The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เจตรินทร์ ขาวนุ้ย, 2023-08-11 00:03:03

คู่มือนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย 2566

คู่มือนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย 2566

ขอ 17 ครผูประเมูนนิกเรัยนี มอีํานาจตดตามพฤติกรรมิ ทําไดตอเมอนื่กเรั ยนได ีกระท ํา ความผิดและไดรับโทษตามขอ 10 แหงระเบียบนี้หรือในกรณีที่ยังไมปรากฏความผิดแตมีเหตุ อันควรที่จะนําไปสูการกระทําความผิด ครูผูประเมินมีอํานาจในการติดตามพฤติกรรมของ นักเรียนผูประเมินได ขอ 18 กอนที่จะมีคําสั่งประเมินความประพฤตินักเรียนผูใด คณะกรรมการจะตอง พจารณาจากรายงานการสิบเสาะขือเทจจร็งของคริผูประเมู นความประพฤต ิ ิวานกเรัยนผีนูนั้ มีลักษณะนิสัย ประวัติความประพฤติและสภาพแวดลอมอยางไร สมควรพิจารณากําหนด เงื่อนไขในการประเมินความประพฤติเพื่อชวยเหลือ แกไข ฟนฟูใหกลับตัวเปนคนดีอยางไร ขอ 19 การสั่งประเมินความประพฤตินักเรียนโดยกําหนดเง่ือนไข จะมีครูผูประเมิน ความประพฤติคอยสอดสองดูแลใหคําแนะนํา ชวยเหลือนักเรียนผูถูกประเมินประพฤติ ใหกลับตนเปนคนดี เมื่อนักเรียนผูถูกประเมินความประพฤติมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงจากการรายงานของ ครูประเมินความประพฤติ และคณะกรรมการมีอํานาจแกไขเพิ่มเติม หรือเพิกถอนเงื่อนไข ขอใดขอหนึ่งหรือทุกขอก็ได หรือกําหนดโทษเพิ่มเติมก็ได ขอ 20 เงื่อนไขการประเมินความประพฤติจะกําหนดขอเดียวหรือหลายขอในคําสั่ง ประเมินความประพฤติได ดังนี้ 20.1 หามมิใหนักเรียนเขาไปในสถานที่หรือทองที่ใดอันจะจูงใจใหนักเรียน ประพฤติผิด 20.2 หามมิใหนักเรียนออกนอกสถานที่อยูอาศัยในเวลากลางคืนเวนแตจะมี เหตุจําเปนหรือไดรับอนุญาตจากบิดา มารดา ผูปกครอง หรือบุคคลที่นักเรียนอาศัยอยูดวย ทั้งนี้ใหอยูในความรับผิดชอบของบิดา มารดา ผูปกครอง หรือบุคคลที่นักเรียนอาศัยอยู 20.3 หามมิใหนักเรียนคบหาสมาคมกับบุคคลหรือประเภทบุคคลที่คณะ กรรมการเห็นไมสมควร 20.4 หามม ใหินกเรัยนกระที ําการใดอนเป ันเหตจุงใจู ใหนกเรัยนผีอู นประพฤต ื่ผิดิ 20.5 ใหนกเรั ยนไปรายงานต ีวตัอคณะกรรมการ หรอครืคู มประพฤต ุทิโรงเร ี่ยนี มอบหมายตามที่กําหนด 20.6 ใหนกเรัยนละเวีนการคบหาสมาคมหร อการประพฤต ื ใดอ ิ นเป ันเหตนุําไป สูการกระทําผิดในทํานองเดียวกันอีก 20.7 ใหนกเรั ยนไปร ีบการบั ําบดรักษาการตัดยาเสพติ ดให ิ โทษ  ความบกพรอง ทางรางกายหรือจิตใจ หรืออาการเจ็บปวยอยางอื่น ณ สถานที่และตามระยะเวลาที่ คณะกรรมการกําหนด คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 149


20.8 ใหนกเรัยนเขีาร บการฝ ักอบรม ดานคณธรรมุ จรยธรรมิ เพอปร ื่บเปล ัยนี่ พฤติกรรม โดยผูปกครองเปนผูรับผิดชอบการเขารับการอบรม และคาใชจายทั้งหมด 20.9 เงื่อนไขอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการเห็นสมควรกําหนด เพื่อแกไขฟนฟูหรือปองกัน มิใหนักเรียนกระทําหรือมีโอกาสกระทําผิดขึ้นอีก ขอ 21 อํานาจและหนาที่ของครูผูประเมนความประพฤต ิ ิ ตามระเบียบนี้ 21.1 สืบเสาะและพินิจขอเท็จจริงและสิ่งแวดลอมเกี่ยวกับอายุ ประวัติความ ประพฤติ สติปญญา การศึกษาอบรม สุขภาพ ภาวะแหงจิต นิสัยของนักเรียนผูกระทําผิด หรือที่ถูกกลาวหาวากระทําผิด และของบิดา มารดา ผูปกครองหรือบุคคลซึ่งนักเรียนผูนั้น อาศัยอยูรวมทั้งสาเหตุแหงการกระทําผิด เพื่อรายงานตอคณะกรรมการ 21.2 เรียกบุคคล ไดแก  นักเรียน ผูปกครองและครู ซึ่งสามารถใหขอเท็จจริง มาพบเพื่อใหถอยคํา 21.3 สั่งใหนักเรียนที่เปนเจาของ หรือนักเรียนที่ครอบครองวัตถุ หรือเอกสาร อันจะใชเปนพยานหลักฐานไดสงมอบวัตถุ หรือเอกสารนั้น 21.4 ประเมินความประพฤตินักเรียนตามคําสั่งคณะกรรมการ ตลอดจนดูแล อบรมสั่งสอนนักเรียนระหวางคุมประพฤติ 21.5 สอดสองใหนักเรียนปฏิบัติตามเงื่อนไขการประเมินความประพฤติตามที่ คณะกรรมการกําหนด 21.6 ใหคําแนะนําแกบ ิดา มารดา หรือผูปกครอง หรือบุคคลซึ่งนักเรียนผูนั้น อาศัยอยูในการเลี้ยงดู อบรมและสั่งสอนนักเรียน 21.7 ทํารายงาน และความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามเงื่อนไข ขอ 21.1 ขอ 21.2 ขอ 21.3 ขอ 21.4 ขอ 21.5 และขอ 21.6 เพื่อเสนอตอคณะกรรมการ 21.8 ปฏบิตัหนิาทอี่นื่ ตามทไดี่รบมอบหมายั จากคณะกรรมการหรอโรงเร ืยนี ขอ 22 ใหกลมบรุหารวิ ชาการใช ิ คะแนนความประพฤต ของนิกเรัยนี เปนขอม ลในการูพจารณาติดสันการผิานหร อไม ืผาน คณลุกษณะอันพั งประสงค ึของนกเรั ยนในการจบการศ ีกษาึในแตละชวงชั้น ขอ 23 ใหรองผูอํานวยการโรงเรียนกลุมบริหารวิชาการ และกลุมบริหารงานบุคคล รักษาการตามระเบียบนี้ ทั้งนี้ มีผลบังคับใชตั้งแตปการศึกษา 2562 ประกาศ ณ วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2562 (นางสาวกรรณิกา ไผทฉันท) ผูอํานวยการโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย 150 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


แนวปฏิบัติสําหรับนักเรียนที่จะจบหลักส ู ตร มัธยมศึกษาตอนต น และมัธยมศึกษาตอนปลาย (คะแนนความประพฤติ) ตามระเบียบโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัยวาดวยการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงคนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย พ.ศ. 2559 1. นักเรียนที่จบหลักสูตรจะตองมีคะแนนความประพฤติไมตํ่ากวา 100 คะแนน 2. นักเรียนที่มีคะแนนความประพฤติ 100 คะแนนและประพฤติตามเกณฑที่กําหนด ไวในระเบียบโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัยวาดวยการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและ คุณลักษณะอันพึงประสงคนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย พ.ศ. 2559 ใหเพิ่ม คะแนนความประพฤติใหกับนักเรียน 3. นักเรียนที่ถูกตัดคะแนนความประพฤติตั้งแต 5 คะแนน - 35 คะแนน นักเรียน ตองปรับพฤติกรรมโดยใหนักเรียนทํากิจกรรมพัฒนาตนเองภายในโรงเรียนและมี ครูประจําชั้นผูดูแล ควบคุมการทํากิจกรรม ลงลายมือชื่อรับรองในสมุดบันทึกความดี นกเรัยนทีถี่กตู ดคะแนนความประพฤต ัติงแตั้ 40 คะแนนขนไป ึ้ นกเรัยนี ตองปรับพฤติกรรม โดยใหนักเรียนทํากิจกรรมพัฒนาตนเองภายในโรงเรียน ดวยการนําเสนอโครงงาน ซึ่งมีคณะกรรมการกลุมบริหารงานบุคคล เปนผูดูแล ควบคุมการทํากิจกรรม 4. นักเรียนที่ถูกตัดคะแนนความประพฤติ ทําใหคะแนนความประพฤติ ไมครบ 100 คะแนน ในแตละปการศึกษา จะถูกพิจารณาไมไดเลื่อนชั้น ไมไดรับ การพิจารณาทุนการศึกษาหรือเปลี่ยนสถานที่เรียนเนื่องจากขาดคุณลักษณะ อันพึงประสงค คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 151


เครื่องแบบนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตŒน ไมกันคิ้วและเขียนคิ้ว ไมแตงหนา ทาปาก ปกดาวตามจ ดาวตามจํานวนระดับชั้น = ระดับชั้น ม.1 = ระดับชั้น ม.2 = ระดับชั้น ม.3 ปกอักษรยอโรงเรียน ศ.ท. และ เลขประจําตัวนักเรียน ดวยไหมสีนํ้าเงิน ติดกระเปา1 ใบ ที่ชายเสื้อขางขวา กระโปรงผ ระโปรงผา สีกรมทา เกลี้ยง ไมมีลวดลาย มีจีบดานหนาและ ดานหล  งัจบขี างละ  3 จบี แตละจบี ลึก3 ซม. หันจีบออกดานนอก แลวเย บเกล ็ ดท็ บั จบตี ํ่าจากขอบ ลงมา 6 ซม. ความถี่แตละจีบ เวนระยะหางพองาม างพองาม ความยาว ความยาว ของกระโปรงคล องกระโปรงคลมใตุเข าลงไป  4 ซม. ขอบกระโปรงอย อบกระโปรงอยูเสมอเอว ผมสั้นหรือผมยาวก็ได กรณีไวผมยาว ใหเปนไปตามความเหมาะสม โดยรวบ หรือถักเปยใหเรียบรอย กรณีไวผมสั้น ไมอนุญาตใหไถผมใหเห็นหนังศีรษะ และไมไถเป ดข างใบห รองทรงสูงู อนญาต ุ ใหยอมผมสีนํ้าตาลเขมได คอซองใชสีเดียวกับกระโปรงชาย สามเหลี่ยม กวาง 6 ซม. ยาว 80 - 100 ซม. กวาง 6 ซม. ยาว 6 ซม. ตําแหนงของคอซองจะตอง ตรงกับกระดุมแปกเม็ดบน เสื้อนักเรียนสีขาว ตัวเสื้อไมคับ หรือตัวใหญจนเกินไป รองเทานักเรียนหนังสีดํา ไมมีลวดลาย หุมปลายเทาหุมสน หัวมน มีสายรัด หลงเทัาแบบตายตวั สนส งไมูเกนิ 5 ซม. ถุงเทาไนลอน สั้นสีขาวแบบเรียบ ลอนเล็ก สวมแลวตลบปลายพับลง ทขี่อเทา กวางประมาณ  4 ซม. หรอื ถุงเทาขอสั้นปดตาตุม 152 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


