The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบสรุปผลการดำเนินงาน คปสอ.รอบที่ 1-2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sarinee.sa35, 2021-04-01 00:16:56

แบบสรุปผลการดำเนินงาน คปสอ.รอบที่ 1-2564

แบบสรุปผลการดำเนินงาน คปสอ.รอบที่ 1-2564

- 64 -

กราฟ ผลการดำเนินงานเร่อื งอตั ราความครอบคลุมเด็กอายุครบ 1,3,5 ปีไตรมาส ท่ี1
(Fully immunized ขอ้ มลู ณ 26-11-63)

อัตราความครอบคมุ เดก็ อาย1ุ ปีไดร้ ับวัคซนี ครบชดุ (BCG-MMR1)Fully immunized ไตรมาส1

100
90 82.76 80 75.86 75 71.4369.2364.2963.1661.5457.1455.56 55
้รอยละ ้รอยละ 80 55 52.63 50 57.64
70 46.67 41.18
60
50
40
30
20
10
0

สถานบริการ

อตั ราความครอบคลุมเด็กอายุ 3ปี ไดร้ บั วัคซนี BCG - Fully immunized ไตรมาส 1
100
100 87.5 80 78.5773.6871.4366.6765.38 65 61.54 60
90 80
80
70 60 58.8258.6257.69 63.41
60 47.37
50
40
30
20
10
0

สถานบรกิ าร

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั คร้งั ท่ี 1 ปีงบประมาณ 2564

- 65 -

อัตราความครอบคลมุ เดก็ อายุ 5 ปี ได้รับวัคซนี ครบชุด Fully immunized
ไตรมาส 1

100 90.91 84.62 84 83.33 71.95
90 76.67 76.19 76 73.33 71.43 69.23 66.67 64.71 63.64 60 58.82 55.56
้รอยละ 80
70
60
50
40 38.89

30
20
10
0

สถานบริการ

3.2 การบริหารจดั การ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมทดี่ ำเนินการในการขับเคลอ่ื น)

กลยุทธ์หรือมาตรการท่ีใชด้ ำเนินการ ระยะเวลา
1.มคี วบคุมกำกับติดตามผลการดำเนนิ งานโดย สสอ.ในที่ประชุม ผอ.รพ.สต. และ ตลุ าคม2563-
คณะกรรมการ คปสอ. กันยายน2564
2.สะท้อนขอ้ มลู .ตดิ ตามผลการดำเนินงาน ใหช้ มุ ชน ในท่ปี ระชมุ พชอ. โดย นายอำเภอ
เป็นประธาน ตลุ าคม2563-
2.คืนขอ้ มูลการสร้างเสริมภูมิค้มุ กันโรคในเด็ก ใหช้ ุมชน ในทป่ี ระชุมสภาสนั ตสิ ขุ ตำบล กนั ยายน2564
เดือนละ 1 คร้ัง
3.ดำเนินงานแก้ไขปัญหาโดยเยี่ยมติดตามร่วมกบั ภาคเี ครือขา่ ย ผนู้ ำชุมชน พรอ้ มฉดี ตุลาคม2563-
วัคซนี ในพ้นื ท่ี กนั ยายน2564
4.อบรม การสื่อสารด้านวคั ซีนสำหรับ จนท.รบั ผิดชอบงาน เพื่อนำไป ใช้ในการสื่อสาร
กับผปู้ กครอง ตลุ าคม2562-
5.สรา้ งแรงจูงใจ อสม. ในการนำเดก็ มารับวคั ซนี กนั ยายน2563

6.กมุ ารแพทยท์ ่ีแผนก OPD เด็ก แนะนำและเชิญชวนผูป้ กครองเด็กป่วยให้ฉดี วคั ซีน กรกฎาคม2564
วคั ซนี และส่งต่อ case ทีห่ ้องสง่ เสรมิ เพ่ือรบั วัคซนี /นดั มารับวัคซีน
7.ประกวด นวัตกรรม /CQI.พัฒนาการสรา้ งเสริมภมู ิคุ้มกนั โรคในเด็ด อายุ0-5 ปี ตุลาคม2563-
กันยายน2564
ตลุ าคม2563-
กันยายน2564

สิงหาคม 2564

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั คร้งั ท่ี 1 ปีงบประมาณ 2564

- 66 -

การบรหิ ารจดั การ รพ.สต. ท่ีมีผลการดำเนินงานตำ่ สุด ในรอบ ไตรมาสที่ 1

รพ.สต. สภาพปญั หา กลยุทธ์หรือมาตรการท่ใี ช้ดำเนินการ
กอตอตือระ 1.ผูป้ กครองกังวล 1.กำหนดใหก้ ารรบั วัคซนี เป็นสว่ นหน่งึ ของเกณฑ์ขอรบั เงินอดุ หนุนเบีย้
อาการขา้ งเคยี งท่ี ยังชีพทารกแรกเกิด (เงิน 600 บาท)
โกตาบารู รนุ แรงของวัคซนี 2.ติดตามอาการหลงั ฉีดวัคซนี โดยให้อสม.ทกุ รายแลว้ สง่ หลกั ฐานการ
ตดิ ตามและรูปถ่ายการเยี่ยมส่งในไลนต์ ดิ ตามงานวคั ซนี ทกุ ราย
จะกวะ๊ 2.การบนั ทกึ 3.มอบของท่รี ะลึกเพื่อเป็นแรงจูงใจกระตนุ้ ใหม้ าฉีดวัคซนี ในกลมุ่ อายุ 1ปี
ขอ้ มูลบริการ ครงึ่ และ 4ปี
วคั ซีนไม่ครบถ้วน 1.การตรวจสอบความถูกต้องของขอ้ มลู การคีย์ให้ถูกต้องครบถว้ น
1.การบนั ทกึ สมบูรณท์ ุกคร้ังหลังบรกิ าร
ขอ้ มลู บริการ
วคั ซนี ไม่ครบถ้วน 1.ตรวจสอบขอ้ มลู วคั ซนี และบันทึกข้อมลู ย้อนหลังใหค้ รบทกุ ชอ่ งตาม
สมบรู ณ์ ประวัตบิ รกิ าร
2.เม่ือเพม่ิ
ประชากรเด็ก 1.เจา้ หนา้ ทเี่ ย่ียมติดตามเก็บประวตั วิ ัคซนี มาบนั ทกึ ในช่องความ
แล้วไมไ่ ด้เพ่มิ ครอบคลุม ในโปรแกรม J-Hcis
ประวัติวคั ซนี ใน
ความครอบคลุม 1.ตรวจสอบข้อมลู วคั ซนี และบนั ทกึ ข้อมูลย้อนหลงั ใหค้ รบทุกช่องตาม
3.การตรวจสอบ ประวัติบริการ
ความถูกตอ้ งของ
ข้อมูลการคีย์ให้ 1.ประชาสัมพันธใ์ นชมุ ชน โดย ผนู้ ำชุมชน และ อสม.
ถกู ต้องครบถว้ น 2.สรา้ งกลมุ่ แกนนำผู้ปกครองเชิญชวน สรา้ งกระแส การนำเด็กมารับ
สมบรู ณ์ วัคซีน
2.กล่มุ ผปู้ กครอง
ขอเริมฉดี วัคซนี
ตอนลกู อายุ
ประมาณ 1ปี

3.3 วิเคราะหผ์ ลการดำเนนิ งานปัจจุบัน
ผลการดำเนินงานความครอบคลุมเด็กอายุ 1,2,3,5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ จำนวนทั้งหมด
1,271 ราย ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ จำนวน 789 ราย ได้รับไม่ครบตามเกณฑ์ จำนวน 482 รายปัญหา
เกิดจาก เด็กป่วยบ่อย จำนวน 158 รายคิดเป็นร้อยละ 12.43 ผู้ปกครองบ่ายเบี่ยง จำนวน 112 ราย คิดเป็น
ร้อยละ 8.81 และ ผูป้ กครองลงั เล ตอ้ งมีการติดตาม และกระตุ้นอย่างตอ่ เนอ่ื ง จำนวน 212 ราย ร้อยละ 16.68
รายตำบลทีม่ ีผลงานความครอบคลมุ วัคซีนต่ำสุด คอื ตำบล กอตอตอื ระ จะกว๊ะ โกตาบารู

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน ครัง้ ท่ี 1 ปีงบประมาณ 2564

- 67 -

แผนภูมแิ สดงผลการดาเนินงานและแบ่งกลุ่มเป้าหมายตามสาเหตุของปัญหา
ไตรมาสท่ี 1 ข้อมลู ณ 26-11-63

16.68 62.08
12.43

8.81

แสดงเป็นรอ้ ยละ

ครบตามเกณฑ์ ผ้ปู กครองบ่ายเบ่ียง เดก็ ป่วยบ่อย ผูป้ กครองลังเล

3.4 วเิ คราะหผ์ ลและบ่งช้ี Bright spot และ Blind spot

Bright spot : ได้แก่ รพ.รามัน มีการติดตามกลุ่มเป้าหมาย แบบเกาะติด และต่อเนื่อง, รพ.สต.ท่าธง
มีการติดตามกลุ่มเป้าหมาย ร่วมกับภาคีเครือข่าย อย่างต่อเนื่อง, รพ.สต.วังพญา มีการติดตามกลุ่มเป้าหมาย
โดย ผอ.รพ.สต.ร่วมกับ จนท.รบั ผดิ ชอบงาน

Blind spot : รพ.สต. กาลูปัง เนินงาม อาซ่อง โกตาบารู จากปัญหา เด็กได้รับวัคซีนล่าช้า ส่งผลให้
ได้รับวัคซีนไม่เป็นไปตามเกณฑ์อายุ ไม่ได้ความครอบคลุม และ การปันทึกข้อมูลความครอบคลุมวัคซีน
ไมค่ รบถ้วน ขาดวัคซีนบางตัว ส่งผลให้ ขอ้ มูล ไมผ่ ่าน Fully immunized

4.ปัญหา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ

ปัญหา/อุปสรรค/ปจั จยั ที่ทำใหก้ ารดำเนนิ งานไม่ ข้อเสนอแนะในเชงิ บริหารและวชิ าการ

บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์

1.เจ้าหน้าท่ีไม่มีทักษะในการโน้มน้าวเชิญชวน 1.อบรมเสริมทักษะการส่ือสารด้านวัคซีนสำหรับ

ผปู้ กครองนำเด็กมารับวัคซนี จนท.รบั ผิดชอบงาน

2.กระแสต่อต้านวัคซีนผ่านสื่อออนไลน์และความ 2.สรา้ งแรงจูงใจ อ.ส.ม.ในการตดิ ตามเด็กมารับ

เช้ือเกยี่ วกบั วัคซีน วัคซนี

3.สถานการณ์ Covid-19 ส่งผลให้เด็กเข้าบริการ 3.ออกติดตามใหบ้ รกิ ารวคั ซนี ในพ้นื ท่ีรว่ มกบั ภาคี

น้อยลง เครอื ข่ายในชมุ ชน

5.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/ต่อสว่ นกลาง/ต่อผู้บริหาร/ตอ่ ระเบยี บ กฎหมาย
- สนับสนนุ ให้ การรับวัคซนี พ้ืนฐานในเด็กอายุ 0-5 ปี เป็นกฎหมายบังคบั เพื่อป้องกันการระบาดของ

โรคตดิ ตอ่ ร้ายแรงในพ้นื ท่ี
- ผลกั ดนั ปัญหาวัคซีนในเดก็ เป็นตวั ชวี้ ัดระดับจงั หวัดเพ่ือร่วมดว้ ยชว่ ยกันแก้ไขปัญหา ทุกภาคสว่ น

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั ครงั้ ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 68 -

6.นวตั กรรมหรือ Best Practice ท่สี ามารถเปน็ แบบอย่าง
- รพ.สต.ท่าธง: ติดตามเย่ียม และบรกิ ารวคั ซนี ในชมุ ชน รว่ มกนั คณะกรรมการ พชต.อยา่ งต่อเนอ่ื ง
- รพ.สต. วังพญา: ตดิ ตามเย่ียม และบรกิ ารวคั ซีนในชมุ ชนโดย ผอ.รพ.สต.รว่ มกบั เจา้ หนา้ ทรี่ ับผดิ ชอบ
- โรงพยาบาลรามนั : ติดตามกลุม่ เปา้ หมาย แบบเกาะตดิ ต่อเนอ่ื งและ ทำหนังสือติดตามวคั ซีน

ลงนามโดย ผ้อู ำนวยการโรงพยาบาลรามนั
ผรู้ ายงาน นางสาวอารนี า หะยีอาซา
ตำแหนง่ นวก.สาธารณสขุ ชำนาญการ
ผรู้ ายงาน นางสาวเนาวรตั น์ ปะกียา
ตำแหน่ง พยาบาลวชิ าชีพชำนาญการ
วัน/เดือน/ปี 30 พฤศจิกายน 2563.
โทร 0849697715
E-mail. [email protected]

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน ครัง้ ที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

- 69 -

แบบสรุปผลการดำเนนิ งาน คปสอ..รามนั ปงี บประมาณ 2564

รอบท่ี 1 วันที่ 25 เดอื น ธันวาคม 2563

1.ประเดน็ การนิเทศ
ตัวชีว้ ัด : รอ้ ยละความครอบคลมุ การไดร้ บั วัคซีน dT ในเด็กนักเรียนช้นั ป.6

2.สถานการณ์/ผลการดำเนนิ งานยอ้ นหลงั 3 ปี (2561-2563)

ตวั ชว้ี ัด เปา้ หมาย ผลการดำเนนิ งาน ยอ้ นหลัง 3 ปี
อัตราความครอบคลุมของการไดร้ ับวคั ซนี พ้นื ฐานในเดก็ (รอ้ ยละ)
(Fully immunized)
เดก็ นกั เรยี นช้นั ป.6ไดร้ ับวคั ซีน dT 95
2561 2562 2563

