The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบสรุปผลการดำเนินงาน คปสอ.รอบที่ 1-2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sarinee.sa35, 2021-04-01 00:16:56

แบบสรุปผลการดำเนินงาน คปสอ.รอบที่ 1-2564

แบบสรุปผลการดำเนินงาน คปสอ.รอบที่ 1-2564

26 -

หา ยุทธ ยุทธ นโยบาย งาน งบประมาณ แหลง่ ผูร้ ับผิดชอบ
รณ ศาสตร์ ศาสตร์ เรง่ ดว่ น ประจำท่ี 37,600.00 งบประมาณ
น หน่วย พัฒนา และ ตอ้ งใช้ ทมี HRD/
ท่ี งาน ระบบ ปัญหา UC ราวี แวอุเซ็ง
สขุ ภาพ ระดบั เงนิ
/ จงั หวดั ชาติ

37,600.00

ปสอ.รามนั ครั้งที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

-2
เอกสารประกอบการนเิ ทศ คป

27 -
ปสอ.รามนั คร้งั ท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

-2
เอกสารประกอบการนเิ ทศ คป

28 -
ปสอ.รามนั คร้งั ท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

-2
เอกสารประกอบการนเิ ทศ คป

29 -
ปสอ.รามนั คร้งั ท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

-2

สรปุ ผลการดำเนินงาน
รอบเดือน ต.ค.63 - พ

SMART

3S ลำดบั ประเด็น ตัวชว้ี ดั

1 กญั ชาทางการแพทย์ ร้อยละ 100 ของโรงพยาบาลในจงั หวดั ยะลามีการให้บริการกญั ชา

ความทนั เวลาการส่งรายงาน 506 รอ้ ยละ 100

2 ระบบเฝ้าระวงั และ ความทนั เวลาการรบั แจ้งขา่ วตามเกณฑ์การสอบสวนโรค ร้อยละ 8
ควบคมุ โรค ความทนั เวลาการสง่ รายงานสอบสวนโรค รอ้ ยละ 80

ความครอบคลุมการส่งรายงานสอบสวนโรค รอ้ ยละ 100

3 GREEN & CLEAN รอ้ ยละของโรงพยาบาลท่พี ฒั นาอนามยั สิง่ แวดล้อมได้ตามเกณฑ์ G
(โรงพยาบาลผ่าน เกณฑฯ์ ระดบั ดมี ากข้นึ ไป รอ้ ยละ 100 )

Smart 4 Mom อตั ราสว่ นมารดาตาย
(แม่คลอด ปลอดภัย)

ร้อยละเด็กอายุ 0-5 ปีทั้งหมดตามช่วงอายทุ กี่ ำหนดมพี ัฒนาการสม

รอ้ ยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ทง้ั หมดตามชว่ งอายทุ ก่ี ำหนด มีพัฒนาก

ร้อยละของเดก็ อายุ 0 –5ปี สูงดีสมสว่ น รอ้ ยละ 64และสว่ นสูงเฉล
5 พฒั นาเด็กไทย เด็กชาย 113 ซม.,เดก็ หญงิ 112 ซม.

ร้อยละ 80 ( เพ่ิมขน้ึ รอ้ ยละ 2 จากปที ีผ่ ่านมา) ของเด็กอายุ 12 ป

เอกสารประกอบการนิเทศ คป

28 - ค่าเปา้ หมาย จำนวน รพ. สสอ.

นตามประเดน็ PA 3S รอ้ ยละ 100 1 กรกนก อับดลุ รอมาน
พ.ย.63 คปสอ.รามัน รอ้ ยละ 100 2 ซากนี ะ ชาคริต
ร้อยละ 80 3 ซากนี ะ ชาคริต
าทางการแพทย์ภายในปี 2564 รอ้ ยละ 80 4 ซากนี ะ ชาคริต
80 ร้อยละ 100 5 ซากีนะ ชาคริต

GREEN&CLEAN Hospital ร้อยละ 100 6 ซอบรี สมมาตร

มวยั ไมเ่ กนิ 17 ต่อ 7 ราเฮ อามีเนาะ
การสงสยั ลา่ ชา้ ไดร้ บั การตดิ ตาม การเกดิ มีชพี แสนคน
ลย่ี ที่อายุ 5ปี
รอ้ ยละ 85 8 อานีซะ อารนี า
ปี ฟนั ดไี ม่มผี ุ ( cavity free)
ร้อยละ 90 9 อานซี ะ อารีนา

ร้อยละ 64 10 อานีซะ อารีนา

ร้อยละ 80 11 นาอมี ะห์ อับดลุ รอมาน
( เพิ่มขึน้ รอ้ ยละ 2
จากปีท่ีผา่ นมา)

ปสอ.รามัน ครง้ั ที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

-2

3S ลำดบั ประเดน็ ตวั ชี้วัด

ความครอบคลุมการไดร้ ับวัคซนี พนื้ ฐานในเดก็ อายคุ รบ 1,3และ 5
6 EPI อยา่ งนอ้ ยร้อยละ 90 (ยกเวน้ MMR อยา่ งนอ้ ย รอ้ ยละ 95) หรอื เพ

ความครอบคลมุ การไดร้ บั วัคซีน dT ในเดก็ นร.ชน้ั ป.6

เอกสารประกอบการนิเทศ คป

29 -

ค่าเปา้ หมาย จำนวน รพ. สสอ.

อยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ 90

ปี (ยกเวน้ MMR 12 เนาวรตั น์ อารนี า
พ่ิมข้ึนอยา่ งน้อยร้อยละ 10 จากปที ผ่ี า่ นมา อย่างน้อย

รอ้ ยละ 95 )

อย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 95 13 เนาวรัตน์ อารนี า

ปสอ.รามนั ครง้ั ที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

- 30 -

แบบสรุปผลการดำเนนิ งานคปสอ.รามนั ปงี บประมาณ2564

รอบท่ี 1 วันท่ี 25 เดือน ธนั วาคม 2563

1.ประเด็นการนิเทศ
1. การพัฒนารปู แบบบริการคลนิ ิกกัญชาทางการแพทย์
2. การคน้ หาผู้ป่วยเชิงรกุ
3. การสร้างความร้เู รื่องกัญชาทางการแพทย์
4. การพัฒนาศกั ยภาพบุคลากร

2.สถานการณ/์ ผลการดำเนนิ งานยอ้ นหลัง 3 ปี (2561-2563)
ในเดือนกันยายน ปี 2562 ทางโรงพยาบาลรามันได้ส่งบุคลากรทางการแพทย์ เช่น แพทย์ เภสัชกร แพทย์

แผนไทย เข้ารับการอบรมการใช้กัญชาทางการแพทย์ เพื่อเตรียมความพร้อมในการให้บริการกัญชาทางการแพทย์
หลังจากนั้นได้ดำเนินการจัดตั้งคณะกรรมการการดำเนินงานคลินิกให้คำปรึกษาการใช้กัญชาทางการแพทย์ และ
วันที่ 15 มกราคม ปี 2563 โรงพยาบาลรามันได้เปดิ คลนิ ิกใหค้ ำปรึกษาการใช้กัญชาทางการแพทย์ ทุกวันพุธ เวลา 13.30
น-16.00 น โดยมียาแผนไทย 2 ตำรับ คือ ยาศุขไสยาศน์ 2.ยาทำลายพระสุเมรุอย่างละ 150 ซอง มีผู้ป่วยเข้ารับ
คำปรึกษา 1 ราย แต่ผู้ป่วยมีข้อห้ามใช้ในการใช้กัญชาในการค้นหาเชิงรุกในกลุ่มผู้ป่วยประคับประคองในปี 2563
พบมีผูป้ ่วย 13 ราย ซึง่ ผปู้ ่วยกลุ่มนไ้ี ด้รบั การรักษาทางการแพทย์แผนปัจจุบนั และไดร้ ับยาทีเ่ หมาะสมแล้ว จึงยังไม่มี
การใช้กัญชาทางการแพทย์ แต่มีผู้ป่วยอีก 3 รายที่ไม่ได้รับยาทางแผนปัจจุบันแล้วแต่ยังมีอาการทรมานจากอาการ
ปวดของมะเร็ง จึงคิดว่าผู้ป่วยกลุ่มนี้น่าจะได้รับประโยชน์จากการใช้กัญชาแผนปัจจุบัน จึงเป็นแผนในปี 2564
ท่จี ะนำยา THC เข้ามาในบัญชโี รงพยาบาลรามัน

ขอ้ มูลประกอบการวิเคราะห์
ในปี 2563 มีผู้ป่วยเข้ารับคำปรึกษาด้วยอาการนอนไม่หลับ 1 ราย แต่มีข้อห้ามใช้กัญชาทางการแพทย์

ผู้ป่วยมะเร็งระยะประคับประคอง 16 ราย โดยแบ่งตามเขตการรับผิดชอบของรพสต. ดังนี้ รพสต. กายูบอเกาะ
5 ราย รพสต.วังพญา 3 ราย รพสต.ยะต๊ะ 2 ราย รพสต.กอตอตือระ 2 ราย รพสต. บาโงย 2 รายรพสต. เกะรอ
1 ราย รพสต. อาซอ่ ง 1 ราย ซึ่งมีเพยี ง 3 รายท่ีนา่ จะเข้าเกณฑ์ในการรักษาด้วยกัญชาทางการแพทยจ์ ึงคิดว่าผู้ป่วย
กลุ่มนี้น่าจะได้รับประโยชน์จากการใช้กัญชาแผนปัจจุบันจึงเป็นแผนในปี2564 ที่จะนำยา THC เข้ามาในบัญชี
โรงพยาบาลรามัน สำหรับกัญชาทางการแพทย์แผนไทย พบว่าในเดือนตุลาคม 2563 ถึง ธันวาคม 2563 มีผู้ป่วย
เข้าที่มารับบริการคัดกรองด้วยอาการนอนไม่หลับ 3 ราย อาการเบื่ออาหาร 2 ราย ซึ่งอยู่ในกระบวนการของ
การรกั ษาด้วยยาแผนไทยกอ่ น หากยังไม่ได้ผลก็จะมกี ารสงั่ ใช้กัญชาแผนไทยต่อไป

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน คร้ังท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 31 -

3.การดำเนนิ งาน/ผลการดำเนินงานตามมาตรการสำคญั

3.1แสดงผลการดำเนินงาน

ตารางผลการดำเนินงานเร่ือง

Base Line รพ. 2564ไตรมาส 1 หมายเหตุ

ลำดับ รายการ/ตวั ช้วี ัด 2562 2563 สต./ เปา้ หมาย ผลงาน รอ้ ยละ/
pcu อัตรา

1 โรงพยาบาลมีความพร้อมใน - 15 ม.ค .63 -

การให้บริการกัญชาทาง

การแพทย์ได้ภายในปี 2563

2 มีการสำรองกัญชาทาง มีเฉพาะแผนไทย2 สำรองกญั ชา ยาแผนปจั จบุ ัน -

การแพทย์(แผนปัจจุบันและ ตำรบั คือ 1.ยาศุข ทาง (THC) กำลัง

แผนไทย)เพื่อรองรับการ ไสยาศน์ 2.ยา การแพทย์ ดำเนินการ

ใหบ้ ริการ ทำลาย (แผนปัจจุบัน ขออนญุ าต

พระสเุ มรุ และแผนไทย)

3 มเี กณฑ์ในการคดั กรองผ้ปู ่วย - - กำหนดเกณฑ์ แบบฟอรม์ ใน -

ที่เข้าข่ายได้รับกัญชาทาง ในการคดั การคัดกรอง

การแพทย์ กรองผู้ป่วยที่ ผปู้ ่วยให้กบั

เข้าขา่ ยได้รับ รพ./

กัญชาทาง รพ.สต./อสม

การแพทย์

4 ผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์มารับ - 1ราย ร้อยละ50 7 ราย รอ้ ยละ -2 ราย

บริการที่คลินิกกัญชาทาง (มขี อ้ หา้ มใช้) 71.42 paliative

การแพทย์ ปฏเิ สธ

-3 ราย นอน

ไมห่ ลบั

(กำลงั ใชย้ า

first line)

- 2รายเบื่อ

อาการ

(กำลงั ใช้ยา

first line)

แหลง่ ขอ้ มูล...คลินกิ กญั ชาทางการแพทย์.....ณ...วันท่ี 7 ธนั วาคม 2563

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน ครงั้ ท่ี 1 ปีงบประมาณ 2564

