The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ฉบับสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thanpisithkokuer01, 2022-04-17 16:20:29

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ฉบับสมบูรณ์

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ฉบับสมบูรณ์

จริยธรรมและกฎหมายคอมพวิ เตอร์

(Ethics and Computer Laws)

รหัสวิชา 20204 – 2009 (2-0-2)

จุดประสงค์รายวิชา

1. เขา้ ใจเกี่ยวกบั จริยธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร์
2. เขา้ ใจในหลกั กฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ งคอมพิวเตอร์และพระราชบญั ญตั ิคอมพิวเตอร์
3. เขา้ ใจหลกั กฎหมายลิขสิทธ์ิ สิทธิบตั ร
4. มีเจตคติและกิจนิสยั ท่ีดีในการปฏิบตั ิงานคอมพิวเตอร์ดว้ ยความละเอียดรอบคอบ และถกู ตอ้ ง

สมรรถนะรายวชิ า

1. แสดงความรู้เก่ียวกบั จริยธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร์
2.แสดงความรู้เก่ียวกบั หลกั กฎหมายท่ีเก่ียวขอ้ งคอมพวิ เตอร์ และพระราชบญั ญตั ิคอมพิวเตอร์
3. แสดงความรู้เกี่ยวกบั หลกั กฎหมายลิขสิทธ์ิ และกฎหมายสิทธิบตั ร

คำนำ

หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Book) วชิ าจริยธรรมและกฎหมายคอมพวิ เตอร์ รหสั วิชา 20204 – 2009 จดั ทา
ข้ึนเพ่ือเป็ นส่วนหน่ึงของการศึกษาเรื่องต่างๆของวิชาจริยธรรมและคอมพิวเตอร์ เช่น ความรู้เรี่องเก่ียวกับ
หลกั การบริหารจดั การความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศ , ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของ
เทคโนโลยี , ระบบบริหารความปลอดภยั ของขอ้ มูล ISO 27001 , การกระทาความผิดเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ , การ
รักษาความปลอดภยั ของข้อมูลสารสนเทศในระบบเครือข่ายและอินเทอร์เน็ตและการใช้คอมพิวเตอร์โดย
คานึงถึงความปลอดภยั , ค่านิยมท่ีดีในการใช้คอมพิวเตอร์ รวมท้งั หมด 6 บท เพื่อให้นักศึกษาและผูท้ ี่สนใจ
ศึกษาคน้ ควา้ มีความรู้และความเขา้ ใจเกี่ยวกบั จริยธรรมและกฎหมายคอมพิวเตอร์

ผูจ้ ัดทาหวงั เป็ นอย่างยิ่งว่าการจัดทาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เล่มน้ีจะเป็ นประโยชน์ต่อ
นกั ศึกษาและผทู้ ี่สนใจ สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ ห้เกิดการเรียนรู้ความเขา้ ใจ หากผิดพลาดประการใดผูจ้ ดั ทา
ขออภยั ไว้ ณ ที่น้ีดว้ ย

ผจู้ ดั ทา

สำรบญั

ความรู้เกย่ี วกบั หลักการบริหารจดั การความปลอดภัยเทคโนโลยีสารสนเทศ

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยท่ี 1 1

- ความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ 4
- ระบบสารสนเทศคอมพวิ เตอร์
- ความสาคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ 11
- ผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศ
- การบริหารจดั การความปลอดภยั ของขอ้ มูลสารสนเทศ 14
- การเสริมสร้างความปลอดภยั
- ประเภทของภยั คุกคาม 15
- การรักษาความปลอดภยั บนระบบคอมพิวเตอร์
23
Web Guide
ใบความรู้อาเซียน หน่วยท่ี 1 26
ใบงานท่ี 1
แบบฝึ กหดั 30
กิจกรรมหน่วยท่ี 1 บรู ณาการจิตอาสา
กิจกรรมหน่วยที่ 1 บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง 32
กิจกรรมหน่วยท่ี 1 บูรณาการอาเซียน 33
แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยท่ี 1 34
35
36
39
39
40
42

สำรบญั

ทรัพย์สินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 2

- ทรัพยส์ ินทางปัญญา
- ความสาคญั ของทรัพยส์ ินทางปัญญา
- ประเภทของทรัพยส์ ินทางปัญญา
- ความหมายของทรัพยส์ ินทางปัญญาแต่ละประเภท
- กฎหมายลิขสิทธ์ิ
- กฎหมายสิทธิบตั ร
- จรรยาบรรณวชิ าชีพ

Web Guide
ใบความรู้อาเซียน หน่วยที่ 2
ใบงานที่ 2
แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 2
กิจกรรมหน่วยท่ี 2 บูรณาการจิตอาสา
กิจกรรมหน่วยท่ี 2 บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
กิจกรรมหน่วยที่ 2 บรู ณาการอาเซียน
แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยที่ 2

สำรบญั

ระบบบริหารความปลอดภัยของข้อมูล ISO 27001

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยท่ี 3

- ธรรมาภิบาลเทคโนโลยสี ารสนเทศในองคก์ ร (IT Governance)
- ความเป็นมาของระบบบริหารความปลอดภยั ของขอ้ มูล
- ISO 27001 ISO 27001 ป้อมปราการท่ีสาคญั สาหรับการดาเนินธุรกิจใน

ยคุ สมยั น้ี
- ความเหมาะสมของ ISO 27001
- ประโยชน์ของการรับรอง

Web Guide
ใบความรู้อาเซียน หน่วยที่ 3
ใบงานท่ี 3
แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 3
กิจกรรมบูรณาการจิตอาสา
กิจกรรมบูรณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง
กิจกรรมบูรณาการอาเซียนแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยที่ 3

สำรบญั

การกระทาความผิดเกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 4

- อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ (Computer Crime)
- พระราชบญั ญตั ิวา่ ดว้ ยการกระทาความผิดเก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์
- ความผดิ เกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์

Web Guide
ใบความรู้อาเซียน หน่วยที่ 4
ใบงานที่ 4
แบบฝึกหดั หน่วยที่ 4
กิจกรรมหน่วยท่ี 4 บูรณาการจิตอาสา
กิจกรรมหน่วยที่ 4 บูรณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง
กิจกรรมหน่วยท่ี บรู ณาการอาเซียน
แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยที่ 4

สำรบญั

การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลสารสนเทศในระบบเครือข่ายและ

อนิ เทอร์เนต็ และการใช้คอมพวิ เตอร์โดยคานงึ ถงึ ความปลอดภยั

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 5

- ความหมายของการพฒั นาจริยธรรม
- ความสาคญั ของการพฒั นาจริยธรรม
- สาเหตขุ องการพฒั นาจริยธรรมในงานอาชีพคอมพิวเตอร์
- ปัญหาจริยธรรมในอาชีพคอมพวิ เตอร์
- จริยธรรมในการประกอบอาชีพคอมพิวเตอร์
- การใชค้ อมพิวเตอร์อยา่ งปลอดภยั กบั สุขภาพ
- การป้องกนั ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในการใชค้ อมพิวเตอร์
- 20 ขอ้ ควรปฏิบตั ิที่เพิม่ ความปลอดภยั ในการใชง้ านคอมพิวเตอร์
- หลกั การใชอ้ ินเทอร์เน็ตอยา่ งปลอดภยั
- การป้องกนั คอมพิวเตอร์

Web Guide
ใบความรู้อาเซียน หน่วยท่ี 5
ใบงานที่ 5
แบบฝึกหดั หน่วยที่ 5
กิจกรรมหน่วยท่ี 5 บูรณาการจิตอาสา
กิจกรรมหน่วยที่ 5 บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง
กิจกรรมหน่วยที่ 5 บรู ณาการอาเซียน
แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยท่ี 5

สำรบญั

ค่านิยมที่ดีในการใช้คอมพวิ เตอร์

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 6

- ความหมายของนกั คอมพวิ เตอร์
- บทบาทและหนา้ ที่ของนกั คอมพิวเตอร์
- ความรับผิดชอบของนกั คอมพิวเตอร์
- คณุ สมบตั ิของนกั คอมพิวเตอร์
- จรรยาบรรณของนกั คอมพิวเตอร์
- คา่ นิยมท่ีพงึ ประสงคข์ องนกั คอมพิวเตอร์
- บคุ ลิกภาพของนกั คอมพวิ เตอร์

Web Guide
ใบความรู้อาเซียน หน่วยท่ี 6
ใบงานที่ 6
แบบฝึกหดั หน่วยที่ 6
กิจกรรมหน่วยท่ี 6 บูรณาการจิตอาสา
กิจกรรมหน่วยท่ี 6 บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง
กิจกรรมหน่วยที่ 6 บูรณาการอาเซียน
แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยท่ี 6
บรรณานุกรม

ควำมรูเ้ กี่ยวกบั หลกั กำรบริหำรจดั กำร

ฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟฟ

ควำมปลอดภยั เทคโนโลยสี ำรสนเทศ

สาระสาคญั

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หมายถึง การนาเอาเทคโนโลยมี าใช้
สร้างมลู ค่าเพมิ่ ให้กบั สารสนเทศ ทาใหส้ ารสนเทศมีประโยชนแ์ ละใชง้ านไดก้ วา้ งขวางมากข้ึน
เทคโนโลยีสารสนเทศรวมไปถึงการใชเ้ ทคโนโลยีดา้ นตา่ ง ๆ ที่จะรวบรวม จดั เก็บ ใชง้ าน ส่ง
ต่อหรือส่ือสารระหว่างกนั เทคโนโลยีสารสนเทศเก่ียวขอ้ งโดยตรงกบั เครื่องมือเคร่ืองใชใ้ น
การ จัดการสารสนเทศ ได้แก่ เคร่ืองคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง ข้นั ตอน วิธีการ
ดาเนินการซ่ึงเกี่ยวขอ้ งกบั ซอฟตแ์ วร์ เกี่ยวชอ้ งกบั ตวั ขอ้ มูล เก่ียวขอ้ งกบั บคุ ลากร เกี่ยวชอ้ งกบั
กรรมวิธีการดาเนินงาน เพ่อื ให้ขอ้ มลู เกิดประโยชนส์ ูงสุด

สมรรถนะประจาหน่วย

แสดงความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

เรื่องท่ีจะศึกษา เรื่องที่จะศึกษา

1. ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. อธิบายความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศได้
2. ระบบสารสนเทศคอมพวิ เตอร์ 2. ยกตวั อยา่ งระบมสารสนเทศคอมพวิ เตอร์ได้
3. ความสาคญั ของเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. จาแนกความสาคญั ของเทคโนโลยีสารสนเทศได้
4. เปรียบเทียบผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศได้
4. ผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศ 5. บริหารจดั การความปลอดภยั ของขอ้ มลู สารสนเทศได้
5. การบริหารจดั การความปลอดภยั ของ 6. เสริมสร้างความปลอดภยั ได้
ขอ้ มูลสารสนเทศ 7. วเิ คราะหป์ ระเภทของภยั คกุ คามได้
8.รักษาความปลอดภยั บนระบบคอมพิวเตอร์ได้
6. การเสริมสร้างความปลอดภยั
7. ประเภทของภยั คกุ คาม
8. การรักษาความปลอดภยั บนระบบ
คอมพิวเตอร์

ผงั มโนทัศน์

ระบบสารสนเทศ ความสาคัญของ
คอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยสี ารสนเทศ

ความหมายของ ผลกระทบของเทคโนโลยี
เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศ

ความรู้เกย่ี วกบั หลักการบริหารจดั การ
ความปลอดภัยเทคโนโลยสี ารสนเทศ

การรักษาความปลอดภัย การบริหารจดั การความ
ของระบบคอมพวิ เตอร์ ปลอดภัยของข้อมูล
สารสนเทศ

ประเภทของภยั คุกคาม การเสริมสร้างความปลอดภัย

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยท่ี 1

คาสั่ง จงทาเครื่องหมาย X ทบั ข้อท่ถี ูกต้องทส่ี ุด

1. ข้อใด ไม่ใช่ ส่วนประกอบของสารสนเทศ

ก. ฮาร์ดแวร์ ข. ซอฟตแ์ วร์

ค. โทรทศั น์ ง. ขอ้ มลู ขา่ วสาร

จ. การสื่อสาร

2. ส่วนสาคญั ของระบบสารสนเทศคอมพวิ เตอร์เพื่อจดั การให้คอมพวิ เตอร์ทางานได้ อย่างมีประสิทธภิ าพคือข้อ
ใด