92.39 94.57 -

จากผลการดำเนินงานการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กนักเรียนชั้น ป.6ได้รับวัคซีน dT
ในปี พ.ศ. 2561 -2562 มีอัตรา ร้อยละ 92.39, 94.57 ตามลำดับ สำหรับผลการดำเนินงาน ปี 2563 พบว่า
ไม่มผี ลการดำเนนิ งาน เนอื่ งจาก ดว้ ยสถานการณ์ การระบาดของ เช้อื Covid-19 ในช่วงต้นปีทผี่ ่านมา ส่งผล
ให้โรงเรียนเปิดเทอมล่าช้า ได้รับสรรวัคซีน dT จากส่วนกลางปลายเดือนกันยายนพ.ศ.2563 ซึ่งล่งผลให้
ไม่สามารถดำเนินงานในปพี .ศ.2563 ได้

3.การดำเนินงาน/ผลการดำเนนิ งานตามมาตรการสำคัญ

3.1 แสดงผลการดำเนนิ งาน

ตารางผลการดำเนนิ งานเร่ือง รอ้ ยละความครอบคลมุ การไดร้ บั วคั ซนี dT ในเดก็ นกั เรียนช้นั ป.6

ไตรมาส ท่ี 1

Base Line 2564 ไตรมาส 1
2562 2563
ลำดับ รายการ/ตวั ชวี้ ัด รพ.สต./pcu เป้าหมาย ผลงาน รอ้ ยละ/ หมายเหตุ
94.57 - อัตรา
1 เด็กนักเรยี นชัน้ ป.6 กาลอ
ได้รบั วคั ซนี dT กาลูปัง 27 24 88.89

23 23 100

เกะรอ 124 112 90.32

ท่าธง 36 35 97.22

บา้ นเกาะ44 44 44 100

บาลอ 113 107 94.69

บอมัง 78 76 97.44

เนนิ งาม 78 72 92.31

บาโงย 100 97 97.00

ยะตะ๊ 79 78 98.73

กอตอตอื ระ๊ 92 76 82.61

อาซอ่ ง 44 40 90.91

วงั พญา 187 181 96.79

ตะโละหะลอ 112 110 98.21

โกตาบารู 124 122 98.39

กายูบอเกาะ 148 146 98.65

รวม 1492 1418 95.04

แหลง่ ข้อมูล ฐานรพ.สต ณ 27-11-63
เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั คร้ังที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

- 70 -

กราฟ ผลการดำเนนิ งานเร่ือง อัตราความครอบคลุมการได้รบั วคั ซนี dT ในเดก็ นกั เรยี นชั้น ป.6
ไตรมาส ที่ 1

อัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซนี dT ในเดก็ นักเรยี นช้ัน ป.6 ไตรมาส ท่ี1
100 100 100 98.73 98.65 98.39 98.21 97.44 97.22 97 96.79 94.69 92.31 90.91 90.32 88.89
95.04

90 82.61

80

70

60

50

40

30

20

10

0

3.2 การบริหารจดั การ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมทด่ี ำเนินการในการขบั เคล่อื น)

กลยทุ ธห์ รือมาตรการที่ใช้ดำเนินการ ระยะเวลา
1.จดั ทำแผนรณรงค์การให้วัคซีน dT ใหก้ ับโรงเรยี น
2.รวบรวมข้อมูลรายช่ือเด็กนักเรียนชนั้ ป.6 เพ่อื ทำการเบิกจ่ายวคั ซนี dT ตลุ าคม 2563
3.ออกบรกิ ารฉีดวัคซนี dT ตามแผนแผนรณรงค์การให้วคั ซีน dT ให้กับโรงเรยี น
ตุลาคม 2563
4.ตดิ ตามเกบ็ ตกเด็กนักเรียนชน้ั ป.6 ทย่ี ังไม่ได้ฉีดวคั ซีน dT
ตลุ าคม 2563-
5.รวบรวมข้อมูล พฤศจิกายน 2563
พฤศจิกายน 2563-
มกราคม 2564

กุมภาพนั ธ์ 2564

3.3 วิเคราะหผ์ ลการดำเนินงานปจั จุบนั
ผลการดำเนินงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีนเด็กนักเรียนชั้น ป.6 ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
จำนวนทั้งหมด 1,492 ราย ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ จำนวน 1,418 ราย คิดเป็นร้อยละ 95.04 ซึ่งผ่าน
ตามเกณฑ์ตัวชี้วัด รายตำบลที่มีผลงานความครอบคลุมวัคซีนไม่ผ่านตามเกณฑ์ คือ ตำบล กอตอตือร๊ะ กาลอ
เกะรอ อาซ่อง เนนิ งาม บาลอ

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั ครัง้ ท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 71 -

3.4 วิเคราะหผ์ ลและบ่งช้ี Bright spot และBlind spot

Bright spot ได้แก่ ผู้บรหิ ารโรงเรียน และครูอนามัยโรงเรยี น ให้ความร่วมมือเปน็ อย่างดี
Blind spot ได้แก่ มผี ูป้ กครอง นักเรียนบางราย ไมใ่ หค้ วามรว่ มมอื ไมย่ นิ ยอมให้ฉดี วคั ซนี

4.ปญั หา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ

ปญั หา/อุปสรรค/ปัจจยั ที่ทำใหก้ ารดำเนินงานไม่ ข้อเสนอแนะในเชงิ บริหารและวิชาการ

บรรลุวตั ถปุ ระสงค์

1.ผู้ปกครองไม่อนญุ าตให้ฉีดวัคซีน (ในใบตอบรับ) 1.จนท.สาธารณสุข โทรศัพท์ติดตอ่ กับผู้ปกครอง

2.สถานการณ์ ระบาด Covid-19 สง่ ผลให้เด็ก โดยตรง เฉพาะราย

นักเรียนไม่ไดว้ ัคซนี ตามแผน 2.ปรบั แผน บริการวคั ซนี dT นักเรียน ในเดอื น

ตลุ าคม-ธันวาคม2563

5.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/ต่อสว่ นกลาง/ต่อผู้บริหาร/ตอ่ ระเบียบ กฎหมาย

- อยากให้มีกำหนดข้อบังคับการเข้าการรับวัคซีนพื้นฐานหรือตรวจเช็คการรับวัคซีนพื้นฐานก่อนเข้า

เรยี นและเป็นเกณบังคบั การรบั สมคั รเรยี นเด็กนักเรียนตอ้ งได้รับวัคซนี ก่อนเข้าศึกษาในโรงเรียน

6.นวัตกรรมหรือ Best Practice ที่สามารถเปน็ แบบอยา่ ง
-

ผรู้ ายงาน นางสาวอารีนา หะยีอาซา
นางสุกญั ญา ปโู รง
ตำแหน่ง นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชำนาญการ
วนั /เดอื น/ปี 30 พฤศจกิ ายน. 2563
โทร 0849697715.
E-mail. nanatos [email protected]

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั ครั้งท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 72 -
เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รา

ามนั ครั้งท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 71 -

STRENGH

3S ลำดับ ประเดน็ ตวั ชี้วัด

อตั ราผูป้ ่วยรายใหมจ่ ากกลมุ่ เส่ียงเบาหวาน

7 HT/DM อัตราผู้ป่วยรายใหมจ่ ากกลมุ่ เส่ยี งความดันโลหติ สงู

ร้อยละคลินิก NCD คุณภาพในรพ.ทุกแห่ง ผา่ นเกณฑ์การป

8 โรคนำโดยแมลง อัตราปว่ ยด้วยโรคไขล้ อื ดออกลดลง
(ลดโรคไขเ้ ลอื ดออก
STRENGH อัตราปว่ ยตายด้วยโรคไข้เลอื ดออก
/มาลาเรยี ) อตั ราปว่ ยดว้ ยโรคไข้มาลาเรยี ลดลง
9
ผปู้ ่วยวัณโรคปอดรายใหม่ข้นึ ทะเบยี น ไตรมาส 1/64 อัตรา
TB การคัดกรองค้นหาผูป้ ่วยวณั โรครายใหม่

รอ้ ยละของตำบลทม่ี รี ะบบการสง่ เสริมสขุ ภาพดูแลผุ้สูงอายรุ

10 ผ้สู งู อายุ (Long Term Care) ในชุมชนผา่ นเกณฑ์
ผูส้ งู อายุมพี ฤตกิ รรมสุขภาพที่พงึ ประสงค์ (เพ่ิมข้ึนรอ้ ยละ 5

พึง่ พงิ ไดร้ บั การดูแลตาม CP

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รา

ค่าเปา้ หมาย จำนวน รพ. สสอ.

ประเมินระดบั ดมี าก ≤ ร้อยละ 1.3 14 โรสติน่า อาหมัด
15 โรสติน่า อาหมัด
าความสำเรจ็ การรกั ษา ≤ ร้อยละ 4.5 16 สไุ ลณี อาหมดั
ระยะยาว
5) KPI3 ผส.ที่ทีภาวะ รอ้ ยละ 100 /รพ.สต 17 ซากีนะ ชาครติ
ระดบั ดี ร้อยละ 50
18 ซากนี ะ ชาครติ
รอ้ ยละ 25 19 ซากีนะ ชาครติ
ของค่ามัธยฐาน 20 ซากีนะ ชาครติ
5 ปียอ้ นหลัง 21 มารเี ยา๊ ะ ชาครติ

ไม่เกนิ รอ้ ยละ 0.10

ร้อยละ 30
จากปีทผี่ า่ นมา

อยา่ งน้อยรอ้ ยละ 88

อย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 100
ของ 7 กลุ่มเส่ยี ง

(ร้อยละ 90) 22 ซไู รยา อับดุลรอมาน
(รอ้ ยละ 85) 23 ซูไรยา อับดลุ รอมาน

ามัน ครง้ั ท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 72 -

แบบสรุปผลการดำเนินงาน คปสอ.รามัน. ปีงบประมาณ 2564

รอบที่ 1 วนั ท่ี 25 เดอื น ธันวาคม 2563

1.ประเดน็ การนิเทศ
-อตั ราผู้ป่วยเบาหวานรายใหมจ่ ากกลุ่มเสย่ี งเบาหวาน < ร้อยละ 1.3
-อตั ราผู้ป่วยความดนั โลหิตสงู จากากลมุ่ เส่ยี งความดันโลหิตสงู < รอ้ ยละ 4.5

2.สถานการณ/์ ผลการดำเนนิ งานย้อนหลัง 3 ปี (2561-2563)
ผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ทั้งรายเก่าและรายใหม่ ในปี พ.ศ. 2563 รวมทั้งสิ้น

จำนวน 7,715 คน ซง่ึ แยกเปน็ โรคความดันโลหิตสงู จำนวน 4,764 คน โรคเบาหวาน จำนวน 623 คน โรคเบาหวาน
และความดนั โลหติ สงู จำนวน 2,328 คน ซงึ่ มีแนวโนม้ มอี ตั ราปว่ ยเพมิ่ ขนึ้ ในแตล่ ะปี ระหวา่ ง ปี พ.ศ. 2561-2563

แผนภูมิแสดงอัตราป่วยโรคความดนั โลหติ สูงและโรคเบาหวานรายเกา่ รายใหม่

10000 ปีงบประมาณ 2561-2564
8000 7693.97 8639.41 8557.36
8230.34

ัอตรา ่ปวย ่ตอประชากรแสนคน 6000

4000 3075.66 3327.41 3520.92 3560.74 อตั ราปว่ ยHT

2000 อัตราป่วยDM

3.การดำเนิน0งาน/ผลกา2ร5ด6ำ1เนินงานตามมา2ต56ร2การสำคัญ 2563 ปี
2564

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั ครงั้ ท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 73 -

ตารางแสดงอตั ราปว่ ยโรคความดนั โลหิตสูงและโรคเบาหวานจากกลุ่มเส่ยี ง
ปงี บประมาณ 2561-2564

ปีงบประมาณ HT รอ้ ยละ DM รอ้ ยละ
กล่มุ เสี่ยงHT HTจากเสี่ยง กลมุ่ เส่ียง DMจากเสีย่ ง
1.15
ปี2561 2,311 83 3.59 2,086 24 2.25
1.48
ป2ี 562 1,424 69 4.85 2,532 57 0.53

ปี 2563 374 21 5.61 3,253 48

ปี 2564 289 6 2.08 3.805 20

แผนภมู แิ สดงร้อยละปว่ ยโรคความดันโลหติ สงู และโรคเบาหวานจากกลุ่มเส่ียง
ปีงบประมาณ 2561-2564

้รอยละผู้ ่ปวยจากกลุ่มเส่ียง 6 4.85 5.61 2.08 HT
2.25 1.48 0.53 DM
5
ป2ี 562 ปี 2563 ปี 2564
4 3.59

3

2 1.15

1

0
ปี2561

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั ครง้ั ท่ี 1 ปีงบประมาณ 2564

- 74 -

3.1 แสดงผลการดำเนนิ งาน
ตารางผลการดำเนนิ งานรอ้ ยละปว่ ยโรคความดนั โลหิตสงู และโรคเบาหวานจากกลมุ่

Base Line 2564 กาลู ก
ลำดับที่ ผลสำเร็จ/ตัวชว้ี ดั 2561 2562 2563 ปงั

1. อตั ราผปู้ ่วยเบาหวาน 1.15 2.25 1.48 เป้าหมาย 181 1
รายใหม่จากกลุ่มเส่ียง
เบาหวาน ร้อยละ ผลงาน 1
<1.3
ร้อยละ 0.55 0

บาลอ บ

เปา้ หมาย 353
ผลงาน 6
รอ้ ยละ
7.69

2 อตั ราผู้ปว่ ยความดนั 3.59 2.08 5.61
โลหิตสงู รายใหม่จาก
กลุ่มเสย่ี งความดนั 2564 กาลปู งั ก
โลหติ สูง
รอ้ ยละ <4.5 เป้าหมาย 5
ผลงาน 1
รอ้ ยละ 20

