The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบสรุปผลการดำเนินงาน คปสอ.รอบที่ 1-2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sarinee.sa35, 2021-04-01 00:16:56

แบบสรุปผลการดำเนินงาน คปสอ.รอบที่ 1-2564

แบบสรุปผลการดำเนินงาน คปสอ.รอบที่ 1-2564

- 102 -

แบบสรปุ ผลการดำเนินงาน คปสอ.รามนั ปงี บประมาณ 2564

รอบที่ 1 วันที่ 25 เดือน ธันวาคม 2563

1.ประเด็นการนเิ ทศ
ตวั ชวี้ ัด โรงพยาบาลไม่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงนิ ระดับ 7 และระดบั 6

2.สถานการณ/์ ผลการดำเนนิ งานย้อนหลงั 3 ปี (2561-2563)
สถานการณ์การเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2561-2563 พบว่าโรงพยาบาลรามัน ไม่ประสบปัญหาวิกฤต

ทางการเงินการคลัง แต่ต้องมีมาตรการเฝ้าระวังความเสี่ยงทางด้านการเงินการคลังในทุกไตรมาส โดยมีการพัฒนา
ระบบควบคุมภายในและพัฒนาคุณภาพบัญชี มีการจัดทำแผนประมาณการเพื่อใช้ในการควบคุมรายได้ -ค่าใช้จ่าย
ร่วมกับคณะกรรมการบริหารการเงินการคลังและวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเงิน เพื่อให้เกิดการพัฒนา
อย่างเป็นระบบ คาดวา่ จะสง่ ผลให้เกดิ ประสิทธภิ าพในการบริหารจดั การเงินการคลังอย่างยั่งยืนตอ่ ไป

3.การดำเนินงาน/ผลการดำเนนิ งานตามมาตรการสำคญั

3.1 แสดงผลการดำเนินงาน

ตารางผลการดำเนินงานเรอื่ ง

ลำดับ รายการ/ตัวชว้ี ัด Base Line 2564 ไตรมาส 1 หมายเหตุ
2562 2563 ผ่าน
เป้าหมาย ผลงาน รอ้ ยละ/อตั รา

1 ไม่ประสบปญั หาวิกฤตทาง 1 0 ไมม่ ากกว่า 5 1 20

การเงิน ระดบั 6-7

แหล่งข้อมลู http://hfo63.cfo.in.th/ ณ 31 ตุลาคม 2563

3.2 การบรหิ ารจดั การ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมทด่ี ำเนินการในการขบั เคล่ือน)

กลยุทธห์ รอื มาตรการทใี่ ชด้ ำเนนิ การ ระยะเวลา

1. จัดประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารการเงินการคลงั ทุกไตรมาส
ทุกเดือน
2. มคี ณะกรรมการบริหารหนี้ รว่ มประชมุ ทบทวน กำกบั ตดิ ตาม หนีส้ นิ

3.3 วเิ คราะห์ผลการดำเนนิ งานปจั จบุ ัน
โรงพยาบาลรามัน ณ เดือน ตุลาคม 2563 มีวิกฤตทางการเงินระดับ 1 เนื่องจากในเดือน ตุลาคม 2563
ทางสปสช.ไม่ได้จัดสรรเงิน PP OP และ HS ให้โรงพยาบาล ทำให้โรงพยาบาลประสบปัญหาวิกฤตทางการเงิน
ระดับ 1 ส่งผลต่อผลการดำเนินงานขาดทนุ สถานะเงนิ บำรงุ คงเหลอื ณ 31 ตลุ าคม 2563 เท่ากับ 46.54 ลา้ นบาท

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั คร้งั ท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 103 -

3.4 วิเคราะหผ์ ลและบ่งช้ี Bright spot และBlind spot

Bright spot ไดแ้ ก่ มีการจัดประชุมคณะกรรมการบรหิ ารการเงินการคลงั เพื่อวเิ คราะห์
Blind spot สถานการณ์และมาตรการเพ่ิมรายได้ ลดรายจ่าย

ไดแ้ ก่ การจัดซื้อจัดจา้ งนอกแผนจะทำใหผ้ ลการดำเนนิ งานไม่เป็นไปตามแผน
ควบคุมรายไดแ้ ละค่าใช้จา่ ย

4.ปัญหา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ

ปัญหา/อุปสรรค/ปจั จยั ท่ีทำใหก้ ารดำเนินงานไม่ ขอ้ เสนอแนะในเชงิ บริหารและวิชาการ

บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์

--

5.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/ต่อส่วนกลาง/ตอ่ ผบู้ ริหาร/ต่อระเบยี บ กฎหมาย

-

6.นวตั กรรมหรือ Best Practice ที่สามารถเปน็ แบบอย่าง

-

ผูร้ ายงาน นางสาวคอลเี ยาะ เตาะสาตู
ตำแหน่ง นกั วิชาการเงินและบญั ชี
วนั /เดือน/ปี 30 พฤศจิกายน 2563
โทร 063-0268954
E-mail. [email protected]

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน ครั้งที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

- 104 -

แบบสรุปผลการดำเนนิ งาน คปสอ.รามนั ปีงบประมาณ 2564

รอบท่ี 1 วันท่ี 25 เดือน ธันวาคม 2563

1.ประเด็นการนิเทศ
ตวั ชวี้ ดั ระดบั ความสำเรจ็ ของการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพดา้ นการเงินการคลงั ของหนว่ ยบรกิ าร โดยใช้ FEED

(5 ขั้นตอน)
2.สถานการณ/์ ผลการดำเนนิ งานย้อนหลงั 3 ปี (2561-2563)

เนอื่ งด้วยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา ให้มีการแต่งต้ังคณะกรรมการบรหิ ารการเงนิ การคลัง CFO ให้มี
อำนาจในการนำนโยบายด้านการเงินการคลังสู่การปฏิบัติ ให้มีประสิทธิภาพครอบคลุมทั่วถึง ส่งเสริมและสนับสนุน
การพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การดา้ นการเงินการคลัง การให้ความเห็นชอบและอนุมัติแผนทางการเงิน (Planfin) การเฝา้
ระวังสถานการณ์ด้านการเงินการคลัง โดยใช้เครื่องมือ FEED ในการควบคุม กำกับ ติดตาม ให้เป็นไปตาม 5 ขั้นตอน
ท่ีจังหวดั กำหนด
3.การดำเนนิ งาน/ผลการดำเนนิ งานตามมาตรการสำคัญ

3.1 แสดงผลการดำเนินงาน

ผลการดำเนินงานใน 2564 ไตรมาส 1
รอบปงี บประมาณ
Baseline หนว่ ยวัด รอ้ ยละ/ หมายเหตุ
2561 2562 2563 อัตรา
ระดับความสำเร็จของการเพิม่ ดำเนินการครบ เปา้ หมาย ผลงาน เนอ่ื งจากยงั
ประสทิ ธภิ าพดา้ นการเงินการคลัง 5 ข้ันตอน --- 5 ขน้ั ตอน 3 ข้นั ตอน 60 ไม่ครบ
3 เดือน
โดยใช้ FEED (5 ขัน้ ตอน)

แหล่งขอ้ มูล จากการประชมุ CFO ณ 30 พฤจิกายน 2563

3.2 การบรหิ ารจดั การ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมทด่ี ำเนินการในการขบั เคลอ่ื น)

กลยุทธห์ รือมาตรการท่ีใชด้ ำเนนิ การ ระยะเวลา

1. แต่งต้งั คณะกรรมการ CFO ตลุ าคม 2563
2. แบง่ ผู้รบั ผดิ ชอบใน FEED พฤศจิกายน 2563
3. จดั ประชุม CFO เดือนละ 1 คร้ัง

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน คร้งั ท่ี 1 ปีงบประมาณ 2564

- 105 -

3.3 วิเคราะหผ์ ลการดำเนินงานปจั จบุ นั
จากการวิเคราะห์แผนการเงิน (Planfin) ปีงบประมาณ 2563 โรงพยาบาลรามันมีผลการดำเนินงาน

ภาพรวมเปน็ ไปตามแผนควบคุมรายไดแ้ ละค่าใช้จา่ ยไมเ่ กนิ ร้อยละ 5 จากแผน ทำใหโ้ รงพยาบาลรามนั ไม่ประสบภาวะ
วิกฤตทางการเงินระดับดับ 6 - 7 โรงพยาบาลรามันมีทุนสำรองเป็นบวกเท่ากับ 43,826,496.59 บาท มีผล
ประกอบการเป็นบวก เทา่ กับ 78,160.57บาท ประเมินประสิทธิภาพทางการเงิน (7 Plus) อย่ใู นระดับ B – ซึ่งตัวชี้วัด
ที่ไม่ผ่าน คือ Operating Margin มากกว่าค่ากลาง , Return on Asset มากกว่าค่ากลาง , ระยะเวลาเรียกเก็บลูกหน้ี
ประกันสังคมเกิน 60 วัน Sum AdjRW เทียบกับปีงบ63 ลดลงร้อยละ 17.5 ต้นทุนผู้ป่วยนอกน้อยกว่าค่ากลาง
แต่ต้นทุนผู้ป่วยในมากกว่าค่ากลาง กำหนดค่ากลาง 19,456.64 ผลดำเนินงาน 20,546.05 คุณภาพบัญชีผ่านเกณฑ์
การประเมินทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 100 คะแนน

สรุป โรงพยาบาลรามันไม่ผ่านเกณฑ์ 6 ข้อใน 10 ขอ้ ของ FEED
3.4 วิเคราะหผ์ ลและบ่งชี้ Bright spot และBlind spot

Bright spot ไดแ้ ก่ การแตง่ ตั้งคณะกรรมการ CFO และการใช้เคร่ืองมือในการกำกับ ตดิ ตาม ทำใหเ้ พิ่ม
Blind spot ประสทิ ธภิ าพในการทำงาน ให้เป็นไปตาม 5 ข้ันตอน
ได้แก่ เครือ่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการกำกับตดิ ตาม เน่ืองจากพง่ึ เริ่มใช้ในปีแรกทำให้ต้องมกี ารศกึ ษา
หาความรู้ ความเข้าใจ เพื่อสะทอ้ นและแก้ไขปญั หา

4.ปัญหา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะในเชิงบริหารและวชิ าการ

ปัญหา/อุปสรรค/ปจั จัยที่ทำใหก้ ารดำเนินงานไม่ - อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปฏิบัติเพื่อทำความเข้าใจ
บรรลุวัตถปุ ระสงค์ และนำไปแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขน้ึ

- ผูป้ ฏิบัติขาดความรู้ในการใชเ้ ครื่องมือกำกบั
ตดิ ตาม

5.ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย/ตอ่ ส่วนกลาง/ต่อผู้บริหาร/ต่อระเบยี บ กฎหมาย
-

6.นวตั กรรมหรือ Best Practice ท่ีสามารถเป็นแบบอยา่ ง
-

ผู้รายงาน นางสาวคอลีเยาะ เตาะสาตู
ตำแหน่ง นักวิชาการเงินและบัญชี
วัน/เดือน/ปี 30 พฤศจิกายน 2563
โทร 063-0268954
E-mail. [email protected]

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั ครั้งที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 106 -

แบบสรปุ ผลการดำเนินงาน คปสอ.รามัน ปีงบประมาณ 2564

รอบท่ี 1 วนั ที่ 25 เดอื น ธนั วาคม 2563

1.ประเด็นการนิเทศ
ตวั ชีว้ ัด การเบิกจา่ ยเงนิ งบประมาณทกุ แหลง่ งบถูกต้องตามระเบยี บท่เี ก่ียวข้องไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80

2.สถานการณ์/ผลการดำเนนิ งานย้อนหลัง 3 ปี (2561-2563)
โรงพยาบาลรามัน ได้ดำเนินการเบิกจ่ายภายในปีที่ผ่านมามีความถูกต้องตามระเบียบต่างๆ โดยมี

การตรวจสอบเอกสารเบ้ืองต้นจากหน่วยงานย่อย และสง่ หลกั ฐานการเบิกจา่ ยให้สว่ นกลางตามลำดบั

ลำดับ รายการ/ตวั ชว้ี ดั 2561 2562 2563

1 การส่งหลกั ฐานการเบิกจา่ ยเงินงบประมาณรายจ่าย 92.37 93.81 95.73
ประจำปถี ูกตอ้ งตามระเบยี บไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80

