้บรรยาย : หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ (ต่อ) - ส่ือการบรรยาย
14.๓0 น. ของเศรษฐกิจ - ทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ "โคก หนอง นาโมเดล" - ฟลิตชารท์ ปากกาเคมี
พอเพียง และ - วธิ ปี ฏิบัติอยา่ งเป็นข้ันเปน็ ตอน - การนั่งเว้นระยะห่าง
ทฤษฎีใหม่ - ทาแบบคนจน ( เอามื้อสามัคคี) ฝกึ อบรม

14.30 – รบั ประทาน - รบั ประทานผลไม้/เครอ่ ื งดื่ม สถานท่ีไม่แออัด
14.45 น. อาหารว่าง - เวน้ ระยะห่างของผู้เข้าฝึกอบรม

14.๓0- ถอดรหัส ถอดรหัสพระมหาชนก - สื่อการบรรยาย
- ฟลิตชารท์ ปากกาเคมี
15.30 น. พระมหาชนก วางแผนหาผู้บรรยาย วชิ า ถอดรหัสพระมหาชนก - การนั่งเวน้ ระยะห่าง
ฝึกอบรม

15.30 – ชมสื่อวดิ ีทัศน์ วางแผนทีมวทิ ยากรท่เี ปน็ เจา้ หน้าที่ เพ่ือแบ่งคน แบ่งงานทากิจกรรม - ส่ือเรอ่ ื ง แผ่นดินวกิ ฤติ
16.30 น. เรอ่ ื ง แผ่นดิน - ถอดบทเรยี นผ่านส่ือ แผ่นดินไทย “แผ่นดินวกิ ฤต” 50 นาที
วกิ ฤต - นัดหมายกิจกรรมวนั ถัดไป - ฟลิตชารท์

3

วนั ท่ี 2

เวลา หัวข้อ/วชิ า รายละเอียด อุปกรณ์ทใ่ี ช้

08.00 - กิจกรรมหน้า วางแผนทีมวทิ ยากรที่เปน็ เจา้ หน้าที่ เพื่อแบง่ คน แบง่ งานทากิจกรรม - รวมคน แบบเว้น
08.30 น. เสาธง - 07.45 น. เตรยี มความพรอ้ ม รวมพลเข้าแถวหน้าเสาธง ระยะห่าง
- กิจกรรมหน้าเสาธง (5ขั้นตอน) ดังนี้ 1. กล่าวคาปฏิญาณตนพรอ้ มกัน
08.30 - กิจกรรม 2. ยนื ตรงเคารพธงชาติ 3. การปฏิบัติศาสนกิจ 4. ยืนสงบน่งิ 1 นาที - รวมคน แบบเว้น
09.00 น. พัฒนา 3 5. สรา้ งอุดมการณ์ (6.ทอ่ งบทพิจารณาอาหาร(ทีแ่ ถว/ทีโ่ ต๊ะอาหาร ก็ได้)) ระยะห่าง
ขุมพลัง วางแผนทมี วทิ ยากรท่เี ปน็ เจา้ หน้าที่ เพื่อแบง่ คน แบง่ งานทากิจกรรม
- กิจกรรม พัฒนา 3 ขุมพลัง "กาย ใจ ปญั ญา"

09.00 - ฟังบรรยาย วางแผนหาผู้บรรยาย ทฤษฎีบันได 9 ขั้น พรอ้ มกับการเปดิ ส่ือ - ห้องประชุม/สถานท่ี
๑๒.00 น. ทฤษฎีบันได วทิ ยากร แนะนาตัว อบรมในพื้นที่
9 ขั้น/ชมสื่อ - วชิ า ทฤษฎีบันได 9 ข้ัน สู่ความพอเพียง
- ส่ือเรอ่ ื ง ทฤษฎี 9 ขั้น
สู่ความพอเพียง

๑๐.๓0 - รบั ประทาน - รบั ประทานอาหารวา่ ง/เครอ่ ื งด่ืม สถานท่ีไม่แออัด
๑๐.๔๕ น. อาหารว่าง - เว้นระยะห่าง

๑๐.๓0 - ฟังบรรยาย วางแผนหาผู้บรรยาย วชิ า หลักกสิกรรมธรรมชาติ (วทิ ยากรครูพาทา - ไมค์+ลาโพง
๑๒.๐๐ น. -นิยาม ๕ และ ที่จบหลักสูตร) - สื่อการบรรยาย
หลักกสิกรรม - นิยาม ๕ - ฟลิตชารท์ ปากกาเคมี
ธรรมชาติ - - การนัง่ เวน้ ระยะห่าง
การฝกึ อบรม
12.00 - รบั ประทาน - ส่ิงมีชวี ติ ในดิน
13.00 น. อาหาร แยกรบั ประทานอาหารกลางวนั เว้นระยะห่างตามมาตรการลดการแพร่ สถานทีอ่ บรม ไม่แออัด
กลางวนั ระบาด ของ โควดิ -19

13.00 - บรรยาย วทิ ยากรแนะนาตัวและบรรยาย (วทิ ยากรครพู าทาท่จี บหลักสูตร) - ไมค์+ลาโพง
15.๓0 น. เรอ่ ื ง “หลกั กสิ - สื่อการบรรยาย
กรรม หลักกสิกรรมธรรมชาติ - ฟลิตชารท์ ปากกาเคมี
14.30 - ธรรมชาติ - เล้ียงดินให้ดินเล้ียงพืช - อยา่ ปลอกเปลือกเปลือยดินให้ห่มดิน - การนงั่ เวน้ ระยะห่าง
14.45 น. - ปา่ 3 อย่างประโยชน์ 4 อยา่ ง / การปลกู ไม้ 5 ระดับ การฝกึ อบรม
รบั ประทาน - 10 ข้ันตอนการตรวจแปลง
อาหารว่าง - รบั ประทานผลไม้/เครอ่ ื งด่ืม สถานทีไ่ ม่แออัด
- เวน้ ระยะห่างของผู้เข้าฝึกอบรม

1๕..๓0 - ถอดบทเรยี น/ - ถอดบทเรยี นผ่านสื่อ “วถิ ีภูมิปญั ญาไทย กับการพ่ึงตนเอง” ปลดหนี้ ห้องประชุม
๑๖.๓0 น. สรปุ บทเรยี น/ ด้วยศาสตรพ์ ระราชา | คนรกั ษ์ป่า “พ่อเล่ียม บุตรจนั ทา”
นาเสนอ - นัดหมายกิจกรรมวันถัดไป

4

วนั ที่ 3

เวลา หัวข้อ/วชิ า รายละเอียด อุปกรณ์ทใ่ี ช้

08.00 - กิจกรรมหน้า วางแผนทมี วทิ ยากรทเี่ ปน็ เจา้ หน้าที่ เพื่อแบ่งคน แบ่งงานทากิจกรรม - รวมคน แบบเว้น
08.30 น. เสาธง - 07.45 น. เตรยี มความพรอ้ ม รวมพลเข้าแถวหน้าเสาธง ระยะห่าง
- กิจกรรมหน้าเสาธง (5ขั้นตอน) ดังน้ี 1. กล่าวคาปฏิญาณตนพรอ้ มกัน
08.30 - กิจกรรม 2. ยืนตรงเคารพธงชาติ 3. การปฏิบัติศาสนกิจ 4. ยืนสงบนิง่ 1 นาที - รวมคน แบบเวน้
09.00 น. พัฒนา 3 5. สรา้ งอุดมการณ์ (6.ทอ่ งบทพิจารณาอาหาร(ที่แถว/ที่โต๊ะอาหาร ก็ได้)) ระยะห่าง
ขุมพลัง วางแผนทมี วทิ ยากรท่เี ปน็ เจา้ หน้าที่ เพ่ือแบ่งคน แบ่งงานทากิจกรรม
- กิจกรรม พัฒนา 3 ขุมพลงั "กาย ใจ ปญั ญา"

0๙.๐0 - ฟังบรรยาย - รวมพล(เว้นระยะห่าง) ณ ห้องประชุมหรอื สถานทที่ ก่ี าหนด เพ่ือชแี้ จง - ห้องประชุมหรอื
๑๒.00 น. ๙ ฐานเรยี นรู้ รายละเอียดกิจกรรม ว่าฟงั บรรยาย หรอื มีกิจกรรมแบบปฏิบตั ิจรงิ สถานทท่ี ่ีเหมาะสม
สู่เศรษฐกิจ -วางแผนหาผู้บรรยาย โดยให้นาวทิ ยากรครูพาทาทจี่ บหลักสูตรกสิกรรม - ไมค์+ลาโพง
พอเพียง ธรรมชาติ มาเปน็ วทิ ยากร - ส่ือการบรรยาย
หรอื เรยี นรู้ 9 ฐานเรยี นรู้ สู่เศรษฐกิจพอเพียง - ฟลติ ชารท์ ปากกาเคมี
ฝึกปฏิบตั ิจรงิ 1.คนติดดิน 2.คนเอาถ่าน ๓.คนมีไฟ ๔.คนรกั ษ์แม่ธรณี - การนง่ั เว้นระยะห่าง
๕.คนมีนา้ ยา ๖.รกั ษ์ป่า ๗.รกั ษ์นา้ ๘.รกั ษ์แม่โพสพ ๙.รกั ษ์สุขภาพ การฝกึ อบรม
๑๐.๓0 - รบั ประทาน - รบั ประทานอาหารว่าง/เครอ่ ื งดื่ม สถานท่ไี ม่แออัด
๑๐.๔๕ น. อาหารวา่ ง - เวน้ ระยะห่าง

12.00 - รบั ประทาน แยกรบั ประทานอาหารกลางวนั เว้นระยะห่างตามมาตรการลดการแพร่ สถานที่อบรม ไม่แออัด
13.00 น. อาหาร ระบาด ของ โควดิ -19
กลางวัน

13.00 - ฝึกปฏิบัติจรงิ - รวมพล(เวน้ ระยะห่าง) ณ ห้องประชุมหรอื สถานท่ที ่กี าหนด เพ่ือชแี้ จง - ห้องประชุมหรอื
1๕.๓0 น. ในกิจกรรม รายละเอียดกิจกรรมการเอาม้ือสามัคคี มีกิจกรรมแบบปฏิบัติจรงิ สถานทท่ี ี่เหมาะสม
เอามื้อสามัคคี - ผู้บรรยาย โดยให้นาวทิ ยากรครพู าทาที่จบหลักสูตรกสิกรรมธรรมชาติ - ไมค์+ลาโพง
14.30 - มาเปน็ วทิ ยากร - สื่อการบรรยาย
14.45 น. รบั ประทาน กิจกรรมการเอามื้อสามัคคี - ฟลิตชารท์ ปากกาเคมี
อาหารวา่ ง - กาหนดกิจกรรมการลงแปลงตามหลักกสิกรรมฯ (10 ขน้ั ตอน) - การน่ังเว้นระยะห่าง
พรอ้ มกับการตรวจแปลง (ครูพาทา ดาเนินการ) การฝกึ อบรม
- รบั ประทานผลไม้/เครอ่ ื งด่ืม สถานท่ีไม่แออัด
- เว้นระยะห่างของผู้เข้าฝึกอบรม

1๕.๓0 - ถอดบทเรยี น - รวมกลุ่มแบบเว้นระยะห่าง - ห้องประชุมหรอื
๑๖.๓0 น. เรยี นรู้ ๙ ฐาน - วทิ ยากรให้แต่ละกลุ่มถอดบทเรยี นจากการเรยี นรู้ ๙ ฐานเรยี นรู้ สู่ สถานท่ที ่เี หมาะสม
เรยี นรสู้ ู่ เศรษฐกิจพอเพียง - ใบงาน/โจทย์
เศรษฐกจิ - วทิ ยากรให้แต่ละกลุ่มถอดบทเรยี นจากกิจกรรมเอามื้อสามัคคี - ฟลิตชารท์ ปากกา
พอเพียงและ เคมี
หรอื เอาม้ือฯ

5

วนั ท่ี 4

เวลา หัวข้อ/วชิ า รายละเอียด อุปกรณ์ทใ่ี ช้

08.00 - กิจกรรมหน้า วางแผนทมี วทิ ยากรท่ีเป็นเจา้ หน้าท่ี เพื่อแบง่ คน แบง่ งานทากิจกรรม - รวมคน แบบเว้น
08.30 น. เสาธง - 07.45 น. เตรยี มความพรอ้ ม รวมพลเข้าแถวหน้าเสาธง ระยะห่าง
- กิจกรรมหน้าเสาธง (5ข้ันตอน) ดังนี้ 1. กล่าวคาปฏิญาณตนพรอ้ มกัน
08.30 - กิจกรรม 2. ยนื ตรงเคารพธงชาติ 3. การปฏิบัติศาสนกิจ 4. ยืนสงบนงิ่ 1 นาที - รวมคน แบบเวน้
09.00 น. พัฒนา 3 5. สรา้ งอุดมการณ์ (6.ท่องบทพิจารณาอาหาร(ทีแ่ ถว/ท่โี ต๊ะอาหาร ก็ได้)) ระยะห่าง
ขุมพลงั วางแผนทมี วทิ ยากรทเี่ ปน็ เจา้ หน้าที่ เพ่ือแบ่งคน แบ่งงานทากิจกรรม
- กิจกรรม พัฒนา 3 ขุมพลงั "กาย ใจ ปัญญา"

0๙.๐0 - ฟังบรรยาย -วางแผนหาผู้บรรยาย โดยให้นาวทิ ยากรครูพาทาทจี่ บหลักสูตรกสิกรรม - ห้องประชุมหรอื
๑๒.00 น. หลักกสิกรรม ธรรมชาติ มาพิจารณาเปน็ วทิ ยากร สถานที่ทเ่ี หมาะสม
หลักการออกแบบและการออกแบบโคก หนองนาฯ เบอ้ื งต้น - ไมค์+ลาโพง
ชมสื่อ - วทิ ยากรกระบวนการเกรน่ ิ นาเพ่ือนาเข้าสู่บทเรยี น แนะนาวทิ ยากร - สื่อการบรรยาย
บรรยาย หลักการออกแบบและการออกแบบโคก หนองนาฯ เบือ้ งต้น - ฟลิตชารท์ ปากกาเคมี
- หลกั การออกแบบตามหลกั ภูมิสงั คม ดิน น้า ลม ไฟ พชื คน - การน่งั เวน้ ระยะห่าง
- การสารวจพื้นทก่ี ่อนการออกแบบ การฝกึ อบรม

๑๐.๓0 - รบั ประทาน - รบั ประทานอาหารวา่ ง/เครอ่ ื งดื่ม สถานทไ่ี ม่แออัด
๑๐.๔๕ น. อาหารว่าง - เว้นระยะห่าง

12.00 - รบั ประทาน แยกรบั ประทานอาหารกลางวนั เวน้ ระยะห่างตามมาตรการลดการแพร่ สถานท่ีอบรม ไม่แออัด
13.00 น. อาหาร ระบาด ของ โควดิ -19
กลางวัน

13.00 – Work Shop - รวมพล(เวน้ ระยะห่าง) ณ ห้องประชุมหรอื สถานที่ทีก่ าหนด เพ่ือชแี้ จง - สื่อการเรยี นรู้
1๕.๓๐ น. การจดั การ รายละเอียดกิจกรรม - กระดาษเอ 4
พื้นที่ ดิน นา้ - ทากิจกรรม Work Shop การออกแบบพื้นที่ตามทกี่ าหนด ถ้ามีการนา - ปากกา
ปา่ คน หลักการนาดินมาป้ นั เหนียวเป็นโมเดลพื้นทอ่ี อกแบบ เห็นควรหาสถานที่ - ฟลิตชารท์
ทีเ่ หมาสมแก่การอบรม - ใบงาน Work Shop
14.30 - รบั ประทาน - สมาชกิ ชว่ ยกันออกแบบพ้ืนท่ตี ามที่โจทยก์ าหนด
14.45 น. อาหารวา่ ง - ออกมานาเสนอผลการออกแบบ หรอื ซกั ถาม สถานที่ไม่แออัด
- รบั ประทานผลไม้/เครอ่ ื งดื่ม
- เวน้ ระยะห่างของผู้เข้าฝกึ อบรม

1๕.๓0 - ถอดบทเรยี น/ รวมกลุ่มแบบเว้นระยะห่าง - ใบงาน/โจทย์
๑๖.๓0 น. สรปุ บทเรยี น/ สรปุ บทเรยี น การออกแบบพน้ื ท่ีโคก หนอง นา เบื้องต้น - ฟลิตชารท์ ปากกา
นาเสนอ - นัดหมายกิจกรรมวันถัดไป เคมี

6

วนั ที่ 5

เวลา หัวข้อ/วชิ า รายละเอียด อุปกรณ์ท่ีใช้

08.00 - กิจกรรมหน้าเสาธง วางแผนทมี วทิ ยากรท่ีเป็นเจา้ หน้าท่ี เพ่ือแบง่ คน แบ่งงานทากิจกรรม - รวมคน แบบเว้น
08.30 น. - 07.45 น. เตรยี มความพรอ้ ม รวมพลเข้าแถวหน้าเสาธง ระยะห่าง
กิจกรรมพัฒนา 3 - กิจกรรมหน้าเสาธง(5ข้ันตอน)ดังน้ี 1.กล่าวคาปฏญิ าณตนพรอ้ มกัน
08.30 - ขุมพลัง 2.ยืนตรงเคารพธงชาติ 3.การปฏิบตั ิศาสนกิจ 4.ยนื สงบนง่ิ 1 นาที - รวมคน แบบเว้น
09.00 น. 5. สรา้ งอุดมการณ์ (6. ทอ่ งบทพิจารณาอาหาร(ทแี่ ถว/ทโี่ ต๊ะอาหาร กไ็ ด้)) ระยะห่าง
วางแผนทีมวทิ ยากรทเี่ ป็นเจา้ หน้าที่ เพื่อแบง่ คน แบ่งงานทากิจกรรม
- กิจกรรม พัฒนา 3 ขุมพลัง "กาย ใจ ปญั ญา"