ก. ฮาร์ดแวร์ ข. ซอฟตแ์ วร์

ค. เครือขา่ ย ง. กระบวนการทางาน

จ. บุคลากรทางสารสนเทศ

3. ข้อใด ไม่ใช่ ลกั ษณะทด่ี ีของข้อมูล

ก. มีความถกู ตอ้ ง ข. มีความทนั สมยั

ค. มีความสวยงาม ง. มีความน่าเชื่อถือ

จ. มีความแม่นยา

จ. ขอ้ มูลที่ผา่ นการประมวลผล

1

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

4. ข้อใดหมายถึงสารสนเทศ

ก. ขอ้ มูลที่มีจานวนมากๆ ข. ขอ้ มลู ท่ีใชใ้ นคอมพิวเตอร์

ค. ขอ้ มลู ที่ผา่ นบคุ คลจานวนมาก ง. ขอ้ มลู ท่ียงั ไมไ่ ดร้ ับการคดั กรอง

จ. ขอ้ มูลท่ีผา่ นการประมวลผล

5. ข้อใดไม่จดั ว่าเป็ นฮาร์ดแวร์

ก. แป้นพิมพ์ ข. ข่าวสาร

ค. จอภาพ ง. เครื่องพิมพ์

จ. คอมพวิ เตอร์

6. ข้อใดคือซอฟต์แวร์

ก. โปรแกรมคานวณ ข. เครื่องคดิ เลข

ค. เครื่องพิมพด์ ีด ง. ขอ้ มลู ขา่ วสาร

จ. คอมพิวเตอร์

7. ข้อใดคือผลบวกของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ก. ช่วยใหผ้ ลผลิตทางอุตสาหกรรมลดลง ข. ช่วยทาใหส้ ติปัญญาของมนุษยม์ ีเท่าเดิม

ค. ทาใหเ้ ศรษฐกิจของประเทศไทยไม่เจริญ ง. ทาใหเ้ กิดปัญหาเรื่องความขดั แยง้ ความเป็นอยู่

จ. ช่วยส่งเสริมความสะดวกสบายของมนุษย์

8. การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลสารสนเทศด้วยวธิ ีการเชิงกายภาพคือข้อใด

ก. การติดต้งั ระบบรักษาความปลอดภยั ของห้องเกบ็ ขอ้ มูล

ข. การกาหนดใหผ้ ใู้ ชข้ อ้ มลู มีรหสั ผา่ นเพ่ือการเขา้ ถึงขอ้ มลู ได้

ค. การกาหนดสิทธิในการเขา้ ใชข้ อ้ มลู สารสนเทศท่ีแตกตา่ งกนั

ง. การรักษาความปลอดภยั ของการเขา้ ใชข้ อ้ มูลตา่ ง ๆ ที่มีอยบู่ นระบบเครือขา่ ยน้นั ๆ

จ. การรักษาไวซ้ ่ึงประสิทธิภาพการส่งขอ้ มลู ใหม้ ีอตั ราส่งคงที่ รวดเร็ว และมีความถกู ตอ้ ง

2

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

9. ข้อใดคือการรักษาความปลอดภยั ของข้อมูลสารสนเทศด้วยวิธีการเชิงตรรกะ
ก. การกาหนดสิทธิในการเขา้ ใชห้ อ้ งเก็บขอ้ มลู
ข. การติดต้งั ระบบรักษาความปลอดภยั ของหอ้ งเก็บขอ้ มูล
ค. การกาหนดใหผ้ ใู้ ชข้ อ้ มูลมีรหสั ผา่ นเพื่อการเขา้ ถึงขอ้ มลู ได้
ง. การรักษาความปลอดภยั ของการเขา้ ใชข้ อ้ มลู ตา่ งๆ ที่มีอยบู่ นระบบเครือขา่ ยน้นั ๆ
จ. การรักษาไวซ้ ่ึงประสิทธิภาพการส่งขอ้ มลู ใหม้ ีอตั ราส่งคงท่ี รวดเร็ว และมีความถกู ตอ้ ง
10. ข้อใด ไม่ใช่ การรักษาความปลอดภยั ของระบบเครือข่าย
ก. การป้องกนั การแพร่กระจายของไวรัสคอมพิวเตอร์
ข. การติดต้งั ระบบรักษาความปลอดภยั ของหอ้ งเกบ็ ขอ้ มูล
ค. การป้องกนั ส่ิงแปลกปลอมต่าง ๆ เช่น สแปมเมล์ (spam mail)
ง. การรักษาความปลอดภยั ของการเขา้ ใชข้ อ้ มลู ต่าง ๆ ท่ีมีอยบู่ นระบบเครือข่ายน้นั ๆ
จ. การรักษาไวซ้ ่ึงประสิทธิภาพการส่งขอ้ มลู ใหม้ ีอตั ราส่งคงที่ รวดเร็วและมีความถูกตอ้ ง

3

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

หน่วยกำรเรยี นรูท้ ่ี 1

ความรู้เกยี่ วกบั หลกั การบริหารจัดการความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

1.ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยี หมายถึงการประยุกต์นาเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้และก่อให้เกิดประโยชน์ในทาง
ปฏิบตั ิแก่มวลมนุษยก์ ลา่ วคอื เทคโนโลยเี ป็นการนาเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใชใ้ นการประดิษฐส์ ่ิงของต่างๆ
ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดส่วนท่ีเป็ นขอ้ แตกต่างอยา่ งหน่ึงของเทคโนโลยกี บั วิทยาศาสตร์คือเทคโนโลยจี ะข้ึนอยู่
กบั ปัจจยั ทางเศรษฐกิจเป็นสินคา้ มีการซ้ือขายส่วนความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นสมบตั ิส่วนรวมมีการเผยแพร่โดย
ไม่มีการซ้ือขาย แต่อย่างใดกล่าวโดยสรุปคือเทคโนโลยีสมยั ใหม่เกิดข้ึนโดยมีความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็ น
ฐานรองรับบทบาทของเทคโนโลยีต่อการพฒั นาประเทศไทยได้เล็งเห็นความสาคญั ของวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยมี าเป็นลาดบั เช่นการตราพระราชบญั ญตั ิสถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ในปี พ.ศ. 2514 และจดั ต้งั
กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยแี ละการพลงั งานแห่งชาติข้ึนในปี พ.ศ. 2522 ให้ทาหนา้ ท่ีหลกั ในการเผยแพร่
และพฒั นาผลงานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์สูงสุดปัจจุบนั เทคโนโลยมี ีบทบาทต่อการ
พฒั นาอยา่ งมากกล่าวโดยสรุปดงั น้ี

4

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

เดก็ ควรรู้

เทคโนโลยีก่อให้เกิดผลกระทบต่อสังคมในพ้ืนที่เทคโนโลยีเขา้ ไปเกี่ยวขอ้ งในหลายรูปแบบเทคโนโลยีไดช้ ่วยให้
สังคมหลายๆแห่งเกิดการพฒั นาทางเศรษฐกิจมากข้ึนซ่ึงรวมท้งั เศรษฐกิจโลกปัจจุบนั หลายๆ ข้นั ตอนของการผลิตโดยใช้
เทคโนโลยีได้ทาให้เกิดผลผลิตท่ีไม่ตอ้ งการหรือเรียกว่ามลภาวะเกิดการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติและเป็ นการทาลาย
ส่ิงแวดลอ้ มเทคโนโลยีหลายๆอยา่ งที่ถกู นามาใชม้ ีผลต่อคา่ นิยมและวฒั นธรรมของสงั คมเมื่อมีเทคโนโลยใี หมๆ่ เกิดข้ึนมกั จะถูก
ต้งั คาถามทางจริยธรรม

1. เทคโนโลยกี บั การพฒั นาอุตสาหกรรม การนา
เทคโนโลยีมาใชใ้ นการผลิตทาให้ประสิทธิภาพในการ
ผลิตเพิ่มข้ึน ประหยัดแรงงาน ลดต้นทุน และรักษา
สภาพแวดล้อม เทคโนโลยีที่มีบทบาทในการพัฒนา
อุตสาหกรรมในประเทศไทย เช่น คอมพิวเตอร์และ
อิเล็กทรอนิกส์ การสื่อสาร เทคโนโลยีชีวภาพและ
พนั ธุกรรม วิศวกรรม เทคโนโลยีเลเซอร์ การส่ือสาร
การแพทย์ เทคโนโลยพี ลงั งาน เทคโนโลยี

คาถาม เทคโนโลยชี ีวภาพหมายถึง?
คาตอบ เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) เป็นความรู้หรือวิชาการที่สามารถนาส่ิงมีชีวิตหรือผลผลิตจากสิ่งมีชีวิต

มาใชห้ รือมาปรับเปลี่ยนและประยกุ ตเ์ พ่ือใชป้ ระโยชน์เรารู้จกั การใชเ้ ทคโนโลยีชีวภาพมานานแลว้ การทานาปลาซีอ้ิวการหมกั
อาหารหมกั เหลา้ ลว้ นเป็นเทคโนโลยีชีวภาพแบบด้งั เดิมเช่นเดียวกบั การปรับปรุงพนั ธุ์พืชสัตวใ์ หม้ ีผลผลิตมากข้นึ มีคณุ ภาพดีข้ึน
หรือการนาสมนุ ไพรมาใชร้ ักษาโรคบารุงสุขภาพก็จดั วา่ เป็นเทคโนโลยชี ีวภาพแบบด้งั เดิม

5

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

2. เทคโนโลยกี บั การพฒั นาดา้ นการเกษตรใชเ้ ทคโนโลยี
ในการเพิม่ ผลผลิตปรับปรุงพนั ธุ์เป็นตน้ เทคโนโลยมี ีบทบาทในการ
พฒั นาอยา่ งมากท้งั น้ีการนาเทคโนโลยมี าใชใ้ นการพฒั นาจะตอ้ ง
ศึกษาปัจจยั แวดลอ้ มหลายดา้ นเช่นทรัพยากรส่ิงแวดลอ้ มความเสมอ
ภาคในโอกาสและการแขง่ ขนั ทางเศรษฐกิจและสังคมเพอ่ื ใหเ้ กิด
ความผสมกลมกลืนตอ่ การพฒั นาประเทศชาติและส่วนอื่น ๆ

สารสนเทศ หมายถึง ขอ้ มลู ท่ีเป็นประโยชน์ต่อการดาเนิน
ชีวิตของมนุษยส์ ารสนเทศเกิดจากการนาขอ้ มูลผ่านระบบการ
ประมวลผลคานวณวิเคราะห์และแปลความหมายเป็ นขอ้ ความ
อย่างเป็ นระบบตามหลกั วิชาการท่ีสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
เช่นระบบสื่อสารผา่ นดาวเทียมหรือสัญญาณระบบต่าง ๆ การสร้าง
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบดาวเทียมการจองตว๋ั เคร่ืองบินการกด
เงินจาก ATM เป็นตน้

คาถาม องคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศมีก่ีองคป์ ระกอบอะไรบา้ ง?
คาตอบ มี 5 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ ฮาร์ดแวร์ซอฟตแ์ วร์ขอ้ มลู บคุ ลากรและข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน

เทคโนโลยีสารสนเทศ Information Technology หรือ IT
คือการประยุกตค์ วามรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใชใ้ นระบบสารสนเทศ
ต้งั แต่กระบวนการจดั เก็บประมวลผลและการเผยแพร่สารสนเทศ
เพื่ อช่ วย ใ ห้ไ ด้ส ารส นเท ศ ท่ี มี ป ระ สิ ท ธิ ภา พ และ รวดเร็ วทันต่อ
เหตกุ ารณ์โดยเทคโนโลยสี ารสนเทศอาจประกอบดว้ ย

6

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

1. เคร่ืองมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่นเคร่ืองคอมพิวเตอร์เครื่องใชส้ านกั งานอุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคม
ตา่ ง ๆ รวมท้งั ซอฟตแ์ วร์ท้งั แบบสาเร็จรูปและแบบพฒั นาข้ึนเพ่ือใชใ้ นงานเฉพาะดา้ นซ่ึงเครื่องมือเหล่าน้ีจดั เป็น
เครื่องมือทนั สมยั และใชเ้ ทคโนโลยรี ะดบั สูง (High Technology)

เดก็ ควรรู้

การส่ือสารขอ้ มูลหมายถึงการโอนถ่าย (Transmission) ขอ้ มูลหรือการแลกเปลี่ยนขอ้ มูลระหว่างทางกบั ปลายทางโดย
ใช้อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์หรือเคร่ืองคอมพิวเตอร์ซ่ึงมีตวั กลางเช่นซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ สาหรับควบคุมการส่งและการ
ไหลของขอ้ มูลจากตน้ ทางไปยงั ปลายทางนอกจากน้ีอาจจะมีผูร้ ับผิดชอบในการกาหนดกฎเกณฑใ์ นการส่งหรือรับขอ้ มูลตาม
รูปแบบท่ีตอ้ งการ

