The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เจตรินทร์ ขาวนุ้ย, 2023-08-11 00:03:03

คู่มือนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย 2566

คู่มือนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย 2566

อยางตอเนื่อง โดยเฉพาะการนําไปใชในชีวิตประจําวันและประเมินผลสรุปเมื่อจบปสุดทาย ของแตละระดับการศึกษา ระดับ เกณฑการประเมิน ดีเยี่ยม (3) 1) ไดผลการประเมินระดับดีเยี่ยมจํานวน 5 - 8 คุณลักษณะ และไมมีคุณลักษณะใดไดผลการประเมินตํ่ากวาระดับดี ดี (2) 1) ไดผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จํานวน 1 - 4 คุณลักษณะและ ไมมีคุณลักษณะใดไดผลการประเมินตํ่ากวาระดับดี หรือ 2) ไดผลการประเมินระดับดีเยี่ยมจํานวน 4 คุณลักษณะ และ ไมมีคุณลักษณะใด ไดผลการประเมินตํ่ากวาระดับ ผาน หรือ 3) ไดผลการประเมินระดับดี จํานวน 5 - 8 คุณลักษณะ และ ไมมีคุณลักษณะใดไดผลการประเมินตํ่ากวาระดับ ผาน ผาน (1) 1) ไดผลการประเมินระดับผานทุกคุณลักษณะ หรือ 2) ไดผลการประเมินระดับดี จํานวน 1 - 4 คุณลักษณะ และ ไมมีคุณลักษณะใดไดผลการประเมินตํ่ากวาระดับ ผาน ไมผาน (0) ไดผลการประเมินระดับไมผาน ตั้งแต 1 คุณลักษณะขึ้นไป เกณฑพิจารณาสรุปผลการประเม ุปผลการประเมินคุณล ักษณะอันพ ันพึงประสงค การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมพัฒนาผูเรียน เปนกิจกรรมที่สถานศึกษาตองจัดใหผูเรียนทุกระดับชั้น เพื่อสงเสริมพัฒนาความสามารถของตนเองตามความถนัดและ ความสนใจ ใหเต็มศักยภาพ โดยมงเนุนการพฒนาองคั รวมของความเป นมนษยุทงดั้านรางกาย สตปิญญา อารมณและสงคมั สรางเยาวชนของชาต ใหิ เปนผมูศีลธรรมจรียธรรมิ มระเบียบวีนิยั ปลกฝูงและสรางจตสิานํกึ ของการทาประโยชน ํเพอสื่งคมและสามารถบรัหารการจิ ดการตนเองได ั กจกรรมพิฒนาผัเรูยนี แบงเปน 3 ลักษณะ ไดแก 1. กิจกรรมแนะแนว เปนกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาผูเรียนใหสอดคลองกับ ความสามารถ ความถนดและความสนใจ ั โดยคานํงถึงความแตกตึางระหวางบคคลุ ดวยกระบวนการ ทางจิตวิทยาการแนะแนว ใหสอดคลองครอบคลุมดานการศึกษา อาชีพสวนตัวและสังคม คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 99


กิจกรรมสําคัญในการปรับตัวดํารงชีวิต กิจกรรมแสวงหาและใชขอมูลสารสนเทศ กิจกรรม การตัดสินใจและแกปญหา เปนตน 2. กิจกรรมนักเรียน เปนกิจกรรมที่มุงพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเปนผูนํา ผูตามที่ดี ความรับผิดชอบ การทํางานรวมกัน การรูจักแกปญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การชวยเหลือแบงปนกัน เอื้ออาทรและสมานฉันท โดยจัดใหสอดคลองกับ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียน ใหผูเรียนไดปฏิบัติดวยตนเอง ในทุกขั้นตอน ไดแก การศึกษาวิเคราะหวางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุง การทํางาน เนนการทํางานรวมกันเปนกลุมตามความเหมาะสม และสอดคลองกับวุฒิภาวะ ของผูเรียน บริบทของสถานศึกษาและทองถิ่น กิจกรรมนักเรียนประกอบดวย 2.1 กิจกรรมเนตรนารี ยุวกาชาด ผูบําเพ็ญประโยชน เปนกิจกรรม ที่มุงพัฒนาความเปนระเบียบวินัย ความเปนผูนําผูตามที่ดี ความรับผิดชอบ การทํางาน รวมกนั การรจูกแกั ปญหา การตดสั นใจท ิเหมาะสมี่ ความมเหตีผลุ การชวยเหลอแบื งปนกนั การประนีประนอมเพื่อสงเสริมใหผูเรียนเจริญเติบโตเปนผูใหญที่มีความสมบูรณพรอมทั้ง ดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคมและสติปญญา เปนตน 2.2 กิจกรรมชุมนุม ชมรม เปนกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาผูเรียนใหสอดคลอง กับความสามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยเนนใหผูเรียนปฏิบัติดวยตนเอง ตั้งแต การศกษาวึเคราะหิวางแผน ปฏบิตัตามแผนิ ประเมนและปร ิ บปร ังการทุํางาน เนนการท ํางาน รวมกันเปนกลุม กิจกรรมสําคัญในการพัฒนา ไดแก ชุมนุมหรือชมรมตาง ๆ ที่สถานศึกษา กําหนดขึ้นตามความเหมาะสมและสอดคลองกับวุฒิภาวะของผูเรียนและบริบทของ สถานศึกษาและทองถิ่น 3. กจกรรมเพิอสื่งคมและสาธารณะประโยชน ั  เปนกจกรรมทิสี่งเสร มให ิผเรูยนได ีทาํ ประโยชนตามความสามารถ ความถนดและความสนใจ ั ในรปลูกษณะอาสาสมัครั เพอแสดงถื่งึ ความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละตอสังคม มีจิตใจมุงทําประโยชนตอครอบครัว ชุมนุมและสังคม กิจกรรมสําคัญไดแก กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน กิจกรรมสรางสรรคสังคม กิจกรรมดํารงรักษา สืบสานศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม กิจกรรมพัฒนานวัตกรรมและ เทคโนโลยีเพื่อสังคม เปนตน เวลาเรียนสําหรับกิจกรรมพัฒนาผูเรียนที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางในระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1-3 ปละ 120 ชั่วโมง และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 - 6 จํานวน 360 ชั่วโมง เปนเวลาสําหรับปฏิบัติกิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียนและกิจกรรมเพื่อสังคมและ 100 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


สาธารณะประโยชน ในสวนกจกรรมเพิอสื่งคมและสาธารณะประโยชน ั ใหสถานศกษาจึดสรรั เวลาใหผูเรียนดังนี้ ระดับมัธยมศึกษาปที่ 1-3 รวม 3 ป จํานวน 45 ชั่วโมง (เฉลี่ยปละ 15 ชั่วโมง) ระดับมัธยมศึกษาปที่ 4-6 รวม 3 ป จํานวน 60 ชั่วโมง (เฉลี่ยปละ 20 ชั่วโมง) การจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน สามารถนําไปสอดแทรก หรือ บูรณาการ ในกิจกรรม เนตรนาร ียุวกาชาด ผูบําเพ็ญประโยชนไดตามความเหมาะสม ทั้งนี้ การทํากิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชนใหผูเรียนรายงานแสดงการเขารวม กิจกรรมและมีผูรับรองการเขารวมกิจกรรมดวย เอกสารหลักฐานการศึกษา เอกสารหลกฐานการศักษาึ เปนเอกสารส ําคญทับี่นทักผลการเรึยนี ขอมลและสารสนเทศู ที่เกี่ยวของกับพัฒนาการของผูเรียนในดานตาง ๆ แบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด 1.1 ระเบียนแสดงผลการเรียน เปนเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผล การเรยนของผีเรูยนตามรายวีชาิ ผลการประเมนการอิาน คดวิเคราะหิและเขยนี ผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงคของสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน สถานศึกษาจะตองบันทึกขอมูลและออกเอกสารนี้ใหผูเรียนเปนรายบุคคล เมื่อผูเรียนจบ การศกษาภาคบึงคับั (ชนมั้ธยมศั กษาป ึท 3) ี่จบการศกษาขึนพั้นฐานื้ (ชนมั้ธยมศั กษาป ึท 6) ี่ หรอเมื ื่อลาออกจากสถานศึกษาในทุกกรณี 1.2 ประกาศนียบัตร เปนเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาเพื่อรับรองศักดิ์และสิทธิ์ ของผจบการศูกษาทึสถานศี่กษาให ึ ไวแกผจบการศูกษาภาคบึงคับั (ชนมั้ธยมศั กษาป ึท 3) ี่และ ผจบการศูกษาขึนพั้นฐานตามหลื้กสัตรแกนกลางการศูกษาขึนพั้นฐานื้ (ชนมั้ธยมศั กษาป ึท 6)่ี 2. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากําหนด เปนเอกสารทสถานศี่กษาจึดทัาขํนเพึ้อบื่นทักพึฒนาการั ผลการเรยนรี ูและขอมลสูาคํญั เกี่ยวกับผูเรียน เชน แบบรายงานประจําตัวนักเรียน แบบบันทึกผลการเรียนประจํารายวิชา ระเบียนสะสม ใบรับรองผลการเรียน และ เอกสารอื่น ๆ ตามวัตถุประสงคของการ นําเอกสารไปใช คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 101


โดยมีขอที่ตองใชในการพิจารณาเพิ่มเติมดังนี้ 1. ตองจบหลกสัตรมูธยมศั กษาป ึท 3 ี่กอนวนทั 25 ี่มนาคมี ของปการศกษาทึจบหลี่กสัตรู 2. ตองมีความประพฤติเรียบรอย และมีคะแนนพฤติกรรมตั้งแต 100 คะแนน ขึ้นไป หลักเกณฑการพิจารณานักเรียนที่จบ ม.3 ไดŒสิทธิเรียนต‹อ ม.4 โดยพิจารณาจากผลการเรียนเฉลี่ยสะสม ม.1-ม.3 (5 ภาคเรียน) แผน การเรียน ภาษาไทย คณิตศาสตร พื้นฐาน วิทยาศาสตร พื้นฐาน สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ พื้นฐาน ผลการเรียนเฉลี่ย ทุกวิชา ภาษา ตางประเทศ 2.00 2.00 2.00 2.00 2.25 2.50 ขึ้นไป คณิต-อังกฤษ 2.00 2.75 2.00 2.00 2.25 2.75 ขึ้นไป วิทย-คณิต 2.00 2.75 2.75 2.00 2.25 2.75 ขึ้นไป 102 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


งานแนะแนว เปนงานบริการที่จัดขึ้น สําหรับนักเรียนทุกคน มุงสงเสริมและพัฒนา นักเรียนใหรูจักตนเอง รูรักษสิ่งแวดลอม สามารถตัดสินใจ คิดแกปญหา กําหนดเปาหมาย วางแผนชีวิต ทั้งดานการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนไดอยางเหมาะสม และเปนงาน ที่ชวยเหลือและใหคําปรึกษาแกผูปกครองในการมีสวนรวมพัฒนานักเรียน ขอบขายงานแนะแนว 1. การแนะแนวดานการศึกษา มุงหวังใหผูเรียนพัฒนาการเรียนไดเต็มศักยภาพ รูจักแสวงหาความรูและแผนการเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพสามารถปรับตัวดานการเรียน และมีนิสัยใฝเรียนรู 2. การแนะแนวดานอาชพี ชวยให ผเรูยนรีจูกตนเองและโลกของงานอย ัางหลากหลาย มีเจตคติและนิสัยที่ดีในการทํางาน มีโอกาสไดรับประสบการณและฝกงานตามความถนัด ความสนใจ 3. การแนะแนวดานชีวิตและสังคม ชวยใหผูเรียนเขาใจตนเอง รักและเห็นคุณคา ในตนเองและผูอื่น มีอารมณมั่นคง มีมนุษยสัมพันธที่ดี เขาใจสิ่งแวดลอมและสามารถ ปรับตัวใหดํารงชีวิตอยูในสังคมอยางเปนสุข งานแนะแนว ขอมูลผูเรียนรายบุคคล แนะแนวดานการศึกษา แนะแนวดานอาชีพ แนะแนวดานชีวิตและสังคม คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 103


บริการสํารวจขอมูล บริการติดตาม และประเมินผล งานแนะแนวประกอบดวย 5 บริการหลักดังนี้ บริการใหคําปรึกษา บริการสารสนเทศ บริการจัดวางตัวบุคคล 1. บริการรวบรวมขอมูล สํารวจขอมูลเกี่ยวกับตัวผูเรียนดวยวิธีการตาง ๆ โดยใช ระบบแนะแนว 4.0 การบันทึกขอมูลจาก 1.1 การสังเกต 1.2 การสัมภาษณ 1.3 แบบสอบถาม แบบทดสอบ 1.4 การเขียนอัตชีวประวัติ 1.5 สังคมมิติ 1.6 การเยี่ยมบาน ฯลฯ 2. บริการสารสนเทศ 2.1 รวบรวมขอมูลขาวสารทางดานการศึกษาและอาชีพ 2.2 จัดปายนิเทศใหความรูแกนักเรียนในดานตาง ๆ 2.3 ติดตอขอเอกสารและวิดิทัศนจากแหลงเรียนรูตาง ๆ 2.4 เชิญวิทยากรมาบรรยายใหความรูแกนักเรียน 2.5 จัดนิทรรศการแนะแนวการศึกษาตอและงานอาชีพ ฯลฯ 3. บริการใหคําปรึกษา 3.1 ใหคําปรึกษานักเรียนเปนรายบุคคลและเปนกลุม 3.2 ใหบริการแกผูปกครองและครูที่มาปรึกษาเกี่ยวกับปญหานักเรียน 3.3 สงนักเรียนไปรับการบําบัดจากผูเชี่ยวชาญ ในกรณีที่นักเรียนมีปญหาพิเศษ ที่เกี่ยวของทางดานจิตใจ 104 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