บาลอ บ

เป้าหมาย 72
ผลงาน 2
รอ้ ยละ
2.78

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รา

มเส่ียง

ข้อมูลไตรมาส1แยกรายตำบล

กาลอ กอ โกตาบารู เก๊ะรอ จะกวะ๊ ท่าธง บา้ นเกาะ เนนิ งาม
ตอตือระ๊

125 27 56 131 102 7 154 293

10000 0 00

0.80 0 0 0 0 0 0 0

ข้อมูลไตรมาส1แยกรายตำบล

บาโงย บอื มัง ยะต๊ะ วังพญา อาช่อง ตะโล๊ะหะลอ กายูบอ รวม
เกาะ

139 451 436 106 640 579 27 3,805

0 1 2 1 0 3 0 20

0 0 0 0.46 0 3 0 0.53

ข้อมูลไตรมาส1แยกรายตำบล ท่าธง
31
กาลอ กอ โกตาบารู เกะ๊ รอ จะกวะ๊ บา้ น เนนิ งาม
ตอตอื ร๊ะ เกาะ

6 5 3 2 26 21 0

010 0 0 2 0 0

0 20 0 0 0 6.45 0 0

ข้อมูลไตรมาส1แยกรายตำบล รวม
289
บาโงย บือมัง ยะต๊ะ วังพญา อาช่อง ตะโละ๊ หะลอ กายูบอ 6
เกาะ 2.08

0 34 31 22 28 1 2

000 0 0 0 0

000 0 0 0 0

แหล่งขอ้ มลู จากJHDC .ณ 29/11/63

ามนั ครง้ั ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 75 -

3.2 การบรหิ ารจัดการ ปี 2564 (ยุทธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมทด่ี ำเนินการในการขบั เคลอื่ น)

กลยุทธ์หรือมาตรการท่ใี ชด้ ำเนินการ ระยะเวลา
ตุลาคม-ธันวาคม
-มีระบบเฝา้ ระวังภาวะสุขภาพ คัดกรองเบาหวาน ความดันโลหติ สงู ในประชากร มกราคม-มนี าคม
กลมุ่ เปา้ หมาย โดยวางแผนดำเนินการตรวจคัดกรองสขุ ภาพให้แลว้ เสร็จในช่วงไตรมาสที่ 1 มกราคม -ตุลาคม
และคีย์ผลการคดั กรองใหแ้ ลว้ เสรจ็
กมุ ภาพันธ์-พฤษภาคม
-จดั ทำทะเบยี นแยกประเภท กลุม่ ดี เสยี่ ง ปว่ ย
เมษายน-ตุลาคม
- สอบสวนผู้ปว่ ยเบาหวานและความดนั โลหิตสงู รายใหม่ มกราคม-ตลุ าคม

-การอบรมพัฒนาศักยภาพผูร้ ับผิดชอบงาน เรือ่ งการเปน็ นักปรับเปลย่ี นพฤติกรรมสุขภาพ
มอื อาชพี การการดำเนนิ งาน NCD Clinic Plus และ DPAC ดำเนินการนักขายสขุ ภาพดี
-การอบรมพฒั นาศักยภาพ อสม. / แกนนำสขุ ภาพ เพ่ือรว่ มเปน็ ทมี สขุ ภาพ
-จัดกิจกรรมปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง
-มกี ารดำเนนิ งานหมู่บ้านปรบั เปล่ียนพฤติกรรมลดเสีย่ ง ลดโรคไมต่ ดิ ต่อเรอ้ื รัง

-นเิ ทศ ติดตามการดำเนินงานอย่างน้อยปีละครั้ง

3.3 วเิ คราะห์ผลการดำเนินงานปจั จุบนั
ผลการดำเนนิ การในไตรมาสแรก ปี 2564 เปรียบเทียบรายอำเภอพบว่า อัตราเบาหวานรายใหม่จากกลุ่ม

เสย่ี งเบาหวาน จำนวนกล่มุ เสย่ี งทง้ั หมด 3,801 เป็นโรคเบาหวานท่ีมาจากกลุ่มเส่ยี ง 21ราย คดิ เปน็ ร้อยละ 0.55 และ
อัตราโรคความดนั โลหิตสูงรายใหม่จากกลมุ่ เสยี่ งความดันโลหิตสูง จำนวนกลุ่มเส่ียง 288 ราย คิดเป็นรอ้ ยละ 0.57

3.4 วิเคราะหผ์ ลและบ่งช้ี Bright spot และBlind spot
Bright spot ไดแ้ ก่

- ผู้บรหิ ารให้ความสำคัญ
- สรุปติดตามการดำเนินงานผู้รับผิดชอบงานและผบู้ ริหาร ในเวทกี ารประชมุ ประจำเดือน
- สรปุ ผลการดำเนินงาน NCD ในเวทปี ระชมุ คป.สอ.
- ทมี งานและภาคี มีความเขม้ แขง็

Blind spot ไดแ้ ก่
- ขาดนกั จดั การเชิงระบบ
- การกำกบั ติดตามกลุม่ เสี่ยงทไ่ี ด้รบั การปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมไมช่ ัดเจน ไม่มีการตดิ ตามอยา่ งต่อเนื่อง

4.ปญั หา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ

ปญั หา/อุปสรรค/ปจั จัยท่ีทาให้การดาเนนิ งาน ไม่ ข้อเสนอแนะ
บรรลวุ ัตถุประสงค์
กระตุ้นให้ทุกพน้ื ท่ีมกี ารดาเนนิ งาน/การพฒั นา
บุคลากร รปู แบบการปรับเปลย่ี นพฤติกรรมรวมทัง้ การสรุปผล
ขาดนักจัดการเชงิ ระบบ (SM) ทำใหไ้ ม่สามารถ การดาเนินงานและปรบั ปรงุ อย่างต่อเน่ือง

วิเคราะหข์ ้อมลู ทางระบาดวิทยา การกำหนดปัญหา, ประเมินและTraining Need ผู้จดั การเชิงระบบ
Intervention รวมทง้ั การกากับติดตามและ System Manager) เพ่อื พัฒนาทักษะและเตมิ เต็ม
ประเมินผลในพ้ืนท่ี ส่วนขาดใหส้ ามารถดาเนินงานตามบทบาทได้

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน ครง้ั ที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

- 76 -

ปัญหา/อุปสรรค/ปัจจยั ที่ทาให้การดาเนินงาน ไม่ ข้อเสนอแนะ
บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์
พัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกระดบั ในการ
ขาดนกั ปรบั เปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ ทำให้ขาด ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ. 2ส.
รปู แบบ ของการปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม
พัฒนาศักยภาพภาคีเครือขา่ ยไดแ้ ก่ ผู้นำสุขภาพ
ระบบข้อมลู อสม. แกนนาชมรมสร้างสุขภาพ
จำนวนผปู้ ่วยรายใหมม่ กี ารนบั ผู้ปว่ ยรายเก่าที่มี
มกี ารสร้างทะเบียนรายใหมแ่ ตล่ ะ รพ.สต.
การวินิจฉยั แลว้ ไดร้ บั การวินิจฉัยด้วย รหสั อืน่ SM ตอ้ งตรวจสอบรายใหมท่ ุกสปั ดาหเ์ พ่อื แจง้
การบริหารจัดการและการดำเนนิ งาน รพ.สต. ทราบและสามารถนำไปบันทกึ ในทะเบียน
จัดทำแผนปฏิบัติการทต่ี อบสนองและสอดคล้อง
การกำกบั ติดตามกลุ่มเส่ยี งที่ไดร้ ับการปรบั เปลีย่ น กับวิสยั ทัศน์ เป้าหมาย และสภาพปญั หาในพน้ื ที่ โดย
พฤติกรรมไมช่ ัดเจน ไม่มีการติดตามอย่างต่อเน่อื ง การมสี ว่ นรว่ มของทีมสหสาขาวชิ าชีพท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั
การดำเนนิ งาน
พฒั นารปู แบบการสอื่ สารลดเส่ียงลดโรคNCDใน
ช่องทางต่าง ๆ ในพื้นที่มากขึ้น
มีระบบกากับติดตามกลมุ่ เส่ียงทไี่ ด้รบั การ
ปรบั เปล่ียนพฤติกรรมแล้วท่ชี ัดเจน
ร่วมวิเคราะห์ ประเมนิ ปัญหาสถานการณโ์ รคไม่
ตดิ ต่อเรื้อรังเครือขา่ ยบริการสุขภาพอำเภอ และหา
แนวทางแก้ไข ทุกคร้งั ในประชุม

5.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/ต่อสว่ นกลาง/ต่อผบู้ ริหาร/ตอ่ ระเบยี บ กฎหมาย
- พฒั นาระบบตรวจสอบฐานข้อมลู โดยใชโ้ ปรแกรม Data correct ในทุกระดับ

6.นวัตกรรมหรือ Best Practice ที่สามารถเปน็ แบบอยา่ ง
-
ผู้รายงาน นายอาหมัด เจ๊ะหมิ นกั วิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการ
นางโรสตินา่ เซะบากอ พยาบาลวิชาชพี ชำนาญการ
วัน/เดือน/ปี 29/11/63
โทร 065-3521180,0872895174
E-mail. [email protected]

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน คร้ังท่ี 1 ปีงบประมาณ 2564

- 77 -

แบบสรปุ ผลการดำเนนิ งาน คปสอ.รามนั ปงี บประมาณ 2564

รอบที่ 1 วนั ที่ 25 เดือน ธันวาคม 2563

1.ประเดน็ การนเิ ทศ
1.รอ้ ยละคลนิ กิ NCD คุณภาพในโรงพยาบาลทกุ แห่งผ่านเกณฑ์การประเมิน ระดับดมี าก ร้อยละ 100
2.ร้อยละคลนิ กิ NCD คุณภาพในรพ.สต ระดบั ดี ร้อยละ 50

2.สถานการณ์/ผลการดำเนนิ งานย้อนหลงั 3 ปี (2561-2563)
เครอื ข่ายอำเภอรามนั มโี รงพยาบาลชมุ ชนระดับ F1 1 รพ. และ มีรพ.สต.ในเครือข่ายจำนวน 16

รพ.สต. ผลการดำเนินงานคลินกิ NCD คุณภาพในโรงพยาบาลปี 2561,2562 และ 2563 ได้ระดบั ด,ี ระดับดแี ละระดับ
ดมี าก ตามลำดบั ในส่วนของคลินกิ NCD คณุ ภาพในรพ.สต พบวา่ ปี 2561,2562 และ 2563 ได้ระดับด,ี ระดับดแี ละ
ระดบั ดีมาก ตามลำดับ ไดม้ กี ารรว่ มประเมินนเิ ทศในแต่ละปี

3.การดำเนินงาน/ผลการดำเนินงานตามมาตรการสำคญั

3.1 แสดงผลการดำเนนิ งาน

ตารางผลการดำเนินงานเรอื่ ง

Base Line รพ.สต./ 2564 ไตรมาส 1
2562 2563 pcu
ลำดบั รายการ/ตัวช้ีวัด เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ/ หมายเหตุ
อตั รา

1 รอ้ ยละคลินิก NCD ดี ดเี ด่น ดีมาก NA NA
คุณภาพในโรงพยาบาล
ร้อยละ 100
2. ร้อยละคลนิ ิก NCD
คณุ ภาพในรพ.สต. ดี NA NA

ร้อยละ 50

แหล่งข้อมลู ....................................ณ.........................

3.2 การบรหิ ารจัดการ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมทด่ี ำเนนิ การในการขบั เคลือ่ น)

กลยุทธ์หรอื มาตรการที่ใชด้ ำเนินการ ระยะเวลา

1.มกี ารแตง่ ตั้งคณะกรรมการ NCD Board ระดบั ตำบลและอำเภอ ต.ค.-ธ.ค.63
2.มแี ผนปฏิบตั ิงานและกรอบระยะเวลาการดำเนนิ งานชดั เจน ต.ค.-ม.ี ค.64
3.รพ./ รพ.สต. ระเมนิ ตนเอง โดยใช้เกณฑ์ NCD Clinic Plus 2564 ก.พ. 64
4.เวทสี รุปผลการประเมิน วเิ คราะห์ ประเมนิ พัฒนาสว่ นที่ขาด ในระดับหน่วยงานและเครอื ขา่ ย มี.ค. 64
4.มีกระบวนพัฒนา NCD Clinic Plus ครบตามเกณฑ์ ต.ค.-ม.ิ ย.64
5.ประเมิน ร NCD Clinic Plus ส.ค.64
6.สรุปผลการประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ระดับดี / ดีมาก ก.ย.64

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั คร้งั ท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 78 -

3.3 วเิ คราะห์ผลการดำเนนิ งานปจั จุบนั
-

3.4 วิเคราะหผ์ ลและบ่งชี้ Bright spot และBlind spot
Bright spot ได้แก่ การสนบั สนุนของผ้บู รหิ ารในการวางแผนการทำงาน และการทำงานเปน็ ทมี ของเจ้าหน้าที่

ทุกคน
Blind spot ไดแ้ ก่ ขาดเจ้าหน้าทที่ ี่มีความชำนาญเฉพาะทาง ท้งั แพทยแ์ ละพยาบาล รวมท้งั แพทย์ทีม่ าให้

การรักษาเป็นแพทย์หมนุ เวียน สง่ ผลให้ขาดความต่อเนือ่ งในการดูแลรกั ษา

4.ปญั หา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ

ปญั หา/อุปสรรค/ปจั จยั ที่ทำใหก้ ารดำเนินงานไม่ ขอ้ เสนอแนะในเชิงบริหารและวชิ าการ

บรรลุวัตถปุ ระสงค์

1.ขาดเจ้าหน้าทท่ี ี่มีความชำนาญเฉพาะทาง ท้งั แพทย์ จัดให้มกี ารอบรมระยะสัน้ ในกล่มุ พยาบาลทด่ี ูแล

และพยาบาล ผปู้ ่วย NCD ( CM )

2. แพทยท์ ่ีมาให้การรกั ษาเป็นแพทย์หมุนเวยี น สง่ ผล

ใหข้ าดความต่อเน่ืองในการดูแลรักษา

5.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/ตอ่ ส่วนกลาง/ต่อผู้บริหาร/ตอ่ ระเบียบ กฎหมาย
จดั ให้มีการอบรมระยะสัน้ ในกลุ่มพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วย NCD ( CM )

6.นวัตกรรมหรือ Best Practice ทส่ี ามารถเป็นแบบอย่าง นางสไุ ลนี สะแต
- พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
-
ผูร้ ายงาน 0899788753
ตำแหน่ง
วัน/เดือน/ปี -
โทร
E-mail.