- 32 -

3.2การบรหิ ารจดั การ ปี 2564 (ยุทธศาสตรแ์ ผนงาน/โครงการ/กิจกรรมท่ดี ำเนนิ การในการขับเคล่อื น)

กลยทุ ธห์ รือมาตรการท่ใี ช้ดำเนินการ ระยะเวลา

1.ประชมุ คณะกรรมการกัญชาวางแผน/ติดตามการดำเนินงานในปีท่ผี ่านมา ตลุ าคม 2563

2.แพทย์ สาขา palliative เข้ารับการอบรมกัญชาทางการแพทย์ ธันวาคม 2563-มกราคม

2564

3.ดำเนินการนำกัญชาแผนปัจจุบนั (THC) เขา้ บัญชโี รงพยาบาล ธนั วาคม 2563

4.จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องกัญชาทางการแพทย์ที่ถูกต้อง เช่น แผ่นพับ, one page ธนั วาคม 2563

เกี่ยวกับกัญชาเพื่อส่งต่อทางกลุ่มไลน์เจ้าหน้าที่ รพ.สต.และอสม. ผู้ทำหน้าที่ให้ความรู้และคัด

กรองผเู้ ขา้ ขา่ ยโรคทีส่ ามารถรักษาด้วยกญั ชา

5.จัดทำแบบคัดกรองผู้เข้าข่ายโรคที่สามารถรักษาด้วยกัญชา เพื่อคัดกรองผู้ป่วยที่มารับบริการท่ี ธันวาคม 2563-กันยายน

โรงพยาบาลรามัน โดยคัดกรองที่คลินิกเบาหวาน-ความดันทุกวันพุธ และคลินิกเอื้ออาทร ทุกวัน 2564

พฤหสั บดี

6.ประชมุ ชีแ้ จง้ เจ้าหนา้ ทีร่ พ.สต.และ อสม. ในอำเภอรามนั เร่อื งการดำเนินงานคน้ หาผู้ป่วยเชิงรุก มกราคม -

ในพื้นที่ตามเกณฑ์คัดเลือกผู้ป่วยที่เข้าข่ายโรคที่สามารถรักษาด้วยกัญชาพร้อมส่งต่อผู้ป่วยไปยัง กมุ ภาพันธ์ 2564

รพ.

7.ประชาสัมพนั ธ์คลินกิ กญั ชาทางการแพทย์ใน face book ,ไลน์ raman club,ตดิ ปา้ ย ธนั วาคม 2563-กันยายน

ประชาสัมพันธท์ ่ีมัสยดิ 2564

3.3วิเคราะหผ์ ลการดำเนนิ งานปัจจุบัน
ในการดำเนินงานในปี 2563 พบผู้ป่วยเข้ารับบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์ จำนวน 1 ราย

และในปี 2564 จำนวน 5 ราย โดยเปน็ การเขา้ รบั บริการด้วยอาการนอนไมห่ ลบั 3 ราย และเบือ่ อาหาร 2 ราย ซึง่ ยงั
เป็นจำนวนที่น้อยมาก จึงมีการปรับเปลี่ยนวิธีการดำเนินงานค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกในรพ.สต. และโรงพยาบาล โดยใน
โรงพยาบาลจะดำเนินการคัดกรองตามเกณฑ์ที่ได้กำหนดร่วมกับทีมคณะทำงานกัญชาทางการแพทย์ ระดับจังหวัด
ซึ่งจะค้นหาในวันพุธและวันพฤหัสบดีของทุกสัปดาห์ และเพิ่มช่องทางในการประชาสัมพันธ์ให้มากขึ้น เช่น มัสยิด
,line กลุ่ม เพือ่ ทจ่ี ะได้ประชาสัมพนั ธใ์ นวงท่กี ว้างข้ึน

3.4 วเิ คราะหผ์ ลและบ่งชี้ Bright spot และBlind spot
Bright spot ได้แก่ การใหค้ วามสำคญั ของผ้บู รหิ ารในการดำเนินการจัดต้งั คลินกิ ให้คำปรกึ ษา

การใช้กัญชาทางการแพทย์
Blind spot ไดแ้ ก่ การประชาสัมพันธ์ยังไม่ครอบคลุมในทุกพื้นท่ี,การรับรู้ของประชาชนยังไม่

ครอบคลุม

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน ครั้งที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 33 -

4.ปัญหา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะในเชิงบริหารและวชิ าการ

ปญั หา/อุปสรรค/ปจั จยั ท่ีทำใหก้ ารดำเนนิ งานไม่ ทำสื่อประชาสมั พันธ์ที่เข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน เกี่ยวกับ
บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ กญั ชาทางการแพทยท์ ถ่ี ูกตอ้ ง
เพิ่มช่องการการประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนอสม.
1.การรบั รู้เรือ่ งกัญชาทางการแพทย์ทถ่ี กู ต้องของ ในพื้นที่ให้ครอบคลุม เช่น มัสยิด,line กลุ่ม เพื่อที่จะ
ประชาชน ได้ประชาสมั พันธ์ในวงทก่ี วา้ งขนึ้
2. การเข้าถึงบริการของประชาชน

5.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/ตอ่ ส่วนกลาง/ต่อผบู้ ริหาร/ตอ่ ระเบยี บ กฎหมาย
1.คณะกรรมการควรมีการปฏบิ ตั ิตามแผนการดำเนนิ งานทร่ี ะบุ
2.จัดให้มีการประชุมระดมความคิดของทุกภาคส่วนที่มีความเกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดการดำเนินงานที่เป็นไป
ในทางเดยี วกัน และบรรลุเป้าหมายที่วางไว้

6.นวัตกรรมหรือ Best Practice ท่สี ามารถเป็นแบบอยา่ ง

-

ผูร้ ายงาน เภสัชกรหญงิ ริฏา วฒั นศริ วิ ณิชช์

ตำแหนง่ เภสชั กรชำนาญการ

วนั /เดือน/ปี 7 ธนั วาคม 2563.

โทร 073-299503-4 ต่อ 302

E-mail. [email protected]..

ผู้รายงาน น.ส.กรกนก ย่ิงเจริญ

ตำแหนง่ แพทยแ์ ผนไทยปฏิบัติการ

วัน/เดอื น/ปี 7 ธันวาคม 2563

โทร 073-299503-4 ต่อ 124

E-mail. [email protected]

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั ครั้งที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 34 -

แบบสรุปผลการดำเนินงาน คปสอ.รามัน ปงี บประมาณ 2564
รอบที่ 1 วันท่ี 25 เดอื น ธันวาคม 2563

1.ประเด็นการนิเทศ:
ระดับความสำเร็จของระบบควบคมุ โรคทม่ี ีประสทิ ธิภาพ

2.สถานการณ/์ ผลการดำเนนิ งานยอ้ นหลงั 3 ปี (2561-2563)
จากสถานการณ์การระบาดของโรคและภัยสุขภาพของอำเภอรามันในปีที่ผ่านมา พบว่า โรคสำคัญที่ต้อง

เฝ้าระวังในพื้นที่ มีการระบาดในอัตราที่ค่อนข้างต่ำ ทั้งในส่วนของโรคไข้เลือดออก โรคมาลาเรีย และโรคหัด
แต่กลบั พบมีการระบาดของโรคมือ เท้า ปาก ซ่งึ กระจายเป็นวงกว้างและค่อนข้างมีความรุนแรงโดยเฉพาะเด็กเล็ก
ช่วงอายุ 0-5 ปี อีกทั้งยังเป็นปีการระบาดของโรคอุบัติใหม่ ซึ่งถือเป็นโรคที่ส่งผลกระทบทั้งทางสุขภาพ ระบบ
เศรษฐกิจและสังคมไปทั่วโลก นั่นคือโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) โดยอำเภอรามัน มีรายงานผู้ป่วย
ยืนยัน จำนวน 3 ราย ส่งผลให้ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ทั้งในระดับอำเภอและระดับตำบล
ทุกพื้นที่ ต้องดำเนินงานกันอย่างหนักเพื่อควบคุมการระบาด พร้อมทั้งเฝ้าระวังและป้องกันเพื่อไม่ให้เกิด
การระบาดระลอก 2 โดยมีการจัดทำแผนฯ ประชุมทบทวนความรู้และแนวทางในการดำเนินงาน การสำรวจวัสดุ
อุปกรณ์ และเวชภัณฑ์ต่าง ๆ พร้อมทั้งจัดหาเพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการ การแลกเปลี่ยนข้อมูลและทำงาน
ร่วมกันเป็นเครือข่าย ร่วมแชร์ทรัพยากรในการดำเนินงานป้องกัน ควบคุม และสอบสวนโรค ทั้งนี้ เพื่อ ให้
การดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวน ควบคุมโรค เป็นไปด้วยความถูกต้อง ทันต่อเหตุการณ์และเกิดประสิทธิภาพ
สงู สุด

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั คร้ังที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

-

3.การดำเนินงาน/ผลการดำเนนิ งานตามมาตรการสำคัญ
3.1 แสดงผลการดำเนินงาน

ลำดบั ผลสำเร็จ/ตวั ชีว้ ัด โกตาบา
2560 2561 2562

1 ความครอบคลุ ม ข อง 11.76 17.65 88.24 เปา้ หมาย

หน่วยบริการในการส่ง ผลงาน

รายงาน 506 ร้อยละ

กอตอ
ตือร๊ะ

เปา้ หมาย
ผลงาน
ร้อยละ

ลำดบั ผลสำเรจ็ /ตัวชวี้ ัด โกตาบา
2560 2561 2562

2 ความทันเวลาในการส่ง 86.93 86.63 94.47 เปา้ หมาย 29
ผลงาน 29
รายงาน 506
รอ้ ยละ 100

เป้าหมาย กอตอ
ผลงาน ตือร๊ะ

ร้อยละ 46
46

100

เอกสารประกอบการนิเทศ ค

- 35 -

ผลการดำเนนิ งานแยกรายตำบล 2563
ารู เกะรอ กาลอ กาลูปงั บอื มัง ยะต๊ะ บาโงย เนินงาม วงั พญา

ผลการดำเนินงานแยกรายตำบล 2563

อ ตะโละ๊ จะกว๊ะ บาลอ ท่าธง บ้าน อาซอ่ ง กายู รวม
ะ หะลอ เกาะ บอเกาะ

94.12

ผลการดำเนินงานแยกรายตำบล 2563

ารู เกะรอ กาลอ กาลูปัง บือมัง ยะต๊ะ บาโงย เนนิ งาม วังพญา

34 44 36 88 64 94 41 32

34 44 36 88 64 94 41 32

100 100 100 100 100 100 100 100

ผลการดำเนินงานแยกรายตำบล 2563

อ ตะโละ๊ จะกวะ๊ บาลอ ท่าธง บา้ น อาซอ่ ง กายู รวม
ะ หะลอ เกาะ บอเกาะ

29 49 33 62 32 34 1093 1840

29 49 33 62 32 34 1093 1840

100 100 100 100 100 100 100 100.00

คปสอ.รามนั ครั้งที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

-

ลำดับ ผลสำเรจ็ /ตวั ชี้วัด 2560 2561 2562 โกตาบ

3 ความทันเวลาการรับ 100 100 100 เป้าหมาย

แจ้งข่าวตามเกณฑ์การ ผลงาน

สอบสวนโรค รอ้ ยละ

กอตอ
ตอื ระ๊

เป้าหมาย
ผลงาน
รอ้ ยละ

ลำดบั ผลสำเรจ็ /ตัวชว้ี ดั โกตาบ
2560 2561 2562

4 ความทันเวลาการส่ง 100 100 100 เป้าหมาย

รายงานสอบสวนโรค ผลงาน

ร้อยละ

ผลการดำเนนิ งาน

กอตอ

ตอื ระ๊

เป้าหมาย

ผลงาน

ร้อยละ

เอกสารประกอบการนิเทศ ค

- 36 -

แหล่งท่ีมา : ฐานขอ้ มลู 506 อำเภอรามนั วันที่ 1 ธันวาคม 2563

ผลการดำเนินงานแยกรายตำบล 2563

บารู เกะรอ กาลอ กาลปู งั บือมัง ยะตะ๊ บาโงย เนนิ งาม วงั พญา

ผลการดำเนินงานแยกรายตำบล 2563

อ ตะโละ๊ จะกวะ๊ บาลอ ทา่ ธง บ้าน อาซ่อง กายู รวม
ะ หะลอ เกาะ บอเกาะ

100

ผลการดำเนินงานแยกรายตำบล 2563

บารู เกะรอ กาลอ กาลูปัง บอื มัง ยะตะ๊ บาโงย เนินงาม วังพญา

นแยกรายตำบล 2563

อ ตะโละ๊ จะกว๊ะ บาลอ ท่าธง บา้ น อาซ่อง กายู รวม
ะ หะลอ เกาะ บอเกาะ

100

แหลง่ ที่มา : ฐานข้อมลู 506 อำเภอรามนั วนั ท่ี 1 ธันวาคม 2563

คปสอ.รามัน ครัง้ ที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

- 37 -

3.2 การบริหารจัดการ ปี 2564 (ยุทธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ดำเนินการใน
การขับเคลอ่ื น)