3.การดำเนินงาน/ผลการดำเนนิ งานตามมาตรการสำคญั

3.1 แสดงผลการดำเนนิ งาน

ตารางผลการดำเนินงานเรื่อง

Base Line รพ.สต./ 2564 ไตรมาส 1
2562 2563 pcu
ลำดบั รายการ/ตัวชวี้ ดั เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ/ หมายเหตุ
อัตรา
ทั้งหมด 7
1 การเบิกจา่ ยเงินงบประมาณ 93.81 95.73 ร้อยละ80 6/7 85.74 รายการ
สำเรจ็ 6
ทกุ แหล่งงบถกู ต้องตาม รายการ

ระเบยี บทเี่ กี่ยวขอ้ งไม่น้อย

กว่าร้อยละ 80

แหล่งข้อมลู ณ 30 พ.ย.63

3.2 การบรหิ ารจดั การ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมทดี่ ำเนินการในการขบั เคล่ือน)

กลยุทธห์ รือมาตรการที่ใชด้ ำเนินการ ระยะเวลา
1. ให้ความรเู้ จ้าหนา้ ทเ่ี รอ่ื งเอกสารการเบิกจ่าย 3 เดอื น
2. สรรหาระบบที่ง่ายตอ่ การเบิกจ่าย เพ่ือลดขน้ั ตอนใหง้ า่ ยขน้ึ 6 เดือน

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน ครงั้ ท่ี 1 ปีงบประมาณ 2564

- 107 -

3.3 วิเคราะห์ผลการดำเนินงานปจั จุบัน
โรงพยาบาลรามัน มีการส่งหลักฐานการเบิกจ่ายในปี 2563 ทผี่ ่านมาเป็นไปตามระเบยี บฯ มากขนึ้ จากปีก่อน
และในปี 2564 คาดว่าจะควบคุมเอกสารการเบิกจ่ายใหเ้ ป็นไปแผนงาน/โครงการและระเบียบต่าง ๆ เช่น พรบ.พัสดุ
ปี 2560 ,ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ
(ฉบับท3ี่ ) 2555 และพระราชกฤษฎกี าค่าใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางไปราชการแก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับท่ี 9 พ.ศ. 2560 ไดม้ าก
ถึงร้อยละ 80 ข้ึนไป

3.3 วิเคราะห์ผลและบ่งชี้ Bright spot และBlind spot

Bright spot ไดแ้ ก่ เจ้าหนา้ ทม่ี คี วามรู้ ประสบการณ์ และความชำนาญมากขน้ึ
Blind spot ไดแ้ ก่ มรี ะยะเวลาในการตรวจสอบเอกสารนอ้ ย

4.ปัญหา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ ข้อเสนอแนะในเชิงบริหารและวิชาการ

ปญั หา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทำใหก้ ารดำเนนิ งานไม่ 1.จัดทำทะเบียนคุมการส่งหลักฐานการเบิกจ่าย
บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ และกำหนดระยะเวลาการตรวจสอบหลักฐาน
การเบกิ จา่ ยกับหนว่ ยงานย่อย
1.หลกั ฐานการเบิกจา่ ยสง่ ลา่ ช้า ส่งผลให้
การตรวจสอบเพื่อการเบกิ จา่ ยมคี วามเร่งด่วน ทำให้
การตรวจสอบมีขอ้ ผิดพลาด

2.ขาดการตรวจสอบจากหัวหน้าหน่วยงานและ 2.จัดให้มีการอบรมเรื่องหลักฐานประกอบ

ความเข้าใจในเรอื่ งหลกั ฐานการเบกิ จา่ ย การเบกิ จ่ายของโรงพยาบาล

5.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/ต่อส่วนกลาง/ตอ่ ผบู้ ริหาร/ต่อระเบยี บ กฎหมาย
-

6.นวัตกรรมหรือ Best Practice ทีส่ ามารถเปน็ แบบอย่าง

-

ผ้รู ายงาน นางสาวจติ รานนั ท์ คหวิริยะโกศล
ตำแหน่ง เจา้ พนักงานการเงินและบญั ชชี ำนาญงาน
วนั /เดอื น/ปี 30 พฤศจกิ ายน 2563
โทร 082-4363168
E-mail. [email protected]

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน ครง้ั ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 108 -

แบบสรปุ ผลการดำเนนิ งาน คปสอ.รามนั ปงี บประมาณ 2564

รอบท่ี 1 วันที่ 25 เดอื น ธันวาคม 2563

1.ประเด็นการนเิ ทศ
โรงพยาบาลผา่ นเกณฑป์ ระเมินบญั ชีเกณฑ์คงค้างทางอเิ ล็กทรอนิกส์ 100 คะแนน

2.สถานการณ์/ผลการดำเนนิ งานยอ้ นหลงั 3 ปี (2561-2563)
สถานการณ์หน่วยบริการผ่านเกณฑ์ประเมินทางอิเล็กทรอนิกส์ 100 คะแนน ปีงบประมาณ 2561-2563

พบวา่ โรงพยาบาลรามันมีเกณฑป์ ระเมินทางอิเล็กทรอนิกสผ์ ่าน 100% แต่ต้องมีการติดตามข้อมูลเอกสารการลงบัญชี
เพ่ือให้นักบญั ชีบันทึกบญั ชถี ูกต้อง ทนั เวลา และขอ้ มูลบัญชมี ีความน่าเชือ่ ถอื ยง่ิ ข้นึ

3.การดำเนนิ งาน/ผลการดำเนินงานตามมาตรการสำคญั

3.1 แสดงผลการดำเนนิ งาน

ตารางผลการดำเนนิ งานเรอ่ื ง

ลำดับ รายการ/ตัวชีว้ ดั Base Line 2564 ไตรมาส 1 หมายเหตุ
2562 2563 เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ/อัตรา
เนือ่ งจากเป็น
1 โรงพยาบาลผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ รอ้ ยละ 300 100 33.33 ขอ้ มลู เดอื น

ประเมินทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 100 100 ต.ค.63
ยังไม่มีการส่ง
100 คะแนน ขอ้ มูลเดอื น

พ.ย.63

แหล่งข้อมลู http://hfo63.cfo.in.th/ ณ 31 ตุลาคม 2563

3.2 การบรหิ ารจัดการ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมทดี่ ำเนนิ การในการขบั เคลื่อน)

กลยุทธห์ รือมาตรการทใ่ี ช้ดำเนนิ การ ระยะเวลา

1. จดั ทำ Timeline การส่งข้อมูลให้ทางบญั ชีรับรู้ พฤศจิกายน

2. ตดิ ตามการสง่ ขอ้ มลู เพ่อื ใหไ้ ดข้ อ้ มูลท่ีครบถ้วนหากเกนิ ระยะเวลาเข้าประชุม CFO ทกุ เดือน

3.3 วเิ คราะหผ์ ลการดำเนนิ งานปจั จุบนั
จากการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานทางอเิ ล็กทรอนิกส์ปปี ัจจุบนั ณ 31 ตลุ าคม 2563 โรงพยาบาลรามนั ส่ง
งบการเงินทนั เวลา มผี ลการดำเนนิ งานตามเกณฑ์ประเมินทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 100 คะแนน

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั คร้งั ท่ี 1 ปีงบประมาณ 2564

- 109 -

3.4 วเิ คราะห์ผลและบ่งช้ี Bright spot และBlind spot

Bright spot ได้แก่ มีการจัดประชุมคณะกรรมการบริหารการเงนิ การคลัง CFO เพ่ือนำเสนอข้อมูลก่อน
สง่ ข้นึ ระบบ

Blind spot ไดแ้ ก่ การปรับเปล่ยี นการรับรรู้ ายการบัญชีตลอดเวลาทำให้นักบัญชสี บั สนและบันทึกบัญชี
ผิดพลาด

4.ปญั หา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะ

ปญั หา/อุปสรรค/ปจั จัยที่ทำใหก้ ารดำเนินงานไม่ ข้อเสนอแนะในเชิงบริหารและวิชาการ

บรรลวุ ตั ถุประสงค์

- การส่งข้อมูลจากหน่วยงานลา่ ช้าทำให้ส่งผลต่อการ - จัดทำ Timeline การส่งข้อมูลให้ชัดเจนหากส่ง

ส่งงบทดลองของโรงพยาบาล ลา่ ชา้ เขา้ ท่ปี ระชมุ CFO

5.ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย/ต่อส่วนกลาง/ต่อผบู้ ริหาร/ต่อระเบยี บ กฎหมาย
-

6.นวตั กรรมหรือ Best Practice ท่สี ามารถเปน็ แบบอยา่ ง
-

ผู้รายงาน นางสาวคอลีเยาะ เตาะสาตู
ตำแหน่ง นกั วชิ าการเงนิ และบญั ชี
วัน/เดอื น/ปี 30 พฤศจิกายน 2563
โทร 063-0268954
E-mail. [email protected]

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน ครง้ั ที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

- 110 -

แบบสรุปผลการดำเนินงาน คปสอ.รามัน ปีงบประมาณ 2564

รอบที่ 1 วนั ท่ี 25 เดอื น ธนั วาคม 2563

1.ประเดน็ การนิเทศ
ตัวช้วี ัด ระดับความสำเรจ็ ของการควบคุมภายในของหนว่ ยงานที่มปี ระสิทธิภาพ

2.สถานการณ/์ ผลการดำเนนิ งานยอ้ นหลัง 3 ปี (2561-2563)
กระทรวงสาธารณสุขมุ่งเน้นกลยุทธ์การดำเนินงานโดยใช้หลักธรรมาภิบาลเป็นหลักในการขับเคลื่อนงาน

จึงกำหนดให้หน่วยงานทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีการวางระบบการตรวจสอบภายใน
หน่วยงานโดยมีการจัดทำขั้นตอนการดำเนินงานและส่งรายงานผลการดำเนินงานแล ะสภาพแวดล้อม
ในการดำเนินงาน โดยมีการรายงานผ่านระบบการตรวจสอบภายในอัตโนมัติ 5 มิติ หรือเรียกว่าระบบ (Electronics
Internal Audit : EIA) ซ่ึงระบบการควบคุมภายในน้นั เป็นกระบวนการปฏิบัติงานท่ีหวั หน้าหน่วยงานของรฐั จดั ให้มีขึ้น
เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า การดำเนินงานของหน่วยงานของรัฐจะบรรลุวัตถุประสงค์
ด้านการดำเนินงาน ด้านการรายงาน และด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ ตามหลักเกณฑ์
กระทรวงการคลังวา่ ด้วยมาตรฐานและหลกั เกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายใน สำหรับหนว่ ยงาน ของรฐั พ.ศ.2561

โรงพยาบาลรามัน และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอรามัน ได้ดำเนินการส่งรายงาน ปค. 4-ปค.5 รอบ
12 เดือน ประจำปีงบประมาณ 2563 ไปยังสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา เพื่อรายงานผลการดำเนินงาน
การควบคุมภายในของหน่วยงาน และส่งให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลาได้รวบรวมส่งกระทรวงและสตง.
เรียบร้อยแลว้

ผลการดำเนินงานความสำเรจ็ ของการควบคมุ ภายในของหนว่ ยงานที่มปี ระสทิ ธิภาพ ตั้งแต่ปี 2561-2563

• ระบบความคุมภายในหนว่ ยงาน

ปี 2561 2562 2563
ผลการดำเนนิ งาน
ส่งรายงานการบริหาร สง่ รายงานการบริหาร ส่งรายงานการบรหิ าร

ความเส่ยี งควบคุมภายใน ความเส่ียงควบคุมภายใน ความเสยี่ งควบคุมภายใน

ปค.4-ปค.5 ณ 31 ปค.4-ปค.5 ณ 31 ปค.4-ปค.5 ณ 31

ต.ค.61 เรียบรอ้ ยแล้ว ต.ค.62 เรียบรอ้ ยแลว้ ต.ค.63 เรยี บร้อยแล้ว

รอ้ ยละ 100% รอ้ ยละ 100% ร้อยละ 100%

• ระบบการตรวจสอบภายในอัตโนมตั ิ 5 มิติ (Electronics Internal Audit : EIA)

ปี 2561 2562 2563

ผลการดำเนนิ งาน N/A 75.00 85.35

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั ครงั้ ท่ี 1 ปีงบประมาณ 2564

- 111 -

ผลการประเมนิ รายมติ ิ 5 มิติ

ลำดับ ระบบ ผลประเมนิ ปี 2562 ผลประเมิน ปี 2563

1 แบบประเมนิ เพ่มิ ประสิทธิภาพการเงินการคลัง 88.46 90.91
(มติ ดิ า้ นการเงนิ )