4. บริการจัดวางตัวบุคคล 4.1 จัดวางตัวครูและนักเรียน เพื่อนผูใหคําปรึกษา 4.2 จัดกิจกรรมแนะแนว 4.3 จัดวางตัวนักเรียนงานทุนการศึกษา 4.4 จัดวางตัวนักเรียนเกี่ยวกับโควตาการเรียนตอ 4.5 บริการจัดหารายไดระหวางเรียน และภาคฤดูรอน 5. บริการติดตามและประเมินผล 5.1 ติดตามผลนักเรียนที่จบการศึกษาจากโรงเรียน 5.2 ติดตามผลนักเรียนที่มารับคําปรึกษา 5.3 ติดตามผลนักเรียนที่ไดรับทุนการศึกษา 5.4 ติดตามผลการดําเนินการบริการแนะแนว การขอใชบริการแนะแนวที่หองแนะแนว นักเรียน ครู ผูปกครองสามารถจะรับบริการแนะแนวที่หองแนะแนวอยูที่ชั้น 1 อาคารเฉลิมพระเกียรตสมเดิ ็จพระสุริโยทัยไดในเวลาดังนี้ - ชวงเชากอนเขาเรียน - เวลาพักกลางวัน - หลังเลิกเรียน - เวลา 06.00-18.00 น. - รับบริการแนะแนวสวนตัวไดตลอด 24 ชั่วโมง คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 105


การบริการเปนหัวใจสําคัญของหองสมุด ซึ่งจําเปนตองจัดขึ้นเพื่อสงเสริมสนับสนุน การเรยนการสอนี ใหนกเรัยนรีจูกการศักษาคึนควาดวยตนเองและรกการเรัยนรีอยูางตอเนองื่ ตลอดชีวิต งานบริการของหองสมุด บริการสําหรับนักเรียน สําหรับครูสําหรับนักเรียน สําหรับชุมชน การยืม - คืนหนังสือ การสบคืนขอมลทางการศูกษาึ สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรม การศึกษา บริการพื้นฐาน ● การยืม - คืนหนังสือ ● แนะนําหนังสือที่นาอื่น ● ใหขอมูลการเขาใชหองสมุด เพื่อการคนควา ● กิจกรรมรักการอาน บริการสื่อเทคโนโลยี เพื่อการศึกษาคนควา ● Internet ● สื่อ / นวัตกรรมการเรียนรู การเผยแพรขาวสาร/ความรู ทที่นสมัยั และในการดําเนนชิวีติ ประจําวนให ักบชัมชนภายนอกุ กิจกรรมแบงปนการอาน สูชุมชนและครอบครัว บริการของหŒองสม ุ ด 106 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 107 ¡Å Ø ‹ ÁºÃÔËÒ÷ÑèÇä»


108 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


กลุมบริหารทั่วไปมีภาระหนาที่และขอบขายงานที่เนนการใหบริการและสนับสนุน สงเสริมกิจกรรมการเรียนการสอนใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ดังนี้ 1. งานอาคารสถานที่และสภาพแวดลอม 2. งานสารบรรณและธุรการ 3. งานสารสนเทศเพื่อการบริหาร 4. งานเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 5. งานประชาสัมพันธโรงเรียน 6. งานสํานักงานกลุมบริหารทั่วไป 7. งานควบคุมภายในกลุมบริหารทั่วไป 8. งานอนามัยโรงเรียน 9. งานโภชนาการโรงเรียน 10. งานยานพาหนะและยานยนต 11. งานสวัสดิภาพและการจราจร 12. งานโสตทัศนศึกษา 13. งานพัฒนาคุณภาพชีวิตและความปลอดภัย 14. กิจกรรมอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมแบบมีสวนรวม 15. กิจกรรมพัฒนาแหลงเรียนรูที่เหมาะสมตอการเรียนในศตวรรษที่ 21 16. กิจกรรมพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในกลุมบริหารทั่วไป 17. งานสารสนเทศกลุมบริหารทั่วไป 18. งานแผนงาน ติดตามและประเมินผลกลุมบริหารทั่วไป 19. กิจกรรมคลังความรูวิธีปฏิบัติที่เปนเลิศ งานอาคารสถานที่ และสภาพแวดลŒอม สถานที่ปฏิบัติงาน อาคารญาณี บุณยินทุ ชั้น 1 หมายเลขโทรศัพทภายใน 106 ภาระงาน ดําเนินการวางระบบควบคุมดูแล อํานวยความสะดวกในการใชอาคาร อาคารประกอบ หองเรยนี หองปฏ บิตัการิ และสภาพแวดลอมของโรงเร  ยนให ีมความปลอดภ ียั ถูกสุขลักษณะ เอื้อประโยชนตอการจัดการเรียนรูและกิจกรรมตาง ๆ ดําเนินงานซอมสราง บํารุงรักษาสิ่งปลูกสราง วัสดุครุภัณฑ ระบบสาธารณูปโภค ระบบประหยัดพลังงาน ระบบการจัดการสิ่งแวดลอม ระบบการรักษาความสะอาด ทั้งภายในและภายนอกอาคาร รวมถึง มาตรการในการรักษาความปลอดภัย และการปองกันอัคคีภัย คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 109


ท ี ่ ช ื ่ ออาคารอาคาร จ ํ านวน ตามแปลน (ไมรวมหองนํ้า) จ ํ านวน ห  องเร ี ยน จ ํ านวน ห องปฏิบัติการ ห  องสม ุ ด ห  องพ ั กคร ู ห  องอ ื ่ นๆ จ ํ านวน ห องประช ุ ม จ ํ านวน ห  องน ํ ้ า 1อาคารกรองทองส ุ ร ั สวด ี 3 29 15 7 1 2 4 - 17 2อาคารญาณีบุญยินทุ 4 30 12 4 - 3 10 1 5 3อาคารประกอบ (ฝกงาน) 5 12 - 6 - 4 2 - 2 4อาคารประกอบ (นักการ) 18 - - - 18 - - 18 5อาคารเฉลิมพระเกียรติ สมเด ็ จพระส ุ ร ิโยทัย 6 41 11 13 - 5 9 3 78 รวม 130 38 30 1 32 25 4 120 อาคารเร ี ยนและอาคารประกอบของโรงเรียนสตรีศรีส ุ ร ิโยทัยปจจ ุ บ ั นม ี อาคารเร ี ยน3 หลังและอาคารประกอบ 1 หลัง ด ังภาพประกอบ 1. อาคารญาณีบุญยินทุเปนอาคารเรียน 5 ชั้นแบบพิเศษ 2. อาคารกรองทองส ุ ร ั สวด ีเปนอาคารเรียน 5 ชั้นแบบพิเศษ 3. อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระส ุ ร ิโยทัยเปนอาคารเรียน 7 ชั้นแบบพิเศษมีหอประช ุ มค ุณหญ ิงประยงค ุ ช ั ้ น 7 และมีชั ้ น ใตดินเปนสถานที่จอดรถ 4. อาคารประกอบอาคารฝกงาน 4 ชั ้ นแบบพ ิ เศษร ู ปตัว L แต  ละอาคารม ี จ ํ านวนห  องต  างๆด ั งน ี ้ 110 คู‹ มือนักเรียนและผูŒปกครอง


หมายเลข ช ื ่ อ 1สนามฟ ุ ตบอล 2สนามวอลเลยบอล 3อาคารกรองทองส ุ ร ั สวด ี 4อาคารญาณีบุณยินทุ 5อาคารฝกงาน 6อาคารเฉลิมพระเกียรติ สมด ็ จพระส ุ ร ิโยทัย 7โรงอาหาร 8บานพักนักการ แผนผ ังอาคารโรงเรียนสตรีศรีส ุ ร ิโยทัย คู‹ มือนักเรียนและผูŒปกครอง 111


แผนผังหŒองเรียนประจําอาคาร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย แผนผังหองเรียนประจําอาคารโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย 4 อาคาร ดังนี้ 1. อาคารกรองทอง สุรัสวดี (อาคาร 3) 2. อาคารญาณี บุณยินทุ (อาคาร 4) 3. อาคารฝกงาน (อาคาร 5) 4. อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระสุริโยทัย (อาคาร 6) หมายเลขหองเรียนประจําอาคาร (3 หลัก) หลักที่ 1 ชื่ออาคาร หลักที่ 2 ชั้น หลักที่ 3 ลําดับหอง ตัวอยางการอานหองเรียนประจําอาคาร ตัวอยาง : หองเรียน 644 } เชน หองเรียน 332 หมายถึง อาคารกรองทอง สุรัสวดี ชั้น 3 หอง 2 112 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


แผนผังหองเรียนอาคารกรองทอง สุรัสวดี (อาคาร 3) ชั้น 1 311 - หองพักครูกลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา - หอง Fitness Room - รานคาสหกรณโรงเรียน - โรงอาหารนักเรียนและหองอาคารครู ชั้น 2 321 หอง E-LEARNING 1 322 - หองสมุดเฉลิมพระเกียีติกาญจนาภิเษก - หองสมุดอิเล็กทรอนิกส - หอง MINI THEATER ชั้น 3 331 ศูนยอาเซียนศึกษา 332-336 หองเรียนปกติ 5 หอง ชั้น 4 341 ศูนยพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย 342-346 หองเรียนปกติ 5 หอง ชั้น 5 351 ศูนยการเรียนรคณูิตศาสตร 352-356 หองเรียนปกติด 5 หอง คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 113


ชั้น 1 409 - กลุมบริหารงานบุคคล 410 กลุมบริหารงบประมาณ 411 - กลุมบริหารทั่วไป - หองผูอํานวยการ - หองประชาสัมพันธ 412 กลุมบริหารวิชาการ 413 หองทะเบียน-วัดผล 414 หองพยายาล ชั้น 2 421-422 หอง LANGUAGE LABORATORY 423 หองเรียน EP1 424 หองเรียน EP2 425 หองเรียน EP3 426 - หองกิจกรรมพัฒนาผูเรียน - งานพัฒนาสื่อนวัตกรรม ทางการศึกษา ชั้น 3 431 หองเรียน COM 1 432 หองเรียน COM 2 433 หองเรียน COM 3 434 หองพักครูงานคอมพิวเตอร ชั้น 4 441-444 หองเรียนพิเศษวิทย-คณิต 4 หอง 445 หองพกครักลูมสาระการเรุยนรีู สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ชั้น 5 451-455 หองเรียนพิเศษวิทย-คณิต 5 หอง ชั้น 6 โรงยิม แผนผังอาคารญาณี บุณยินทุ (อาคาร 4) 114 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


แผนผังอาคารฝกงาน (อาคาร 5) ชั้น 1 หองเวรครูชาย 511 ศูนยคหกรรม 512 หองพักครูกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ 513 หองปฏิบัติการคหกรรม ชั้น 2 512-522 หองพักครูกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 523 หองประดิษฐ ชั้น 3 531-532 หองพักครูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 533 หองพักครูกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้น 4 541 ศูนยภาษาจีน 542 ศูนยภาษาฝรั่งเศส 543 หองจริยธรรม คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 115


แผนผังหŒองเรียนอาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด ็ จพระสุริโยทัย (อาคาร 6) ชั้น 1 ลานชั้น 1 611 หองเกียรติยศ 612 หองแนะแนว ชั้น 2 621 หองเพาะเนื้อเยื้อ 622 หอง STEM BIOLOGY 623 หอง STEM CHEMISTRY 624 หอง STEM ROBOT ชั้น 3 631 หองเกบสารเคม็และอี ปกรณุ วิทยาศาสตร 632 หองปฏิบัติการวิทยาศาสตร เคมี 633 หองปฏิบัติการวิทยาศาสตร ฟสิกส 634 หองเก็บอุปกรณทางวิทยาศาสตร 635 หองปฏิบัติการวิทยาศาสตรชีววิทยา 636 หองชมพูพันธุทิพย ชั้น 4 641 หองพกครักลูมสาระการเรุยนรีูภาษาตางประเทศ (เกาหลี-จีน-ญี่ปุน) 642-645 หองเรียนปกติ 4 หอง 646 หองพกครักลูมสาระการเรุยนีรูภาษาตางประเทศ ชั้น 5 651 หองพกครักลูมสาระการเรุยนรีู การงานอาชีพ (ธุรกิจ) 652-658 หองเรียนปกติ 7 หอง ชั้น 6 661-662 หองโสตทัศนศึกษา 663 หองเรียนศิลปะ 664 หองเรยนศี ลปะ ิ (ดนตรสากลี ) 665-666 หองเรียนศิลปะ (ดนตรีไทย) 667-668 หองเรียนศิลปะ (ขับรอง-ฟอนรํา) แผนผังอาคารญาณี บุณยินทุ (อาคาร 4) 116 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


1. การเขา - ออกบริเวณโรงเรียนใหนักเรียนใชประตูหนาโรงเรียนประตูเดียวเทานั้น 2. อนุญาตใหนักเรียนขึ้นอาคารเรียนไดตั้งแตเวลา 07.00 น. เปนตนไป และกําหนด ปดอาคารเรียน 17.00 น. ใหนักเรียนลงจากอาคารเรียน ยกเวนในกรณีจัดกิจกรรมที่ไดรับ อนุญาต ตองมีครูที่ไดรับมอบหมายใหรับผิดชอบเปนผูดูแล 3. การขึ้น-ลงบันไดใหเดินชิดขวามือ 4. หามนักเรียนนั่งบนโตะเรียน ขอบระเบียง ขอบหนาตางหรือบรเวณบิ ันได 5. หามขีด เขียนขอความลงบนโตะ เกาอี้ ผนังอาคารเรียน หองนํ้า หองสวม หรือ บริเวณตางๆของอาคารเรียน หากพบวานักเรียน คนใดเปนผูขีดหรือเขียนขอความจะตอง รับผิดชอบทําความสะอาดใหอยูในสภาพเดิม 6. ขอความรวมมือใหชวยกันปดไฟฟา นํ้าประปาที่เปดทิ้งไวโดยไมมีผูใช และให ปฏิบัตตามมาตรการประหย ิ ัดพลังงานโดยเครงครัด 7. ขอความรวมม อให ืทงขยะและสิ้งของทิ่ไมี่ใช ในถ  งขยะแยกประเภทท ั ไดี่จดเตรั ยมไว ี ให  8. การจัดบริการนํ้าดื่มใหแกนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนอยางพอเพียงและ สะอาดปลอดภัย ขอความรวมมือใหใชสําหรับดื่มเทานั้น 9. ในกรณทีนี่กเรัยนที าใหํทรพยัส นของโรงเร ิยนชีารํดเสุยหายจะตีองรบผัดชอบซิอมแซม หรือชดใชใหอยูในสภาพเดิม 10. การติดปายประชาสัมพันธตาง ๆ ภายในบริเวณโรงเรียน ตองไดรับอนุญาตจาก หัวหนางานประชาสัมพันธ เมื่อไดรับอนุญาตแลว จึงติดประกาศได และใหติดประกาศใน บริเวณที่กําหนดใหเทานั้น 11. ในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน หรือเพลิงไหมใหปฏิบัติตามแผนที่ไดฝกปฏิบัติการ ใหใช เสนทางหนีไฟตามแผนผัง โดยใชบันไดที่ใกลที่สุด และหามใชลิฟทโดยเด็ดขาด การใชหองเรียน- หองปฏิบัติการ นักเรียนมีหนาที่รับผิดชอบในการทําความสะอาด จัดสภาพแวดลอมและบรรยากาศ ในหองเรียน หองปฏิบัติการ รวมทั้งจัดปายนิเทศใหความรู แนวปฏิบัติในการใชŒอาคารสถานที่โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 117