๑๐.๓0 - รบั ประทานอาหาร - รบั ประทานอาหารว่าง/เครอ่ ื งดื่ม สถานทไ่ี ม่แออัด

๑๐.๔๕ น. วา่ ง - เว้นระยะห่าง

09.00 – ฟังบรรยาย / วางแผนหาผู้บรรยายเกี่ยวกับการบรหิ ารโครงการพัฒนาหมู่บ้าน ห้องประชุม หรอื
12.00 น. ดูคลิบการบรหิ าร เศรษฐกิจพอเพียง สถานที่เหมาะสม
โครงการ - การบรหิ ารจดั การโครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
- ทาแผนปฏิบัติการขับเคลื่อน/พัฒนาหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง
- คลิป Best case โคกหนองนา อ.แวงใหญ่ จ.ขอนแก่น
- คลิปหมู่บ้าน ศพพ. ที่ดาเนินการในปี 2564 และปอี ื่นๆ
1) บ้านศรรี กั ษา หมู่ที่ 6 ตาบลผานกเค้า อาเภอภูกระดึง จงั หวดั เลย
2) บา้ นทุง่ กระโปรง ตาบลป่าขะ อาเภอบ้านนา จงั หวดั นครนายก
3) หมู่บ้าน ศพพ.บา้ นแม่ใจใต้ อ.ฝาง จ.เชยี งใหม่

12.00 - รบั ประทานอาหาร แยกรบั ประทานอาหารกลางวนั เวน้ ระยะห่างตามมาตรการลดการ สถานท่อี บรม ไม่
แออัด
13.00 น. กลางวัน แพรร่ ะบาด ของ โควดิ -19

13.00 - Work Shop Work Shop กระบวนการพัฒนาหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง - แบบประเมิน
1๕.๓0 น. กระบวนการพัฒนา - นาเสนอกระบวนการขับเคลื่อน/พัฒนาหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง โครงการ
หมู่บา้ นเศรษฐกิจ - ตรวจสอบเกณฑ์การประเมนิ หมู่บ้าน ศพพ. ของกระทรวงมหาดไทย
พอเพียง (4 ด้าน 23 ตัวชวี้ ดั ) ครงั้ ที่ 1 (แบง่ กลุ่มนาเสนอแบบออนไลน์) - เว้นระยะห่าง
- ประเมินผลโครงการฝึกอบรม (30 นาท)ี
- มอบหมายภารกิจในการดาเนินการพัฒนากสิกรรมธรรมชาติ สู่
เศรษฐกิจพอเพียงต่อไป

14.30 - รบั ประทานอาหาร - รบั ประทานผลไม้/เครอ่ ื งด่ืม สถานที่ไม่แออัด

14.45 น. วา่ ง - เวน้ ระยะห่างของผู้เข้าฝึกอบรม

15.30 - พิธปี ิดการฝึกอบรม
๑๖.๓๐ น.
- การต้ังปณิธานทาความดี “ในหลวงในดวงใจ” ใชแ้ ผนการสอน วชิ า

การตั้งปณิธานความดี จาก ภาคผนวก..........

- มอบประกาศนียบตั ร / มอบหมายภารกิจ
- เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

7

1) “ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และทฤษฎีใหม่ ”

วตั ถุประสงค์
เพื่อให้ผูเ้ ข้ารบั การอบรมมคี วามรู้ “หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และ

ทฤษฎีใหม่” เพอื่ นาไปประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน”

ระยะเวลา

จานวน 3 .๓๐ ชวั่ โมง

ขอบเขตเนื้อหา

๑. ส.ค.ส. 2547 วกิ ฤตระเบิดสี่ลกู
๒. ปรชั ญา 3 ระบบ
๓. แนวคิด ทฤษฎี นวัตกรรมศาสตรพ์ ระราชา ว่าด้วยเรอ่ ื งดิน น้า ปา่ คน
๔. ทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่โคก หนอง นาโมเดล
5. วธิ ปี ฏิบตั ิอยา่ งเปน็ ขั้นเปน็ ตอน
6. การทาแบบคนจน

- การเอาม้ือสามคั คี

เทคนิค /วธิ กี าร

วทิ ยากร ใช้ PowerPoint หรอื คลิปสื่อ ประกอบการบรรยาย โดยสรุป ดังน้ี
๑. ปรชั ญา 3 ระบบ
๒. แนวคิด ทฤษฎี นวัตกรรมศาสตรพ์ ระราชา วา่ ด้วยเรอ่ ื งดิน น้า ป่า คน
๓. ทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่โคก หนอง นาโมเดล
๔. ตัวอย่างความสาเรจ็ โคก หนอง นา โมเดล

วัสดุ/อุปกรณ์

๑. ส่ือวดี ีทศั น์ ประกอบการบรรยาย ผ่านระบบ Zoom
๒. ส่ือ Power point

การประเมินผล
- การสงั เกตของวทิ ยากร
- การมีส่วนรว่ มของผเู้ ข้าฝกึ อบรม

***************

8

2) ถอดรหัส “พระมหาชนก”

วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพื่อให้ผู้เรยี นได้สงั เคราะห์ความรู้ ถอดรหัส “พระมหาชนก” จากมุมมองด้านการ
พัฒนามนษุ ยแ์ ละองค์การอัจฉรยิ ภาพอันสรา้ งสรรค์ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว
๒. เพ่ือให้ผอู้ บรมมีความรูค้ วามเข้าใจ คติธรรมการพัฒนามนุษย์ตามแนวทาง จากการ

ถอดรหัส “พระมหาชนก”
๓. เพอ่ื ให้ผู้เข้าฝกึ อบรม ได้ตระหนักถึงความสาคัญของการนาหลักคติธรรมการพัฒนา

มนษุ ยต์ ามแนวทาง จากการถอดรหัส “พระมหาชนก” ไปประยุกต์ใชใ้ นการดารงชวี ติ

ระยะเวลา
จานวน ๑ ชวั่ โมง

ขอบเขตเนื้อหา
๑. การถอดรหัส “พระมหาชนก” สาคัญอยา่ งไร
๒. การนาหลกั คติธรรมการพฒั นามนษุ ย์ จากการถอดรหัส “พระมหาชนก” ไปปรบั ใช้

ในการดารงชวี ติ อย่างไร
๓. ค้นหาทางออกจากการถอดรหัส “พระมหาชนก”

เทคนิค/วธิ กี าร
๑. แบง่ กลมุ่ มอบหมายงาน
๒. นาเสนอขอ้ มูลรายกลุ่มองค์ความรูท้ ่ไี ด้รบั /แนวคิดที่ได้ชมคลิปจากการบรรยาย
๓. รวบรวมองค์ความรู้ ข้อเสนอแนะ คาแนะนาจากวทิ ยากรมาสรุปรายละเอียด
๔. ชมสื่อวดี ีทศั น์
๕. ถอดบทเรยี นจากสื่อในประเด็น ได้ข้อคิด/มุมมองอะไรบ้าง และจะทาอะไรต่อไป
๖. นาเสนอ/แลกเปล่ียนเรยี นรู้

วสั ดุ/ อุปกรณ์
๑. ส่ือวดี ีทศั น์ การถอดรหัส “พระมหาชนก”
๒. เครอ่ ื งคอมพวิ เตอร์ เครอ่ ื งฉาย และจอภาพ เขา้ ระบบ Zoom

การประเมนิ ผล
๑. สงั เกตจากการนาเสนอ
๒. สังเกตจากการทางานเปน็ ทมี
๓. สงั เกตจากการมสี ่วนรว่ ม

***************

9

- การถอดบทเรยี นผ่านสื่อแผ่นดินไทย ตอน “แผน่ ดินวกิ ฤต”

วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพ่ือให้ผู้เรยี นได้สังเคราะห์ความรูท้ ี่ได้รบั จากวทิ ยากรท่ไี ด้มาบรรยายในแต่ละวชิ า
๒. เพ่ือให้ผู้อบรมมีความรูค้ วามเข้าใจสถานการณ์โลกปจั จุบันกับการเปลย่ี นแปลงของ

ดิน ฟ้า อากาศและตระหนักถึงวกิ ฤตปญั หาด้านดิน น้า ลม ไฟ โรคติดต่อระบาดที่อาจเกิดข้ึน
ในประเทศไทยและการปอ้ งกันภัย

๓. เพอื่ ให้ผูเ้ ข้ารบั การฝกึ อบรมตระหนักถึงความสาคัญของการน้อมนาหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง ไปประยุกต์ใชใ้ นการดารงชวี ติ

ระยะเวลา
จานวน ๑ ชว่ั โมง

ขอบเขตเนื้อหา
๑. ภาวะวกิ ฤตสงั คมโลก สังคมไทย
๒. ถ้าเข้าสู่ภาวะวกิ ฤตจะเอาตัวรอดอย่างไร
๓. ทางออกวกิ ฤต ดิน น้า ปา่ คน ด้วย โคก หนอง นาโมเดล

เทคนิค/วธิ กี าร
๑. แบง่ กล่มุ มอบหมายงาน
๒. นาเสนอขอ้ มลู รายกลุ่มองค์ความรูท้ ไ่ี ด้รบั /แนวคิดทีไ่ ด้ชมคลปิ จากการบรรยาย
๓. รวบรวมองค์ความรู้ ข้อเสนอแนะ คาแนะนาจากวทิ ยากรมาสรุปรายละเอยี ด
๔. ชมสื่อวดี ีทศั น์
๕. ถอดบทเรยี นจากส่ือในประเด็น ได้ข้อคิด/มุมมองอะไรบ้าง และจะทาอะไรต่อไป
๖. นาเสนอ/แลกเปลีย่ นเรยี นรู้

วัสดุ/ อุปกรณ์
๑. ส่ือวดี ีทศั น์ “แผน่ ดินวกิ ฤติ”
๒. เครอ่ ื งคอมพิวเตอร์ เครอ่ ื งฉาย และจอภาพ เขา้ ระบบ Zoom

การประเมินผล
๑. สงั เกตจากการนาเสนอ
๒. สังเกตจากการทางานเปน็ ทมี
๓. สงั เกตจากการมสี ่วนรว่ ม

***************

10

3) “ ทฤษฎีบนั ได ๙ ขน้ั สู่ความพอเพยี ง ”

วตั ถุประสงค์
เพ่ือให้ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมมีความรู้ ความเข้าใจหลักคิดปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ทฤษฎีใหม่ การบรหิ ารจดั การตามขั้นตอนเศรษฐกิจพอเพียงมาปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน และ
สามารถนาไปปฏิบัติจนเปน็ วถิ ีชวี ติ

ระยะเวลา
จานวน ๑.๓๐ ชว่ั โมง

ขอบเขตเน้ือหา
๑. หลกั คิด “ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
๒. การประยุกต์ใชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคล กลุม่ องค์กร

ชุมชน และสังคม
๓. พระราชดาร ิ“ทฤษฎีใหม่” การบรหิ ารจดั การตามข้ันตอน
ทฤษฎีข้ันทห่ี น่ึง : อยู่รอด แบง่ สัดส่วนพ้ืนที่ สรา้ งผลผลิต ครวั เรอื นสามารถ

พ่งึ ตนเองได้
ทฤษฎีข้ันที่สอง : พอเพียง ชุมชนรวมกลุ่มพ่ึงตนเอง
ทฤษฎีขั้นทส่ี าม : ยง่ั ยนื การบรหิ ารจดั การ สรา้ งมลู ค่าเพิม่ พฒั นาการตลาด

๔. เศรษฐกิจพอเพยี งความเข้มแขง็ ท่ีเปน็ รปู ธรรมตามวถิ ีวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญา และภูมิ
สงั คม

เทคนิค / วธิ กี าร
๑. วทิ ยากรบรรยายเนื้อหา
๒. วทิ ยากรเปดิ ส่ือวดิ ีทศั น์
๓. วทิ ยากรมอบงาน โดยให้ผู้เข้าอบรมแบ่งกลุ่มพรอ้ มนาเสนอในแต่ละประเด็นเนื้อหา

วัสดุ/อุปกรณ์
- สื่อวดิ ีทศั น์
- บทความ
- PPT
- คอมพวิ เตอร์ เครอ่ ื งฉาย และจอภาพ เข้าระบบ Zoom

การประเมนิ ผล
- สงั เกตจากการนาเสนอ

***************

11

4) “ หลักกสิกรรมธรรมชาติ ”

วตั ถุประสงค์
๑. เพ่ือให้ผรู้ บั การฝกึ อบรมรถู้ ึงประโยชน์ของการปลูกต้นไม้ ตามแนวคิด ปา่ ๓ อย่าง

ประโยชน์ ๔ อย่าง โดยการปลูกไม้ 5 ระดับ
๒. จดั รูปแบบการปลูกให้เกิดคณุ ค่าและบูรณาการในพื้นทท่ี ากินเดิม ให้มีสภาพ

ใกลเ้ คียงกับป่า
๓. สรา้ งมลู ค่าต้นไม้ที่ปลูกทาให้เปน็ ทรพั ย์ เพื่อออมทรพั ย์และใชแ้ ก้ปญั หาความ

ยากจน

ระยะเวลา
จานวน 4 ชวั่ โมง

ขอบเขตเน้ือหา
๑. หัวใจหลกั กสิกรรมธรรมชาติ “เลย้ี งดิน ให้ดินเลย้ี งพชื ” ห่มดิน “แห้งชาม นา้ ชาม”
- เรยี นรู้ หลกั เกษตรกรรม กับ กสิกรรม
- เกษตรปลอดพิษ : ตัวหา้ ตัวเบียน การจดั การแมลง ด้วยระบบนิเวศที่สมดุล
๒. นิยาม 5
๓. ปา่ 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อยา่ ง
๔. การปลูกไม้ 5 ระดับ
๕. 10 ข้ันตอนการตรวจแปลง

เทคนิค / วธิ กี าร
- วทิ ยากรผูเ้ ชยี่ วชาญบรรยายเพ่อื ให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ หัวใจหลกั กสิกรรมธรรมชาติ

1) เล้ียงดินให้ดินเล้ียงพืช ,ห่มดิน “แห้งชาม น้าชาม” ,หลักเกษตรกรรม กับ กสิกรรม ,เกษตร
ปลอดสารพิษ : ตัวห้าตัวเบียน การจดั การแมลงด้วยระบบนิเวศที่สมดุล 2) นิยาม 5 ประการ
๓) ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ๔) การปลูกไม้ 5 ระดับ ๕) 10 ข้ันตอนการตรวจแปลง
และเรยี นรูจ้ ากกรณีตัวอย่าง “โคกหนองนา โมเดล” โดยใช้สื่อ ส่ือ Power point และส่ือ
วดิ ีทศั นป์ ระกอบการบรรยาย

วัสดุ/อุปกรณ์
๑. สื่อวดิ ีทศั น์ ประกอบการบรรยาย ผ่านระบบ Zoom
๒. สื่อ Power point

การประเมินผล
- การสงั เกตของวทิ ยากร

***************

12

- การถอดบทเรยี นผา่ นสื่อ “ วถิ ีภูมปิ ญั ญาไทยกับการพึ่งตนเอง ”

วตั ถปุ ระสงค์
1) เพือ่ ให้ผู้เข้าอบรมได้เรยี นรจู้ ากผู้ทป่ี ฏิบตั ิจรงิ จนเป็นทย่ี อมรบั
2) เพ่ือสรา้ งแรงบนั ดาลใจในการประยุกต์ศาสตรพ์ ระราชาสู่การปฏิบตั ิจนเปน็
ทยี่ อมรบั

ระยะเวลา
จานวน 1 ชวั่ โมง

ขอบเขตเนื้อหา
๑. ประวตั ิส่วนตัวของพอ่ เลยี่ ม บุตรจนั ทา หรอื ปราชญ์อ่นื ๆ
๒. การใชว้ ถิ ีภูมิปญั ญาไทย กับการเอาตัวรอดอย่างไร
๓. ทางออกคือการพงึ่ ตนเอง

เทคนิค/วธิ กี าร
๑. แบง่ กลุ่มมอบหมายงาน
๒. นาเสนอข้อมลู รายกลุ่มองค์ความรูท้ ่ีได้รบั /แนวคิดทไ่ี ด้ชมคลปิ จากการบรรยาย
๓. รวบรวมองค์ความรู้ ข้อเสนอแนะ คาแนะนาจากวทิ ยากรมาสรุปรายละเอียด
๔. ชมส่ือวดิ ีทศั น์
๕. ถอดบทเรยี นจากสื่อในประเด็น ได้ข้อคิด/มุมมองอะไรบ้าง และจะทาอะไรต่อไป
๖. นาเสนอ/แลกเปลีย่ นเรยี นรู้

วัสดุ/ อุปกรณ์
๑. สื่อวดิ ีทัศน์ “ปา่ เปน็ บานาญชวี ติ ของพอ่ เลี่ยม บุตรจนั ทา”
๒. เครอ่ ื งคอมพิวเตอร์ เครอ่ ื งฉาย และจอภาพ เข้าระบบ Zoom