ถุงเทาไนลอน สั้นสีขาวแบบเรียบ ลอนเลก็ สวมแลวตลบปลายพ บลงั ที่ขอเทา กวางประมาณ 4 ซม. หรือถุงเทาขอสั้นปดตาตุม รองเทานักเรียนหนังสีดํา ไมมีลวดลาย หมปลายเทุาหมสุน หวมนั มสายรีดหลังเทัา แบบตายตัว สนสูงไมเกิน 5 ซม. เข็มขัดหนังสีดําเกลี้ยง กวาง ประมาณ 4 ซม. หัวเข็มขัด รปสูเหลี่ยมผี่นผืาชนดหิวกลัดั หุมหนังสีดํา มีปลอกขนาด กวาง 1.5 ซม. สําหรับสอด ปลายเข็มขัด ปกอักษรยอโรงเรียน ศ.ท. และ เลขประจําตัวนักเรียน ดวยไหมสีนํ้าเงิน ปกสัญลกษณั ตามจํานวนระดับชั้น ▲ = ระดับชั้น ม.4 ▲ ▲ = ระดับชั้น ม.5 ▲▲▲ = ระดับชั้น ม.6 เสื้อปกเชิ้ตผาตลอดสวนกวาง 7 ซม. พับตลบเขาขางในติดกระดุมสีขาว 4 เม็ด เสนผาศูนยกลาง 1 ซม. ไมกันคิ้วและเขียนคื้ว ไวผมสนหรั้อผมยาวกื ได็ กรณไวีผมยาว ใหเปน ไปตามความเหมาะสม โดยรวบหรือถักเปย ใหเรยบรีอย กรณไวีผมสนั้ ไมอน ญาตให ุไถผม  ใหเห็นหนังศีรษะและไมไถเปดขางใบหู รองทรงสูง อนุญาตใหยอมผมสีนํ้าตาลเขมได ตัวเสื้อพอดีตัว ใสชายเสื้อไว ในกระโปรง ริมเสื้อไมนํามาปด ทับหัวเข็มขัด ติดเข็มเครื่องหมายโรงเรียน ไมแตงหนา หรือทาปาก กระโปรงผา สีกรมทา เกลี้ยง ไมมีลวดลาย มีจีบดานหนา และดานหลังจีบขางละ 3 จีบ แตละจีบลึก 3 ซม. หันจีบ ออกดานนอก แลวเยบเกล็ดท็บจับี ตํ่าจากขอบลงมา 6 ซม. ความถี่ แตละจบี เวนระยะหางพองาม ความยาวของกระโปรงคลมใตุเขา ลงไป 4 ซม. ขอบกระโปรง อยูเสมอเอว เครื่องแบบนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 153


ถุงเทาไนลอน สั้นสีขาวแบบเรียบ ลอนเลก็ สวมแลวตลบปลายพ บลงั ที่ขอเทา กวางประมาณ 4 ซม. หรือถุงเทาขอสั้นปดตาตุม รองเทาผาใบตองเปนสีขาวลวนเทานั้น ไมมีลวดลาย และไมเปนรองเทาแฟชั่น ปกชื่อ -นามสกุล (ไมมีคํานําหนา) ดวยไหมสีนํ้าตาล กางเกงวอรมเปนของทางโรงเรียน หามใสกางเกงวอรมยี่หออื่น ๆ ปกสัญลักษณตามจํานวนระดับชั้น ของตนเอง = ระดับชั้น ม.1 = ระดับชั้น ม.2 = ระดับชั้น ม.3 ▲ = ระดับชั้น ม.4 ▲ ▲ = ระดับชั้น ม.5 ▲▲▲ = ระดับชั้น ม.6 ไมกันคิ้วและเขียนคื้ว ไวผมสนหรั้อผมยาวกื ได็ กรณไวีผมยาว ใหเปน ไปตามความเหมาะสม โดยรวบหรือถักเปย ใหเรยบรีอย กรณไวีผมสนั้ ไมอน ญาตให ุไถผม  ใหเหนหน็งศั รษะและไม ี ไถเป ดข างใบห รองทรงสูงู อนุญาตใหยอมผมสีนํ้าตาลเขมได ติดกระเปา 1 ใบ ที่ออกเสื้อ ขางซายพรอมป  กตราโรงเร ยนี เสื้อพละสีชมพูของโรงเรียน ตัวเสื้อไมคับหรือตัวใหญ จนเกินไป บเรียบ พบัลง ซม. รองเทาผาใบ ไมมีลวดลาย หนา) งเรียน น ๆ ะดับชั้น 2 ม.3 5 .6 ไปตามความเหม ใหเรยบีรอย กรณี ใหเหนหน็งศัรษะแี อนุญาตใหยอมผ ติ ข เครื่องแบบนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตŒน-ปลาย ใส‹ชุดเดียวกัน 154 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


เครื่องแบบการเรียนวิชากิจกรรม เครื่องแบบกิจกรรมยุวกาชาด เครื่องแบบกิจกรรมผูŒบําเพ็ญประโยชน เครื่องแบบกิจกรรมเนตรนารี กระเป‰ านักเรียน กระเปาเคียง กระเปาเป กระเปาหนังสีดํา คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 155


ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ะเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการลงโทษน ยการลงโทษนักเรียนและน เรียนและนักศึกษา พ.ศ. 2548 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 65 แหงพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ จึงวางระเบียบวาดวยการลงโทษนักเรียน และนักศึกษาไวดังตอไปนี้ ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการลงโทษนักเรียน และนักศึกษา พ.ศ. 2548” ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ขอ 3 ใหยกเลกระเบิยบกระทรวงศีกษาธึการวิาด วยการลงโทษน กเรัยนหรีอนืกศักษาึ พ.ศ. 2543 ขอ 4 ในระเบียบนี้ “ผูบริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา” หมายความวา ครูใหญ อาจารยใหญผู อํานวยการ อธการบดิ ีหรอหืวหนั าของโรงเร ยนหรีอสถานศืกษาหรึอตื ําแหนงทเรี่ยกชีออยื่าง อื่นของโรงเรียนหรือสถานศึกษานั้น “กระทําความผดิ” หมายความวาการทนี่กเรัยนหรีอนืกศั กษาประพฤต ึ ฝิาฝน ระเบียบขอบังคับของสถานศึกษา หรือของกระทรวงศึกษาธิการ หรือกฎกระทรวงวาดวย ความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา “การลงโทษ” หมายความวาการลงโทษน กเรัยนหรีอนืกศักษาทึกระที่ําความผดิ โดยมีความมุงหมายเพื่อการอบรมสั่งสอน ขอ 5 โทษที่จะลงโทษแกนักเรียนหรือนักศึกษาที่กระทําความผิด มี 4 สถาน ดังนี้ (1) วากลาวตักเตือน (2) ทําทัณฑบน (3) ตัดคะแนนความประพฤติ (4) ทํากิจกรรมเพื่อใหปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 156 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


ขอ 6 หามลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาดวยวิธีรุนแรง หรือแบบกลั่นแกลง หรือ ลงโทษดวยความโกรธ  หรอดืวยความพยาบาท โดยใหค ํานงถึงอายึของนุกเรัยนหรีอนืกศักษาึ และความรายแรงของพฤติการณประกอบการลงโทษดวย การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาใหเปนไปเพื่อเจตนาที่จะแกนิสัยและความประพฤติ ไมดีของนักเรียนหรือนักศึกษาใหรูสํานึกในความผิดและกลับประพฤติตนในทางที่ดีตอไป ใหผูบริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือผูที่ผูบริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา มอบหมายเปนผูมีอํานาจในการลงโทษนักเรียน นักศึกษา ขอ 7 การวากลาวตกเตั อนใช ื ในกรณ นีกเรัยนหรีอนืกศักษากระทึ ําความผดไม ิรายแรง ขอ 8 การทําทัณฑบนใชในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษาที่ประพฤติตนไมเหมาะสมกับ สภาพนักเรียนหรือนักศึกษา ตามกฎกระทรวงวาดวยความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา หรือกรณีทําใหเสื่อมเสียชื่อเสียงและเกียรติศักดิ์ของสถานศึกษา หรือฝาฝนระเบียบของ สถานศึกษา หรือไดรับโทษวากลาวตกเตั ือนแลว แตยังไมเข็ดหลาบ การทําทณฑั บนให ท ําเปนหนงสัอื และเชญบิดามารดาหริอผื ปกครองมาบูนทักรึบทราบั ความผิดและรับรองการทําทัณฑบนไวดวย ขอ 9 การตดคะแนนความประพฤต ั ิใหเป นไปตามระเบ  ยบปฏ ีบิตัวิาดวยการตดคะแนนั ความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาของแตละสถานศึกษากําหนด และใหทําบันทึกขอมูล ไวเปนหลักฐาน ขอ 10 ทํากิจกรรมเพื่อใหปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใชในกรณีที่นักเรียนและนักศึกษา กระทําความผิดที่สมควรตองปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดกิจกรรมใหเปนไปตามแนวทางที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด ขอ 11 ใหปลดกระทรวงศักษาธึการิ รกษาการให ั เป นไปตามระเบ ยบนี และให ี้มอีํานาจ ตีความและวินิจฉัยปญหาเกี่ยวกับการปฏิบตัิตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 (นายอดิศัย โพธารามิก) รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 157


ตัวอย‹างใบลา เขียนที่........................................................... วันที่................เดือน................................................................................ เรื่อง ขออนุญาต (ลากิจ, ลาปวย).................................................. เรียน ครูประจําชั้น ม.............../............... เนื่องดวยดิฉัน (ด.ญ., น.ส.)........................................ นักเรียนชั้น ม........../.......... มีกิจธุระ.................................................................................................................................. ปวยเปน.................................................................................................................................. ไมสามารถมาเรียนได จึงขอลาหยุดเรียนตั้งแตวันที่.......... เดือน.................... พ.ศ................ ถึงวันที่.......... เดอนื .............................. พ.ศ..................... จึงเรียนมาเพื่อขออนุญาต (ลากิจ, ลาปวย)....................เปนเวลา....................วัน ดวยความเคารพอยางสูง ลงชื่อ........................................ (..................................................) คํารับรองของผูปกครอง ขอรับรองวา ด.ญ., น.ส...................................................(มีกิจธุระ, ปวย).............................. และตองหยุดเรียนเปนเวลา........................................วัน จริง ลงชื่อ........................................ (..................................................) เรียน รองผูอํานวยการกลุมบริหารงานบุคคล เพื่อกรุณาทราบ ลงชื่อ........................................ (..................................................) ครูประจําชั้นระดับชั้น ม........./........... วันที่.........เดือน.......................พ.ศ............ 158 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