2 แบบประเมนิ เพิ่มประสิทธภิ าพการเงนิ การคลัง 91.30 82.61
(มิตดิ ้านจดั เก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาล)

3 แบบประเมินเพ่ิมประสิทธิภาพการเงนิ การคลงั 84.78 85.29
(มิติดา้ นงบการเงิน)

4 แบบประเมนิ เพิ่มประสทิ ธภิ าพการเงินการคลัง 37.84 85.71
(มิติดา้ นบริหารพัสดุ)

5 แบบประเมนิ เพมิ่ ประสิทธภิ าพการเงนิ การคลงั 71.05 78.57
(มิตดิ า้ นระบบควบคุมภายในและการบริหารความเสยี่ ง)

3.การดำเนนิ งาน/ผลการดำเนนิ งานตามมาตรการสำคัญ
3.1 แสดงผลการดำเนนิ งาน

ตารางผลการดำเนนิ งานเรื่อง

Base Line รพ.สต./ 2564 ไตรมาส 1
2562 2563
ลำดบั รายการ/ตัวชวี้ ดั pcu เปา้ หมาย ผลงาน ร้อยละ/ หมายเหตุ
100% 100% อัตรา
1 โรงพยาบาลรามัน เริม่ ทำแผน/
ความสำเรจ็ ของ 80% 90% 100% 20 25 แตง่ ต้งั
การควบคมุ ภายในของ ทำได้ ทำได้
หน่วยงานทีม่ ี 75% 85.35% คณะกรรมการ
ประสทิ ธิภาพ ควบคมุ ภายใน
- ความสำเร็จของ ระบบยังไม่
การควบคุมภายใน
ของหนว่ ยงาน เปิด
- ความสำเรจ็ ของ ดำเนนิ การ
ระบบการตรวจสอบ
ภายในอัตโนมัติ 5 มิติ 90% 0 0
(EIA)

แหล่งขอ้ มูล โรงพยาบาลรามัน ณ 27 พ.ย. 2563

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั ครง้ั ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 112 -

3.2 การบรหิ ารจัดการ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมทด่ี ำเนนิ การในการขบั เคลือ่ น)

กลยุทธห์ รอื มาตรการท่ใี ช้ดำเนินการ ระยะเวลา

1.มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานระบบควบคมุ ภายใน ไตรมาสที่ 1
ไตรมาสที่ 2
2.จดั ส่งรายงานการประเมนิ ผลและการปรบั ปรงุ การควบคุมภายใน ปค.4-ปค.5
รอบ 12 เดอื น ให้ สสจ. ไตรมาสที่ 2

3.ทำการประเมินระบบความคุมภายใน 5 มิติ 1 ธนั วาคม 2563 ปดิ ระบบ ไตรมาสที่ 4
31 มนี าคม 2564

4.จัดทำแผนพัฒนาองค์กรจากผลการประเมินระบบการควบคุมภายใน 5 มติ ิ
(กรณีพบจุดอ่อนในมติ ิที่ไมผ่ า่ น 90%) พร้อมสง่ ผลให้กลุ่มตรวจสอบภายในสำนกั งาน
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1 – 31 กรกฎาคม 2564

3.3 วิเคราะห์ผลการดำเนินงานปัจจบุ ัน
โรงพยาบาลรามันและสำนักงานสาธารณสุขอำเภอรามันได้ดำเนินการส่งข้อมูลรายงานผล

การตรวจสอบภายใน ปค.4-ปค.5 รอบ 12 เดือน ไปยังสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา เรียบร้อยแล้ว
เมื่อเดือนกันยายน 2563 ที่ผ่านมา และได้การดำเนินการส่งผลการดำเนินงานด้านการเงินการคลัง 5 มิติ
โดยการอัพโหลดไฟล์ข้อมูลลงในระบบการตรวจสอบภายในอัตโนมัติ 5 มิติ (Electronics Internal Audit : EIA)
ซึ่งเป็นระบบของกลุ่มตรวจสอบภายในสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เสร็จเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 30
เมษายน 2563 ที่ผ่านมา ซึ่งผลการประเมินจากกระทรวงออกมาแล้ว พบว่าโรงพยาบาลรามัน มีผลการประเมิน
ระบบ EIA 85.35% ไมผ่ ่านเกณฑ์ท่ีกำหนด 90% ซงึ่ ตอนน้ี โรงพยาบาลรามันได้ไดด้ ำเนนิ การส่งแผนพัฒนาเข้าระบบ
ของกระทรวงเรียบร้อยแล้ว และอยู่ในระหว่างดำเนินการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานเพื่อเตรียมส่งเข้าสู่ระบบภายใน
สนิ้ เดอื นธนั วาคม 2563 ต่อไป

ประเดน็ การประเมนิ 5 มิติ
1. แบบประเมนิ เพม่ิ ประสิทธิภาพการเงนิ การคลัง(มติ ิด้านการเงนิ )
2. แบบประเมนิ เพิ่มประสิทธิภาพการเงนิ การคลงั (มิติด้านจดั เก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาล)
3. แบบประเมนิ เพิ่มประสทิ ธิภาพการเงินการคลงั (มิตดิ ้านงบการเงนิ )
4. แบบประเมินเพิม่ ประสิทธิภาพการเงินการคลงั (มติ ิด้านบริหารพสั ดุ)
5. แบบประเมนิ เพิม่ ประสิทธิภาพการเงนิ การคลงั (มิติด้านระบบควบคุมภายในและการบริหารความเส่ยี ง)
โดยมกี ารกำหนดผรู้ บั ผดิ ชอบในแตล่ ะมิติทชี่ ัดเจน ดังน้ี

1. มติ ดิ ้านการเงนิ ผ้รู ับผดิ ชอบคือ น.ส.จติ รานันท์ คหวริ ิยะโกศล
2. มิติดา้ นงบการเงิน ผรู้ ับผดิ ชอบคือ น.ส.คอลีเยาะ เตาะสาตู
3. มติ ิด้านพสั ดุ ผรู้ บั ผดิ ชอบคือ นางวาสนา แวบราเฮง
4. มิติดา้ นการจัดเกบ็ รายได้ ผูร้ ับผดิ ชอบคอื นายมะรอบี สะนะ
5. มติ ิดา้ นการควบคมุ ภายใน ผรู้ ับผิดชอบคือ น.ส.ยุวธดิ า คงนุมตั ิ
6. ผู้สอบทาน คอื นายณรงค์ ว่องประเสิรฐกุล

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน ครั้งท่ี 1 ปีงบประมาณ 2564

- 113 -

3.5 วิเคราะหผ์ ลและบ่งชี้ Bright spot และBlind spot

Bright spot ไดแ้ ก่ มีกจิ กรรมดำเนนิ งานอยา่ งต่อเนื่อง และมีผู้รบั ผดิ ชอบทีช่ ดั เจน
Blind spot ได้แก่ ผู้รบั ผดิ ชอบยังขาดประสบการณ์ และองค์ความรทู้ ี่ถกู ต้อง ทำให้การสง่ ผล

การดำเนินการมีความผิดเพ้ยี นบ้าง

4.ปญั หา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ

ปญั หา/อุปสรรค/ปจั จัยที่ทำใหก้ ารดำเนินงานไม่ ขอ้ เสนอแนะในเชงิ บริหารและวชิ าการ

บรรลุวตั ถุประสงค์

- ผู้รับผิดชอบยังขาดประสบการณ์ และองค์ความรู้ที่ จัดตั้งทีมตรวจสอบที่มีความรู้ และประสบการณ์

ถกู ตอ้ งทำให้การส่งผลการดำเนินการมคี วามผิดเพย้ี น เพ่ือทำหนา้ ที่ตรวจสอบการทำงานทุกมิติ

- ขาดระบบการตรวจสอบ ควบคมุ กำกับท่ีดี

5.ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย/ต่อส่วนกลาง/ต่อผ้บู ริหาร/ตอ่ ระเบยี บ กฎหมาย

-

6.นวตั กรรมหรือ Best Practice ที่สามารถเปน็ แบบอย่าง

-

ผ้รู ายงาน นางสาวยุวธิดา คงนมุ ตั ิ นกั จดั การงานทว่ั ไปชำนาญการ
วนั /เดือน/ปี 27 พฤศจกิ ายน 2563
โทร 093-7136041
E-mail : [email protected]

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน ครง้ั ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 114 -

แบบสรปุ ผลการดำเนนิ งาน คปสอ. รามนั ปงี บประมาณ 2564

รอบท่ี 1 วันที่ 25 เดอื น ธนั วาคม 2563

1.ประเด็นการนเิ ทศ
ตวั ชวี้ ัด ประสิทธภิ าพการบริหารงานพัสดดุ า้ นการตรวจสอบพัสดปุ ระจำปี

2.สถานการณ/์ ผลการดำเนนิ งานยอ้ นหลงั 3 ปี (2561-2563)

การปฏิบัติงานการตรวจสอบพัสดุประจำปี พ.ศ. 2561 - 2563 สำรวจพัสดุประจำปีของหน่วยงาน
ได้จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบพัสดุประจำปี ทำหน้าที่เกี่ยวกับการตรวจสอบการรับ -จ่ายพัสดุของ
โรงพยาบาลรามันและดำเนินการตรวจสอบพัสดุคงเหลือมีตัวอยู่ตรงตามบัญชี หรือทะเบียนหรือไม่มีพัสดุชำรุด
เสื่อมสภาพ หรอื สูญไป เพราะเหตใุ ด และจดั ทำรายงานผลการตรวจสอบพสั ดเุ สนอสำนกั งานสาธารณสุขจังหวัดยะลา
ส่งรายงานผลให้สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดสงขลา และดำเนิน
การสอบหาข้อเท็จจริง แต่งตั้งคณะกรรมการสอบหาข้อเท็จจริง ดำเนินการจำหน่าย และรายงานผลให้หัวหน้าส่วน
ราชการทราบ

3.การดำเนนิ งาน/ผลการดำเนินงานตามมาตรการสำคญั

3.1 แสดงผลการดำเนินงาน

ตารางผลการดำเนนิ งานเร่ือง

Base Line 2564 ไตรมาส 1
เป้าหมาย ผลงาน
ลำดบั รายการ/ตัวชวี้ ัด 2562 2563 รพ.สต./ ร้อยละ/ หมายเหตุ
pcu อัตรา

1 ร้อยละของ 62.5% 100% 50% -มีการตรวจสอบ 50%

การตรวจสอบพสั ดุ พสั ดปุ ระจำปี

ประจำปี เปน็ ไปตาม และสรปุ ผล

ระเบียบฯและเวลาท่ี การตรวจสอบ

กำหนด พสั ดุ

สง่ ปลัดกระทรวง

สาธารณสุขและ

สตง. เมือ่ วันท่ี

30พฤศจิกายน

2563

แหล่งขอ้ มูล งานพัสดุ ฝ่ายบริหารทวั่ ไป โรงพยาบาลรามนั ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2563

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั ครั้งที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 115 -

3.2 การบริหารจัดการ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมทดี่ ำเนินการในการขบั เคลือ่ น)

กลยุทธ์หรือมาตรการที่ใชด้ ำเนนิ การ ระยะเวลา

สำรวจพัสดุประจำปี และแตง่ ตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบพัสดปุ ระจำปี กันยายน
รายงานตรวจสอบพสั ดุประจำปี และสรปุ รายงานผลส่ง สำนักปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ตุลาคม –
และ สตง. พฤศจิกายน
จำหน่ายพัสดทุ ี่เส่ือมสภาพ และรายงานผล กมุ ภาพนั ธ์

3.3 วเิ คราะห์ผลการดำเนินงานปัจจุบนั
ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2564 โรงพยาบาลรามัน ได้ดำเนินการตรวจสอบพัสดุประจำปี

และได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบพัสดุประจำปี มีการรายงานผลการตรวจสอบพัสดุประจำปี ไปยังสำนักงาน
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข และสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2563ตอนนี้อยู่ระหว่าง
ดำเนนิ การสอบหาขอ้ เท็จจริง และแตง่ ตงั้ คณะกรรมการสอบหาขอ้ เท็จจริง เพื่อดำเนินการจำหนา่ ยพสั ดตุ ่อไป

3.4 วิเคราะหผ์ ลและบ่งช้ี Bright spot และBlind spot
เพื่อให้การจำหน่ายพัสดุประจำปี มีประสิทธิภาพ วางระบบการปฏิบัติงานให้เปน็ ไปตามขั้นตอนปฏิบัติ