การประเมินผล
๑. สังเกตจากการนาเสนอ
๒. สังเกตจากการทางานเปน็ ทีม
๓. สังเกตจากการมสี ่วนรว่ ม

***************

13

5 ) “สุขภาพพง่ึ ตน พฒั นา ๓ ขุมพลงั ” พลังกาย พลงั ใจ พลงั ปญั ญา

วัตถุประสงค์
๑. เพื่อให้ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมได้ยืดเส้นยดื สาย ออกกาลังกาย ก่อนการฝกึ อบรม
๒. เพ่ือพฒั นาพลังกาย พลังใจ และพลังปญั ญา
๓. เพอ่ื ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีว่าด้วยการสรา้ งคณุ ค่าในการดาเนินชวี ติ

ระยะเวลา
จานวน 1 ชวั่ โมง : 1 วัน

ขอบเขตเน้ือหา
๑. การพฒั นาพลังกาย การพัฒนาพลังใจ การพัฒนาพลงั ปัญญา
๒. แนวคิดการพัฒนาเพื่อพึ่งตนเองของเป้าหมายโคกหนองนาโมเดล
๓. การปรบั เปลยี่ นชวี ติ ตามสถานการณ์

เทคนิค / วธิ กี าร
๑. วทิ ยากรบรรยายเนื้อหา
๒. วทิ ยากรเปดิ ส่ือวดิ ีทศั น์
๓. วทิ ยากรมอบงาน โดยให้ผู้เขา้ อบรมแบง่ กลุ่มพรอ้ มนาเสนอในแต่ละประเด็นเนื้อหา

วสั ดุ/อุปกรณ์
- คอมพวิ เตอร์ ,โปรเจค็ เตอร์ ผ่านระบบ Zoom
- สื่อวดิ ีทศั น์
- PPT

การประเมินผล
- สงั เกตจากการมสี ่วนรว่ ม
- สังเกตจากการนาเสนอ

***************

14

6 ) เรยี นรูผ้ ่านการฝกึ ปฏิบัติจรงิ “ 9 ฐานการเรยี นรู้ สู่เศรษฐกิจพอเพียง ”

วัตถปุ ระสงค์
๑. เพ่ือให้ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม รูแ้ ละเข้าใจ ถึงการน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี งมาปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน และสามารถปฏิบัติจนเปน็ วถิ ีชวี ติ
๒. เพ่ือผเู้ ข้าอบรมมที กั ษะ ความรูใ้ นแต่ละฐานการเรยี นรู้ และนาไปปฏิบัติได้
๓. สามารถนาความรูแ้ ละเทคนิคในฐานต่าง ๆ ไปประยุกต์ใชเ้ ปน็ อาชพี เสรมิ ใน

ครวั เรอื น เพื่อให้เกิดรายได้และพ่งึ พาตนเองได้

ระยะเวลา
จานวน 3 - 6 ชวั่ โมง

ขอบเขตเน้ือหา
๑. เรยี นรู้ 9 ฐานเรยี นรู้ 1) ฐานคนติดดิน : ป้ นั ดินเปน็ บ้าน 2) ฐานคนเอาถ่าน : แปลง

ก่ิงไม้เป็นถ่าน 3) ฐานคนมีไฟ : ไบโอดีเซล พลังงานทดแทน 4) ฐานคนรกั ษ์แม่ธรณี : เลี้ยง
ดิน ให้ดินเล้ียงพืช 5) ฐานคนมีน้ายา : น้ายาอเนกประสงค์ 6) ฐานคนรกั ษ์ป่า : (ป่า 3 อย่าง
ประโยชน์ 4 อย่าง 7) ฐานคนรกั ษ์น้า : (การจดั การและอนุรกั ษ์น้า) 8) ฐานคนรกั ษ์แม่โพสพ
: นาข้าวอนิ ทรยี ์ สู่วถิ ีชาวนาไทย 9) ฐานคนรกั ษ์สุขภาพ : วถิ ีสุขภาพแบบพอเพียง

2. สรปุ ผลกิจกรรมทร่ี ว่ มกันทา

เทคนิค / วธิ กี าร
๑. เครอื ข่ายครูพาทาท่ีผ่านการฝึกอบรมจิตอาสาวทิ ยากร บรรยาย เพื่อให้มีความรู้

เกี่ยวกับฐานการเรยี นรู้ ฝกึ ปฏิบตั ิ ตอบข้อซกั ถาม
2. ผเู้ ข้าอบรมสรปุ ผลกิจกรรม เปน็ รายกลมุ่

วัสดุ/อุปกรณ์
๑. วสั ดุ/อปุ กรณ์ ประจาฐานเรยี นรู้
๒. เอกสารองค์ความรูใ้ นแต่ละฐานเรยี นรู้
๓. บอรด์ , ปากกา, กระดาษฟลิปชารท์
๔. อปุ กรณ์ขยายเสียง, ไมค์โครโฟน

การประเมนิ ผล
- การสงั เกตของวทิ ยากร
- การวดั ความสัมฤทธผิ์ ลของการปฏิบัติแต่ละกลุ่ม

***************

15

7 ) เรยี นรูผ้ า่ นการฝึกปฏิบัติจรงิ “ เอามอื้ สามัคคี พฒั นาพ้นื ทต่ี ามหลักทฤษฎีใหม่ ”

วตั ถปุ ระสงค์
เพื่อให้เกิดการแลกเปล่ียนแรงงาน เอามอ้ื สามัคคี และเปน็ การแลกเปล่ียนองค์ความรู้

ในด้านการพัฒนาพ้ืนที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ โดยประชาชนส่วนใหญ่มักรูจ้ กั ในชอื่ กิจกรรมการ
“ลงแขก” หรอื “เอาแรง” ซึ่งเป็นวัฒนธรรมชุมชนท่ีอยู่คู่กับสังคมไทยมาอย่างช้านาน โดย
ในชว่ งหลังมานี้ นอกจากจะเปน็ การแลกเปลี่ยนในด้านแรงงาน แล้วยังได้เน้นให้เกิดการสรา้ ง
ความรูท้ เี่ หมาะสมกับสภาพพื้นท่ี
ระยะเวลา

จานวน 3 - ๖ ชวั่ โมง
ขอบเขตเน้ือหา

การทากิจกรรมรว่ มแรง รว่ มใจ รว่ มพลงั กันในการประยุกต์ใชห้ ลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาพืน้ ทต่ี ามหลักทฤษฎีใหม่วทิ ยากร
เทคนิค / วธิ กี าร

๑. การสารวจพื้นที่
๒. วางแผนการดาเนินงาน
๓. ลงมือปฏิบัติโดยมกี ิจกรรมท่ีดาเนินตามบรบิ ทของพื้นท่ี เชน่ ขุดคลองไส้ไก่ ห่มดิน
ปลกู ปา่ ๓ อยา่ งประโยชน์ ๔ อย่าง
วัสดุ/อุปกรณ์
- อุปกรณ์และเครอ่ ื งการเกษตร จอบ เสียม บวั รดนา้
- พนั ธก์ ล้าไม้
- ฟางคลุมดิน,ปุย๋ หมัก ฯลฯ
การประเมนิ ผล
- สงั เกตจากการมสี ่วนรว่ ม

***************

16

- กิจกรรม ถอดบทเรยี นจากฐานเรยี นรู้ ๙ ฐานเรยี นรสู้ ู่เศรษฐกิจพอเพียง และ
ถอดบทเรยี นจากการเอามอ้ื สามคั คี

วตั ถปุ ระสงค์

1) เพื่อให้ผูเ้ ข้าอบรมได้นาเสนอและถอดความรูท้ ไ่ี ด้จากการฝกึ อบรมในฐานเรยี นรู้

2) เพือ่ ให้ผู้เข้าอบรมได้นาเสนอและถอดความรูท้ ไี่ ด้จากการเอามือ้ สามัคคี

3) เพื่อสรา้ งแรงบันดาลใจและตระหนักในการทาหลกั กสิกรรมธรรมชาติ

ระยะเวลา

จานวน 1 ชว่ั โมง

ขอบเขตเน้ือหา

1. จากการเรยี นรู้ 9 ฐานเรยี นรู้ สู่เศรษฐกิจพอเพียง

1) ฐานคนติดดิน 2) ฐานคนเอาถ่าน

3) ฐานคนมไี ฟ 4) ฐานคนรกั ษ์แมธ่ รณี

5) ฐานคนมีนา้ ยา 6) ฐานคนรกั ษ์ปา่

7) ฐานคนรกั ษ์นา้ 8) ฐานคนรกั ษ์แม่โพสพ

9) ฐานเรยี นรคู้ นรกั ษ์สุขภาพ

2. จากการได้เรยี นรู้ “จติ อาสาพฒั นา เอามอื้ สามัคคี พัฒนาพนื้ ทต่ี ามหลักทฤษฎีใหม่”

3. หลักการตรวจแปลง 10 ข้อการตรวจแปลง

เทคนิค / วธิ กี าร

แบง่ กล่มุ ระดมความคิดและนาเสนอผลงาน โดยใชป้ ระเด็นดังน้ี

1. สิง่ ทไ่ี ด้เรยี นรู้

- ข้ันตอน อุปกรณ์ และวธิ ที า

2. การนาไปใชป้ ระโยชน์ได้อย่างไร

- ได้เรยี นรขู้ ั้นตอน หลกั การ ขบวนการ

- ได้เรยี นรวู้ ัตถดุ ิบต่าง ๆ และประโยชน์

วัสดุ/อุปกรณ์

- สื่อวดี ีทศั น์

- คอมพิวเตอร์ เครอ่ ื งฉาย และจอภาพ ผา่ นระบบ Zoom

- บอรด์ ,ปากกา

การประเมินผล
- สังเกตการนาเสนอ

***************

17

8 ) หลักการออกแบบเชงิ ภูมสิ งั คมและการออกแบบโคก หนอง นาฯ เบ้ืองต้น

วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อให้ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม มคี วามรู้ ความเข้าใจหลกั การออกแบบเชงิ ภูมสิ งั คมดิน

นา้ ลม ไฟ พืช คน และการออกแบบโคก หนอง นา พช. เบื้องต้น
2. เพ่ือเรยี นรขู้ ้นั ตอนออกแบบโคก หนอง นา พัฒนาชุมชน ด้วยตนเอง
3. เพ่ือให้ผูเ้ ขา้ อบรม รถู้ ึงหัวใจ คือการอยูร่ วมกับธรรมชาติ โดยไม่ฝนื ธรรมชาติ

ระยะเวลา
จานวน ๓-6 ชวั่ โมง

ขอบเขตเนื้อหา
๑. หลักการออกแบบตามหลักภูมิสังคม ดิน น้า ลม ไฟ พืช คน
๒. การสารวจพื้นที่ก่อนการออกแบบ
๓. ขนั้ ตอนการออกแบบโคก หนอง นา พฒั นาชุมชน ด้วยตนเอง

เทคนิค / วธิ กี าร
๑. วทิ ยากรแนะนา/เล่าถึงประวัติตัวเอง สรา้ งบรรยากาศการเรยี นรู้ ทกั ทาย ชวนคยุ
๒. วทิ ยากรต้ังคาถาม “ทาไมต้องออกแบบพน้ื ที่ จาเปน็ หรอื ไม”่
๓. วทิ ยากรเลา่ ถึงสถานการณ์และวกิ ฤตของประเทศไทย พรอ้ มยกตัวอยา่ งเพื่อเขา้ สู่

เน้ือหาการออกแบบภมู ิสังคมไทยตามหลักการพัฒนาภมู ิสังคมอย่างยั่งยนื
๔. วทิ ยากรบรรยายถึงการออกแบบเชงิ ภูมสงั คมไทยตามหลักการพฒั นาภูมสิ ังคม

อย่างยัง่ ยืน (การออกแบบพ้นื ทชี่ วี ติ )
๕. วทิ ยากรยกตัวอยา่ งแบบจาลองการจดั การพืน้ ทก่ี สิกรรมประกอบเพ่ือให้เห็นชดั เจน

ย่งิ ขึน้ พรอ้ มสรุปเติมเต็มและให้คาแนะนากับผู้เขา้ รว่ มอบรม
๖. วทิ ยากรบรรยายให้ความรูใ้ นหัวข้อ ดังน้ี
๖.๑. สถานการณ์และภาวะวกิ ฤตของโลก ประเทศ ชุมชน (นา้ อาหาร พลังงาน)
๖.๒. แนวทางการแก้ไขรองรบั ภัยพิบัติด้วยการบรหิ ารจดั การพ้ืนที่ “โคก หนอง นา”
7. นาเสนอ/แลกเปล่ยี นเรยี นรู้

วัสดุ/อุปกรณ์
- ส่ือวดิ ีทศั น์ บรรยายประกอบและชมส่ือวดี ีทศั น์
- PPT / กรณีศึกษาความสาเรจ็ “โคก หนอง นา”
- คอมพิวเตอร์ เครอ่ ื งฉาย และจอภาพ ผา่ นระบบ Zoom
- บอรด์ ,ปากกา

การประเมินผล
- สงั เกตจากการมีส่วนรว่ ม /จากการนาเสนอ

****************

18

8.1 การจดั การพื้นทต่ี ามหลกั ทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล

วัตถุประสงค์
เพ่ือให้ผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเรอ่ ื งศาสตรพ์ ระราชากับการบรหิ าร

จดั การ ดิน น้า ป่า อย่างยงั่ ยืน ตลอดจนมีความเข้าใจในการจดั การพื้นทเี่ ชงิ ภมู สิ ังคมไทยตาม
หลักการพฒั นาภูมิสงั คมอย่างยงั่ ยนื เพ่ือการพง่ึ ตนเองและรองรบั ภัยพิบัติ “โคก หนองนา
โมเดล”

ระยะเวลา
จานวน 3 ชว่ั โมง

ขอบเขตเนื้อหา
๑. ศาสตรพ์ ระราชาด้านการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรดิน น้า ปา่
๒. คน กลไกสาคัญในการบรหิ ารจดั การพ้ืนท่ีอยา่ ยง่ั ยืนตามศาสตรพ์ ระราชา
๓. สถานการณ์และภาวะวกิ ฤติของโลก ประเทศ ชุมชน
๔. กรณีศึกษาความสาเรจ็ “โคก หนองนา” ในการแก้ไขและรองรบั ภัยพิบัติด้วยการ

บรหิ ารจดั การพ้ืนท“่ี โคก หนอง นา”
๕. หลักคิดพื้นฐานการออกแบบตามหลักภมู ิสังคม (Geosocial)
๖. การคานวณการจดั การน้าฝนในพ้ืนที่
๗. แนวคิดการออกแบบและฝกึ ปฏิบัติการเขยี นแบบตามหลกั “โคก หนอง นา”

เทคนิค / วธิ กี าร
๑. วทิ ยากรบรรยายเนื้อหา
๒. วทิ ยากรเปดิ สื่อวดิ ีทศั น์
๓. วทิ ยากรมอบงาน โดยให้ผ้เู ข้าอบรมแบ่งกลุ่มพรอ้ มนาเสนอในแต่ละประเด็นเน้ือหา

วสั ดุ/อุปกรณ์
- ส่ือวดิ ีทศั น์
- บทความ
- กรณีศึกษา
- PPT
- คอมพิวเตอร์ เครอ่ ื งฉาย และจอภาพ ผา่ นระบบ Zoom
- บอรด์ ,ปากกา

การประเมินผล
- สงั เกตการนาเสนอ

***************

19

9 ) การบรหิ ารโครงการพัฒนาหม่บู า้ นเศรษฐกิจพอเพียง

วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือการบรหิ ารจดั การโครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. เพ่ือทาแผนปฏิบัติการขบั เคล่ือน/พัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง
3. เพื่อให้ผเู้ ข้ารว่ มประชุมสามารถนาเสนอ จากการดู Best case โคก หนอง นา

อาเภอแวงใหญ่ จงั หวัดขอนแก่น และหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง ทด่ี าเนินการในปี 2564

ระยะเวลา
จานวน 3 ชว่ั โมง

ขอบเขตเนื้อหา
๑. การบรหิ ารจดั การโครงการพฒั นาหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง ปี 2565
๒. การทาแผนปฏิบัติการขบั เคล่ือนและพัฒนาหมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง ปี 2565
3. การดูคลบิ Best case โคก หนอง นา อาเภอแวงใหญ่ จงั หวัดขอนแก่น และ

หมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพียง ท่ดี าเนินการในปี 2564

เทคนิควธิ กี าร
๑. วทิ ยากรใชส้ ่ือวดิ ีทศั น์ Best case โคกหนองนา อาเภอแวงใหญ่ จงั หวดั ขอนแก่น
2. วทิ ยากรใชส้ ื่อคลิปหมู่บ้าน ศพพ. ท่ีดาเนินการในปี 2564 และปีอนื่ ๆ เชน่
1) บ้านศรรี กั ษา หมู่ท่ี 6 ตาบลผานกเค้า อาเภอภูกระดึง จงั หวัดเลย
2) บ้านทงุ่ กระโปรง ตาบลป่าขะ อาเภอบ้านนา จงั หวดั นครนายก
3) หมู่บา้ น ศพพ.บ้านแม่ใจใต้ อาเภอฝาง จงั หวดั เชยี งใหม่
๓. นาเสนอ/แลกเปล่ียนเรยี นรู้