2. กระบวนการในการนาอปุ กรณ์เครืองมือตา่ ง ๆ ขา้ งตน้ มาใชง้ านเพื่อรวบรวม จดั เกบ็ ประมวลผล
และแสดงผลลพั ธ์เป็นสารสนเทศในรูปแบบตา่ ง ๆ ท่ีสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ไดต้ ่อไป เช่น การจดั เกบ็ ขอ้ มูล
ในลกั ษณะของฐาน ขอ้ มลู เป็นตน้

7

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยสี ารสนเทศจึงมีความหมายที่กวา้ งขวางรอบ ๆ ตวั ที่เกี่ยวกบั การใชส้ ารสนเทศอยมู่ ากดงั น้ี
1. การเก็บรวบรวมขอ้ มูลเป็นวธิ ีการรวบรวมขอ้ มูลเขา้ สู่ระบบนกั เรียนอาจเห็นพนกั งานการไฟฟ้าไปที่
บา้ นพร้อมเคร่ืองคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กเพ่ือบนั ทึกขอ้ มูลการใช้ไฟฟ้าในการสอบท่ีมีผูเ้ ขา้ สอบจานวนมากท่ีมี
การใช้ดินสอดาระบายตามช่องท่ีเลือกตอบเพ่ือให้เคร่ืองอ่านเก็บรวบรวมข้อมู ลได้เม่ือไปซ้ือสินค้าท่ี
ห้างสรรพสินคา้ ที่มีการใช้รหสั แท่ง (bar code) พนกั งานจะนาสินคา้ ผ่านการตรวจของเครื่องอ่านรหัสแท่งเพ่ือ
อ่านขอ้ มูลการซ้ือสินคา้ เมื่อไปท่ีหอ้ งสมุดกพ็ บว่าหนงั สือมีรหสั แท่งเช่นเดียวกนั การใชร้ หสั แท่งน้ีเพ่ือให้ง่ายตอ่
การจดั การขอ้ มลู จะเห็นไดว้ า่ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากคอมพิวเตอร์สามารถเกบ็ ไดห้ ลายแบบ

เดก็ ควรรู้

บาร์โคด้ ถูกใชเ้ ป็นคร้ังแรกเพื่อติดป้ายกากบั รถราง แต่ก็ไม่ประสบผลสาเร็จในเชิงพาณิชยจ์ นกระทงั่ ระบบ ณ จุดขาย
อตั โนมตั ิในซุปเปอร์มาร์เกต็ ไดน้ าบาร์โคด้ ไปใชซ้ ่ึงเป็นงานหน่ึงท่ีทาให้บาร์โคด้ แพร่หลายไปเกือบทวั่ โลกการใชง้ านบาร์โคด้ ก็
แพร่กระจายไปยงั งานอื่น ๆ ที่มกั เกี่ยวขอ้ งกบั การระบุและการจบั ขอ้ มูลอตั โนมตั ิ (automatic identification and data capture:
AIDC) บาร์โคด้ สมยั ใหม่ในรูปแบบรหสั ผลิตภณั ฑส์ ากล (Universal Product Code: UPC) อนั แรกสุดท่ีถูกอ่านคอื บาร์โคด้ ที่ติด
อยบู่ นห่อหมากฝรั่งริกลียเ์ มื่อเดือนมิถนุ ายน ค.ศ. 1974

2. การประมวลผล ขอ้ มูลที่เก็บมาไดม้ กั จะเก็บในสื่อต่างๆเช่น แผ่นบนั ทึก แผ่นซีดี และ เทป ขอ้ มูล
เหล่าน้ีจะถูกนามาประมวลผลตามความตอ้ งการ เช่น แยกแยะขอ้ มูล เป็ นกลุ่มเรียงลาดับขอ้ มูลคานวณหรือ
จดั การคดั แยกขอ้ มูลที่จดั เกบ็ น้นั

8

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

3. การแสดงผลลัพธ์คือการนาผลจากการประมวลผลท่ีได้มาแสดงผลลพั ธ์ให้อยู่ในรูปแบบต่าง ๆ
อปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการแสดงผลลพั ธ์มีมากสามารถแสดงเป็นตวั หนงั สือรูปภาพตลอดจนพมิ พอ์ อกมาที่กระดาษการ
แสดงผลลพั ธม์ ีท้งั ที่แสดงเป็นภาพเสียงและวีดีทศั น์เป็นตน้

คาถาม วีดีทศั น์ คอื อะไร?
คาตอบ ภาพหรืออะไรกไ็ ดท้ เี่ กี่ยวขอ้ งกบั การแสดงภาพในทางคอมพิวเตอร์จึงหมายถึงอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ท่ีจะช่วยทาให้มี

การแสดงภาพบนจอไดไ้ ม่ว่าจะเป็นโปรแกรมเก่ียวกบั ภาพจานบนั ทึกท่ีใชเ้ กบ็ ภาพหน่วยประมวลผลที่สามารถประมวลผลภาพ
ไดเ้ รามกั ใชค้ านาหนา้ คาอนื่ เช่น video disk, video conference เป็นตน้

9

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 ความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

4. การทาสาเนาเม่ือมีขอ้ มูลท่ีจดั เก็บในสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ต่าง ๆ การทาสาเนาจะทาไดง้ ่ายและทาไดเ้ ป็น
จานวนมากอุปกรณ์ที่ช่วยในการทาสาเนาจดั ไดว้ ่าเป็ นเทคโนโลยีสารสนเทศอีกประเภทหน่ึงที่มีการพฒั นามา
อยา่ งตอ่ เน่ืองเรามีเครื่องพมิ พเ์ คร่ืองถ่ายเอกสารอปุ กรณ์การเก็บขอ้ มลู ทางอิเลก็ ทรอนิกส์เช่นแผน่ บนั ทึกซีดีรอม
ซ่ึงสามารถทาสาเนาไดเ้ ป็นจานวนมาก

5. การส่ือสารโทรคมนาคมเป็นวธิ ีการที่จะส่งขอ้ มลู หรือข่าวสารจากที่หน่ึงไปยงั อีกท่ีหน่ึงหรือกระจาย
ออกไปยงั ปลายทางคร้ังละมาก ๆ ปัจจุบนั มีระบบสื่อสารโทรคมนาคมหลายประเภทต้งั แต่โทรเลขโทรศพั ท์
โทรสารวิทยโุ ทรทศั น์และเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ที่มีรูปแบบของส่ือหลายอยา่ งเช่นสายโทรศพั ทเ์ สน้ ใยนาแสง
เคเบิลใตน้ ้าคล่ืนวิทยไุ มโครเวฟและดาวเทียมเป็นตน้

10

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

เดก็ ควรรู้ 4. ส่ือนาขอ้ มลู (Medium)
5. โปรโตคอล (Protocol)
องคป์ ระกอบของการสื่อสาร
1. ผสู้ ่งขอ้ มลู (Sender)
2. ผรู้ ับขอ้ มูล (Receiver)
3. ขอ้ มูล (Data)

2.ระบบสารสนเทศคอมพวิ เตอร์

ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ประกอบดว้ ยส่วนประกอบหลกั 6 ส่วนคอื

1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึงเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงเช่นแป้นพิมพ์เมาส์หน่วย
ประมวลผลกลางจอภาพเครื่องพิมพแ์ ละอุปกรณ์อ่ืน ๆ ฮาร์ดแวร์จะทางานตามโปรแกรมหรือซอฟตแ์ วร์ที่เขียน
ข้ึน

11

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

2.ซอฟตแ์ วร์ (Software) บางคร้ังเรียกว่าโปรแกรมหรือชุดคาสั่งวตั ถุประสงคห์ ลกั ของซอฟต์แวร์ท่ีส่ัง
ใหฮ้ าร์ดแวร์ทางานคือการประมวลผลขอ้ มูล (Data) ใหเ้ ป็นสารสนเทศ (Information)

3.ขอ้ มูลหรือข่าวสารสนเทศ (Data หรือ Information) ในการประมวลผลขอ้ มลู คอมพิวเตอร์จะ
ประมวลผลตามขอ้ มูลหรือขอ้ มลู สารสนเทศที่ป้อนเขา้ สู่หน่วยรับขอ้ มูลดงั น้นั ขอ้ มูลจึงเป็นส่วนสาคญั อยา่ งหน่ึง
ในการประมวลผลเพื่อใหไ้ ดส้ ารสนเทศเพอ่ื การตดั สินใจ

คาถาม เทคโนโลยคี มนาคมและการสื่อสารนามาประยกุ ตใ์ ชเ้ พอื่ พฒั นาและปรับปรุงการดาเนินงานทางธุรกิจโดยมี

วตั ถุประสงคอ์ ะไรบา้ ง?

คาตอบ มีวตั ถปุ ระสงคห์ ลกั 4 ประการดงั น้ี

1. เพ่อื การส่ือสารทางธุรกิจท่ีดีข้นึ 2. เพื่อให้การดาเนินงานมปี ระสิทธิภาพสูงข้ึน
3. เพ่ือการกระจายขอ้ มูลท่ดี ีข้นึ 4. เพ่อื การจดั การกระบวนการธุรกิจท่ีสะดวกข้นึ

12

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

5. กระบวนการทางาน (Procedure) เป็นข้นั ตอนการทางานเพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลลพั ธห์ รือขอ้ มูลสารสนจาก
คอมพิวเตอร์ในการทางานกบั คอมพวิ เตอร์จาเป็นท่ีผใู้ ชจ้ ะตอ้ งเขา้ ใจข้นั ตอนการทางานเพื่อใหไ้ ดง้ านท่ีถกู ตอ้ ง
และมีประสิทธิภาพ

6. บคุ ลากรทางสารสนเทศ (Information Systems Personnel) เป็นส่วนที่สาคญั ของระบบสารสนเทศ
คอมพวิ เตอร์เพ่ือจดั การใหค้ อมพวิ เตอร์ทางานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพตลอดจนทางานร่วมกบั ผใู้ ชอ้ ยา่ งใกลช้ ิด

13

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

3.ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

สามารถอธิบายความสาคญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ในดา้ นท่ีมีผลกระทบต่อการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมด้าน
ตา่ ง ๆ 6 ขอ้ ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. เทคโนโลยีสารสนเทศทาใหส้ ังคมเปลี่ยนจากสังคม
อุตสาหกรรมมาเป็ นสังคมสารสนเทศ

2. เทคโนโลยีสารสนเทศทาใหร้ ะบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแห่งชาติไปเป็นเศรษฐกิจโลกที่ทาให้ระบบ
เศรษฐกิจ
ของโลกผกู พนั กบั ทกุ ประเทศความเชื่อมโยงของเครือขา่ ยสารสนเทศทาให้เกิดสงั คมโลกาภิวตั น์

3. เทคโนโลยสี ารสนเทศทาให้องคก์ รมีลกั ษณะผกู พนั มีการบงั คบั บญั ชาแบบแนวราบมากข้ึนหน่วยธุรกิจมี
ขนาดเลก็ ลงและเช่ือมโยงกบั หน่วยธุรกิจอื่นเป็นเครือข่ายการดาเนินธุรกิจมีการแข่งขนั กนั ในดา้ นความเร็วโดย
อาศัยการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการส่ือสารโทรคมนาคมเป็ นตัวสนับสนุนเพ่ือให้เกิดการ
แลกเปล่ียนขอ้ มูลไดง้ ่ายและรวดเร็ว

4. เทคโนโลยสี ารสนเทศเป็นเทคโนโลยแี บบสุนทรียสัมผสั และสามารถตอบสนองตามความตอ้ งการการใช้
เทคโนโลยใี นรูปแบบใหมท่ ่ีเลือกไดเ้ อง

5. เทคโนโลยสี ารสนเทศทาใหเ้ กิดสภาพทางการทางานแบบทกุ สถานท่ีและทกุ เวลา
6. เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดาเนินการระยะยาวข้ึนอีกท้งั ยงั ทาให้วิถีการตดั สินใจ
หรือเลือกทางเลือกไดล้ ะเอียดข้ึน

14

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

เดก็ ควรรู้ ขอ้ ดีของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยสี ารสนเทศมเี ป้าหมายกาหนดไวด้ งั น้ี