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน ครง้ั ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 79 -

แบบสรุปผลการดำเนินงาน คปสอ.รามนั ปีงบประมาณ 2564

รอบท่ี 1 วนั ท่ี 25 เดอื น ธันวาคม 2563

1.ประเด็นการนิเทศ:
ตัวชว้ี ัด อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลอื ดออกลดลง

2.สถานการณ์/ผลการดำเนนิ งานยอ้ นหลัง 3 ปี (2561-2563)
จากข้อมูลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจากฐานข้อมูลโปรแกรม รง. 506 ของงานระบาดวิทยา สำนักงาน

สาธารณสุขอำเภอรามัน พบว่า ในปี 2559-2562 พบว่า อัตราป่วย 124.2, 111.31, 213.25, 349.18 ตามลำดับ
และในปี 2562 มรี ายงานผู้ป่วยเสียชวี ิตดว้ ยโรคไข้เลือดออกจำนวน 1 ราย อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ
1.17 อัตราผู้ป่วยตายเท่ากับร้อยละ 0.36 และในปี 2563 อัตราป่วย 44 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 51.56 ต่อ
ประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิตและเมื่อเปรียบเทียบข้อมูลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกกับอำเภออ่ืน
ในจังหวัดยะลา พบว่า ซึ่งอำเภอที่พบอัตราป่วยสูงสุด ได้แก่ อำเภอกาบัง อำเภอยะหา อำเภอกรงปินัง อำเภอ
บันนังสตา อำเภอธารโต อำเภอเบตง อำเภอรามัน และอำเภอเมืองยะลา ตามลำดับ ซึ่งจะเห็นได้ว่า อำเภอรามัน
อยู่ในลำดับที่ 7 ของจังหวัด และเมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาผลการดำเนนิ งานดีขึ้นอยา่ งเห็นไดช้ ดั แต่จากการ
ดำเนินงานยังปัญหาซึ่งสามารถวิเคราะห์ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคที่สำคัญที่สุด คือ การขาดความตระหนักของ
ประชาชนในการสรา้ งสุขลกั ษณะส่วนบุคคลและความร่วมมือของประชาชนในชุมชนในการร่วมทำกจิ กรรมควบคุม
ป้องกันโรคไม่จริงจังและไม่สม่ำเสมอ ทำให้ยังพบการเกิดโรคติดต่อในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง จึงได้มีการกำหนดแนว
ทางการจัดการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกขึ้น โดยเน้นเรื่องการให้ความรู้แก่ ประชาชนในพื้นที่ให้
ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคไข้เลือดออก สร้างความตระหนักในเรื่องการป้องกั นโรค และกำหนด
มาตรการในการควบคุมโรค 3 1 1 (มีการรายงานเคสที่รวดเร็ว รับแจ้งรายงานเคสภายใน 3 ชั่วโมง สอบสวนโรค
และควบคุมโรคในบ้านและรอบบ้านผู้ป่วยภายใน 1 วัน และควบคุมโรคพ่นหมอกควัน พ่นละอองฝ่อย ทำลาย
แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติมในรัศมี 100 เมตร ภายใน 1วัน) ซึ่งในการดำเนินงานจะอาศัย
การทำงานเป็นทีมร่วมกับภาคีเครือข่ายรวมถึง เพื่อร่วมกันดำเนินงานควบคุมโรคไข้เลือดออกให้มีประสิทธิภาพ
ยิ่งขึ้น

3.การดำเนนิ งาน/ผลการดำเนินงานตามมาตรการสำคัญ
3.1 แสดงผลการดำเนนิ งาน
ตารางผลการดำเนินงานเร่ือง

ลำดบั รายการ/ตัวชีว้ ัด Base Line รพ.สต./ 2564 ไตรมาส 1 หมายเหตุ
2562 2563
1 อัตราปว่ ยดว้ ยโรค 349.18 51.56 pcu เป้าหมาย ผลงาน อตั รา
ไขเ้ ลอื ดออก
เครอื ข่าย ลดลงร้อยละ 44 51.56

อำเภอ 20 จาก

รามนั คา่ มยั ฐาน

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน คร้ังท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 80 -

ลำดบั รายการ/ตวั ชี้วัด Base Line รพ.สต./ 2564 ไตรมาส 1 หมายเหตุ
2562 2563 pcu เป้าหมาย ผลงาน อตั รา
2 อตั ราป่วยตาย 1.17 0
ด้วยโรค 0 00
ไข้เลือดออก

แหลง่ ขอ้ มลู รง.506 อำเภอรามัน ณ 30/11/63

3.2 การบรหิ ารจัดการ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมทด่ี ำเนินการในการขบั เคลือ่ น)

กลยุทธห์ รือมาตรการท่ใี ช้ดำเนนิ การ ระยะเวลา

1. จดั ทำแผนงานโครงการเพื่อของบสนบั สนนุ งบประมาณจากกองทุนสุขภาพตำบล/ ต.ค.63
งบบำรุง รพ.รามัน
2. สำรวจเวชภัณฑ์ใหพ้ รอ้ มใชแ้ ละเพียงพอของเวชภัณฑป์ ้องกันควบคุมโรคไข้เลอื ดออก ต.ค.63
3. กำหนดมาตรการ/แนวทางการป้องกนั ควบคุมโรคไข้เลือดออกประยุกต์ COVID-model
4. ประชุมช้ีแจงสถานการณ์โรค/ตดิ ตามในเวทีประชมุ ต่างๆทุกเดือน พ.ย.63
5. จัดกิจกรรมชุมชน Model 1 หมู่บา้ น ปลอดไข้เลอื ดออก (One Mooban Zero DF)
6. จัดกจิ กรรมเดก็ นกั เรียนร้ทู ันโรค ห่างไกลไขเ้ ลือดออก ในโรงเรยี น ต.ค.63-ก.ย.64
7. จดั อบรมฟน้ื ฟเู รื่องโรคไขเ้ ลือดออกและแนวทางการดแู ลรักษาประจำปีเจา้ หนา้ ท่ี ธ.ค.63-ม.ี ค.64
รพ.และรพ.สต.ทกุ แหง่
มี.ค.64
เม.ย. 64

3.3 วเิ คราะห์ผลการดำเนนิ งานปัจจุบนั
จากข้อมูลผปู้ ว่ ยโรคไข้เลือดออกในโปรแกรม รง.506 ประจำปี 2553 นับตงั้ แต่วนั ท่ี 1 มกราคม 2562 ถึง

วันที่ 30 พฤศจิกายน 2563 อำเภอรามันได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวนทั้งสิ้น 44 ราย คิดเป็น
อัตราป่วย 51.56 ต่อประชากรแสนคน ไมม่ รี ายงานผู้ป่วยเสียชวี ิต จะเหน็ ได้ว่าจากการดำเนินงานตามมาตรการท่ี
มีประสิทธิภาพและมีความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในพื้นที่ สามารถช่วยให้จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง
จากปีที่ผ่านมา ทั้งนี้ ทางทีมได้มีการเฝ้าระวังสถานการณ์อย่างใกล้ชิดและเน้นการควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ
เพื่อปอ้ งกันการเกดิ การระบาดในหลายพน้ื ท่ตี ่อไป

3.4 วิเคราะหผ์ ลและบ่งช้ี Bright spot และBlind spot

Bright spot ไดแ้ ก่
1. บรหิ ารให้ความสำคญั ติดตามการดำเนนิ งานทุกเดือนและร่วมคดิ มาตร
การใหม่ ๆ เพื่อนำไปใชใ้ นการดำเนินงานใหม้ ปี ระสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง
2. ทมี งานทง้ั ในระดับรพ. อำเภอ, ตำบลและภาคีเครือข่ายเขม้ แข็งและมคี วามเปน็ ทีม
3. ดำเนินงานภายใตร้ ะบบงาน EOC เมอื่ เกดิ สถานการณ์ระบาด สามารถควบคุม
การระบาดได้รวดเรว็ และมีประสทิ ธิภาพ

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั ครัง้ ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 81 -

Blind spot ไดแ้ ก่
1. ประชาชนขาดความตระหนักในเร่ืองการป้องกนั และควบคุมโรคไข้เลอื ดออก
2. งบประมาณสนับสนุนในการป้องกัน ควบคุมโรคไขเ้ ลือดออกจากกองทุนตำบลไม่ครอบคลุม
ทุกตำบล
3.การควบคุมโรคไขเ้ ลือดออกในบางพน้ื ที่ยังไมม่ ีประสิทธภิ าพ

4.ปญั หา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ

ปัญหา/อุปสรรค/ปจั จยั ที่ทำให้การดำเนนิ งานไม่ ข้อเสนอแนะในเชิงบริหารและวิชาการ
บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์
จัดหาเครื่องสำรองจำนวน 2 เครื่อง ต้ังสแตนด์บาย ท่ี สสอ.
เครื่องพน่ หมอกควนั บางพ้ืนทช่ี ำรดุ ขอสนับสนุนงบประมาณ วัสดุ/อุปกรณ์ และน้ำยาเคมี
จากองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ให้ครอบคลมุ ทุกพื้นท่ี
การมสี ว่ นร่วมและสนับสนนุ งบประมาณในการแกไ้ ข
ปัญหาโรคไขเ้ ลือดออกขององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ไม่
ครอบคลุมทุกพื้นท่ี

การขาดความตระหนักของประชาชนในเร่ืองการป้องกัน ศึกษาและสร้างออกแบบเครื่องมือในการตอบสนอง
ควบคุมโรคไข้เลือดออก ความต้องการของประชาชนในการปอ้ งกัน ควบคุมโรค
ไข้เลือดออก เพ่ือให้สอดคล้องกับความต้องการของ
การควบคุมโรคไข้เลือดออกในบางพนื้ ทีย่ ังไม่มี ประชาชนจรงิ
ประสิทธภิ าพ
จัดอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการเร่ืองการควบคมุ โรคที่มี
ประสิทธิภาพแกผ่ รู้ ับผิดชอบงานระบาดวทิ ยา รพ.สต.
พร้อมสุ่มประเมินเปน็ ระยะ ๆ

5.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/ตอ่ ส่วนกลาง/ตอ่ ผูบ้ ริหาร/ต่อระเบยี บ กฎหมาย
5.1 ในเรือ่ งการเสรมิ ความรเู้ รื่องระบาดวิทยาและหลักการควบคุมโรคทมี่ ีประสิทธภิ าพแกจ่ นท.รพ.สต
5.2 การสร้างความตระหนักแกป่ ระชาชนในพ้ืนทีอ่ ย่างจรงิ จัง โดยจดั ทำเคร่อื งมอื สำรวจความตอ้ งการของ
ประชาชนในการแกไ้ ขปญั หาเรื่องโรคไขเ้ ลอื ดออกท่ีแทจ้ ริง

6. นวัตกรรมหรือ Best Practice ท่ีสามารถเป็นแบบอย่าง (ถา้ มี)
6.1 แนวทางการป้องกันควบคมุ โรคไข้เลอื ดออกประยกุ ต์ COVID-model อำเภอรามัน
6.2 นวัตกรรมกระบวนการ บันได 4 ขนั้ ในการป้องกันและควบคมุ โรคไข้เลอื ดออก ต.ตะโละหะลอ

นางสาวซากนี ะ ดอละ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชำนาญการ
นายชาครติ จิตตศิ กั ด์ิ นกั วิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการ
วนั /เดอื น/ปี : 1 ธนั วาคม 2563
โทร : 099-4794154 / 084-8568700
email: [email protected],
[email protected]

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั คร้งั ท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 82 -

แบบสรุปผลการดำเนนิ งาน คปสอ.รามนั ปงี บประมาณ 2564

รอบท่ี 1 วนั ท่ี 25 เดอื น ธันวาคม 2563

1. ประเด็นการนเิ ทศ:
ตวั ชีว้ ดั อตั ราปว่ ยดว้ ยโรคไข้มาลาเรยี ลดลง

2.สถานการณ์/ผลการดำเนนิ งานยอ้ นหลงั 3 ปี (2561-2563)
ข้อมูลผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย จากฐานข้อมูลมาลาเรียออนไลน์ กรมควบคุมโรค พบว่า ในปีงบประมาณ

2561-2563 อำเภอรามนั มีอตั ราปว่ ยตอ่ แสนประชากร เทา่ กับ 48.04, 21.09 และ 8.20 ตามลำดับ ซ่ึงเปน็ การระบาด
ในพื้นที่ตำบลกาลอเพียงตำบลเดียว กระจายอยู่ใน 2 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บ้านแบหอ และหมู่ 2 บ้านทำนบ ทั้งน้ี
เน่ืองจากตำบลกาลอมีสภาพภมู ิประเทศทเ่ี อ้ือต่อการเกดิ โรค อกี ทั้งยงั เป็นพ้ืนท่ีรอยต่อระหวา่ งจังหวัด และประชาชน
ในพื้นที่มีการมีการเคล่ือนย้ายเข้า-ออก เป็นจำนวนมาก จึงเป็นสาเหตุให้เกิดการระบาดอย่างต่อเนื่อง โดยผลจาก
การดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาระหว่างหน่วยงานภาคีเครือข่าย ทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ โดยเฉพาะศูนย์ควบคุม
โรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.1 จังหวัดยะลา และสมาคมยุวมุสลิมแห่งประเทศไทย ในการดำเนินโครงการกำจัดเชื้อ
มาลาเรียท่ีด้อื ยาในชมุ ชนลมุ่ แม่น้ำโขง RAI2E ส่งผลให้สถานการณ์การระบาดมีแนวโนม้ ที่ลดลง