วสั ดุ / อุปกรณ์
- ส่ือวดิ ีทศั น์ , PPT ,บทความ , กรณีศึกษา
- คอมพวิ เตอร์ เครอ่ ื งฉาย และจอภาพ ผา่ นระบบ Zoom
- บอรด์ ,ปากกา

การประเมินผล
๑. สงั เกตจากการนาเสนอ
๒. สังเกตจากการมีส่วนรว่ ม

**************

20

9.1 ) Work Shop กระบวนการพัฒนาหมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง

วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือนาเสนอกระบวนการขบั เคลือ่ น/พัฒนาหมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพียง
2. เพื่อตรวจสอบเกณฑ์การประเมินหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพยี งของกระทรวงมหาดไทย
(4 ด้าน 23 ตัวชว้ี ดั )

3. เพื่อให้ผเู้ ขา้ รว่ มประชุมสามารถทา Work Shop กระบวนการพฒั นาหมบู่ า้ น
เศรษฐกิจพอเพยี ง ในปี 2565 ได้

ระยะเวลา
จานวน 3 ชว่ั โมง

ขอบเขตเน้ือหา
๑. นาเสนอกระบวนการขับเคล่ือน/พัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง ปี 2565
๒. การตรวจสอบเกณฑก์ ารประเมินหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงของกระทรวงมหาดไทย
(4 ด้าน 23 ตัวชว้ี ัด)

3. การทา Work Shop กระบวนการพฒั นาหมูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียง ในปี

2565

เทคนิควธิ กี าร
๑. วทิ ยากรใชส้ ่ือบรรยายจาก ภาคผนวก การพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงเพือ่

สรา้ งความสุขให้ชุมชน
2. การนาแบบประเมนิ และแบบรายงานผลตัวชว้ี ัดการน้อมนาปรชั ญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี งในการดาเนินวถิ ีชวี ติ ของชุมชน 6 ด้าน 12 ตัวชวี้ ัด (6x2)
3. การตรวจสอบเกณฑก์ ารประเมนิ หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพยี งของกระทรวง มหาดไทย

(4 ด้าน 23 ตัวชว้ี ัด)
๓. นาเสนอ/แลกเปลีย่ นเรยี นรู้

วัสดุ / อุปกรณ์
- สื่อวดิ ีทศั น์ , PPT ,บทความ
- คอมพิวเตอร์ เครอ่ ื งฉาย และจอภาพ ผา่ นระบบ Zoom
- บอรด์ ,ปากกา

การประเมินผล
๑. สังเกตจากการนาเสนอ
๒. สงั เกตจากการมีส่วนรว่ ม

**************

21

เน้ือหาวชิ าการ

บทที่ 1 วชิ า การบรรยาย“หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่”

วทิ ยากรผู้สอน : วทิ ยากรจากภายใน /ภายนอก

วตั ถุประสงค์ : เพื่อสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจแก่ผู้เข้าอบรมถึงความสาคัญของ หลักปรชั ญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่” ตามลาดับอย่างเปน็ ขน้ั เปน็ ตอน

เวลาสอน : จานวน 3-6 ชว่ั โมง

รูปแบบการสอน : การบรรยายให้ความรู้ และใชส้ ื่อเพอ่ื สรา้ งแรงบนั ดาลใจ

ขอบเขตเน้ือหาวชิ าทสี่ อน :

1.1 ส.ค.ส. 2547 วกิ ฤตระเบดิ ส่ีลูก

บรบิ ทการเปลยี่ นแปลงของโลกทค่ี นไทยได้เผชญิ มาแล้ว และจะรนุ แรงขึ้นในทศวรรษหน้า
ด้วยระเบิด ๔ ลูกทจ่ี ุดชนวนทวั่ โลก

ลูกที่ ๑ วกิ ฤตเศรษฐกิจ
(Economic Crisis) ว กิ ฤ ต
เศ รษ ฐกิ จ พ ลั งงา น น้ ามั น
การเงนิ ขาด แ ค ลน ปัจ จัย ส่ี
และน้าดื่มนา้ ใช้

ลูกท่ี ๒ วกิ ฤตสิ่งแวดล้อม
( Environmental Crisis)
ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ส ภ า พ
ภูมิอากาศโลก เช่น โลกร้อน
น้าแข็งละลาย แ ผ่ น ดิ น ไห ว
อุทกภัย วาตภัย และภัยแล้ง
การสูญพันธขุ์ องสิ่งมีชวี ติ

ลู ก ที่ ๓ ว ิก ฤ ต สั ง ค ม
(Social Crisis) วกิ ฤตการณ์
สังคม และ โรคระบาดใหม่ ๆ

ลูกท่ี ๔ วกิ ฤตการเมื อ ง
( Political Crisis) ค ว า ม
ขั ด แ ย้ งใน ลั ท ธิ ค ว า ม เช่ือ
ศ า ส น า วั ฒ น ธ ร ร ม สี ผิ ว
ก า ร เ มื อ ง ต่ อ สู้ แ ย่ ง ชิ ง
ทรพั ยากร นาสู่สงคราม

22

ฉะนั้นแล้ว ถึงจะเกิดวกิ ฤตอะไร เกิดขึ้นอยา่ งไร “ความสามัคคีจงึ เปน็ พลงั คา้ จุนแผ่นดินไทย” ได้เปน็
อยา่ งดี ด้วยการใชห้ ลักการทรงงาน “เขา้ ใจ เขา้ ถึง พัฒนา”

1. เขา้ ใจ : เขา้ ใจศาสตรพ์ ระราชา (สงิ่ ทพ่ี ่อคิด)
: เข้าใจชวี ติ (เขา้ ใจตนเอง)
: เขา้ ใจโลก (ปญั หา)
: บรบิ ทของชุมชน (รากเหง้า)

2. เข้าถึง : ภูมิปญั ญาของบรรพบุรษุ (ความร)ู้
: หลักการทรงงาน
: กิจทพ่ี ่อทา
: ปญั หา

3. พัฒนา : มนษุ ยใ์ นระบบเศรษฐกิจพอเพียง
: ลงมือทา (ทาเปน็ ขน้ั เปน็ ตอน) ทาแบบคนจน
: ปรบั ใช้ : ต่อยอด

พระมหาชนก “นับแต่อุปราช จนถึงคนรกั ษาชา้ ง รกั ษาม้า ล้วนจารกึ ในโมหภูมิ พวกน้ีขาดท้ัง
ความรูว้ ชิ าการ ทง้ั ความรูท้ ว่ั ไป คือ ความสานึกธรรมดา”

ขอบคุณ : ถอดรหัสลับ คาทานาย ในหลวง ร.9 ทรงเตือน คนไทยผ่าน ส.ค.ส. ภัยธรรมชาติ
โ-ร-ค-ระ-บ-า-ด : 15.50 นาที ชอ่ ง เผามันส์ เผาเผือก

23

1.2 ปรชั ญา ๓ ระบบ

เป็นปรชั ญาเบ้ืองหลังของการก่อเกิดและเป็นแรงผลักดันของการ สถาปนาปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง เพอ่ื เปน็ มรรควธิ ี และวถิ ีในการดาเนินชวี ติ ใหม่ของมวลมนุษยชาติ เพื่อการพ้นทกุ ข์

เพ่ือให้เห็นความหมายของทฤษฎีหลักของโลก 2 ทฤษฎี ท่ีต่อสู้กันมาตลอด และเศรษฐกิจ
พอเพียง เปน็ ทฤษฎีใหม่ขององค์พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว ซงึ่ อาจจะมีผู้สอบถามวา่ ทาไมจงึ ไม่นา
พอเพียงไว้ด้านบน อธบิ ายได้วา่ เศรษฐกิจพอเพียง เปน็ ฐานก่อนทาการค้า หรอื กระจายรายได้เทา่ เทยี ม
เราต้องทาให้พอเพียงก่อนเป็นขึ้นพ้ืนฐาน หากจะทาการค้าในขั้นก้าวหน้า ก็ต้องแบ่งปนั สังคม ทาบุญ
ทาทานก่อน จงึ จะม่ันคงได้

สาหรบั ระบบเศรษฐกิจหลักของโลก 2 ระบบ 1) ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism)
2) ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (Socialism)

1. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) ลักษณะระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยม เรยี กอีก
อย่างหน่ึงว่า ระบบเศรษฐกิจแบบเสรนี ิยม มีเสรภี าพในการตัดสินใจว่า จะผลิตอะไร (What) ผลิต
อย่างไร (How) ผลิตเพ่ือใคร (Who) เอกชนสามารถเลือกใชท้ รพั ย์สินทาการผลิตในสิ่งที่ตนถนัดทส่ี ุด
และเห็นว่าจะนาผลกาไรมาให้มากทสี่ ุด รฐั บาลไม่มีส่วนเข้าไปเกี่ยวข้องหรอื ถ้ามีก็น้อยมาก โดยอยู่ในรูป
ของการบรกิ ารให้ความสะดวกแก่ผู้ผลิตการดาเนินการผลติ ขึน้ อยู่กับ กลไกราคา

2. ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (Socialism) รฐั จะเข้าควบคุมและโอนกิจการธนาคารทงั้ หมด มา
เป็นของรฐั การดาเนินกิจกรรมขนาดใหญ่จะถูกควบคุมโดยรฐั เชน่ กิจการสาธารณูปโภค อาทิ ไฟฟ้า
ประปา รถไฟโทรศัพท์ และโทรคมนาคม รวมถึงอุตสาหกรรมหนักต่าง ๆ เช่น อุตสาหกรรมป่าไม้
อุตสาหกรรมเหมืองแร่ อุตสาหกรรมน้ามันและพลังงาน แต่ยังเปิดโอกาสให้เอกชนมีทรพั ย์สินส่วนตัว
สาหรบั ดาเนินธุรกิจขนาดย่อม มีอิสระในการประกอบอาชพี และมีเสรภี าพในการเลือกซอื้ สินค้าและ
บรกิ าร และมีกรรมสิทธใ์ิ นที่อยู่อาศัย รฐั จะเข้าไปจดั สวัสดิการให้กับประชาชน เชน่ กัน การประกันการ
วา่ งงาน การกาหนดค่าแรงข้นั ตา่ การเลี้ยงดูคนชรา

24

ระบบเศรษฐกิจ : ระบบเศรษฐกิจ หมายถึง การรวมตัวกันเป็นกลุ่มของหน่วยเศรษฐกิจ ซงึ่ ประกอบด้วย

บุคคล หรอื สถาบันทที่ าหน้าท่ีเฉพาะอย่างในทางเศรษฐกิจ ใชห้ ลักการแบ่งงานกันทาตามความถนัด มีการ
ปฏิบัติภายใต้ระเบียบ กฎเกณฑ์ นโยบาย และ แนวทางการปฏิบัติที่คล้ายคลึงกัน หน่วยเศรษฐกิจ คือ
หน่วยงานท่ีมีอยู่ในระบบเศรษฐกิจ จะทาหน้าท่ีเกี่ยวกับกิจกรรมที่สาคัญทางด้านเศรษฐกิจอันได้แก่การ
ผลิต การบรโิ ภค และ การแจกจา่ ยสินค้า และบรกิ าร

ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) เป็นระบบเศรษฐกิจที่เปิดโอกาสให้บุคคลทั่วไปเลือกตัดสินใจ
ดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามความสามารถและโอกาสของตนโดยอาศัยตลาดและราคาในการเลือก
โดยรฐั หรอื เจา้ หน้าทจ่ี ากส่วนกลางมีบทบาทเกี่ยวข้องน้อยมาก

ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม : ทรพั ย์สินและปัจจัยการผลิตเป็นของเอกชน เอกชนเป็น
ผู้ดาเนินการกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยผ่านกลไกราคา และ มีกาไรเป็นแรงจูงใจ มีการแข่งขันเปน็ รากฐาน
ของระบบเศรษฐกิจ รฐั ไม่เข้าแทรกแซงทางเศรษฐกิจ มีบทบาทเพียงการรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ย ความ
ยุติธรรม ประชาชนสามารถใชค้ วามรคู้ วามสามารถ โอกาส ความคิดรเิ รม่ ิ ของตนในการผลิตและบรโิ ภคเพื่อ
ประโยชน์ทางเศรษฐกิจของตนได้อย่างเต็มที่

ข้อเสียของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม : เนื่องจากความสามารถ และ โอกาสของบุคคลท่ี
แตกต่างกัน ทาให้มีระดับรายได้แตกต่างกัน นาไปสู่ปญั หาการกระจายรายได้ระหว่างคนรวยกับคนจน
การผลิตในระบบทุนนิยมเป็นท่ี มาของการแข่งขันกันผลิต นาไปสู่การทาลายทรพั ยากร และ
สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติจนกลายเปน็ ปญั หาของโลกในปจั จุบัน

ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม (Socialism) เปน็ ระบบเศรษฐกิจทรี่ ฐั เปน็ เจา้ ของปจั จยั การผลติ
วางแผนและควบคุมการผลิตบางประเภท โดยเฉพาะการผลติ ทเ่ี ปน็ ผลประโยชน์รว่ มกันของประชาชน
เชน่ การสาธารณูปโภค ต่าง ๆ สถาบันการเงนิ ปา่ ไม้ เอกชนถูกจากัดเสรภี าพในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
โดยเฉพาะส่วนทเี่ ปน็ ผลประโยชน์ของส่วนรวม ดาเนินการได้เพยี งอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมขนาด
ยอ่ ม ทง้ั น้ีเพ่อื แก้ไขปญั หาความแตกต่างด้านฐานะระหว่างคนรวยและคนจน

ข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม : รฐั ควบคมุ การดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ มีการ
วางแผนจากส่วนกลาง ความเสมอภาคด้านฐานะทางเศรษฐกิจของบุคคลในสังคม ประชาชนได้รบั
สวัสดิการจากรฐั บาลกลางโดยเทา่ เทยี มกันและสามารถกาหนดนโยบายเปา้ หมายตามทร่ี ฐั บาลกลาง
ต้องการได้

ข้อเสียของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม : ประชาชนขาดแรงจูงใจในการทางาน เศรษฐกิจของ
ประเทศอาจเผชญิ วกิ ฤติหากรฐั กาหนดความต้องการผิดพลาด การไม่มีระบบแขง่ ขันแบบทนุ นิยมทาให้
ไม่มีการพฒั นาสินค้า และ บรกิ ารใหม่ๆ

ระบบเศรษฐกิจตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นระบบเศรษฐกิจท่ีมุ่งต่อศักยภาพของ
ประเทศที่มีความสมดุลเป็นพื้นฐาน โดยให้ความสาคัญกับการผลิตเพื่ออุปโภค บรโิ ภค สารอง และ
แบ่งปัน หลังจากน้ันจงึ ผลิตเพื่อการค้า ซง่ึ ประกอบด้วย 3 คุณลักษณะที่เป็นห่วงสอดรอ้ ยประสานกัน
เพ่ือนาไปสู่การปฏิบัติ ได้แก่ ความพอประมาณ (ความพอดี ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่
เบยี ดเบียนตนเองและผู้อื่น เชน่ การผลิตและการบรโิ ภคทอี่ ยูใ่ นระดับพอประมาณ) ความมีเหตุผล

25
(การตัดสินใจเก่ียวกับระดับของความพอเพียงน้ัน จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุ
ปัจจัยที่เก่ียวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทาน้ัน ๆ อย่างรอบคอบ) การมี
ภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว (การเตรยี มตัวให้พรอ้ มรบั ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านการต่าง ๆ ที่จะ
เกิดข้ึนโดยคานงึ ถึงความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล)
นอกจากคุณลักษณะ 3 ห่วงดังกล่าวแล้ว ส่ิงสาคัญอีกอย่างหน่ึงคือการกาหนดเง่อื นไขไว้ 2 ประการ
เพอื่ การตัดสินใจและดาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้นต้องอาศัยท้งั ความรูแ้ ละคณุ ธรรม
เป็นพ้ืนฐาน น่ันคือ เงอ่ ื นไขความรู้ ซงึ่ ประกอบด้วยความรอบรูเ้ กี่ยวกับวชิ าการต่าง ๆ ทเี่ กี่ยวข้องอย่าง
รอบด้านความรอบคอบที่จะนาความรูเ้ หล่าน้ันมาพิจารณาให้เชอื่ มโยงกันเพื่อประกอบ การวางแผน
และความระมัดระวังในข้ันตอนปฏิบัติ และเง่อื นไขคุณธรรม ที่จะต้องเสรมิ สรา้ ง ประกอบ ด้วยมีความ
ตระหนักในคุณธรรม มีความซอื่ สัตย์สุจรติ และมีความอดทน มีความเพียร ใชส้ ติปญั ญาในการดาเนิน
ชวี ติ

ดูคลิปเพิ่มเติมระบบเศรษฐกิจ

ขอบคณุ

# คาพอ่ สอน "Our loss is our gain" ขาดทนุ คือ กาไร

หลกั การ "ขาดทุน" คือ "กาไร" (Our loss is our gain) คือ การดาเนินงานทยี่ ึดผลสาเรจ็ แห่ง
ความ "ค้มุ ค่า" มากกว่า "คุ้มทนุ " คานงึ ถึงผลประโยชน์ของคนส่วนรวมมากกว่าผลสาเรจ็ ทเ่ี ปน็ ตัวเลขอัน
เปน็ ผลประโยชน์ของกล่มุ คนส่วนน้อย เลง็ เห็นผลทไ่ี ด้จากการลงทนุ เพ่อื ประโยชน์แก่คนส่วนใหญ่ อัน
ได้แก่ ความอยู่ดีมีสุขของประชาชนซง่ึ ตีค่าเปน็ ตัวเงนิ ไม่ได้ ซง่ึ ถ้าหากพิจารณาตามหลกั เศรษฐศาสตร์
แล้ว อาจจะถือวา่ เปน็ การลงทนุ ทข่ี าดทนุ หรอื ไม่ค้มุ ทนุ