การจดเกับว็สดัอุปกรณุใช ในการจ ดการเรัยนรี ูและอปกรณุในการท  าความสะอาดให ํจดั เก็บใหเปนระเบียบเรียบรอย โดยคํานึงถึงความปลอดภัยเปนหลักสําคัญ เครองใช ื่ไฟฟ าท กประเภทใหุใชตามความจ าเปํน เมอเลื่กใช ิแล วให  ปดสวตซิเคร องใช ื่ไฟฟ า ทุกชนิด ในกรณีที่พบวัสดุอุปกรณชํารุด เชน โตะ เกาอี้ หนาตาง ประตู สวิตซไฟ ปลั๊กไฟ หลอดไฟ พัดลม ฯลฯ ขอใหแจงกับครูที่ปรึกษา หรือหัวหนางานอาคารสถานที่ โดยแจงซอมโดยการสแกน QR CODE หามนกเรัยนนีาอาหารํ หรอเครืองดื่มไปร ื่บประทานบนอาคารเร ัยนี หรอในห ืองเรยนี ยกเวนในกรณ ทีมี่การจีดกัจกรรมซิ งไดึ่รบอนัญาต ุ และเมอจื่ดกัจกรรมเสริ จให ็ทาความสะอาดํ ใหเรียบรอย การใชหองนํ้ าํ้ - หองสุขา 1. ขอความรวมมือใหนักเรียนทุกคนชวยกันรักษาความสะอาดหองนํ้า หองสุขา หามขีดเขียน ทําลาย หรือเปดนํ้าปลอยทิ้งไวหลังจากเลิกใชแลว 2. ในกรณีที่พบเห็นอุปกรณภายในหองนํ้าเกิดชํารุดเสียหายหรือพบเห็นสิ่งผิดปกติ ภายในหองนํ้า ใหรีบแจงใหครู หรือหัวหนางานอาคารสถานที่ 3. ขอความรวมมือใหนักเรียนปฏิบัติตามขั้นตอนการทิ้งผาอนามัยลงในถัง รองรับ ผาอนามัยกําจัดเชื้อโรคที่โรงเรียนจัดเตรียมไวให การใชโรงอาหาร รงอาหาร 1. นกเรัยนตี องปฏ บิตัตามระเบิ ยบของคณะกรรมการงานโภชนาการในการซ ีออาหารื้ และรบประทานอาหารตามท ั ไดี่กําหนดไวเปนระดบชันั้ โดยใหสํารวมกริยามารยาทิ ไมสงเสยงี ดังอึกทึกในโรงอาหาร และไมนําภาชนะใด ๆ ออกจากโรงอาหาร 2. ขอความรวมมือใหนักเรียนรักษาความสะอาด ไมทิ้งเศษอาหารบนโตะอาหารหรือ ใตโตะอาหาร 3. ในกรณีที่นักเรียนพบเห็นภาชนะใสอาหารหรือชอนสอมวางท้ิงไวภายในโรงเรียน ขอใหนําสงศูนยลางภาชนะ 4. การใชพนทื้บรี่เวณโรงอาหารในการจ ิดเตรัยมกีจกรรมติางๆเมอเสรื่จส็นการทิ้ํางาน นักเรียนตองชวยกันทําความสะอาดบริเวณพื้นที่นั้นใหสะอาดเรียบรอย 118 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


งานสารบรรณและธ านสารบรรณและธุรการ สถานที่ปฏิบัติงาน อาคารญาณี บุณยินทุ ชั้น 1 หมายเลขโทรศัพทภายใน 110 ภาระงาน ดําเนินการวางระบบงานสารบรรณและงานสารบรรณอิเล็กทอนิกส โดยใชระบบ e-offfiice ในการรบั-สงเอกสารราชการ โตตอบ จดเกับ็ หนงสัอราชการื ระเบยบี คาสํ งของโรงเร ั่ยนี ผใชูบรการเขิาถงระบบงานสารบรรณอึเลิกทรอน็กสิ โรงเร ยนสตรีศรีสีรุโยท ิยั โดย URL.202.29.211.19/myoffice/2564/index.php งานสําน ักงานกลุมบริหารทั่วไป สถานที่ปฏิบัติงาน อาคารญาณี บุณยินทุ ชั้น 1 หมายเลขโทรศัพทภายใน 106 ภาระงาน ดําเนินการวางแผนงานดานแผนงาน งานพัสดุ จัดทําสารสนเทศกลุม บริหารทั่วไป สนับสนุนดานสวัสดิการ และการจัดเลี้ยงรับรองในโอกาสวันสําคัญของชาติ/ วันสําคัญของโรงเรียน รวมทั้ง การจัดเลี้ยงรับรองในการตอนรับและการประชุม ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการของกลุมงานในกลุมบริหารทั่วไป ทําหนาที่ เลขานการและจดบุนทั กการประช ึ มใหญ ุในการประช มครุประจูาเดํอนื การประชมฝุายบรหาริ ประจําสัปดาห กํากับดูแลการปฏิบัติงานของลูกจางประจํา พนักงานทําความสะอาด และ ยามรักษาการณ งานประชาส านประชาสัมพ ันธโรงเรียน สถานที่ปฏิบัติงาน อาคารญาณี บุณยินทุ ชั้น 1 หมายเลขโทรศัพทภายใน 106 ภาระงาน ดําเนินการวางระบบงานประชาสัมพันธ รับและเผยแพรขอมูลขาวสาร ในรูปเสียงตามสาย/สื่อ กราฟฟค ตอนรับผูมาติดตอราชการและตอนรับผูปกครองที่มา พบนกเรัยนี จดทั ําปายนเทศิ ปายประชาส มพันธังานกจกรรมติางๆของโรงเรยนี บรการดิาน การใชวทยิสุอสารื่ โทรศพทัท งภายในภายนอกสถานศ ั้กษาึ จดทัาวารสารศรํสีมพันธั เอกสาร เผยแพรขาวสารของโรงเรียน แผนพับ เอกสารอื่นตามที่มอบหมาย งานวารสารศรสีมพันธั มวีตถั ประสงคุเพอเผยแพรื่ขอมลขูาวสารสาระตางๆเกยวกี่บั การพฒนาคัณภาพการศุกษาของโรงเร ึยนี และเสรมสริางความสมพันธัอนดัระหวี างโรงเร ยนี นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา ผูปกครองและชุมชน ขอเชิญชวนผูปกครองและ นกเรัยนที ประสงค ี่จะเผยแพร ประชาส มพันธัขาวสาร หรอบทความทื เปี่นประโยชน  ไดมสีวนรวม เติมเต็มสารัตถะใน วารสารศรีสัมพันธซึ่งจัดพิมพเผยแพรภาคเรียนละ 1 ฉบับ คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 119


โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัยมีเปาหมายและนโยบายการสงเสริมสุขภาพอนามัยของ นกเรั ยนให ีมสีขนุสิยสัขภาพกายและสุขภาพจุตทิดี่ ีมพีฒนาการทางอารมณัและสงคมทัพี่งประสงค ึ ์ งานอนามัยมีหองพยาบาล หองเลขที่ 415 ชั้น 1 อาคารญาณี หมายเลขโทรศัพท 415 เปดใหบริการแกนักเรียนและบุคลากรที่เจ็บปวย และใหคําแนะนําดานสุขภาพอนามัย มีครูพยาบาลปฏิบัติหนาที่ประจําโดยทํางานประสานกับกลุมบริหารงานบุคคล ครูผูสอน ครูแนะแนว เพื่อชวยใหนักเรียนมีพัฒนาการตามที่โรงเรียนมุงหวัง กิจกรรมบริการเพื่อสงเสริมสุขภาพอนามัยของนักเรียน 1. การบริการใหสุขภาพ 1.1 การปฐมพยาบาล และการรกษาเบัองตื้น ใหการดแลนูกเรัยนและบีคลากรุ ในโรงเรียนดังนี้ ● การปฐมพยาบาลเบื้องตน ● การบริการยาสามัญประจําบาน ● การใหคําแนะนําเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย ● การนําสงโรงพยาบาลในกรณีอุบัติเหตุหรือเจ็บปวยรุนแรง ● การติดตอแจงผูปกครอง ในกรณีนักเรียนไดรับอนุญาต เหตุรุนแรงหรือ การเจ็บปวยที่สมควรไปพบแพทย ระเบียบการรับบริการที่หองพยาบาล 1. นักเรียนที่เจ็บปวยทั่วไป สามารถใชบริการที่หองพยาบาลในชวงเปลี่ยน คาบเรียนหรือคาบพัก (เพื่อจะไดไมรบกวนครูผูสอนหรือนักเรียนที่กําลังเรียน) 2. นักเรียนที่ปวยหนักหรือกรณีฉุกเฉิน สามารถมารับบริการไดทันที 3. นกเรัยนทีเจี่บป็วยเพยงเลีกน็อย เชนปวดศ รษะี ปวดทอง อบุตัเหติเลุกน็อย ไมจ ําเปนตองนอนพ กในห ัองพยาบาล จะตองปฏ บิตัตามระเบิ ยบการใช ีหองพยาบาล แจงชอื่ นามสกุล ชั้น/หอง แจงอาการปวย ครูพยาบาลจะตรวจดูอาการและเปนผูวินิจฉัยอาการ โดยใหยารับประทานแลวใหกลับเขาหองเรียน 4. นกเรัยนทีเจี่บป็วยมากขณะทอยี่โรงเรูยนี มความจี ําเปนตองนอนพกจะตัอง ไดรับอนุญาตจากครูพยาบาล พรอมทั้งสงบัตรที่มีลายมือชื่ออนุญาตจากครูประจําวิชา 5. นกเรัยนทีตี่องการจะกลบบัานจะต องได รบความเหันชอบจากคร็พยาบาลและู รองผูอํานวยการกลุมบริหารกิจการนักเรียนกอนแจงใหผูปกครองมารับ งานอนามัยโรงเรียน 120 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


6. นักเรียนที่เขามาใชบริการในหองพยาบาล จะตองสํารวมกิริยาวาจา ไมสงเสียงรบกวนผูอื่น รวมทั้งไมหยิบยา หรือเวชภัณฑตาง ๆ รับประทานหรือใชโดยไมได รับอนุญาตจากเจาหนาที่ประจําหองพยาบาล 7. จัดที่นอนใหเรียบรอย กอนกลับเขาหองเรียน 8. ในรายทเปี่นโรคต ดติอ เชน ตาแดง อสีกอุใสีฯลฯ จะแจงกลมบรุหารกิจการิ นักเรียนทราบ และติดตอผูปกครองมารับนักเรียนกลับไปพักรักษาตัวที่บานเพื่อปองกันการ แพรกระจายของเชื้อโรค 9. บริการใหคําปรึกษา ปญหาสุขภาพวัยรุน สุขภาพจิต ปญหาครอบครัว โรคตดติอและสงเสพติ่ดิ หรอปืญหาความเจ บป็วยแกคร ูนกเรัยนี ผปกครองและชู มชนใกลุเคยงี 10. ในรายที่มีปญหาตองไดรับการดูแลชวยเหลือจากผูเชี่ยวชาญ จะสง ปรึกษาแพทยที่สถานพยาบาล 1.2 การบริการเมื่อนักเรียนเจ็บปวยฉุกเฉินหรือบาดเจ็บรุนแรง ใหการดูแล ปฐมพยาบาลอยางถูกตองและทันทวงที พิจารณานําสงโรงพยาบาลที่เหมาะสม และแจง ผูปกครองมารับกลับบาน แจงกลุมบริหารงานบุคคลและครูที่ปรึกษาทราบ 1.3 การตดตามการริกษาั ในกรณนีกเรัยนมี ปีญหาสขภาพุ หรอตืองพกรักษาตัวั หลายวัน ผูปกครองควรแจงครูพยาบาล เพื่อดําเนินการแจงครูที่เกี่ยวของและเพื่อการ ชวยเหลือดูแลนักเรียนตอไป 2. การสงเสริมสุขภาพ 2.1 การตรวจสุขภาพนักเรียนและสงเสริมอนามัยสวนบุคคล โดยจัดใหมี การตรวจสขภาพเปุนประจ  ําทกปุ เพอให่ืเกดเจตคติทิดี่ในการด ี แลเอาใจใสูสขภาพของตนเองุ และคัดกรองนักเรียนที่มีปญหาทางสุขภาพใหไดรับการดูแลรักษาที่ถูกตอง นักเรียนที่มี โรคประจําตัวหรือมีประวัติแพยา ผูปกครองควรแจงครูพยาบาลเปนกรณีพิเศษ เพื่อให ไดรับการดูแลที่ถูกตองเมื่ออยูในโรงเรียน และควรมอบบัตรสุขภาพจากโรงเรียนเดิม และเบอรโทรศัพทผูปกครองที่สามารถติดตอไดตลอดเวลาไวที่หองพยาบาล 2.2 การติดตามและประเมินภาวะโภชนาการ ชั่งนํ้าหนัก วัดสวนสูง เทียบกับ เกณฑมาตรฐานกรมอนามัย ภาคเรียนละ 1 ครั้ง 3. การปองกันและควบคุมโรคติดตอในโรงเรียน 3.1 โรคไขเลือดออก มีการกําจัดยุงลายและแหลงเพาะพันธุยุงลาย พนสารเคมี กําจัดยุงกอนเปดภาคเรียน สํารวจและกําจัดแหลงเพาะพันธุยุง 3.2 การดแลนูกเรัยนที เปี่นโรคต ดติอ แยกนกเรัยนที ปี่วยเป  นโรคต ดติ อไปร บการรักษาั ที่ถูกตอง เพื่อใหแนใจวาปลอดภัยจากการแพรเชื้อ 3.3 การแจงเรื่องโรคติดตอ เมื่อมีโรคติดตออันตรายเกิดขึ้นในโรงเรียนตอง รายงานผูบริหารและแจงความตอเจาหนาที่กองควบคุมโรคติดตอกระทรวงสาธารณสุขโดยเร็ว ภายใน 24 ชั่วโมง คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 121