3.การดำเนินงาน/ผลการดำเนินงานตามมาตรการสำคัญ

3.1 แสดงผลการดำเนนิ งาน

ตารางผลการดำเนินงานเร่ือง

ลำดับ รายการ/ตัวชวี้ ัด Base Line รพ.สต./ 2564 ไตรมาส 1 หมายเหตุ
2562 2563 pcu เปา้ หมาย ผลงาน อัตราต่อแสน

1 อัตราปว่ ยดว้ ยโรค 21.09 8.20 เครอื ข่าย ลดลงร้อยละ 1 1.17

ไขม้ าลาเรยี อำเภอ 30 จาก

รามนั ปีท่ีผ่านมา

แหล่งข้อมูล ฐานข้อมลู โรคมาลาเรยี ออนไลน์ ณ วนั ที่ 1 ธนั วาคม 2563

3.2 การบรหิ ารจัดการ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมที่ดำเนินการในการขับเคลอ่ื น)

กลยุทธห์ รอื มาตรการทใ่ี ชด้ ำเนินการ ระยะเวลา

1. จัดทำแผนงานโครงการเพื่อของบสนบั สนนุ งบประมาณจากกองทุนสขุ ภาพตำบล ต.ค.63
ต.ค.63
2. สำรวจเวชภณั ฑใ์ หพ้ ร้อมใช้และเพยี งพอตอ่ การป้องกนั ควบคุมโรค
3. จัดประชมุ ภาคเี ครือขา่ ยในพื้นที่ เพื่อกำหนดมาตรการ/แนวทางการป้องกนั ควบคมุ โรคไข้ ต.ค.63-ธ.ค.63
มาลาเรีย เช่น
ต.ค.63-ก.ย.64
- การรว่ มกนั วิเคราะหห์ าพนื้ ทเ่ี ส่ียงต่อการเกิดโรค พร้อมท้งั ดำเนินการรณรงค์และจดั การ ธ.ค.63-มี.ค.64
ส่งิ แวดลอ้ ม ธ.ค.63-ม.ี ค.64
ต.ค.63-ก.ย.64
-การกำหนดมาตรการในการเฝา้ ระวังกลมุ่ ประชาชนท่มี ีการเคลอ่ื นย้ายระหวา่ งอำเภอ/จังหวดั

4. ประชมุ ชแี้ จงสถานการณ์โรค และรายงานผลการดำเนนิ งานในเวทปี ระชุมตา่ ง ๆ ทกุ เดือน

5. จัดอบรมอบรมพัฒนาศักยภาพเจา้ หน้าทมี่ าลาเรียชุมชน (MPW) และอสม. ในพื้นท่ี

6. เพ่ิมประสิทธิภาพการตดิ ตามการกนิ ยาในกลุ่มผปู้ ว่ ย โดยอาสาสมคั ร MPW ประจำพ้นื ท่ี
7. เนน้ กิจกรรมเจาะเลอื ดค้นหาผู้ป่วยในเชิงรุกใหค้ รอบคลุมตามเกณฑ์

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั ครั้งที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 83 -

3.3 วิเคราะหผ์ ลการดำเนนิ งานปจั จุบัน
จากข้อมูลผู้ป่วยโรคไข้มาลาเรีย ฐานข้อมูลมาลาเรียออนไลน์ กรมควบคุมโรค พบว่า ในปีงบประมาณ 2564
(ตุลาคม-ธันวาคม 2563) อำเภอรามันมีรายงานผู้ป่วย จำนวน 1 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 1.17 ต่อประชากรแสนคน
ซ่งึ เป็นผปู้ ว่ ยในพื้นท่ีใหม่ คือ หมูท่ ่ี 3 บ้านกาเตาะ โดยมปี ระวตั เิ ช่ือมโยงกับพื้นที่ระบาดในอำเภอบันนังสตา ท้ังน้ีทาง
ทีม SRRT ระดับพื้นที่ ร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายได้ดำเนินการสอบสวนและ ควบคุมโรคตามมาตรการ 1 3 7
พร้อมทั้ง มีการเฝ้าระวังสถานการณ์อย่างเข้มงวดและจริงจัง เพื่อจำกัดพื้นที่การระบาดและป้องกันไม่ให้เกิด
การกระจายของโรค ไปยงั พื้นทอ่ี น่ื

3.4 วเิ คราะหผ์ ลและบ่งชี้ Bright spot และ Blind spot (เฉพาะพน้ื ที่ตำบลกาลอ)
Bright spot : ทีม SRRT ในระดบั พ้ืนทสี่ ามารถประสานงานและสร้างความรว่ มมือระหว่างหน่วยงาน

ภาคีเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Blind spot : ปัญหาการจดั การสิ่งแวดลอ้ ม เน่ืองจากสภาพภมู ปิ ระเทศในพน้ื ที่เอ้ือต่อการเกิดโรค โดย
แนวทางในการแกไ้ ข คอื ร่วมกนั วิเคราะหห์ าจุดเสยี่ งและดำเนินการจดั การ โดยเฉพาะ
การระบุชว่ งพ้ืนทขี่ องลำธารทอี่ าจเป็นแหล่งเพาะพันธย์ งุ กน้ ปลอ่ ง

4.ปญั หา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ ข้อเสนอแนะในเชงิ บริหารและวชิ าการ
ปญั หา/อุปสรรค/ปัจจัยที่ทำให้การดำเนนิ งานไม่
บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ จดั ซ้ือ/ขอสนบั สนนุ เคร่อื งพ่นสารเคมีตกคา้ งพร้อม
1. เครื่องพ่นสารเคมตี กคา้ ง น้ำยา เพอื่ ประจำรพ.สต.หรือคลินกิ มาลาเรยี ชุมชน
( MP : Malaria Post )
2. บุคลากรในการดำเนินงานเชงิ รกุ ท้งั เจา้ หนา้ ที่ จัดอบรมพฒั นาศักยภาพบุคลากรเพิ่มเตมิ ในพืน้ ที่
มาลาเรยี ชมุ ชน (MPW) และอสม.ผ้เู ช่ยี วชาญ เพ่อื พรอ้ มทงั้ หาแนวทางในการเบิกจ่ายคา่ ตอบแทนแก่
การคดั กรอง คน้ หาและติดตาม ยงั มไี ม่เพียงพอ ผปู้ ฏบิ ัติงาน

3. การขาดความตระหนักของประชาชนในเร่อื งการ ศึกษาและออกแบบเครอื่ งมือในการตอบสนองความ

ป้องกนั ควบคมุ โรค ตอ้ งการของประชาชนในการปอ้ งกัน ควบคมุ โรค

เพ่ือให้สอดคล้องกบั ความต้องการของประชาชน

อยา่ งแท้จริง

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน ครั้งที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

- 84 -

5. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/ต่อส่วนกลาง/ต่อผูบ้ ริหาร/ต่อระเบยี บ กฎหมาย
การจดั การระบบฐานข้อมลู ระหว่างฐานรายงาน 506 ของสสจ. และฐานข้อมลู มาลาเรยี ออนไลน์ ของศูนย์

ควบคุมโรคตดิ ต่อนำโดยแมลงที่ 12.1 เพ่ือใหม้ ีข้อมูลท่ีถูกต้องและสอดคล้องกัน

6. นวตั กรรมหรือ Best Practice ที่สามารถเปน็ แบบอย่าง (ถา้ มี)

-

นายชาครติ จิตติศกั ด์ิ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

นางสาวซากีนะ ดอละ นักวิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการ

วนั /เดือน/ปี : 1 ธันวาคม 2563

โทร : 099-4794154 / 084-8568700

Email: [email protected],[email protected]

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน ครัง้ ท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 85 -

แบบสรุปผลการดำเนินงาน คปสอ.รามัน ปงี บประมาณ 2564

รอบท่ี 1 วนั ท่ี 25 เดือน ธนั วาคม 2563

1.ประเด็นการนิเทศ
ตัวช้วี ัด การป้องกัน ควบคุมวัณโรค
1.การเรง่ รดั การค้นหาผู้ติดเชื้อวัณโรคและผปู้ ว่ ยในกลมุ่ เสี่ยงเป้าหมาย
2.การดแู ลรักษาผู้ติดเช้ือวัณโรคและผ้ปู ว่ ยตามมาตรฐานให้หายและกนิ ยาครบ

ตัวช้วี ัด:อัตราความสำเรจ็ การรักษาผปู้ ว่ ยวัณโรคปอดรายใหมข่ ้นึ ทะเบียนไตรมาส 1/2564 อยา่ งน้อยรอ้ ยละ 85

2.สถานการณ/์ ผลการดำเนนิ งานย้อนหลงั 3 ปี (2561-2563)
จากสถานการณ์ของการป่วยดว้ ยวณั โรคในอำเภอรามันนนั้ จะพบว่า ผู้ป่วยทปี่ ว่ ยดว้ ยวณั โรคในปอดมากกว่า

วัณโรคนอกปอด ซึ่งทำให้เกิดการแพร่กระจายเชื้อได้งา่ ย ซึ่งปัจจัยเนื่องจาก ผู้รับบริการ ไม่ตระหนัก ในการป้องกัน
และควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ โดยเฉพาะในบริบทและความเชื่อของชุมชน ประกอบกับในปัจจุบันมีผู้ป่วยท่ีมีภาวะ
ภูมิคุ้มกับต่ำ เช่นกลุ่มผู้ป่วยเอดส์ ปอดอุดกั้นเรื้อรัง และโรคเบาหวาน เพิ่มขึ้น ทำให้เสี่ยงต่อการป่วยด้วยวณั โรคเพม่ิ
มากขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ของการดำเนินกิจกรรมเพื่อให้ผู้ป่วยที่ติดเชื้อวัณโรคได้รับยาอย่างครบถ้วน และหายจาก
การปว่ ยด้วยวัณโรค ลดการแพร่กระจายเชื้อวณั โรคในครอบครวั และชมุ ชน และปอ้ งกนั การเกิดการดื้อตอ่ ยาวณั โรค

จากการดำเนนิ งานที่ผ่านมา พบวา่ ในปี 2561-2563 อตั ราความสำเร็จของการรักษาผูป้ ว่ ยวณั โรค
ปอดรายใหม่ คิดเป็นร้อยละ 86.66 , 80.95 แต่อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ปี 2563
คิดเป็นร้อยละ 56.66 เนื่องจากบางรายเสียชีวิตในช่วงกำลังรักษาเพราะมีโรคร่วม และบางส่วนยังอยู่ในช่วง
กำลังรักษา และผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ขึ้นทะเบียนไตรมาส 1/2564 มีจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 8 ราย ยังอยู่
ในชว่ งกำลงั รักษา 8 ราย

3.การดำเนนิ งาน/ผลการดำเนนิ งานตามมาตรการสำคญั

รอ้ ยละ อตั ราความสาเรจ็ ของการรักษาผู้ปว่ ยวณั โรค เปา้ หมาย
เครอื ข่ายอาเภอรามนั ชุดขอ้ มลู
100
90 86.66 80.95
80
70 56.66 คนไข้อยรู่ ะหวา่ ง
60 การรักษา 8
50 บางสว่ นอยู่ในชว่ ง ราย
40 กำลงั รกั ษา 22 ราย
30
20

ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564(ไตรมาส 1)

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน คร้ังที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

-8

3.1 แสดงผลการดำเนนิ งาน

ตารางผลการดำเนนิ งานเรอื่ ง

ลำดับ รายการ/ตัวช้ีวดั 2561
2562
2563

โกตาบา ูร
เกะรอ

อตั ราความสำเรจ็ การรักษา 60 63 60 1 0
ผ้ปู ว่ ยวณั โรคปอดรายใหม่ขน้ึ
ทะเบยี นไตรมาส 1/2564 52 51 34

1 อย่างน้อยร้อยละ 85

86.66 80.95 56.66

- เปา้ หมาย = ผลสำเร็จการรกั ษาผปู้ ่วยวัณโรครายใหมแ่ ละผ้ปู ว่ ยกลบั เป็นซำ้ รอ้ ยละ
- ผลงาน = ผปู้ ่วยวัณโรคปอดรายใหม่ขนึ้ ทะเบยี นไตรมาส 1/2564 จำนวน 8 ราย

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คป

86 -

ตำบล รวม

กาลอ
กาลู ับง
ืบอ ัมง
ยะ ๊ตะ
บาโงย
วังพญา
กอตอ ืตอระ
ตะโละหะลอ
จกว๊ะ
เนินงาม
บาลอ
ท่าธง
้บานเกาะ
อา ่ซอง
กา ูยยอบอเกาะ

0 0 2 0 0 1 0 0 1 1 1 0 0 01 8
กำลังรกั ษายงั ไมแ่ ล้วเสร็จ

กำลงั รักษายังไม่แลว้ เสร็จ

แหล่งขอ้ มลู …โปรแกรม NTIP Dashboard ณ.วันท่ี 30 พ.ย 2563
ะ 88

กำงังรักษา 8 ราย

ปสอ.รามนั ครง้ั ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 87 -

3.2 การบรหิ ารจัดการ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมทด่ี ำเนนิ การในการขบั เคล่ือน)

กลยุทธห์ รอื มาตรการทใี่ ช้ดำเนนิ การ ระยะเวลา

- การทำงานเป็นทีมสหวิชาชพี ไตรมาสละ 1
- จัดประชมุ ทมี ผดู้ ูแลผ้ปู ว่ ยวณั โรค (ประชุม Dot) ไตรมาสละ 1 ครั้ง
- มีการตดิ ตามและสะท้อนขอ้ มูลของผ้ปู ่วยให้กับ รพ.สต. เพื่อรว่ มวางแผนในการให้ความ
ช่วยเหลือในผู้ป่วยทีม่ ีปญั หาในการรักษา ไตรมาส 1-4
จัดระบบติดตามผูป้ ่วยท่ีมปี ญั หาไม่มีผดู้ แู ลโดยทีมเครือขา่ ย
เสรมิ แรงจงู ใจใหม้ ารบั การรักษาอย่างต่อเนื่อง ไตรมาส 1-4
ไตรมาส 1-4