1. เพม่ิ ประสิทธิภาพการทางาน 2 เพ่ิมผลผลิตใหม่และขยายผลผลิต
3.เพิ่มคณุ ภาพบริการลกู คา้ 4. ผลิตสินคา้
5. สามารถสร้างทางเลือกเพ่อื แขง่ ขนั ได้ 6. สร้างโอกาสทางธุรกิจ
7. ดึงดูดลูกคา้ และป้องกนั คู่แขง่

4. ผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศ

การขยายตัวของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศมีการขยายตัวอย่างรวดเร็วขีด
ความสามารถในการใชง้ านเพ่ิมข้ึน ขณะเดียวกนั ก็มีราคาถูกลง มีการประยุกตใ์ ชง้ านอย่าง กวา้ งขวาง จนกล่าว
ได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับ
มนุษยท์ ุกคนไม่ทางตรง ก็ทางออ้ ม ยกตวั อย่างประเทศ
สหรัฐอเมริกาท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นไดช้ ดั โดยใน
อดีตสหรัฐเป็ นประเทศเกษตรกรรม มีผลผลิตทางด้าน
การเกษตรเป็ นสินคา้ หลกั ต่อมาเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
การผลิตเป็ นประเทศอุตสาหกรรม ปริมาณสัดส่วนของ
สินค้าด้านอุตสาหกรรมเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว และใน
ปัจจุบนั โครงสร้างการผลิตของสหรัฐ เนน้ ไปท่ีธุรกิจการใหบ้ ริการและการใชส้ ารสนเทศ กนั มาก ทาใหส้ ดั ส่วน
การผลิตสินคา้ เกษตรลดลงไม่ถึง 5% ของสินคา้ ท้งั หมด ส่วนสินคา้ อุตสาหกรรม มีมูลค่านอ้ ยกวา่ อุตสาหกรรม
บริการ ซ่ึงใช้ข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นหลัก หากมองภาพการใช้คอมพิวเตอร์และ
ระบบสื่อสารทวั่ ไปของโลก ปัจจุบนั มูลคา่ ของสินคา้ ทางดา้ น เทคโนโลยสี ารสนเทศไดข้ ยายตวั อยา่ งรวดเร็ว ซ่ึง
ประเทศท่ีพฒั นาแลว้ 10 ประเทศ มีสัดส่วน การใชค้ อมพวิ เตอร์มากถึงกว่า 90% ของปริมาณการใชค้ อมพิวเตอร์
ท่ัวโลก ประเทศท่ีพฒั นาแล้ว 10 อันดับ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ญี่ป่ ุน เยอรมนี ฝร่ังเศส อังกฤษ
เนเธอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ เดนมาร์ก และแอฟริกาใต้ ถา้ พิจารณา บริษทั ผูผ้ ลิตสินค้าทางเทคโนโลยี
สารสนเทศพบว่า ประเทศ ผผู้ ลิตเพ่ือส่งออกขายมีเพียงไม่กี่ประเทศ ประเทศเหล่าน้ี ส่วนมากมีเทคโนโลยีของ
ตนเองมีการค้นคิดวิจัยและพฒั นาสินคา้ ให้ก้าวหน้าอยู่ตลอดเวลาจากความก้าวหน้าของคอมพิวเตอร์และ
เครื่องมือส่ือสารทาให้อุปกรณ์ต่าง ๆ มีขนาดเล็กลง แต่มีความสามารถเพิ่มข้ึนและมีราคาถูกลงจนผูท้ ่ีสนใจ
สามารถหาซ้ือมาใชไ้ ดจ้ นแทบกล่าวไดว้ ่าบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศจะเขา้ มามีส่วนในทุกบา้ นเพราะ
เคร่ืองใชอ้ านวยความสะดวกต่างๆ ลว้ นแลว้ แต่มีส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารอยดู่ ว้ ยเสมอ

15

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

ปัจจุบนั คอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารไดส้ ร้างประโยชน์อยา่ งใหญ่หลวงต่อวงการทางธุรกิจ ทาใหท้ ุก
ธุรกิจมีการลงทนุ ขยายขอบเขตการใหบ้ ริการ โดยใชร้ ะบบสารสนเทศกนั มากข้นึ กลไก เหล่าน้ีทาใหโ้ อกาสการ
ขยายตวั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศกวา้ งขวางเพิ่มข้ึน นอกจากน้ีการเช่ือมโยง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทาใหส้ งั คม
โลกเป็นสังคมแบบไร้พรมแดน การใชง้ านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์เน็ต มีอตั ราการขยายตวั สูงมาก
จนกล่าวไดว้ ่าเป็นอตั ราการขยายตวั แบบทวีคูณ จนเช่ือแน่ว่าภายในระยะเวลาอีกไม่นานผูค้ นบนโลกสามารถ
ติดตอ่ สื่อสารกนั ผา่ นทางเครือข่าย อินเทอร์เน็ตไดห้ มด

ผลกระทบในทางบวก
ผลกระทบในทางบวกหากยอ้ นยคุ ไปในอดีตต้งั แต่
การประดิษฐ์คอมพิวเตอร์ข้ึนเม่ือปลายสงครามโลกคร้ังท่ี 2
คอมพิวเตอร์ในยุคแรกเนน้ การออกแบบเพ่ือเป็นเคร่ืองจกั ร
ช่วยคานวณเพื่อให้การคานวณทางคณิตศาสตร์ท่ีมีความ
ยุ่งยากซบั ซอ้ นทาไดง้ ่ายและรวดเร็วข้ึนคอมพิวเตอร์เครื่อง
แรก ๆ ของโลกส่วนใหญ่สร้างในมหาวิทยาลยั มีจุดมุ่งหมาย
เพื่อเป็ นเคร่ื องคานวณอิเล็กทรอนิกส์การนาคอมพิวเตอร์ มา
ใชเ้ ป็นเคร่ืองคานวณทาใหเ้ กิดการคน้ ควา้ ทางวิชาการเช่นการวิเคราะห์เชิงตวั เลขการแกส้ มการหลาย ๆ ช้นั ที่มี
ตวั แปรจานวนมากการนาคอมพิวเตอร์ไปใชใ้ นการคานวณทางสถิติช่วยยาให้การสารวจสามะโนประชากรทา
ไดร้ วดเร็วการใชค้ อมพิวเตอร์เพอ่ื การคา้ นวณทาใหเ้ กิดการพฒั นาซอฟตแ์ วร์ตัวแปลภาษาที่เนน้ การคานวณเป็น
หลกั เช่น ภาษาฟอร์แทรน ภาษาเบสิกการใชค้ อมพิวเตอร์เพื่อการคานวณยงั คงดาเนินต่อมาจนถึงปัจจุบนั โดย
เฉพาะงานคานวณในปัจจุบนั มีความสลบั ซับซอ้ นยงิ่ ข้ึนเช่นการคานวณมวลของอากาศที่เคล่ือนไหวบนผิวโลก
ทาใหเ้ กิดการพยากรณ์อากาศล่วงหนา้ ไดใ้ นช่วงหลงั จากปี พ.ศ. 2500 การดาเนินงานในวงการธุรกิจตอ้ งการใช้
เคร่ืองจกั รช่วยมากข้ึนคอมพิวเตอร์ในยุคน้ีเนน้ ในเรื่องการประมวลผลขอ้ มูล (data processing) การประมวลผล
ขอ้ มูล หมายถึง การนาขอ้ มูลมาทาให้เป็นสารสนเทศมีการพฒั นาตวั แปลภาษาที่เหมาะสมกบั งานประมวลผล
ขอ้ มูล ไดแ้ ก่ ภาษาโคบอลเป็นภาษาที่เหมาะกบั การประยกุ ตใ์ ชง้ านการประมวลผลขอ้ มลู และยงั คงนิยมตอ่ มา

16

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 ความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

งานทางดา้ นธุรกิจส่วนใหญ่มุง่ ท่ีจะใหค้ อมพวิ เตอร์ช่วยประมวลผลขอ้ มูลที่มีจานวนมากเช่นช่วย
คานวณสถิติขอ้ มูลของ บริษทั ช่วยจดั การเรื่องขอ้ มูลบญั ชีขอ้ มูลสินคา้ คงคลงั และวตั ถดุ ิบการติดตามและการ
เรียกเก็บหน้ีสินตา่ งๆคอมพิวเตอร์ยงั มีประโยชน์อยา่ งใหญ่หลวงในวงการธุรกิจหลงั จากท่ี บริษทั อินเทพได้
สร้างไมโครโพรเซสเซอร์สาเร็จในปี พ.ศ. 2518 การใชง้ านคอมพิวเตอร์เขา้ มามีบทบาทในธุรกิจขนาดเลก็ และ
ในท่ีสุดก็มีคอมพิวเตอร์ส่วนบคุ คล ยคุ ของการประมวลผล กา้ วมาสู่ยคุ งานสารสนเทศ มีการมองระบบขอ้ มลู ใน
รูปแบบการใชง้ านที่กวา้ งขวางกวา่ เดิม มีระบบ สู่ การประมวลผลแบบเช่ือมตรงเรียกคน้ ขอ้ มลู ที่ตอบโตไ้ ดท้ นั ที

ผใู้ ชค้ อมพิวเตอร์พบวา่ สารสนเทศที่ได้ จากการใชค้ อมพิวเตอร์เพ่ือคานวณ แยกแยะ จดั การกบั ขอ้ มลู มี
ประโยชน์อยา่ งยง่ิ ในเร่ืองการวางแผน การจดั การ การควบคมุ งานในหน่วยงาน ทาใหผ้ บู้ ริหารไดป้ ระโยชน์จาก
การใช้ขอ้ มูลในการวางแผนแข่งขันกบั หน่วยงานอ่ืนได้ การพฒั นาระบบสารสนเทศจึงแพร่กระจายไปใน
องคก์ าร เพ่อื ใหอ้ งคก์ าร มีระบบการจดั การท่ีใชข้ อ้ มูลอยา่ งเตม็ ที่

ต่อมาในระยะหลงั ปี พ.ศ.2530 พบว่าระบบสารสนเทศ ประการ เช่น สารสนเทศท้งั หลายท่ีไดม้ าจาก
ขอ้ มูลน้ันยงั ไม่ จึงเกิดความตอ้ งการให้ไดร้ ะบบที่ช่วยเสริมการทางานของผู้ ผูบ้ ริหารมีลกั ษณะการรวบความ
รอบรู้ เกิดการประมวลผล คอมพิวเตอร์ช่วยงานต่าง ๆ ไดม้ ากแลว้ ก็ตาม แต่ยงั ตอ้ งพฒั นา ของคอมพิวเตอร์ช่วย
ใหก้ ารทางานของมนุษยด์ ีข้ึน ทาให้มนุษย์ ต่าง ๆ มารวมไวเ้ ป็นหมวดหมู่ วิวฒั นาการเหล่าน้ีย่อม ทาใหเ้ กิดผล
กระทบต่อสังคมอยา่ งมากมาย ซ่ึงมีผกู้ ล่าวว่า สังคมโลกกาลงั อย่ใู นยุคของการปฏิวตั ิ คร้ังที่ 3 คร้ังแรก เกิดเม่ือ
มนุษยค์ ิดคน้ วิธีการทางการเกษตร สามารถปลูกพืช เล้ียงสัตว์ ซ่ึงเปล่ียนการเร่ร่อนของมนุษยใ์ ห้มาต้งั ถ่ินฐาน
เพ่ือทาการเกษตร ต่อมาเกิดการปฏิวตั ิทางอุตสาหกรรม ทาให้เกิดระบบการผลิตและเกิดโรงงานอุตสาหกรรม
ข้ึน มากมาย มีการรวมกลุ่มเป็ นสังคมเมือง และปัจจุบนั กาลงั กา้ วเขา้ สู่ยุคสารสนเทศ ซ่ึงเห็นได้ชดั จากการ
สื่อสารท่ีใหข้ ่าวสาร ไร้พรมแดน ผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศต่อสังคมในทางบวกหรือทางท่ีดีมีดงั น้ี

17

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

เดก็ ควรรู้ ขอ้ เสียของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. วงจรชีวิตของระบบสารสนเทศเป็นระบบที่มีวงจรชีวติ ค่อนขา้ งจากดั อาจจะอธิบายไดว้ า่
เน่ืองจากการเปล่ียนแปลงทางดา้ นเทคโนโลยี รวมท้งั สภาพทางเศรษฐกิจและธุรกิจ
2. ลงทุนสูง เทคโนโลยสี ารสนเทศเป็นเคร่ืองมือท่ีมีราคาแพง และส่วนมากไมอ่ าจจะนาไปใชไ้ ดท้ นั ที แตจ่ ะตอ้ งมีความรูค้ วาม
เขา้ ใจเสียก่อนจงึ จะใชไ้ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและมีประสิทธิภาพ
3. ก่อให้เกิดช่องวา่ ง (Gap) เทคโนโลยสี ารสนเทศทาใหเ้ กิดช่องวา่ งในการรับขา่ วสารระหว่างคนจนกบั คนรวย
4. ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมีต่อสงั คมมนุษย์