กลยุทธ์หรอื มาตรการที่ใช้ดำเนนิ การ ระยะเวลา

การบริหารกำลังคน (Man) เม.ย.–ม.ิ ย. 64
- การอบรมพัฒนาศักยภาพการใช้โปรแกรม 506, การเขียนรายงานสอบสวนโรค และ ม.ค.-ธ.ค.64
ทบทวนแนวทางการวนิ จิ ฉยั โรคทีต่ อ้ งเฝา้ ระวัง แกผ่ รู้ ับผดิ ชอบงาน
- ประสาน/ขอสนับสนนุ กำลังคน กรณีพนื้ ท่ีทเ่ี กิดการระบาดด้วยโรคทสี่ ำคัญหรือระบาดเป็น ม.ค.-ธ.ค.64
วงกวา้ ง (เปดิ EOC) ม.ค.-ธ.ค.64

การบรหิ ารเงนิ (Money)
- จัดทำแผนงาน/โครงการเพอ่ื รองรบั การแกไ้ ขปัญหาที่สำคัญในพ้ืนท่ี
- กรณเี กดิ ภาวะฉกุ เฉนิ ประสาน อปท. เพอ่ื ขอเบกิ จา่ ยงบฉุกเฉนิ ในการดำเนนิ งาน

การบรหิ ารวสั ดใุ นการดำเนนิ งาน (Materials) ม.ค.-ธ.ค.64
- สำรวจความพร้อม และความเพียงพอของวสั ดุอุปกรณ์ในการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรค ม.ค.-ธ.ค.64
ของแต่ละสถานบรกิ าร พร้อมทั้งจดั ทำทะเบยี นเบกิ -จ่าย เพือ่ ควบคุมสถานะของวสั ดุ

คงคลงั
- ประสาน สสจ./อปท. เพอ่ื ขอรับการสนับสนุนวสั ดอุ ปุ กรณ์ เคมีภัณฑ์ ในกาควบคมุ ป้องกนั โรค

การจัดการ (Management) ม.ค.-ธ.ค.64
- ผอ.รพ.สต. ควบคุมกำกับการลงพื้นที่สอบสวนควบคุมโรค, ติดตามการจัดทำรายงาน และ
การสง่ รายงาน 506 ม.ค.-ธ.ค.64
- ทีม สสอ.ร่วมกับโรงพยาบาล ลงพ้นื ทสี่ ่มุ ประเมินผลการดำเนินงานอย่างตอ่ เนือ่ ง ม.ค.-ธ.ค.64
- ประสานงานกับหวั หน้าส่วนระดบั อำเภอ เพื่อสรา้ งการมีส่วนรว่ มและบูรณาการ
การดำเนินงาน

3.3 วเิ คราะหผ์ ลการดำเนินงานปัจจุบัน
จากการดำเนินงานด้านระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค พบว่า ตั้งแต่เดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคม
2563 ผลการดำเนินงานมีแนวโน้มดีขึ้น โดยในเรื่องความทันเวลาการส่งรายงาน 506 คิดเป็นร้อยละ 100,
ความทันเวลา การรับแจ้งข่าวตามเกณฑ์การสอบสวนโรค คิดเป็นร้อยละ 100, ความทันเวลาการส่งรายงาน
สอบสวนโรคคดิ เป็น รอ้ ยละ 100 และความครอบคลมุ ของหน่วยบรกิ ารในการส่งรายงาน 506 คิดเป็นร้อยละ
94.12
3.4 วเิ คราะห์ผลและบ่งช้ี Bright spot และ Blind spot
Bright spot ได้แก่ รพ.สต.จะกว๊ะ สืบเนื่องจากคุณภาพและความครอบคลุมของการรายงาน
506 อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง อีกท้งั เปน็ พนื้ ทท่ี ี่สามารถสอบสวนและควบคุมการระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019
(COVID-19) ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและมปี ระสทิ ธภิ าพ ส่งไมใ่ ห้ไมม่ ีการแพร่กระจายของเชื้อออกไปเปน็ วงกวา้ งได้
Blind spot ได้แก่ รพ.สต.ตะโละหะลอ เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบงาน ส่งผลให้
การทบทวนการวนิ ิจฉยั โรคและการรายงานผปู้ ว่ ย 506 ขาดความครอบคลุม โดยแนวทางในการแก้ไขคืออบรม
การใชโ้ ปรแกรม 506 เบอื้ งตน้ แกผ่ ูร้ บั ผดิ ชอบงาน พร้อมท้ังติดตามการรายงานทุกอาทติ ย์

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั คร้งั ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 38 -

แบบสรุปผลการดำเนินงาน คปสอ.รามัน ปีงบประมาณ 2564

รอบที่ 1 วนั ท่ี 25 เดอื น ธันวาคม 2563

1.ประเดน็ การนิเทศ
ตวั ช้วี ดั 1.โรงพยาบาลพัฒนาอนามยั สิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN &CLEAN Hospitalระดับดมี าก
(มีนวัตกรรมสง่ ประกวดระดับเขต)
2.ร้อยละ 30 ของ รพ.สต.ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน GREEN &CLEAN Hospital ระดบั ดมี าก

2.สถานการณ์/ผลการดำเนนิ งานย้อนหลงั 3 ปี (2561-2563)

สถานการณ์ข้อมูลในภาพระดับจังหวัดยะลา พบว่ามีโรงพยาบาลที่ดำเนินกิจกรรม GREEN&CLEAN

Hospital จำนวน 9 แห่ง ร้อยละ 100 ซึ่งพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital

ระดับดีขึ้นไป จำนวน 9 แห่ง ร้อยละ 100 ระดับดีมากขึ้นไป จำนวน 8 แห่ง ร้อยละ 88.89 และระดับดีมาก

Plus จำนวน 6 แห่ง ร้อยละ 66.67 ซึ่งโรงพยาบาลรามันมีผลการดำเนินงาน GREEN&CLEAN Hospital

ปีงบประมาณ 2563 นั้น อยู่ในระดับดีมาก Plus (คงสภาพถึง 30 กันยายน 2564) ส่วนการพัฒนาอนามัย

สงิ่ แวดลอ้ มไดต้ ามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital ในระดบั โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลในอำเภอรามัน

นั้น มีการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital รพ.สต.ติดดาว จำนวน 16 แห่ง

ร้อยละ 100 ซึ่งการพัฒนา ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม GREEN&CLEAN hospital ในระดับ รพ.สต.นั้นพบว่า

บุคลากรยังขาดความรู้ ความเข้าใจในเกณฑ์มาตรฐาน GREEN&CLEAN hospital และขาดความต่อเนื่อง

ในการดำเนินงาน

3.การดำเนินงาน/ผลการดำเนนิ งานตามมาตรการสำคัญ

3.1 แสดงผลการดำเนินงาน

ตารางผลการดำเนินงานเรอ่ื ง

Base Line รพ.สต./ 2564 ไตรมาส 1 หมายเหตุ

ลำดับ รายการ/ตัวชว้ี ดั 2562 2563 pcu เปา้ หมาย ผลงาน รอ้ ยละ/

อตั รา

โรงพยาบาลพฒั นาอนามัย ระดบั ดี ระดบั ดี ระดบั ดมี าก

ส่งิ แวดลอ้ มไดต้ ามเกณฑ์ มาก มาก 100 100 100

GREEN&CLEAN

Hospital ระดับดมี าก

ลำดับ รายการ/ตัวชี้วัด Base Line รพ.สต./ 2564 ไตรมาส 1 หมายเหตุ
2562 2563 pcu
รอ้ ยละ 30 ของ รพ.สต. เปา้ หมาย ผลงาน รอ้ ยละ/
ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ระดับ ระดบั อัตรา
GREEN&CLEAN ด1ี 00% ดี100%
Hospital ระดับดมี าก รอ้ ยละ 30

แหล่งขอ้ มลู ....................................ณ.........................

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน ครงั้ ท่ี 1 ปีงบประมาณ 2564

- 39 -

3.2 การบรหิ ารจดั การ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมทดี่ ำเนนิ การในการขบั เคล่อื น)

กลยุทธห์ รือมาตรการที่ใชด้ ำเนนิ การ ระยะเวลา

1. ประกาศนโยบายร่วมรณรงค์ลดโลกร้อนสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ต.ค.63
2. แต่งตัง้ คณะกรรมการขบั เคล่ือนนโยบาย ต.ค.63
3. ทำการประเมินตนเอง ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN hospital ต.ค.63
4. จดั ทำแผนการพฒั นาอนามยั สง่ิ แวดลอ้ มได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN hospital ต.ค.63

5. พฒั นาศักยภาพบคุ ลากรโรงพยาบาล เก่ียวกับหลักการ Green & Clean แก่บคุ ลากร ม.ค.64
6. จดั กจิ กรรมรณรงคล์ ดภาวะโลกร้อน ระดับโรงพยาบาลตามแผนทก่ี ำหนด ม.ค-เม.ย.64
7. พฒั นานวัตกรรม เพือ่ ส่งประกวดระดบั จงั หวดั /ระดับเขต ต.ค.-เม.ย.64
8 .สร้างภาคีเครือขา่ ยการพฒั นา GREEN& CLEAN ลงสโู่ รงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ม.ค.-เม.ย.64

3.3 วเิ คราะหผ์ ลการดำเนินงานปจั จุบนั
ข้อมลู การดำเนินงานขับเคล่ือนนโยบายโรงพยาบาลพฒั นาอนามยั ส่ิงแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN &
CLEAN hospital ปีงบประมาณ 2564 (ตค.-ธค.)โรงพยาบาลได้ดำเนินการประเมินตนเองและประกาศ
นโยบาย การพัฒนาโรงพยาบาลด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน
และแผนการขับเคลื่อนนโยบายฯ ของโรงพยาบาลรามัน ส่วนเครือข่ายอำเภอรามันนั้นได้ดำเนินการพัฒนา
อนามัยสิ่งแวดล้อมในรพ.สต.โดยได้แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายและจัดทำแผนการดำเนินงาน
GREEN & CLEAN hospital เพื่อพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน GREEN & CLEAN
hospital ต่อไป

3.4 วิเคราะหผ์ ลและบ่งชี้ Bright spot และBlind spot
การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานบริการสาธารณสขุ ให้ถูกต้องตามหลักวิชาการนั้นมีความสำคญั
เปน็ อยา่ งย่งิ ซึง่ ตอ้ งคำนึงถึงปัจจัยที่เอื้อต่อการส่งเสริมสขุ ภาพและการจัดการอนามยั สิ่งแวดล้อมเพื่อให้ผู้มารับ
บริการ มีสุขภาพที่ดี บุคลากรมีความปลอดภัย โรงพยาบาลจึงได้นำนโยบายการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม
(GREEN & CLEAN Hospital) มาดำเนินการอย่างต่อเนื่องและได้พัฒนารูปแบบการดำเนินกิจกรรมและ
นวัตกรรมใหม่ๆ มาปรับใช้ในระบบงานสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้โรงพยาบาลรามันได้รับรางวัลเป็นองค์กรต้นแบบ
ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมจากกรมอนามัย ส่วนการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม (GREEN & CLEAN Hospital)
ในระดับ รพ.สต.นั้นพบว่าบุคลากร ยังขาดความรู้ ความเข้าใจในเกณฑ์มาตรฐาน GREEN&CLEAN hospital
และขาดความต่อเน่ืองในการดำเนนิ งาน

4.ปัญหา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะในเชิงบริหารและวชิ าการ

ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจยั ที่ทำใหก้ ารดำเนินงานไม่ 1. ทบทวนการใชม้ าตรฐาน G&C เพื่อใช้ประเมนิ
บรรลวุ ัตถุประสงค์ การดำเนินงานฯระดบั รพ.สต.
2. นำมาตรฐาน G&C ไปส่แู ผนปฏิบตั ิการและการมี
1.แนวทางหรือกจิ กรรมการดำเนินงานตาม ส่วนร่วมของชุมชน
มาตรฐาน G&C ในระดับ รพ.สต.ไม่ชัดเจน 3. สง่ เสริมการพฒั นาศักยภาพเรอ่ื ง มาตรฐาน G&C
แก่บคุ ลากรใน รพ.สต.