***********************

26

1.3 แนวคิด ทฤษฎี นวัตกรรม ศาสตรพ์ ระราชาว่าด้วย ดิน นา้ ป่า คน

ศาสตรพ์ ระราชา หมายถึง พระราชดาร ิ (King Initiate) พระราชดารสั พระบรมราโชวาท
ท่ีได้มีการนาไปปฏิบัติ โดย มีการประยุกต์รว่ มกับวชิ าการด้านต่าง ๆ ท่ีมีลักษณะเป็นองค์รวมนามาใช้
รวมกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ( บรรพบุรุษท่านทาไว้ดีแล้ว) และ ได้นาไปสู่การทดลองปฏิบัติหลายครงั้ จน
ได้รบั ความผลสาเรจ็ ตามพระราชประสงค์ สามารถนาไปใชแ้ ก้ไขปัญหาด้านต่าง ๆ ได้ เชน่ โครงการ
พระราชดาร ิ และสรุปขนึ้ เปน็ หลักการกรอบในการปฏิบัติงาน ( หลักการทรงงาน ) และ ทฤษฎีใหม่ด้าน
ต่าง ๆ ตลอดจนแนวทางการพัฒนาที่เกิดเป็นรูปธรรมจนเป็นที่ประจักษ์แก่สาธารณะ ทั้งน้ี จาก
การศึกษาในเบื้องต้นพบว่า ศาสตรพ์ ระราชามีอยู่ด้วยกัน ๓ ด้าน ด้านการพัฒนามนุษย์ ด้านการพฒั นา
และบรหิ าร ด้านการอนุรกั ษ์และฟ้ ืนฟู (ท่ีมา ;จากภาพหน้าสุดทา้ ยในหนังสือพระราชนพิ นธพ์ ระมหาชนก)

๑) ศาสตรด์ ้านการพัฒนามนุษย์ เป็นด้านที่มีความสาคัญเป็นอันดับแรก โดยเรม่ ิ ด้วยการ
พัฒนาคนให้มีคุณธรรม แล้วให้มีทาหน้าท่ีในการสรา้ ง ให้เกิดความสมดุล ระหว่างการ อนุรกั ษ์ฟ้ ืนฟู
และการพัฒนาบรหิ าร โดยมีคุณธรรมความเพียรเปน็ พืน้ ฐาน

๒) ศาสตรด์ ้านการพัฒนาบรหิ าร เป็นทฤษฎีใหม่ด้านต่าง ๆ ได้แก่ ทฤษฎีด้านการพัฒนา
เศรษฐกิจใหม่ เศรษฐกิจพอเพียง “Sufficiency Economy” ทฤษฎีใหม่ด้านการเกษตร และทฤษฎี
ใหม่ด้านอื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้อง ภูมิสังคม การออกแบบภูมิสังคมโคก หนอง นา โมเดล กสิกรรมธรรมชาติ
การพัฒนาชุมชนแนวใหม่ การบรหิ ารจัดการแนวใหม่ การจัดการลุ่มน้าแบบมีส่วนรว่ ม มาตรฐาน
อุตสาหกรรมพอเพียง ฯลฯ

๓)ศาสตรด์ ้านการอนุรกั ษ์และฟ้ ืนฟู มีทฤษฎีใหม่ด้านการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ ดิน
นา้ ป่า ความหลากหลายทางชวี ภาพรวมถึงความหลากหลายทางชาติพันธ์ วฒั นธรรม ความเชอื่ ศาสนา
ภูมิปัญญา ที่แตกต่างกันไปตาม ภูมิ-สังคม เชน่ การแก้ปัญหาเรอ่ ื งดิน ใช้การห่มดิน แกล้งดิน ปลูก
แฝก อนุรกั ษ์ดินและนา้ ปา่ เก็บน้าไวใ้ นดิน แก้ลงิ ปลูกปา่ โดยไม่ต้องปลูก บ้านเลก็ ในปา่ ใหญ่ คนอยูป่ า่
ยงั อนุรกั ษ์พันธกุ รรมพืช ชา่ งสิบหมู่ ฯลฯ

เศรษฐกิจพอเพียง “Sufficiency Economy” เปน็ ทฤษฎีใหม่ด้านการพัฒนาและบรหิ าร
ท่ีมีคุณธรรมเป็นพ้ืนฐาน มีสถานะเป็นลัทธิเศรษฐกิจใหม่ของโลก “มีปรชั ญา (พอ) แนวคิดเป็นการ
พฒั นาทพ่ี ่งึ ตนเอง พงึ่ กันเองและแบง่ ปนั เปน็ ลทั ธเิ ศรษฐกิจใหม่ ทอี่ ยูร่ ะหวา่ งทา่ มกลางลัทธแิ ละทฤษฎี
เศรษฐศาสตรแ์ บบเก่าทั้งสามลัทธิ ได้แก่ เศรษฐกิจแบบหลังเขา ลัทธสิ ังคมนิยมคอมมิวนิสต์ และ
ลัทธเิ ศรษฐกิจเสร ี(ทนุ นิยม) ซงึ่ เศรษฐกิจพอเพยี งมี สองขัน้ คือ ขน้ั พน้ื ฐาน และ ขั้นก้าวหน้า

เกษตรทฤษฎีใหม่ หรอื ทฤษฎีใหม่ในการพัฒนาการเกษตร เป็นการนาเสนอทั้งแนวคิด
ใหม่ การพัฒนาทม่ี ีระดับการพัฒนาทเ่ี ปน็ ขน้ั เปน็ ตอน เปน็ ระบบการผลติ เกษตรแบบผสมผสานรปู แบบ
หนง่ึ มีลกั ษณะเปน็ เกษตรกรรมทางเลือกทมี่ ีความย่ังยืน ทง้ั เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรมและส่ิงแวดลอ้ ม
แต่มีลักษณะพิเศษทแ่ี ตกต่างกับระบบเกษตรกรรมย่ังยืนอื่น ๆ และจดั อยูใ่ น ทฤษฎีใหม่ขนั้ ท่ี ๑

สาหรบั เครอ่ ื งมือท่ีใชใ้ นการเกษตรทฤษฎีใหม่น้ัน มีทฤษฎีใหม่ท่ีเก่ียวข้องเป็นจานวนมาก
เชน่ ทฤษฎีด้านอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ ดิน น้า ป่า ความหลากหลายทางชวี ภาพ (ที่รวมถึงความ
หลากหลาย ทางวัฒนธรรม ชาติพันธ์ ลทั ธคิ วามเชอื่ ศาสนา) องค์ความรภู้ ูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน เปน็ ต้น

27

ทฤษฎีใหม่ด้านการอนุรกั ษ์และการฟ้ ืนฟูทรพั ยากรธรรมชาติ เชน่ ทฤษฎีการอนุรกั ษ์ ดิน น้า
ปา่ ความหลากหลายทางชวี ภาพ รวมทง้ั ทฤษฎีการบรหิ ารจดั การแนวใหม่ด้านต่างๆ ซง่ึ เปน็ ศาสตรข์ อง
พระราชาภูมิปญั ญาของแผ่นดิน

ทฤษฎีใหม่เกี่ยวกับอนุรกั ษ์ดิน

วชิ ชาท่ีว่าด้วยการ“คืนชวี ติ ให้แผ่นดิน” เชน่ หลักกสิกรรมธรรมชาติ (หยุดฆ่า ไม่ปอกเปลือก
เปลือยดิน ให้ห่มดิน ใชจ้ ุลินทรยี ์ คืนชวี ติ ให้แผ่นดิน จดั การแมลงด้วยระบบนิเวศน์ ใชส้ มุนไพรในการ
จัดการแมลงและเป็นฮอรโ์ มน ใชป้ ุ๋ยอินทรยี ์ชวี ภาพ ฯลฯ ความอุดมสมบูรณ์ของดินวัดกันที่ ฮิวมัส
(ซากพืชซากสัตว์) และอินทรยี วัตถุ ท่ีถูกย่อยสลายโดยจุลินทรยี ์ แทนการใช้ปัจจัยการผลิตจาก
ภายนอก เชน่ ปุย๋ เคมี สารเคมีกาจดั ศัตรูพืช ตลอดจนการแก้ไขปัญหาเก่ียวกับดิน เชน่ การแกล้งดิน
และ การห่มดิน เปน็ ต้น

พระราชดารเิ รอ่ ื ง "ดิน"

"มีความเดือดรอ้ นอย่างยิ่งว่าประชาชนในเมืองไทยจะไรท้ ่ีดิน และถ้าไรท้ ่ีดินแล้วก็จะทางาน
เปน็ ทาสเขา ซง่ึ เราไม่ปรารถนาท่ีจะให้ประชาชนเป็นทาสคนอ่ืน แต่ถ้าเราสามารถที่จะขจดั ปญั หานี้ โดย
เอาทีด่ ินจาแนกจดั สรรอย่างยุติธรรม อย่างมีการจดั ตั้งจะเรยี กว่านิคม หรอื จะเรยี กว่าหมู่หรอื กล่มุ หรอื
สหกรณ์ก็ตาม ก็จะทาให้คนท่ีมีชีวติ แรน้ แค้นสามารถท่ีจะพัฒนาตัวเองขึ้นมาได้" พระราชดารสั ไว้ ณ
สานักงาน กปร. ในปี พ.ศ. 2531

จากจุดเรม่ ิ ต้นของพระเมตตา ท่ีจะเห็นประชาชนมีที่ดินทากิน มีผลผลิตเป็นอาหารเพียงพอต่อ
การดารงชพี ก่อให้เกิดโครงการพระราชดารติ ่างๆ เพื่อแก้ไขปญั หาในมิติ "ดิน" ดังนี้

1. การแก้ปัญหาขาดแคลนท่ดี ินทากินของเกษตรกร

ปญั หาการขาดแคลนท่ีดินทากินของเกษตรกร เป็นปัญหาสาคัญยิ่งในชว่ ง 4 ทศวรรษที่ผ่าน
มา งานจัดและพัฒนาที่ดินเป็นงานแรกๆ ท่ีพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวทรงให้ความสาคัญ ทรงเรม่ ิ
โครงการพัฒนาทดี่ ินหุบกะพง ตามพระราชประสงค์ เม่ือปี พ.ศ 2511 โดยมุ่งแก้ไขปญั หาการไม่มีทดี่ ิน
ทากินของเกษตรกรเปน็ สาคัญ

พระราชดารแิ นวทางหนง่ึ ในการแก้ไขปัญหาเรอ่ ื งดิน คือ ทรงนาเอาวธิ กี ารปฏิรูปทดี่ ินมาใชใ้ น
การจัดและพัฒนาท่ีดินที่เป็นป่าเส่ือมโทรม รกรา้ ง ว่างเปล่า นามาจัดสรรให้เกษตรกรท่ีไร้ท่ีทากินได้
ประกอบอาชพี ในรูปของหมู่บ้านสหกรณ์ และโครงการจัดและพัฒนาท่ีดินในรูปแบบอ่ืนๆ ท้ังน้ีโดยให้
สิทธทิ ากินชวั่ ลูกชวั่ หลาน แต่ไม่ให้กรรมสิทธใิ์ นการถือครอง พรอ้ มกับจัดบรกิ ารพื้นฐานให้ตามความ
เหมาะสม นอกจากนี้ยังมีการจัดพ้ืนท่ีทากินให้ราษฎรชาวไทยภูเขา สามารถดารงชพี อยู่ได้เป็นหลัก
แหล่ง โดยไม่ต้องทาลายปา่ อีกต่อไป

2. การอนุรกั ษ์และฟ้ ืนฟูดิน

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระทัยและให้ความสาคัญมากข้ึนในงานอนุรกั ษ์และ
ฟ้ ืนฟูดิน ที่มีสภาพธรรมชาติและปัญหาท่ีแตกต่างกันไปในแต่ละภูมิภาค โดยเขียนไว้ในเอกสาร
พระราชทานว่า “ดินทีเ่ หมาะสมสาหรบั การเกษตรกรรม ต้องมีคุณสมบัติต่างๆ ดังนี้ มีแรธ่ าตุที่เรยี กว่า
ปุย๋ ส่วนประกอบสาคัญ คือ 1) N(nitrogen) ในรูป nitrate 2) P(phosphorus) ในรปู phosphate

28

3) K (potassium) และแรธ่ าตุ อื่นๆ O H Mg Fe มีระดับ เปรย้ ี ว ด่าง ใกล้เป็นกลาง (pH 7) มีความ
เค็มต่า มีจุลินทรยี ์ มีความช้ืนพอเหมาะ (ไม่แห้ง ไม่แฉะ) มีความโปรง่ พอเหมาะ (ไม่แข็ง) ” จึงมี
พระราชดารใิ นการแก้ไขปัญหาท่ีดินท่ีเน้นเฉพาะเรอ่ ื งมากข้ึน เชน่ การศึกษาวจิ ยั เพื่อแก้ไขปัญหาดิน
เค็ม ดินเปรย้ ี ว ดินทราย ในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปัญหาดินพรุในภาคใต้ และท่ีดิน
ชายฝ่ ังทะเล รวมถึงการแก้ไขปรบั ปรุงและฟ้ ืนฟูดินท่ีเสื่อมโทรมพังทลายจากการชะล้างหน้าดิน
ตล อ ดจ น กา รท าแ ปล งส า ธิตก ารพั ฒ นา ที่ดิ นเพื่ อ ก ารเกษ ต รก รรม ในพื้ น ท่ี ท่ีมี ปัญ ห า ดิ น เสื่ อ ม โท ร ม
เพอื่ ให้พื้นทที่ มี่ ีปญั หาเรอ่ ื งดินจากหลายๆ สาเหตุ กลับมาใชป้ ระโยชน์ทางการเกษตรได้อีก

ดังนั้น โครงการต่างๆ ในระยะหลัง จงึ เป็นการรวบรวมความรูท้ ั้งทางทฤษฎีและปฏิบัติจาก
หลากหลายสาขา มาใชร้ ว่ มกันในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ และทปี่ รากฏให้เห็นได้อย่างชดั เจนก็
คือ แนวคิดและตัวอยา่ งการจดั การทรพั ยากรดินในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาร ิ6
แห่ง ท่ีทรงมีพระราชดารใิ ห้จัดตั้งข้ึนเพ่ือทาการศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับการอนุรกั ษ์ดินและน้า เป็น
ตัวอย่างในการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน การขยายพันธุพ์ ืชเพื่ออนุรกั ษ์ดินและบารุงดิน และ
สนับสนนุ ให้เกษตรกรเรยี นรเู้ ขา้ ใจวธิ กี ารอนุรกั ษ์ดินและน้า การปรบั ปรงุ บารงุ ดิน สามารถนาไปปฏิบัติ
ได้เอง ทรงมีพระราชดารวิ ่า “การปรบั ปรุงท่ดี ินนั้นต้องอนุรกั ษ์ผิวดิน ซง่ึ มีความสมบูรณ์ไว้ไม่ให้ไถ หรอื
ลอกหน้าดินทง้ิ ไป สงวนไม้ยนื ต้น ทย่ี ังเหลอื อยู่ เพื่อทจี่ ะรกั ษาความชุม่ ชน่ื ของผืนดิน”

แนวพ ระราชดารใิ นด้ านการอนุ รักษ์ แ ละฟ้ ื นฟู ดิ น ที่สาคัญ แ บ่งเป็น 4 ส่ วน คือ 1)
แบบจาลองการพฒั นาพ้ืนทท่ี มี่ ีสภาพขาดความสมบูรณ์ ดินปนทราย และปญั หาการชะลา้ งพังทลาย 2)
การแก้ปญั หาดินเปรย้ ี ว โดยทฤษฎีแกลง้ ดิน 3) การอนุรกั ษ์ดินโดยหญา้ แฝก 4) การห่มดิน

2.1 แบบจาลองการฟ้ ืนฟูบารุงดินทม่ี ีสภาพขาดความสมบูรณ์ ดินปนทราย และ
ปัญหาการชะลา้ งพังทลาย

พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้จัดต้ัง ศูนย์ศึกษาการพัฒนา
อันเน่ืองมาจากพระราชดาร ิ 6 แห่งทวั่ ประเทศ รวมทงั้ พระราชทานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาร ิ
เพื่อเป็นแหล่งศึกษาวจิ ัยการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นท่ี ท่ีมีสภาพปัญหาต่างกันตามภูมิสังคม
ตลอดจนเปน็ แหล่งศึกษาดูงานและนาความรไู้ ปปรบั ใชต้ ามสภาพปญั หาพ้นื ท่ี

2.2 การแก้ปญั หาดินเปรย้ ี วด้วย “ทฤษฎีแกล้งดิน”