1. ช่วยส่งเสริมความสะดวกสบายของมนุษย์
เทคโนโลยสี ารสนเทศช่วยใหค้ วามเป็นอยขู่ องมนุษย์ ดีข้ึน
ช่วยส่งเสริมใหม้ ีประสิทธิภาพในการทางาน ทาใหม้ นุษยม์ ี
เวลาวา่ งเพ่อื ใชใ้ นทางท่ีเกิดประโยชน์ มากข้นึ มีเคร่ืองมือ
สื่อสารโทรคมนาคมสมยั ใหมใ่ ห้ ติดต่อกนั ไดส้ ะดวก มี
ระบบคมนาคมขนส่งที่รวดเร็ว สามารถใชโ้ ทรศพั ทใ์ นขณะ
เดินทางไปมายงั ท่ีตา่ ง ๆ มีอุปกรณ์ช่วยอานวยความสะดวกท่ี
ควบคุมดว้ ย คอมพิวเตอร์ เช่น ลิฟต์ เคร่ืองซกั ผา้ เครื่องปรับอากาศ วทิ ยุ โทรทศั น์ มีรายการใหเ้ ลือกชมได้
มากมาย มีการแพร่ ทาใหผ้ ชู้ มสามารถรับรู้ขา่ วสารตา่ ง ๆ จากทวั่ ทุกมุมโลกไดอ้ ยา่ งรวดเร็วเหมือนอยใู่ น
เหตกุ ารณ์

2. ช่วยทาให้การผลิตในอุตสาหกรรมดีข้ึน การผลิต
สินคา้ ในปัจจุบนั ตอ้ งการผลิตสินคา้ จานวนมากมีคุณภาพ มี
มาตรฐาน ซ่ึงในปัจจุบนั ใช้เครื่องจกั ร ทางานอย่างอตั โนมตั ิ
สามารถทางานไดต้ ลอด 24 ชวั่ โมง สินคา้ ท่ีไดม้ ีคุณภาพและ
ปริมาณพอเพียงกบั ความตอ้ งการของผบู้ ริโภค ปัจจุบนั มีความ
พยายาม ที่จะสร้างหุ่นยนต์ให้เขา้ มาช่วยในอุตสาหกรรมการ
ผลิต เช่น การผลิตรถยนต์

18

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 ความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

คาถาม เทคโนโลยคี มนาคมและการส่ือสารนามาประยกุ ตใ์ ชเ้ พ่ือพฒั นาและปรับปรุงการ ดาเนินงานทางธุรกิจโดยมี

วตั ถปุ ระสงคอ์ ะไรบา้ ง?

คาตอบ มีวตั ถปุ ระสงคห์ ลกั 4 ประการ ดงั น้ี

1. เพอื่ การสื่อสารทางธุรกิจท่ีดีข้นึ 2 เพ่ือใหก้ ารดาเนินงานมีประสิทธิภาพสูงข้นึ

3. เพอ่ื การกระจายขอ้ มูลท่ีดีข้นึ 4. เพ่ือการจดั การกระบวนการธุรกิจท่ีสะดวกข้นึ

3. ช่วยส่งเสริ มให้เกิดการค้นคว้าวิจัยสิ่ งใหม่
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสาร เช่น เครือ ข่าย
คอมพิวเตอร์ ช่วยให้งานคน้ ควา้ วิจยั ในห้องปฏิบตั ิ การวิจยั
ต่าง ๆ มีความกา้ วหนา้ ยงิ่ ข้นึ คอมพิวเตอร์ ช่วยงานคานวณที่
ซับซ้อน ซ่ึงแต่ก่อนยากที่จะทาได้ เช่น งานสารวจทางด้าน
อวกาศ งานพฒั นาคิดคน้ ผลิตภณั ฑแ์ ละสารเคมีต่าง ๆ ทาให้
ได้สู ตรยารักษาโรคใหม่ ๆ เกิดข้ึนมากมาย ปัจจุบัน
งานค้นควา้ วิจัยทุกแขนงจาเป็ นตอ้ งใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการคานวณต่าง ๆ นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ ใช้
ประโยชนจ์ ากคอมพิวเตอร์ในการจาลองรูปแบบของสิ่งท่ีมองไม่เห็น ใชใ้ นการคน้ หาขอ้ มูล ท่ีมีจานวนมากและ
แพร่กระจายอยู่ทวั่ โลก สามารถคน้ หารายงานวิจยั ท่ีมีผูเ้ คยทาไวแ้ ลว้ และท่ีเก็บ ไวใ้ นห้องสมุดต่าง ๆ ไดอ้ ย่าง
รวดเร็ว งานวจิ ยั ต่าง ๆ มีความกา้ วหนา้ ยง่ิ ข้ึน เพราะเทคโนโลยเี ขา้ ไป มีส่วนเกี่ยวขอ้ งอยอู่ ยา่ งมาก

4. ช่วยส่งเสริมสุขภาพและความเป็ นอยู่ใหด้ ีข้ึน คอมพิวเตอร์
และอุปกรณ์ท่ีเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ท่าให้กิจการด้าน
การแพทยเ์ จริญกา้ วหนา้ ข้ึนมาก เคร่ือง มือเคร่ืองใชท้ างการแพทยล์ ว้ น
แลว้ แต่ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยในการดาเนินการ ช่วยในการแปลผล มี
เครื่อง ตรวจหัวใจที่ทันสมยั เคร่ืองเอกซเรย์ภาคตดั ขวางท่ี สามารถ
ตรวจดูอวยั วะต่าง ๆ ของร่างกายไดอ้ ยา่ ง ละเอียด มีเคร่ืองมือตรวจคน้ หาโรคที่ทนั สมยั หรือ แมแ้ ต่การผ่าตดั ก็มี
เคร่ืองมือช่วยในการผ่าตดั ที่ทาให้คนไขป้ ลอดภยั ยิ่งข้ึน มีเครื่องคอยวดั และตรวจ สอบสภาพการเปล่ียนแปลง
ของร่างกายอย่างละเอียด ระบบการรักษาพยาบาลจากที่ห่างไกล เช่น คนไขอ้ ยู่ท่ีจงั หวดั ชายแดนและขาดแคลน
แพทยเ์ ฉพาะทาง แพทยผ์ ทู้ าการรักษาสามารถส่งคาถาม ปรึกษากบั แพทยผ์ ชู้ านาญการเฉพาะได้ มีการรวบรวม
ความรู้ของแพทยผ์ ูช้ านาญการจดั สร้าง เป็ นฐานความรอบรู้เพ่ือใช้ประโยชน์ไดก้ วา้ งข้ึน นอกจากน้ียงั มีการ

19

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

พฒั นาเคร่ืองมือช่วยคนพกิ ารตา่ ง ๆ เช่น การสร้างแขนเทียมขาเทียมการสร้างเครื่องกระตุน้ หวั ใจสร้างเครื่องช่วย
ฟังเสียงหรือมีการพฒั นาเทคโนโลยกี ารปลูกถา่ ย

5. ช่วยส่งเสริมสติปัญญาของมนุษย์ คอมพิวเตอร์
มีจุดเด่นที่สามารถทางานไดร้ วดเร็ว มีความแมน่ ยาสามารถ
เก็บขอ้ มูลต่าง ๆ ไดม้ าก การแกป้ ัญหาท่ีซับซ้อนบางอย่าง
กระทาไดด้ ีและรวดเร็ว งานบางอย่างถา้ ให้ มนุษยท์ าอาจ
ตอ้ งเสียเวลาในการคิดคานวณตลอดชีวิตแต่คอมพิวเตอร์
สามารถทางานเสร็จภายในเวลาไม่ กี่วินาที ดงั น้นั จึงมีการ
นาคอมพิวเตอร์มาจาลองเหตุการณ์ต่าง ๆ เพ่ือให้มนุษย์
หาทางศึกษาหรือแกไ้ ขปัญหา เช่น การจาลองสภาวะของสิ่งแวดลอ้ ม การจาลองระบบมลภาวะ จาลองการไหล
ของของเหลว การควบคุมระบบการจราจร หรือแมแ้ ต่ การนาคอมพิวเตอร์มาจาลองในสภาพท่ีเหมือนจริง เช่น
จาลองการเดินเรือ จาลองการขบั เคร่ืองบิน การขบั รถยนต์ สิ่งต่าง ๆ เหล่าน้ีทาให้เหมือนจริงได้ หากมีการ
ผิดพลาดก็ไม่ทาใหเ้ กิด อนั ตราย คอมพิวเตอร์จึงเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการเรียนรู้ของมนุษย์ไดด้ ี ปัจจุบนั มีการ
นาบทเรียน มาไวใ้ นคอมพิวเตอร์ เรียกว่า คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction CAI) และ
คอมพวิ เตอร์ยงั เป็นเคร่ืองมือใหน้ กั เรียน นิสิต นกั ศึกษา สมยั ใหม)่ เช่ือมโยงติดตอ่ ทางอินเทอร์เน็ต สามารถเรียก
คน้ ขอ้ มูลขา่ วสารผา่ นทางเครือขา่ ย สามารถเรียนรู้การใชค้ อมพิวเตอร์หรือเรียนจาก ที่ห่างไกลได้ ถือเป็นหนทาง
ท่ีทาใหเ้ กิดสติปัญญาอยา่ งแทจ้ ริง

6. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้เศรษฐกิจ
เจริญรุ่งเรือง เทคโนโลยีจาเป็ นต่ออุตสาหกรรม กิจการคา้
ธุรกิจตา่ ง ๆ กิจการทางดา้ นธนาคารช่วยส่งเสริมงานทางดา้ น
เศรษฐกิจทาให้กระแสเงินหมุนเวียนได้อย่างกวา้ งขวาง
ผูผ้ ลิตในสายอุตสาหกรรมจะผลิตสินคา้ ได้มาก ลดตน้ ทุน
ผูบ้ ริโภคก็มีกาลงั ในการจบั จ่ายใช้สอยมาก ธุรกิจโดยรวม
จาเป็ น ตอ้ งอาศัยการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน มีการ
สื่อสารเกี่ยวขอ้ งกนั เกิดระบบการแลกเปลี่ยนขอ้ มลู ทางอิเลก็ ทรอนิกส์

20

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 ความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

เด็กควรรู้

การสื่อสารขอ้ มูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอน หรือแลกเปลี่ยนขอ้ มูล
กนั ระหว่างผสู้ ่งและผรู้ ับ โดยผานช่องทางส่ือสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์ เป็นตวั กลางในการส่งขอ้ มูล
เพอื่ ให้ผสู้ ่งและผรู้ ับเกิดความเขา้ ใจซ่ึงกนั และกนั

7. ช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน การสื่ อสาร
โทรคมนาคมสมยั ใหม่ช่วยย่อโลกให้เล็กลงโลกมีสภาพไร้พรมแดนมี
การเรียนรู้วฒั นธรรมซ่ึงกันและกันมากข้ึน เกิดความเข้าใจอันดี
ระหว่างกนั ทาให้ลดปัญหาในเร่ืองความขดั แยง้ สังคมไร้พรมแดนทา
ใหม้ ีความเป็นอยแู่ บบรวมกลมุ่ ประเทศมากข้ึน

8.ช่วยส่งเสริมประชาธิปไตยในการเลือกต้งั สมาชิกสภาผูแ้ ทน
ราษฎรมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกระจายข่าวสาร เพ่ือให้
ประชาชนไดเ้ ห็นความสาคญั ของกระจายระบบประชาธิปไตย แมแ้ ต่
การเลือกต้งั ที่มีการใชค้ อมพิวเตอร์รวมผลคะแนน ใชส้ ื่อโทรทศั น์วิทยุ
แจง้ ผลการนบั คะแนนที่ทาใหท้ ราบผลไดร้ วดเร็ว