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน คร้ังท่ี 1 ปีงบประมาณ 2564

- 40 -

ปัญหา/อุปสรรค/ปจั จยั ที่ทำให้การดำเนนิ งานไม่ ข้อเสนอแนะในเชิงบริหารและวิชาการ
บรรลุวตั ถปุ ระสงค์
1.การสร้างความเข้าใจในหลกั คิดเร่ืองการรัก
2.ขาดความต่อเนื่องในเรื่องการดำเนินกจิ กรรม สุขภาพ และรักษ์สง่ิ แวดล้อม
GREEN & CLEAN กบั เครือข่ายในชุมชน 3.สรา้ งภาคเี ครือข่ายในดา้ นการจดั หาแหลง่ อาหาร
ปลอดภยั ในชมุ ชน (กลุ่มเกษตรกรปลูกผกั ปลอด
3.ขาดการมีส่วนรว่ มของภาคเี ครอื ข่ายในด้าน สารพิษ)
กิจกรรมอาหารปลอดภยั

5.ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย/ต่อส่วนกลาง/ต่อผบู้ ริหาร/ตอ่ ระเบียบ กฎหมาย
ผู้บริหารในหน่วยงานทุกระดับควรให้การสนับสนุนการดำเนินงานและกำหนดเป็นตัวชี้วัดในการ

ประเมินผลการดำเนนิ งานของเจา้ หนา้ ท่ีในทกุ ระดับ
6.นวตั กรรมหรือ Best Practice ทสี่ ามารถเป็นแบบอยา่ ง

1. การจัดการนำ้ เสยี แบบบำบัดซ้ำ (Waste water Re-treatment)
2. การจัดการขยะอินทรยี โ์ ดยการผลติ ปยุ๋ หมัก น้ำหมกั ชีวภาพ น้ำยาล้างจานและนำ้ ยาล้างหอ้ งน้ำ
3. ระบบควบคมุ การเปดิ ปดิ เคร่ืองปรับอากาศอัตโนมตั ิ
4. ระบบควบคุมการเปิด ปิด ไฟแสงสว่างภายนอกอาคารอัตโนมตั ิ
5. พดั ลมตดั อากาศป้องกันอากาศเยน็ ออกนอกห้อง
6. แปลงผักปลอดสารพษิ ลอยฟา้
7. การจัดการขยะทัว่ ไป ZERO Waste

ผูร้ ายงาน นายซอบรี ยปี าโละ
ตำแหนง่ นกั วชิ าการสาธารณสุขชำนาญการ
วนั ท่ี เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ. 2563
โทร 081 7388244
e-mail: [email protected]

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน ครงั้ ที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

- 41 -

แบบสรปุ ผลการดำเนินงาน คปสอ.รามนั ปีงบประมาณ 2564

รอบที่ 1 วนั ที่ 25 เดือน ธนั วาคม 2563

1.ประเด็นการนเิ ทศ
ตวั ชว้ี ัด อัตราส่วนมารดาตาย ไมเ่ กิน 17 ตอ่ แสนการเกิดมีชีพ

2.สถานการณ์/ผลการดำเนนิ งานยอ้ นหลัง 3 ปี (2561-2563)

อัตราส่วนมารดาตาย

180 155.88 163.8
160

140

120
100 78.61 87.1
80

60

40

20 0 0 0 0 0
0 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563

จานวนมารดาตาย 0 0 0 1 0 1 0 2 0 2

อัตรามารดาตาย 0 0 0 78.61 0 87.1 155.88 0 163.8

จากผลการดำเนินงานตั้งแต่ปี 2561 – 2563 พบว่าปี2561 พบมารดาตาย 2 รายจากมารดาคลอด
ทั้งหมด1283 รายคิดเป็น155.88/แสนการเกิดมีชีพ ซึ่งเกิดจากสาเหตุ 1.มารดาเป็นโรคความดันโลหิตสูงและ
ขาดยามีประวัติติดสารเสพติด 2.มารดามีภาวะEmbolism ปี2562 มีมารดาคลอดทั้งหมด1173 ราย ไม่มี
มารดาตาย และปี2563 มมี ารดาตาย 2 รายจากมารดาคลอดท้ังหมด 1221 คดิ เปน็ 163.80/แสนการเกิดมีชีพ
สาเหตุพบวา่ 1.ไม่ทราบสาเหตทุ แี่ น่ชัด 2.ตกเลือดขณะคลอด

3.การดำเนนิ งาน/ผลการดำเนินงานตามมาตรการสำคญั

3.1 แสดงผลการดำเนินงาน

ตารางผลการดำเนินงานเร่ือง

ลำดบั รายการ/ตัวช้ีวดั Base Line รพ.สต./ 2564 ไตรมาส 1

2562 2563 pcu เปา้ หมาย ผลงาน ร้อยละ/ หมายเหตุ
อตั รา

อัตราสว่ นมารดา 0 163.8 รพ.รามัน 500
ตาย ไมเ่ กิน 17 กาลปู ัง
ต่อแสนการเกดิ กาลอ 400
มีชีพ
กอตอตือระ 700
โกตาบารู
500

500

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั ครัง้ ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

ลำดับ รายการ/ตัวช้ีวัด Base Line - 42 - 2564 ไตรมาส 1

2562 2563 รพ.สต./ เปา้ หมาย ผลงาน รอ้ ยละ/ หมายเหตุ
pcu อัตรา

เกะรอ 10 0 0
จะกวะ๊ 8 0 0
ท่าธง 7 0 0
บา้ นเกาะ 0 0 0
เนินงาม 11 0 0
บาลอ 8 0 0
บาโงย 4 0 0
บือมงั 15 0 0
ยะต๊ะ 9 0 0
วงั พญา 15 0 0
อาซอ่ ง 5 0 0
ตะโละหะลอ 8 0 0

3.2 การบรหิ ารจัดการ ปี 2564 (ยุทธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมท่ีดำเนินการในการ

ขับเคลอื่ น)

Pre-hos

1.คน้ หาหญิงต้ังครรภร์ ายใหม่

2.ให้บรกิ ารคลนิ กิ ANC คณุ ภาพระดับ รพสต.

3.พัฒนาศักยภาพเจ้าหนา้ ท่ี รพสต.และทีมเครอื ขา่ ย

4.ประเมินภาวะเสย่ี ง และสง่ ตอ่

5.เย่ยี มบา้ นหญิงตงั้ ครรภแ์ ละติดตามขาดนัด

IN- hos

แผนกฝากครรภ์ 1.คลนิ กิ ฝากครรภเ์ ส่ยี ง บริการฝากครรภ์หญงิ ต้งั ครรภเ์ สย่ี งโดยแพทย์

2.มกี จิ กรรมโรงเรียนพอ่ แม่ เฉพาะกลุ่ม (กลุ่มเสีย่ ง ,กลุม่ ปกติ)

3.มีการพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หน้าทีผ่ รู้ ับผิดชอบงาน

แผนกหอ้ งคลอด 1.มีการคดั กรองความเส่ียงและติดปา้ ยบ่งชีช้ ัดเจน

2.มีแนวทางการดูแลภาวะเส่ยี ง

3.มแี พทย์เวรประจำห้องคลอดตลอด 24 ชม.

4.มกี ารซอ้ มแผนรองรบั ภาวะฉุกเฉินทุก 3 เดือน

5.มรี ะบบ seamless Refer

กลยุทธ์หรือมาตรการท่ีใชด้ ำเนินการ ระยะเวลา

1.พฒั นาศกั ยภาพทมี งานแม่และเดก็ เครอื ขา่ ยอำเภอรามัน พฤษภาคม
2.ทบทวนแนวทางการป้องกันการตกเลอื ด พฤษภาคม
3.ซอ้ มแผนภาวะฉกุ เฉินทางสูติศาสตร์ มีนาคม

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน ครง้ั ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 43 - เดือนละ
1 ครง้ั
4.ประชมุ แลกเปลย่ี นเรียนร/ู้ ตดิ ตามการดำเนินงาน

3.3 วเิ คราะหผ์ ลการดำเนินงานปจั จบุ นั
จากผลการดำเนนิ งานปงี บประมาน 2564 จำนวนหญิงตัง้ ครรภท์ ง้ั หมด 159 ราย คดั กรองภาวะเสี่ยง
พบเสีย่ ง 5 โรคทัง้ หมด 10 ราย คิดเปน็ ร้อยละ 6.29 แยกตามลำดับดังน้ี 1.ความดันโลหิตสูง 6 ราย 2.เบาหวาน
3 ราย 3.หัวใจ 1 ราย ส่วนมารดาคลอดทง้ั หมด 126 รายยงั ไมพ่ บมารดาเสยี ชีวติ
ส่วนการดำเนนิ งานในหอ้ งคลอด มีจำนวนหญิงตัง้ ครรภค์ ลอด 140 รายมีมารดาตกเลือดหลังคลอด 1 รายเกิด
จากรกคา้ ง สง่ ตอ่ ไป รพ.ยะลา
3.4 วิเคราะหผ์ ลและบ่งชี้ Bright spot และBlind spot
Bright spot ไดแ้ ก่ รพสต.วงั พญา , รพสต.ยะต๊ะ มีการติดตามเยยี่ มคนไข้อยา่ งสมำ่ เสมอ

การคยี ์ข้อมูลเป็นปจั จบุ นั
Blind spot ไดแ้ ก่ รพ.สต.เนินงาม, รพ.สต.อาซ่อง พบอุบตั ิการณก์ ารส่งตอ่ ผ้ปู ่วยพบแพทย์

ลา่ ช้าการคยี ข์ ้อมลู ไมเ่ ป็นปจั จุบนั
4.ปญั หา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ

ปญั หา/อุปสรรค/ปัจจยั ท่ีทำให้การดำเนินงาน ขอ้ เสนอแนะในเชิงบริหารและวิชาการ
ไม่บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์
1.เพ่ิมเน้ือหาการสอนประเด็นความสำคัญ
1.ดา้ นหญงิ ตั้งครรภ์และครอบครวั ยงั ขาดความตระหนักใน การฝากครรภ์ตานดั ในโรงเรียนพอ่ แม่
เรอื่ งการมาตามนัด หลกั สูตรที่ 1
2.มแี นวทางในการติดตามนัด โดยใช้ทีม
2.ด้านเจา้ หน้าท่ี ไม่ปฏบิ ตั ติ าม CPG อยา่ งเครง่ ครัด 1.ประเมินการใช้ CPG อยา่ งตอ่ เนอื่ งและ
สะท้อนกลับในการะชมุ คปสอ.

5. ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย/ตอ่ ส่วนกลาง/ตอ่ ผู้บริหาร/ตอ่ ระเบียบ กฎหมาย
▪ พฒั นาระบบการส่งต่อแบบไร้รอยตอ่ ให้มีประสิทธิภาพ
▪ ส่งเสริมและพัฒนาระบบพีเ่ ลี้ยงให้มีประสิทธิภาพ (สตู แิ พทย)์
▪ พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการขอ้ มูลระดับจังหวดั เพ่ือลดความซำ้ ซอ้ น

6.นวัตกรรมหรือ Best Practice ทสี่ ามารถเป็นแบบอยา่ ง

▪ การจดั การวางแผนครอบครัวรายกรณใี นหญงิ ตัง้ ครรภ์เสย่ี ง
▪ Smart delivery
▪ รูปแบบการให้ความรเู้ พ่ือปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมตามสภาพปัญหาแบบเข้มขน้

ผรู้ ายงาน นางราเฮ มะทา
ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชพี ชำนาญการ
วนั /เดอื น/ปี 1 ธันวาคม 2563

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั ครง้ั ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 44 - 0899791787

โทร [email protected].
E-mail.