มีระบบการติดตามผลการทำงาน ตามขั้นตอน ทุกๆ ไตรมาส ใหค้ รบทุกขั้นตอน
การจำหนา่ ยพสั ดุประจำปี หากไมม่ รี ะบบในการปฏบิ ัตงิ านที่ดี จะทำใหก้ ารปฏิบตั ิงานเกิดความซับซ้อน

ล่าชา้ ไม่เป็นไปตามขน้ั ตอนและระยะเวลาทีก่ ำหนด สง่ ผลให้การปฏิบตั งิ านไม่มปี ระสิทธิภาพ

Bright spot ได้แก่ การตรวจสอบพสั ดุประจำปีมปี ระสิทธิภาพ ครบทุกขน้ั ตอน 100%
Blind spot ไดแ้ ก่ บคุ ลากรขาดความร้คู วามเข้าใจ ไมม่ ีการวางระบบการทำงานและ

การตดิ ตามทีด่ ี

4.ปญั หา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ

ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจยั ท่ีทำให้การดำเนินงานไม่ ขอ้ เสนอแนะในเชงิ บริหารและวชิ าการ
บรรลุวตั ถุประสงค์
1.จัดทำคู่มือขนั้ ตอนการจำหนา่ ยพสั ดุประจำปี
1.เจ้าหนา้ ที่ผู้ปฏิบัตไิ มท่ ราบขั้นตอนและระยะเวลา
ในการปฏบิ ตั ิงาน 2.ใหม้ กี ารติดตามการลงทะเบียนคุมพัสดุทุก 1 เดือน
2.ทะเบยี นคุมพสั ดุไมเ่ ปน็ ปัจจุบนั 3.จดั ทำใบคนื พสั ดุทีร่ อจำหน่าย
3.ไม่มีการสำรวจพัสดุที่รอจำหนา่ ย

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน ครัง้ ที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

- 116 -

5.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/ต่อสว่ นกลาง/ต่อผบู้ ริหาร/ต่อระเบียบ กฎหมาย
-

6.นวตั กรรมหรือ Best Practice ที่สามารถเปน็ แบบอย่าง
-
ผรู้ ายงาน นางวาสนา แวบราเฮง
ตำแหน่ง นักวชิ าการพสั ดุชำนายการ
วัน/เดอื น/ปี 30 พฤศจกิ ายน 2563
โทร 0872987467.
E-mail. [email protected]

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั ครงั้ ที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

- 117 -

แบบสรุปผลการดำเนินงาน คปสอ.รามนั ปงี บประมาณ 2564

รอบที่ 1 วนั ท่ี 25 เดอื น ธนั วาคม 2563

1.ประเดน็ การนิเทศ:
ตัวชว้ี ดั ร้อยละของคุณภาพข้อมลู แฟ้ม PERSON ข้อ 1-8, 15-16 ถูกต้อง ครบถว้ น ร้อยละ 80
ของหน่วยบรกิ าร

2.สถานการณ์/ผลการดำเนนิ งานย้อนหลัง 3 ปี (2561-2563)

ปีงบประมาณ 63 คุณภาพข้อมูลประชากร เครอื ขา่ ยหน่วยบริการอำเภอรามนั จำนวน 18 แห่ง พบว่าคณุ ภาพ
แฟ้ม PERSON ขอ้ 1-8 และ 15-16 คิดเปน็ รอ้ ยละ 27.73 ( ผ่านจำนวน 5 แห่ง และไม่ผา่ นจำนวน 13 แหง่ ) ซึง่ ขอ้ มูล
ที่ไม่ผา่ นเกณฑ์ ได้แก่ ข้อท่ี2 เลขที่บตั รประชาชนผิด MOD11 โดยที่สญั ชาติเปน็ ไทย , ขอ้ ที่ 3 เลขท่ีบัตรประชาชนเป็น
เลข GEN ตามรูปแบบของ HIS โดยทส่ี ัญชาติเปน็ ไทย และข้อที่8 ตายในแฟ้ม DEATH แต่ PERSON ไมต่ าย

และในปงี บประมาณ 64 ผลการดำเนนิ งานในเดอื น ต.ค -พ.ย 63 คณุ ภาพแฟ้ม PERSON ขอ้ 1-8 และ
15-16 เพิม่ ขึ้นจากร้อยละ 27.73 เป็น 33.33 ( ผ่านจำนวน 6 แหง่ และไมผ่ า่ นจำนวน 12 แห่ง ) ซ่ึงยังพบวา่ ขอ้ มูล
ทไ่ี ม่ผ่านเกณฑ์ ยงั คงเปน็ 3 ข้อ เดิมในปีงบประมาณ 63

3.การดำเนนิ งาน/ผลการดำเนนิ งานตามมาตรการสำคญั

3.1 แสดงผลการดำเนินงาน

ตารางผลการดำเนนิ งานเร่ือง

Base Line รพ.สต./pcu/ 2564 ไตรมาส 1
2562 2563 รพ.
ลำดับ รายการ/ตัวช้วี ดั เป้าหมาย ผลงาน รอ้ ยละ/ หมายเหตุ
อัตรา

1 ร้อยละของคุณภาพ NA 27.73 ผ่าน 5 แห่ง ร้อยละ 80 ผ่าน 33.33

ข ้ อ ม ู ล แ ฟ ้ ม PERSON ไมผ่ า่ น13 แหง่ 6 แห่ง

ข้อ 1-8, 15-16 ไม่ผา่ น

ถกู ต้อง ครบถ้วน 12 แหง่

ร้อยละ 80 ของหน่วย

บรกิ าร

แหล่งขอ้ มลู งานเทคโนโลยสี ารสนเทศและประชาสมั พันธ์ สสจ.ยะลา ณ.27 พฤศจกิ ายน 2563

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน คร้ังที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

- 118 -

3.2 การบรหิ ารจัดการ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมทด่ี ำเนนิ การในการขบั เคลื่อน)

กลยุทธ์หรอื มาตรการทใ่ี ช้ดำเนินการ ระยะเวลา

1.ประชาสัมพนั ธ์การนำบัตรประชาชนมาดว้ ยทกุ ครง้ั เมื่อเข้ารับบรกิ ารในสถานพยาบาล ทุกวนั
2.ลงทะเบียนผ้รู บั บรกิ ารดว้ ยบตั รประชาชน ทกุ วนั
3.จดั ทำรายงานการตรวจสอบขอ้ มูลรายบุคคล ตามเกณฑ์คุณภาพแฟม้ ประชากร ในแต่ละ
ขอ้ ก่อนนำส่งข้อมูล ทกุ สปั ดาห์
4.มีระบบการตรวจสอบและคืนขอ้ มลู แกห่ นว่ ยบริการ ในแตล่ ะข้อคณุ ภาพแฟม้ PERSON
ขอ้ 1-8 และ 15-16 ทกุ สัปดาห์
5.มกี ารแก้ไขขอ้ มูลท่ี error ภายใน 7 วัน หลังจากการไดร้ ับคนื ข้อมลู ทุกเดือน
6.ตดิ ตาม ควบคุม กำกบั และรายงานผลการดำเนนิ งานในการประชุม คปสอ. ทุกเดอื น

3.3 วเิ คราะหผ์ ลการดำเนนิ งานปัจจบุ นั
ในปีงบประมาณ 64 ผลการดำเนินงานในเดือน ต.ค. -พ.ย. 63 คุณภาพแฟ้ม PERSON ข้อ 1-8 และ 15-16
เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 27.73 เป็น 33.33 ( ผ่านจำนวน 6 แห่ง และไม่ผ่านจำนวน 12 แห่ง ) ซึ่งข้อมูลที่ไม่ผ่านเกณฑ์
ได้แก่ ข้อท่ี 2 เลขที่บัตรประชาชนผิด MOD11 โดยที่สัญชาติเป็นไทย , ข้อที่3 เลขที่บัตรประชาชนเป็นเลข GEN
ตามรปู แบบของ HIS โดยท่สี ัญชาติเปน็ ไทย และข้อท่ี8 ตายในแฟ้ม DEATH แต่ PERSON ไมต่ าย

3.4 วเิ คราะห์ผลและบ่งชี้ Bright spot และBlind spot
Bright spot ได้แก่ 1.ผ้บู รหิ ารให้ความสำคัญจ่อการจัดการคณุ ภาพข้อมลู

2.มีผ้รู บั ผิดชอบระดบั เครือข่าย ระดับหนว่ ยบรกิ ารและระดบั หน่วยงานท่ชี ัดเจน
Blind spot ได้แก่

1.ขาดการติดตาม ควบคุม กำกับ อยา่ งตอ่ เนื่อง
2.ไมม่ ีระบบการคนื ข้อมลู ที่ชัดเจน

คณุ ภาพข้อมูลแฟ้มประชากรรายหนว่ ยบรกิ าร

เครอื ข่ายบรกิ ารสขุ ภาพ ข้อ ข้อ ข้อ ขอ้ ข้อ ข้อ ขอ้ ขอ้
12345678

10064 โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบลบ้านบอื แนบารู ตำบลกาลบู ัง 01000000

10065 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลกาลอ ตำบลกาลอ 00000000

10066 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลบ้านจือแร ตำบลกอตอตือร๊ะ 02000200

10067 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบา้ นโกตาบารู ตำบลโกตาบารู 01000000

10068 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลบ้านเกะ๊ รอ ตำบลเกะ๊ รอ 06000500

10069 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบลจะกวะ๊ ตำบลจะกวะ๊ 05000000

10070 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบา้ นจารงั ตาดง ตำบลท่าธง 02000000

10071 โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลบ้านเกาะ 02000000

10072 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลบ้านมดี ิง ตำบลเนินงาม 03000000

10073 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบา้ นบาลอ ตำบลบาลอ 00000100

10074 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลบ้านลูโบะลาบี ตำบลบาโงย 01000000

10075 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบา้ นปงตา ตำบลบือมงั 00000000

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน ครงั้ ท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 119 -

คุณภาพข้อมลู แฟม้ ประชากรรายหนว่ ยบริการ

เครอื ข่ายบริการสขุ ภาพ ข้อ ข้อ ข้อ ขอ้ ข้อ ข้อ ขอ้ ข้อ
10076 โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบลบา้ นตาโละ๊ ตำบลยะตะ๊ 12345678

00000000

10077 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลบา้ นโตะ๊ ปาเก๊ะ ตำบลวังพญา 00000000

10078 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลบ้านแยะ๊ ตำบลอาชอ่ ง 01000000

10079 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะโล๊ะหะลอ ตำบลตะโละ๊ หะลอ 00000100

11434 โรงพยาบาลรามนั 00400001

99737 หนว่ ยบริการปฐมภมู ิ กลมุ่ งานเวชปฏิบัตติ ิครอบครัวและชมุ ชน โรงพยาบาลรามัน 0 1 0 0 0 1 0 0

รวม 0 25 4 0 0 10 0 1

ขอ้ ที่ รายละเอยี ดคณุ ภาพแฟ้มประชากร
1 เลขทบ่ี ัตรประชาชนวา่ ง โดยทสี่ ัญชาตเิ ปน็ ไทย
2 เลขท่ีบตั รประชาชนผดิ MOD11 โดยทีส่ ัญชาตเิ ปน็ ไทย
3 เลขทีบ่ ตั รประชาชนเปน็ เลข GEN ตามรูปแบบของ HIS โดยทสี่ ัญชาตเิ ป็นไทย

4 สัญชาตไิ ทย แต่ ชื่อ-นามสกลุ และเลขประชาชน ตอ้ งสงสัยวา่ ไมใ่ ชค่ นไทย

5 เพศไมเ่ ป็นชายหรอื หญิง
6 ประชากรในเขต อายเุ กนิ 100 ป/ี วนั เดือนปเี กิดไมถ่ กู ตอ้ ง
7 สัญชาติ ไม่ใชไ่ ทย แตไ่ ม่ระบุความเปน็ ตา่ งด้าว
8 ตายในแฟม้ DEATH แต่ PERSON ไมต่ าย

4.ปัญหา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ

ปญั หา/อุปสรรค/ปัจจยั ท่ีทำใหก้ ารดำเนินงานไม่ ขอ้ เสนอแนะในเชิงบริหารและวชิ าการ

บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์

1.ไม่มีระบบการตรวจสอบข้อมลู รายบุคคลก่อนนำสง่ 1.กำหนดใหแ้ ต่ละหนว่ ยบริการ นำส่งข้อมูลผ่าน

ขน้ึ เว็บ HDC ผรู้ ับผิดชอบในระดับเครอื ข่าย

2.ไม่มีระบบการคนื ข้อมูลแก่หน่วยบริการในแตล่ ะข้อ 1.กำหนดการคนื ข้อมลู แกห่ น่วยบริการอยา่ งน้อย

คุณภาพแฟม้ PERSON ข้อ 1-8 และ 15-16 ท่ีชัดเจน 2 สปั ดาหค์ ร้ัง

และตอ่ เน่ือง

3.การตดิ ตาม กำกับ การแก้ไขข้อมูลท่ี error ภายใน 1.กำหนดผู้รบั ผดิ ชอบในระดับเครือข่ายในการ

7 วนั หลงั จากการได้รับคืนข้อมูล ติดตามแกไ้ ขข้อมลู ท่ผี ดิ พลาดในระดบั เครือข่าย

2.นำเสนอผลการดำเนนิ งานและแนวทางพัฒนา

คณุ ภาพขอ้ มูล 43 แฟ้ม ในท่ีประชมุ คปสอ.ทุกเดือน

4.ไม่มีการนำเสนอผลการดำเนนิ งานคณุ ภาพแฟ้ม 1.นำเสนอผลการดำเนินงานคุณภาพข้อมลู 43 แฟม้

PERSON ในการประชุม คปสอ. ในท่ปี ระชมุ คปสอ.ทุกเดอื น

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั ครงั้ ที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

- 120 -

5.ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย/ต่อสว่ นกลาง/ต่อผบู้ ริหาร/ต่อระเบยี บ กฎหมาย
-
6.นวัตกรรมหรือ Best Practice ท่ีสามารถเปน็ แบบอย่าง
-

ผรู้ ายงาน น.ส.เปาซียะ ฮีเล
ตำแหน่ง นกั วิชาการสาธารณสุขชำนาญก่ี
วัน/เดือน/ปี 2 ธันวาคม 2563
โทร 0818972612
E-mail. [email protected]

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน คร้งั ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 121 -

แบบสรปุ ผลการดำเนินงาน คปสอ.รามนั ปงี บประมาณ 2564

รอบที่ 1 วนั ท่ี 25 เดอื น ธนั วาคม 2563

1.ประเด็นการนเิ ทศ:
ตวั ชว้ี ดั ร้อยละสว่ นต่างของประชากร TYPEAREA 1+3 เทยี บกับทะเบยี นราษฎร์ไมเ่ กิน ร้อยละ 5

2.สถานการณ/์ ผลการดำเนนิ งานยอ้ นหลงั 3 ปี (2561-2563)
การดำเนินงานด้านคณุ ภาพข้อมลู ประชากร ในปีงบประมาณ 2563 พบวา่ สว่ นตา่ งของประชากร TYPEAREA

1+3 เทียบกับทะเบียนราษฎร์ ของเครือข่ายอำเภอรามัน คิดเป็นร้อยละ 14.47 สูงกว่าเป้าหมายที่กำหนด ที่ต้อง
ไม่เกนิ ร้อยละ 5

3.การดำเนินงาน/ผลการดำเนนิ งานตามมาตรการสำคญั
3.1 แสดงผลการดำเนนิ งาน

Base Line รพ.สต./ 2564 ไตรมาส 1
ลำดับ รายการ/ตัวชวี้ ดั 2562 2563 pcu
เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ/ หมายเหตุ
NA อตั รา

1 ร้อยละส่วนต่างของประชากร NA 14.47 8,241ราย 200ราย ร้อยละ
TYPEAREA1+3 เทยี บกับ
ทะเบียนราษฎรไ์ ม่เกิน รอ้ ยละ 5 (ทตี่ อ้ ง 2.49

แก้ไข)

1.1 -ประชากรที่ไม่ถูกข้ึนทะเบียน NA NA NA - ไม่เกิน -ไม่ผ่าน 5 ร้อยละ
เป็นคนในเขตของหน่วยบรกิ าร รอ้ ยละ 5 แหง่ 27.8
ในจงั หวดั ท่ีมีอยู่ ๆ ในจังหวัด ผา่ น 13
(ตามหนว่ ยบนั ทึก) แห่ง

-8,007 ราย -200 2.49
ราย

1.2 ประชากรทีไ่ ม่ถูกข้ึนทะเบียน NA NA NA -ไม่เกิน -0 0
เป็นคนในเขตของหนว่ ยบริการ รอ้ ยละ 5
ในจังหวัดแตม่ ีทีอ่ ยู่ ๆ ในจังหวัด
(ตามหน่วยทพี่ นื้ ที่รับผดิ ชอบ) -234 -0 0
ราย

แหล่งข้อมูล HDC จงั หวดั ยะลา ณ.3 พ.ย 63

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน ครั้งที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

- 122 -

3.2 การบริหารจัดการ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมทด่ี ำเนินการในการขบั เคล่อื น)

กลยุทธห์ รือมาตรการทีใ่ ชด้ ำเนนิ การ ระยะเวลา
1.สะท้อนคณุ ภาพข้อมูล สว่ นต่างของประชากร TYPEAREA1+3 เทียบกบั ทะเบียนราษฎร์ ทกุ เดือน
ในเวที คปสอ.
2.คนื ข้อมูลแกห่ นว่ ยบริการ เพอื่ ดำเนินการตรวจสอบและแก้ไข ทกุ เดือน
3.ตดิ ตาม ควบคมุ กำกับ คณุ ภาพข้อมลู ผา่ นเว็บไซต์ HDC ของสสจ.ยะลา ทกุ สปั ดาห์
4.รายงานผลการดำเนนิ งาน ความกา้ วหนา้ ในการประชมุ คปสอ. ทกุ เดือน

3.3 วิเคราะหผ์ ลการดำเนินงานปจั จบุ นั
คณุ ภาพข้อมลู ประชากร ณ 3 พ.ย. 63 ที่เป็นรอ้ ยละสว่ นต่างของประชากร TYPEAREA 1+3 เทียบกับทะเบียน
ราษฎร์ กบั ปงี บ 63 แนวโน้มลดลง จากร้อยละ 14.47 เปน็ 2.49
ข้อมูลประชากรที่ไม่ถูกขึ้นทะเบียนเป็นคนในเขตของหน่วยบริการในจังหวัดที่มีอ ยู่ ๆ ในจังหวัด
(ตามหนว่ ยบันทึก) แยกรายสถานพยาบาล ไดด้ ังน้ี

หนว่ ยบริการ จำนวนประชากร Typearea จำนวนประชากร ร้อยละ
4,5 ท่ีหน่วยบรกิ ารบนั ทกึ และ Typearea 4,5 ท่หี นว่ ย
10064 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือแนบารู ตำบลกาลบู งั จงั หวัดทอ่ี ยตู่ ามทะเบยี นบา้ น บรกิ ารบนั ทึกและจังหวดั ที่ 14.29
10065 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลกาลอ ตำบลกาลอ อย่ตู ามทะเบียนบา้ นใน 33.33
10066 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลบ้านจอื แร ตำบลกอตอตือระ๊ ในแฟ้ม Address เป็น แฟ้ม Address เปน็ จังหวดั
10067 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโกตาบารู ตำบลโกตาบารู จงั หวัดตนเอง ตนเอง แตไ่ มถ่ กู ข้ึนทะเบียน 0
10068 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลบา้ นเก๊ะรอ ตำบลเก๊ะรอ Typearea 1,3 จากหน่วย 0
10069 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบลจะกวะ๊ ตำบลจะกว๊ะ 21 บรกิ ารใด ๆในจงั หวัด 0
10070 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลบา้ นจารงั ตาดง ตำบลทา่ ธง 3 8.82
10071 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะ 0 3 4.88
10072 โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบลบา้ นมดี ิง ตำบลเนินงาม 34 4.55
10073 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลบ้านบาลอ ตำบลบาลอ 6 1 14.94
10074 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลบา้ นลูโบะลาบี ตำบลบาโงย 34 10.81
10075 โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบลบา้ นปงตา ตำบลบอื มัง 41 0 0
10076 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบลบ้านตาโละ๊ ตำบลยะตะ๊ 22 0
10077 โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบลบ้านโต๊ะปาเก๊ะ ตำบลวังพญา 154 0 0
10078 โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบลบา้ นแยะ๊ ตำบลอาชอ่ ง 37 2.83
10079 โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลตะโละ๊ หะลอ ตำบลตะโละ๊ หะลอ 0 0 0
11434 โรงพยาบาลรามัน 0 0
99737 หนว่ ยบริการปฐมภมู ิ กล่มุ งานเวชปฏิบัติครอบครวั และชมุ ชน 21 3 2.13
โรงพยาบาลรามัน 212
1 2 1.63
รวม 0 2.49
7,175 1

23

4

0

0

0

6

0

0

153

246 4
8,007 200

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน ครง้ั ท่ี 1 ปีงบประมาณ 2564

- 123 -

3.4 วเิ คราะหผ์ ลและบ่งช้ี Bright spot และ Blind spot

ผลการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ 64 ในเดือนต.ค. - พ.ย. 63 พบว่า หน่วยบริการที่ไม่ผ่านเกณฑ์คุณภาพ
ข้อมูลประชากร ประเด็นส่วนต่างของประชากร TYPEAREA 1+3 เทียบกับทะเบียนราษฎร์ ต้องไม่เกินร้อยละ 5
มีจำนวน 5 แห่ง ตามลำดับสูงสุดดังน้ี ได้แก่ รพ.สต ตำบลกาลอ,รพ.สต ตำบลเนินงาม ,รพ.สต ตำบลกาลูปัง ,รพ.สต

ตำบล บาลอ และรพ.สต ตำบลจะกว๊ะ

Bright spot ไดแ้ ก่
1.ผบู้ รหิ ารให้ความสำคัญต่อการจัดการคณุ ภาพข้อมลู
2.มีผู้รบั ผิดชอบระดับเครือข่าย ระดบั หนว่ ยบริการและระดับหน่วยงานทีช่ ัดเจน

Blind spot ไดแ้ ก่

1.หน่วยบรกิ ารที่บนั ทึกท่ีอยู่ ขาดความต่อเน่ืองในการตรวจสอบการบนั ทึกที่อยใู่ นถูกต้อง เพื่อการใช้
ทีอ่ ย่ใู นการติดตามผรู้ ับบรกิ าร
2. หน่วยบรกิ ารเจา้ ของพืน้ ทีร่ ับผิดชอบ ขาดการตรวจสอบคนในเขตอยา่ งสม่ำเสมอ เพ่ือการ
ให้บริการท่ีครบถ้วน

3.ไม่มรี ะบบการคืนข้อมูลทชี่ ัดเจน
4.ปญั หา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะ

ปัญหา/อุปสรรค/ปจั จยั ที่ทำให้การดำเนนิ งานไม่ ข้อเสนอแนะในเชิงบริหารและวชิ าการ

บรรลุวัตถปุ ระสงค์

1.หนว่ ยบริการทบ่ี นั ทกึ ทอี่ ยู่ ขาดความต่อเนื่องใน บนั ทึกข้อมลู ตรงตามทะเบียนราษฎร์ แทนการบันทึก

การตรวจสอบการบนั ทกึ ท่ีอยู่ในถูกต้อง เพื่อการใชท้ ี่ ตามท่ีอยู่จรงิ

อยูใ่ นการตดิ ตามผรู้ บั บริการ

2. หนว่ ยบรกิ ารเจา้ ของพืน้ ทีร่ ับผิดชอบ มีการสำรวจประชากรในเขตความรบั ผดิ ชอบ

ขาดการตรวจสอบคนในเขตอย่างสม่ำเสมอ ปลี ะ 2 ครง้ั

เพ่อื การใหบ้ ริการที่ครบถว้ น

3.ไมม่ ีระบบการคนื ข้อมูลทช่ี ัดเจน 1.มกี ารคนื ข้อมลู ทกุ เดือน ผ่านผรู้ ับผิดชอบระดับ

เครือข่าย
2.นำเสนอความกา้ วหน้าในเวที คปสอ.ทกุ เดอื น

5.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/ตอ่ ส่วนกลาง/ต่อผ้บู ริหาร/ต่อระเบยี บ กฎหมาย
-