ผลกระทบในทางลบ
ผลกระทบในทางลบ นบั ต้งั แต่เทคโนโลยสี ารสนเทศเขา้ มามีบทบาทในชีวิตประจาวนั มากข้ึน การใช้
เทคโนโลยเี ป็นไปอยา่ งกวา้ งขวาง ซ่ึงหมายถึงการใชเ้ ทคโนโลยไี ปในดา้ นต่าง ๆ ซ่ึงแน่นอน ยอ่ มตอ้ งมีท้งั คุณ
และโทษ ภาพยนตร์หลายเร่ืองได้สะท้อนความคิดของการนาเอาเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในทางลบ
ผลกระทบในทางลบเหล่าน้ีบางอย่างเป็ นเพียงการคาดคะเนยงั ไม่ไดเ้ กิด ข้ึนจริง แต่ย่อมมีโอกาสเกิดข้ึนได้
ผลกระทบในทางลบ มีดงั น้ี
1. ทาใหเ้ กิดอาชญากรรม เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถนามาใช้
ในการก่อใหเ้ กิดอาชญากรรมได้ โจรผรู้ ้ายใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการ
วางแผนการปลน้ วางแผนการโจรกรรม มีการลกั ลอบใชข้ อ้ มูล ข่าวสาร มี
การโจรกรรมหรือแกไ้ ขตวั เลขบญั ชีดว้ ยคอมพิวเตอร์ การลอบเขา้ ไปแกไ้ ข

21

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 ความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

ขอ้ มูลอาจทาใหเ้ กิดปัญหาหลายอยา่ ง เช่น การแกไ้ ขระดบั คะแนนของนกั เรียน การแกไ้ ขขอ้ มูล ในโรงพยาบาล
เพ่ือใหก้ ารรักษาพยาบาลคนใชผ้ ิด ซ่ึงเป็น การทาร้ายหรือฆาตกรรมดงั ท่ีเห็นในภาพยนตร์

2. ทาให้ความสัมพนั ธ์ของมนุษยเ์ สื่อมถอย การใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารทาให้ สามารถ
ติดต่อส่ือสารกนั ไดโ้ ดยไมต่ อ้ งเห็นตวั การใชง้ านคอมพวิ เตอร์หรือแมแ้ ต่การเลน่ เกมท่ีมี ลกั ษณะการใชง้ านเพยี ง
คนเดียว ทาให้ความสัมพนั ธ์กบั ผูอ้ ื่นลดน้อยลง ผลกระทบน้ีทาให้มีความเชื่อ ว่ามนุษยส์ ัมพนั ธ์ของบุคคลจะ
นอ้ ยลง สังคมใหมจ่ ะเป็นสงั คมท่ีไม่ตอ้ งพ่ึงพาอาศยั กนั มาก

3. ทาใหเ้ กิดความวิตกกงั วล ผลกระทบน้ีเป็นผลกระทบทางดา้ นจิตใจของกลุ่มบุคคลบางกลมุ่ ที่มีความ
วิตกกงั วลว่าคอมพิวเตอร์อาจทาให้คนตกงานมากข้ึน มีการนาหุ่นยนต์มาใช้งานมากข้ึน มีระบบการผลิตท่ี
อตั โนมตั ิมากข้ึน ทาใหผ้ ใู้ ชแ้ รงงานอาจวา่ งงานมากข้ึน ซ่ึงความคิดเหล่าน้ีจะเกิด กบั บคุ คลบางกลมุ่ เทา่ น้นั แต่ถา้
บุคคลเหล่ เน้นั สามารถปรับตวั เขา้ กบั เทคโนโลยี หรือมีการพฒั นา ให้มีความรู้ความสามารถสูงข้ึนแล้ ปัญหาน้ี
จะไมเ่ กิดข้ึน

4. ทาให้เกิดความเสี่ยงภยั ทางดา้ นธุรกิจ ธุรกิจในปัจจุบนั จาเป็นตอ้ งพ่ึงพาอาศยั เทคโนโลยี สารสนเทศ
มากข้ึน ขอ้ มูลข่าวสารท้งั หมดของธุรกิจฝากไวใ้ นศูนยข์ อ้ มูล เช่น ขอ้ มูลลูกหน้ีการคา้ ขอ้ มูลสินคา้ และบริการ
ต่าง ๆ หากเกิดการสูญหายของขอ้ มูลอนั เนื่องมาจากเหตุอบุ ตั ิภยั เช่น ไฟไหม้ น้าท่วม หรือดว้ ยสาเหตุใดก็ตามท่ี
ทาใหข้ อ้ มูลหาย ยอ่ มทาใหเ้ กิดผลกระทบตอ่ ธุรกิจโดยตรง

5.ทาใหก้ ารพฒั นาอาวธุ มีอานาจทาลายสูงมากข้ึน ประเทศท่ีเป็นตน้ ตารับของเทคโนโลยสี ามารถนาเอา
เทคโนโลยไี ปใชใ้ นการสร้างอาวธุ ที่มีอานุภาพการทาลายสูง ทาใหห้ มิ่นเหมต่ ่อสงคราม ที่มีการทาลายสูงเกิดข้นึ

22

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

6. ทาให้เกิดการแพร่วฒั นธรรมและกระจายข่าวสารที่ไม่เหมาะสมอย่างรวดเร็ว คอมพิวเตอร์ เป็ น
อุปกรณ์ท่ีทางานตามคาสั่งอย่างเคร่งครัด การนามาใชใ้ นทางใดจึงข้ึนอย่กู บั ผใู้ ช้ จริยธรรมการ ใชค้ อมพิวเตอร์
ซ่ึงเป็ นเรื่องสาคญั ดังเช่น การใช้งานอินเทอร์เน็ตมีผูส้ ร้างโฮมเพจหรือสร้างขอ้ มูล ข่าวสารในเรื่องภาพท่ีไม่
เหมาะสม เช่น ภาพอนาจาร หรือภาพท่ีทาใหผ้ อู้ ่ืนเสียหาย นอกจากน้ียงั มี การปลอมแปลงระบบจดหมาย เพอ่ื ส่ง
จดหมายถึงผอู้ ื่นโดยมีเจตนากระจายข่าวที่เป็ นเท็จ ซ่ึง จริยธรรมการใชง้ านเครือข่ายเป็ นเร่ืองที่ตอ้ งปลูกฝังกนั
มาก

5. การบริหารจัดการความปลอดภยั ของข้อมูลสารสนเทศ

➢ 5.1 การรักษาความปลอดภยั ของขอ้ มูลสารสนเทศดว้ ยวิธีการเชิงกายภาพ
• การกาหนดสิทธิในการเขา้ ใชห้ อ้ งเกบ็ ขอ้ มูล
• การติดต้งั ระบบรักษาความปลอดภยั ของหอ้ งเกบ็ ขอ้ มูล

➢ 5.2 การรักษาความปลอดภยั ของขอ้ มูลสารสนเทศดว้ ยวธิ ีการเชิงตรรกะ
• การเขา้ รหสั ขอ้ มลู
• การกาหนดใหผ้ ใู้ ชข้ อ้ มลู มีรหสั ผา่ นเพ่ือการเขา้ ถึงขอ้ มูลได้
• กาหนดสิทธิในการเขา้ ใชข้ อ้ มลู สารสนเทศที่แตกต่างกนั

23

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

คาถาม สแปมเมลค์ ือ ?
คาตอบ สแปมเมล์ คอื จดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Mail) ที่ผสู้ ่ง (ซ่ึงมกั จะไม่ปรากฏชื่อและ ท่ีอยขู่ องผสู้ ่ง) ไดส้ ่งไปยงั

ผรู้ ับท่ีไม่ไดม้ ีการแจง้ ขอรับข่าวสารไว้ โดยส่งจานวนคร้ังละมาก ๆ และไม่ไดร้ ับ ความยินยอมจากผรู้ ับ ทาให้เกิดความราคาญ
และเสียเวลา ซ่ึงการส่งสแปมเมลน์ ้นั อาจมีวตั ถุประสงคใ์ น เชิงพาณิชยห์ รือไมก่ ็ได้

➢ 5.3 การรักษาความปลอดภยั ของระบบเครือขา่ ยหมายถึง
• การรักษาความปลอดภยั ของการเขา้ ใชข้ อ้ มลู ตา่ ง ๆ ที่มีอยบู่ นระบบเครือข่ายน้นั
• การรักษาไวซ้ ่ึงประสิทธิภาพการส่งขอ้ มลู ใหม้ ีอตั ราส่งคงที่ รวดเร็ว และมีความถูกตอ้ ง
• การป้องกนั การแพร่กระจายของไวรัสคอมพวิ เตอร์และสิ่งแปลกปลอมตา่ ง ๆ เช่น สแปมเมล์
(spam mail) โฆษณา เป็นตน้

เด็กควรรู้

การรักษาความปลอดภยั ทางกายภาพ หมายถึง มาตรการท่ีใชใ้ นการปกป้องทรัพยากรจากภยั คุกคาม ทางกายภาพท้งั
โดยเจตนาและไม่เจตนา ซ่ึงเป็นหน่ึงในวิธีท่ีช่วยลดความเสี่ยงดา้ นความปลอดภยั โดย การจากดั ใหเ้ ฉพาะผทู้ ี่จาเป็นตอ้ งใชง้ าน
เช่น ผูด้ ูแลระบบเท่าน้นั ท่ีสามารถเขา้ ถึง Console ของระบบ ปกติแลว้ ระบบที่เป็ นเซิร์ฟเวอร์ผูใ้ ชท้ วั่ ไปไม่จาเป็ นตอ้ งใช้งาน
Console แตส่ ามารถใชโ้ ปรแกรมประเภท ssh ทาการติดตอ่ เขา้ ไปใชง้ านยงั เครื่องเซิร์ฟเวอร์ได้

24

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

5.4 การรักษาความปลอดภยั ของระบบเครือขา่ ยมี 2 ประเภท
1. การรักษาความปลอดภยั เชิงกายภาพ
ตวั อย่าง การใชเ้ ครื่องมือตรวจวดั สภาพการ

ส่ือสาร ณ อปุ กรณ์ เช่ือมต่อระบบเครือขา่ ย เพ่อื บง่ บอกถึง
สิทธิการเขา้ สู่ระบบเครือข่ายของ บุคลากรแตล่ ะคน

อุปกรณ์ อุปกรณ์เราเตอร์
2. การรักษาความปลอดภยั เชิงตรรกะ

• ซอฟตแ์ วร์เพ่ือการบริหารจดั การระบบเครือขา่ ย(Network Management Software)
• ไฟร์วอลล์ (Firewall)
• การกาหนดเลือกวา่ วิธีใดเป็นวิธีที่เหมาะสมจะตอ้ งคานึงถึงปัจจยั

- ระดบั ความวิกฤตหรือความเสียหายที่จะเกิดข้นึ หากมีการบกุ รุกเครือขา่ ย
- งบประมาณการดาเนินการจดั หา ติดต้งั และบารุงรักษา
- ความพร้อมดา้ นบุคลากรในองคก์ ร
- สารสนเทศมากมายมหาศาลท้งั ดีและไมด่ ีส่งตรงถึงหอ้ งนอน

25

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

6. การเสริมสร้างความปลอดภัย

6.1 การเสริมสร้างความปลอดภยั ในการใชอ้ ินเทอร์เน็ตสาหรับเด็ก กฎสาหรับการใชอ้ ีเมล
• ไม่ใหท้ ี่อยอู่ ีเมลแก่คนท่ีเราไมร่ ู้จกั
• ไมเ่ ปิ ดอีเมลจากคนหรือองคก์ ร/ธุรกิจท่ีเราไมร่ ู้จกั
• อีเมลอาจจะมีส่ิงท่ีไม่ดีมากมาย เช่น เรื่องราวที่ไม่เป็ นจริง การติฉินนินทา และจดหมาย ลูกโซ่ที่

พยายามจะเอาเงินจากกระเป๋ าเรา
• ไวรัสอาจผา่ นมากบั ขอ้ มลู อีเมลเขา้ มาสู่คอมพิวเตอร์
• ภาพที่ไม่เหมาะสม ผดิ กฎหมาย ภาพยนตร์ อาจถกู ส่งมาพร้อมกบั ขอ้ มูลอีเมล

6.2 วธิ ีการจดั การกบั เน้ือหาที่ไม่เหมาะสมท่ีปรากฏบนจอคอมพิวเตอร์ ปิ ดหนา้ เวบ็
• ไมไ่ ดผ้ ลปิ ดบราวเซอร์ (Browser)
• ถา้ ยงั ไมไ่ ดผ้ ลปิ ดคอมพิวเตอร์พร้อมกบั แจง้ ผปู้ กครองหรือครู
• สามารถหลีกเล่ียงปัญหาโดยการบอกใหค้ นอื่นทราบหากเราพบอะไรผิดพลาด