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน ครงั้ ท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 45 -

แบบสรปุ ผลการดำเนินงาน คปสอ. รามัน ปีงบประมาณ 2564
รอบท่ี 1 วันท่ี 25 เดือน ธนั วาคม 2563

1.ประเด็นการนิเทศ
ตัวช้ีวัด : 1.รอ้ ยละ เดก็ อายุ 0-5 ปี ทงั้ หมดตามชว่ งอายุทก่ี ำหนดมีพัฒนาการสมวยั

2.รอ้ ยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ทัง้ หมดตามช่วงอายทุ ่ีกำหนดมพี ฒั นาการสงสยั ล่าชา้ ไดร้ ับการติดตาม
2.สถานการณ์/ผลการดำเนนิ งานยอ้ นหลงั 3 ปี (2561-2563)

ร้อยละเดก็ อายุ 0-5ปี ทัง้ หมดตามชว่ งอายทุ กี่ ำหนดมีพัฒนาการสมวยั

ร้อยละเดก็ อายุ 0-5 ปที ้งั หมดตามช่วงอายุท่ีกำหนด
มพี ฒั นาการสงสัยลา่ ชา้ ไดร้ ับการตดิ ตาม

ผลการดำเนินงานการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยอำเภอรามัน 3 ปีย้อนหลัง (ปี 2561 - 2563) พบว่า
อัตราเด็ก 0-5 ปีทั้งหมดตามช่วงอายุที่กำหนดมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 79.86,89.01 และ 84.71ตามลำดับ
และ อตั ราเด็กอายุ 0-5 ปี ทัง้ หมดตามช่วงอายทุ ี่กำหนดมพี ฒั นาการสงสัยล่าช้า ได้รบั การตดิ ตาม ร้อยละ 81.9,93.52
และ 91.67 ตามลำดับ สำหรับในปี2563 เด็กอายุ 0-5 ปี ทั้งหมดตามช่วงอายุที่กำหนดมีพัฒนาการสมวัย พบว่า

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั ครัง้ ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 46 -

ผลการดำเนินงานลดลง เนื่องจากการตรวจพัฒนาการมีความละเอียดรอบคอบมากขึ้น ทำให้ตรวจค้นพบเด็ก
พฒั นาการสงสัยล่ามากขึ้นและ ผปู้ กครองมีความตระหนักเหน็ ความสำคญั ในการกระตนุ้ พัฒนาการมากข้ึนและเข้าใจ
การใช้คู่มอื การเฝ้าระวังพฒั นาการ DSPM และ DAIM เพ่มิ ข้นึ

3.การดำเนินงาน/ผลการดำเนินงานตามมาตรการสำคญั 2564 ไตรมาส 1
3.1 แสดงผลการดำเนินงาน
เป้าหมาย ผลงาน รอ้ ยละ/ หมายเหตุ
Base Line อัตรา
ลำดบั รายการ/ตัวชี้วดั 2562 2563 รพ.สต./pcu

1 ร้อยละเดก็ อายุ 0-5 ปี 89.01 84.71 กายบู อเกาะ 82 58 70.73

ทัง้ หมดตามช่วงวยั กาลปู ัง 27 24 88.89

ทกี่ ำหนดมีพฒั นาการ กาลอ 44 38 86.36
สมวัย รอ้ ยละ 85 กอตอตือระ๊
64 37 57.81

โกตาบารู 55 55 100

เกะรอ 67 55 82.09

จะกวะ๊ 60 51 85.00

ทา่ ธง 40 35 87.50

เนินงาม 90 78 86.67

บาลอ 61 50 81.97

บาโงย 24 20 83.33

บอื มัง 104 76 73.08

ยะตะ๊ 48 25 52.08

วงั พญา 67 64 95.52

อาซอ่ ง 68 47 69.12

ตะโละหะลอ 64 60 93.75

บ้านเกาะ 24 23 95.83

รวม 989 796 80.49

2 ร้อยละของเด็กอายุ 93.52 91.67 กายบู อเกาะ 18 11 61.11

0-5 ปีทงั้ หมดตาม กาลปู ัง 3 3 100

ชว่ งอายุทีก่ ำหนด กาลอ 6 2 33.33

มพี ฒั นาการสงสยั กอตอตอื ระ๊ 1 0 0.00
ลา่ ชา้ ไดร้ ับการตดิ ตาม โกตาบารู
เกะรอ 0 0 0.00
ร้อยละ 90
17 12 70.59

จะกว๊ะ 14 5 35.71

ทา่ ธง 0 0 0.00

เนนิ งาม 17 10 58.82

บาลอ 12 3 25

บาโงย 2 1 50

บอื มัง 28 0 0.00

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน คร้ังท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 47 -

Base Line 2564 ไตรมาส 1
2562 2563
ลำดับ รายการ/ตัวช้วี ัด รพ.สต./pcu เปา้ หมาย ผลงาน ร้อยละ/ หมายเหตุ
อัตรา
ยะต๊ะ
วงั พญา 9 0 0.00
อาซ่อง
ตะโละ๊ หะลอ 6 3 50
บา้ นเกาะ
รวม 22 1 4.55

14 14 100

8 8 100

177 73 42.28

แหลง่ ข้อมลู HDC ณ 8/12/63

ร้อยละ รอ้ ยละเด็กอายุ0-5ปที ้ังหมดตามชว่ งอายทุ ก่ี าหนดมพี ฒั นาการสมวยั
100 95.83 95.52 93.75 88.89 87.5 86.67 86.36 85 83.33 82.09 81.97
100 80.49
90
80 73.08 70.73 69.12
70
60 57.81 52.08

50

40

30

20

10

0

รพ.สต.

รอ้ ยละ ร้อยละเด็กอายุ 0-5 ปที งั้ หมดตามชว่ งอายทุ ีก่ าหนด
มีพฒั นาการสงสัยล่าชา้ ไดร้ ับการตดิ ตาม
100 100 100

100

90

80 70.59
70
60 61.11 58.82
50 50
50
40 35.71 33.33 42.28

30 25

20

10 4.55 0 0 0 0 0
0

สถานบรกิ าร

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั ครั้งท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 48 -

3.2 การบริหารจดั การ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมทด่ี ำเนนิ การในการขบั เคลอื่ น)

กลยทุ ธ์หรือมาตรการท่ใี ชด้ ำเนินการ ระยะเวลา
1.มกี ารควบคุมกำกับตดิ ตามผลการดำเนินงานโดย สสอ.ในที่ประชมุ ผอ.รพ.สต. และ ตุลาคม 2563-
คณะกรรมการ คปสอ. และ พชอ. กันยายน 2564
2.ฟน้ื ฟทู ักษะการตรวจคดั กรองพัฒนาการจนท.รับผิดชอบงานโดยฝกึ ปฏบิ ัติในคลินิก WCC ตลุ าคม 2563-
กันยายน 2564
3.ฟ้นื ฟทู ักษะการตรวจคัดกรองพฒั นาการครูผู้ดูแลเดก็ ตุลาคม 2563-
กันยายน 2564
4.จดั ให้มีเครอื่ งมืออปุ กรณ์ตรวจพฒั นาการ DSPMครบทุกรพ.สต ตุลาคม 2563-
กนั ยายน 2564
5.จดั การระบบข้อมลู กลมุ่ เป้าหมายในฐานข้อมลู ให้สอดคล้องกับเด็กท่ีอยู่จรงิ ตลุ าคม 2562-
กนั ยายน 2563
6.ดำเนนิ กิจกรรมสง่ เสริมตรวจพัฒนาการเด็กในรพ.สต โดยใช้งบประมาณสนับสนุนจาก
งบกองทนุ สุขภาพตำบลได้แก่ รพ.สต.บาลอ จะกวะ๊ วังพญา เกะรอ กอตอตือร๊ะ กรกฎาคม 2564
กาลปู ัง กายบู อเกาะ
7.ส่งเสรมิ ให้เกดิ โรงเรยี นพ่อแม่ในคลินิก WCC ทกุ รพ.สต ตุลาคม 2563-
กันยายน 2564

3.3 วิเคราะหผ์ ลการดำเนนิ งานปจั จบุ นั

จากตารางจะเห็นได้ว่าผลการดำเนินงานปี 2564 ไตรมาส 1 ตุลาคม-พฤศจิกายน63 จากข้อมูล HDC
อัตราเด็กอายุ 0-5ปีทั้งหมดตามช่วงวัยที่กำหนดมีพัฒนาการสมวัย ในกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรองมีพัฒนาการ
สมวัยรอ้ ยละ 80.49 ซ่งึ ไมผ่ ่านตามเกณฑ์(เกณฑ์ร้อยละ 85) จากการตดิ ตามการดำเนินงานพบว่ายังมีบางรพ.สต.ที่ยัง
ไม่ได้ดำเนินการบนั ทึกข้อมูลลงโปรแกรม J- HCIS ทำใหผ้ ลการดำเนนิ ตำ่ กลุ่มเปา้ หมายทง้ั หมด 1,086 ราย คัดกรอง
เดก็ ทงั้ หมด 796 ราย ค้นพบเดก็ ท่ีมีพฒั นาการสงสัยล่าชา้ จำนวน 177 ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ 17.89 กระตุ้นพัฒนาการ
ครบ 1 เดือนมีพัฒนาการสมวัยจำนวน 796 รายคิดเปน็ ร้อยละ 80.49 เด็กที่มีพฒั นาการสงสัยล่าช้าไดร้ ับการตดิ ตาม
จำนวน 73 ราย คิดเป็นร้อยละ อัตราความครอบคลุมในการคัดกรองยังไม่ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด
(ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ95) รพ.สต.คดั กรองติดตามเด็กและบันทึกข้อมูลได้น้อย ได้แก่ รพ.สต.ยะต๊ะ, รพ.สต.กอตอตือร๊ะ,
รพ.สต อาซ่อง รพ.สต.บอื มงั

1.รพ.สต.ไมบ่ นั ทกึ ข้อมลู เข้าระบบ
2.บันทกึ ข้อมลู ไมค่ รอบคลมุ และไมต่ รงกบั ช่วงอายุท่ีกำหนดทำให้ไมส่ ามารถประมวลผลตามเป้าหมาย
3.ไมไ่ ด้ติดตามพฒั นาการตามชว่ งเวลาที่กำหนด

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั คร้ังท่ี 1 ปีงบประมาณ 2564

- 49 -

3.4 วิเคราะห์ผลและบ่งชี้ Bright spot และBlind spot
Bright spot ได้แก่ รพ.สต.จะกวะ๊ เป็นตำบลนำรอ่ งกิจกรรมมหัศจรรย์1000วัน
Blind spot ได้แก่ รพ.สต.ยะต๊ะ กอตอตือระ๊ อาซอ่ ง ขาดการคัดกรองและการติดตามกระตุ้น

พฒั นาการเด็กสงสัยล่าช้าไม่ได้ตามช่วงเวลาที่กำหนดทำให้ผลการดำเนินงานไม่ได้ตามเกณฑ์

4.ปญั หา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ

ปญั หา/อุปสรรค/ปัจจยั ท่ีทำใหก้ ารดำเนนิ งานไม่ ข้อเสนอแนะในเชิงบริหารและวิชาการ

บรรลุวตั ถปุ ระสงค์

1.เจ้าหนา้ ทีไ่ ม่ไดบ้ นั ทึกข้อมลู ลงโปรแกรม ตามทเี่ วลา ให้มีการตดิ ตามโดยเครือข่ายและผู้บริหารอยา่ ง

กำหนด ต่อเนือ่ ง

2.ไมม่ ีการจัดการขอ้ มูลในกลุ่มเป้าหมายHDC ให้มีการอบรมเพิ่มความรู้และทักษะในการจัดการ

ขอ้ มูลในระบบ

3.ไมม่ รี ะบบการติดตามท่ีเป็นแนวทางทช่ี ดั เจน กำหนดแนวทางการติดตามในทศิ ทางเดยี วกนั

5.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/ตอ่ สว่ นกลาง/ต่อผู้บริหาร/ต่อระเบยี บ กฎหมาย
-

6.นวตั กรรมหรือ Best Practice ท่สี ามารถเป็นแบบอย่าง
จะกวะ๊ ตำบลนำรอ่ งกจิ กรรมมหัศจรรย์ 1000

ผรู้ ายงาน นางสาวอานีซะ แยกาจิ
นางสาว อารีนา หะยีอาซา.