3.3 วเิ คราะหผ์ ลการดำเนินงานปัจจบุ ัน
ผลการดำเนินงาน 2 เดือนท่ีผ่านมามผี ปู้ ่วยวณั โรคปอดรายใหมท่ ่รี ายงานข้อมูลผา่ น โปรแกรม NTIP
Dashboard ณ วนั ท่ี 30 พ.ย. 2563 จำนวน 8 ราย กำลังอยู่ในช่วงรกั ษา

3.4 วเิ คราะห์ผลและบง่ ช้ี Bright spot และBlind spot

Bright spot ไดแ้ ก่ มรี ะบบการทำงานเป็นทีมผบู้ รหิ ารใหค้ วามสำคญั และติดตามผลการดำเนินงานอยา่ ง
ต่อเนอื่ ง

Blind spot ไดแ้ ก่ จำนวนผู้ป่วยวณั โรคปอดรายใหม่ทขี่ ึ้นทะเบยี นไมไ่ ด้ตามเป้าหมาย และผู้สัมผสั ร่วมบา้ น
ยงั ไม่เหน็ ความสำคัญในการคดั กรองวัณโรค ทำให้ไม่ค่อยให้ความร่วมมอื ในการ
เอกซเรย์

4.ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ

ปญั หา/อุปสรรค/ปจั จยั ท่ีทำใหก้ ารดำเนินงานไม่ ข้อเสนอแนะในเชิงบริหารและวิชาการ

บรรลุวัตถุประสงค์

- ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุและมีโรคร่วมทำให้ - ต้องใช้ทักษะสัมพันธภาพมากในการทำงาน

ลำบากในการเดินทางมาโรงพยาบาลและบางราย ร่วมกับผู้ป่วย เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความไว้วางใจและ

ไมม่ ีผดู้ แู ล ความร่วมมือในการรับประทานยาและรักษา

- ผู้ป่วยบางรายพบว่ามีปัญหาครอบครัวและ อย่างต่อเน่อื ง

เศรษฐกิจ ต้องย้ายท่ีอยู่หรือไปทำงานต่างประเทศ

ทำให้ระบบการตดิ ตามผปู้ ว่ ยย่งุ ยากมากยง่ิ ข้ึน

5.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/ตอ่ สว่ นกลาง/ตอ่ ผูบ้ ริหาร/ต่อระเบยี บ กฎหมาย

- มีการพัฒนาระบบการทำงานในคลินิกวัณโรคให้ได้ตามมาตรฐาน โรงพยาบาลคุณภาพการดูแลรักษา

วัณโรค

6.นวัตกรรมหรือ Best Practice ท่สี ามารถเปน็ แบบอย่าง

-

ผู้รายงาน นางมารีเยา๊ ะ อะแด

ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชพี ชำนานการ

วนั /เดอื น/ปี 30 พ.ย.63

โทร 089-2949973

E-mail. [email protected]

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน ครง้ั ที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

- 88 -

แบบสรปุ ผลการดำเนินงานคปสอ.รามัน.ปีงบประมาณ 2564
รอบที่ 1 วันที่ 25 เดอื น ธนั วาคม 2563

1.ประเด็นการนิเทศ :
ตวั ชว้ี ัด ประชากรกลมุ่ เสย่ี งไดร้ บั การคดั กรองคน้ หาวณั โรคอย่างน้อย ร้อยละ 100

2.สถานการณ/์ ผลการดำเนนิ งานย้อนหลงั 3 ปี (2561-2563)
จากผลการดำเนินงานตรวจคัดกรองประชากรกลุ่มเสี่ยงวัณโรคที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี 2559-2563 พบว่า

ประชากรกลุ่มเส่ียงไดร้ ับการคัดกรองคน้ หาวัณโรค คิดเป็นร้อยละ 42.81, 67.26, 94.54, 84.38 และ 97.00 จะเห็น
ไดว้ ่าผลการดำเนนิ งานดขี ึน้ เรอื่ ย ๆ จนผ่านเกณฑท์ กี่ ำหนด ดงั แผนภูมิ

แผนภูมแิ สดงผลการตรวจคดั กรองวัณโรคในกลมุ่ เสย่ี งอาเภอรามัน ตัง้ แตป่ ี 2559-2563

100 94.54 84.38 97.00
80 67.26
60 42.81

40
20
0

2559 2560 2561 2562 2563

นอกจากนี้เมื่อเปรียบเทียบในระดับจังหวัด พบว่า อำเภอรามันอยู่ในลำดับที่ 3 ของจังหวัด ดังแผนภูมิ
ซึ่งในการดำเนินการที่ส่งผลให้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดนั้น ได้ปรับเปลี่ยนระบบงานจากเดิมตั้งรับที่สถานพยาบาลเพียง
อย่างเดียวเปลี่ยนเป็นเชิงรุกมากขึ้น มีการติดตามอย่างต่อเนื่องและนำเสนอผลงานทุกเดือน เพื่อให้พื้นท่ี ที่ผล
การดำเนนิ งานต่ำ ๆ เรง่ ดำเนนิ การให้ผ่านเร็วข้ึน

3.การดำเนนิ งาน/ผลการดำเนนิ งานตามมาตรการสำคัญ
3.1 แสดงผลการดำเนนิ งาน
ตารางผลการดำเนนิ งานเร่ืองการคัดกรองค้นหาวณั โรคใน 7 กลมุ่ เสย่ี ง

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั ครง้ั ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 89 -

Base Line รพ.สต./ 2564 ไตรมาส 1
2562 2563 pcu
ลำดบั รายการ/ตัวชวี้ ัด 84.38 97.00 เป้าหมาย ผลงาน ร้อยละ/ หมายเหตุ
เครือขา่ ย อตั รา
1 ประชากรกลมุ่ เสยี่ ง อำเภอ
ไดร้ บั การคัดกรอง รามัน 1,433 928 64.75
คน้ หาวณั โรค
อยา่ งนอ้ ย รอ้ ยละ 90

แหล่งข้อมลู โปรแกรมNTIP.อำเภอรามัน ณ 30/11/63

3.2 การบริหารจัดการ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมทดี่ ำเนนิ การในการขบั เคลื่อน)

กลยุทธห์ รือมาตรการทใี่ ชด้ ำเนนิ การ ระยะเวลา

1. สำรวจกลุ่มเป้าหมายและจัดทำแผนการดำเนินงาน ตค.63-พย.63
ธ.ค.63-ก.ย.64
2. ค้นหาเชิงรุกในชมุ ชน โดยแกนนำสขุ ภาพภาคประชาชนและภาคีเครือข่าย
3. การคัดกรองกล่มุ เสี่ยงผสู้ ัมผัสร่วมบ้านผ้ปู ่วย Multidrug-resistant TB (MDR- ก.พ. 64
TB)
5. กิจกรรม DOT สญั จรส่คู ้นหาผู้ปว่ ยรายใหม่ ม.ี ค. 64
6. เรง่ ติดตามผลดำเนินการใหส้ ำเร็จตามแผน ม.ิ ย. 64

3.3 วเิ คราะหผ์ ลการดำเนนิ งานปจั จบุ ัน
จากการดำเนินงานจะเห็นได้ว่าผลการดำเนินงานผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ90) ซึ่งจากสถานการณ์
ของการป่วยด้วยวัณโรคในอำเภอรามัน พบว่า จำนวนผู้ป่วยวัณโรคมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยส่วนใหญ่
พบได้จากการเข้ามาตรวจอาการผิดปกติที่โรงพยาบาล แต่หากกลุ่มเสี่ยงไม่แสดงอาการก็จะไม่มารับบริการตรวจ
คัดกรอง เนื่องจากกลุ่มเสีย่ งขาดความตระหนักในเรื่องการป้องกันการติดเชื้อ ซึ่งทำใหเ้ กิดการแพร่กระจายเชื้อและ
ติดต่อกันโดยง่าย นอกจากนี้จากเดิมที่เป็นการใหบ้ ริการเชงิ รบั ที่สถานพยาบาลเพียงทางเดียว ทำให้การดำเนินงาน
คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงไมถ่ ึงเป้าหมายท่ีกำหนด จงึ ได้ปรบั ระบบการตรวจคัดกรองเปน็ ลักษณะมีการดำเนินงาน
เชิงรุก โดยจัดให้มีการคัดกรองกลุ่มเส่ียงทั้งในสถานพยาบาลและในชุมชน เน้นการติดตามกลุ่มเสี่ยงให้มารับ
การตรวจคัดกรอง เพ่ือให้กลุ่มเสย่ี งได้รบั การตรวจคดั กรองวัณโรคตามเป้าหมายทีว่ างไว้

3.4 วิเคราะห์ผลและบ่งชี้ Bright spot และBlind spot

Bright spot ไดแ้ ก่ การดำเนนิ งานตามแผนอย่างชดั เจน เร่งตดิ ตามกลุ่มเสยี่ งมาตรวจคดั กรองให้แล้ว
Blind spot เสรจ็ ตามแผน (ไตรมาสแรก) ผู้บริหารใหค้ วามสำคัญมีการตดิ ตามผลการดำเนนิ งานอย่าง
ตอ่ เนอ่ื ง
ได้แก่ กลมุ่ เสย่ี งไม่เหน็ ความสำคญั ในเร่อื งการตรวจคัดกรองวัณโรค เนอื่ งจากไมม่ ี
อาการแสดง สามารถดำเนนิ ชีวติ ประจำวันไดต้ ามปกติ ทำให้หากไม่มีการตดิ ตามอยา่ ง
ต่อเน่อื ง กลุ่มไม่มารบั การตรวจคดั กรองวณั โรค

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน คร้ังท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 90 -

4.ปัญหา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ

ปญั หา/อุปสรรค/ปจั จยั ท่ีทำให้การดำเนินงาน ข้อเสนอแนะในเชงิ บริหารและวชิ าการ

ไมบ่ รรลวุ ัตถปุ ระสงค์

1. ปัญหาประชากรกลุ่มเสี่ยงขาดความตระหนักเรื่อง 1. การจัดให้ความรู้เป็นรายบุคคล อย่างกันเอง

การติดเชอื้ วัณโรค เพื่อให้ความรู้และสร้างความเข้าใจอย่างเข้มข้น

สามารถซกั ถามข้อสงสัยได้อยา่ งไม่ตอ้ งอายผู้อ่ืน

2. ผู้รับผิดชอบขาดการติดตามกลุ่มเสี่ยงให้มารับ 2. จัดรูปแบบการติดตามเป็นแบบติดตามซ้ำและ

การตรวจคดั กรองอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตอ่ เนือ่ งจนกว่ากลุ่มเสี่ยงจะมาตรวจคดั กรอง

3. ระบบการให้บริการไม่มีแนวทางและแผนปฏิบัติงานท่ี 3. กำหนดแนวทางการให้บรกิ ารเป็นแบบ one stop

ชัดเจน service และเพิ่มช่องทางพิเศษ fast trace เฉพาะ

กิจแยกจากผู้รับบริการทั่วไป เพื่อความสะดวก

รวดเร็ว นอกจากนี้มีการทำแผนการปฏิบัติงานเป็น

รายวนั

4. กลุ่มผู้สูงอายุลำบากในการเดินทางมารับบริการตรวจ 4. จัดให้บริการรถรับ-ส่งเพื่อมารับบริการตรวจคัด

คัดกรองท่ีรพ. กรองทีร่ พ.ไดส้ ะดวกยิ่งขน้ึ

5.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/ต่อสว่ นกลาง/ตอ่ ผบู้ ริหาร/ตอ่ ระเบียบ กฎหมาย
5.1 ควรจัดระบบบริการนอกเวลา เพือ่ รองรบั กลุ่มทำงานนอกพนื้ ที่
5.2 ควรสนบั สนนุ งบประมาณสำหรับใช้ในการคัดกรองค้นหาผปู้ ว่ ยรายใหม่เชิงรกุ มากข้นึ

6. นวัตกรรมหรอื Best Practice ที่สามารถเปน็ แบบอย่าง (ถา้ ม)ี

-

นางสาวซากนี ะ ดอละ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชำนาญการ
นายชาครติ จิตตศิ กั ดิ์ นักวชิ าการสาธารณสขุ ชำนาญการ
วนั /เดอื น/ปี : 1 ธันวาคม 2563
โทร : 099-4794154 / 084-8568700
email:[email protected], [email protected]

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามัน ครั้งท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 91 -

แบบสรปุ ผลการดำเนินงาน คปสอ.รามัน ปีงบประมาณ 2564

รอบที่ 1 วันที่ 25 เดือน ธนั วาคม 2563

1.ประเด็นการนิเทศ
ตวั ช้ีวดั ร้อยละของตำบลที่มีระบบการสง่ เสริมสุขภาพดูแลผุ้สงู อายรุ ะยะยาว (Long Term Care) ใน

ชุมชนผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 95
2.สถานการณ์/ผลการดำเนนิ งานย้อนหลงั 3 ปี (2561-2563)

เครือข่ายอำเภอรามัน ในปี 2559-2563 มีตำบลที่เข้าร่วมโครงการตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพ
ดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ Long Term Care
15 ตำบล มีการดำเนินงานครบ 6 องค์ประกอบ ผ่านเกณฑ์ตำบล Long Term Care จำนวน 15 ตำบล
คิดเป็นร้อยละ 93.75 และมีเพียง 1 ตำบลที่ไม่เข้าร่วมโครงการและดำเนินการไม่ผ่านเกณฑ์ตำบล Long
Term Care คือ ตำบลเกะรอ เนอ่ื งจาก อปท.ไมพ่ ร้อมเข้าร่วมโครงการ
3.การดำเนนิ งาน/ผลการดำเนินงานตามมาตรการสำคัญ