ดินเปรย้ ี วหรอื ดินพรุ เป็นสภาพธรรมชาติของดินทเี่ กิดจากอินทรยี วัตถุสะสมจานวนมาก
เป็นเวลานานจนแปรสภาพเปน็ ดินอินทรยี ์ทมี่ ีความเปน็ กรดกามะถันสูง เม่ือดินแห้งกรดกามะถันจะทา
ปฏิกิรยิ ากับอากาศ ทาให้แปรสภาพเปน็ ดินเปรย้ ี วจดั ทาการเกษตรได้ผลน้อยไม่ค้มุ ทุน พบมากในภาค
ตะวนั ออกและภาคใต้ และบรเิ วณทรี่ าบลุ่มชายฝ่ ังทะเล ในการแก้ปญั หาดินเปรย้ ี ว พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานแนวพระราชดาร ิ “แกล้งดิน” โดยศูนย์ศึกษาการพัฒ นาพิกุลทองฯ
ดาเนินการสนองพระราชดารโิ ครงการแกล้งดิน เพ่ือศึกษาการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรดของดิน เรม่ ิ
จากวธิ กี ารแกล้งดินให้เปรย้ ี ว ด้วยการทาให้ดินแห้งและเปียกสลับกันไปเพ่ือเรง่ ปฏิกิรยิ าทางเคมีของ
ดิน ซึ่งจะไปกระตุ้นให้สารไพไรต์ (Pyrite หรอื FeS2) ทาปฏิกิรยิ ากับออกซิเจน (O2) ในอากาศ
ปลดปล่อยกรดกามะถัน (sulphuric Acid) ออกมา ทาให้ดินเปน็ กรดจดั จนถึงข้ัน “แกล้งดินให้เปรย้ ี ว
สุดขีด” จนกระทั่งถึงจุดที่พืชไม่สามารถเจรญิ งอกงามได้ จากน้ันจึงหาวธิ กี ารปรบั ปรุงดินดังกล่าวให้
สามารถปลกู พชื ได้

29

วธิ กี ารแก้ไขปัญหาดินเปรย้ ี วจดั ตามแนวพระราชดาร ิ

1. ควบคมุ ระดับน้าใต้ดิน เพือ่ ปอ้ งกันการเกิดกรดกามะถัน จงึ ต้องควบคุมน้าใต้ดินให้อยูเ่ หนือชั้น
ดินเลนทมี่ ีสารไพไรต์อยู่ เพื่อไม่ให้สารไพไรต์ทาปฏิกิรยิ ากับออกซเิ จนหรอื ถกู ออกซไิ ดซ์ (Oxidization)

2. การปรบั ปรงุ ดินมี 3 วธิ กี าร ตามสภาพของดินและความเหมาะสม ได้แก่
- ใชน้ ้าชะล้างความเป็นกรด ดินจะเปรย้ ี วจดั ในชว่ งดินแห้งหรอื ในฤดูแห้ง ดังนั้นการชะล้างควร
เรม่ ิ ในฤดูฝนเพ่อื ลดปรมิ าณการใชน้ ้าชลประทาน การใชน้ ้าชะลา้ งความเปน็ กรดต้องกระทาต่อเนื่องและ
ต้องหวังผลในระยะยาว มิใชก่ ระทาเพียง 1 หรอื 2 ครง้ั เท่าน้ัน วธิ นี ้ีเป็นวธิ ที ่งี ่ายท่สี ุด แต่จาเปน็ ต้ องมี
น้ามากพอทจ่ี ะใชช้ ะล้างดินควบค่ไู ปกับการควบคมุ ระดับนา้ ใต้ดิน ให้อยูเ่ หนือชนั้ ดินเลนทม่ี ีสารประกอบ
ไพไรต์มาก เมื่อดินคลายความเปรย้ ี วลงแล้วจะมีค่า pH เพิ่มข้ึน อีกทั้งสารละลายเหล็กและอลูมินัมที่
เป็นพิษก็เจอื จางลงจนทาให้พืชสามารถ เจรญิ เติบโตได้ดี ถ้าหากใชป้ ุ๋ยไนโตรเจนและฟอสเฟตชว่ ย ก็
สามารถเจรญิ เติบโตได้ดี ถ้าหากใชป้ ุย๋ ในโตรเจนและฟอสเฟตชว่ ยก็สามารถทาการเกษตรได้
- ใชป้ ูนผสมคลุกเคล้ากับหน้าดิน ปูนท่ีหาได้ง่ายในท้องท่ี เชน่ ใช้ปูนมารล์ (mar) สาหรบั ภาค
กลาง หรอื ปูนฝุ่น ( lime dust ) สาหรบั ภาคใต้ หวา่ นให้ทวั่ 1-4 ตันต่อไรแ่ ลว้ ไถแปรหรอื พลิกกลบคืน
ข้อควรจาคือ ไม่มีสูตรตายตัว โดยปรมิ าณของปูนทใี่ ชข้ นึ้ อยูก่ ับ
- การใชป้ ูนควบคู่ไปกับการใชน้ ้าชะล้างและควบคุมระดับน้าใต้ดิน เป็นวธิ กี ารทีส่ มบูรณ์ที่สุดและ
ใชไ้ ด้ผลมา ในพื้นท่ีซงึ่ ดินเป็นกรดจดั รุนแรงและถูกปล่อยทิ้งเปน็ เวลานาน โดยเรม่ ิ จากหว่านปูนให้ท่ัว
พนื้ ท่ี ใชป้ ูน 1-2 ตันต่อไร่ แล้วไถกลบ จากน้ันใชน้ ้าชะล้างความเปน็ กรดออกจากหน้าดิน และควบคุม
น้าใต้ดินให้อยู่เหนือชน้ั ดินเลนที่มีสารประกอบไพไรต์มากเพื่อป้องกันไม่ให้ทาปฏิกิรยิ ากับออกซิเจน
เพราะจะทาดินกลายเปน็ กรด
3. การปรบั สภาพพ้ืนทมี่ ีอยู่ 2 วธิ ี ได้แก่
- การปรบั ผิวหน้าดิน โดยการทาให้ผิวหน้าดินลาดเอียงเพื่อให้น้าไหลออกไปสู่คลองระบายน้าได้
หรอื ถ้าเป็นการทานาก็จดั ตกแต่งแปลงนาและคันนา ให้สามารถเก็บกักน้าและสามารถระบายน้าออก
ได้ถ้าต้องการ
- การยกรอ่ งปลูกพืช วธิ นี ้ีใชส้ าหรบั พ้ืนที่ทจี่ ะทาการปลูกพืชไร่ พืชผัก ไม้ผลหรอื ไม้ยืนต้น แต่วธิ นี ้ี
จาเปน็ จะต้องมีแหล่งน้าชลประทาน เพราะจะต้องขังน้าไวใ้ นรอ่ งเพอ่ื ใชถ้ ่ายเทเปลย่ี น เม่ือนา้ ในรอ่ งเป็น
กรดจดั ในการขุดรอ่ งนี้ เกษตรกรจะต้องทราบว่าในพ้ืนท่ีน้ันมีดินชนั้ เลนซง่ึ เป็นดินท่ีมีสารประกอบไพ
ไรต์มากอยู่ลึกในระดับใด เพราะเมื่อขุดรอ่ งจะให้ลึกเพียงระดับดินเลนนั้น โดยทัว่ ไปจะลึกไม่เกิน 100
เซนติเมตร

3 การอนุรกั ษ์ดินด้วยหญ้าแฝก

พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว ได้พระราชทานพระราชดารเิ ก่ียวกับการพฒั นาและรณรงค์การใช้
หญ้าแฝก ครง้ั แรกเมื่อวันท่ี 22 มิถุนายน 2534 ทรงตรสั ว่าหญ้าแฝกเป็นหญ้าของไทยสามารถใช้
อนุรกั ษ์ดินและน้าได้ดี ป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน ในขณะน้ันยังไม่มีใครรูจ้ กั หญ้าแฝก สมเด็จ
พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี เป็นพระองค์แรกทท่ี าการทดลองเล้ียงและปลูกหญ้าแฝกเป็นจานวน 1
ลา้ นถุงแรกทด่ี อยตุง หลายหน่วยงานพยายามค้นหาหญ้าแฝกตามสถานที่ต่างๆ แต่ก็ล้มเหลว จนต้อง
เชญิ ดร.เต็ม สมิตินันท์ ปรมาจารย์ทางด้านพฤกษศาสตร์ ทา่ นก็ไปชว่ ยหาหญ้าแฝกทวั่ ประเทศ

30

ในท่ีสุดก็เจอหญ้าแฝกท่ีเพชรบุร ี เป็นหญ้าแฝกที่มีกอใหญ่มาก จากน้ันก็เรม่ ิ รวบรวมหญ้าแฝก กรม
พัฒนาท่ีดินเป็นหน่วยงานแรกที่ทาการรวบรวมหญ้าแฝก โดยรวบรวมมาจากหลายจังหวัด ขณะน้ี
สามารถรวบรวมสายพันธุข์ องหญ้าแฝกได้กว่า 100 สายพันธุ์ ถ้าพบทสี่ งขลาเรยี กว่าสายพันธุส์ งขลา
พบทก่ี าแพงเพชรเรยี กว่าสายพนั ธุก์ าแพงเพชร พบทอี่ ุดรก็เรยี ดวา่ สายพันธุอ์ ุดร จากการสารวจพบว่ามี
กระจายอยู่ทวั่ ประเทศ กรมพฒั นาทด่ี ินได้นาเอาหญ้าแฝกมาปอ้ งกันการชะล้างพังทลายหน้าดินตามลา
คลอง อ่างเก็บน้า หญ้าแฝกชว่ ยกรองทาให้น้าใส

ทมี่ า :จากการบรรยาย ดร.วรี ะชยั ณ นคร 27 สิงหาคม 2553 ในการเสวนา “เกษตรยงั่ ยนื ฟ้ ืนฟู
ภูมิปญั ญา พัฒนาสู่สากล” ในงาน ทกั ษิณวชิ าการ-เกษตรแฟร์ ครง้ั ที่ 6 และงานนิทรรศการปดิ ทองหลัง
พระฯ)

4. การห่มดิน

พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวฯ ทรงพระราชทานแนวพระราชดารใิ นการดูแลและรกั ษาดิน
อีกทางหนึ่ง น่ันคือ “การห่มดิน” เพ่อื ให้ดินมีความชุม่ ชน้ื จุลินทรยี ์ทางานได้ดี อันจะส่งผลให้ดินบรเิ วณ
น้ันทาการเกษตรได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ปอ้ งกันการชะล้างพังทลายของดินและพัฒนาทรพั ยากรดินให้
เกิดแรธ่ าตุ ทั้งน้ีการห่มดินมีอยู่ด้วยกันหลายวธิ ีการ เชน่ ใชฟ้ างและเศษใบไม้มาห่มดินหรอื วัสดุอื่น
ตามทห่ี าได้ตามสภาพทว่ั ไปของพ้ืนที่, การใชพ้ รมใยปาลม์ (wee drop) ซงึ่ ทามาจากปาลม์ ทผี่ ่านการรดี
นา้ มันแล้ว เรม่ ิ จากการนาทะลายปาลม์ มาตะกุยให้เปน็ เส้น ๆ ก่อนจะเอาไปอัดให้เปน็ แผ่นเปน็ ผ้าห่มดิน
นอกจากประโยชน์ท่กี ล่าวไปแลว้ การห่มดินยังจะชว่ ยคลุมหน้าดินไม่ให้วัชพืชข้ึนรบกวนต้นไม้/พืชหลัก
อีกด้วย

ขอบคณุ https://www.youtube.com/watch?v=ntjhcCZywEs

31

ทฤษฎีการอนุรกั ษ์และฟ้ ืนฟูทรพั ยากรนา้

๑) ศาสตรด์ ้าน
การจัดการความแห้งแล้ง ด้วย
การทาฝนเทียม ซง่ึ ไม่เคยมีมา
ก่อน ในโลก

๒) เก็บรกั ษานา้
ตามภูมิปญั ญาของแผ่นดิน

๒ .๑ ) ด้ ว ย
การสรา้ งฝาย เพื่อสรา้ งความ
ชุม่ ช้ืน เพื่ออนุรกั ษ์ ดิน น้า ป่า
เป็นลักษณะฝายขนาดเล็ก กัก
น้าและความช้ืนให้กระจายตัว
ในผืนดิน สรา้ งความชุ่มช้ืนแก่
ป่า มีความแตกต่างจากทฤษฎี
การจัดการน้าในอดีตซ่ึงใชก้ าร
ก้ั น เขื่ อ น ข น าด ให ญ่ อ่ างน้ า
แหล่งนา้ ชุมชน เปน็ หลกั

๒ .๒ ) ด้ ว ย
การทาแก้มลิง เพื่อกักเก็บน้า
ในขณ ะที่มีน้ามากป้องกันน้า
ทว่ มและเก็บนา้ ในฤดูแลง้

๒ .๓ ) ก า ร
ป ลู ก แ ฝ ก เก็ บ น้ า ไว้ ใ น ดิ น
อนุรกั ษ์ ดิน น้า และ ป่า และ
ความหลากหลายทางชวี ภาพไป
พ ร้อ ม กั น ส นั บ ส นุ น ก า ร ท า
การเกษ ตร เพื่ อป้องกันการ
พงั ทลายของดิน ฯลฯ

๒.๔) เก็บน้า
ไวใ้ นดิน ระบบนิเวศปา่ ไม้เม่ือมี
ป่ า ท่ี ส ม บู รณ์ ร า ก ต้ น ไม้ ท า
หน้าท่ีคล้ายฟองน้าจะกักเก็บ
น้ าท่ี ซึม ผ่ าน ไว้ใน ดิ น แ ละจ ะ
ค่อยๆ ไหลออกมาใชไ้ ด้ตลอดปี หรอื ซมึ ลงไปเก็บไว้ในแหล่งนา้ ใต้ดิน

32
ขอบคุณ https://www.youtube.com/watch?v=FJMfFaTvrUs การจดั การนา้ 8 วธิ ี แก้ปญั หาภัยแล้ง

ขอบคุณ

การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ “จากนภา ผ่านภูผา สู่มหานที”

ฝนหลวง

เกิดขึน้ เมื่อคราวทพี่ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว รชั กาลท่ี 9 เสด็จพระราช
ดาเนินไปทรงเย่ียมราษฎรในพน้ื ทภี่ าคตะวันออกเฉียงเหนือ ทรงสังเกตว่ามี
เมฆปรมิ าณมากแต่ไม่สามารถรวมตัวก่อเปน็ ฝนได้เปน็ สาเหตุของฝนทง้ิ ชว่ ง
จนเกิดความแห้งแลง้ จงึ ได้พระราชทานแนวคิดในการทาฝนหลวง และทรง
ทมุ่ เทใช้ เวลาถึง 14 ปี ในการค้นควา้ วจิ ยั และทดลอง จนเกิดความสาเรจ็
ในปี 2512 ชว่ ยให้ประเทศชาติรอดพน้ วกิ ฤติภัยแล้งมาได้จนถึงปจั จุบัน

33

• แนวพระราชดารดิ ้านปา่ ไม้
- ปลูกปา่ โดยไม่ต้องปลูก

ปล่อยพืน้ ท่ีปา่ น้ันไวต้ รงน้ัน
ไม่ต้องไปทาอะไร ปา่ จะ
เจรญิ เติบโตเปน็ ปา่ สมบูรณ์
โดยไม่ต้องปลกู

- ปลกู ปา่ ในทสี่ ูง ใชไ้ ม้
จาพวกทมี่ ีเมล็ดข้ึนไปปลกู
บนยอดสูง เม่ือโตแลว้ ออก
ฝักออกเมลด็ ก็จะลอยตกลง
มาแล้วงอกเองในทต่ี า่ ต่อไป
เปน็ การขยายพนั ธโุ์ ดย
ธรรมชาติ

- การปลูกปา่ ทดแทน จะต้องทาอย่างมีแผนโดยการดาเนินการไปพรอ้ มกับการพฒั นาชาวเขา โดย
เจา้ หน้าทปี่ า่ ไม้ ชลประทาน และฝา่ ยเกษตร ต้องรว่ มมือกันวางแผนปรบั ปรงุ ต้นนา้ และพฒั นาอาชพี ได้
อยา่ งถกู ต้อง

- ปา่ 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อย่าง ปลกู ปา่ 3 อย่าง คือ ปา่ ไม้ใชส้ อย ได้แก่ ไม้โตเรว็ สาหรบั ใชใ้ น
ครวั เรอื น ปา่ ไม้กินได้ คือไม้ผล และปา่ ไม้เศรษฐกิจ คือไม้ทปี่ ลูกไวข้ าย และได้ประโยชน์อยา่ งที่ 4 คือ
ชว่ ยอนรุ กั ษ์ดินและนา้

- ปา่ เปยี ก ทฤษฎีการฟ้ ืนฟปู า่ ไม้โดยสรา้ งแนวส่งนา้ หรอื แนวพชื อุ้มนา้ เพื่อให้ดินเกิดความชุม่ ชน้ื ให้
ปา่ เขยี วสดจงึ ชว่ ยลดปญั หาไฟปา่

- ภเู ขาปา่ ทฤษฎีการฟ้ ืนฟูปา่ โดยการส่งน้าข้ึนไปยงั จุดทสี่ ูงทสี่ ุดและกระจายน้าให้หล่อเลย้ี งกลา้ ไม้
อ่อนทป่ี ลูกทดแทนไวใ้ ห้เติบโตเปน็ ภูเขาปา่ ทส่ี มบูรณ์