ตำแหน่ง นกั วิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
วนั /เดือน/ปี 8/12/63
โทร 084-860-7419

E-mail. [email protected].

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน ครั้งท่ี 1 ปีงบประมาณ 2564

- 50 -

แบบสรุปผลการดำเนนิ งาน คปสอ.รามัน ปงี บประมาณ 2564

รอบที่ 1 วันที่ 25 เดอื น ธนั วาคม 2563

1.ประเดน็ การนเิ ทศ
ตัวชวี้ ดั : เด็กอายุ 0-5 ปสี ูงดีสมสว่ น ร้อยละ 64 และสว่ นสงู เฉล่ียท่อี ายุ 5 ปี เด็กชาย113 ซม.

เดก็ หญิง 112 ซม.
2.สถานการณ/์ ผลการดำเนนิ งานยอ้ นหลงั 3 ปี (2561-2563)

ผลการดาเนนิ งานเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมสว่ น

100 47.39 49.26
90
80 2562 2563
70
60
50 43.48
40
30
20
10
0

2561

จากผลการดำเนินงาน 3 ปี ย้อนหลัง 2560-2563 เด็ก0 – 5ปี สูงดีสมส่วนร้อยละ 43.59 , 47.39 และ
49.26 มีอัตราที่เพิ่มขึ้นตามลำดับ ผลการดำเนินงานยังต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด(เป้าหมายรอ้ ยละ 57) พบว่ามีเด็กที่มี
ภาวะทุพโภชนาการเป็นจำนวนมากปัญหาเนือ่ งจากบางส่วนผู้ปกครองไม่เห็นความสำคัญของเรื่องโภชนาการ ปัญหา
เศรษฐกิจของครอบครัว ผู้ปกครองยังขาดความรู้ในเรื่องโภชนาการรวมทั้งพฤติกรรมการรับประทานอาหารและ
ขนมกรุบกรอบที่มีจำหน่ายตามท้องตลาดในหมู่บ้านและการตรวจวัดส่วนสูง -ชั่งน้ำหนักพบว่าใช้อุปกรณ์ไม่มี
ประสิทธภิ าพทำให้เกดิ ความคลาดเคล่ือนของข้อมลู ทำให้การแปรผลคลาดเคล่ือนและผู้รับผดิ ชอบงานขาดการติดตาม
อย่างต่อเนื่อง

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั คร้ังที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

- 51 -

3.การดำเนนิ งาน/ผลการดำเนนิ งานตามมาตรการสำคัญ

3.1 แสดงผลการดำเนินงาน

ลำดบั รายการ/ตัวชว้ี ดั Base Line รพ.สต./pcu 2564 ไตรมาส 1 หมายเหตุ
2562 2563 เปา้ หมาย ผลงาน ร้อยละ/อตั รา

1 เดก็ อายุ 0-5 ปี 47.39 49.26 กายบู อเกาะ 528 229 43.37

สูงดสี มส่วน รอ้ ยละ64 กาลูปงั 246 102 41.46

กาลอ 231 118 51.08

กอตอตอื ร๊ะ 417 233 55.88

โกตาบารู 189 127 67.2

เกะรอ 404 173 42.82

จะกว๊ะ 477 279 58.49

ท่าธง 131 67 48.55

เนินงาม 455 214 47.03

บาลอ 425 191 41

บาโงย 82 38 46.07

บอื มัง 573 264 46.07

ยะตะ๊ 156 65 41.67

วังพญา 539 303 56.22

อาซ่อง 427 99 23.19

ตะโละหะลอ 438 212 48.4

บ้านเกาะ 138 67 48.55

รวม 5856 2768 47.27

แหล่งขอ้ มูล HDC ณ 8/12/63

ลำดับ รายการ/ตวั ชีว้ ัด Base Line รพ.สต./pcu 2564 ไตรมาส 1 หมายเหตุ
2562 2563
วดั ส่วนสงู สงู เฉล่ียชาย สงู เฉล่ีย
1 สว่ นสูงเฉลย่ี ทีอ่ ายุ 5 ปี 105.33 106.2 กายบู อเกาะ ชาย หญงิ (CM) หญิง(C)

เดก็ ชาย113ซม. กาลปู งั 41 53 106.85 105.6
เด็กหญิง 112ซม. กาลอ 16 19 119.19 113.21
14 18 108 103.44
กอตอตอื ระ๊ 28 30 106.96 109.27
15 10 102.07 105.9
โกตาบารู 25 34 110.16 107.18
32 33 116.56 115.55
เกะรอ 3 3 100.67 105
39 30 102.54 110.33
จะกว๊ะ 41 38 104.39 103.89

ท่าธง

เนินงาม

บาลอ

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั ครั้งท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 52 -

ลำดบั รายการ/ตวั ชีว้ ดั Base Line รพ.สต./pcu 2564 ไตรมาส 1 หมายเหตุ
2562 2563
วดั ส่วนสูง สงู เฉลี่ยชาย สงู เฉลีย่
บาโงย ชาย หญิง (CM) หญิง(C)
บือมัง
ยะต๊ะ 1 1 109 113
55 40 106.95 106.65
วงั พญา 10 8 100.3 99.88
อาซ่อง
ตะโละหะลอ 48 44 105.94 103.89
บ้านเกาะ 38 27 102.58 102.07
14 10 101.43 109.7
รวม 10 12 111.5 110.33
430 410 106.35 106.96

ผลการดาเนนิ งานเด็กอายุ 0 - 5 ปี สงู ดสี มสว่ น

100

90

80 67.2 47.27
70 58.49 56.22 55.88 51.08 48.55 48.55 48.4 47.03 46.07 46.07 43.77 43.37 42.82 41.67 41
60
50

40
30 23.19

20

10

0

3.2 การบรหิ ารจดั การ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมทด่ี ำเนนิ การในการขับเคลอ่ื น)

กลยุทธห์ รือมาตรการทใี่ ช้ดำเนินการ ระยะเวลา
1.มีการควบคุมตดิ ตามผลการดำเนินงานโดยคณะกรรมการ child board และทป่ี ระชมุ
คป.สอ.ติดตามผลการดำเนินงานในระบบรายงาน HDCโดยผรู้ บั ผดิ ชอบงานเครือข่าย ตุลาคม 2563-
อำเภอรามัน กนั ยายน 2564
2.จดั อบรมพัฒนาศกั ยภาพ จนท.ครูผดู้ ูแลเดก็ ในศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ เรื่องการปรับเปลยี่ น
การรบั ประทานอาหาร พร้อมท้งั สาธิตเมนอาหารโดยนักโภชนากร ตลุ าคม 2563-
3.อบรมให้ความรูแ้ ก่อสม.และแกนนำอาสาโภชนาทุกตำบล เก่ยี วกับการเฝ้าระวงั ภาวะ กันยายน 2564
โภชนาการและการใชเ้ คร่ืองการวดั และการชั่งที่ถูกต้อง ตลุ าคม 2563-
กันยายน 2564
4.จัดการระบบขอ้ มลู กลมุ่ เปา้ หมายในฐานข้อมลู ใหส้ อดคล้องกบั เดก็ ท่ีอยูจ่ รงิ ตลุ าคม 2563-
กนั ยายน 2564

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั ครง้ั ท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 53 -

กลยทุ ธห์ รือมาตรการที่ใช้ดำเนินการ ระยะเวลา
5.รพ.สต.จดั ทำโครงการเฝา้ ระวงั ภาวะโภชนาการเด็กร่วมกับอปท.ในพ้ืนที่และชแี้ จง ตุลาคม 2563-
นโยบายและกจิ กรรม มหศั จรรย์1000วัน เพ่ือให้พ้ืนที่ไดด้ ำเนนิ การต่อไป กันยายน 2564
6.จัดมมุ NDDCในคลนิ กิ WCCส่งเสรมิ การเรียนรู้ของผปู้ กครอง
7.ส่งเสรมิ นโยบายศนู ยเ์ ดก็ เล็กปลอดขนมกรุกรอบ กรกฎาคม 2564
ตลุ าคม 2563-
8.จดั อบรมเฝ้าระวังโภชนาการในเดก็ แกผ่ ู้ปกครองในศนู ย์พัฒนาเด็กเล็ก กันยายน 2564
ตุลาคม 2563-
9.ส่งเสรมิ ให้เกิดโรงเรยี นพ่อแม่ในคลนิ กิ WCC ทุกรพ.สต. กันยายน 2564
ตุลาคม 2563-
10.สง่ เสริมใหเ้ กดิ โรงเรยี นพอ่ แม่ในศนู ย์พัฒนาเด็กเล็ก กันยายน 2564
ตลุ าคม 2563-
กนั ยายน 2564

3.3 วเิ คราะหผ์ ลการดำเนนิ งานปัจจุบนั
จากผลการดำเนินงานในไตรมาสที่ 1 ปี 2564 (ต.ค.– พ.ย. 63) มีเด็กอายุ 0 - 5 ปี ส่วนสูงดีสมส่วน
ร้อยละ 47.27 ซึ่งจะเห็นได้ว่ายังไม่ได้ตามเป้าหมายสาเหตุเกิดจากผู้ปกครองไม่เห็นความสำคัญของเรื่องโภชนาการ
ปัญหาเศรษฐกิจของครอบครัว กรรมพันธุ์ พฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กและทานขนมกรุบกรอบ การบันทึก
ข้อมูลไม่ครอบคลุม ส่งผลให้ความครอบคลุมในการประเมินน้อยกลุ่มเป้าหมายที่ต้องประเมินทั้งหมด 7,127 ราย
และได้รับการคัดกรองชั่งและวัดส่วนสูง ได้เพียง 5,856 ราย คิดเป็นร้อยละ 82.16 ส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน
จำนวน 82.17 ราย คดิ เปน็ ร้อยละ 47.27 จงึ ทำให้ผลการดำเนินงานไม่เปน็ ไปตามเป้าหมายทกี่ ำหนด

3.4 วเิ คราะหผ์ ลและบ่งชี้ Bright spot และBlind spot
Bright spot ได้แก่ รพ.สต.โกตาบารู มีระบบตดิ ตามและคัดกรองเดก็ อย่างตอ่ เนื่อง
รพ.สต.จะกว๊ะ เป็นตำบลนำร่องตำบลสูงดีสมส่วนและมีท้องถิ่นสนับสนุนใน
ด้านโภชนาการเดก็ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง
Blind spot ได้แก่ -

4.ปญั หา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ

ปญั หา/อุปสรรค/ปจั จยั ท่ีทำให้การดำเนนิ งานไม่ ข้อเสนอแนะในเชงิ บริหารและวิชาการ
บรรลุวัตถปุ ระสงค์

1.อาหารกรุบกรอบมีจำหน่ายในหมู่บ้านสามารถเข้าถึง 1.ส่งเสริมศนู ย์เดก็ เลก็ ปลอดขนมกรบุ กรอบ

ไดง้ า่ ย

2.ผปู้ กครองไม่เห็นความสำคญั ดา้ นโภชนาการของเดก็ 2.ให้ความรู้โภชนาการแกผ่ ปู้ กครอง

3.เดก็ กินอาหารไมเ่ ปน็ เวลาติดโซเชยี วมากเกินไป 3.ส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีกิจกรรมในครอบครัวร่วมกัน
เช่นการรับประทานอาหารร่วมกันอยา่ งน้อย 1 ม้อื

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน คร้งั ที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

- 54 -

5.ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย/ต่อสว่ นกลาง/ต่อผบู้ ริหาร/ต่อระเบยี บ กฎหมาย
-
6.นวตั กรรมหรอื Best Practice ท่สี ามารถเป็นแบบอย่าง
-

ผู้รายงาน นางสาวอานซี ะ แยกาจิ
นางสาว อารีนา หะยีอาซา

ตำแหน่ง นกั วชิ าการสาธารณสุขชำนาญการ
วัน/เดือน/ปี 8 ธนั วาคม 2563
โทร 084-860-7419

E-mail. [email protected].