ตัวอย‹างบัตรขออน ุญาตเขŒาหŒองเรียน (สวนที่ 1) เลมที่................. เลขที่....................... บัตรขออนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียน โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย อนุญาตให (น.ส., ด.ญ.)............................................................ ชั้น................ เลขประจําตัว......................................................... ออกนอกบริเวณเพื่อ................................................................... ระหวาง.........................น. ถึง..................น. วันที่...................../................./.................... ลงชื่อ.....................รองผูอํานวยการกลุมบริหารงานบุคคล (สวนที่ 3) เลมที่................. เลขที่....................... บัตรขออนุญาตเขาหองเรียน วันที่............................เดือน........................................พ.ศ..................... ชื่อ...................................................................ชั้น ม............./................. มาสาย เพราะ............................................................................... ไดขออนุญาตเปนพิเศษ..................................................................... เวลา......................................น. ....................................ผูอนุญาต (.................................................) .................................ครูประจําชั้น (.................................................) เวลา.............................น. สวนนี้นําสงครูประจําชั้น (สวนที่ 2) เลมที่................. เลขที่....................... บัตรขออนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียน โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย อนุญาตให (น.ส., ด.ญ.)............................................................ ชั้น................ เลขประจําตัว......................................................... ออกนอกบริเวณเพื่อ................................................................... ระหวาง.........................น. ถึง..................น. วันที่...................../................./.................... ลงชื่อ.....................รองผูอํานวยการกลุมบริหารงานบุคคล (สวนที่ 1) เลมที่................. เลขที่....................... บัตรขออนุญาตเขาหองเรียน วันที่............................เดือน........................................พ.ศ..................... ชื่อ...................................................................ชั้น ม............./................. มาสาย เพราะ............................................................................... ไดขออนุญาตเปนพิเศษ..................................................................... เวลา......................................น. ....................................ผูอนุญาต (.................................................) กลุมบริหารงานบุคคล (สวนที่ 2) เลมที่................. เลขที่....................... บัตรขออนุญาตเขาหองเรียน วันที่............................เดือน........................................พ.ศ..................... ชื่อ...................................................................ชั้น ม............./................. มาสาย เพราะ............................................................................... ไดขออนุญาตเปนพิเศษ..................................................................... เวลา......................................น. ....................................ผูอนุญาต (.................................................) .................................ครูประจําชั้น (.................................................) เวลา.............................น. สวนนี้นําสงครูประจําชั้น ตัวอยางบ ัตรอนุญาตออกนอกห าตออกนอกหองเรียน คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 159


ระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนเปนกระบวนการดําเนินงานดูแลชวยเหลือนักเรียนอยาง มขีนตอนั้ พรอมดวยวธิการและเครีองมื่อการทื ํางานทชี่ดเจนั โดยมครี ประจูําชนเป ั้นบคลากรุ หลกในการด ั ําเนนการดิงกลัาว และมการประสานความร ีวมมออยื างใกล ชดกิบครัทูเกี่ยวขี่อง หรือบุคลากรภายนอก รวมทั้งการสนับสนุน สงเสริมจากโรงเรียน งานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน หมายถึง การสงเสริม การปองกัน และการแกไข ปญหาโดยมีวิธีการและเครื่องมือสําหรับครูประจําชั้นและบุคลากรที่เกี่ยวของเพื่อใชในการ ดําเนนงานพิฒนานักเรั ยนให ีมคีณลุกษณะทัพี่งประสงค ึ และปลอดจากสารเสพต ดิ มกระบวนการี ดําเนินงานโดยครูที่ปรึกษาเปนบุคลากรหลักในการปฏิบัติงาน มีองคประกอบสําคัญ 5 ประการคือ 1. การรูจักนักเรียนเปนบุคคล ซึ่งครอบคลุม ดานความสามารถ (ดานการเรียน ความสามารถดานอื่น ๆ) ดานสุขภาพ (รางกาย จิตใจ อารมณ) ดานครอบครัว (เศรฐกิจ การคุมครองนักเรียน) ดานอื่น ๆ (สารเสพติด ความสัมพันธทางเพศ) 2. การคดกรองนักเรัยนี โดยจดกลัมนุกเรั ยนออกเป ีน 3 กลมุ คอื กลมปกตุ ิกลมเสุยงี่ และกลุมมีปญหา 3. การสงเสริมพัฒนานักเรียนทุกคนที่อยูในการดูแล โดยการจัดกิจกรรมโฮมรูม (Homeroom) กิจกรรมประชุมผูปกครองในชั้นเรียน (Classroom Meeting) 4. การปองกันและแกไขปญหาของนักเรียนกลุมเสี่ยงและกลุมมีปญหาดวยวิธีการ การใหค ําปรกษาแนะนึ ําชวยเหลอื การจดกัจกรรมติางๆเพอปื่องกนและแกั ไขป ญหานกเรัยนี โดยใชกิจกรรมในชั้นเรียน กิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมซอมเสริม กิจกรรมสื่อสาร กับผูปกครอง เปนตน 5. การสงตอนกเรัยนี ในกรณที ปี่ญหาบางอยางทครี่ประจูําชนไม ั้สามารถแก ไขป ญหา จะบันทึกสงตอครูแนะแนว กลุมบริหารงานบุคคล หรือสงตอผูเชี่ยวชาญภายนอก งานระบบดูแลช‹วยเหลือนักเรียน 160 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


รูจักนักเรียนเปนรายบุคคล คัดกรองนักเรียน การสงเสริมนักเรียน ปองกันและแกไขปญหา สงตอ (ภายในโรงเรียน) พฤติกรรม ดีขึ้นหรือไม ไมดีขึ้ นึ้ /ยากตอ การชวยเหลือ แผนภูมิแสดงกระบวนการด ํ าเนินงาน ตามระบบดูแลช‹วยเหลือนักเรียน กลุมปกติกลุมเสี่ยง/มีปญหา คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 161


1. การขอหนังสือรับรอง นักเรียนกรอกขอมูลสวนตัวที่งาน เพื่อจัดทําเอกสารรับรองความประพฤติ 2. การทําบัตรประจําตัวนักเรียน 2.1 ยื่นคํารอง 2.2 คาธรรมเนียมทําบัตรใหม 100 บาท 2.3 คาบริการระบบปละ 300 บาท งานสวัสดิการนักเรียน 162 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


ใบรับรองความประพฤติ โรงเรียน สตรีศรีสุริโยทัย อําเภอ / เขต สาทร จังหวัด กรุงเทพมหานคร ขอรับรองวา นางสาว............................................................................................................ เลขประจําตัว...........................เกิดวันที่............เดือน..................................พ.ศ. ................. ชื่อ-ชื่อสกุลบิดา...................................ชื่อ - ชื่อสกุลมารดา.................................................... กําลังศึกษาอยูในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่.....................................ปการศึกษา........................ เปนผูมีความประพฤติเรียบรอย ออกให ณ วันที่................................................................................................... (ลงชื่อ) (นางสาวกรรณิกา ไผทฉันท) ผูอํานวยการโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย (ใบรับรองฉบับนี้มีอายุ 60 วัน นับตั้งแตวันที่ออกให) คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 163


ประธาน รองประธาน เลขานุการ คณะกรรมการระดับ หองเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 คณะกรรมการระดับ หองเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 คณะกรรมการระดับ หองเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 คณะกรรมการระดับ หองเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 คณะกรรมการระดับ หองเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 คณะกรรมการระดับ หองเรียนระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 คณะกรรมการเคร ณะกรรมการเครือขายผูปกครองประกอบด ู ปกครองประกอบดวย 1. คณะกรรมการระดบหัองเรยนี จํานวนไมนอยกวา 5 คนประกอบดวย ประธาน รองประธาน เลขานุการ นายทะเบียน ประชาสัมพันธ โดยการคัดเลือกจากผูปกครองของแตละหองเรียน 2. คณะกรรมการระดบชันเรั้ยนี ประกอบดวย ประธาน รองประธาน เลขานการุ นายทะเบยนี และประชาสมพันธั โดยการคดเลัอกจากคณะกรรมการระดืบหัองเรยนของระดีบชันเรั้ยนี นั้น ๆ หองละ 2 คน ผูแทนของระดับชั้นเรียนประกอบดวยประธานและเลขานุการ ของกรรมการ ระดับหองเรียน 3. คณะกรรมการระดับโรงเรียน ประกอบไปดวย คณะกรรมการเครือขายผูปกครองทั้งสิ้น จํานวน 13 คน คณะกรรมการระดับโรงเรียน ไดมาโดยการคัดเลือกมาจากประธานและ เลขานุการของแตละระดับชั้นเรียนทั้งหมด จํานวน 12 คน ประกอบดวย ประธาน รองประธานคนที่ 1 รองประธานคนที่ 2 เลขานุการ ผูชวยเลขานุการ ประชาสัมพันธ ผูชวยประชาสัมพันธ นายทะเบียน ปฏิคม และกรรมการที่เหลือเปนกรรมการกลาง กรณทีผี่แทนของระดูบชั นใด ั้ ไดรบการคัดเลั อกเป ื นประธานเคร อขืายผ ปกครองู ใหเลอกื ผูแทนของระดับชั้นขึ้นมาแทนตําแหนงที่วาง เพื่อใหครบจํานวน 13 คน คณะกรรมการบริหารเครือข‹ายผูŒปกครอง โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย 164 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


ระเบียบส ะเบียบสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข ักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้ นพื ั้ นพื้ นฐาน ้ นฐาน วาดวยเครือข ยเครือขายผู ปู ปกครอง พุทธศักราช2551 เพื่อใหการบริหารและการจัดการเกี่ยวของกับเครือขายผูปกครองเปนไปอยาง มประส ีทธิภาพสอดคลิองกบพระราชบัญญัตัการศิกษาแหึงชาต ิพ.ศ. 2542 และทแกี่ไขเพ มเติ่มิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 30 วรรค 3 แหงพระราชบัญญัติ ระเบยบบรีหารราชการกระทรวงศิกษาธึการิ พ.ศ. 2546 และขอ 1 (3) (7) ของกฎกระทรวง แบงสวนราชการสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษา พ.ศ. 2546 จงกึ ําหนดวางระเบยบี เพอเป ื่นแนวทางในการบร หารและจิดการรัวมกนระหวัางสถานศกษาึ กับผูปกครอง ไวดังนี้ ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วาดวยเครือขายผูปกครอง พ.ศ. 2551” ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวนถั ัดจากวันประกาศเปนตนไป ขอ 3 บรรดาระเบยบี ขอบงคับั ประกาศ และคําสงอั่นใด ื่ ทขี่ดหรัอแยืงกบระเบัยบนี ี้ ใหใชระเบียบนี้แทน ขอ 4 ระเบียบนี้ ใชบังคับสําหรับสถานศึกษาสังกัด สํานักงานคณะกรรมการ การศกษาขึนพั้นฐานทื้จี่ดการศักษาึ ชวงชนทั้ 3-4 ี่สําหรบสถานศักษาทึจี่ดการศักษาแตกตึาง ไปจากนี้ หากจะดําเนินการเครือขายผูปกครองใหถือบังคับใชระเบียบนี้โดยอนุโลม ขอ 5 นิยามศัพท ในระเบียบนี้ “เครอขืายผ ปกครองู ” หมายความวา การรวมกนระหวัางผ ปกครองนูกเรัยนี ในสถานศกษาเดึยวกีนั เพอรื่วมมอกืบสถานศั กษาในการประกอบก ึจกรรมดิานการพฒนาการั การเรียนรูและพฤติกรรมของนักเรยนี “ผปกครองู ” หมายความวา บดาิ มารดา หรอื มารดา ซงเปึ่นผ ใชูอํานาจปกครอง หรือผูปกครองตามกฎหมายแพงและพาณิชย และหมายความรวมถึงบุคคลที่นักเรียน อยูดวยเปนประจํา หรือนักเรียนอยูรับใชการงาน “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการเครอขืายผ ปกครองในสถานศูกษาึ คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 165