• ฝาย

ในหลวง รชั กาลที่ 9 ได้พระราชทาน
พระราชดารใิ นปี พ.ศ.2521 โดยสรา้ งฝาย
จากวสั ดุทหี่ างา่ ยในทอ้ งถิ่น เชน่ หิน กรวด
ไม้ไผ่ ขวางกั้นลาธารหรอื ทางเดินของน้าท่ี
เปน็ ต้นน้าหรอื มีความลาดชนั สูง จะชว่ ย
ชะลอการไหลของนา้ ให้ชา้ ลง เปน็ หนทาง
แห่งการฟ้ ืนฟูปา่ หยุดไฟปา่ สรา้ งความ
สมดุลให้ระบบนิเวศ และเปน็ แหลง่ นา้
สาหรบั การอุปโภค บรโิ ภค รวมถึง
การเกษตร ถือเปน็ วธิ ที ดี่ ี ง่าย และเหมาะสม ในการดูแลและฟ้ ืนฟูทรพั ยากรธรรมชาติ

34

• เขอื่ น

พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัวภูมิพลอดุลยเดช
ทรงให้ความสนพระราชหฤทยั ในการชลประทาน
หรอื การพฒั นาแหล่งนา้ เปน็ อย่างมาก เพราะทรง
ตระหนักดีว่า “นา้ คือชวี ติ ”

การสรา้ งเขอ่ื นในพนื้ ทท่ี ่ี เหมาะสม ไม่เพยี งแต่
จะชว่ ยแก้ไขปญั หาการขาดแคลนนา้
ซงึ่ อานวยประโยชน์ต่อพ้นื ทเ่ี พาะปลูก ยงั สามารถ
บรรเทาอุทกภัยหรอื ปญั หานา้ ทว่ มได้อีกด้วย

• อ่างเก็บน้า

อ่างเก็บน้า เปน็ แหล่งน้าผิวดินประเภทหนึง่ ที่
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว รชั กาลท่ี 9
พระราชทานพระราชดารเิ พื่อแก้ปญั หาการขาด
แคลนนา้ ในทอ้ งถิ่นทรุ กันดารและแห้งแล้ง ให้
ราษฎรได้มีนา้ สาหรบั อุปโภค บรโิ ภค และเพอ่ื
ใชใ้ นการเกษตร ซงึ่ อ่างเก็บน้าสามารถเก็บ
รกั ษานา้ ทมี่ ีตามธรรมชาติในฤดูฝนไว้
ให้เพยี งพอใชไ้ ด้ตลอดทง้ั ปี

• แฝก

ในปี 2534 พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว รชั กาลท่ี 9 ทรงมีพระราชดารเิ ปน็ ครงั้ แรกให้
หน่วยงานต่าง ๆ ทาการศึกษา ทดลอง และดาเนินการปลกู หญ้าแฝก ซงึ่ เปน็ ประโยชน์
อยา่ งยง่ิ แก่การอนุรกั ษ์ดินและน้า เพราะมีรากทหี่ ยัง่ ลกึ แผ่กระจายลงไปตรง ๆ ทาให้
อุ้มน้าและยดึ เหนี่ยวดินได้ม่ันคง ลดการพังทลายของ ดิน อีกท้งั มีลาต้นชดิ ติดกันแน่น
หนาจงึ ชว่ ยดักตะกอนดินและรกั ษาหน้าดินได้เปน็ อย่างดี

35

• แก้มลิง

แนวพระราชดารขิ องในหลวง รชั กาลท่ี 9 ทรงตระหนักถึงความรุนแรงของน้าท่วมท่ีเกิดข้ึนใน
กรุงเทพมหานคร เมื่อปี พ.ศ.2538 โดยให้จัดหาสถานที่เก็บกักน้าตามจุดต่างๆ เพ่ือรองรบั น้าฝนไว้
ชวั่ คราว เม่ือถึงเวลาท่คี ลองพอจะระบายน้าได้จึงค่อยระบายน้าจากส่วนที่กักเก็บไว้ออกไป จงึ สามารถ
ชว่ ยลดปัญหาน้าทว่ ม โดยทรงได้แนวคิดจากการทลี่ ิงอมกล้วยไว้ในกระพุ้งแก้มคราวละมาก ๆ จากน้ัน
จะค่อย ๆ นาออกมาเค้ียวและกลนื กินภายหลัง

• กังหันนา้ ชยั พัฒนา

ส่ิงประดิษฐข์ องในหลวง รชั กาลที่ 9 เพอ่ื บาบัดน้าเสียด้วยการเติมออกซเิ จนลงไปในน้า สามารถแก้ไข
ความเสื่อมโทรมของสภาพน้าได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ และได้รบั การจดสิทธบิ ัตรในพระปรมาภิไธย ของ
พระมหากษัตรยิ ์พระองค์แรกของไทยและครงั้ แรกของโลก ปจั จุบนั กังหันนา้ ชยั พฒั นาได้มีการติดต้ัง
ไม่เฉพาะในประเทศไทยเทา่ นั้น แต่ได้มีการขอนาไปใชง้ านในประเทศเบลเยียม อินเดีย และอังกฤษ
ด้วย

36

• น้าดีไลน่ า้ เสีย

ต าม แ น ว พ ระราช ด า รขิ อ ง
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว
รัช ก า ล ที่ 9 ใ น ก า ร ใ ช้ น้ า
คุ ณ ภ า พ ดี ม าช่วย บ รร เท า น้ า
เน่าเสีย โดยให้น้าดีผลักดัน
น้าเน่าเสียออกไปและชว่ ยให้
น้าเน่าเสียมีสภาพเจือจางลง
โดยใชห้ ลักการตาม ธรรมชาติ
แ ห่ ง แ ร ง โ น้ ม ถ่ ว ง โ ล ก
(Gravity Flow) ค ว บ คู่ กั บ
การบรหิ ารจดั การ ทงั้ นี้โดยรบั
น้าจากแม่น้า เจ้าพระยาหรอื
จากแหล่งน้าภายนอกส่งไปตามคลองต่างๆ ซงึ่ กระแสน้าจะไหลแผ่กระจายขยายไป ตามคลองซอยที่
เชอื่ มกับแม่น้าเจ้าพระยาอีกด้านหนึง่ เม่ือน้าสามารถไหลเวยี นไปตามลาคลองได้ตลอด ย่อมสามารถ
เจอื จางน้าเน่าเสียและชกั พาสิ่งโสโครกออกไป เป็นวธิ กี ารชว่ ยบรรเทาน้าเน่าเสียในคลอง ต่างๆ ในชว่ ง
ฤดูแล้งได้เปน็ อย่างดี

• แกลง้ ดิน

แ นวพ ระราชดาร ิ
ของในหลวง รชั กาลที่ 9
ที่ได้ พ ระราชท าน ใน ปี
2527 ณ ศู น ย์ ศึ ก ษ า
การพัฒนาพิกุลทอง อัน
เนื่องมาจากพระราชดาร ิ
จังหวัดนราธิวาส เพื่ อ
แก้ไขปัญหาดินเปรย้ ี ว
หรอื ดินเป็นกรด อันเกิด
จากการ ตกตะกอนของ
น้าทะเลหรอื ตะกอนน้า
กรอ่ ย ที่มีสารประกอบ
ของกามะถันซงึ่ จะถูกเปล่ียนเป็นกรด กามะถันตามกระบวนการธรรมชาติและสะสมในชน้ั หน้าดิน โดย
ดินท่ีมีความเป็นกรดสูง ความอุดม สมบูรณ์จะต่า ขาดธาตุอาหารทจี่ าเป็นต่อการเจรญิ เติบโตของพืช
อย่างรุนแรง โดยวธิ กี ารแก้ไขคือ ให้ขังน้า ไว้ในพ้ืนท่ีที่มีปัญหา จนกระท่ังเกิดปฏิกิรยิ าเคมีทาให้ดิน
เปรย้ ี วจัดจนถึงที่สุดจึงระบายน้าออกและปรบั สภาพฟ้ ืนฟูดินด้วยปูนขาว จนกระท่ังดินมีสภาพดี
พอทจี่ ะใชใ้ นการเพาะปลูกได้

37

• ทฤษฎีใหม่

การทาการเกษตรในพ้ืนทข่ี นาดเล็ก ประมาณ 15 ไร่ ด้วยการแบง่ พืน้ ทอี่ อกเปน็ 4 ส่วน
ประกอบด้วย นา ข้าว 30% สระนา้ 30% พชื ไรพ่ ืชสวน 30% อีก 10% สาหรบั สรา้ งบ้าน-เลยี้ งสัตว์ ซง่ึ
หากดาเนินการ ดังน้ี เกษตรกรจะสามารถเลี้ยงตัวเองได้ และมีน้าใชเ้ พ่ือการเพาะปลูกตลอดทงั้ ปี โดย
พระบาทสมเด็จพระ เจา้ อยู่หัว รชั กาลท่ี 9 ทรงศึกษาและทดลองเก่ียวกับทฤษฎีใหม่ ณ โครงการ
พัฒนาพืน้ ท่บี รเิ วณวดั มงคล ชยั พัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดาร ิจงั หวดั สระบุร ีซงึ่ ถือเปน็ สถานท่ี
เรยี นรดู้ ้าน “ทฤษฎีใหม่” แห่งแรก ของประเทศไทย

• แหลมผักเบี้ย

พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว รชั กาลที่ 9 ได้พระราชทานพระราชดารใิ นการแก้ไขปญั หาน้าเน่าเสียของ
ชุมชนเมือง โดยทรงให้ศึกษาทดลองด้วยวธิ ธี รรมชาติ ณ โครงการศึกษาวจิ ยั และพฒั นาส่ิงแวดลอ้ ม
แหลมผักเบีย้ อันเนื่องมาจากพระราชดาร ิจงั หวดั เพชรบุร ีโดยดาเนินการทง้ั การแก้ปญั หานา้ เน่าเสีย
และการกาจดั ขยะ ด้วย 4 ระบบ คือ ระบบบอ่ บาบัดน้าเสีย ระบบพชื และหญ้ากรองนา้ เสีย ระบบพน้ื ท่ี
ชุม่ น้าเทยี ม และระบบแปลงพชื ปา่ ชายเลน ซงึ่ เปน็ การแก้ไขปญั หาด้วยวธิ ธี รรมชาติชว่ ยธรรมชาติ สรา้ ง
สมดุลให้เกิดแก่ระบบนิเวศ มีการเพ่มิ ข้นึ ของพ้นื ทป่ี า่ ชายเลน สัตวน์ า้ และนกนานาชนิด

38

• ปา่ ชายเลน

ทผ่ี ่านมาปา่ ชายเลนได้ถูกทาลายไปเปน็ จานวนมาก พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว รชั กาลท่ี 9 ได้
พระราชทานพระราชดารใิ ห้หาวธิ อี นรุ กั ษ์และขยายพันธโุ์ ดยเฉพาะต้นโกงกางเพื่อเพมิ่ ปรมิ าณพื้นทป่ี า่
ชายเลนให้มากขน้ึ เน่ืองจากปา่ ชายเลนมีความสาคัญต่อระบบนิเวศบรเิ วณชายฝ่ ัง ถือเปน็ ถ่ินกาเนิด
และเปน็ ทเ่ี จรญิ เติบโตของพนั ธพุ์ ชื และสัตวน์ า้ นานาชนิด ปจั จุบันหลายหน่วยงานได้รว่ มมือกันเพ่อื
สรา้ งพ้นื ทปี่ า่ ชายเลนให้มีความอุดมสมบูรณ์ตามแนวพระราชดารเิ พ่อื ให้เกิดความยง่ั ยืนต่อไป

เมื่อต้องสรุปพระราชกรณียกิจของ ในหลวง ร.9 ให้ได้ในหนง่ึ หน้ากระดาษ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล
เลขาธกิ ารมูลนิธชิ ยั พฒั นา เลือกใชป้ ระโยคข้างต้นน้ี แทนใจความทง้ั มวล ชายขา้ ราชบรพิ ารผู้รบั ใชเ้ บ้ือง
พระยุคลบาทอยา่ งใกล้ชดิ มานาน 35 ปี กล่าวในงานปฐกถางานหนง่ึ วา่

“งานพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช เรม่ ิ ต้นบนทอ้ งฟ้า ผ่านภูเขาลงทร่ี าบ ออกสู่
ทะเลขณะทเี่ ราทกุ คนเห็นเปน็ ก้อนเมฆ พระองค์ทา่ นเห็นเปน็ นา้ จะทาอย่างไรให้ก้อนเมฆทเ่ี ปน็ นา้ อยู่ใน
ลกั ษณะไอลงมาเปน็ หยดน้า เกิดเปน็ ฝนหลวง ต่อด้วยการปลูกปา่ อนุรกั ษ์เสรจ็ แลว้ มาพักอยูก่ ลางภเู ขา

พระองค์ทา่ นรบั ส่ังทาฝายชะลอน้า สรา้ งอ่างเก็บนา้ น้าถกู ส่งไปยงั พืน้ สวน ไร่ นา ถ่ายเปน็ ของเสีย
พระองค์ทา่ นใชพ้ ืชชนิดฟองน้า ส่งผ่านปา่ โกงกาง สู่วงจรทค่ี รบครนั …ผมสรปุ งานพระเจา้ อยูห่ ัวฯ ใน

กระดาษแผ่นเดียวใชห้ ัวขอ้ ชอื่ วา่ จากนภา ผ่านภผู า สู่มหานที”
ข้อความจากชายผ้เู คยได้เห็นแม้นหยาดเสโทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลย
เดช อย่างใกลช้ ดิ ผู้นี้ย่อมเปน็ ส่ิงยืนยนั แก่พสกนิกรชาวไทยได้อย่างดี ว่าส่ิงทพี่ ระองค์ทรงให้
ความสาคัญยง่ิ บนผืนแผ่นดินน้ี คือ นา้ ดังพระราชดารสั ทเ่ี คยตรสั ไว้ เมื่อ 17 มีนาคม 2529 ความวา่
“… หลกั สาคัญวา่ ต้องมีน้าบรโิ ภค นา้ ใช้ น้าเพอ่ื การเพาะปลูก เพราะว่าชวี ติ อยู่ทน่ี ่ัน ถ้ามีนา้ คนอยู่ได้ ถ้า
ไม่มีน้าคนอยู่ไม่ได้ ไม่มีไฟฟ้าคนอยูไ่ ด้ แต่ถ้ามีไฟฟ้า ไม่มีน้าคนอยูไ่ ม่ได้ …”
และไม่เพยี งแต่พระราชดารสั ของพระองค์ หรอื ภาพประกอบ จาก ดร.สุเมธ ในงานปฐกถาใด
แต่ส่ิงทอี่ ธบิ ายได้ดีทสี่ ุดคือ “ภาพในหัวใจคนไทย” ทพ่ี ระองค์ทรงฝากไว้ ตลอด 70 ปี

ช่อง Chaipattana Foundation

39

ทฤษฎีการปลูกป่าแนวใหม่ โดยเรม่ ิ ที่จะปลูกป่าในใจคน ทั้งเจ้าหน้าท่ีและชาวบ้านให้รกั ป่า

และปล่อยให้ปา่ เขาข้นึ เอง อย่างไปรบกวนคือ “การปลูกปา่ โดยไม่ต้องปลกู ” ในเวลาเดียวกันต้อง “รู้ รกั
สามัคคี” คนสามารถอยู่กับป่าได้ถ้ามีจติ สานึกและรูค้ ุณค่าของปา่ “คนอยู่ป่ายัง” และอยู่แบบไม่กระทบ
ปา่ โดยใชห้ ลักการ “บ้านเลก็ ในปา่ ใหญ่” เปน็ ต้น

40

ทฤษฎีการทางานใหม่ เชน่ การบูรณาการ อะลุ่มอล่วย ปรกึ ษาหารอื การมีส่วนรว่ ม “เบญจภาคี”

(ภาครฐั ภาควชิ าการ ภาคประชาชน ( บวร บ้านชุมชน วัด โรงเรยี น) ฯลฯ ซง่ึ เปน็ “ประชารฐั ” ท่แี ทจ้ รงิ
ไม่ใชส่ มรรู้ ว่ มคิด อยา่ งทร่ี ฐั บาลทาอยู่