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน ครัง้ ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 55 -

แบบสรุปผลการดำเนนิ งาน คปสอ.รามนั ปีงบประมาณ 2564

รอบที่ 1 วนั ที่ 25 เดอื น ธันวาคม 2563

1.ประเดน็ การนิเทศ
ตัวช้ีวดั ร้อยละ 80 ของเด็กกลมุ่ อายุ 12 ปีฟนั ดไี ม่มีผุ (Cavity free)
เกณฑป์ ระเมินรอบ 3 เดือน ร้อยละเด็ก 6-12 ปี ได้รบั บรกิ ารทนั ตกรรม ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 15

ผลลัพธ์ : เด็ก 12 ปี ฟันดไี ม่มีผุ รอ้ ยละ 5.78
เด็ก 6-12 ปี ได้รบั บริการทันตกรรม รอ้ ยละ 15.85

2.สถานการณ/์ ผลการดำเนนิ งานย้อนหลัง 3 ปี (2561-2563)

ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากเด็กของอำเภอรามัน ข้อมูล 3 ปีย้อนหลัง พบว่ากลุ่มเด็ก
18 เดอื น มเี ดก็ ปราศจากฟันน้ำนมผุค่อนข้างคงท่ี รอ้ ยละ 94.64, 89.95 และ 94.09 ตามลำดบั กล่มุ เด็ก 3 ปี
มีแนวโน้ม ฟันน้ำนมปราศจากฟันผุคงที่เช่นกันรอ้ ยละ 38.36, 46.79 และ 46.23 ตามลำดับ และในกลุ่มอายุ
6 ปี มีสภาวะสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น แต่เด็ก 12 ปี พบฟันผุเพิ่มขึ้นจากกลุ่ม 6 ปี โดยในปี 2561 - 2563
พบเด็ก 12 ปี ปราศจากฟันแท้ผุ ร้อยละ 80.15, 80.20 และ 87.97 ตามลำดับ

3.การดำเนินงาน/ผลการดำเนนิ งานตามมาตรการสำคญั
3.1 แสดงผลการดำเนนิ งาน

ตารางผลการดำเนนิ งานเรื่อง รอ้ ยละ 80 ของเด็กอายุ 12 ปี ฟันดีไม่มผี ุ ( cavity free)

ลำดบั รายการ/ Base Line รพ.สต./pcu 2564 ไตรมาส 1 หมายเหตุ
ตวั ช้วี ดั 2562 2563
80.20 87.97 กายูบอเกาะ เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ/อตั รา
กาลูปงั
1 ร้อยละ 80 ของ กาลอ 113 9 7.96
กอตอตือระ
เด็กอายุ 12 ปี โกตาบารู 55 0 0
เกะ๊ รอ
ฟันดไี ม่มีผุ จะกวะ๊ 59 1 1.69
ท่าธง
( cavity free) บา้ นเกาะ 91 1 1.10
เนนิ งาม
บาลอ 90 17 18.89
บาโงย
บอื มัง 112 0 0
ยะต๊ะ
110 7 6.36

84 1 1.19

32 0 0

116 2 1.72

91 0 0

41 0 0

102 1 0.98

92 31 33.70

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั คร้ังท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 56 -

ตารางผลการดำเนินงานเร่อื ง ร้อยละ 80 ของเดก็ อายุ 12 ปี ฟนั ดไี ม่มีผุ ( cavity free) (ต่อ)

ลำดบั รายการ/ตัวชีว้ ัด Base Line รพ.สต./pcu 2564 ไตรมาส 1 หมายเหตุ
2562 2563
1 ร้อยละ 80 ของ วังพญา เปา้ หมาย ผลงาน รอ้ ยละ/อัตรา
เดก็ อายุ 12 ปี อาซอ่ ง
ฟันดีไมม่ ผี ุ ตะโล๊ะหะลอ 127 4 3.15
( cavity free)
75 0 0

131 14 10.69

แหลง่ ข้อมูล HDC ณ 25/11/2563

ในปี 2564 (ไตรมาส1) พบว่า เด็ก 12 ปีฟันดีไม่มีผุ ร้อยละ 5.78 และ เด็ก 6-12 ปี ได้รับบริการ
ทันตกรรม ร้อยละ 15.85 มีจำนวน 11 สถานบริการที่เริ่มให้บริการทันตกรรมในเด็ก 6-12 ปี และให้บริการ
ทันตกรรมสูงใน 3 รพ.สต ได้แก่ ยะต๊ะ,โกตาบารู และตะโล๊ะหะลอ และมีจำนวน 6 สถานบริการที่ยังไม่มี
การบรกิ ารทนั ตกรรมในเดก็ 6-12 ปี

3.2 การบรหิ ารจัดการ ปี 2564 (ยุทธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมทีด่ ำเนนิ การในการขับเคลอื่ น)

กลยุทธ์หรือมาตรการทีใ่ ช้ดำเนนิ การ ระยะเวลา

1.ประสานความรว่ มมือและคืนข้อมูลสุขภาพชอ่ งปากนักเรียนใหก้ ับโรงเรียน ตลุ าคม 2563
และผปู้ กครองเพอ่ื รว่ มกนั แกไ้ ขปญั หาเดก็ ฟนั ผุ – กุมภาพนั ธ์
2.จดั ระบบบริการส่งเสรมิ สุขภาพชอ่ งปากครอบคลุมทุกโรงเรียน โดยมี
2564
- ตรวจสุขภาพชอ่ งปากเดก็ ชั้นอนบุ าล – ชน้ั ป.6 อยา่ งน้อย ปีละ 1 ครั้ง
- ฝกึ เดก็ แปรงฟันให้มีคณุ ภาพดว้ ยยาสีฟนั ผสมฟลูออไรด์ (แปรงฟนั 222)
- บริการเคลือบหลมุ รอ่ งฟันในฟันกรามซที่ ี่ 1 และซ่ีที่ 2
- บรกิ ารเคลือบฟลูออไรด์
- มีการจดั ระบบบรกิ ารทันตกรรม โดยเน้นการบรู ณะฟนั เพอื่ ลดการสญู เสยี ฟัน เช่นบรู ณะฟัน
ด้วยเรซนิ เพ่ือการป้องกนั (PRR), อุดฟันฯลฯ
3.CUP สุ่มประเมินการยดึ ติดการเคลือบหลุมร่องฟนั

3.3 วิเคราะห์ผลการดำเนินงานปจั จุบนั
ผลการดำเนินงานให้บริการสุขภาพช่องปากในเด็กอายุ 12 ปี ฟันดีไม่มีผุของอำเภอรามัน ตั้งแต่
ตุลาคม ถึงปัจจุบัน (25/11/2563) ได้ร้อยละ 5.78 ซึ่งถือว่ายังไม่ผ่านเกณฑ์ที่วางไว้ เนื่องด้วยยังเป็นไตรมาส
แรกของปงี บประมาณ และงานทันตกรรมเปิดให้บริการตามมาตรฐานการป้องกันโรค New normal ทำให้ต้อง
ปรับปรุงห้องบริการ รวมถึงระบบปรับอากาศและระบายอากาศภายในห้อง ซึ่งต้องใช้งบประมาณค่อนข้างสูง
และอาจต้องใช้ระยะเวลาในการปรับปรุงห้องบริการ ทำให้บางรพ.สต ต้องงดบริการทันตกรรม ในงานที่ฟุ้ง
กระจายเสี่ยงต่อ การแพร่เชื้อโรคออกไปก่อน เช่น งานขูดหินปูน อุดฟัน เป็นต้น ทำให้ไม่สามารถบรรลุใน
ตัวชี้วัดเด็ก 12 ปี cavity free นี้ได้

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน ครง้ั ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 57 -

3.4 วเิ คราะห์ผลและบ่งช้ี Bright spot และBlind spot
Bright spot ไดแ้ ก่ สนับสนนุ วสั ดุ และเครื่องมือทางทันตกรรมทจ่ี ำเปน็ แก่รพ.สต รวมถึงกำกับ
ตดิ ตามผลการดำเนนิ งานของทนั ตแพทย์ประจำกล่มุ ทีด่ ูแลทกุ เดือน ตลอดจนมีกลมุ่ Line consult ระหว่าง
ทนั ตแพทย์/ทันตาภบิ าล

Blind spot ได้แก่ รพ.สต. ต้องปรับปรุงเรื่องระบบระบายอากาศ ซึ่งต้องใช้งบประมาณค่อนข้าง
สูง และอาจต้องใช้ระยะเวลาในการปรับปรุงห้องเพื่อรองรับการบริการทันตกรรมที่เป็นไปตามตามมาตรฐาน
การป้องกันโรค New normal และเนื่องจากปัญหาฟันผุ ถือเป็นปัญหาที่มาจากหลายปัจจัยทั้งตัวบุคคลเชื้อโรค
และสิง่ แวดล้อม การจัดการเพื่อให้ถึงเป้าหมายเด็กไทยฟันดีไมม่ ีผนุ ้ันต้องเขา้ ไปจัดการในหลายสว่ น และที่เห็นอย่าง
ชัดเจน คือ ปัญหาเรื่องอาชีพ สถานภาพทางการเงิน และการศึกษาที่ทำประชาชนในพื้นที่ยังขาดความรู้
ความตระหนัก และไม่เห็น ถึงความสำคัญของสุขภาพช่องปาก ถ้าปัญหานั้นไม่รุนแรงจนส่งผลต่อชีวิตประจำวัน
ทำให้การดำเนินการเชิงรุก หรือทันตกรรมป้องกัน แม้กระทั้งการรักษาเพื่อฟื้นฟู ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือของเด็ก
ผู้ดูแล ผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้องเป็นไปได้ยาก ปัญหาเรื่องของฟันผุตั้งแต่มีฟันซี่แรกในช่องปากจนถึง อายุ 12 ปี
จึงเป็นปัญหาทส่ี ะสม และทวคี วามรุนแรงมากขึ้นตามอายุทีเ่ ด็กเติบโตขึน้

4.ปญั หา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ

ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจยั ที่ทำใหก้ ารดำเนินงานไมบ่ รรลุ ขอ้ เสนอแนะในเชงิ บริหารและวชิ าการ

วัตถุประสงค์

- หอ้ งบริการทนั ตกรรมไม่พรอ้ มบรกิ ารงานท่ีฟงุ้ กระจาย - พัฒนาและปรับปรุงห้องบริการทันตกรรม

เสีย่ งตอ่ การแพร่เชื้อโรคออกไปก่อน เชน่ งานขูดหนิ ปูน เพื่อเป็นไปตามมาตรฐานการป้องกันโรค New

อดุ ฟนั เป็นต้น Normal

- ขาดความตระหนักของผูป้ กครอง และผดู้ แู ลเด็ก - ทันตแพทย์ประจำกลุ่มที่ดูแลลงไปนิเทศงาน

เกยี่ วกับความสำคญั ของสขุ ภาพช่องปาก ทนั ตกรรมกอ่ น

- เจา้ หนา้ ทท่ี ันตบุคลากรมภี าระงานอ่นื ท่ไี ด้รับมอบหมาย – หลังการปรับปรุงห้องทันตกรรม รวมถึง

นอกเหนือจากเน้ืองานทนั ตกรรมในบางพ้นื ทีท่ ี่มากเกินไป สนับสนุนการดำเนนิ งานใน รพ.สต.