ขอ 6 วัตถุประสงคของเครือขายผูปกครอง เพื่อการดําเนินงานสรางความสัมพันธอันดีระหวางสถานศึกษากับผูปกครอง เพื่อใหผูปกครองมีสวนรวมในการจัดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรูและพฤติกรรม ของนักเรียน เพอให ื่มการแลกเปล ียนความรี่ ูประสบการณและแนวคดิ ระหวางผ ปกครองู ครู และนักเรียนในสถานศึกษา ขอ 7 คณะกรรมการ คุณสมบัติของคณะกรรมการเครือขายผูปกครอง (1) เปน บิดา มารดา หรือ ผูปกครองของนักเรียนปจจุบัน (2) ผูปกครองตองเปนผูที่บรรลุนิติภาวะและตองดูแลอุปการะนักเรียน ที่แทจริง โครงสราง องคประกอบ และจํานวนของคณะกรรมการใหสถานศึกษากําหนด ไดตามความเหมาะสม การพนจากตําแหนงของกรรมการ (1) ตาย (2) ลาออก (3) ขาดคุณสมบัติตามที่ไดกําหนดไวในขอ 7 (4) มติที่ประชุมของคณะกรรมการรวมกับผูบริหารสถานศึกษาพิจารณา ใหพนจากสภาพเปนคณะกรรมการ กรณีที่พบวาคณะกรรมการไดกระทําการสอไปในทาง เจตนาแสวงหา หรือไดมาซึ่งผลประโยชนและสิทธิประโยชนตาง ๆ เพื่อตนเอง หรือผูอื่น (5) สิ้นสุดวาระ วาระการดํารงตําแหนงของคณะกรรมการ ใหมีวาระคราวละ 1 ป ขอ 8 บทบาทและหนาที่ของคณะกรรมการ (1) รวมสนับสนุนกิจกรรมของสถานศึกษา ดานพัฒนาการเรียนรูและ พฤติกรรมของนักเรียน โดยผานความเห็นชอบจากผูบริหารสถานศึกษา (2) รวมสรางความสัมพันธอันดี ระหวางครูและผูปกครอง (3) สนับสนุนการพัฒนาการเรียนการสอนของสถานศึกษา (4) เสนอขอคิด ขอเสนอแนะในการพัฒนาที่จะเปนประโยชนแกนักเรียน และสถานศึกษา 166 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


(5) รวมกับสถานศึกษา จัดใหมีการประชุม ระหวางคณะกรรมการกับ ผูปกครองตามความเหมาะสม อยางนอยปละ 2 ครั้ง (6) สรุปและรายงานผลการดําเนินงานของคณะกรรมการ อยางนอยปละ 1 ครั้ง ในที่ประชุมใหญของผูปกครองนักเรียน ขอ 9 ใหสถานศกษาแตึงตงครั้เปูนผ ประสานงานกูบคณะกรรมการตามความเหมาะสมั ขอ 10 ใหสถานศกษาดึ ําเนนการให ิ ได คณะกรรมการโดยเร ว็ อยางช าภายในภาคเร ยนที 1ี่ ของทุกป ขอ 11 ใหผูบริหารสถานศึกษาเปนผูแตงตั้งคณะกรรมการ ขอ 12 ใหสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสนับสนุนและพัฒนาการดําเนินการของ คณะกรรมการ ขอ 13 คณะกรรมการทสถานศี่กษาจึดตังขั้นหรึ้อมือยีกูอนระเบยบนี ใชี้บงคับั ใหดําเนนการิ ตอไปจนกวาจะสิ้นสุดวาระ ขอ 14 ใหผบรูหารสถานศิกษากึ ําหนดระเบยบี วธิการี เพมเติ่มได ิตามความเหมาะสม แตตองไมขัดหรือแยงกับระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา (คุณหญิง กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 167


ระเบียบโรงเรียนสตรีศรีส ะเบียบโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย วาดวยเครือข ยเครือขายผู ปู ปกครอง พุทธศักราช2562 เพอให ื่การบรหารและการจิดการเกัยวกี่บเครัอขืายผ ปกครองเปู นไปอย างม ประส ีทธิภาพิ สอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 30 วรรค 3 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศกษาธึการิ พ.ศ. 2546 และขอ 1 (3) (7) ของกฎกระทรวง แบงสวนราชการ สํานกงานคณะกรรมการการศักษาขึนพั้นฐานื้ กระทรวงศกษาธึการิ 2546 และระเบยบสี ํานกงานั คณะกรรมการการศกษาขึนพั้นฐานวื้าดวยเครอขืายผ ปกครองูพ.ศ. 2551 จงกึ ําหนดวางระเบยบี เพื่อเปนแนวทางในการบริหารและจัดการรวมกันระหวางสถานศึกษากับผูปกครอง ของโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย ไวดังนี้ ขอ 1 ระเบยบนีเรี้ยกวีา “ระเบยบโรงเร ียนสตรีศรีสีรุโยท ิยั วาดวยเครอขืายผ ปกครองู พ.ศ. 2554” ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดไปจากวันประกาศเปนตนไป ขอ 3 ใหยกเลกระเบิ ยบแนวปฏ ีบิตัโรงเร ิยนสตรีศรีสีรุโยท ิยวัาดวยเครอขืายผ ปกครองู พ.ศ.2546 และระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ และคําสั่งอื่นในสวนที่กําหนดไวในระเบียบนี้ หรือซึ่งขัดแยงกับระเบียบนี้ใหใชระเบียบนี้แทน ขอ 4 นิยามศัพท ในระเบียบนี้ “เครอขืายผ ปกครองู ” หมายความวา การรวมกนระหวัางผ ปกครองนูกเรั ยนในสถานศ ีกษาึ เดียวกันเพื่อรวมมือกับสถานศึกษาในการประกอบกิจกรรมดานการพัฒนาการเรียนรูและ พฤติกรรมของนักเรียน “ผูปกครอง” หมายความวา บิดา มารดา หรือบิดาหรือมารดา ซึ่งเปนผูใชอํานาจ ปกครองหรือผูปกครองตามประมวลกฎหมายแพงพาณิชย และหมายความรวมถึงบุคคล ที่นักเรียนอยูดวยเปนประจําหรือที่นักเรียนอยูรับใชการงาน 168 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการเครือขายผูปกครอง ขอ 5 วัตถุประสงคของเครือขายผูปกครอง (1) เพอการดื่ําเนนการสริางความสมพันธัอนดัระหวีางสถานศกษากึบผั ปกครองู (2) เพื่อใหผูปกครองมีสวนรวมในการจัดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรูและ พฤติกรรมของนักเรียน (3) เพอให ื่มการแลกเปล ียนความรี่ ูประสบการณและแนวคดระหวิางผ ปกครองู ครูและนักเรียนในสถานศึกษา (4) เพื่อจัดกิจกรรมตาง ๆ ใหเกิด ความรูเปนประสบการณสําหรับนักเรียน สามารถชวยเหลือตนเองได ดํารงไวซึ่งวัฒนธรรมประเพณี และการละเวนอบายมุขทั้งปวง เพื่อสงเสริมความสามัคคี ชวยเหลือเกื้อกูลกันและกันตลอดถึงการอนุรักษสิ่งแวดลอม (5) เพื่อใหมีการติดตอสื่อสารกับผูปกครองอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ขอ 6 ระเบียบและหนาที่ของคณะกรรมการเครือขายผูปกครอง (1) คณะกรรมการระดับหองเรียนมีจํานวนไมนอยกวา 5 คน ประกอบดวย ประธาน รองประธาน เลขานุการ นายทะเบียนและประชาสัมพันธ โดยการคัดเลือกจาก ผูปกครองของแตละหองเรียน (2) คณะกรรมการระดบชันเรั้ยนประกอบด ีวย ประธาน รองประธาน เลขานการุ นายทะเบยนและประชาส ีมพันธั  โดยคดเลัอกจากคณะกรรมการระดืบหัองเรยนของชีนเรั้ยนี นั้น ๆระดับหองละ 2 คน ผูแทนของระดับชั้นเรียนประกอบดวยประธานและเลขานุการของ กรรมการระดับหองเรียน (3) คณะกรรมการระดับโรงเรียนประกอบไปดวยคณะกรรมการเครือขาย ผูปกครองทั้งสิ้น จํานวน 13 คน (4) การไดมาซึ่งคณะกรรมการระดับโรงเรียน ไดมาโดยการคัดเลือกมาจาก ประธาน และเลขานุการของแตละระดับชั้นเรียนทั้งหมด จํานวน 12 คน ประกอบดวย ประธาน รองประธานคนท 1 ี่รองประธานคนท 2 ี่เลขานการุ ผชูวยเลขานการุ ประชาสมพันธั  ผูชวยประชาสัมพันธ นายทะเบียน ปฏิคม เหรัญญิก ตําแหนงอื่นตามความเหมาะสมและ กรรมการที่เหลือเปนกรรมการกลาง โดยรองผูอํานวยการกลุมบริหารงานบุคคล หัวหนา งานสงเสรมความริวมมอระหวืางบาน โรงเรยนและชีมชนหุวหนัาระดบั ครในระดูบชันเรั้ยนละี 3 คน เปนกรรมการระดับโรงเรียน โดยตําแหนง (5) กรณีที่คณะกรรมการของระดับใดไดรับการคัดเลือกเปนประธาน คณะกรรมการระดับโรงเรียนใหเลือกผูแทนของระดับชั้นนั้น โดยคณะกรรมการระดับชั้นนั้น เปนผูสรรหาขึ้นมาแทนตําแหนงที่วางลง คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 169