3.4 การใหความรูเรื่องโรคติดตอ ใหความรูเกี่ยวกับการปองกันโรคติดตอและ การปฏิบัติตัวที่ถูกตองใหกับนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน 4. การประสานงานกับหนวยงานตาง ๆ ดานสุขภาพอนามัย 4.1 ตดติ อประสานงานก บเจัาหนาทศี่นยูบรการสาธารณสิขุ 14 กรงเทพมหานครุ ชวยดแลงานอนามูยโรงเร ัยนี จดอบรมผันู ําเยาวชนสาธารณสขในโรงเรุยนี (ยสร.) ตรวจสขภาพุ ผูประกอบการจําหนายอาหารในโรงเรียน บริการขอมูลขาวสารดานสุขภาพอนามัย ฯลฯ 4.2 จัดกิจกรรมสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชนกับศูนยบริการโลหิตแหงชาติ สภากาชาดไทย รับบริจาคโลหิต ปละ 1 ครั้ง 5. สงเสริมการปองกันและแกปญหายาเสพติดและโรคเอดส 5.1 จัดสงบุคลากรและนักเรียนเขารับการฝกอบรม 5.2 รับสมัครสมาชิกครูแกนนํา นักเรียนแกนนํา เพื่อจัดอบรมใหความรู 5.3 จัดกิจกรรมและเดินรณรงคในวันงดสูบบุหรี่โลก 5.4 จัดกิจกรรมและเดินรณรงคในวันตอตานยาเสพติดสากล 5.5 จัดกิจกรรมและเดินรณรงคในวันเอดสโลก 5.6 ใหความรูและขยายผลภายในโรงเรียน และนอกโรงเรียน 5.7 คัดกรองนักเรียนกลุมเสี่ยงและกลุมปกติ 5.8 รายงานการจําแนกสถานศึกษาให สพฐ. ทราบ ปละ 2 ครั้ง 5.9 สงเสริมครูและนักเรียนในการจัดกิจกรรมรณรงคตอตานยาเสพติดและ โรคเอดสภายในโรงเรียนและชุมชน 5.10 ตรวจสารเสพติดเบื้องตนใหกับนักเรียน เมื่อไดรับอนุญาตจากผูปกครอง 6. งานอนามัยอื่น ๆ 6.1 จัดนํ้าดื่ม R.O. นํ้าใชที่สะอาด และมีจํานวนเพียงพอกับนักเรียน จัดให มนีํ้าดมื่ มตีเยูนตามจ็ดตุางๆ อางลางมอจื ดไว ั ไมรวมกบนั ํ้าดมื่ มเจีาหนาทตรวจดี่แลความสะอาดู เปนประจํา 6.2 จัดหองนํ้า หองสุขาที่ถูกสุขลักษณะเพียงพอกับจํานวนนักเรียน และมีนํ้า ชําระภายในหองสุขาเพียงพอ มีอางลางมือ/สบูในหองนํ้า ถังขยะสําหรับทิ้งเศษกระดาษ และถังกําจัดผาอนามัยฆาเชื้อโรค 6.3 จัดสภาพแวดลอมในโรงเรียนใหถูกสุขลักษณะและอยูในสภาพที่ดีมี ความรมรนื่ เพอชื่วยให บรรยากาศเหมาะสม สวยงาม สามารถสงเสร มประส ิทธิ ภาพในการเร ิยนี และปองกันโรคภัยไขเจ็บแกนักเรียน ชวยลดอุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้นในการเรียน และ ปองก นโรคภ ั ยไข ัเจบแก็นกเรัยนี ชวยลดอบุตัเหติทุอาจจะเกี่ดขินทึ้งยั้งชัวยสงเสร มให ินกเรัยนี มีสุขภาพอนามัย สุขนิสัยที่ดี ตลอดจนการปลูกฝงคุณลักษณะที่พึงประสงคเพื่อใหอยูใน สังคมอยางมีความสุข 122 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


การใหบริการประกันอุบัติเหตุของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน 1. การใชบริการเมื่อเกิดอุบัติเหตุ 1.1 เมื่อเกิดอุบัติเหตุที่ใดใหไปคลินิกหรือโรงพยาบาลที่ใกลที่สุด 1.2 สํารองเงินจายไปกอนโดยขอหลักฐานใบเสร็จรับเงินฉบับจริง (ไมรับสําเนา) พรอมใบรับรองแพทยที่เขียนรายการการเกิดอุบัติเหตุใหชัดเจน 1.3 ใบเบิกคารักษาพยาบาลเกี่ยวกับอุบัติเหตุ สงเบิกไดที่หองพยาบาล ชั้น 1 อาคารญาณี เวลาราชการ 1.4 กรณีเกิดอุบัติเหตุภายในโรงเรียน ครูพยาบาลจะนําสงสถานพยาบาลตาม ความเหมาะสม 2. การคุมครองประกันอุบัติเหตุ 2.1 คุมครองอุบัติเหตุตลอด 24 ชั่วโมง 2.2 คุมครองอุบัติเหตุทั่วไป เชน ถูกของมีคม พลัดตกหกลม กระดูกหัก ถูกสัตวกัด เชน สุนัข แมลง (ยกเวนยุงและมด) ฯลฯ 3. ขอยกเวนการขอรับสิทธิประกันอุบัติเหตุ 3.1 การเจ็บปวยทุกชนิดที่ไมใชอุบัติเหตุ 3.2 เหตุการณเกิดจากการทะเลาะวิวาทกัน 3.3 อาการปวดเมื่อยจากการออกกําลังกายหรือหลังเลนกีฬา 4. วงเงินประกันอุบัติเหตุ 4.1 เบกได ิตามรายการจร งไม ิเกนิ 6,000 บาท (หกพนบาทถัวน ) ตออบุตัเหติ 1 ุครงั้ 4.2 ในกรณีเสียชีิวิตจากอุบัติเหตุได 60,000 บาท (หกหมื่นบาทถวน) 5. ปจจัยที่ทําใหเบิกประกันไมไดเมื่อเกิดอุบัติเหตุ 5.1 ไมมีใบเสร็จหรือใบรับรองแพทย 5.2 ใบรับรองแพทยระบุไมชัดวาเปนอุบัติเหตุ 5.3 ไมรับใบเสร็จหรือใบรับรองแพทยที่ถายสําเนา จะรับเฉพาะตัวจริงเทานั้น 5.4 การใชใบแจงความ (ในกรณีที่ทําใบเสร็จรับเงินหาย) ไมสามารถนํามาใช ในการเบกเงิ ินได - คาบริการทางการแพทยและพยาบาลที่ทาง รพ. เรียกเก็บผูปกครองตองชําระเงินสวนนี้ คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 123


- ดานโภชนาการ/คณะกรรมการโภชนาการรวมมือกับคณะกรรมการนักเรียนและ คณะกรรมการ อย.นอย ดูแลควบคุม การจัดจําหนายอาหารของรานคาในโรงเรียนโดย 1. ควบคุมคุณภาพอาหาร และเครื่องดื่มมีคุณภาพและถูกหลักโภชนาการ 2. ควบคุมราคาใหเหมาะสมกับคุณภาพและปริมาณของอาหารอยางยุติธรรม 3. ดูแลควบคุมเรื่องความสะอาดของอาหาร สถานที่ประกอบการ ภาชนะใสอาหาร/ อปกรณุเคร องใช ื่ /ผประกอบการและผูบรู การอาหารให ิ ปฏบิตัถิกหลูกสัขลุกษณะและสัขาภุบาลิ อาหาร/กระทรวงสาธารณสุข 4. รับเรื่องราวรองทุกข เกี่ยวกับอาหารและการบริการอาหารในทุกกรณี พรอมทั้ง ใหคําแนะนําและแกไขปญหา 5. ใหความรูเรื่องโภชนาการตลอดปการศึกษา โดยคณะกรรมการโภชนาการและ คณะกรรมการ อย.นอย - รานอาหาร และโรงอาหารตั้งอยูที่ชั้นลางตึกกรองทอง เปดจําหนายอาหาร ใหกับครู นักเรียน และบุคลากรตามเวลา ดังนี้ เชา 06.00-07.30 น. กลางวัน (ม.1, ม.3, ม.6) 11.00-11.50 น. (ม.2, ม.4, ม.5) 11.50-12.40 น. พัก 10 นาที เชา 10.00-10.10 น. พัก 10 นาที บาย 14.20-14.30 น. 6. ควบคมดุแลพนูกงานศันยูลางฯ ใหท ําความสะอาดภาชนะจาน-ชาม ชอน -สอมฯลฯ รวมทงบรั้เวณศินยูลางภาชนะ ใหสะอาดถกสูขลุกษณะตามทักรมอนามี่ยกระทรวงสาธารณสัขุ กําหนดไว 7. ดูแลและจัดเตรียมหมอตมนํ้ารอนสําหรับลวกชอน-สอมตามจุดที่กําหนดรวมทั้ง ในหองอาหารคุณครู 8. หลงเลักเริยนมีพนีกงานศันยูลางฯ ทาความสะอาดโรงอาหาร ํ รานคาและพนทื้กวุนั เพื่อความสะอาดและลดการแพรเชื้อโรค รานจําหนายอาหารทุกรานตอง ทาความสะอาดภายในร ํานทงหมดั้ ใหสะอาดและจัดใหเปนระเบียบ จําหนายไดแคนํ้าดื่มบรรจุขวด งานโภชนาการ } } 124 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


ระเบียบการซื้อและการรับประทานอาหาร 1. ซื้ออาหารตามเวลาที่กําหนด 2. เขาแถวซื้ออาหารอยางเปนระเบียบ 3. นงรั่บประทานอาหารตามโต ัะทกี่ําหนดใหแตละหองและรบผัดชอบิ ดแลความสะอาดู โดยใชผาเช็ดโตะใหสะอาด 4. เก็บภาชนะ จาน ชาม นําไปสงศูนยลางภาชนะ โดยแยกภาชนะใหถูกตอง พรอมทั้งเทเศษอาหารลงถังขยะที่เตรียมไวใหเรียบรอย 5. เก็บแกวนํ้า - ขวดนํ้า ไปทิ้งถังขยะที่จัดไวให โดยแยกขยะใหถูกตอง รานสวัสดิการ รานสวัสดิการของโรงเรียนตั้งอยูที่ชั้นลางของอาคารกรองทอง ติดกับหองพักครู พลานามยั บรการสินคิาเกยวกี่บอั ปกรณุการเรยนี และของใชทจี่ําเปนแกนกเรั ยนในราคาถ ีกู เวลาบริการ เชา 06.00-07.30 น. กลางวัน (ม.1, ม.3, ม.6) 11.00-11.50 น. (ม.2, ม.4, ม.5) 11.50-12.40 น. เย็น 16.30-17.00 น. รานสวัสดิการของโรงเรียนมีนโยบายดังนี้ 1. เพื่อใหบริการสินคาที่จําเปนและมีคุณภาพเกี่ยวกับอุปกรณการเรียน พรอมทั้ง เครื่องอุปโภคบริโภค 2. จัดจําหนายอุปกรณการเรียน เครื่องอุปโภค บริโภค ในราคาที่ยุติธรรม 3. จัดทุนการศึกษาและจัดหาอุปกรณการศึกษาใหแกนักเรียน 4. สนับสนุนการจัดกิจกรรมของโรงเรียนในดานตาง ๆ คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 125