ตัวอยา่ งทฤษฎีใหม่ด้านการพัฒนาและบรหิ ารด้าน อื่น ๆ เชน่
๑) ต้นแบบการบรหิ ารธุรกิจตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง (“พอ” ไม่โลภไม่เบียดเบียน แบ่งปนั ที่
นาไปใชก้ ับการขัดการธุรกิจโรงแรมเชน่ ชุมพรคาบาน่ารสี อรท์ อนัตตารสี อรท์ เชยี งใหม่ ท่ีได้นาการ
พง่ึ พาตนเอง และศาสตรข์ องพระราชาทเ่ี ก่ียวข้อง ไปใชจ้ นประสบผลสาเรจ็ สามารถลดหนี้สินทเ่ี กิดจาก
ระบบเศรษฐกิจตาโตในอดีตได้อยา่ งมีนัยสาคัญ ( มีประสิทธภิ าพ)
๒) นาไปใชก้ ับองค์กรภาคอุตสาหกรรม การจดั การองค์กรขนาดใหญ่จาเป็นต้องอบรมพนักงาน
ให้เข้าใจพ้ืนฐาน การมีคุณธรรม เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคนให้สานึกในคุณธรรมในทุกระดับขององค์กร
ด้านอุตสาหกรรมก็ต้องเรม่ ิ ต้นที่การพัฒนาพนักงานโดยใชก้ ระบวนการสรา้ งมาตรฐานพอเพียงด้าน
อุตสาหกรรม เป็นกุศโลบายในการดึงภาคอุตสาหกรรมเข้ามารว่ มผลักดันขบวนการเศรษฐกิจพอเพียง
โดยการพัฒนามาตรฐานอุตสาหกรรมพอเพียง มอก.๙๙๙๙ ข้ึนใชเ้ ปน็ เครอ่ ื งมือในการสรา้ งทนุ ใหญ่ทม่ี ี
หัวใจพอเพียง รจู้ กั พอ ไม่โลภ ไม่เบียดเบียน รูจ้ กั แบง่ ปนั ให้เข้ามามีส่วนในการพัฒนาชุมชนในทฤษฎี
ใหม่ขั้นทส่ี าม
๓) ทฤษฎีการศึกษาใหม่ โดยสถาปนา “สถานอบรมสั่งสอนให้เบ็ดเสรจ็ หรอื ปูทะเลย์มหาวชิ า
ลยั หรอื โพธยิ าลัยมหาวชิ ชาลยั ท่จี าเปน็ ต้องมีการปรบั ระบบการศึกษากันใหม่ให้เปน็ ระบบการศึกษาท่ี
มี “ศีลเด่น ( วนิ ัย ) เป็นงาน ชาญวชิ ชา” การจัดทาหลักสูตรท่ีเหมาะสมกับพื้นท่ี นาองค์ความรูภ้ ูมิ
ปญั ญาทม่ี ีอยู่กลบั นามาใชใ้ นการพัฒนาทอ้ งถ่ิน และหลักสูตรการศึกษาใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การนา
ศาสตรพ์ ระราชาด้านต่าง ๆ อนุรกั ษ์ พัฒนามนุษย์ พัฒนาและบรหิ าร ทีค่ วรจดั ทาเป็นหลักสูตรใชส้ อน
กันในทุกระดับการศึกษา เช่น เศรษฐกิจพอเพียง ที่เป็นทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจแนวใหม่ เกษตร
ทฤษฎีใหม่ และ เทคนิคการเกษตรทเี่ หมาะสม คือ“กสิกรรมธรรมชาติ”ทใี่ ชใ้ นการการส่งเสรมิ เกษตรกร
ให้พง่ึ ตนเอง ( ธรรมชาติชว่ ยธรรมชาติ ภมู ิ-สถาปตั ย์ เปน็ ต้น
๔) การวจิ ยั แนวใหม่ ทช่ี ุมชนหรอื ผู้ท่ีเปน็ เจา้ ของปญั หา เปน็ คนกาหนดหัวข้อวจิ ยั เพ่ือตอบปญั หา
ของชุมชน โดยใชศ้ าสตรพ์ ระราชาท่สี ามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้โดยไม่ต้องผ่านระบบงานวจิ ยั แบบเก่า
ทนี่ ักวจิ ยั ทาไปเพ่ือตอบสนองวชิ าการทรี่ ่าเรยี นมา เมื่องานวจิ ยั เสรจ็ นักส่งเสรมิ เปน็ ผู้นาไปเผยแพรซ่ ง่ึ
ไปไม่ค่อยถึงชาวบ้าน เพราะอธบิ ายเป็นวชิ าการชาวบ้านไม่เข้าใจ หากชาวบ้านทางานวจิ ัยโดยมีภาค
ราชการและนักวชิ าการเป็นพ่ีเลี้ยง หรอื การนาผลการวจิ ัยของชาวบ้านนามาสนับสนุนเชิงวชิ าการ
กาหนดเปน็ นโยบาย น่าจะเป็นประโยชน์มากกวา่

E-book ศาสตรพ์ ระราชา “ด้าน ดิน นา้ ปา่ ไม้”
ขอบคุณ PPT อาจารย์ ศ.ดร.นพิ นธ์ ตั้งธรรม
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์

http://online.anyflip.com/rqntj/ilxk/mobile/index.html

41
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ได้พระราชทานแนวพระราชดารแิ ละ
ทรงทาเป็นตัวอย่างให้เห็นถึงความผูกพันเกื้อกูลของดิน น้า ป่าและคน มาอย่างต่อเน่ืองจนเป็นที่
ประจกั ษ์และเป็นแนวทางให้พสกนิกรดาเนินรอยตาม เมื่อท้ังวงจรได้รบั การดูแลรกั ษา ย่อมเกิดการ
พัฒนาทยี่ ง่ั ยนื อีกนานเทา่ นาน
ขอบคุณ

ขอบคณุ

1.4 ทฤษฎีใหม่

“ทฤษฎีใหม่” คือแนวพระราชดารใิ นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรชั กาลท่ี ๙ ท่ีทรง
พระราชทานให้กับพสกนิกรของพระองค์ทา่ นเพื่อให้ใชเ้ ปน็ กรอบแนวคิด และแนวทางการปฏิบัติในการ
ดารงชวี ติ อยู่อย่างพอเพียง แนวทางดาเนินการดังกล่าวนาไปสู่ความสามารถในการพึ่งตนเองในระดับ
ต่างๆ อย่างเป็นขั้นเปน็ ตอน บนพ้นื ฐานของความพอเพียง ปรชั ญาของคาว่า “พอ” มีพ้ืนฐานจากธรรมะ
ทเ่ี รยี กวา่ ”สันโดษ”)

42

ทฤษฎีใหม่ แบ่งการพัฒนาออกเป็น ๓ ระดับ

ทฤษฎีใหม่ข้นั ที่ ๑ พ่งึ ตนเองอย่างน้อยหนงึ่ ในส่ีของการปฏิบัติ
ทฤษฎีใหม่ขัน้ ที่ ๒ รวมกลุม่ กันพ่งึ กันเอง
ทฤษฎีใหม่ขนั้ ท่ี ๓ ทนุ ทม่ี ีคุณธรรม สนับสนนุ ชุมชนและเครอื ขา่ ย ค้าขายกันโดยตรงไม่ผ่าน
คนกลางแบบเก่า
“ทฤษฎีใหม่”เป็นระบบความคิดเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาท่ีไม่เคยมีผู้ใดคิดมาก่อนและ
แตกต่างจากแนวคิดทฤษฎีและวธิ กี ารท่ีเคยมีมาก่อนทั้งสิ้น จึงได้เรยี กว่าเป็นทฤษฎีใหม่ ซงึ่ ได้มีการ
พฒั นาข้นึ ใชใ้ นการแก้ไขปญั หาด้านการเกษตร และด้านอื่น ๆ มากกว่า ๕๐ ทฤษฎี
๑) เศรษฐกิจพอเพียง เองก็เปน็ หนง่ึ ใน ทฤษฎีใหม่ เปน็ ทฤษฎีการพฒั นาประเทศทม่ี ี ความ
ย่ังยืนเป็นเปา้ หมายการพัฒนา ทีใ่ ห้ความสาคัญกับความสมดุล ท้งั เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและ
วัฒนธรรม โดยเน้นไปที่การพึ่งพาตนเอง พ่ึงพากันเอง ตัดคนกลางแบบเก่าออก ไม่ได้มุ่งเปา้ การผลิต
เพื่อการค้าขาย (ซ่ึงไม่ใช่ ไม่สามารถค้าขายได้ แต่ค้าขายในท่ีไม่ไกลก่อน ค้าขายกันในกลุ่ม ชุมชน
เครอื ขา่ ยให้ได้เสียก่อน แล้วจงึ ค่อยค้าขายในโลกเสร ีเมื่อมีความพรอ้ มแล้วเท่าน้ัน ซงึ่ ควรจะค้าขายใน
ระบบตลาดทมี่ ีคุณธรรม (Fair Trade) )
๒) มีนวัตกรรมทางสังคมใหม่ๆเกิดขึ้นจากแนวทฤษฎีใหม่น้ีเชน่ ทฤษฎีใหม่ในการพัฒนา
ชุมชนเข้มแข็ง ทีเ่ รยี กว่า “บวร” (บ้าน ชุมชน วัด โรงเรยี น ราชการ) เพื่อการจดั การตนเอง หรอื “ชุมชน
จดั การตนเอง ”(One Stop Service)“สถานอบรมส่ังสอนให้เบ็ดเสรจ็ ” (จากพระราชนิพนธพ์ ระมหาชนก)
๓) กระบวนการจดั ทาแผนพัฒนาชุมชน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ท่ีมีการนาหลักการ
ทรงงาน ไปประยุกต์ใช้ เชน่ “ระเบิดจากข้างใน” สู่กระบวนการ พัฒนาชนบทโดย “การบูรณาการเชงิ
พน้ื ท”่ี ของมูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ เปน็ ต้น
เกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นรูปธรรม หรอื ภาคปฏิบัติของเศรษฐกิจพอเพียงข้ันพ้ืนฐาน เพื่อให้
เกษตรกรมีภูมิคุ้มกัน จากความเส่ียงท่ีต้องเผชญิ จากการเปลี่ยนแปลงของปจั จยั ต่าง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้องกับ
การกระบวนการผลิต การตลาด นโยบายทางการเกษตร อาทิ เชน่ ความผันแปรของ ธรรมชาติ สภาพ
ภมู ิอากาศ ความเสี่ยงด้านราคาปจั จยั การผลิตที่มีแนวโน้มสูงขึ้นในชว่ ง ฤดูกาลผลิต และ ราคาผลผลิต
ทม่ี ีความผันผวนลดลงอยูต่ ลอดเวลา การเปล่ียนแปลง นโยบายการเมือง โดยพระองค์ท่านได้ทรงพระ
ราชทา นพระราชดารแิ ละสรา้ งต้นแบบ และตัวอย่าง ของ การทาเกษตรแนวใหม่ ที่ให้ความสาคัญ
และ เคารพต่อธรรมชาติและสภาพแวดลอ้ ม เพ่อื ให้เอ้ือต่อการทาเกษตรกรรมให้ยงั่ ยนื ทไี่ ม่ใชส้ ารเคมี
สังเคราะห์ในกระบวนการผลิต ทัง้ นี้ เพื่อให้เกษตรกรรายย่อยท่ีมีทด่ี ินไม่มากได้ใชเ้ ป็นแนวทางใหม่ท่ี
กลับมาพ่ึงพาตนเองและระบบนิเวศท่ีสมดุล ให้สามารถมีวถิ ีชวี ติ ที่เรยี บง่ายเพ่ือเป้าหมายของทฤษฎี
ใหม่ คือ ความพออยู่ พอกิน พอใช้ พอ รม่ เยน็ ให้ได้เสียก่อน เพือ่ ทจ่ี ะได้พฒั นาในระดับทสี่ ูงขน้ึ ต่อไป
เกษตรทฤษฎีใหม่ ในความหมายท่ีนาเสนอต่อไปนี้ หมายถึงทฤษฎีใหม่ด้านการเกษตรท่ี
เน้นการบรหิ ารจัดการ น้า ที่ดินและแรงงานจานวนไม่มากนัก(น้อย) ซึ่งเป็นหน่ึงในพระราชดารขิ อง
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ฯ โดยมีเป้าหมายเพื่อการอยู่อาศัยและการดาเนินชวี ติ
อย่างมั่นคง ยั่งยืน ซงึ่ เป็นการคิดบนหลักการใหม่ ทแ่ี ตกต่างจาก แนวทางการทาการเกษตรเพื่อการค้า
และอุตสาหกรรม ทมี่ ุ่งผลติ ผลผลิตในปรมิ าณมากเพื่อการค้าขายเปน็ หลกั

43

พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว ทรงให้ความสาคัญกับการพัฒนาการเกษตรเป็นอย่างย่ิง
ในชว่ งแรกของการพัฒนาทฤษฎีใหม่นั้น พระองค์ทรงใชพ้ น้ื ทบี่ รเิ วณวงั สวนจติ รลดารโหฐานเปน็ สถานท่ี
ทาการศึกษา ค้นควา้ ทดลอง จากนั้นได้ขยายไปยงั โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดารติ ามจงั หวัดต่าง
ๆ ปัจจุบันมีโครงการพระราชดารแิ ละโครงการตามแนวพระราชดารมิ ากกว่า ๔,๕๐๐ โครงการ โดย
โครงการพระราชดารสิ าคัญโครงการหน่ึงตั้งอยู่ ณ วัดมงคลชยั พัฒนา ตาบลห้วยบง อาเภอเฉลิมพระ
เกียรติในจงั หวัดสระบุร ี ซง่ึ ถือเปน็ พนื้ ทแี่ รกทไี่ ด้นา “ทฤษฎีใหม่” ด้านการเกษตรสู่การปฏิบัติอยา่ งเปน็
รปู ธรรมจนประสบความสาเรจ็ เปน็ ต้นแบบของการทาเกษตรทฤษฎีใหม่ทวั่ ประเทศ

หัวใจสาคัญของทฤษฎีใหม่ “ทฤษฎีใหม่น้ันยืดหยุน่ ได้ และต้องยืดหยุน่ เหมือนชวี ติ ของเรา
ทกุ คนต้องมียืดหยุน่ …”

พระราชดารสั ในพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว ณ สวนสมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี
จงั หวดั เพชรบุร ีเม่ือวนั ที่ ๑๔ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๑

แนวพระราชดารเิ ม่ือวันท่ี ๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง
ชใ้ี ห้เห็นว่า อาชพี ของคนส่วนใหญ่ของประเทศ คือ การเกษตรกรรมโดยส่วนใหญ่แล้วเป็นเกษตรกร
รายย่อย มีสมาชกิ ครอบครวั เฉลี่ยประมาณครอบครวั ละ ๔-๖ คน ส่วนใหญ่มีฐานะค่อนข้างยากจน มี
ทดี่ ินทากินน้อย หรอื บางรายไม่มีทดี่ ินทากินเลย

พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวทรงพระราชทาน “ทฤษฎีใหม่” เพื่อเป็นแนวทางแก้ไขปญั หา
โดย ประยุกต์ใชห้ ลักการของเศรษฐกิจพอเพียง รูจ้ กั พอ ไม่โลภ ไม่เบียดเบียน พ่ึงตนเอง พึ่งกันเอง
เขา้ กับการทาการเกษตรแนวใหม่อยา่ งเปน็ รปู ธรรม

โดยเรม่ ิ จากการศึกษาข้อมูลจนพบว่า เกษตรกรไทยส่วนใหญ่มีพ้ืนที่เฉลี่ยอยู่ประมาณ
ครอบครวั ละ ๑๐-๑๕ ไร่ ( ค่าเฉล่ียของการถือครองท่ีดินในขณะน้ัน) จงึ ทรงคิดคานวณ จาแนกการใช้
พ้ืนทีดินเพื่อการดาเนินชวี ติ โดย มีเป้าหมายหลัก คือ ทาอย่างไรให้ มีข้าว ปลา อาหาร เพียงพอและ
ปลอดภัยตลอดปี จากผืนดินจานวนน้อยท่ีมีอยู่ เพือ่ ทจี่ ะได้ประหยัดค่าใชจ้ า่ ยทต่ี ้องจา่ ยไปกับค่าอาหาร
และ ของกินของใชต้ ่าง ๆ เพื่อให้มีรายได้เหลือพอสาหรบั จับจ่ายใช้สอยในส่ิงท่ีจาเป็นสาหรบั ชีวติ
นอกจากนั้นยัง มีความม่ันคงในท่ีอยู่อาศัย เมื่อมีความมั่นคงในชวี ติ ก็ดาเนินชวี ติ ด้วยความรกั ความ
สามัคคี และเอื้ออาทรกันในระดับทส่ี ูงขนึ้ ไปคือระดับชุมชน

สรุปแนวคิด ข้ันตอนการดาเนินงาน
พระองค์ทา่ นทรงพระราชทานดารใิ ห้ทดลอง “ทฤษฎีใหม่” ข้ึนครงั้ แรกท่ีวัดมงคลชยั พัฒนา
เมื่อ ปี พ.ศ.๒๕๓๒ โดยพระราชทานทนุ ทรพั ย์ส่วนพระองค์ ( เพื่อซอื้ ทดี่ ินจานวน ๑๕ ไร่ ใกลว้ ดั มงคลชยั
พัฒนาทดลองทาทฤษฎีใหม่จากน้ันขยายโครงการไปยงั ทอี่ ื่น ๆ อีก เชน่ ทอี่ าเภอเขาวง จงั หวัดกาฬสินธุ์
และภายหลังได้ทรงสรปุ แนวคิดเปน็ วธิ กี าร ดาเนินงาน “ทฤษฎีใหม่” ๓ ขน้ั ตอน ดังน้ี

ข้ันตอนที่๑ การผลติ เพอ่ื พออยู่ พอกิน และพ่งึ ตนเองได้ (Self Sufficiency of Economy)
คาถาม ทาอย่างไรให้ พออยู่ พอกิน พึง่ ตนเองได้ ? (ทาไมต้อง พ่ึงตนเอง?
คาตอบ คือ ทาให้ผืนดินท่ีมีอยู่ใชป้ ระโยชน์ได้อย่างเต็มท่ี เพ่ือการพออยู่ (ที่ อยู่อาศัย)
พอกิน (อาหาร) พงึ่ ตนเองได้ (อาชพี ทมี่ ่ันคง) จงึ ต้องมีการแบง่ พืน้ ทอ่ี อกเปน็ ส่วนๆ (การวางแผน) และ
ใชพ้ ืน้ ทใี่ ห้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยแบง่ พ้ืนทอี่ อกเปน็ ส่วนๆ อยา่ งครา่ ว ๆ (Tentative) ดังนี้


Click to View FlipBook Version