6.3 กฎของการแชต็
• ไม่สามารถเช่ือไดว้ า่ บคุ คลเหล่าน้นั เป็นคนอยา่ งท่ีเขาพูด
• อยา่ ใหช้ ่ือจริง ควรใชช้ ่ือสมมุติ
• อยา่ ใหข้ อ้ มูลวา่ คณุ อยทู่ ี่ไหน หมายเลขโทรศพั ท์ (โทรศพั ทม์ ือถือ) เรียนอยทู่ ี่ไหน พอ่ แมเ่ ป็นใคร
• ทาความเขา้ ใจใหช้ ดั เจนถึงกฎของแตล่ ะหอ้ งแชิตท่ีจะเขา้ ไปเล่น
• ให้จาไวว้ ่าคุณอาจเป็ นบุคคลนิรนามในอินเทอร์เน็ต แต่บ่อยคร้ังท่ีคนอ่ืนสามารถ สืบเสาะไดว้ า่

ใครเป็นคนใส่ขอ้ มลู ในอินเทอร์เนต็ ดงั น้นั ตอ้ งมีความสุภาพกบั ผอู้ ื่นเสมอ

26

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 ความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

6.4 กฎของการแชต็ การสื่อสารทางออนไลน์
• ไม่ออกไปพบกบั บุคคลท่ีพบ หรือรู้จกั ส่ือสารผา่ นทางออนไลน์
• ถา้ รู้สึกถูกกดดนั จากการสื่อสารออนไลน์กบั ใครให้ปรึกษาผูใ้ หญ่ที่รับผิดชอบ • ให้ชื่ออีเมลกบั

เพ่อื นที่รู้จกั ดี ไมค่ วรใหก้ บั คนแปลกหนา้
• ปรึกษาหารือกบั ผใู้ หญท่ ่ีรับผิดชอบเสมอ อยา่ ใหถ้ กู หลอกลอ่ หรือถูกกดดนั เพอื่ ไปพบเจอ กบั คนที่

รู้จกั ออนไลน์
• หากถกู ใครหรือสิ่งใดรบกวนในหอ้ งแช็ตใหร้ ีบออกจากการสนทนา และอยา่ ติดตอ่ สนทนาอีก

6.5 กฎ-การป้องกนั ไวรัสและขอ้ มลู ขยะ
• หากขอ้ มูลบางอยา่ งรู้สึกดีเกินที่จะเช่ือไดส้ รุปไดเ้ ลยวา่ ไม่จริง
• ใหร้ ะวงั อีเมลที่บอกวา่ โปรดส่งต่อใหท้ ุก ๆ คน เพราะอาจจะมีแต่เร่ืองหลอกลวงไร้สาระ หรือมี

ไวรัสท่ีไม่ควรส่งต่อ
• อยา่ เขา้ ไปในเวบ็ ไซตข์ องธนาคารใด ๆ ท่ีอา้ งบอกใหค้ ุณแจง้ รหสั ผา่ น
• เกบ็ รหสั ผา่ นเป็นความลบั เสมอ
• ใหร้ ะมดั ระวงั เวบ็ ไซตท์ ่ีใหด้ าวน์โหลดฟรี หรือมีเกมใหเ้ ล่นฟรี เพราะอาจเตม็ ไปดว้ ยไวรัส หรือ

จะมีขอ้ มลู ที่ไม่เหมาะสมส่งมาใหค้ ุณ
• บางคร้ังบางคนอาจจะใชเ้ ล่หล์ วงใหค้ ุณเชื่อมต่อไปยงั เวบ็ ไซตท์ ่ีไม่เหมาะสม

27

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

6.6 กฎการเผยแพร่เรื่องราวในเวบ็ บลอ็ ก
• ตรวจสอบใหม้ นั่ ใจวา่ ใส่เฉพาะขอ้ มูลที่ปลอดภยั
• ใหม้ ีรหสั ส่วนตวั เพอื่ ปกป้องรูปภาพของคุณ
• ตอ้ งไดร้ ับการอนุญาตจากพ่อแม่ ผปู้ กครอง ครู ในการสร้างเวบ็ ไซตข์ องคุณเองและใหท้ าน

เหลา่ น้นั ช่วยตรวจสอบ และทบทวนสม่าเสมอ
• อยา่ ใส่เร่ืองราวส่วนตวั เขา้ ไปในเวบ็ บลอ็ ก หรือในการสนทนากล่มุ • จาเป็นตอ้ งมีความ

ระมดั ระวงั มาก ๆ ในการใส่อะไรลงไปในอินเทอร์เนต็ เพราะทนั ที ท่ีมีการเผยแพร่คนจากทวั่ โลกสามารถเห็น
ได้ และอาจมีการนาขอ้ มูลไปใชใ้ นทางผิด ๆ

6.7 ขอ้ แนะนาการใชอ้ ินเทอร์เนต็
• เรียนรู้เกี่ยวกบั มารยาททว่ั ไปในการใชอ้ ินเทอร์เน็ต (Netiquette)
• ทาตามหลกั พ้นื ฐานความปลอดภยั และเรียนรู้วิธีการ แนวปฏิบตั ิ เมื่อตอ้ งเผชิญกบั สถานการณ์

28

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

6.8 มารยาททวั่ ไปในการใชอ้ ินเทอร์เน็ต
• ไมใ่ ชอ้ ินเทอร์เน็ตเพื่อลว่ ง
• ไมใ่ ชร้ ะบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์เพือ่ การใด ๆ ท่ีขดั ต่อกฎหมายหรือศีลธรรม
• ไม่นาขอ้ มลู ของผอู้ ่ืนมาใชใ้ นทางที่ผิด หรือเปล่ียนแปลงขอ้ มลู น้นั ๆละเมิดหรือรบกวน ผอู้ ื่น
• ไม่บอกรหสั กบั ผอู้ ื่นแมแ้ ต่เพ่อื นสนิท
• ไมใ่ ชบ้ ญั ชีช่ือผใู้ ชข้ องผอู้ ่ืน หรือใชเ้ ครือขา่ ยโดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต • ไมย่ มื หรือใชโ้ ปรแกรม

รูปภาพ หรือขอ้ มูลของผอู้ ื่นบนอินเทอร์เน็ตโดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต จากเจา้ ของ
• ไมฝ่ ่าฝืนขอ้ หา้ มของผใู้ หบ้ ริการอินเทอร์เน็ต
• ไม่เจาะเขา้ ระบบของผอู้ ื่นหรือทา้ ลองให้ผอู้ ่ืนเจาะระบบของตวั เอง
• หากพบมีการร่ัวไหลในระบบ หรือบคุ คลน่าสงสยั ใหร้ ีบแจง้ ผใู้ หบ้ ริการในทนั ที
• หากตอ้ งยกเลิกการใชอ้ ินเทอร์เนต็ ใหล้ บขอ้ มลู ท้งั หมดและแจง้ ผดู้ ูแลเวบ็ ไซต์ การทิ้งบญั ชีชื่อ

ผใู้ ชง้ านไวบ้ นอินเทอร์เน็ตอาจทาใหม้ ีผไู้ ม่หวงั ดีเจาะเขา้ มาในระบบได้
6.9 กฎความปลอดภยั
• ไม่เปิ ดเผยขอ้ มลู ส่วนตวั เช่น เบอร์โทรศพั ท์ ชื่อโรงเรียน ช่ือเพื่อนหรือผปู้ กครอง
• ไม่นดั แนะเพ่อื พบปะกบั บคุ คลท่ีรู้จกั ทางอินเทอร์เนต็ โดยไม่บอกผปู้ กครอง
• ไมส่ ่งรูปหรือขอ้ มูลส่วนตวั ใหก้ บั คนท่ีรู้จกั ทางอินเทอร์เนต็
• ไม่ใหค้ วามสนใจหรือตอบโตก้ บั คนท่ีใชถ้ อ้ ยคาหยาบคาย
• ไมโ่ หลดสิ่งที่ไม่คุน้ เคยหรือเปิ ดเอกสารจากอีเมลของคนท่ีเราไม่รู้จกั หากพบขอ้ ความหรือรูปภาพ

รุนแรงใหร้ ีบแจง้ ผปู้ กครองหรือคุณครู
• เคารพในกฎระเบียบ นโยบาย หรือขอ้ ตกลงที่ใหไ้ วก้ บั ผปู้ กครองและคณุ ครูในการใช้

อินเทอร์เน็ต

29

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

7. ประเภทของภยั คุกคาม

ภยั พิบตั ิที่เกิดข้นึ กบั ระบบ (Disaster) เป็นความเสียหายท้งั ทางดา้ นกายภาพและดา้ นขอ้ มลู ที่เกิดข้นึ กบั
ระบบคอมพิวเตอร์ (Hardware Programs) แฟ้มขอ้ มลู และอุปกรณ์อื่น ๆ ถูกทาลาย ใหเ้ กิดความเสียหาย ซ่ึงที่
ร้ายแรงท่ีสุดคือการที่ภยั น้นั ทาใหร้ ะบบลม่ จนไมส่ ามารถใชง้ านได้

ประเภทของภยั คุกคามที่เกิดข้ึนกบั ระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายน้นั สามารถจาแนกได้
2 ประเภทหลกั ๆ ดงั น้ี

1. ภยั คกุ คามทางตรรกะ (Logical) หมายถึง ภยั คกุ คามทางดา้ นขอ้ มลู
2. ภยั คุกคามทางกายภาพ (Physical) หมายถึง ภยั ท่ี
เกิดกบั ตวั เครื่องและอุปกรณ์ เช่น ภยั พบิ ตั ิจากธรรมชาติและ
ภัย จ า ก ก า ร ก ร ะ ท า ข อ ง ม นุ ษ ย์ท่ี ท า ค ว า ม เ สี ย ห า ย ใ ห้กับ
ตวั เครื่องและอุปกรณ์ ภยั คุกคามทางดา้ นขอ้ มลู
Hacker คือ ผูท้ ี่แอบเข้าใช้งานระบบคอมพิวเตอร์
ของ หน่วยงานหรือองค์กรอื่นโดยมิไดร้ ับอนุญาต แต่ไม่มี
ประสงค์ ร้าย หรือไม่มีเจตนาที่จะสร้างความเสียหายหรือสร้างความ เดือดร้อนใหแ้ ก่ใครท้งั สิ้น แต่เหตุผลท่ีทา
เช่นน้นั อาจเป็น เพราะตอ้ งการทดสอบความรู้ความสามารถของตนเอง กเ็ ป็นไปได้
Cracker คือ ผทู้ ี่แอบเขา้ ใชง้ านระบบคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานหรือองคก์ รอื่นโดยมีเจตนา ร้าย อาจจะ
เขา้ ไปทาลายระบบหรือสร้างความเสียหายใหก้ บั ระบบ Network ขององคก์ รอ่ืน หรือ ขโมยขอ้ มูลที่เป็นความลบั
ทางธุรกิจ

ไมว่ า่ จะเป็น Hacker หรือ Cracker ถา้ มีการแอบเขา้ ใชง้ านระบบคอมพิวเตอร์

30

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 ความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

เครือข่ายของผูอ้ ื่น แมว้ ่าจะไม่ประสงค์ร้ายก็ถือว่าไม่ดีท้งั สิ้น เพราะขาดจริยธรรมดา้ นคอมพิวเตอร์
ไวรัส (Viruses) คือ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ประเภทหน่ึงที่เขยี นข้ึนโดยความต้งั ใจของ Programmer ถกู ออกแบบ
มาให้แพร่กระจายตวั เองจากไฟลห์ น่ึงไปยงั ไฟลอ์ ื่น ๆ ภายในเคร่ือง คอมพิวเตอร์ ไวรัสจะแพร่กระจายตวั เอง
อย่างรวดเร็วไปยงั ทุกไฟลภ์ ายในคอมพิวเตอร์ หรืออาจ จะทาให้ไฟล์เอกสารติดเช้ืออย่างชา้ ๆ แต่ไวรัสจะไม่
สามารถแพร่กระจายจากเครื่องหน่ึงไปยงั อีก เครื่องหน่ึงไดด้ ว้ ยตวั มนั เอง โดยทว่ั ไปแลว้ จะเกิดจากการท่ีผใู้ ชใ้ ช้
สื่อจดั เก็บขอ้ มูล เช่น Diskette คดั ลอกไฟลข์ อ้ มูลลง Disk และติดไวรัสเมื่อนาไปใชก้ บั เครื่องอื่น หรือไวรัสอาจ
แนบมากบั ไฟล์ เมื่อมีการส่ง E-mail ระหวา่ งกนั