126 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 127 §Ò¹¡Ô¨¡ÒùѡàÃÕ¹


ก. ระเบียบปฏิบัติทั่วไปของนักเรียน 1. นักเรียนทุกคนตองแตงเครื่องแบบและไวทรงผม ตามระเบียบของโรงเรียน สตรีศรีสุริโยทัยวาดวยเรื่องเครื่องแตงกายนักเรียน 2. ไมอนุญาตใหยอมสีผมผิดไปจากธรรมชาติของเสนผมและไมไถผมรองทรง กันคิ้ว ไวเล็บยาว ทาสีเล็บ เจาะอวัยวะสวนตางๆของรางกาย และสักลวดลายแฟชั่นบนรางกาย หรือใชเลนสตาแฟชั่น 3. ประพฤติตนสุภาพเรียบรอย มีความสํารวมทั้งภายใน และภายนอกโรงเรียน ไมกลาววาจาหยาบคาย สงเสียงดัง หยอกลอ หรือกอการทะเลาะวิวาท 4. มาโรงเรียนใหทันเขาแถวเคารพธงชาติ 5. นําหนังสือ อุปกรณการเรียน และกระเปานักเรียน/เป กระเปาเคียงของโรงเรียน มาโรงเรียนใหครบตามที่โรงเรียนกําหนด 6. เชื่อฟงอยูในโอวาทของครูทุกทาน 7. รักษาความสามัคคีในหมูคณะ 8. ชวยกันดูแลรักษาทรัพยสมบัติของโรงเรียน ไมทําลายใหเสียหาย เมื่อพบวา ชํารุดใหแจงครูหรือครูหัวหนาอาคาร 9. การติดประกาศ หรือแจกเอกสารใด ๆ ตองไดรับอนุญาตจากรองผูอํานวยการ กลุมบริหารทั่วไป และมีลายมือชื่อเปนหลักฐาน 10. เอกสารตาง ๆ ที่ผูปกครองตองลงชื่อ ถาเปนลายมือชื่อปลอม โรงเรียนจะไมรับ พิจารณา หากพิสูจนไดวานักเรียนปลอมลายมือชื่อจะตองถูกลงโทษ 11. ชวยก นประหย ัดนั ํ้าประปา และไฟฟาของโรงเร ยนี ไมอน ญาตให ุน ําเครองใช ื่ไฟฟ า ทุกชนิดมาใชที่โรงเรียน 12. การนําบคลากรภายนอกเขุามารวมก จกรรมใด ิๆตองได รบอนัญาตจากรองผ ุอู ํานวยการ กลุมบริหารงานบุคคล 13. นักเรียนทุกคนตองมีบัตรประจําตัวนักเรียน ซึ่งแสดงประวัติยอและหลักฐานของ ตัวนักเรียน พกติดตัวไวเสมอ ถาบัตรสูญหายตองแจงการทําบัตรใหมตอรองผูอํานวยการ กลุมบริหารงานบุคคล เพื่อขอทําบัตรใหม 14. ไมอน ญาตให ุนกเรัยนนี ําเครองมื่อสื อสารใด ื่ๆ มาใชในขณะเร  ยนในห ีองเรยนี หากพบวา นักเรียนนํามาใช โรงเรียนจะยึดและใหผูปกครองมารับคืนไดหองกลุมบริหารงานบุคคล ภายใน 7 วัน นับจากวันที่ถูกยึด ระเบียบปฏิบัติสําหรับนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย 128 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


15. หามนําของมีคาทุกชนิดมาโรงเรียน หากนํามา นักเรียนและผูปกครองตอง รับผิดชอบตอการชํารุดและสูญหาย 16. ชวยกันสรางชื่อเสียงใหแกโรงเรียนในทุกๆ ดาน และไมทําความเสื่อมเสียใหแกโรงเรียน 17. ไมอน ญาตให ุนกเรัยนนี ําอาหารออกนอกบรเวณโรงอาหาร ิ หามน ําอาหารขนอาคารเรึ้ยนี โดยเด็ดขาดหามสั่งอาหารจากภายนอกโรงเรียน และหามนํา/รับอาหารมาขายในโรงเรียน ข. ระเบียบปฏิบัติในเรื่องตาง ๆ 1. การมาโรงเรียน 1.1 การมาโรงเรียนในวันที่มีการเรียน นักเรียนตองมาถึงโรงเรียนกอนเวลา 07.30 น. ถามาเกินเวลาถือวามาสาย และ หามขึ้นบนอาคารเรียนกอนเวลา 07.00 น. นักเรียนมาสายมี 2 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 มาโรงเรียนไมทันเขาแถวเคารพธงชาติ ประเภทที่ 2 มาโรงเรียนหลังเริ่มเรียนคาบเรียนที่ 1 ระเบียบปฏิบัติสําหรับนักเรียนมาโรงเรยนสายี ประเภทที่ 1 มาโรงเรียนไมทันเขาแถวเคารพธงชาติ (เวลา 07.30 - 07.45 น.) 1. เขาแถวบริเวณที่ครูเวรประจําวันกําหนด 2. เคารพธงชาติ สวดมนต สงบนิ่ง แผเมตตา ปฏิญาณตน 3. นักเรียนที่มาโรงเรียนหลังจากจบการปฏิญาณตน จะตองถูกตัดคะแนน ความประพฤติ 5 คะแนน ประเภทที่ 2 มาโรงเรียนหลังเริ่มเรียนคาบเรียนที่ 1 เปนตนไป 1. อนุญาตเฉพาะนักเรียนที่มีผูปกครองมาสงดวยตนเอง หรือมีจดหมาย จากผูปกครองเปนลายลักษณอักษร, เอกสารทางการแพทย และอื่น ๆ 2. ขอรับบัตรเขาหองเรียน จากครูเวรกลุมบริหารงานบุคคล พรอมแนบจดหมาย 3. นําบัตรเขาหองเรียนใหครูประจําชั้น และครูผูสอนลงชื่อรับทราบ และ ครูประจําชั้นและครูผูสอนเก็บไวเปนหลักฐาน 4. นักเรียนที่มาโรงเรียนเมื่อเริ่มเรียนคาบที่ 1 โดยไมมีเหตุจําเปนตามขอที่ 1 จะตองถูกตัดคะแนนความประพฤติ 10 คะแนน หมายเหตุ: นกเรัยนมาสายตีงแตั้ 3 ครงขั้นไปในเวลา ึ้ 1 เดือน โดยไมมจดหมายผี ปกครองู หรือมีผูปกครองมาสงดวยตนเอง ครูประจําชั้นจะดําเนินการดังตอไปนี้ คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 129


1. แจงผูปกครองรับทราบการมาสาย 2. เชิญผูปกครองมาพบ และ 3. ลงโทษตามระเบียบวาดวยการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะ อันพึงประสงคนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย พ.ศ.2557 1.2 การมาโรงเรียนในวันที่ไมมีการเรียน 1. การรวมกิจกรรม หรือมาชวยงานโรงเรียน ตองปฏิบัติดังนี้ 1.1 ตองมีจดหมายจากโรงเรียนแจงใหผูปกครองทราบลวงหนา 1.2 แตงเครื่องแบบนักเรียนใหเรียบรอย ตามระเบียบ 1.3 ตองมีครูผูรับผิดชอบควบคุมทุกครั้ง 1.4 ไมอนุญาตใหนักเรียนขึ้นอาคารเรียน ในกรณีที่ไมมีครูดูแล 2. นักเรียนที่มาติดตอราชการ เชน ขอรับเอกสาร ยื่นคํารอง ฯลฯ ตองแตงเครื่องแบบนักเรียนใหเรียบรอย 2. การทําความเคารพ 2.1 เมื่อพบครู ทั้งในและนอกโรงเรียนใหทําความเคารพดวยการไหวและกลาว คําวา “สวัสดีคะ” 2.2 เมื่อเดินเขาประตูโรงเรียนในตอนเชา ใหวางกระเปาแลวทําความเคารพ ครูเวรประจําวันดวยการไหว 2.3 เมื่อเดินสวนทางกับครูใหทําความเคารพดวยการยืนตรงหรือไหว 2.4 เมอจะเดื่นแซงออกหนิาคร ใหูขออนญาตก ุอน ถาครหยูดอยุกูบทั ี่เมอเดื่นผิาน ใหกมหลังเล็กนอย 2.5 ถาสวนทางกับครูที่บันได ควรหยุดใหครูขึ้นหรือลงกอน 2.6 การหยุดเพื่อเจรจากับครูที่บันไดใหยืนที่บนไดข ั ั้นตํ่ากวาครู 2.7 ในกรณทีพบผี่ทูควรเคารพที่านอนื่ๆ ภายในบรเวณโรงเร ิยนี ใหท ําความเคารพ เชนเดียวกับที่ทําความเคารพครู 2.8 การทําความเคารพกอนกลบบัาน ใหเดนเริยงแถวคี ูเมอผื่านคร เวรประจูําวนั ใหวางกระเปาแลวทําความเคารพดวยการไหว 3. การเขาแถวเคารพธงชาติ 3.1 นักเรียนทุกคนตองหยุดกิจกรรมทุกอยางเตรียมตัวเขาแถวเมื่อไดยินเสียงเพลง โรงเรียนและสัญญาณครั้งที่ 1 130 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


3.2 สญญาณครังทั้ 2 ี่นกเรัยนยี นประจ ื ําแถวตามลําดบไหล ั ใหเรยบรีอย ฟงค ําสงจากั่ ครูเวรหนาเสาธง ทําพิธีเชิญธงชาติขึ้นสูยอดเสา นักเรียนตองยืนตรงรองเพลงชาติ สวดมนต สงบนิ่ง แผเมตตา กลาวคําปฏิญาณของนักเรียน คติธรรม ปรัชญาและวิสัยทัศนอัตลักษณ ของโรงเรียน โรงเรียนสุจริต เอกลักษณของนักเรียนโดยพรอมเพรียงกันแลวยืนสํารวม เพื่อฟงการแจงขาวสารและฟงการอบรมดวยความตั้งใจจนกวาจะไดรับคําสั่งใหแยกแถว จึงเดินแถวเขาหองเรียนอยางมีระเบียบ 4. การเดินแถวขึ้นหองเรียน 4.1 ใหนักเรียนเดินแถวเรียงคูขึ้นหองเรียนอยางมีระเบียบตามลําดับชั้นที่โรงเรียนได กําหนดไว โดยเดินชิดขวา 4.2 หามเดินแยกออกจากแถว เพื่อไปทํากิจกรรมอื่นใดโดยไมไดรับอนุญาตจากครู 4.3 ไมพูดคุยกันในขณะเดินแถว 4.4 ไมเดินลากเทาใหเกิดเสียงดังรบกวน 5. การปฏิบัติตนในเวลาเรียน 5.1 นักเรียนตองรักษาระเบียบ ไมคุย ไมเลนในหองเรียนขณะครูสอนและตั้งใจ ฟงคําอธิบายของครูดวยความเคารพ ไมลุกจากที่นั่งโดยไมไดรับอนุญาต 5.2 ไมทํากิจกรรมอื่นหรือนําวิชาอื่นขึ้นมาทํา โดยที่ครูผูสอนไมอนุญาต 5.3 ขณะทครี่สอนู ถานกเรัยนมี ปีญหา หรอตืองการแสดงความคดเหิ นให ็ยกมอื ขออนุญาต 5.4 ถาเกิน 5 นาทีไปแลว ครูผูสอนยังไมเขาหองเรียน ใหหัวหนาชั้นไปสอบถาม หรือรายงานหัวหนากลุมสาระฯ เพื่อจัดครูเขาสอนแทน 5.5 ในกรณทีครี่ไมูอย ในหูอง ใหทกคนอยุในหูองด วยความเป นระเบยบเรียบรีอย ไมสงเสียงหรือกระทําการใด ๆ อันเปนการรบกวนหองเรียนขางเคียง ถามีความจําเปนตอง ออกนอกหองในขณะที่ครูไมอยู ใหแจงหัวหนาหองทราบ 5.6 กรณีปวย หากอาการไมหนัก ใหลงไปขอรับยาไดเฉพาะเวลาพักระหวาง ชั่วโมงเรียนเทานั้นถาปวยมากใหครูผูสอนหรือครูประจําชั้น เขียนอนุญาตแลวลงมานอนพัก ในหองพยาบาล 5.7 ในระหวางที่มีชั่วโมงเรียนนักเรียนตองอยูในหองเรียน จะไปอยูหองสมุด โรงอาหาร หรือที่อื่น ๆ ไมได 5.8 ถามีความจําเปนตองออกจากหองเรียน ใหขออนุญาตครูผูสอน 5.9 การเปลี่ยนหองเรียนระหวางชั่วโมง ใหกระทําอยางเรียบรอยและรวดเร็ว โดยเดินเรียงเปนแถวชิดขวาตลอดทางเดินบนอาคาร และการขึ้นลงบันได คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 131


6. ขอควรปฏิบัติในหองเรียนและบนอาคารเรียน 6.1 จัดที่นั่ง และโตะเรียนใหเปนระเบียบ 6.2 เมื่อลุกจากที่นั่งเพื่อออกนอกหองเรียน ใหสอดเกาอี้เขาใตโตะทุกครั้ง 6.3 หามเคลื่อนยายโตะ เกาอี้ ออกจากหองเรียนโดยไมไดรับอนุญาต จากครูประจําชั้นหรือครูผูสอน 6.4 หามนําอาหารขึ้นไปรับประทานบนอาคารเรียน 6.5 ไมทําเสียงอึกทึก รบกวนการเรียนการสอนของหองขางเคียง 6.6 ไมวิ่งหรอเลื นกีฬาทุกประเภทบนอาคารเรียนหรือในหองเรียน 6.7 ไมปนหรือนั่งบนลูกกรงราวบันได ขั้นบันได ปนหลังคา ไตตามกันสาด เพราะอาจเกิดอุบัติเหตุขึ้นได 6.8 รกษาความสะอาดของโต ัะ เกาอ ี้หองเรยนี และบรเวณอาคารเริยนตลอดเวลาี เพื่อรักษาอนามัยและสภาพแวดลอมที่ดีของนักเรียนเอง 6.9 เมอทื่ําความสะอาดหองเรยนหลีงเลักเริยนแลีว ทกคนตุองออกจากหองเรยนี ภายในเวลา 17.00 น. และตองลงจากอาคารเรียนทุกคน หากจําเปนตองอยูทํากิจกรรม ใหครูผูดูแลรายงานรองผูอํานวยการกลุมบริหารงานบุคคลทราบ โดยตองมีครูอยูดูแล จนกวาจะเสร็จสิ้นกิจกรรม 6.10 หามเขยนขีอความ รปภาพู เสน หรอทื ําใหเก ดรอยบนโต ิะ - เกาอ ตามฝาผน ี้งั อาคารเรียนหองนํ้า หองสมุด หรือ เครื่องใชของโรงเรียน กรณทีที่ําลายทรพยัส นของโรงเร ิยนเสียหายี นกเรัยนตีองรบผั ดชอบชดใช ิคาเสยหายี และถกลงโทษู ตามระเบยบวีาดวยการพฒนาคัณธรรมจรุยธรรมิ และคณลุกษณะอันพั งประสงค ึ  นักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย พ.ศ. 2557 7. การออกนอกบริเวณโรงเรียนกอนโรงเรียนเลิก นักเรียนจะออกนอกบริเวณโรงเรียนไดเฉพาะรายที่ผูปกครองมารับดวยตนเองเทานั้น (ตองเป นผ ปกครองทูมาที่ําใบมอบตวั หรอผื ปกครองคนทู 2) ี่โดยแจงคร ประจูําวชาชิ วโมงสอน ั่ ครูประจําชั้นและหัวหนาระดับชั้นแลวขออนุญาตจากรองผูอํานวยการกลุมบริหารงานบุคคล เพื่อทําแบบฟอรมและทําบัตรอนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียน 8. การกลับบาน โรงเรียนอนุญาตใหนักเรียนกลับบานหลังเวลาเลิกเรียน ถาตองทํากิจกรรม หลังเลิกเรียนอนุญาตใหอยูไดไมเกิน 17.00 น. ถาทํากิจกรรมหลังจากเวลา 17.00 น. ตองปฏิบัติตามระเบียบขอ 6.9 132 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