3.1 แสดงผลการดำเนินงาน
จากผลการดำเนินงานตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
ในชุมชน กำหนดเกณฑ์ตำบล LTC 6 องค์ประกอบ มีระบบการประเมิน คัดกรองสุขภาพ มีข้อมูลผู้สูงอายุ
ระยาวประเมินผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิงตามกลุ่มศักยภาพ คีย์เข้าโปรแกรมส่งสำนักงานหลักประกัน
สุขภาพแห่งชาติ Long Term Care ตรวจสอบข้อมูลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเพื่อการโอนเงินเข้ากองทุน
Long Term Care ที่จัดขึ้นโดยอปท. มีการดำเนินการจัดตัง้ ชมรมผู้สูงอายุ ให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ผู้รับผิดชอบ
งานผู้สูงอายุผ่านการอบรมหลักสูตรผู้จัดการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager) จำนวน 17 คน มีผู้ดูแลผู้สูงอายุ
(Care Giver) ผ่านหลักสูตร 70 ชั่วโมง 99 คนผู้สูงอายุ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบ้าน และแกนนำ
ผู้สูงอายุในการดูแล เยี่ยมผู้สูงอายุ และผู้มีภาวะพึ่งพิง ในชุมชน มีบริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน
(Home Health Care)มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในระดับตำบล มีมาตรการส่งเสริมสุขภาพ
เชิงป้องกันตามสถานการณ์การระบาด และควบคุม โรค ในกลุ่มผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง ในระดับตำบล
การประเมินดา้ นส่งิ แวดล้อม ท่อี ยู่อาศยั และ ดำเนนิ การดูแลผสู้ ูงอายุ กลมุ่ ตดิ บ้าน ตดิ เตยี ง โดยทอ้ งถ่นิ ชมุ ชน
มีส่วนร่วมและจัดทำแผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan) และคีย์เข้าระบบโปรแกรมของกรมอนามัย
(Long Term Care) มีการประเมิน ADL ผู้สูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง รอบ 9 เดือน และรอบ 12 เดือน
โดยมผี ลการประเมนิ การเปลีย่ นกลุ่ม จากกลุม่ ติดเตยี ง มาตดิ บ้าน 6 ราย กลุ่มติดบา้ น มาติดสงั คม 13 ราย

.

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั คร้งั ท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 92 -

ตารางผลการดำเนนิ งานเร่อื ง

รอ้ ยละของตำบลที่มรี ะบบการสง่ เสรมิ สขุ ภาพดแู ลผุ้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care

ลำดับ ผลสำเรจ็ /ตวั ชวี้ ัด Base Line

2562 2563 โกตา กายูบอ

บารู เกาะ

1 ร้อยละของตำบลท่มี ี 68.75 93.75 เปา้ หมาย ปี2559 ป2ี 560

ระบบการสง่ เสรมิ ผลงาน 1 1

สขุ ภาพดแู ลผุส้ ูงอายุ รอ้ ยละ 100 100

ระยะยาว(Long Term

Care)ในชุมชนผ่าน

เกณฑ์ รอ้ ยละ 95 บือมัง ตะโล๊ะ
หะลอ

เป้าหมาย ป2ี 561 ปี2561

ผลงาน 1 1

รอ้ ยละ 100 100

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ

-

e) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 95

ข้อมูลไตรมาส1 แยกรายตำบล ปี2564 วงั พญา
จะกว๊ะ บาลอ อาซอ่ ง ยะต๊ะ บาโงย เนนิ งาม

ป2ี 560 ป2ี 560 ปี2560 ป2ี 560 ป2ี 560 ป2ี 560 ป2ี 561
1
11 1 111 100

100 100 100 100 100 100 รวม

ข้อมูลไตรมาส1 แยกรายตำบล 17
16
กาลอ กาลูปัง ตำบล ตำบลทา่ ธง กอ เกะรอ 93.75
ท่าธง (บา้ นเกาะ) ตอตือร๊



ป2ี 561 ปี2561 ป2ี 563 ป2ี 563 ป2ี 563 ไมเ่ ขา้ รว่ ม

11 1 110

100 100 100 100 100 0

แหล่งข้อมูล เว็บไซด์กรมอนามัย Long Term Care ณ วันที่ 25-11-2563

อ.รามนั ครง้ั ที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

- 93 -

3.2 การบริหารจดั การ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมทดี่ ำเนินการในการขบั เคล่อื น)

กลยุทธห์ รือมาตรการท่ีใชด้ ำเนนิ การ ระยะเวลา

1.ประเมิน คดั กรอง ปัญหาสุขภาพผสู้ งู อายุ ขนั้ พ้นื ฐาน ตามชุดสทิ ธิประโยชน์ ต.ค.-พ.ย.63
2.ประเมนิ ADL ในผู้สงู อายุ และผู้ท่ีมีภาวะพง่ึ พิงตามกลุ่มศักยภาพ ต.ค.-พ.ย.63
3.บนั ทึกในโปรแกรม JHCIS ต.ค.-ธ.ค.63
4.Care Manager จัดทำ Care plan ร่วมกับผูด้ แู ลผสู้ ูงอายุ Care Giver
ธ.ค.63

5.บนั ทกึ ข้อมูลในการจดั ทำแผนการดูแลรายบุคคลในโปรแกรมLTC ของกรมอนามัย ก.พ.64
และสปสช.และทะเบียนสรปุ งาน/รายงานผลการดำเนนิ งาน

6.ผูด้ แู ลผู้สงู อายุCare Giver ร่วมกับCare Manager ใหบ้ ริการตาม Care plan ก.พ.-ม.ี ค.64

7.จดั กิจกรรมการดแู ลสง่ เสรมิ ดา้ นทนั ตสุขภาพในผูส้ งู อายุ เม.ย.64
8.จดั โครงการอบรมฟื้นฟดู แู ลผู้สูงอายุท่มี ภี าวะพงึ่ พิงในชมุ ชน เม.ย.64
9.จดั ระบบเฝา้ ระวงั ด้านส่งเสรมิ สุขภาพและอนามยั สิง่ แวดล้อม พ.ค.64
10.มกี ารประเมิน ADL ผ้สู งู อายุ รอบ9 เดือน 12 เดือน ม.ิ ย.64,ก.ย.64
11.ชมรมผสู้ ูงอายผุ ่านเกณฑ์ มิย64
12.นเิ ทศติดตามผลการให้บริการและเบิกจา่ ยเงนิ ตามกำหนด ม.ิ ย.-ส.ค.64

13.ตำบลมีระบบการส่งเสริมสขุ ภาพดแู ลผู้สงู อายุระยะยาว(Long Term Care)ผ่านเกณฑ์ ก.ย.64
ในชมุ ชนผ่านเกณฑ์

3.3 วเิ คราะห์ผลการดำเนนิ งานปจั จบุ ัน
จากการวิเคราะห์ข้อมูลในการดำเนินงานปัจจุบันพบว่า ผลการดำเนินร้อยละของตำบลที่มีระบบ
การส่งเสริมสุขภาพดูแลผุ้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ ต้องมีการขับเคลื่อนงาน
ทั้ง 2 ฝ่าย ด้านสาธารณสุขและอปท.และภาคีเครือขา่ ยในตำบลเพื่อดูแลผู้สงู อายุที่มภี าวะพึ่งพิงให้มีประสทิ ธิภาพ
มากขน้ึ ในชมุ ชน

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน ครัง้ ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 94 -

3.4 วิเคราะห์ผลและบ่งช้ี Bright spot และBlind spot

Bright spot ไดแ้ ก่ ตำบลโกตาบารู ตำบลจะกวะ๊ ตำบลกายูบอเกาะ มีการทำงานที่มีคณุ ภาพ
Blind spot เป็นตน้ แบบท่ดี ี ให้กับตำบลอืน่ ในเครอื ข่ายอำเภอรามัน
- ตำบลโกตาบารู ไดร้ บั รางวัล ตำบลท่ีมีระบบการสง่ เสริมสุขภาพดแู ลผุส้ ูงอายุระยะยาว
(Long Term Care)
ระดบั ดีเยี่ยม ปี 2559
- ตำบลจะกว๊ะ ได้รับรางวัล ชมรมผสู้ งู อายุ ชนะเลิศ ปี2562
- ตำบลกายบู อเกาะ ได้รับรางวัล นำเสนอตำบลการดูแลผู้สงู อายุระยะยาว
Long term care ตำบลกายูบอเกาะ (รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดบั 2)
ไดแ้ ก่ ตำบลเกะรอ
- มีการดำเนินงานไมผ่ ่านเกณฑ์ตำบล Long term care และ อปท.ไมพ่ ร้อมเขา้ รว่ ม
ตำบล Long term care

4.ปัญหา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ ข้อเสนอแนะในเชงิ บริหารและวิชาการ

ปัญหา/อุปสรรค/ปจั จยั ท่ีทำใหก้ ารดำเนนิ งานไม่ 1.จัดประชมุ รว่ มกนั เพอ่ื กำหนดผลการดำเนนิ งาน
บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ ร่วมกนั

1..อปท.มีบทบาทในการขบั เคลือ่ นงานนอ้ ยเน่ืองจาก
ไม่มตี ัวชว้ี ัดผลงาน

5.ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย/ตอ่ สว่ นกลาง/ตอ่ ผ้บู ริหาร/ตอ่ ระเบียบ กฎหมาย
การดำเนินงานตำบล Long Term Care ควรจัดเวทีเพื่อหาแนวทางในการปฏิบัติงานร่วมกันกับภาคี

เครือข่ายและการบูรณการการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยชุมชนเป็นคนขับเคลื่อนงานโดยมีภาครัฐช่วยสนับสนุน
งบประมาณ

6.นวตั กรรมหรือ Best Practice ท่ีสามารถเป็นแบบอยา่ ง

ปี 2560 นำเสนอตำบลการดูแลผสู้ ูงอายุระยะยาว Long term care ตำบลโกตาบารู
(รางวลั รองชนะเลศิ ) สสจ.ยะลา

CQI ปี 2561
เรือ่ ง พัฒนาระบบบรกิ ารการดแู ลผ้สู ูงอายทุ ม่ี ภี าวะพึ่งพงิ ในตำบล Long term care
ตำบลกายูบอเกาะ

ปี 2561 นำเสนอตำบลการดูแลผูส้ ูงอายรุ ะยะยาว Long term careตำบลกายูบอเกาะ
(รางวลั รองชนะเลิศอันดบั 2) สสจ.ยะลา

ปี 2561 นำเสนอนวตั กรรมดูแลผู้สงู อายุระยะยาว ไมห้ นีบคลายเสน้ ตำบลโกตาบารู
(รางวัลรองชนะเลศิ อันดบั 2) สสจ.ยะลา

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามัน ครง้ั ท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 95 -

ปี 2562 นำเสนอชมรมผสู้ งู อายุ (รางวัลชนะเลิศ) ตำบลจะกวะ๊ สสจ.ยะลา
ปี 2562 เรือ่ ง พัฒนาระบบการดแู ลผู้สงู อายทุ ี่มีภาวะพง่ึ พิงในตำบล Long term care ในชมุ ชน

ผรู้ ายงาน นายอับดลุ รอมาน เลาะแม
นางสาวซไู รยา ดะเสะ
ตำแหน่ง เจา้ พนกั งานสาธารณสุขอาวโุ ส
นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชำนาญการ
วัน/เดอื น/ปี 30/11/2563
โทร 0805458282../..0895967704..
E-mail. [email protected]

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั คร้งั ท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 96 -

แบบสรุปผลการดำเนนิ งาน คปสอ.รามัน ปงี บประมาณ 2564

รอบที่ 1 วันท่ี 25 เดอื น ธนั วาคม 2563

1.ประเดน็ การนเิ ทศ
ตวั ช้วี ดั รอ้ ยละของผู้สูงอายุท่ีมีภาวะพงึ่ พงิ ได้รบั การดูแลตาม Care Plan รอ้ ยละ 85

2.สถานการณ์/ผลการดำเนนิ งานยอ้ นหลัง 3 ปี (2561-2563)
เครือข่ายอำเภอรามัน มีผู้สูงอายุจำนวน 10,154 คน คิดเป็นร้อยละ 12.14 ของประชากรทั้งหมด

ซึ่งแสดงให้เห็นว่าอำเภอรามัน กำลังก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) จากการประเมินศักยภาพตาม
ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (ADL) พบว่าส่วนใหญ่ ร้อยละ 97.31 เป็นผู้สูงอายุกลุ่มที่ 1
ติดสังคมมีเพียงร้อยละ 1.87 และ 0.81 ของผู้สูงอายุเป็นผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงตามลำดับในปี 2561-2563
มี ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม Care Plan คีย์ผ่านโปรแกรม Long term care ของกรมอนามัย
คิดเป็น รอ้ ยละ 95.16 98.55 และ 86.23 ตามลำดบั

ผ้สู ูงอายทุ มี่ ีภาวะพ่งึ พิงได้รับการดแู ลตามCare plan
98.55
100 95.16

90 86.23

80
2561 2562 2563

3.การดำเนินงาน/ผลการดำเนินงานตามมาตรการสำคัญ
จากผลการดำเนินงานผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม Care Plan คิดเป็นร้อยละ 86.23

มีการจัดทำ Care Plan รายเก่า คิดเป็นร้อยละ 100 Care Plan รายใหม่ คิดเป็นร้อยละ 86.23 เพื่อให้ผู้สูงอายุ
ได้รับการดูแลบริการด้านสาธารณสุขถึงที่บ้านอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ตามปัญหาสุขภาพและชุดสิทธิ
ประโยชน์ โดยการมีสว่ นรว่ มของครอบครัว ชมุ ชน และท้องถิ่น ให้ผมู้ ภี าวะพ่งึ พิงมีคุณภาพชีวิตท่ีดี โดยการจัดทำ
Care Plan ร า ย บ ุ ค ค ล ใ น โ ป ร แ ก ร ม Long term care ข อ ง ก ร ม อ น า ม ั ย เ พ ื ่ อ เ ส น อ Care Plan
ผ่านคณะอนุกรรมการกองทุน Long Term Care ระดับตำบล (พื้นที่เขต อปท.ที่ร่วมดำเนินการ กับ สปสช.)
และมีการประเมินการเปล่ียนกลุ่ม รอบ 9 เดือน 12 เดือน โดยมีผลการประเมินการเปล่ียนกลุ่ม จากกลุ่มติดเตียง
มาตดิ บา้ น 6 ราย กลุ่มติดบา้ น มาตดิ สงั คม 13 ราย

.