6.นวตั กรรมหรือ Best Practice ท่ีสามารถเป็นแบบอยา่ ง
-

ผูร้ ายงาน นส.เปาซยี ะ ฮีเล
ตำแหนง่ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญกี่
วัน/เดอื น/ปี 2 ธันวาคม 2563
โทร 0818972612
E-mail. [email protected]

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั ครั้งท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 124 -

แบบสรุปผลการดำเนนิ งาน คปสอ.รามัน ปีงบประมาณ 2564

รอบที่ 1 วนั ที่ 25 เดอื น ธันวาคม 2563

1.ประเด็นการนเิ ทศ
ตัวชี้วัด ร้อยละความสำเร็จของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอในจังหวัดยะลาที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพ

การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ผ่านเกณฑท์ ่กี ำหนด

2.สถานการณ์/ผลการดำเนนิ งานย้อนหลัง 3 ปี (2561-2563)
การดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การองคก์ รตามแนวทางเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั

พ.ศ.2562 (Public Sector Management Quality Award: PMQA) ประกอบดว้ ย 1) ลักษณะสำคญั ขององคก์ ร 2)
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 7 หมวด คือ หมวด 1 การนำองค์กร หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการ
ความรู้ หมวด 5 บุคลากร หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ และหมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
ผลการดำเนินงานของสำนักงานสาธารณสุขอำเภอรามัน ปี 2561 ผลงานร้อยละ 100 ปี 2562 ผลงานร้อยละ
และในปี 2563 ผลงานร้อยละ 100

3.การดำเนนิ งาน/ผลการดำเนนิ งานตามมาตรการสำคญั

3.1 แสดงผลการดำเนินงาน

ตารางผลการดำเนินงานเร่ือง

ลำดบั รายการ/ตวั ชีว้ ัด Base Line 2564 ไตรมาส 1 หมายเหตุ

2562 2563 เป้าหมาย ผลงาน รอ้ ยละ/อัตรา

1 รอ้ ยละความสำเรจ็ ของ 97.25 100 100 อย่รู ะหวา่ ง -

สำนกั งานสาธารณสขุ ดำเนนิ การ

อำเภอในจังหวดั ยะลาท่ี

ดำเนินการพฒั นาคุณภาพ

การบรหิ ารจดั การภาครัฐ

(PMQA)ผ่านเกณฑ์ท่ี

กำหนด

แหล่งข้อมลู ณ วันท่ี 25 พฤศจกิ ายน 2563

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั ครั้งที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

- 125 -

3.2 การบรหิ ารจดั การ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมทด่ี ำเนนิ การในการขบั เคล่ือน)

กลยุทธ์หรือมาตรการทใี่ ชด้ ำเนินการ ระยะเวลา

ประชมุ คณะทำงาน PMQA ปี 2564 พฤศจิกายน 2563

จัดขอ้ มูล/ทบทวน พฤศจิกายน 2563

1. จัดทำลกั ษณะสำคัญขององคก์ ร จำนวน 13 ข้อคำถาม และทบทวนทุกปี

2. ดำเนินการประเมนิ องคก์ รด้วยตนเอง (Self Assessment) หมวด 1- 6 หาโอกาส

ในการปรบั ปรุง (Opportunity For Improvement: OFI)

3. นำโอกาสในการปรับปรุง (OFI ) มาจัดลำดบั ความสำคัญและจดั ทำแผนพฒั นา

องค์กร หมวดละ 1 แผน

4. กำหนดตวั ชี้วดั หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนนิ การตามหัวข้อ 7.1-7.6 จำนวน 6 หวั ข้อ

ครบ 18 ข้อ

5. ดำเนนิ การตามแผนพฒั นาองค์กรของหน่วยงาน

ประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน ไตรมาส ท่ี 1 รอบ 3 เดือน ธันวาคม 2563

3.3 วเิ คราะหผ์ ลการดำเนนิ งานปจั จบุ นั
ปีงบประมาณ 2564 มีการกำหนดตวั ชว้ี ัดหมวด 7 ผลลพั ธ์การดำเนินการตามหัวข้อ 7.1-7.6 จำนวน 6 หัวขอ้
ครบ 18 ข้อ ทบทวนการดำเนินการแผนพัฒนาองค์การและแนวทางการจัดส่งเอกสารรายงานความก้าวหน้าผล
การดำเนินงานของแผนพฒั นาองคก์ ารและ ตวั ชี้วัด รอบ 3, 6, 9 และ 12 เดอื น ใหก้ ล่มุ พัฒนาระบบบริหาร สำนกั งาน
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ภายในระยะเวลาที่กำหนด และทบทวนผลงานการจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
(Best Practice) และผลงานทโ่ี ดดเด่นจากการ นำเกณฑค์ ุณภาพการบรหิ ารจัดการภาครัฐ (PMQA) มาพัฒนาบริหาร
จัดการ องค์กรอย่างนอ้ ย 1 เรื่อง โดย สำนักงานสาธารณสขุ อำเภอรามัน กำหนดจัดทำ Best Practice
เรื่องการพัฒนาหน่วยบริการให้ผา่ นมาตรฐาน รพ.สต.ตดิ ดาว

3.4 วเิ คราะหผ์ ลและบ่งช้ี Bright spot และ Blind spot
Bright spot ได้แก่ ผ้บู ริหารให้ความสำคญั มีทมี งานท่ีเข้มแขง็ มีทกั ษะ ความสามารถ และมีความ

รบั ผิดชอบ
Blind spot ได้แก่ ขาดการนำเสนอข้อมูลแบบ Real Time ผา่ นระบบ Dash Board ในการติดตาม

ผลงานตวั ชี้วัดหมวด 7 (ผลลัพธก์ ารดำเนินงาน)

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน ครง้ั ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 126 -

4.ปัญหา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ ข้อเสนอแนะในเชงิ บริหารและวชิ าการ
-
ปัญหา/อุปสรรค/ปจั จยั ที่ทำให้การดำเนินงานไม่
บรรลุวตั ถุประสงค์
-

5.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/ตอ่ สว่ นกลาง/ตอ่ ผบู้ ริหาร/ตอ่ ระเบยี บ กฎหมาย
-

6.นวัตกรรมหรือ Best Practice ท่ีสามารถเปน็ แบบอยา่ ง
- การพัฒนาหน่วยบริการใหผ้ ่านมาตรฐาน รพ.สต. ตดิ ดาว

รายการ/ตัวชี้วดั 2560 Base Line 2563
รพ.สต.ผ่านเกณฑค์ ณุ ภาพ 2561 2562
5 แห่ง รักษาสภาพ
รพ.สต.ติดดาว (ร้อยละ 31.25) 16 แหง่ 16 แห่ง ตามมาตรฐาน
ระดับ 3 ดาว ร้อยละ 100 (รอ้ ยละ 100) (รอ้ ยละ 100) รักษาสภาพ
1 แห่ง ตามมาตรฐาน
ระดับ 5 ดาว ร้อยละ 100 (ร้อยละ 6.25) 5 แห่ง 16 แห่ง
(ร้อยละ 31.25) (รอ้ ยละ 100)

ผู้รายงาน นายยะห์ยา บานอี ลั มาฮ์มดู ี
ตำแหนง่ นักวชิ าการสาธารณสขุ ชำนาญการ
วัน/เดอื น/ปี 25 พฤศจิกายน 2563
โทร 0980742849
E-mail. [email protected]

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั คร้งั ท่ี 1 ปีงบประมาณ 2564

- 127 -

แบบสรุปผลการดำเนนิ งาน คปสอ.รามนั ปีงบประมาณ 2564

รอบที่ 1 วนั ท่ี 25 เดอื น ธนั วาคม 2563

1.ประเดน็ การนเิ ทศ
ตัวชวี้ ดั โรงพยาบาลมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรบั รอง HA ขนั้ 3

2.สถานการณ์/ผลการดำเนนิ งานยอ้ นหลงั 3 ปี (2561-2563)
โรงพยาบาลรามัน ได้ดำเนินกิจกรรมตามมาตรฐานคุณภาพมาอย่างต่อเนื่องโดยเริ่มจากกิจกรรม 5 ส.

ในปี 2540 เข้าสู่กระบวนการรับรองมาตรฐาน ISO 9001 ในปี 2543 – 2544 และในปี 2548 ได้ ผ่านการรับรอง
Accredit กจิ กรรมคุณภาพตามมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ
60 ปี โดยสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (สรพ.) อย่างต่อเนื่องจนผ่าน Re-accredit ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่
24 ธนั วาคม 2562 และสนิ้ สุดการรับรองในวนั ท่ี 23 ธนั วาคม 2565

และเมอ่ื วนั ที่ 22 ตุลาคม 2563 โรงพยาบาลรามันได้ลงทะเบียนต่ออายสุ มาชิก 2P Safety และระบบ NRLS
(2P Safety Hospital & NRLS : National Reporting and Learning System) ประจำปีงบประมาณ 2564

3.การดำเนินงาน/ผลการดำเนินงานตามมาตรการสำคญั
3.1 แสดงผลการดำเนินงาน

โรงพยาบาลรามนั ไดด้ ำเนินกิจกรรมคุณภาพมาอย่างต่อเนื่องดังน้ี
- ปี 2543 มาตรฐาน ISO 9001:1994
- ปี 2544 มาตรฐาน ISO 9001:2000
- ปี 2548 ผา่ นการรับรองกระบวนการคุณภาพมาตรฐาน HA
- ปี 2552 ผ่านการรับรองกระบวนการคณุ ภาพมาตรฐาน HA (Re – accredit)
- ปี 2555 ผา่ นการรบั รองกระบวนการคณุ ภาพมาตรฐาน HA (Re – accredit ครงั้ ท่ี 2)
- ปี 2559 ผ่านการรบั รองกระบวนการคุณภาพมาตรฐาน HA (Re – accredit ครงั้ ที่ 3)
- ปี 2562 ผา่ นการรับรองกระบวนการคณุ ภาพมาตรฐาน HA (Re – accredit คร้ังท่ี 4)

3.2 การบรหิ ารจัดการ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมทด่ี ำเนนิ การในการขบั เคลอื่ น)

กลยุทธห์ รือมาตรการทใ่ี ช้ดำเนินการ ระยะเวลา

โครงการรว่ มมือร่วมใจพฒั นาคุณภาพ ธ.ค.63 – ก.ค.64
จดั ทำแผนปฏิบตั ิการศนู ย์คุณภาพ ต.ค.63 – ก.ย.64

3.3 วิเคราะหผ์ ลการดำเนนิ งานปัจจบุ ัน
โรงพยาบาลรามันได้ผ่านการรับรองกระบวนการคุณภาพมาตรฐาน Re – accredit ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 24
ธันวาคม 2562 และส้นิ สดุ การรับรองในวันท่ี 23 ธนั วาคม 2565 และเมือ่ วันที่ 22 ตุลาคม 2563 โรงพยาบาลรามันได้
ลงทะเบียนต่ออายุสมาชิก 2P Safety และระบบ NRLS (2P Safety Hospital & NRLS : National Reporting and
Learning System) ประจำปีงบประมาณ 2564

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน ครั้งท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 128 -

3.4 วเิ คราะห์ผลและบ่งช้ี Bright spot และBlind spot

Bright spot ไดแ้ ก่ 1. การพฒั นาความปลอดภยั 2P Safety
2. การพฒั นามาตรฐานระบบบริการสุขภาพ
3. ความพึงพอใจผ้รู บั บริการผู้ปว่ ยใน/ผ้ปู ่วยใน

4.ปัญหา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ

ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทำให้การดำเนินงานไม่ ข้อเสนอแนะในเชิงบริหารและวิชาการ
บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ -

-

5.ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย/ต่อส่วนกลาง/ตอ่ ผบู้ ริหาร/ต่อระเบยี บ กฎหมาย
-

6.นวตั กรรมหรือ Best Practice ที่สามารถเปน็ แบบอยา่ ง
1.กระบวนใหม่สู่การแพทยว์ ิถใี หม่ (New Approved For New Normal) ลดแออัด ลดเวลารอคอย
ผู้ป่วยพึงพอใจ (ภก.รอนี การเดร์ ตำแหนง่ เภสชั กรชำนาญการ)
2.ผลการพัฒนาคุณภาพการพยาบาลในชุมชนเรื่อง การพัฒนาจิตเวชฉุกเฉินแบบครบวงจรโดยชุมชนมีส่วนร่วม
(น.ส.ฟูรียา เบญ็ ฮาวัน ตำแหนง่ พยาบาลวิชาชพี ชำนาญการ)
3.ผลของเทคนิคการกระตุ้นการรับรู้ของระบบประสาทและกล้ามเนื้อต่อการลดระดับเจ็บปวดเพิ่มองศาการ
เคล่ือนไหวและสมรรถภาพการทำงานของข้อไหลใ่ นผู้ปว่ ยโรคข้อไหล่
(นายซ็อฟวาน รอนิง / นายมฮู ัมหมัด ดาโอะ ตำแหน่งนักกายภาพบำบดั )
4.ผา่ นการรับรองมาตรฐานงานเทคนคิ การแพทย์ (LA)