9. การลากิจ ลาปวย 9.1 การลาหยุดโรงเรียนทุกครั้ง นักเรียนจะตองยื่นใบลากิจหรือลาปวย (ตามตัวอยางใบลาในหนาที่ 128) ตอครูประจําชั้นตามเหตุผลที่เปนจริงเมื่อมาโรงเรียน ในวันแรกและใบลากิจหรือลาปวยจะตองใหผูปกครองลงชื่อรับรอง (จะตองเปนลายมือ ชื่อผูปกครองที่มาทําใบมอบตัวหรือผูปกครองคนที่ 2) 9.2 ถาปรากฎวานักเรียนคนใดปลอมลายมือชื่อผูปกครองตองถูกลงโทษ ตามระเบียบวาดวยการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงคนักเรียน โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย พ.ศ. 2557 9.3 หากนักเรียนขาดเรียนไปโดยไมสงใบลา หรือไมไดรับแจงจากผูปกครอง เปนเวลา 3 วันติดตอกัน โรงเรียนจะดําเนินการตามขั้นตอนตอไปนี้ 9.3.1 ครูประจําชั้นจะสงใบแจงผูปกครองครั้งที่ 1 9.3.2 หากไมไดรับการติดตอกลับมาภายใน 7 วัน โรงเรียนจะเชิญ ผูปกครองมาพบ 9.3.3 หากผูปกครองไมมาติดตอครั้งที่ 1 โรงเรียนจะสงจดหมาย ลงทะเบียนตามที่อยูที่แจงไวกับทางโรงเรียน 9.3.4 หากโรงเรยนยี งไม ั ไดรบการตัดติอกลบครังทั้ 2 ี่โรงเรยนจะดี ําเนนการิ ตามระเบียบของงานทะเบียนและวัดผลโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย หมายเหตุ : ทุกครั้งที่นักเรียนหยุดเรียน ผูปกครองสามารถแจงใหทางโรงเรียนทราบ โดยโทรศัพทหมายเลข 0-2211-0383, 0-2211-9850 ตอ 115 รองผูอํานวยการ กลุมบริหารงานบุคคล หรือครูประจําชั้น ค. ระเบียบวาดวยการแตงกายของนักเรียน ทรงผม 1. การดดแปลงสภาพผมให ั เป นไปตามความเหมาะสม  อนญาตให ุยอมผมสนีํ้าตาลเขมได   2. เครื่องประดับผม ติดกิ๊บสีดําไมมีลวดลาย 3. กรณไวีผมสนั้ ไมอน ญาตให ุไถผมให เหนหน็งศั รษะและไม ี ไถเป ดข างใบห รองทรงสูงู 4. กรณีไวผมหนามายาวไมเกินขอบลางของคิ้ว 5. กรณีไวผมยาว มี 2 รูปแบบ ดังนี้ 1) ถักเปยเดียวหรือเปย 2 ขาง 2) รวบผมใหเรียบรอย ทั้ง 2 รูปแบบรัดดวยยางสีดํา ติดโบสําเร็จรูปหรือผูกโบ กวาง 1 นว ใหเรียบรอย ไมปลอยผมสยายเมื่ออยูในเครื่องแบบทั้งในและนอกสถานศึกษา คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 133


กระเปานักเรียน ใชกระเปาได 3 รูปแบบ คือ 1. กระเปาเปที่มีตราโรงเรียน 2. กระเปาเคียงที่มีตราโรงเรียน 3. กระเปาหนังแบบถือ นักเรียนสามารถเลือกใชกระเปาในรูแบบใดรูปแบบหนึ่ง หรือทั้ง 3 รูปแบบ ในการใส อุปกรณการเรียนมาโรงเรียนได เครื่องแบบ 1.1 เครื่องแบบปกติ เสื้อ ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ใชผาขาวไมมีลวดลายและไมบาง แบบเสื้อตามรูป คอลึกพอใหสวมศีรษะไดสะดวก (ดังรูปตัวอยางที่แนบมา) สาบตลบเขาขางใน สวนบนของ สาบใหใหญพอแบะคอแลวไมเห็นตะเข็บ ขางในใหมีขนาดของสวนตาง ๆ ดังนี้ 1. ปกยาว 15 ซม. ใชผา 2 ชั้น 2. แขนยาวเหนือขอพับแขน 5 ซม. ปลายแขนจีบ 6 จีบ (ขางละ 3 จีบ) โดยหันจีบออกจากเสนกลางไหลเทาๆ กัน ขอบแขนกวาง 3 ซม. พรอมติด กระดุมใหเร ียบรอย 3. ความยาวของตัวเสื้อวัดเสมอขอมือผูสวม 4. ชายเสื้อดานลางพับขอบเสื้อไมเกิน 4 ซม. 5. กระเปาติดดานลางทางขวามือกวาง 12 ซม. ยาว 13 ซม. (เมื่อเย็บเสร็จแลว) ปากกระเปาพับริมกวาง 2 ซม. 6. คอซองใชสีเดียวกับกระโปรง ชายสามเหลี่ยมกวาง 6 ซม. ยาว 80 - 100 ซม. ตัวคอซองเมื่อผูกแลวกวาง 6 ซม. ยาว 6 ซม. ตําแหนงของโบจะตองตรงกับ กระดุมแปกเม็ดบน (หรือใชคอซองสําเร็จรูปตามแบบที่โรงเรียนกําหนด) 7. ตัวเสื้อเผื่อหลวม 15 ซม. 8. สวมเสื้อทับแบบเรียบไมมีลวดลาย สีขาวเทานั้น (หามสวมเสื้อทับแบบเสื้อกลามและเสื้อสายเดี่ยวหรือเกาะอก) 9. ปกเครื่องหมาย ★ ดวยไหมสีนํ้าเงิน เหนือ ศ.ท. ดังนี้ ม.1 ★ ม.2 ★ ★ ม.3 ★ ★ ★ 134 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


10. เลขประจําตัวใชเลขไทย สูง 0.7 ซม. ปกใตอักษรยอ ศ.ท. สูง 1.5 ซม. เครื่องหมายและตัวอักษร ใชขนาดตามแบบของโรงเรียนเทานั้น ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 1. ใชผาส ขาวไม ีมลวดลายี และไมบางจนเก นไป ิ ปกเชติ้ ผาอกตลอด สวนกวาง 7 ซม. พับตลบเขาขางใน ติดกระดุมสีขาว 4 เม็ด เสนผาศูนยกลาง 1 ซม. 2. แขนเสื้อยาวไมเกินขอพับ ปลายแขนจีบ 6 จีบ (ขางละ 3 จีบ) โดยหันจีบ ออกจากเสนกลางไหลเทาๆ กัน ขอบแขนกวาง 3 ซม. 3. ตัวเสื้อเผื่อหลวม 15 ซม. สอดไวในกระโปรงพอเห็นเข็มขัด 4. สวมเสื้อทับแบบเรียบไมมีลวดลาย สีขาวเทานั้น (หามสวมเสื้อทับแบบเสื้อกลามและเสื้อสายเดี่ยวหรือเกาะอก) 5. ปกเครื่องหมาย ▲ ดวยไหมสีนํ้าเงิน เหนือ ศ.ท. ดังนี้ ม.4 ▲ ม.5 ▲ ▲ ม.6 ▲ ▲ ▲ 6. เลขประจําตัวใชเลขไทย ปกใตอักษรยอ ศ.ท. เครื่องหมายและตัวอักษร ใชขนาดตามแบบของโรงเรียนเทานั้น ติดเข็มเครื่องหมายโรงเรียน ที่อกเสื้อ เบื้องซาย ระดับเดียวกับอักษร ศ.ท. ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กระโปรง ใชผาสกรมทีาเกล ยงไม ี้มลวดลายี หามใช ผาเนอหนาื้ ลายสอง เวสปอย ดานหนา และดานหลังจีบขางละ 3 จีบ จีบลึก 3 ซม. หันจีบออกดานนอก แลวเย็บเกล็ดทับจีบ ตํ่าจากขอบลงมา 6 ซม. ความถี่แตละจีบ เวนระยะหางพองาม ความยาวของกระโปรง ใหคลุมใตเขาลงไป 4 ซม. ขอบอยูเสมอเอว รองเทา หนงสัดีําไมมลวดลายี หมปลายเทุา หมสุน หวมนั มสายรีดหลังเทัาแบบตายตวั สนสูงไมเกิน 5 ซม. ถุงเทา ถุงเทาไนลอน สั้นสีขาวแบบเรียบ ลอนเล็ก สวมแลวตลบปลายพับลงที่ขอเทา กวางประมาณ 4 ซม. หรือถุงเทาสีขาวลอนเล็กขอสั้นปดตาตุม หามใชถุงเทาไนลอน ชนิดบางลอนใหญหรือผาลูกฟูกชนิดหนา คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 135


เข็มขัด ชนมั้ธยมศั กษาตอนปลาย ึ คาดเขมข็ดหนังสัดีําเกลยงไม ี้มตีวอั กษรใด ัๆ ประทบอยัู กวางประมาณ 4 ซม. หัวเข็มขัดรูปสี่เหลี่ยมผืนผาชนิดหัวกลัดหุมหนังสีดํา มีปลอก ขนาดกวาง 1.5 ซม. สําหรับสอดปลายเข็มขัด เครื่องแบบพลศึกษา เสื้อพละ ทางโรงเรียนจัดจําหนายและปกสัญลักษณระดับชั้นเรียนและปกชื่อนักเรียน ใตสัญลักษณระดับชั้นเรียน กางเกง โรงเรียนจัดจําหนาย ใชกางเกงขายาว ผายืดเนื้อหนาสีนํ้าตาลเขม รองเทา รองเทาผาใบลวนสีขาว แบบสุภาพไมหุมขอ รอยเชือก ถุงเทา ใชเชนเดียวกับเครื่องแตงกายนักเรียน กระเปาใสหนังสือ ใหใชกระเปาหนังสีดําแบบธรรมดา มีฝาปด มีตัวล็อคดานหนา กระเปาเปสะพายของโรงเรียน หรือกระเปาเคียงที่โรงเรียนจัดจําหนายเทานั้น เครื่องประดับ ไมอนุญาตใหนกเรั ียนสวมเครื่องประดับใด ๆ นอกเหนือจากที่ระบุไวคือ 1. นากาิ ใหใชนา กาขิอมอแบบสืภาพุ หนาปดขนาด 2-2.5 ซม. สายนากาิ ตองเปนโลหะหรือหนังสีดํา นํ้าตาล ที่ไมมีลวดลาย 2. สรอยคอ ถาตองการแขวนพระหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่นักเรียนนับถือใหใช สายสรอยสแตนเลส (หามใชเชือก/สายพลาสติกสีดํา สีนํ้าตาล หรือสีอื่น ๆ) ที่มีความยาวพอที่จะไมเห็นออกมานอกเสื้อ 3. แวนตา ใหใชแวนตาที่มีกรอบโลหะ สีเงิน สีทอง สีดํา สีนํ้าตาล กรอบพลาสติกสีดํา สีนํ้าตาลแบบสุภาพไมมีลวดลาย หามใชแวนตา กรอบแฟชั่นขนาดใหญ 136 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


กฎกระทรวง ฎกระทรวง กําหนดความประพฤติของน หนดความประพฤติของนักเรียนและน เรียนและนักศึกษา พ.ศ. 2548 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 65 แหงพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ. 2546 อนเป ันกฎหมายทมี่บทบีญญัตับางประการเก ิยวกี่บการจั ํากดสัทธิและเสริภาพของบีคคลุ ซึ่งมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจ ตามบทบัญญัติแหงกฎหมายรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวง ไวดังตอ ไปนี้ ขอ 1 นักเรียนและนักศึกษาตองไมประพฤติตน ดังตอไปนี้ (1) หนีเรียนหรือออกนอกสถานศึกษาโดยไมไดรับอนุญาตในชวงเวลาเรียน (2) เลนการพนัน จัดใหมีการเลนการพนัน หรือมั่วสุมในวงการพนัน (3) พกพาอาวุธหรือวัตถุระเบิด (4) ซอื้ จําหนาย แลกเปลยนี่ เสพสราหรุอเครืองดื่มทื่มี่แอลกอฮอลีสงมิ่นเมาึ บุหรี่ หรือยาเสพติด (5) ลักทรัพย กรรโชกทรัพย ขมขู หรือบังคับขืนใจเพื่อเอาทรัพยบุคคลอื่น (6) กอเหตทะเลาะวุวาทิ ทํารายรางกายผอูนื่ เตรยมการหรีอกระทื ําการใดๆ อันนาจะกอใหเกิดความไมสงบเรียบรอย หรือขัดตอศีลธรรมอันดีของประชาชน (7) แสดงพฤติกรรมทางชูสาวซึ่งไมเหมาะสมในที่สาธารณะ (8) เกี่ยวของกับการคาประเวณี (9) ออกนอกสถานที่พักเวลากลางคืน เพื่อเที่ยวเตร หรือรวมกลุมอันเปน การสรางความเดือดรอนใหแกตนเองและผูอื่น คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 137