ขอ 7 คณะกรรมการ คุณสมบัติของคณะกรรมการ 1. เปนบิดา มารดา หรือผูปกครองของนักเรียนปจจุบัน 2. ผูปกครองตองเปนผูที่บรรลุนิติภาวะและตองดูแลอุปการะนักเรียนที่แทจริง และมีสถานภาพเปนผูปกครองนักเรียนในปจจุบันในสถานศึกษา โดยชอบธรรมตามกฎหมาย 3. ประกอบอาชีพสุจริต มีที่อยูอาศัยเปนหลักแหลงแนนอน 4. ไมเปนโรคติดตอรายแรงหรือโรคที่สังคมรังเกียจ การพนจากตําแหนงของคณะกรรมการ (1) ตาย (2) ลาออก (3) ขาดคุณสมบัติตามที่ไดกําหนดไวในขอ 7 (4) มติที่ประชุมของคณะกรรมการการรวมกับผูบริหารสถานศึกษาพิจารณา ใหพนจากสภาพเปนคณะกรรมการ กรณีที่พบวาคณะกรรมการไดกระทําการสอไปในทาง เจตนาแสวงหาหรือไดมาซึ่งผลประโยชนและสิทธิประโยชนตาง ๆ เพ่อตนเองหรื ือผูอื่น (5) สิ้นสุดวาระ วาระการดํารงตําแหนงของคณะกรรมการ ใหมีวาระคราวละ 1 ป นับตั้งแตวาระที่ไดรับ การคัดเลือกสิ้นสุดในวันที่เครือขายผูปกครองชุดใหม ไดรับการคัดเลือก ขอ 8 บทบาทและหนาที่ของคณะกรรมการ (1) รวมสนบสนันกุจกรรมของสถานศิกษาึ ดานพฒนาการเรัยนรี ูและพฤตกรรมิ ของนักเรียนโดยความเห็นชอบ จากผูบริหารสถานศึกษา (2) รวมสรางความสัมพันธอันดี ระหวางครูและผูปกครอง (3) สนับสนุนการพัฒนาการเรียนการสอนของสถานศึกษา (4) เสนอขอคิด ขอเสนอแนะในการพัฒนาที่จะเปนประโยชนแกนักเรียนและ สถานศึกษา (5) รวมกบสถานศักษาึ จดให ัมการประช ีมุ ระหวางคณะกรรมการกบผั ปกครองู ตามความเหมาะสมอยางนอยปละ 2 ครั้ง (6) เครือขายผูปกครองระดับหองเรียนจัดทําทําเนียบนักเรียนและผูปกครอง โดยละเอียด และสงมอบสําเนาใหเลขานุการเครือขายผูปกครองในระดับชั้นเรียนและระดับ โรงเรียนใหเปนปจจุบัน 170 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


(7) เครือขายผูปกครองในระดับโรงเรียนจะตองรวบรวมขอมูลและกิจกรรม ของแตละระดบชันั้ เพอกื่ําหนดกรอบแผนงานโครงการนําเสนอโรงเรยนี เพอดื่ําเนนการติ อไป  (8) ใหเครือขายผูปกครองทุกระดับดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ตามที่โรงเรียน ขอความรวมมือหรือตามที่เครือขายเสนอ และโครงการอนุมัติจากผูบริหารสถานศึกษา โดยยึดถือแนวปฏิบัติของสถานศึกษาเปนหลัก (9) ใหเครือขายผูปกครองระดับโรงเรียนสรุปและรายงานผลการดําเนินงาน ของคณะกรรมการ อยางนอยปละ 1 ครั้ง ในที่ประชุมใหญของผูปกครองนักเรียน ขอ 9 ใหสถานศึกษาแตงตั้งครูเปนผูประสานงานกับเครือขายผูปกครองในทุกระดับ ขอ 10 การแกไขระเบ ยบนีสามารถกระที้ําไดตามความเหมาะสม ตามสมยแหังกาลเวลา โดยใหผูเสนอขอแกไข ยื่นญัตติ ขอแกไขระเบียบตอคณะกรรมการเครือขายผูปกครอง ระดบโรงเร ัยนพีจารณาและติ องได รบมตั ใหิแก ไขด วยเสยงี 3 ใน 4 ของจํานวนคณะกรรมการ ครบองคประช มทุมาประช ี่มุ องคประช  มใหุถอจื ํานวนกงหนึ่งของคณะกรรมการึ่ โดยมกีําหนด เงื่อนไข การแกไขดังนี้ (1) การแกไขระเบียบนี้ใหสามารถกระทําได 1 ป ตอครั้ง หรือกรณีมีเหตุ แหงความจําเปนโดยเรงดวนและที่ประชุมคณะกรรมการมีมติเปนเอกฉันท ใหทําการแกไข (2) การแกไขระเบียบแตละครั้งตองแลวเสร็จภายใน 60 วัน ขอ 11 ใหสถานศกษาดึ ําเนนการให ิ ไดคณะกรรมการ โดยเรวอย็างช าภายในภาคเร ยนที 1ี่ ของทุกป ขอ 12 ใหผูบริหารสถานศึกษาเปนผูแตงตั้งคณะกรรมการ ขอ 13 ใหสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สนับสนุนและพัฒนาการดําเนินงานของ คณะกรรมการ ขอ 14 ใหผูบริหารสถานศึกษากํากับดูแลใหเปนไปตามระเบียบนี้ และเปนผูลงนาม ประกาศแตงตั้งคณะกรรมการเครือขายผูปกครองไดกรณีสิ้นสุดวาระ ตามขอ 7 (5) ประกาศ ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2562 (นางสาวกรรณกาิ ไผทฉันท) ผูอํานวยการโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 171


1. ประสานสัมพันธและสรางความคุนเคยเพื่อใหชุมชนบริเวณใกลเคียงเขามามีสวนรวม ในการจัดการศึกษาของโรงเรียน 2. สงเสริมความเขมแข็งใหกับชุมชนและสรางความสัมพันธกับสถานศึกษาองคกรตาง ๆ ทั้งของภาครัฐและเอกชน 3. จัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมใหคนในชุมชนมีสุขอนามัยและสิ่งแวดลอมที่ดี 4. ใหบริการสถานที่ อุปกรณและความรวมมือในการจัดกิจกรรมเพื่อชุมชน 5. ใหความรูเกี่ยวกับการรณรงค เรื่องโรคเอดส สารเสพติด ฯลฯ แกชุมชน 6. รวมมอกืบชั มชนโดยสุงคร - ูอาจารยและนกเรั ยนไปร ีวมกจกรรมิ ปฏบิตังานสิ ําคญั ตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน 7. สงเสริมทักษะอาชีพใหกับผูปกครอง นักเรียน และชุมชน งานส‹งเสริมความร‹วมมือระหว‹าง บŒาน โรงเรียนและชุมชน 172 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


ระเบียบโรงเรียนสตรีศรีส ุ ริโยทัย วาดวย สภานักเรียน พ.ศ.2563 ดวยโรงเร ยนสตรีศรีสีรุโยท ิยเหั นควรให ็มสภานีกเรัยนเพี อเป ื่นการสงเสร มการปกครอง ิ ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนพระประมุขและใหนักเรียนมีสวนรวม ในการประกอบกิจกรรมของโรงเรียน รวมทั้งเปนการฝกฝนการทํางานเปนหมูคณะ จึงได ออกระเบียบไวดังนี้ หมวดที่ 1 บททั่วไป ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา "ระเบียบโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย วาดวยสภานักเรียน พ.ศ. 2563" ขอ 2 ระเบียบนี้มีผลบังคับใชตั้งแตวันประกาศเปนตนไป ขอ 3 "โรงเรียน" หมายถึง โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย ขอ 4 "สภานกเรัยนี " หมายถงึ คณะกรรมการสภานกเรัยนี หวหนัาหอง หรอผืแทนหูองเรยนี ที่ไดรับการแตงตั้งจากโรงเรียนใหทําหนาที่ดําเนินกิจกรรมนักเรียน ที่โรงเรียนเห็นสมควร ขอ 5 "คณะกรรมการทปรี่กษาสภานึกเรัยนี " หมายถงึ คณะครทูไดี่รบการแตังต งจากโรงเร ั้ยนี ใหทําหนาที่เปนที่ปรึกษาสภานักเรียน หมวดที่ 2 วัตถุประสงคขอ 6 คณะกรรมการสภานักเรียนมีวัตถุประสงคเพื่อ (1) เพอปล ื่กฝูงการปกครองระบอบประชาธ  ปไตยอ ินมัพระมหากษีตรัยิ ทรงเปนประม ขุ (2) เพื่อใหนักเรียนรูจักบทบาท หนาที่ของตนเอง และผูอื่น (3) เพื่อสงเสริมใหนักเรียนรูจักการทํางานอยางเปนระบบ (4) เพื่อใหนักเรียนมีสวนรวมในการจัดกิจกรรมของโรงเรียน (5) เพื่อใหนักเรียนมีสวนรวมในการพัฒนาโรงเรียนในดานตาง ๆ บโรงเรียนสตรีศรีส คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 173


(6) เพอเป ื่นตวแทนของนักเรั ยนและโรงเร ี ยนในการปฏ ีบิตักิจกรรมหริอื ภารกจติางๆ ของโรงเรียน (7) เพื่อใหเกิดความรวมมือในการแกไขปญหาของนักเรียนและโรงเรียน หมวดที่ 3 โครงสรางบุคคลากรสภนักเรียน ขอ 7 คณะกรรมการสภานักเรียน ประกอบดวย (1) คณะกรรมการสภานกเรัยนทีมาจากการเลี่อกตืงของนั้กเรัยนทีกคนุ จํานวน 5 คน (2) คณะกรรมการสภานักเรียนปการศึกษากอนหนา จํานวน 20 คน (3) คณะกรรมการสภานักเรียนที่มาจากการสรรหา จํานวน 15 คน (4) คณะอนุกรรมการสภานักเรียน จํานวน 20 คน (5) หวหนัาหองหรอผืแทนหูองทมาจากการเลี่อกตืงจากสมาชั้กในห ิอง (จํานวน 52 คน) ขอ 8 คณะกรรมการสภานกเรัยนอาจตีงอนั้กรรมการไดุอกตามความเหมาะสมและความจี ําเปน ในกรณีที่มีกิจกรรมพิเศษ ซึ่งคณะกรรมการสภานักเรียนเห็นวาเปนผูมีความสามารถ หมวดที่ 4 คุณสมบัติของคณะกรรมการสภานักเรียน ขอ 9 คณะกรรมการสภานักเรียนตองมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ (1) เปนคณะกรรมการสภานกเรัยนี คณะอนกรรมการนุกเรั ยนในป ีการศกษานึนและั้ อดีตคณะกรรมการสภานักเรียน (2) เปนหัวหนาหองหรือผูแทนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-6 ของปการศึกษานั้น (3) เปนผูมีความประพฤติเรียบรอย โดยผานการรับรองจากครูที่ปรึกษาครูหัวหนา ระดับชั้นและคณะกรรมการกลุมบริหารงานบุคคล หมวดที่ 5 วิธีดําเนินการจัดตั้งคณะกรรมการสภานักเรียน ขอ 10 ประธานคณะกรรมการสภานกเรัยนี เปนประธานคณะกรรมการสภาน กเรั ยนโดยต ี ําแหนง (1) ประธานคณะกรรมการสภานกเรัยนี จะตองเป นผทู ไดี่คะแนนเสยงสี วนใหญ  ในการ  ลงมตของประธานคณะส ิทีงั้ 5 คน ซงยึ่ดตามบทบึญญัตัการแติงตงนายกรั้ฐมนตรั ี รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 มาตราที่ 158 วรรค 3 174 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