ผูร้ ายงาน นายณรงค์ วอ่ งประเสริฐกลุ
ตำแหน่ง เภสชั กรชำนาญการพเิ ศษ
วนั /เดือน/ปี 27 พฤศจกิ ายน 2563
โทร 089-2945928
E-mail.
[email protected]

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั ครงั้ ที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

- 129 -

แบบสรปุ ผลการดำเนนิ งาน คปสอ.รามัน ปีงบประมาณ 2564

รอบที่ 1 วันท่ี 25 เดือน ธันวาคม 2563

1.ประเดน็ การนเิ ทศ
ตวั ช้ีวัด ร้อยละของ รพ.สต. ท่ีผา่ นเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว ระดับ 5 ดาว (สะสม) ร้อยละ 100

2.สถานการณ/์ ผลการดำเนนิ งานยอ้ นหลัง 3 ปี (2561-2563)
อำเภอรามัน จังหวัดยะลา ได้ขับเคลื่อนพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 16 แห่ง

ตามมาตรฐาน รพ.สต.ติดดาว ได้ทำการประเมินในระดับอำเภอ จำนวน 16 แห่ง ในปี 2561 พบว่า ผ่านการประเมนิ
ระดับ ระดบั 3 ดาว จำนวน 16 แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 และผ่านระดับ 5 ดาว จำนวน 5 แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 31.25
ประกอบด้วย รพ.สต. เนนิ งาม, รพ.สต. บาโงยม, รพ.สต.วงั พญา, รพ.สต.ทา่ ธง และ รพ.สต,กาลอ ในปี 2562 รพ.สต.
ในพื้นที่อำเภอรามัน ผ่านมาตรฐาน รพ.สต.ติดดาว ระดับ 3 ดาว ร้อยละ 100 และผ่านระดับ 5 ดาว ในปี 2562
เพิ่มอีก จำนวน 11 แห่ง ส่งผลให้ รพ.สต. ในพื้นที่อำเภอรามัน ผ่าน ระดับ 5 ดาว คิดเป็น ร้อยละ 100 ปี 2563
รพ.สต. ร้อยละ 100 รกั ษาสภาพตามมาตรฐาน รพ.สต.ตดิ ดาว

3.การดำเนนิ งาน/ผลการดำเนินงานตามมาตรการสำคัญ
3.1 แสดงผลการดำเนนิ งานตามเกณฑก์ ารพฒั นาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว ปี 2563

ร้อยละคะแนน ผลการประเมินรพ.สต.ติดดาว รายหมวด

100.00

90.00

80.00

70.00 หมวด 1
60.00

50.00 หมวด2
40.00

30.00 หมวด3
20.00

10.00 หมวด4
0.00

หมวด 5

แหลง่ ข้อมลู ณ วนั ที่ 25 พฤศจกิ ายน 2563

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั คร้งั ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 130 -

3.2 การบรหิ ารจดั การ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมทดี่ ำเนนิ การในการขบั เคล่อื น)

กลยุทธห์ รือมาตรการทีใ่ ชด้ ำเนนิ การ ระยะเวลา

ชแี้ จงการขับเคลือ่ นการพฒั นา รพ.สต.ตดิ ดาว ปี 2564 พฤศจิกายน 2563
เตรยี มความพร้อม 5 รพ.สต. รบั การประเมนิ ตามมาตรฐาน รพ.สต.ตดิ ดาว ปี 2564 พฤศจกิ ายน 2563

รพ.สต. ประเมินตนเอง ตามโปรแกรม GISHealth และรายงานผลความก้าวหนา้ ธันวาคม 2563

3.3 วเิ คราะห์ผลการดำเนนิ งานปัจจุบนั
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในพ้ืนทอ่ี ำเภอรามัน จังหวัดยะลา ผา่ นเกณฑ์ รพ.สต.ติดดาว ร้อยละ 100
และ จำนวน 5 แห่ง เตรียมรับการประเมินรกั ษาสภาพตามมาตรฐาน ได้แก่ รพ.สต. เนินงาม, รพ.สต.บาโงย, รพ.สต.
วงั พญา, รพ.สต.กาลอ และรพ.สต.ท่าธง
3.4 วิเคราะห์ผลและบ่งช้ี Bright spot และ Blind spot
Bright spot ไดแ้ ก่ ผบู้ ริหารให้ความสำคัญ มีทีมงานที่เข้มแข็ง มีทักษะ ความสามารถ

และมคี วามรบั ผิดชอบ
Blind spot ได้แก่ -

4.ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ

ปัญหา/อุปสรรค/ปจั จยั ที่ทำให้การดำเนินงานไม่ ข้อเสนอแนะในเชิงบริหารและวชิ าการ
บรรลุวตั ถุประสงค์ -

-

5.ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย/ต่อสว่ นกลาง/ตอ่ ผบู้ ริหาร/ต่อระเบยี บ กฎหมาย

-
6.นวัตกรรมหรือ Best Practice ทีส่ ามารถเป็นแบบอย่าง

_

ผู้รายงาน นายยะห์ยา บานีอัลมาฮ์มูดี
ตำแหน่ง นักวชิ าการสาธารณสขุ ชำนาญการ
วัน/เดือน/ปี 25 พฤศจิกายน 2563
โทร 0980742849
E-mail. [email protected]

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน ครง้ั ท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 131 -

แบบสรุปผลการดำเนินงาน คปสอ.รามัน ปงี บประมาณ 2564

รอบท่ี 1 วันท่ี 25 เดอื น ธันวาคม 2563

1.ประเดน็ การนิเทศ
ตัวช้วี ัด การบริหารจัดการฐานขอ้ มลู กำลงั คนดา้ นบริหารงานบคุ คลในระบบ HROPS-Non HR
ทีม่ ีความถูกต้อง ครบถ้วน

2.สถานการณ/์ ผลการดำเนนิ งานยอ้ นหลงั 3 ปี (2561-2563)
ผลการดำเนินการในปี 2563 มีร้อยละ 50 เนื่องจากเจ้าหน้าที่บางส่วนยังไม่สามารถ เข้าใจ เข้าถึงโปรแกรม

และยังไม่ทราบว่า โปรแกรม HROPS-NonHR ใช้งานและเข้าสู่ระบบอย่างไร จึงทำให้ผลการดำเนินงานมี
รอ้ ยละทนี่ อ้ ย

3.การดำเนินงาน/ผลการดำเนนิ งานตามมาตรการสำคัญ

3.1 แสดงผลการดำเนินงาน

ตารางผลการดำเนนิ งานเร่ือง

ลำดบั รายการ/ตัวชี้วดั Base Line รพ.สต./ เปา้ หมาย 2564 ไตรมาส 1 รอ้ ยละ/อัตรา หมายเหตุ
2562 2563 pcu ผลงาน

1 รอ้ ยละของหน่วยงาน - 50 มแี ผนการ งานการเจา้ หน้าท่ี ร้อยละ 100

ที่มีฐานขอ้ มลู กำลงั คน บริหารจดั การ จดั ทำแผนบริหาร

ดา้ นบริหารงานบุคคล ฐานข้อมลู ใน จัดการฐานข้อมลู

ในระบบ HROPS - ระบบ HROPS- เจ้าหน้าที่ใหเ้ ป็น

Non HR ที่มคี วาม Non HR ปัจจบุ นั

ถกู ตอ้ ง ครบถว้ น ช้ีแจงแนวทางการ เรยี กประชุม รอ้ ยละ 80

ใช้งานฐานขอ้ มลู อนกุ รรมการ

HRD เพ่ือชแ้ี จง

แนวทางการใช้

งานฐานข้อมลู

แหลง่ ขอ้ มลู ระบบฐานขอ้ มลู HROPS-Non.HR ณ 1.พ.ย.2563

3.2 การบรหิ ารจัดการ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมทดี่ ำเนินการในการขบั เคลื่อน)

กลยุทธห์ รือมาตรการทีใ่ ชด้ ำเนินการ ระยะเวลา
1. มีแผนการบรหิ ารจดั การฐานขอ้ มลู ในระบบ HROPS-Non HR รอบ 3 เดือน
2. ช้แี จงแนวทางการใช้ฐานข้อมลู โดยผ่านอนุ HRD รอบ 3 เดือน
3. จดั ทำทะเบียนคุมรหสั เพ่ือปอ้ งกันการสูญหาย รอบ 3 เดอื น
4. สรา้ งระบบการปรบั ปรุงฐานข้อมลู โดยใช้ Google From รอบ 3 เดอื น
5. เจ้าหนา้ ทตี่ รวจสอบข้อมลู รายบคุ คลผ่านระบบ HROP-Non HR และยืนยันผ่าน รอบ 6 – 12 เดอื น
Google From

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน ครั้งท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 132 -

3.3 วเิ คราะหผ์ ลการดำเนินงานปัจจุบัน
เจ้าหน้าท่ีเข้าใจระบบ HROPS-Non HR มากกวา่ เดมิ และเข้าถึงระบบมากกว่าปีกอ่ น
3.4 วิเคราะหผ์ ลและบ่งชี้ Bright spot และBlind spot
Bright spot ได้แก่ มีอนุ HRD ในหน่วยงานในการช่วยการขับเคลื่อนเพ่ือใหเ้ ป้าหมายบรรลุจุดประสงค์

ร้อยละ 90
Blind spot ไดแ้ ก่ เจา้ หน้าท่แี จง้ วา่ ลมื รหัสเขา้ ระบบ ทำใหก้ ารเข้าระบบไมส่ ามารถทำได้

4.ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ

ปญั หา/อุปสรรค/ปจั จยั ที่ทำใหก้ ารดำเนินงานไม่ ข้อเสนอแนะในเชิงบริหารและวิชาการ

บรรลวุ ตั ถุประสงค์

1.เมื่อเจ้าหน้าที่แจ้งให้บุคลากรดำเนินการตรวจสอบ 1. แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบหลัก และมอบหมาย

ข้อมูลส่วนตัว เพื่อมาอัพเดตฐานข้อมูล แต่พบว่า ให้อนุกรรมการ HRD เข้าไปมีบทบาทและส่วนร่วม

บุคลากรไม่ได้ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อมูล ในการกระตุ้นให้เจ้าหน้าที่ได้ส่งข้อมูลกลับมายัง

จงึ สง่ ผลให้เกดิ ความล่าช้า และข้อมูลไม่เป็นปัจจบุ นั ผู้รับผิดชอบหลัก

5.ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย/ต่อสว่ นกลาง/ต่อผู้บริหาร/ต่อระเบียบ กฎหมาย
-

6.นวัตกรรมหรือ Best Practice ท่ีสามารถเปน็ แบบอย่าง
Google From

ผูร้ ายงาน นางสาววรรณชลชั แซ่โคว้
ตำแหนง่ เจ้าพนกั งานธุรการชำนาญงาน
วัน/เดือน/ปี 30/11/2563
โทร 081-7985857
E-mail.
[email protected]

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน ครั้งท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 133 -

แบบสรุปผลการดำเนินงาน คปสอ.รามัน ปีงบประมาณ 2564

รอบท่ี 1 วนั ท่ี 25 เดือน ธันวาคม 2563

1.ประเด็นการนเิ ทศ
ตัวช้ีวดั จำนวนองค์กรแหง่ ความสุขทีม่ ีคุณภาพมาตรฐาน

2.สถานการณ์/ผลการดำเนนิ งานย้อนหลัง 3 ปี (2561-2563)
จากสภาพสังคมการเมืองและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วตามความเจริญของนวัตกรรม