ขอ 2 ใหโรงเรียนหรือสถานศึกษา กําหนดระเบียบวาดวยความประพฤติของนักเรียน และนักศึกษาไดเทาที่ไมไดขัดแยงกับกฎกระทรวงนี้ ใหไว ณ วันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2548 จาตุรนต ฉายแสง (นายจาตุรนต ฉายแสง) รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา 64 แหง พระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ. 2546 บัญญัติใหนักเรียนและนักศึกษา ตองประพฤติตนตามระเบียบของโรงเรียนหรือสถานศึกษา และตามที่กําหนด ในกฎกระทรวง จึงจําเปนตองออกกฎกระทรวงนี้ 138 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


ระเบียบโรงเรียนสตรีศรีส ะเบียบโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย วาดวยการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค พึงประสงค ของนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีส เรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย พ.ศ. 2556 โดยที่เห็นเปนการสมควรปรับปรุงระเบียบโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัยวาดวยการพัฒนา คณธรรมจรุยธรรมิ และคณลุกษณะอันพั งประสงค ึของนกเรั ยนโรงเร ียนสตรีศรีสีรุโยท ิยั พ.ศ. 2548 ใหเหมาะสมยิ่งขึ้นเพื่อใหสอดคลองกับพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการครู และบุคลากร ทางการศกษาึ พ.ศ. 2547 ระเบยบกระทรวงศีกษาธึการวิาด วยการลงโทษน กเรัยนและนีกศักษาึ พ.ศ. 2548 วสิยทัศนั และนโยบายของโรงเร ยนสตรีศรีสีรุโยท ิยั และคณลุกษณะอันพั งประสงค ึ  ของนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุรโยท ิ ัยจึงวางระเบียบไวดังนี้ ขอ 1 ระเบยบนีเรี้ยกวีา “ระเบยบโรงเร ียนสตรีศรีสีรุโยท ิยวัาดวยการพฒนาคัณธรรมุ จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงคของนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย พ.ศ. 2557” ขอ 2 ระเบียบนี้มีผลบังคับใชตั้งแตปการศึกษา 2557 เปนตนไป ขอ 3 บรรดาระเบียบ ขอบังคับ หรือคําสั่งอื่นใดในสวนที่กําหนดไวแลวกอนหนา ระเบียบนี้ ซึ่งขัดแยงกับระเบียบนี้ใหใชระเบียบนี้แทน ขอ 4 ในระเบียบนี้ “ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย “รองผูอํานวยการ” หมายความวา รองผอูํานวยการโรงเรยนสตรีศรีสีรุโยท ิยั “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการดูแลคะแนน ความประพฤตินักเรียน “ครูประเมินความประพฤติ” หมายความวา ครผูปฏูบิตัหนิาท ในโรงเร ี่ยนสตรีศรีสีรุโยทิยั ทไดี่รบมอบหมายให ัตดตามพฤติกรรมิ ของนักเรียน “การลงโทษ” หมายความวา การลงโทษนักเรียนที่ประพฤติผิดหรือ ฝาฝนระเบียบขอบังคับของโรงเรียนหรือ ของกระทรวงศกษาธึการิ โดยมความมีงหมายุ เพื่อสั่งสอนใหนักเรียนมีความประพฤติดี คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 139


“การกระทําผิด” หมายความวา การที่นักเรียนประพฤติผิดหรือฝาฝน ระเบียบขอบังคับของโรงเรียนหรือ กระทรวงศึกษาธิการ “คะแนน” หมายความวา คะแนนความประพฤตินักเรียน “ทํากิจกรรม” หมายความวา การใหนกเรัยนทีกระที่ําผดไดิท ํากจกรรมิ หรอบื ําเพญตนให ็ เป นประโยชน ตอตนเอง โรงเรียนหรือสังคม “การติดตามพฤติกรรม” หมายความวา ดแลแกูไข ปรบปร ังุ นกเรัยนผีกระทู ําผดิ หรอทืมี่ความประพฤต ีเสิ ยหายเป ีนรายบคคลุ ขอ 5 นับแตวันขึ้นทะเบียนเปนนักเรียน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน มีคะแนน ความประพฤติ 100 คะแนน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มีคะแนนความประพฤติ 100 คะแนน ใหรักษาคะแนนความประพฤติไวเปนเวลา 3 ป ในแตละชวงชั้น ขอ 6 การตัดคะแนนใหเปนไปตามระเบียบนี้ เมื่อนักเรียนกระทําการใด ๆ เปน การประพฤติผิดหรือฝาฝนระเบียบขอบังคับของโรงเรียน หรือของกระทรวงศึกษาธิการ ขอ 7 ครทู ปฏี่บิตัหนิาท ในโรงเร ี่ยนสตรีศรีสีรุโยท ิยทักคนุ มสีทธิติ์ดคะแนนความประพฤต ั ิ ตามความเหมาะสมของความผดแติละครงั้ แลวบนทักเสนอหึวหนัาระดบั เพอบื่นทักลงทะเบึยนี ประเมินความประพฤตินักเรียน และในฐานขอมูลของกลุมบริหารงานบุคคล ตามเกณฑ ตอไปนี้ 7.1 ครูตัดคะแนนความประพฤติไดครั้งละไมเกิน 10 คะแนน 7.2 หัวหนาคณะ หัวหนาระดับ หัวหนากลุมสาระฯ ตัดคะแนนความประพฤติไดครั้งละไมเกิน 20 คะแนน 7.3 ผูชวยรองผูอํานวยการโรงเรียนกลุมบริหารงานบุคคล ตัดคะแนนความประพฤติไดครั้งละไมเกิน 30 คะแนน 7.4 รองผูอํานวยการโรงเรียน ตัดคะแนนความประพฤติไดครั้งละไมเกิน 40 คะแนน 7.5 กรณความผีดทิตี่ดคะแนนความประพฤต ัเกินิ 40 คะแนนใหอย ในดูลยพุนิจิ ของคณะกรรมการหรือผูอํานวยการโรงเรียน ขอ 8 การตัดคะแนนตามขอ 7.1 - 7.5 จะมีผลบังคับเมื่อไดรับความเห็นชอบจาก ผูอํานวยการโรงเรียน 140 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


ขอ 9 คณะกรรมการดูแลคะแนนความประพฤตินักเรียน ประกอบดวย 9.1 รองผูอํานวยการโรงเรียน กลุมบริหารงานบุคคล ประธานกรรมการ 9.2 หัวหนางานสงเสริมการมีระเบียบวินัยในตนเอง รองประธานกรรมการ 9.3 หัวหนาคณะ กรรมการ 9.5 หัวหนาระดับชั้น กรรมการ 9.6 หัวหนางานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน กรรมการและเลขานการุ ขอ 10 การลงโทษนักเรียนที่กระทําผิดมี 4 สถาน ดังนี้ 10.1 วากลาวตักเตือน 10.2 ทําทัณฑบน 10.3 ตัดคะแนนความประพฤติ 10.4 ทํากิจกรรมเพื่อใหปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ขอ 11 ลําดับโทษที่ใชลงโทษนักเรียนแตละระดับ นกเรัยนชีนมั้ธยมศักษาตอนตึนและมธยมศั กษาตอนปลาย ึ ลําดบโทษว ัากลาว ตักเตือน ทําทัณฑบนตัดคะแนนความประพฤติและทํากิจกรรมเพื่อใหปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ขอ 12 ลําดับโทษที่นักเรียนกระทําผิดจะมีผลมาจากการที่นักเรียนผูนั้นไมปฏิบัติ ตามระเบียบของโรงเรียนดังนี้ 12.1 โทษวากลาวตกเตั อนให ืบนทั กไว ึ เปนหลกฐานั และแจงบคลากรทุเกี่ยวขี่อง 12.2 โทษทําทณฑับน ใหจดทั ําหลกฐานทัณฑับน และแจงบคลากรทุเกี่ยวขี่อง 12.3 ตดคะแนนความประพฤต ั 5-35 ิคะแนน ใหดําเนนการติ ดคะแนนความประพฤต ั ิ บันทึกไวเปนหลักฐาน แจงผูปกครองและบุคลากรที่เกี่ยวของและ ครประจูําชนดั้แลการปรู บคะแนนพฤตั กรรมให ิเสรจส็ นภายใน ิ้ 7-15 วนั 12.4 ตดคะแนนความประพฤต ั 40-95 ิคะแนนเชญผิ ปกครองู และครประจูําชนั้ รับทราบ ตัดคะแนนความประพฤติ บันทึกไวเปนหลักฐานและแจง บคลากรทุเกี่ยวขี่องการแก ไขปร บคะแนนความพฤตักรรมนิกเรัยนตีองท ํา โครงการจิตอาสาบําเพ็ญประโยชนภายในสถานศึกษาที่ผานความเห็นชอบ จากคณะกรรมการดูแลคะแนนความประพฤตินักเรียน คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 141


12.5 ตัดคะแนนความประพฤติครบ 100 คะแนนในแตละปการศึกษาจะถูก พิจารณาไมใหเลื่อนชั้น หรือ เปลี่ยนสถานที่เรียน เนื่องจากขาดคุณลักษณะอันพึงประสงค ขอ 13 การลงโทษนกเรัยนี กลมบรุหารงานบิ คคลจะลงโทษกุต็อเม อปรากฏข ื่อเทจจร็งิ ชดแจังวานกเรัยนผีนู นได ั้กระท ําผดและสมควรถิ กลงโทษู โดยมรายงานเสนอเป ีนลายลกษณัอกษรั ตามลําดับชั้น การลงโทษตามขอ 12.2 ขอ 12.3 ขอ 12.4 และขอ 12.5 กอนลงโทษให ผเกูยวขี่อง เสนอความเห็นพรอมกับเหตุประกอบเสนอตอผูอํานวยการโรงเรียน เมื่อไดรับอนุญาตแลว จึงใหลงโทษได ผอู ํานวยการมสีทธิยิ์บยังั้ ลด เพมิ่ การตดคะแนนั การเพมคะแนนิ่ การลงโทษ ในทุกกรณี ตามท่เหี ็นสมควร ขอ 14 เกณฑการตัดคะแนนความประพฤติ กรณีความผิด ไมเกิน (คะแนน/ครั้ง) หมายเหตุ หมวดที่ 1 การแตงกายเครื่องแบบ นักเรียน 1.1 ตัดแปลงทรงผมผิดไปจากประกาศ (ยอมสีผมที่ไมใชสีดําหรือนํ้าตาลเขม) ไถผมเปดใหเห็นหนังศีรษะ 1.2 สักลวดลายตาง ๆ บนรางกาย 1.3 แตงเครองแบบนื่กเรัยนเขี าไปในสถานท  ี่ ที่ไมเหมาะสม 1.4 สวมใสเสื้อนักเรียน เสื้อพลศึกษา เสื้อกิจกรรมของบุคคลอื่น ที่ไมใชของตนเอง 1.5 ทรงผมผิดระเบียบแกไขไมไดโดยเร็ว 1.6 ทรงผมผิดระเบียบแกไขไดโดยเร็ว 1.7 เสอื้ กระโปรง เขมข็ดั ถงเทุารองเทา โบวผิดระเบียบ (แหงละ 5 คะแนน) ไมสวมใสเสื้อทับ ปลดกระดุมเสื้อเม็ดบน 10-20 10-20 5-20 10 10 5 5 เชิญผูปกครองเพื่อรวมกันแกไข เชญผิ ปกครองรูบทราบเพัอรื่วมกนแกั ไข แกไขและรายงานตัวเปนประจํา ทุกสัปดาหใหแกไขทันทีหรือใหโอกาส แกไขไมเกิน 1 วัน เชิญผูปกครองรับทราบแกไข แกไขและรายงานตัวเปนประจําทุกสัปดาห ใหโอกาสแกไขไมเกิน 1 วัน ใหแกไขทันทีหรือใหโอกาสแกไข ไมเกิน 1 วัน 142 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


กรณีความผิด ไมเกิน (คะแนน/ครั้ง) หมายเหตุ 1.8 สวมเสื้อพละในวันที่ไมมีการเรียนการสอน พลศึกษา หรือไมสวมเสื้อพละในวันที่มี การเรยนการสอนพลศีกษาึเกนิ 2 ครงั้ หลงจากั ไดรับการตักเตือน 1.9 สวมเสื้อนักเรียน เสื้อพลศึกษาโดยไมปก เครื่องหมายตาง ๆ ครบตามระเบียบ 1.10 ไมสวมชุดกิจกรรมในวันที่มีการเรียน การสอนวิชากิจกรรมโดยไมมีสาเหตุอันสมควร 1.11 แตงกายไมเหมาะสมทั้งในและ นอกสถานศึกษา 1.12 มีหรือใชเครื่องประดับหรือสิ่งของมีคา ไมเหมาะสมตอการเปนนักเรียน 1.13 มีหรือใชเครื่องสําอางและนํ้าหอมที่ไม เหมาะสมตอการเปนนักเรียน 1.14 สวมแวนตาที่มิใชแวนสายตา, ใชเลนส ตาแฟชั่น 1.15 ไวเล็บยาว ทาเล็บ ตอเล็บ 5 5 5 5 5 5 5 5 ใหแกไขทันที ใหโอกาสแกไขไมเกิน 1 วัน ยดและเชึญผิ ปกครองมารูบดัวยตนเอง ภายใน 7 วัน (หากไมมารับคืน จะจําหนายทิ้ง) ใหแกไขทันที (ตามกรณี) ยึดและเชิญผูปกครองมารับดวย ตนเองภายใน 7 วัน ใหแกไขทันที หมวดที่ 2 การเรียน หนีเรียน และ การรวมกิจกรรมในโรงเรียน 2.1 ทุจริตในการสอบ 2.2 หนีโรงเรียน 2.3 มาโรงเรียนสายบอยครั้ง (หลังเขาเรียน คาบที่ 1) โดยไมมีผูปกครองมารับรอง 2.4 มาโรงเรียนสาย (กอนเขาเรียนคาบที่ 1) 2.5 ไมเขาแถว/ไมเขาประชุม/ไมเขาเรียน ไมเขารวมกิจกรรมที่โรงเรียนจัด 2.6 เขาเรียน/เขาแถว/เขาประชุม ชากวาที่โรงเรียนกําหนด 50 20 10 5 5 5 พิจารณาใหรับโทษขั้นสูง คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 143