หนอนอินเทอร์เน็ต (Worms) มีอนั ตรายต่อระบบมาก สามารถทาความเสียหายต่อระบบได้ จากภายใน
เหมือนกบั หนอนท่ีกดั กินผลไมจ้ ากภายใน หนอนร้ายเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูก ออกแบบมาให้สามารถ
แพร่กระจายตวั เองจากเครื่องคอมพิวเตอร์เคร่ืองหน่ึงไปยงั อีกเครื่องหน่ึงโดย อาศยั ระบบเน็ตเวิร์ก(ผ่านสาย
Cable) ซ่ึงการแพร่กระจายสามารถทาไดด้ ว้ ยตวั ของมนั เองอยา่ ง รวดเร็วและรุนแรงกวา่ ไวรัส เมื่อไรก็ตามที่สัง่
Share ไฟลข์ อ้ มลู ผา่ น Network เมื่อน้นั Worms สามารถเดินไปกบั สายสื่อสารได้
Spam mail คือ การส่งขอ้ ความที่ไม่เป็นที่ตอ้ งการใหก้ บั คนจานวนมาก ๆ จากแหล่งที่ผรู้ ับ ๆ ไมเ่ คยรู้จกั หรือ
ติดต่อมาก่อน โดยมากมกั อยู่ในรูปของ E-mail ทาใหผ้ ูร้ ับราคาญใจและเสียเวลา ในการลบขอ้ ความเหลา่ น้นั
Spam mail ยงั ทาใหป้ ระสิทธิภาพการขนส่งขอ้ มูลบนอินเทอร์เนต็ ลดลงดว้ ย

31

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 ความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

8. การรักษาความปลอดภยั บนระบบคอมพวิ เตอร์

การรักษาความปลอดภยั บนระบบคอมพวิ เตอร์ จาแนกการรักษาความปลอดภยั ออกเป็น 2 ดา้ น ไดแ้ ก่
1. ความปลอดภยั ของขอ้ มูล (Information Security) ขอ้ มูลจดั เป็ นทรัพยส์ ินประเภทหน่ึง ขององค์กร
และเป็ นหัวใจหลกั สาหรับการดาเนินธุรกิจ ดงั น้นั จาเป็ นตอ้ งให้ความสาคญั ในการรักษา ความปลอดภยั ของ
ขอ้ มลู เช่นเดียวกบั การรักษาความปลอดภยั ของตวั เคร่ืองและอปุ กรณ์ หรืออาจ ใหค้ วามสาคญั มากกวา่ ดว้ ยซ้าไป
2.ความปลอดภยั ทางกายภาพ (Physical Security) ไดแ้ ก่ ทรัพยส์ ินหรืออปุ กรณ์ตา่ ง ๆ

มาตรการการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล

1 การระบุตวั บุคคลและอานาจหน้าที่ (Authentication & Authorization) เพ่ือระบุตวั บุคคลที่
ติดตอ่ หรือทาธุรกรรมร่วมดว้ ย

2. การรักษาความลับของข้อมูล (Confidentiality) เพ่ือรักษาความลับในขณะส่งผ่านทาง
เครือขา่ ยไมใ่ หค้ วามลบั ถูกเปิ ดโดยบุคคลอ่ืนที่ไมใ่ ช่ผรู้ ับ

3. การรักษาความถูกตอ้ งของขอ้ มูล (Integrity) เพ่อื การป้องกนั ไมใ่ หบ้ ุคคลอ่ืนท่ีไม่ใช่ผรู้ ับแอบ
เปิ ดดู และแกไ้ ขเปลี่ยนแปลงขอ้ มูล

4. การป้องกันการปฏิเสธ หรืออา้ งความรับผิดชอบ (None-Repudiation) เพ่ือป้องกัน การ
ปฏิเสธความรับผิดในการทาธุรกรรมระหวา่ งกนั เช่น การอา้ งวา่ ไม่ไดส้ ่งหรือไมไ่ ดร้ ับขอ้ มลู

32

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล

การเขา้ รหสั (Cryptography) คอื การทาใหข้ อ้ มลู ท่ีจะส่งผา่ นไปทางเครือข่ายอยใู่ นรูปแบบ ท่ีไม่สามารถ
อ่านออกไดด้ ว้ ยการเขา้ รหัส (Encryption) ทาให้ขอ้ มูลน้นั เป็นความลบั ซ่ึงผทู้ ่ีมีสิทธิจริง เท่าน้นั จะสามารถอ่าน
ขอ้ มูลน้นั ไดด้ ว้ ยการถอดรหสั (Decryption)

Web Guide

1. http://pondsaysone myreadyweb.com/article/topic-10032.html
2. http://blog.eduzones.com/kittipung/33214
3. http://www.zoneza.com/view3833.htm
4. http://bit2alone.wordpress.com/about/

33

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

ใบความรู้อาเซียน หน่วยท่ี 1

เร่ือง AEC แผนขยายเนต็ ทว่ั ประเทศ และความปลอดภัยในธุรกรรม

อเิ ลก็ ทรอนิกส์ไทยรองรับอาเซียน

รายงาน AEC แผนขยายเน็ตทว่ั ประเทศ และ ความปลอดภยั ในธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไทยรองรับ
อาเซียน การเขา้ สู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารนบั เป็นส่วนสาคญั ท่ี
ช่วยขับเคล่ือนความเป็ นสากลเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดย
กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารหรือกระทรวงไอซี
ที ไดว้ างแนวทางในการขบั เคลื่อน ประเทศไทยเขา้ สู่ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียนดว้ ย การขยายบริการอินเทอร์เน็ตครอบคลุมทวั่
ประเทศ สร้างความปลอดภยั ในธุรกรรมอิเลก็ ทรอนิกส์ และพฒั นา
บุคลากรดา้ นไอซีท่ีเป็ นหลกั นาวาอากาศเอกอนุดิษฐ์ นาครทรรพ
รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กล่าวว่า กระทรวงไอซีท่ียงั เร่งพัฒนาโครงสร้าง พ้ืนฐานด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศอย่างทวั่ ถึงและเท่าเทียม ท้งั การเปิ ด ให้บริการฟรี Wi-Fi
จานวน 250,000 จุดทว่ั ประเทศ พฒั นาโครงสร้างอินเทอร์เน็ตให้เขา้ ถึง ประชาชนทวั่ ประเทศ เช่ือมโยงขอ้ มูล
หน่วยงานภาครัฐทวั่ ประเทศให้เป็นศูนยก์ ลางในรูปแบบขอ้ มูล อิเล็กทรอนิกส์ และให้บริการบนระบบคลาวด์
คอมพิวติ้งท่ีช่วยยกระดบั บริการภาครัฐให้สะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ลดตน้ ทุนการจดั เก็บ ขอ้ มูลภาครัฐมี
ความปลอดภยั และขอ้ มูลทางเทคโนโลยี มีความเชื่อมโยงกบั นานาประเทศที่เป็นสากลมากข้ึน ซ่ึงประเทศไทย
ไดเ้ ร่ิมใชค้ ลาวดฯ์ ในการ จดั เก็บขอ้ มูลภาครัฐต้งั แต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2555 และยงั พฒั นาบริการอยา่ งต่อเน่ือง
ส่งเสริม ผปู้ ระกอบการไทยใหใ้ ชซ้ อฟตแ์ วร์ไทยในการประกอบธุรกิจเพื่อเช่ือมภาคธุรกิจดว้ ยเทคโนโลยี สร้าง
มาตรฐานความปลอดภยั ดา้ นธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ รองรับการขยายตวั ของธุรกรรม อิเลก็ ทรอนิกส์ในการ
ขยายธุรกิจสู่ตลาดอาเซียน ตลอดจนสร้างและพฒั นาบุคลากรที่มีความรู้ ความเช่ียวชาญ และพฒั นามาตรฐาน
วิชาชีพดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารให้เพยี งพอ รองรับการขยายตวั ของตลาดธุรกิจไอซีทีในตลาด
อาเซียนอยา่ งเป็นสากลและเทา่ เทียมนานาประเทศ

34

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

กจิ กรรมท้ายหน่วยการเรียนรู้ท่ี 1
ใบงานท่ี 1

เรื่อง ความรู้เกยี่ วกบั หลกั การบริหารจัดการความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ
คาส่ัง ให้นกั เรียนศึกษาหาความรู้เพม่ิ เตมิ จากอนิ เทอร์เนต็ หรือหนังสือพมิ พ์ วารสาร ฯลฯ เกยี่ วกบั
หลกั การบริหารจัดการความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ พร้อมตอบคาถาม ต่อไปนี้

หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

1.สรุปหลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีนกั เรียนคน้ ควา้ มา
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2.ที่มา
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
3.นกั เรียนคิดวา่ หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศมีประโยชนอ์ ยา่ งไร
.............................................................................................................................................................

35

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 ความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

แบบฝึ กหดั หน่วยท่ี 1

ตอนที่ 1 คาสั่ง ให้นกั เรียนตอบถามต่อไปนี้
1.จงอธิบายความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
2.ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
3.เทคโนโลยสี ารสนเทศมีความสาคญั อยา่ งไร
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
4.จงยกตวั อยา่ งผลกระทบทางบวกของเทคโนโลยสี ารสนเทศ
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

36

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 ความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

5. จงอธิบายการบริหารจดั การความปลอดภยั ของขอ้ มูลสารสนเทศ
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
6. การเสริมสร้างความปลอดภยั คือ
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
7. ประเภทของภยั คุกคามมีอะไรบา้ ง
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
8. การรักษาความปลอดภยั บนระบบคอมพิวเตอร์มีวธิ ีการอยา่ งไร
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

37

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

ตอนท่ี 2 คาส่ัง ให้นกั เรียนโยงเส้นความสัมพนั ธ์ให้ถูกต้อง

เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทาใหเ้ กิดการแพร่วฒั นธรรมและกระจายขา่ วสาร ที่ไม่
(Information Technology) เหมาะสมอยา่ งรวดเร็ว

ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ ความปลอดภยั ของขอ้ มูล (Information Security) ความ
ปลอดภยั ทางกายภาพ (Physical Security)

ความสาคญั ของเทคโนโลยี การเสริมสร้างความปลอดภยั ในการใชอ้ ินเทอร์เน็ต
สารสนเทศ สาหรับเด็ก กฎสาหรับการใชอ้ ีเมล

ผลกระทบในทางลบของ กระบวนการจดั เก็บ ประมวลผล และการเผยแพร่
เทคโนโลยสี ารสนเทศ สารสนเทศ เพอ่ื ช่วยใหไ้ ดส้ ารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ
และรวดเร็วทนั ต่อเหตกุ ารณ์
ไมใ่ หท้ ่ีอยอู่ ีเมลแก่คนที่เรา
ไมร่ ู้จกั เทคโนโลยสี ารสนเทศก่อใหเ้ กิดการวางแผน การ
ดาเนินการระยะยาวข้ึน อีกท้งั ยงั ทาใหว้ ถิ ี การตดั สินใจ
หรือเลือกทางเลือกไดล้ ะเอียดข้ึน

การรักษาความปลอดภยั บน ฮาร์ดแวร์ (Hardware), ซอฟตแ์ วร์ (Software), ขอ้ มลู หรือ
ระบบคอมพวิ เตอร์ ข่าวสารสนเทศ การส่ือสารและเครือข่าย กระบวนการ
ทางาน และบคุ ลากรทางสารสนเทศ
38

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

กจิ กรรม บูรณาการจิตอาสา

กจิ กรรม : ความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ
จดุ ประสงค์ : เพื่อใหน้ กั เรียนมีความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยี

สารสนเทศ
1. ใหน้ กั เรียนทาแผน่ พบั สรุปความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั ความรู้เกี่ยวกบั หลกั การบริหาร

จดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ
2. แจกแผน่ พบั ใหก้ บั บุคคลท่ียงั มีความรู้นอ้ ย หรือไม่มีความรู้เก่ียวกบั หลกั การ

บริหาร จดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศในสถานศึกษาเพ่อื ประโยชน์
ตอ่ ไป

กจิ กรรม บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง

กจิ กรรม : รู้อีกนิด อนาคตไกล
จุดประสงค์ : เพื่อใหน้ กั เรียนใชห้ ลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ
ภาระงาน

1.ใหน้ กั เรียนจบั คู่ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ รวบรวมขอ้ มูลเก่ียวกบั ส่ิงต่าง ๆ ท่ีช่วยให้เกิดหลกั
การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ
2. จดั ทาป้ายนิเทศเพื่อเผยแพร่ความรู้ และเพ่ือเป็นการประหยดั ค่าใชจ้ ่าย
3. สรุปผลการดาเนินงานเพอ่ื รายงานครูผสู้ อน

39


Click to View FlipBook Version