(2) ประธานคณะกรรมการสภานักเรียน จะตองเปน 1 ใน ประธานสี 5 คน ที่ไดรับ การเลือกตั้งจากนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย ขอ 11 รองประธานคณะกรรมการสภานนกเรัยนคนที 1 ( ี่ม.5) เปนรองประธานคณะกรรมการ  สภานักเรียนโดยตําแหนง ขอ 12 รองประธานคณะกรรมการสภานักเรียนคนที่ 2 (ม.5) เปนเลขานุการคณะกรรมการ สภานักเรียนโดยตําแหนง ขอ 13 ตําแหนงคณะกรรมการสภานักเรียน ตําแหนงอื่น ใหใชวิธีการ ตามขอ 7 หมวดที่ 6 วาระคณะกรรมการสภานักเรียน ขอ 14 ใหคณะกรรมการสภานักเรียนอยูในวาระคราวละ 1 ปการศึกษา ขอ 15 ใหจัดการประชุมตามวาระที่ดํานงตําแหนง ทุกวันศุกรสุดทายของเดือน หมวดที่ 7 ที่ปรึกษาคณะกรรมการสภานักเรียน ขอ 16 ทปรี่กษาคณะกรรมการสภานึกเรัยนี ไดแก คร-ูอาจารยท ไดี่รบการแตังตงั้ จากทางโรงเรยนี ขอ 17 ที่ปรึกษาคณะกรรมการสภานักเรียนอยูในวาระคราวละ 1 ปการศึกษา ขอ 18 ทปรี่กษาคณะกรรมการสภานึกเรั ยนให ีมาจากการเลอกสรรของรองผือู ํานวยการกลมุ บริหารงานบุคคล ขอ 19 หวหนัาสถานศกษาึ รองผอูํานวยการกลมบรุหารวิชาการิ รองผอูํานวยการกลมบรุหารทิ วไป ั่ รองผอูําวยการกลมบรุ หารงบประมาณ ิ และรองผอูํานวยการกลมบรุหารงานบิ คคลเปุนท ปรี่กษาึ โดยตําแหนง ขอ 20 คณะกรรมการทปรี่กษาสภานึกเรัยนมีหนีาท ใหี่ค ําปรกษาึ แนะนํา รวมกนแกั ไขป ญหา และดําเนนงานริวมกบคณะกรรมการสภานักเรัยนี และงานอนื่ๆ ทไดี่รบมอบหมายจากโรงเร ัยนี หมวดที่ 8 บทบาทของสภานักเรียน ขอ 21 ใหคณะกรรมการสภานักเรียนปฏิบัติหนาที่ดังนี้ (1) เปนผูนําในการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสวนรวมตามหลักธรรมาภิบาล (2) ปกปองคุมครองสิทธิเสรีภาพของตนเองและเพื่อนนักเรียน โดยใชกระบวนการ ประชาธิปไตยและแนวทางสันติวิธี คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 175


(3) สงเสรมิ สนบสนันและมุสีวนร วมในท กกุจกรรมทิ เปี่นประโยชน ตอนกเรัยนและสีวนรวม (4) สืบสานความรู ภูมิปญญา อนุรักษวัฒนธรรมและเอกลักษณของชาติ (5) เปนผูนําเพื่อการมีสวนรวมในกิจกรรมของชุมชนและสังคม (6) ประสานและปฏิบัติงานรวมกับทุกหนวยงาน องคกรชุมชนตาง ๆ (7) รณรงคใหนักเรียนทําความดีเพื่อเปนประโยชนตอโรงเรียน (8) ปฏิบัติตามคานิยมหลัก 12 ประการของรัฐบาล หมวดที่ 9 หนาที่ของคณะกรรมการสภานักเรียน ขอ 22 ใหคณะกรรมการสภานักเรียนปฏิบัติหนาที่ดังนี้ (1) ดูแลทุกข สุข ของนักเรียน และรวมแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในโรงเรียน (2) ประสานงานกับบุคลากร และหนวยงานที่เกี่ยวของในดานตาง ๆ เพื่อประโยชน และความกาวหนาที่นักเรียนควรไดรับ (3) รับผิดชอบงานและกิจกรรมตาง ๆ ตามที่ไดรับมอบหมายจากโรงเรียน (4) คดริเริ มโครงการท ิ่เปี่นประโยชน  สามรถปฏบิตัไดิจรงิ และสงผลตอการพ ฒนาโรงเร ัยนี (5) ดแลสอดสูอง และบรหารจิดการทรัพยากรทัมี่อยี ในโรงเรู ยนให ีเก ดประโยชน ิอยางคมคุา (6) ประชาสมพันธัขอมลขูาวสารท เปี่นประโยชน  ทนตัอเหตการณุ และตรงไปตรงมา (7) เสนอความคดเหินต็ อโรงเร ยนี ในการพฒนาคัณภาพการเรุยนการสอนเพีอพื่ฒนาั โรงเรียนในดานตาง ๆ (8) วางแผนดําเนินงานกิจกรรมตาง ๆ รวมกับครูที่ปรึกษา (9) ปฏิบัติงานโดยไมขัดหรือแยงกับระเบียบ หรือขอบังคับอื่นใดของทางราชการ พรอมทงตั้องร กษาไว ัซงศึ่ลธรรมี วฒนธรรมั และขนบธรรมเนยมประเพณ ีอีนดังามี 176 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


หมวดที่ 10 การพนจากตําแหนงของสภานักเรียน ขอ 23 ใหสภานักเรียนพนจากตําแหนงหนาที่ดังนี้ (1) ครบวาระ 1 ป (2) ลาออก (3) เสียชีวิต (4) ยายโรงเรียน (5) ที่ประชุมสภานักเรียนลงมติ 2 ใน 3 ใหลาออก (6) ประธานลาออกจากตําแหนง ใหรองประธานคนที่ 1 รักษาการจนครบวาระ หมวดที่ 11 บทเฉพาะกาล ขอ 24 ระเบียบการเลือกตั้งคณะกรรมการสภานักเรียน ใหใชตามระเบียบของสํานักงาน คณะกรรมการการเลือกตั้งและรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 ขอ 25 การเปลี่ยนแปลงแกไขระเบียบนี้ จะทําไดในกรณีตอไปนี้ (1) หัวหนาสถานศึกษามีอํานาจแกไข หากพิจารณาเห็นสมควรปรับปรุง ระเบียบ ใหสอดคลองกับสภาพปจจุบัน และปญหาความขัดของ ที่อาจเกิดขึ้น (2) ในการปฏบิตัตามระเบิยบนีหากเกี้ดปิญหาขอขดขั องประการใดให คณะกรรมการ สภานกเรัยนี คณะกรรมการทปรี่กษาึ คณะกรรมการกลมบรุหารงานบิ คคลของโรงเรุยนรี วมประช มุ ปรึกษาหารือเสนอแนวทางแกไขตอทางโรงเรียนเพื่ออนุมัติใหดําเนินการแกไขตอไป ประกาศ ณ วันที่ 9 มีนาคม 2563 (นางสาวกรรณิกา ไผทฉันท) ผูอํานวยการโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 177


สมาคมศษยิเกาสตรศรีสีรุโยท ิยัเดมชิอวื่าศรสีรุโยท ิยสมาคมั ไดเรมกิ่อตงขั้นเมึ้อื่วนทั 15 ี่มนาคมี 2498 เพอให ื่ศษยิเกามสีวนรวม กิจกรรมของโรงเรียน โดยเขามามีสวนรวมรับรูแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นระหวางโรงเรียนและศิษยเกา ชื่อยอของสมาคม “ส.ศ.ท.” มีสํานักงานของสมาคมตั้งอยูที่โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เลขที่ 1 ซอยเจริญกรุง 57 ถนนเจริญกรุงแขวงยานนาวาเขตสาทรกรุงเทพมหานคร 10120 วัตถุประสงคของสมาคม ขอที่ 1. เพื่อสงเสริมความสัมพันธอันดีระหวางศิษยเกา ครูอาจารย นักเรียนและ นักศึกษาผูใหญโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย ขอที่ 2. เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานของโรงเรียนใหสําเร็จลุลวงไปดวยดี ขอที่ 3. เพื่อสงเสริมการศึกษา การอาชีพแกสมาชิก และนกเรั ียน ขอที่ 4. เพื่อเผยแพรชื่อเสียง เกียรติคุณของโรงเรียนและสมาชิก ขอที่ 5. เพื่อรวมกันบรรเทาสาธารณภัยตามโอกาส ขอที่ 6. เพื่อดําเนินกิจกรรมอื่น ๆ ที่เปนประโยชนไมขัดตอศีลธรรม กฎหมาย และ ไมเกี่ยวของกับการเมือง กิจกรรมของสมาคม ขอที่ 1. จัดกิจกรรมเพื่อเสริมสรางความสัมพันธอันดีระหวางศิษยเกากับโรงเรียน ขอที่ 2. จัดกิจกรรมสงเสริมการศึกษาและการอาชีพ ขอที่ 3. จัดกิจกรรมบรรเทาสาธารณภัย ขอที่ 4. จัดกิจกรรมอื่น ๆ ที่จะสงเสริมใหสมาคมไดดําเนินการตามวัตถุประสงค สมาชิกของสมาคมมี 2 ประเภท แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1. สมาชกกิตติมศิกดั ิ์ไดแก บคคลผุมูอีปการคุณแกุสมาคมหร อโรงเร ืยนซีงคณะกรรมการึ่ บริหารของสมาคมไมนอยกวากึ่งหนึ่งลงมติเห็นชอบใหเชิญเปนสมาชิกกิตติมศักดิ์และผูนั้น ไดยอมรับ สมาชิกกิตติมศักดิ์ไมตองเสียคาบํารุงและคาลงทะเบียน สมาคมศิษยเก‹าสตรีศรีสุริโยทัย (ส.ศ.ท.) 178 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


2. สมาชิกสามัญ ไดแก 2.1 สมาชิกสามัญประเภท กไดแกศิษยเกาของโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัยศิษยเกา ของโรงเรียนสตรีวัดสุทธิวราราม ศิษยเกาของโรงเรียนสตรีบานทวาย ศิษยเกาของโรงเรียน ผูใหญสตรีศรีสุริโยทัย 2.2 สมาชิกสามัญประเภท ข ไดแกผูบริหารสถานศึกษา ครูอาจารยโรงเรียน สตรศรีสีรุโยท ิยัทปฏี่บิตัิหรอเคยปฏ ืบิตัราชการอยิูณโรงเรยนสตรีศรีสีรุโยท ิยั เปนสมาชกสามิญั สมาชิกตองประกอบดวยคุณสมบัติตอไปนี้ 1. ไมเปนผูที่ศาลสั่งใหเปนบุคคลไรความสามารถ เสมือนไรความสามารถหรือบุคคล ลมละลาย 2. เปนผทูมี่ความประพฤต ีดิ ีไมเคยกระท ําความผดิ ตองค ําพพากษาถิงทึสี่ดใหุลงโทษ  จําคุกเวนแตความผิดลหุโทษหรือความผิดที่ไดกระทําโดยประมาท แตในกรณีพิเศษให คณะกรรมการบริหารพิจารณายกเวนคุณสมบัติขอนี้เปนรายบุคคลโดยลงมติเปนเอกฉันท 3. ไมเปนผูมีหนี้สินลนพนตัว 4. ไมเปนโรคติดตอรายแรงหรือเปนที่รังเกียจของสังคม การสมัครเขาเปนสมาชิก การเขาเปนสมาชกิ ใหยนคื่ําขอเปนลายลกษณัอกษรหรัอยื นโดยว ื่ธิการทางอีเลิกทรอน็กสิ  ตามที่สมาคมกําหนดตอนายทะเบียนโดยมีสมาชิกรับรองไมนอยกวา 2 คน เมื่อนายทะเบียน ของสมาคมไดรบคั ําขอเปนสมาชกแลิวตองประกาศรายช อผื่สมู ครไว ั ณ สํานกงานของสมาคมั หรือชองทางการสื่อสารอื่น ๆ ที่สมาคมกําหนดไมนอยกวา 15 วัน แลวใหเลขานุการสมาคม นํารายชื่อผูสมัครเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร เพื่อพิจารณารับเขาเปนสมาชิก เมอคณะกรรมการบรื่หาริมมตีริบผั ใดเขู าเปนสมาชกแลิ วให ถอวืาผนู นเป ั้นสมาชกของสมาคมิ การขาดจากสมาชิกภาพ (1) ตาย (2) ลาออก (3) ขาดคุณสมบัติของการเปนสมาชิก (4) ฝาฝนระเบียบขอบังคับของสมาคม หรือประพฤติในทางที่อาจนําความเสื่อมเสีย มาสูสมาคม และคณะกรรมการบริหารมีมติเปนเอกฉันทใหออกจากสมาชิก คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 179