และเทคโนโลยีซึ่งเขา้ มามีบทบาทต่อการดำรงชวี ิตของมนุษย์ในปจั จบุ นั ซ่งึ ส่งผลกระทบท่ีเช่ือมโยงถึงกนั ตั้งแต่
บุคคล ครอบครัว สังคม องค์กร และประเทศ ตลอดจนการทำงานด้วยเหตุของการพัฒนาที่มีเป้าหมาย
ของความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเพื่อมุ่งตอบสนองความพึงพอใจของบุคคลและกลุ่มคนเพียง
บางส่วน แต่ขาดการคำนึงถึงหลักคุณธรรม จริยธรรมซึ่งกระทบมากมายต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ที่สำคัญ
คือ สภาวะจิตใจของคน ซึ่งเป็นเหตุก่อให้เกิดปัญหาทั้งทางด้านชีวิต เศรษฐกิจ และสังคม และยังเป็นตัว
ขัดขวางการพัฒนาที่ยั่งยืน เหตุนี้ในปัจจุบัน ทั้งองค์กรภาครัฐและเอกชนจึงหันมามองสิ่งที่อยูภ่ ายในตัวบุคคล
แต่ละคนมากข้ึนนน่ั คือ “ความสขุ ” ซง่ึ เป็นเรื่องของจติ ใจ

โรงพยาบาลรามัน ซ่ึงผูบ้ รหิ ารได้คำนึงถึงความสุขของคนทำงานเป็นหลัก เพราะผลของงานท่ีดีจะต้อง
มาจากผู้ปฏิบตั งิ านที่ดี ซึ่งบุคลากรถือเป็นฟันเฟอื งสำคัญในการขบั เคลื่อนงานในทุกด้านของโรงพยาบาลรามนั
ผู้บริหารจึงได้มีการจัดกิจกรรม และส่งเสริมให้บุคลากรมีความสุขทั้งกายและใจเพื่อให้มีสุขภาวะที่ดี ส่งผลต่อ
การทำงานท่ีมีประสทิ ธภิ าพด้วย

ซึ่งโรงพยาบาลรามันได้ดำเนินการขับเคลื่อนองค์กรแห่งความสุขมาเป็นระยะเวลานานทำให้เกิด
กิจกรรมตา่ ง ๆ มากมาย เช่น

(1) Happy Body : ส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรให้แข็งแกร่งทั้งกายและจิตใจ โดยมีการทำห้อง
ฟิตเน็ตสำหรบั บคุ ลากรทกุ คนไดม้ ารว่ มออกกำลงั กาย

(2) Happy Heart: กระตุ้นให้เกิดความเอื้ออาทรต่อกันและกัน เช่น มีการจัดตั้งชมรมจริยธรรม
โรงพยาบาลรามันขึ้นเพื่อทำหน้าที่ในการดูแลผู้ตกทุกข์ได้ยาก โดยมีสมาชิกชมรมคือ ชมรมพุทธ
และชมรมมุสลิมเปน็ หลกั ในการทำหนา้ ท่ีขบั เคลื่อนชมรม

(3) Happy Society: สนับสนุนให้เกิดความรักสามัคคีเอื้อเฟื้อต่อสังคม เช่น มีการจัดตั้งชมรม
จริยธรรมโรงพยาบาลรามนั

(4) Happy Relax: ให้ความรคู้ วามเข้าใจ รูจ้ ักผอ่ นคลายตอ่ สงิ่ ตา่ ง ๆ ในการดำเนินชวี ติ
ลดความเครียดในการทำงาน เช่น มีห้องรับรอง VIP ขึ้นสำหรับรองรับญาติของบุคลากร รวมถึง
บุคลากรใน รพ.สามารถเข้ามานั่งพักผ่อน นวดสปา นวดเท้า ผ่อนคลายได้ โดยภายในห้องมีทั้งทีวี ตู้เย็น
เจ้าหน้าที่นวดสปาคอยบริการหากเจ้าหนา้ ทต่ี ้องการ
(5) Happy Brain: ส่งเสริมการศึกษาหาความรู้พัฒนาตนเองตลอดเวลาจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อให้เกิด
ทักษะ ความชำนาญ รอบรู้ เกิดความก้าวหน้าในการทำงาน เช่น การส่งแพทย์ไปศึกษาหลักสูตรเฉพาะทาง
หรือพยาบาลไปศึกษาหลักสูตรระยะสั้นเพื่อเพิ่มพูนทักษะความชำนาญเฉพาะด้าน ตลอดจนการจัดประชุม
วชิ าการภายในโรงพยาบาลเพือ่ ใหเ้ จา้ หนา้ ท่ี ใน รพ.ได้พัฒนาองค์ความรู้ในการทำงาน

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั ครั้งที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 134 -

(6) Happy Soul: ส่งเสรมิ และบำรงุ ศาสนา เพือ่ ใหเ้ กิดความศรัทธา มีศีลธรรมในการดำเนนิ ชีวิต และ
มีความเข้าใจในหลักคำสอนของแต่ละศาสนา เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ คือ มีการจัดตั้ง ชมรมพุทธและ
ชมรมมสุ ลิมใน การดำเนนิ กิจกรรมทางศาสนา

(7) Happy Money : สนับสนุนให้พนักงานรู้จักเก็บรู้จักใช้ไม่เป็นหนี้ บริหารการใช้จ่ายของตนเอง
และครอบครวั อยา่ งถูกวธิ ี มกี ารออมเพ่ือให้เกดิ ความมน่ั คงทางการเงนิ เช่น มกี ารจัดต้ังไลน์ Raman Basar ขน้ึ
เพื่อให้เจ้าหน้าที่ใน รพ.ได้นำสินค้ามาขายกันในไลน์กลุ่มนี้ เพื่อส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ได้มีรายได้เสริม
นอกเหนือจากรายไดห้ ลักจากการทำงาน

(8) Happy Family : ส่งเสริมความตระหนักในความสำคัญและความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัว เช่น
ผู้บริหารจัดกิจกรรม OD นอกสถานที่ให้กับเจ้าหน้าที่ และจัดกิจกรรมสัมพันธ์ต่าง ๆ เพื่อสร้างความสามัคคี
เชน่ กวนอาซรู อสัมพันธ์ กฬี าสีสัมพันธ์ Thank you party

ผลการดำเนินงานองคก์ รแห่งความสุข HPI ตัง้ แตป่ ี 2561-2563

ปี 2561 2562 2563
88.92%
ผลการดำเนนิ งาน 69.78% 71.96%

3.การดำเนินงาน/ผลการดำเนนิ งานตามมาตรการสำคัญ

3.1 แสดงผลการดำเนนิ งาน

ตารางผลการดำเนินงานเรื่อง

Base Line รพ.สต./ 2564 ไตรมาส 1
2562 2563 pcu
ลำดบั รายการ/ตวั ชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ/ หมายเหตุ
อตั รา

โรงพยาบาลรามนั 71.96% 88.92% 80 20 25 เร่ิมทำแผน
จำนวนองค์กร
แหง่ ความสขุ ที่มี
คณุ ภาพมาตรฐาน

แหล่งข้อมูล โรงพยาบาลรามัน ณ 27 พ.ย.2563

3.2 การบริหารจดั การ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมทดี่ ำเนนิ การในการขบั เคลอื่ น)

กลยุทธ์หรอื มาตรการที่ใชด้ ำเนนิ การ ระยะเวลา

ประชมุ ผ้รู บั ผิดชอบเพ่ือชีแ้ จงการดำเนนิ งานองค์กรแหง่ ความสขุ โรงพยาบาลรามัน ไตรมาสท่ี 1
จัดทำแบบประเมิน ความสุขบคุ ลากร (Happinometer ) และ ประเมนิ สุขภาวะ องคก์ ร ไตรมาสท่ี 2
(HPI)
ไตรมาสที่ 3
ทำการวิเคราะหแ์ ละแปรผลการประเมนิ ความสุขบคุ ลากร (Happinometer ) และ
ประเมนิ สขุ ภาวะองค์กร(HPI) ไตรมาสท่ี 4
สรปุ ผลการดำเนนิ งาน และนำเสนอผู้บรหิ าร

3.3 วิเคราะหผ์ ลการดำเนินงานปจั จบุ ัน

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั ครั้งท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 135 -

โรงพยาบาลรามันได้ดำเนนิ การเรื่ององค์กรแห่งความสุขมาอย่างตอ่ เนื่องจนเกิดเป็นกิจกรรมมากมาย
ในการตอบสนองเจา้ หนา้ ที่ของโรงพยาบาลรามัน ใหม้ ีความสุข และความผูกพนั กบั องค์กร และทำงานอย่างสุข
กายสขุ ใจ เช่น

(1) Happy Body : มบี รอการห้องฟิตเน็ตสำหรับบคุ ลากรทุกคนไดม้ ารว่ มออกกำลังกาย
(2) Happy Heart: มกี ารจดั ตง้ั ชมรมจรยิ ธรรมโรงพยาบาลรามันขนึ้ เพ่ือทำหน้าท่ีในการดูแลผู้ตกทุกข์
ไดย้ าก โดยมสี มาชกิ ชมรมคือ ชมรมพุทธและชมรมมสุ ลมิ เปน็ หลกั ในการทำหน้าที่ขับเคลอื่ นชมรม
(3) Happy Society: มีการจดั ต้งั ชมรมจรยิ ธรรมโรงพยาบาลรามัน
(4) Happy Relax: มีห้องรับรอง VIP ขึ้นสำหรับรองรับญาติของบุคลากร รวมถึง บุคลากรใน รพ.
สามารถเข้ามานั่งพักผ่อน นวดสปา นวดเท้า ผ่อนคลายได้ โดยภายในห้องมีทั้งทีวี ตู้เย็น เจ้าหน้าที่นวดสปา
คอยบริการหากเจา้ หน้าท่ตี อ้ งการ
(5) Happy Brain: การส่งแพทยไ์ ปศึกษาหลกั สูตรเฉพาะทาง หรือพยาบาลไปศึกษาหลักสูตรระยะสัน้
เพอื่ เพ่มิ พูนทักษะความชำนาญเฉพาะด้าน ตลอดจนการจัดประชุมวิชาการภายในโรงพยาบาลเพ่ือให้เจ้าหน้าที่
ใน รพ.ไดพ้ ัฒนาองค์ความรใู้ นการทำงาน
(6) Happy Soul : มีการจดั ตงั้ ชมรมพทุ ธและชมรมมุสลิมในการดำเนินกจิ กรรมทางศาสนา
(7) Happy Money: มีการจดั ตั้งไลน์ Raman Basar ข้ึนเพอ่ื ให้เจ้าหน้าท่ีใน รพ.ได้นำสนิ ค้ามาขายกัน
ในไลน์กลุม่ นี้ เพื่อสง่ เสริมใหเ้ จา้ หนา้ ทไี่ ด้มรี ายไดเ้ สริมนอกเหนือจากรายไดห้ ลักจากการทำงาน
(8) Happy Family: ผู้บริหารจัดกิจกรรม OD นอกสถานที่ให้กับเจ้าหน้าที่ และจัดกิจกรรมสัมพันธ์
ตา่ ง ๆ เพ่ือสร้างความสามัคคี เชน่ กวนอาซรู อสัมพนั ธ์ กีฬาสีสัมพนั ธ์ Thank you party

3.4 วิเคราะหผ์ ลและบ่งช้ี Bright spot และBlind spot
Bright spot ไดแ้ ก่ มีกิจกรรมดำเนนิ งานอยา่ งตอ่ เน่ือง และเป็นรูปธรรม
Blind spot ได้แก่ ขาดผู้ควบคุมกำกบั ติดตามทท่ี ำหน้าที่หลกั อยา่ งชดั เจน

4.ปัญหา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ

ปญั หา/อุปสรรค/ปจั จัยท่ีทำใหก้ ารดำเนนิ งานไม่ ข้อเสนอแนะในเชิงบริหารและวชิ าการ

บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์

มีผู้รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรม แต่ยังขาดผู้ที่คอย มอบหมายผู้รับผิดชอบเป็นงาน HRD ในการควบคุม

ควบคมุ กำกบั ทัง้ ระบบ กำกบั ทงั้ ระบบ

5.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/ตอ่ ส่วนกลาง/ต่อผ้บู ริหาร/ต่อระเบียบ กฎหมาย
-
6.นวัตกรรมหรือ Best Practice ท่ีสามารถเปน็ แบบอยา่ ง
-

ผู้รายงาน นางสาวยวุ ธดิ า คงนุมัติ นกั จดั การงานทั่วไปชำนาญการ
วัน/เดอื น/ปี 27 พฤศจิกายน 2563
โทร 093-7136041
E-mail: [email protected]

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั ครัง้ ที่ 1 ปีงบประมาณ 2564


Click to View FlipBook Version