และจำนวนเจ้าหน้าท่ีไมเ่ พียงพอต่อการทำงานเชงิ รุกตอ่ - รณรงค์โดยใช้รถทันตกรรมสร้างแรงจูงใจให้

จำนวนประชากรในพืน้ ที่ เห็นความสำคัญของสุขภาพช่องปากผ่านส่ือ

เสียงตามสาย โปสเตอร์ ไวนิลประกาศ

หรือนิทรรศกาล เป็นต้น ให้ความรู้เกี่ยวกับ

ความสำคัญ และอันตรายที่มาจากปัญหา

สุขภาพช่องปาก ชี้ให้เห็นถึงปัญหาข้อมูลท่ี

เป็นอยู่ในแต่ละพื้นท่ี ซึ่งอาจจะแทรกเข้าในการ

ประชุมผู้ปกครอง หรือในงานกิจกรรมสำคัญ

ของพื้นที่ เพื่อให้เกิดความตระหนักและหันมา

ใส่ใจปัญหาสุขภาพชอ่ งปากกันมากข้ึน

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน ครง้ั ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 58 - ข้อเสนอแนะในเชิงบริหารและวชิ าการ

ปญั หา/อุปสรรค/ปจั จยั ท่ีทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุ - ออกเยี่ยมบ้านปรับเปลี่ยนทัศนคติ ในกลุ่มที่
วตั ถุประสงค์ ไม่ให้ความร่วมมอื และไม่สนใจ
- กำหนดความรับผดิ ชอบทช่ี ัดเจนของเจา้ หน้าที่
ทันตกรรมให้เอื้อต่อการทำงานอย่างเต็มที่ และ
น่าจะมีการส่งเสริมให้เกิดทีมงาน dental
nurse หรือบุคลากรที่มีความสามารถเบื้องต้น
ในการร่วมมือกันออกพื้นที่ในการทำงานเชิงรุก
ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

5.ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย/ต่อส่วนกลาง/ตอ่ ผู้บริหาร/ต่อระเบียบ กฎหมาย
ควรจะมีการจดั ประชุมทกุ ภาคส่วนที่เกย่ี วข้องภายในพืน้ ทห่ี ลังจากมกี ารรับนโยบาย และวางเป้าหมาย

เดียวกัน ช่วยกันระดมความคิด ความร่วมมือที่เกิดขึ้นได้จริงของแต่ละภาคส่วน เพื่อให้เกิดกิจกรรม
การดำเนินงาน ที่เป็นรูปธรรม แบบมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็น โรงเรียนปลอดหวาน เพิ่มศักยภาพการดูแล
สุขภาพช่องปาก ของตนเองและบุตรหลานในกลมุ่ ผู้ดแู ลเด็ก และผู้ปกครอง เพื่อนำไปสเู้ ป้าหมาย เด็กไทยฟันดี
ไม่มผี ุ ทัง้ น้ี จัดแบ่งงบประมาณใหก้ ับแต่ละรพ.สต เพอ่ื ปรบั ปรงุ ระบบปรับอากาศและระบายอากาศภายในห้อง
บรกิ ารทนั ตกรรม เพ่ือรองรบั การบริการทันตกรรมทเ่ี ปน็ ไปตามตามมาตรฐานการปอ้ งกันโรค New normal
6.นวตั กรรมหรือ Best Practice ทส่ี ามารถเป็นแบบอยา่ ง

1. สร้างระบบการนัดควิ ออนไลนส์ ำหรับให้คุณครลู งวนั เวลานัด เพ่ือตอบสนองและให้สอดคลอ้ งกบั กิจกรรม
ความสะดวกของเดก็ ในโรงเรียนน้นั ๆ

ผูร้ ายงาน นางสาวนาอมี ะห์ หามะ
ตำแหน่ง เจา้ พนักงานทันตสาธารณสขุ ปฏิบัตงิ าน
วัน/เดอื น/ปี 27/11/2563
โทร -
E-mail. -

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน ครงั้ ท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 59 -

แบบสรุปผลการดำเนนิ งาน คปสอ.รามนั . ปีงบประมาณ 2564

รอบที่ 1 วนั ที่ 25 เดอื น ธนั วาคม 2563

1.ประเดน็ การนเิ ทศ
ตวั ชวี้ ดั : ร้อยละความครอบคลุมการได้รบั วคั ซีนในเดก็ อายุครบ 1, 3 และ 5 ปี

2.สถานการณ์/ผลการดำเนนิ งานย้อนหลงั 3 ปี (2561-2563)

ตวั ชี้วัด เป้าหมาย ผลการดำเนนิ งาน ย้อนหลงั 3 ปี
อตั ราความครอบคลมุ ของการได้รับวคั ซนี พ้ืนฐานในเด็ก (รอ้ ยละ) (Fully immunized)

อายุครบ 1 ปี (BCG-MMR1) 90 2561 2562 2563
อายคุ รบ 3 ปี (BCG-MMR2) 90
อายุครบ 5 ปี (BCG-DTP5/OPV5) 90 75.92 74.64 72.67

61.59 66.46 62.39

64.72 63.59 74.68

อัตราความครอบคลมุ เดก็ อายุครบ 1,2,3,5 ปี ได้รบั วคั ซีนครบชดุ ตามเกณฑ์ ปี
2563เปรียบเทยี บราย อาเภอ เปา้ หมาย ร้อยละ 90 (Fully immunized)

100 89.31 88.76 86.11
90
80 73.24 72.24
70
้รอยละ 60 54.58 49.83 48.74
50
40
30
20
10
0

อำเภอ

จากผลการดำเนินงานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก อายุครบ 1,2,3,5 ปี 2561 -2563 พบว่า
มีอัตรา ร้อยละ 81.43, 77.91, 80.65 และผลการดำเนินงาน ปี 2563 เปรียบเทียบ รายอำเภอ พบว่า
อำเภอรามัน มีผลงาน อยู่ในลำดับ ที่ 4 ผลงานอยูท่ ่ี ร้อยละ 73.24 จากปัญหาพบวา่ เจ้าหน้าท่ี มีการติดตาม
กลุ่มเป้าหมายไม่ต่อเนื่อง ทำให้เด็กได้รับวัคซีนล่าช้า ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ และ ด้วยสถานการณ์ การระบาด
ของ เชื้อ Covid-19 ในช่วงเดือน ต้นปี ที่ผ่านมา ส่งผลให้ ไม่เอื้อต่อการ เข้าถึงการรับบริการวัคซีน
โดยเฉพาะเด็กในกลุ่มอายุ 1 ปีแรก ที่ต้องได้รับวัคซีน ต่อเนื่อง ในช่วงอายุ 2. 4. 6 เดือน และ 1ปี ส่งผลให้
ได้รับวัคซีน ล่าช้า เกินอายุ 1 ปี และมีกลุ่มเด็กป่วยบ่อย ส่งผลให้ได้รับวัคซีนไม่เป็นไปตามเกณฑ์อายุ
และกลุ่มที่ผู้ปกครองบ่ายเบี่ยงไม่ยอมรับวัคซีน จากการสำรวจข้อมูลในปี พ.ศ. 2564 มี จำนวนลดลงจากเดิม
21 ราย เนือ่ งมีการตดิ ตามร่วมกับภาคเครือข่าย ผูน้ ำชมุ ชน เปน็ จำนวน 440 ราย กล่มุ ผปู้ กครองขอฉีดตอนลูก

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั คร้งั ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 60 -

โตทำให้ได้รับล่าช้าจำนวน 1,163 ราย จากสาเหตุหลายประการ เช่นเด็กป่วยบ่อย กระแสสื่อออนไลน์
(วคั ซนี ไม่ Halal และอ้างประสบการณ์ท่ีไม่ดี เล่าต่อ ๆ กนั มาฉดี แลว้ จะมคี วามผิดปกติทร่ี นุ แรง) รวมทั้งไม่ยอม
ฉีดวัคซีนในช่วงอายุขวบปีแรก มีกลุ่มเจ็บป่วยบ่อย 469 ราย จากเด็กอายุ 0-5 ปี ทั้งหมด 6,224 ราย
คดิ เปน็ ร้อยละ 25.07 จะเหน็ ไดว้ า่ กลมุ่ เป้าหมายดังกล่าวลดลงจากเดมิ (ร้อยละ 28.47) แต่ยังเปน็ อัตราทสี่ งู อาจ
ส่งผลให้มีการระบาดของโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีนในพื้นที่ได้ง่ายและรวดเร็วทำให้เกิ ดการเจ็บป่วยด้วยโรคที่
รา้ ยแรงไดใ้ นเด็กกลุ่มอายุ 0-5ปี พบวา่ มกี ารระบาดของโรคหัดช่วงเดือนกันยายน-ธันวาคม 2561จำนวน 129
ราย และตำบลท่ีมกี ารระบาดมากทีส่ ุดคือ ตำบลเนนิ งาม วงั พญา ตะโละหะลอ และเกดิ โรคคอตบี ในเด็กอายุ
0 – 5 ปี อย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ตำบลจะกว๊ะ ในปี พ.ศ. 2554 จำนวน 1 ราย, ปี พ.ศ. 2555 จำนวน 1 ราย
ปี พ.ศ.2557 จำนวน 1 ราย และปี พ.ศ.2558 จำนวน 2 ราย และ ปี พ.ศ.2561 ตำบลกาลปู ัง เสยี ชีวิต 1 ราย
เปน็ เคสปฏเิ สธวคั ซนี และโรคไอกรนปี พ.ศ. 2562 จำนวน 2 ราย ตำบลเนนิ งาม และ เกะรอ

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั คร้ังท่ี 1 ปีงบประมาณ 2564

-

3.การดำเนนิ งาน/ผลการดำเนนิ งานตามมาตรการสำคญั
3.1 แสดงผลการดำเนนิ งาน

ตารางผลการดำเนินงานเรือ่ ง อตั ราความครอบคลุมเดก็ อายุครบ 1,3,5 ปี ไต

Base Line

ลำดับ ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 โกตา

บารู

1 อตั ราความครอบคลุม 75.92 74.64 72.67 เปา้ หมาย 17

เด็กอายุครบ 1 ปไี ด้รับ ผลงาน 7

วคั ซีนครบชดุ ตาม รอ้ ยละ 41.18

เกณฑ์

กอตอ
ตือร๊ะ

เป้าหมาย 19
ผลงาน 10
รอ้ ยละ 52.63

เอกสารประกอบการนิเทศ คป

61 -

ตรมาสท1ี

ผลการดำเนินงานแยกรายตำบล

เกะรอ กาลอ กาลูปงั บือมัง ยะตะ๊ บาโงย เนนิ งาม วงั พญา

19 13 13 20 20 14 24 20
12 8 9 11 11 8 18 16
63.16 61.54 69.23 55 55 57.14 75 80

ผลการดำเนนิ งานแยกรายตำบล รวม

ตะโล๊ะ จะกว๊ะ บาลอ ท่าธง บา้ น อาซ่อง รพ.รา
หะลอ เกาะ มัน

27 30 30 29 7 14 29 345
15 14 15 24 5 9 22 214
55.56 46.67 50 82.76 71.43 64.29 75.86 62.03

ปสอ.รามัน คร้ังท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

-

Base Line เป้าหมาย โกตา
ผลงาน บารู
ลำดบั ผลสำเร็จ/ตวั ช้วี ัด ร้อยละ 20
2561 2562 2563 13
65
1 อัตราความครอบคลุม 61.59 66.46 62.39
เด็กอายุครบ 3 ปีได้รับ
วัคซีนครบชุดตาม
เกณฑ์

กอตอ
ตอื ร๊ะ

เปา้ หมาย 19
ผลงาน 9
รอ้ ยละ 47.37

เอกสารประกอบการนิเทศ คป

62 -

ผลการดำเนินงานแยกรายตำบล

เกะรอ กาลอ กาลปู ัง บือมัง ยะตะ๊ บาโงย เนินงาม วังพญา

26 17 10 26 14 14 29 25
15 10 6 17 11 10 17 20
75.69 58.82 60 65.38 78.57 71.43 58.62 80

ผลการดำเนนิ งานแยกรายตำบล รวม

ตะโละ๊ จะกว๊ะ บาลอ ท่าธง บา้ น อาซอ่ ง รพ.รา
หะลอ เกาะ มัน

26 15 16 19 5 18 29 328
16 9 14 14 4 12 29 226
61.54 60 87.50 73.68 80 66.67 100 68.90

ปสอ.รามัน คร้งั ท่ี 1 ปีงบประมาณ 2564

-

ลำดับ ผลสำเร็จ/ตวั ช้วี ัด Base Line เปา้ หมาย โกตา
ผลงาน บารู
1. อัตราความครอบคลมุ เด็ก 2561 2562 2563 รอ้ ยละ 18
อายคุ รบ5ปีไดร้ บั วัคซนี 64.72 63.59 74.68 7
ครบชุดตามเกณฑ์ 38.89

กอตอ
ตอื ร๊ะ

เป้าหมาย 17
ผลงาน 10
ร้อยละ 58.82

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คป

63 -

ผลการดำเนนิ งานแยกรายตำบล

เกะรอ กาลอ กาลปู ัง บือมัง ยะต๊ะ บาโงย เนนิ งาม วังพญา

14 15 13 30 21 11 25 25
10 10 11 23 16 7 19 21
71.43 66.67 84.62 76.67 76.19 63.64 76 84

ผลการดำเนนิ งานแยกรายตำบล รวม

ตะโละ๊ จะกว๊ะ บาลอ ท่าธง บ้าน อาซ่อง รพ.รา
หะลอ เกาะ มัน

17 18 24 15 5 13 22 303
11 10 20 11 3 9 20 218
64.71 55.56 83.33 73.33 60 69.23 90.91 71.95

แหล่งข้อมูล รายงาน HDC ณ วนั ท่ี 4-12—2563

ปสอ.รามัน ครัง้ ท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564


Click to View FlipBook Version