ที่ตั้ งั้: ณ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เลขที่ 1 ซอยเจริญกรุง57 ถนนเจริญกรุง (ซอยดอนกุศล) แขวงยานนาวา ขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. 0-2211-0383 . 0-2211-0383 ตอ 111 โทรสาร 0-2675-9136 0-2675-9136 ผอ.กรรณิกา ไผทฉันท อุปนายกสมาคมที่ 1 น.ส.นุชจรี ภูสีเงิน เลขานุการ น.ส.กิรติยา จุปติ นายทะเบียน นางสุดารัตน กมลกุลาจารย อุปนายกสมาคมที่ 3 น.ส.สุดา บุญชูจรัส อุปนายกสมาคมที่ 2 น.ส.จันทนา เกื้อเกียรติงาม นายกสมาคม น.ส.ศิวพร ดิลกโกมล เหรัญญิก สมาคมศิษยเก‹าสตรีศรีสุริโยทัย (ส.ศ.ท.) 180 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


สมาคมผูŒปกครองและครูสตรีศรีสุริโยทัย (ส.ผ.ศ.ท.) สมาคมผูปกครองและครูสตรีศรีสุริโยทัย ไดเริ่มกอตั้ง พ.ศ. 2520 โดยไดจัดตั้ง คณะกรรมการสายสัมพันธบานกับโรงเรียน เพื่อใหผูปกครองมีสวนรวมในการดําเนินงาน แกปญหาตาง ๆ เพราะปจจุบันการที่โรงเรียนจะดําเนินงานตาง ๆ แตเพียงฝายเดียวงาน ยอมบรรลุผลไดยากจะตองอาศัยความรวมมือจากผูปกครอง ที่จะเขามามีสวนรับรู แลกเปลี่ยนความคิดเห็นปรึกษาหารือในการอบรมสั่งสอนเด็กอยางใกลชิด ดังนั้น กรรมการสายสัมพันธบานกับโรงเรียน จึงไดเกิดขึ้นและเปนพื้นฐานของการกอตั้งสมาคม ผูปกครองและครูสตรีศรีสุริโยทัย ชื่อยอของสมาคม “ส.ผ.ศ.ท.” ใชชื่อภาษาอังกฤษวา “Satri Si Suriyothai Parents and Teachers Association” ชื่อวา “S.P.T.A” มสีานํ กงานใหญ ัตงอยั้ ูณ โรงเรยนสตรีศรีสีรุโยท ิยั เลขท 1 ี่ถนนเจรญกริงุ ซอยเจรญกริงุ 57 (ซอยดอนกุศล) แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 วัตถุประสงคของสมาคม 1. เพื่อสงเสริมความสัมพันธอันดีระหวางผูปกครองและครู ใหเกิดความรวมมือ ดานการศึกษา ศีลธรรม วัฒนธรรม และสวัสดิภาพของนักเรียน 2. เพื่อใหผูปกครองและครูรวมมือกันอยางใกลชิดในการอบรมนักเรียนและแลกเปลี่ยน ความร ูความคดิ ประสบการณในการแก  ปญหา เพอพื่ฒนานักเรั ยนให ี เปนพลเมองดื ี ของชาติ 3. เพอสื่งเสรมและสนิบสนั นโรงเรุยนให ีสามารถด ําเนนงานในด ิานตางๆใหสําเรจล็ลุวง ดวยดีและใหเปนสถาบันที่กอประโยชนแกสังคม 4. เพื่อดําเนินกิจกรรมตางๆ อันมีผลสงเสริมการศึกษา สันทนาการ และสวัสดิการ แกนักเรียน 5. เพื่อใหบริการแกสมาชิกตามความเหมาะสม คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 181


สมาชิกสมาคมผูปกครองและครูสตรีศรีสุริโยทัย 1. สมาชกกิตติมศิกดั ไดิ์แกผทรงคูณวุฒุหริอผืมูอีปการคุณตุอสมาคมหร อโรงเร ืยนี ซงึ่ คณะกรรมการของสมาคมที่เขาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งเห็นชอบใหเชิญเขาเปนสมาชิก 2. สมาชิกสามัญ ไดแก 2.1 ผูที่เปนหรือเคยเปนผูปกครองนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย 2.2 ผูที่เปนหรือเคยเปนครูโรงเรียนสตรีศรีสุริโยโทัย 2.3 ผูที่เปนนักเรียนเกาของโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย สมาชิกสามัญตองมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1. บรรลุนิติภาวะ 2. มีความประพฤติดี 3. ไมเปนโรคติดตอรายแรงหรือเปนที่รังเกียจของสังคม 4. ไมเปนผูมีหนี้สินลนพนตัว 5. ไมเปนผูตองโทษจําคุกตามคําพิพากษาของศาล การสมัครเปนสมาชิก ผูสมัครตองยื่นใบสมัคร ตามแบบฟอรมที่สมาคมกําหนดขึ้นตอนายกสมาคมพรอมทั้ง ชําระคาสมาชิกรายป 500.- บาท (หารอยบาทถวน) ผลงานในดานตางๆ ทสมาคมได ี่ด ําเนนไปน ินั้ คณะกรรมการไดตงใจให ั้เกดความมินคงั่ และเขมแข็ง เพื่อที่จะรักษาพลังสามัคคีและพยายามที่จะโอนออนผอนปรนเขาหากันดวย ไมตรีจิตอยางดี พรอมที่จะมีการเสียสละกําลังกาย กําลังทรัพย และเวลา เพื่อชวยกัน อบรมใหนักเรียนเปนคนดีและเปนอนาคตของประเทศชาติสืบตอไป ตั้ง : ณ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย เลขที่ 1 ซอยเจริญกรุง 57 ถนนเจริญกรุง (ซอยดอนกุศล) แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. 0-2211-0383, 0-2211- 9850 โทรสาร 0-2211- 9937 182 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


นายสมหมาย ตันฤทธิ์สําเริง อุปนายกสมาคมที่ 1 นางสมศรี บุญยะปานะสาร เลขานุการ น.ส.ปารมีย ธีระพงษพรหม อุปนายกสมาคมที่ 2 นางพจนา สถาพรวจนา เหรัญญิก ผอ.กรรณิกา ไผทฉันท อุปนายกสมาคมที่ 3 น.ส.สุจิตรา นาโค สาราณียกร นายเอกรักษ สะอาดถิ่น นายทะเบียน สมาคมผูŒปกครองและครูโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 183


นับตั้งแตโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัยไดกอตั้งมาจนถึงปจจุบันเปน เวลา 100 ป และสงทิ่เดี่นไปพร ิอมๆกบโรงเร ัยนี คอพลืงแหังความสามคคั ี ของผูปกครอง คณะครู-อาจารย ศิษยเกาและศิษยปจจุบันที่รวมมือ รวมแรงและร วมใจก นพั ฒนาโรงเร ั ยนให ีกาวไกลและน  ําไปสความเปูนสากล มูลนิธิผูปกครองและครูสตรีศรีสุริโยทัย ซงมึ่สมาคมตีางๆ ของโรงเรยนและมีลนูธิโดยเฉพาะม ิลนูธิผิปกครองและครูสตรูศรีสีรุโยท ิยั ซงเนึ่น ถงวึตถั ประสงคุของการดาเนํนงานคิอชืวยสงเสรมนิกเรัยนี สงเสรมคริอาจารยู ตลอดจนรวมกจกรรมิ กับทางโรงเรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา มูลนิธิผูปกครองและครูสตรีศรีสุริโยทัย ไดเริ่มกอตั้งปพ.ศ. 2526 และเรียกชื่อยอ ม.ผ.ศ.ท. และใชชื่อภาษาอังกฤษวา “Satri Si Suriyothai Parents and Teacher Foundation” ใชชื่อยอวา “S.P.T.F.” โดยมีสํานักงานของมูลนิธิ ตั้งอยูที่โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัยเลขที่ 1 เจรญกริงุ 57 (ซอยดอนกศลุ ) ถนนเจรญกริงุ เขตสาทร กรงเทพมหานครและมุลนูธินิมี้เครีองหมายื่ ดงนั ี้ มลนูธินิมี้เครี องหมายเป ื่นร ปโลู  ประกอบดวยมอสองขื างประคองพระร  ปสมเดูจพระส็รุโยท ิยั ทรงพระแสงของาวประทับเหนือพระคชาธาร สวนบนของโลมีชื่อมูลนิธิเปนภาษาไทยวา “มูลนิธิ ผูปกครองและครู สตรีศรีสุริโยทัย” และใตลงมามีอักษรยอ “ม.ผ.ศ.ท.” วัตถุประสงคในการจัดตั้งมูลนิธิ เพอสื่งเสรมสนิบสนั นโรงเรุยนในการด ีาเนํนงานเพิอพื่ฒนาการศักษาึ เชน การจดซัอวื้สดัอุปกรณุ ทจี่าเปํนทางการศกษาึ การสงเสรมความริของครูและนูกเรัยนี สงเสรมสวิสดัการของนิกเรัยนและครีู ใหทุนสงเคราะหนักเรียนที่ขาดแคลนอาหารกลางวันและทุนการศึกษา ตลอดจนใหความรวมมือ กับองคการกุศลอื่น ๆ เพื่อสาธารณประโยชน สําหรับตําแหนงของประธานมูลนิธิฯ ตั้งแตอดีต-ปจจุบัน คือ นายกมล ศรีภูมิปรีชานนท การดําเนินงานของมูลนิธิฯ 1. อนุมัติใชเงินมูลนิธิเพื่อชวยเหลือและสงเสริมในการดําเนินงานในทุนปการศึกษา 2. อนุมัติเงินมูลนิธิเพื่อใหทุนสงเคราะหแกนักเรียนที่ขาดแคลนทุนทรัพย 3. อนุมัติเงินชวยเหลือนักเรียนที่ประสบอัคคีภัย ผลงานในดานตาง ๆ ที่สมาคมไดดําเนินไปนั้นคณะกรรมการไดตั้งใจทําใหเกิดความมั่นคง เพื่อที่จะรักษาพลังสามัคคี มีความโอนออนผอนปรนเขาหากันดวยไมตรีจิตอยางดีตลอดจนมีการ เสียสละกําลังกายกําลังทรัพยและยังไดชวยอบรมเด็กใหเปน “ลูกดี ศิษยดีและพลเมืองดี” รวบรวมโดย เลขานุการมูลนิธิผูปกครองและครูสตรีศรีสุริโยทัย น.ส.อริสา กํ่าแกง 184 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


มูลนิธิโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัยตั้งอยูในยานชุมชนหนาแนน มีนักเรียนเขามาศึกษาเลาเรียน เปนจํานวนมากทุกป และนักเรียนสวนหนึ่งเปนนักเรียนที่มีปญหาดานเศรษฐกิจ ทางโรงเรียน จึงหาทางชวยเหลือโดยการใหทุนสงเคราะหทุกป ซึ่งทุนนั้นไดรับความอนุเคราะหจากอดีตทาน ผบรูหาริ เชน คณหญ ุงประยงค ิ ุถองดกิจฉการิ , คณหญ ุงกรองแกิว ปทมมานนทุ , อาจารยญาณ ี บญยุนทิ ุเปนตน และครอาจารยู ญาตมิตรของคริอาจารยู ศษยิเกาผ ปกครองน ูกเรัยนี รวมทงั้ บุคคลภายนอก ทางโรงเรียนมีความเกรงใจผูมีจิตเมตตาทุกทานจึงไดกอตั้งมูลนิธิขึ้น โดยไดรับ การสนับสนุนจากครูอาจารยเปนอยางดี มลนูธิเริมกิ่อตงเมั้อวื่นทั 24 ี่พฤศจกายนิ 2520 โดยอดตผีอูานวยการจงกลํ วทยาธิกรณศิกดั ิ์ ดวยเงินทุนจดทะเบียนจํานวน 113,435.43 บาท มีชื่อวา “มูลนิธิโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย” ใชอกษรยัอวา “ม.ศ.ท.” ใชชอเป ื่นภาษาองกฤษวัา “Satri SiSuriyothai School Foundation” ใชอักษรยอวา “SFS” มีเครื่องหมายของมูลนิธิฯเปนรูปสมเด็จพระสุริโยทัยทรงพระคชาธาร มอีกษรไทยว ัา “มลนูธิโรงเร ิยนสตรีศรีสีรุโยท ิยั”อยภายในกรอบส ูวนลาง สานํกงานของมัลนูธิฯิ อยทูโรงเร ี่ยนสตรีศรีสีรุโยท ิยั เลขท 1ี่ซอยเจรญกริงุ 57 (ดอนกศลุ ) ถนนเจรญกริงุ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร วัตถุประสงคในการจัดตั้งมูลนิธิฯ เพื่อชวยเหลือและสงเสริมการศึกษานักเรียนที่ขัดสนที่มีความประพฤติดีของโรงเรียน สตรีศรีสุริโยทัยเพื่อศึกษาเลาเรียนในโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย ตลอดทั้งเครื่องแบบอุปกรณ การศึกษาและคารักษาพยาบาล ตําแหนงประธานกรรมการมลนูิธิตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน นางจงกล วิทยาธิกรณศักดิ์ โดยมีนางสมศรี บุญยะปานะสาร เปนประธานมูลนิธิคนปจจุบัน การดําเนินงานของมูลนิธิฯ คณะกรรมการดําเนินการประชุมปการศึกษาละ 1 ครั้ง เพื่อจัดสรรเงินดอกผลอันเกิด จากทรัพยสินที่เปนทุนของมูลนิธิฯ ใหกับโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย จัดเปนทุนสงเคราะหใหกับ นกเรัยนที กปุ แตงตงผั้ตรวจสอบบูญชัเพีอรื่บรองงบแสดงฐานะการเงันทิ กปุ เพอรายงานเขตสาทรื่ ผลการดําเนินงานตาง ๆ ที่มูลนิธิฯ ดําเนินการนั้น ไดรับเงินทุนสนับสนุนจากอดีต ผูบริหารโรงเรียน ครู - อาจารย ศิษยเกา ผูปกครองนักเรียนรวมทั้งบุคคลภายนอกเปนอยางดี ทางมูลนิธิฯ ขอขอบคุณในความเมตตาที่มีตอนักเรียน ทําใหนักเรียนไดมีโอกาสพัฒนาตนเอง ไดเต็มตามศักยภาพของตน รวบรวมโดย เลขานุการมูลนิธิผูปกครองและครูสตรีศรีสุริโยทัย น.ส.สมพร ฉํ่าเอี่ยม คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 185


คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 187 ÀÒ¤¼¹Ç¡


โรงเรียนศรีสุริโยทัย นามพระนางยิ่งใหญสมัยอยุธยา เรานักเรียนภูมิใจหนักหนา จะรักษาเกียรติงามความดีสมชื่อ เราจะอบรมใหสมกุลสตรีการเรียนการดนตรีกีฬา และการฝมือ ประพฤติตนใหคนเชื่อถือ เกียรติระบือนามโรงเรียนศรีสุริโยทัย ศรีสุริโยทัย เราเคยไดสุขสันต วิญญาณรักรวมกัน ผูกสัมพันธตรึงใจ เลือดพี่นองศิษยศรี จะไมมีเปลี่ยนไป รักเคยรื่นชื่นใจ ยังจําไดไมลืม จะอยแหูงหนใด รักยังซึ้งใจดูดดื่ม ศรีเอยอาลัย หวงใยไมลืม ปลาบปลื้มวิญญา ภาพเตือนใจใฝฝน แววเสียงนั้นเรียกหา มาเถิดนะแกวตา อยาลืมมาสูรัง ๆ ๆ ๆ ๆ เพลงประจําโรงเรียน เพลงอย‹าลืมรัง พันตรีศรีโพธิ์ ทศนุต อดีตอาจารย ีตอาจารยสอนดนตร สอนดนตรีสากลของโรงเร ีสากลของโรงเรียน เปนผู ปูระพันธเนื้ อื้รองและทํานองเพลง ํานองเพลง 188 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


ศรีสุริโยทัยสถิตยอยูในใจเราทั่วกัน โรงเรียนเราเหมือนบานในฝน รมรื่นสุขสันตสะอาดตา ราชานุสาวรียสมเด็จพระสุริโยทัยงามสงา โรงเรียนดีเดนดานการศึกษา ดานภาษา ดานดนตรี ดีเดนผูบริหารเดนครูอาจารยสงศักดิ์ศรี ศิษยครูมั่นรักความสามัคคี มุงการทําความดีตลอดมา (*) ศรีสุริโยทัยสถิตยอยูในใจปวงประชา โรงเรียนเราเสริมสงปญญากาวหนาสืบมาเปนหลักชัย แนวทางสรางยุวชนเพื่อใหทุกคนไดมีความรูกวางไกล สรางสรรคประโยชนตอสังคมไทย สรางนิสัยสรางคุณคา เปนแหลงที่ควรเชิดชู ปลูกฝงความรูและศรัทธา สรางความเจริญรุงเรืองกาวหนา เพียบพรอมวิชาที่รํ่าเรียน (ซํ้า) เพลงศรีส ุ ริโยทัยของเรา คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 189


คําสั่งโรงเรียนสตรีศรีส ั่ งโรงเรียนสตรีศรีสุ ริโยท ุ ิโยทัย ที่ 72/2566 72/2566 เรื่ อ่ง แตงตั้งคณะกรรมการจ ั้ งคณะกรรมการจัดทําหนังสือคูมือนักเรียนและผ ักเรียนและผู ปูกครอง ปการศึกษา การศึกษา 2566 ดวยโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัยจัดทําคูมือนักเรียนและผูปกครอง ปการศึกษา 2566 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหนักเรียนและผูปกครองมีความเขาใจเรื่องโรงเรียน หลักสูตร การจดการเรัยนการสอนี กฎระเบยบี ขอบงคับั และแนวปฏบิตั ิรวมถงสึงอิ่ํานวยความสะดวก ประเภทตาง ๆ ที่โรงเรียนจัดใหกับนักเรียน เพอให ื่การด ําเนนงานเป ิ นไปด วยความเรยบรีอย บรรลตามวุตถั ประสงคุ อาศยอั ํานาจ ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 มาตรา 39 พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พุทธศักราช 2547 มาตรา 27 (1) คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ 37/2546 จึงแตงตั้ง คณะกรรมการดําเนนงานิ ดังตอไปนี้ คณะกรรมการอํานวยการ 1. นางสาวกรรณิกา ไผทฉันท ประธาน 2. นายพิชัย ลิ้มเฉลิม รองประธาน 3. นายสมบัติเอกเชี่ยวชาญ กรรมการ 4. นางจิราภรณเข็มทอง กรรมการ 5. นางสาวคนัฑฐิณีหมื่นโฮง กรรมการและเลขานุการ 190 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


คณะกรรมการดําเนินการ 1. นายพิชัย ลิ้มเฉลิม ประธาน 2. นางสาวคนัฑฐิณีหมื่นโฮง รองประธาน 3. นางสาวสุรียเครือประสิทธิ์กรรมการ 4. นายโอภาศ ชื่นบานเย็น กรรมการ 5. นางสาวกาญจนา นาชัยเริ่ม กรรมการ 6. นางสาวพรรณนภา กําบัง กรรมการ 7. นายเอกรักษสะอาดถิ่น กรรมการ 8. นางสาวนิรัญญา นุยพานิช กรรมการ 9. นางสาวปทุมพร กาญจนอัตถกรรมการ 10. นางสาวณิชาภัทร ใสสุชล กรรมการ 11. นางสาวสุจิตรา นาโค กรรมการ 12. นางสาวพรพมลจิ ันทอง ฆองทองชัย กรรมการ 13. นางสาวเกณิกา บริบูรณกรรมการ 14. นางสาวสุภัทรา วงศเลิศอารักษกรรมการ 15. นางสาวนุชจรีภูสีเงิน กรรมการ 16. นายเจตรินทรขาวนุย กรรมการ 17. นางสาวสิริธร รมยราช กรรมการ 18. นายสุทธิพงษสุขมัย กรรมการ 19. นางสาวดวงสุรียจันทรสอง กรรมการ 20. นางสาวกุลนิษฐเทพมูล กรรมการ 21. นางสาวอริสา กํ่าแกง กรรมการและเลขานุการ 22. นางเสาวณียรกษั เธียรมงคล กรรมการและผูชวยเลขานุการ คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 191


มีหนาที่ 1. ประชมคณะกรรมการดุาเนํนงานเพิอกื่าหนดแนวทางการจํดทัาหนํงสัอคืมูอนืกเรัยนี 2. รวบรวมขอมลู ระเบยบแนวปฏ ีบิตัของกลิมบรุหารวิชาการิ กลมบรุหารงบประมาณ ิ กลุมบริหารงานบุคคล กลุมบริหารทั่วไปและขอมูลทั่วไป 3. ดําเนินการจัดทํารูปเลมเพื่อสงโรงพิมพ 4. พิสูจนอักษรหนังสือคูมือนักเรียน 5. จัดหนังสือคูมือนักเรียนใหกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 และ 4 ปการศึกษา 2566 ทั้งนี้ ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป สั่ง ณ วันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2566 (นางสาวกรรณิกา ไผทฉันท) ผูอํานวยการโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย 192 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


Click to View FlipBook Version