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั ครั้งท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 97 -

ตารางผลการดำเนินงานเร่ือง
รอ้ ยละของผ้สู ูงอายทุ มี่ ีภาวะพ่ึงพิงได้รับการดแู ลตาม Care Plan ร้อยละ 85

Base Line

ลำดบั ผลสำเร็จ/ตวั ช้ีวดั 2562 2563 โกตา รพ.รามนั
บารู

1 ร้อยละของผ้สู ูงอายทุ ม่ี ี 98.55 86.23 เป้าหมาย 19 14

ภาวะพง่ึ พิงไดร้ บั การ ผลงาน 19 14

ดแู ลตาม Care Plan ร้อยละ 100 100

รอ้ ยละ 85

กอตอ ตะโล๊ะ
ตอื ระ๊ หะลอ

เปา้ หมาย 7 2
ผลงาน 7 2
ร้อยละ 100 100

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ

-

ข้อมูลไตรมาส1 แยกรายตำบล

น กาลอ กาลูปัง บือมัง ยะต๊ะ บาโงย เนินงาม วงั พญา

52 4 4 4 11 12
4 11 12
52 4 4 100 100 100

100 100 100 100

ข้อมูลไตรมาส1 แยกรายตำบล

จะกว๊ะ บาลอ ท่าธง บา้ นเกาะ อาซ่อง เกะรอ รวม

74 7 5 8 19 138

74 7 580 119

100 100 100 100 100 0 86.23

แหล่งข้อมูล เวบ็ ไซด์กรมอนามยั Long Term Care ณ วันที่ 25-11-2563

อ.รามัน คร้งั ท่ี 1 ปงี บประมาณ 2564

- 98 -

3.2 การบริหารจัดการ ปี 2564 (ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมทดี่ ำเนนิ การในการขบั เคลอื่ น)

กลยุทธ์หรือมาตรการทีใ่ ช้ดำเนนิ การ ระยะเวลา

1.ประเมิน คัดกรอง ปัญหาสุขภาพผู้สงู อายุ ขั้นพ้นื ฐาน ตามชดุ สทิ ธปิ ระโยชน์ ต.ค.-พ.ย.63
2.ประเมินADL ในผูส้ งู อายุ และผทู้ มี่ ีภาวะพงึ่ พิงตามกลมุ่ ศักยภาพ บนั ทึกในโปรแกรม ต.ค.-พ.ย.63
JHCIS
3.Care Manager จดั ทำ Care plan ร่วมกับผดู้ ูแลผูส้ งู อายุ Care Giver ธ.ค.-ม.ค.64

4. จัดเวที Care Con ference นำเสนอ Care plan โดยสหวชิ าชีพและภาคเี ครือข่าย. ม.ค.64

5.บันทึกข้อมลู ในการจัดทำแผนการดูแลรายบุคคลในโปรแกรม LTC ของกรมอนามัย ก.พ.64
และสปสช.และทะเบียนสรปุ งาน/รายงานผลการดำเนินงาน
จดั ทำ Care plan รายเก่า รอ้ ยละ100
จดั ทำ Care plan รายเก่า รอ้ ยละ85

6.อปท.จัดประชุมอนกุ รรมการ (Long Term Care) เพ่ืออนมุ ตั ิ Care plan ม.ี ค.64

7.ผ้ดู แู ลผสู้ ูงอายุ Care Giver รว่ มกบั Care Manager ให้บริการตาม Care plan ม.ี ค.-มิ.ย.64

8.การประเมิน ADL ผู้สงู อายุ รอบ9 เดือน 12 เดอื น มิ.ย.,ก.ย.64
9.นิเทศติดตามผลการใหบ้ รกิ ารและเบกิ จ่ายเงนิ ตามกำหนด ก.ค.-ก.ย.64

3.3 วเิ คราะหผ์ ลการดำเนนิ งานปัจจุบัน
จากผลดำเนินงานปี 2563 พบวา่ ผู้สูงอายุทีม่ ีภาวะพ่ึงพงิ ได้รับการดูแลตาม Care Plan คดิ เป็นร้อยละ 86.23
ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไว้ มีเพียง 4 ตำบล (ตำบลบือมัง ตำบลกอตอตือร๊ะ ตำบลตะโละหะลอ ตำบลท่าธง (ท่าธงและ
บ้านเกา) ได้จัดทำแผนการดูแลผู้สูงอายุรายบุคคล Care Plan และบันทึกในโปรแกรม Long Term Care
ของกรมอนามัย มีการดูแลผู้สูงอายุตาม Care Plan อยู่ในช่วงเสนอ Care Plan ผ่านคณะกรรมการกองทุน Long
Term Care เนื่องจากก่อนหน้า อปท.ยังไม่ได้จัดประชุมเพื่ออนุมัติ Care Plan ทำให้ผลการดำเนินงานล่าช้า
จึงต้องมีการติดตามผลการดำเนินงานทุกเดือน แต่มี 1 รพ.สต ที่ผลงานไม่ผ่านเกณฑ์ คือตำบลเกะรอ เนื่องจากไม่ได้
สมัครเข้าโครงการตำบลทีม่ ีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สงู อายรุ ะยะยาว (Long Term Care)ในระบบหลักประกนั
สุขภาพแห่งชาติเนื่องจากอปท.ไม่พร้อมเข้าร่วมโครงการดังกล่าว จึงไม่ได้บันทึก Care Plan ผ่านโปรแกรม
Long Term Care ของกรมอนามยั

เอกสารประกอบการนิเทศ คปสอ.รามนั คร้ังท่ี 1 ปีงบประมาณ 2564

- 99 -

3.4 วิเคราะห์ผลและบ่งช้ี Bright spot และBlind spot

Bright spot ได้แก่ ตำบลโกตาบารู ตำบลจะกว๊ะ ตำบลกายูบอเกาะ
มีการทำงานทมี่ ีคุณภาพเปน็ ตน้ แบบทดี่ ใี ห้กับตำบลอน่ื ๆ
- ตำบลโกตาบารู ได้รับรางวัล ตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผุ้สูงอายุระยะยาว
(Long Term Care) ระดับดเี ย่ยี ม ปี 2559
- ตำบลจะกวะ๊ ไดร้ ับรางวลั ชมรมผู้สงู อายุ ชนะเลิศ ปี2562
- ตำบลกายูบอเกาะ ได้รับรางวัล นำเสนอตำบลการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว Long term
care ตำบลกายบู อเกาะ (รางวลั รองชนะเลิศอนั ดับ2)

Blind spot ได้แก่ ตำบลเกะรอ
- มีการดำเนนิ งานไมผ่ ่านเกณฑ์ตำบล Long term care และไมม่ บี นั ทกึ Care Plan
ผ่านโปรแกรม Long Term Care ของกรมอนามัย

4.ปญั หา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ

ปัญหา/อุปสรรค/ปจั จัยท่ีทำให้การดำเนนิ งานไม่ ขอ้ เสนอแนะในเชงิ บริหารและวิชาการ
บรรลุวตั ถปุ ระสงค์

1.ขาดความต่อเน่ืองในการดำเนนิ งานระหว่างอปท. 1.จัดประชุมร่วมกันเพ่อื กำหนดผลการดำเนนิ งาน

และสาธารณสขุ เช่น ในการจัดประชมุ คณะอนกุ รรม รว่ มกัน

กรรมเพ่ือพจิ ารณาCare Planเพ่อื ขอขออนุมัติ

2.การคียข์ ้อมูลโปรแกรม Long Term Care

ของสปสช. มคี วามยงุ่ ยาก ซับซ้อน และต้องประสาน

ขอ้ มูลกบั อปท.

5.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย/ตอ่ สว่ นกลาง/ตอ่ ผู้บริหาร/ต่อระเบียบ กฎหมาย
จัดประชมุ ฟื้นฟกู ารคยี ์ข้อมลู ผู้สูงอายทุ มี่ ภี าวะพึ่งพงิ ในโปรแกรมสปสช.ระหวา่ งสาธารณสุขและอปท.

6.นวตั กรรมหรือ Best Practice ทีส่ ามารถเป็นแบบอยา่ ง
CQI ปี 2562 เรื่อง พฒั นาระบบการดูแลผสู้ ูงอายุทมี่ ีภาวะพงึ่ พิงในตำบล Long term care ในชมุ ชน

ผูร้ ายงาน นายอบั ดุลรอมาน เลาะแม
นางสาวซไู รยา ดะเสะ
ตำแหนง่ เจา้ พนกั งานสาธารณสขุ อาวโุ ส
นกั วชิ าการสาธารณสุขชำนาญการ
วัน/เดือน/ปี 30/11/2563
โทร 0805458282../..0895967704..
E-mail. [email protected]

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ.รามนั ครง้ั ท่ี 1 ปีงบประมาณ 2564

- 100
เอกสารประกอบการนเิ ทศ คปสอ

-
อ.รามัน คร้งั ที่ 1 ปงี บประมาณ 2564

- 10

SUPPORT

3S ลำดับ ประเดน็ ตัวชีว้ ดั

11 การพัฒนาระบบ รอ้ ยละของหนว่ ยบรกิ ารทไ่ี ม่ประสบภาวะวกิ ฤตทางการเงิน
บริหารการเงนิ การคลัง
ระดบั ความสำเรจ็ ของการเพิ่มประสทิ ธิภาพดา้ นการเงนิ การ
โดยใช้ FEED

การเบิกจา่ ยเงินงบประมาณทุกแหลง่ งบถกู ตอ้ งตามระเบียบ

หน่วยบริการทกุ แห่งผ่านเกณฑ์ประเมนิ บญั ชเี กณฑค์ งคา้ งท
ร้อยละ 100

12 การเงนิ และพัสดุ หนว่ ยเบกิ จ่ายผา่ นเกณฑป์ ระเมนิ ระบบบัญชีหน่วยงานภาค
ระดับความสำเร็จของการควบคมุ ภายในของหนว่ ยงาน

หนว่ ยงานย่อยในสังกัด สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ยะลาท
พัสดุประจำปี และการจำหนา่ ย พสั ดุ เปน็ ไปตามระเบียบก
การพัสดุและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 และเวลาท

SUPPORT 13 ขอ้ มูล 43 แฟ้ม ร้อยละของคณุ ภาพข้อมลู แฟม้ PERSON ข้อ 1-8, 15-16 ถ
รอ้ ยส่วนต่างของประชากร TYPEAREA 1 3 เทยี บกับทะเบ

สสจ.ยะลา/สสอ.ทกุ แห่ง ดำเนินการพัฒนาองค์กรตามเกณ

14 องคก์ รคณุ ภาพ โรงพยาบาลมีคณุ ภาพมาตรฐานผา่ นการรบั รอง HA ข้นั 3

รอ้ ยละ ของ รพ.สต. ผ่านเกณฑก์ ารพัฒนาคุณภาพ รพ.สต

15 องคก์ รแห่งความสุข ร้อยละ 90 ของหนว่ ยงานท่ีมีฐานข้อมลู กำลงั คนดา้ นบรหิ า
HROPS-Non HR ทมี่ ีความถูกต้อง ครบถ้วน

เอกสารประกอบการนิเทศ คป

00 -

ค่าเป้าหมาย จำนวน รพ. สสอ.

นระดบั 7 และ ระดบั 6 ร้อยละ 100 24 คอลเี ยาะ
รคลงั ของหนว่ ยบริการ 5 ขน้ั ตอน 25 คอลเี ยาะ อามเี นาะ
ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 26 จิตรานนั ท์ อามีเนาะ
บที่เกีย่ วขอ้ ง รอ้ ยละ 100 27 คอลีเยาะ อามเี นาะ
ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ รอ้ ยละ 100 28 คอลเี ยาะ อามีเนาะ
ร้อยละ 100 29 ยุวธดิ า พอซี
ครัฐ (GFMIS) ครบทกุ แหง่
รอ้ ยละ 100 30 วาสนา ฮาสมาน
ทกุ แหง่ มกี ารตรวจสอบ
กระทรวงการคลังว่าดว้ ย รอ้ ยละ 80 31 เปาซยี ะ อับดุลรอซะ
ที่กำหนด <5 32 เปาซียะ อบั ดลุ รอซะ
ถกู ตอ้ ง ครบถว้ น 33 ยะห์ยา
บยี นราษฎร์ ไมเ่ กนิ 5 ร้อยละ 100
ณฑ์ PMQA ผ่านเกณฑ์ระดบั 5 รพศ./รพท. 34 ณรงค์
รอ้ ยละ 100 ,
ต.ตดิ ดาว ระดบั 5 ดาว (สะสม) รพช. รอ้ ยละ 90 35 ยะห์ยา
ารงานบุคคลในระบบ ร้อยละ 100 36 วรรณชลัช พอซี

ร้อยละ 90

ปสอ.รามัน คร้งั ที่ 1 ปีงบประมาณ 2564

- 10

3S ลำดบั ประเดน็ ตวั ชว้ี ดั
จำนวนองคก์ รแห่งความสขุ ที่มคี ณุ ภาพมาตรฐาน (สสจ./รพ

เอกสารประกอบการนเิ ทศ คป

01 - คา่ เป้าหมาย จำนวน รพ. สสอ.
พศ./รพท./รพช./สสอ.ทกุ แห่ง)
100 37 ยุวธิดา พอซี

ปสอ.รามนั คร้ังที่ 1 ปีงบประมาณ 2564


Click to View FlipBook Version