กรณีความผิด ไมเกิน (คะแนน/ครั้ง) หมายเหตุ 2.7 ขาดเรียนโดยไมมีเหตุผลอันควร 2.8 ใชกระเปานักเรียนผิดระเบียบ 2.9 ไมมีสมุดแบบเรียน หรืออุปกรณการเรียน 5 5 5 ยึดและเชิญผูปกครองมารับคืนดวย ตนเองภายใน 7 วัน ใหโอกาสสงอีกไมเกิน 1 วัน หมวดที่ 3 พฤติกรรมทางเพศและ พฤติกรรมกาวราว 3.1 เผยแพรภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว ทไมี่เหมาะสมบน Social Network ทงผั้เผยแพรู  และผูสนับสนุน 3.2 ทํารายรางกายผูอื่นจนเกิดบาดแผล 3.3 พกอาวุธหรือเจตนาใชวัสดุอื่นเปนอาวุธ 3.4 ทะเลาะวิวาท กอเหตุหรือยุยงใหเกิดเหตุ ทะเลาะวิวาท 3.5 ทํารายรางกายผูอื่น 3.6 มีพฤติกรรมทางเพศที่ไมเหมาะสม 3.7 การทําอนาจาร 3.8 กลาวค ําหยาบสอเสยดีดาทอเหนบแนม็ขมขู ดวยวาจาไมสุภาพ หรือดวยลายลักษณอักษร รวมทั้งบน Social Network ทั้งผูกระทําการ และผูสงเสริม 3.9 กาวราวตอบุคคลอื่น หรือบุพการีผูอื่น ดวยกริยาทิาทางวาจาไมสภาพุ /ดวยการกระท ํา และลายลักษณอักษร 3.10 กาวราว กระดางกระเดื่อง ตอครู/ผูปกครอง 3.11 หมิ่นประมาทผูอื่นดวยวาจา และลายลักษณอักษร 3.12 กลั่นแกลงลอเลียน หรือชักจูงผูอื่น ไปในทางเสื่อมเสีย 50 50 40 40 40 40 30 30 20 20 20 20 เชิญผูปกครองมารับทราบ และหาทางแกไข พิจารณาใหรับโทษขั้นสูง ยึดอาวุธไวกอนพิจารณาใหรับโทษขั้นสูง พิจารณาใหรับโทษขั้นสูงสุด พิจารณาใหรับโทษขั้นสูง เชิญผูปกครองมารับทราบ พิจารณาโทษขั้นสูง พิจารณาใหรับโทษขั้นสูง เชิญผูปกครองมารับทราบ และหาทางแกไข เชิญผูปกครองรับทราบ และหาทางแกไข เชิญผูปกครองรับทราบ และหาทางแกไข เชิญผูปกครองมารับทราบ และหาทางแกไข เชิญผูปกครองมารับทราบ และหาทางแกไข 144 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


กรณีความผิด ไมเกิน (คะแนน/ครั้ง) หมายเหตุ หมวดที่ 4 อบายมุขและความผิด เกี่ยวกับทรัพยสิน 4.1 ลักทรัพยฉอโกงทรัพยกรรโชกทรัพย ปลนทรัพยและหลอกลวงทรัพย 4.2 มีหรือเสพสิ่งเสพติด/มีอุปกรณ ในครอบครอง 4.3 มีสิ่งเสพติดไวเพื่อการจําหนายจายแจก 4.4 เลนการพนัน/มีอุปกรณการพนัน ไวในครอบครอง 4.5 ทําลายทรัพยสินของทางราชการ 4.6 นําเครองมื่อสือสารและเครื่องใช ื่ไฟฟ า ทุกชนิดมาใชในโรงเรียน 4.7 นํารถยนตรถจกรยานยนตั มาโรงเร ยนี 4.8 ขีดเขียน หรือพนสีเปนเหตุใหทรัพยสิน ของโรงเรียน หรือของผูอื่นเสียหาย 4.9 เขาไปแหลงอบายมุขหรือสถานที่ที่ไม เหมาะสมกับสภาพนักเรียน 4.10 สูบบุหรี่หรือมีบุหรี่/มีอุปกรณ ในครอบครอง 4.11 ดื่มหรือมีสุรา หรือเครื่องดื่ม ที่ผสมแอลกอฮอล/เครื่องดื่มผิดกฎหมาย 4.12 เปดไฟ เปดพัดลม เปดนํ้าทิ้งหลัง การใชงาน 50 50 50 40 40 20-40 40 40 30 30 30 10 พิจารณาโทษขั้นสูงเชิญผูปกครอง มารับทราบและหาทางแกไข พิจารณาโทษขั้นสูงเชิญผูปกครอง มารับทราบและหาทางแกไข พิจารณาโทษขั้นสูงเชิญผูปกครอง มารับทราบและหาทางแกไข พิจารณาโทษขั้นสูงเชิญผูปกครอง มารับทราบและหาทางแกไข เชิญผูปกครองรับทราบและรวมมือแกไข เชิญผูปกครองรับทราบและรวมมือแกไข เชิญผูปกครองรับทราบและหาทางแกไข ชดใชคาเสียหาย เชิญผูปกครอง รับทราบหาทางแกไขและพิจารณาโทษขั้นสูง เชิญผูปกครองรับทราบและหาทางแกไข พิจารณาโทษขั้นสูงเชิญผูปกครอง มารับทราบและหาทางแกไข หมวดที่ 5 การรักษาความสะอาด 5.1 ทําใหเกิดความสกปรกภายในโรงเรียน ดวยวิธีตาง ๆ นอกเหนือจากขอ 5.2-5.9 5.2 นําอปกรณุการร บประทานอาหารออก ั จากบริเวณโรงอาหารโดยไมไดรับอนุญาต 5.3 นําอาหารขึ้นอาคารเรียน 20 10 10 ถาทําใหทรัพยสินเสียหาย ใหพิจารณาใชเกณฑขอ 4.8 ถาเขาขายลักทรัพยพิจารณา ใชเกณฑขอ 4.1 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 145


กรณีความผิด ไมเกิน (คะแนน/ครั้ง) หมายเหตุ 5.4 รบประทานอาหารในขณะท ั ํากจกรรมิ เชาหนาแถวเคารพธงชาติ ในหองเรียน/ หองปฏ บิตัการหริอนื ําอาหารขนบนอาคารึ้ 5.5 รับประทานอาหารในเวลาเรียน 5.6 เดินรับประทานอาหาร 5.7 ทิ้งขยะไมเปนที่ 5.8 ไมทําเวรรักษาความสะอาดหองเรียน 5.9 สั่งนํ้ามูก หรือถมนํ้าลายไมเปนที่ 10 10 5 5 5 5 หมวดที่ 6 เอกสารและความผิดอื่น 6.1 ประพฤติผิดนอกโรงเรียนโดยแตงกาย เครื่องแบบนักเรียนหรือโดยประกาศเปน นักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัยหรือ กระทํา การใดอันทําใหโรงเรียนเสื่อมเสีย 6.2 ใหบุคคลภายนอกเขามาในโรงเรียน โดยใหสวมใส เส อของโรงเร ื้ยนสตรีศรีสีรุโยท ิยั 6.3 นําบคคลอุนมาแอบอื่างเป นผ ปกครองู 6.4 แอบอางชื่อบุคคลอื่นมาเปนชื่อตน 6.5 นําเอกสารของโรงเรียนไปใชในทาง ที่ไมถูกตอง หรือไมเปนไปตามที่โรงเรียน มอบหมาย 6.6 แกไขเอกสารของโรงเรียน ผูปกครอง หรือบุคคลอื่น หรือใชเอกสารปลอม 6.7 ปลอมลายเซ็นผูปกครอง หรือลายเซ็นครู อื่น ๆ 50 40 40 40 40 40 40 พิจารณาโทษขั้นสูง เชิญผูปกครอง รับทราบและหาทางแกไข พิจารณาโทษขั้นสูง เชิญผูปกครอง รับทราบและหาทางแกไข พิจารณาโทษขั้นสูง เชิญผูปกครอง รับทราบและหาทางแกไข พิจารณาโทษขั้นสูง เชิญผูปกครอง รับทราบและหาทางแกไข พิจารณาโทษขั้นสูง เชิญผูปกครอง รับทราบและหาทางแกไข พิจารณาโทษขั้นสูง เชิญผูปกครอง รับทราบและหาทางแกไข พิจารณาโทษขั้นสูง เชิญผูปกครอง รับทราบและหาทางแกไข 146 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


กรณีความผิด ไมเกิน (คะแนน/ครั้ง) หมายเหตุ 6.8 ใหการเท็จ 6.9 ไมนําหนังสือเชิญผูปกครองไปให ผูปกครองตามที่ไดรับมอบหมาย 6.10 ไมพกบัตรประจําตัวนักเรียน 40 10 5 พิจารณาโทษขั้นสูง เชิญผูปกครอง รับทราบและหาทางแกไข พิจารณาโทษขั้นสูง เชิญผูปกครอง รับทราบและหาทางแกไข หมายเหตุโทษขนสั้งู คอื สถานศกษาสามารถให ึท ํากจกรรมเพิ อปร ื่บเปล ัยนพฤตี่กรรมิ ไดตามความเหมาะสม ขอ 15 การเพมคะแนนความประพฤต ิ่นิกเรัยนี ครทูกคนมุสีทธิเสนอเพิ์ มคะแนนให ิ่นกเรัยนี ทมี่ความประพฤต ีดิไดีตามเกณฑก ําหนดตามลําดบขันตอนั้ และนกเรัยนผีนู นจะได ั้คะแนนเพมิ่ เมื่อคณะกรรมการเห็นชอบ 15.1 กระทําดีตอไปนี้เพิ่ม 5 คะแนน 15.1.1 ชวยรักษาความสะอาดโรงเรียนนอกเหนือจากทําเวรประจําวัน ของตนเองไมตํ่ากวา 5 ครั้ง 15.1.2 เกบเง็นหริ อของตกได ืมมีลคูาไม เกนิ 100 บาท นําไปแจงประกาศ  หาเจาของ 15.1.3 ชวยระงับยับยั้งการทะเลาะวิวาทของเพื่อนนักเรียนปรากฏ เปนหลักฐานชัดเจน 15.1.4 ชวยเหลือเพื่อนนักเรียนที่ดอยกวาตนอยางสมํ่าเสมอ 15.1.5 เขารวมกิจกรรมที่ทางโรงเรียนจัดขึ้นอยางนอย 4 ชั่วโมง 15.1.6 ชวยงานที่ครูมอบหมายอยางนอย 4 ชั่วโมง 15.1.7 ไดรับการแตงตั้งชื่อหรือเลือกตั้งใหเปนหัวหนาหอง 15.1.8 ไดรับการแตงตั้งชื่อหรือเลือกตั้งใหเปนคณะกรรมการคณะสี 15.1.9 การทําความดีอื่นใดที่เทียบไดกับ ขอ 15.1.1-15.1.8 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง 147


15.2 กระทําความดีตอไปนี้เพิ่ม 10 คะแนน 15.2.1 ชวยเหลือกิจกรรมของโรงเรียนดวยความตั้งใจจริง ไมตํ่ากวา 5 ครั้ง 15.2.2 เก็บเงินหรือของตกไดมีราคาตั้งแต 101-300 บาท นําไปแจง เพื่อประกาศหาเจาของ 15.2.3 ชชี้องทางหรอแจืงแแหลงอบายม ขใหุครอาจารยูทราบเพอการแกื่ไข ปองกันตอไป 15.2.4 แจงผูกระทําความผิดหรือกระทําความเสียหายใหกับโรงเรียน หรือสวนรวมใหครูทราบ 15.2.5 ใหขอเสนอแนะที่เปนประโยชนในการพัฒนาโรงเรียนโดยมี เอกสารเปนลายลักษณอักษร 15.2.6 ใหขอมูลแกครูเพื่อการทบทวนแกปญหาหรือพัฒนาการเรียนการสอน 15.2.7 ไดรับการแตงตั้งหรือเลือกตั้งใหเปนคณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการนักเรียน 15.2.8 เปนต วแทนของโรงเร ัยนเขีารวมแขงขนทางวัชาการหริอกืจกรรมิ อื่น ๆ ภายนอกโรงเรียนโดยมีเอกสารหลักฐาน 15.2.9 กระทําความดีอื่นใดที่เทียบไดกับ ขอ 15.2.1 -15.2.8 15.3 การกระทําความดีตอไปนี้เพิ่ม 15 คะแนน 15.3.1 ไดรบรางวัลจากหนัวยงานภายนอกและน ําชอเสื่ยงมาสี โรงเรูยนี 15.3.2 เก็บเงินหรือสิ่งของราคาตั้งแต 301 - 600 บาท นําไปแจง ประกาศหาเจาของ 15.3.3 ไดรับการแตงตั้งหรือเลือกตั้งใหเปนประธานคณะสี 15.3.4 ทําความดีอื่นใดที่เทียบไดกับความดี ขอ 15.3.1-15.3.2 15.4 กระทําความดีตอไปนี้เพิ่ม 20 คะแนน 15.4.1 ทําชื่อเสียงใหโรงเรียนทําใหบุคคลภายนอกรูจักเชื่อถือ นิยมยกยองระดับเขตพื้นที่การศึกษาขึ้นไป 15.4.2 เก็บเงินหรือสิ่งของราคาต้ังแต 601 บาท นําไปแจงประกาศ หาเจาของ 15.4.3 ไดรับการแตงตั้งหรือเลือกตั้งใหเปนประธานนักเรียน 15.4.4 ทําความดีอื่นใดที่เทียบไดกับความดี ขอ 15.4.1-15.4.3 ขอ 16 กรณีความผิดใดมิไดกําหนดไวตามขอ 14 และเหตุแหงการเพิ่มคะแนนมิได กําหนดไวตามขอ 15 และหรือมีความจําเปนตองการตีความในแตละกรณี ใหคณะกรรมการ พิจาณาเทียบเคียงและตีความ 148 คู‹มือนักเรียนและผูŒปกครอง


Click to View FlipBook Version