The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ฉบับสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thanpisithkokuer01, 2022-04-17 16:20:29

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ฉบับสมบูรณ์

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ฉบับสมบูรณ์

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

กจิ กรรม บูรณาการอาเซียน

คาส่ัง ใหน้ กั เรียนหาคาศพั ทม์ าเติมใหส้ ัมพนั ธก์ บั ขอ้ ความท่ีกาหนดให้
1. การประยกุ ตค์ วามรู้ทางวทิ ยาศาสตร์มาใชใ้ นระบบสารสนเทศ ต้งั แต่กระบวนการ ประมวลผล
และการเผยแพร่สารสนเทศ
……………………………………………………………………………………………………….
2. แป้นพิมพ์ เมาส์ หน่วยประมวลผลกลาง จอภาพ เครื่องพิมพ์
……………………………………………………………………………………………………….
3. โปรแกรมหรือชุดคาสั่ง วตั ถุประสงคห์ ลกั ของซอฟตแ์ วร์ที่ส่งั ใหฮ้ าร์ดแวร์ทางาน
……………………………………………………………………………………………………….
4. การติดต่อส่ือสารกนั ระหวา่ งผสู้ ่งและผรู้ ับ โดยผา่ นโครงข่าย
……………………………………………………………………………………………………….
5. ข้นั ตอนการทางานเพ่ือใหไ้ ดผ้ ลลพั ธห์ รือขอ้ สนเทศจากคอมพิวเตอร์
……………………………………………………………………………………………………….
6. กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนขอ้ มูลกนั ระหวา่ งผสู้ ่งและผรู้ ับโดยผา่ นช่องทางส่ือสาร
……………………………………………………………………………………………………….
7. ภยั ที่เกิดกบั ตวั เครื่องและอุปกรณ์
……………………………………………………………………………………………………….

40

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

8. ผทู้ ี่แอบเขา้ ใชง้ านระบบคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานหรือองคก์ รอื่น โดยมีเจตนาร้าย อาจจะเขา้ ไป
ทาลายระบบ
……………………………………………………………………………………………………….
9 ท่ีแอบเขา้ ใชง้ านระบบคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานหรือองคก์ รอ่ืนโดยมิไดร้ ับอนุญาต แต่ไมม่ ี
ประสงคร์ ้าย หรือไมม่ ีเจตนาที่จะสร้างความเสียหายหรือสร้างความเดือดร้อนใหแ้ ก่ใครท้งั สิ้น
……………………………………………………………………………………………………….
10. การส่งขอ้ ความที่ไม่เป็นที่ตอ้ งการใหก้ บั คนจานวนมาก ๆ จากแหล่งที่ผรู้ ับไม่เคยรู้จกั หรือติดต่อ
มาก่อน โดยมากมกั อยใู่ นรูปของ E-mail ทาใหผ้ รู้ ับราคาญใจ
……………………………………………………………………………………………………….

41

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยที่ 1

คาส่ัง จงทาเคร่ืองหมาย X ทบั ข้อท่ถี ูกต้องท่ีสุด

1. ผลลบของเทคโนโลยสี ารสนเทศคือ
ก. ทาใหค้ วามสมั พนั ธข์ องมนุษยเ์ สื่อมถอย
ข. ช่วยใหเ้ กิดความเขา้ ใจอนั ดีระหวา่ งกนั
ค. ทาใหเ้ ศรษฐกิจเจริญรุ่งเรือง
ง. ช่วยส่งเสริมสติปัญญาของมนุษย์
จ. ช่วยส่งเสริมประชาธิปไตย

2. การเข้ารหสั ถือว่าเป็ นการรักษาความปลอดภัยประเภทใด

ก. เชิงกายภาพ ข. เชิงตรรกะ

ค. เชิงวิทยาศาสตร์ ง. เชิงสังคมศาสตร์

จ. เชิงจรรยาบรรณ

3. ข้อใด ไม่ใช่ วธิ กี ารจดั การกบั เนื้อหาทไ่ี ม่เหมาะสมที่ปรากฏบนจอคอมพวิ เตอร์

ก. ปิ ดหนา้ เวบ็ ข. ปิ ดบราวเซอร์ browser

ค. ไม่ใหท้ ่ีอยอู่ ีเมลแก่คนที่เราไม่รู้จกั ง. ปิ ดคอมพวิ เตอร์พร้อมกบั แจง้ ผปู้ กครองหรือครู

จ. หลีกเลี่ยงปัญหาโดยการบอกใหค้ นอ่ืนทราบหากเราพบอะไรผดิ พลาด

4. ข้อใด ไม่ใช่ กฎของการแช็ต การสื่อสารทางออนไลน์

ก. ไม่ออกไปพบกบั บคุ คลที่พบ หรือรู้จกั ส่ือสารผา่ นทางออนไลน์

ข ใหช้ ื่ออีเมลกบั เพอ่ื นที่ไม่รู้จกั ดี และควรไปพบกบั คนแปลกหนา้

ค ถา้ รู้สึกถูกกดดนั จากการส่ือสารออนไลนก์ บั ใครให้ปรึกษาผใู้ หญท่ ี่รับผดิ ชอบ

ง ปรึกษาผใู้ หญ่ที่รับผดิ ชอบ อยา่ ใหถ้ กู หลอกล่อเพื่อไปพบเจอกบั คนท่ีรู้จกั ออนไลน์

จ. หากถกู ใครหรือส่ิงใดรบกวนในหอ้ งแชิตให้รีบออกจากการสนทน และอยา่ ติดตอ่ อีก

42

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยีสารสนเทศ

5. ข้อใด ไม่ใช่ กฎ-การป้องกันไวรัส และข้อมูลขยะ

ก. เกบ็ รหสั ผา่ นเป็นความลบั เสมอ

ข. ใหร้ ะวงั อีเมลที่บอกวา่ โปรดส่งต่อใหท้ ุก ๆ คน

ค. หากขอ้ มลู บางอนั รู้สึกดีเกินท่ีจะเช่ือไดส้ รุปไดเ้ ลยวา่ ไม่จริง

ง. เขา้ ไปในเวบ็ ไซตข์ องธนาคารใด ๆ ที่นอกใหค้ ณุ แจง้ รหสั ผา่ น

จ. ใหร้ ะมดั ระวงั เวบ็ ไซตท์ ่ีใหด้ าวน์โหลดฟรี เพราะอาจเตม็ ไปดว้ ยไวรัส

6. ภัยคกุ คามทางตรรกะหมายถึงข้อใด

ก. ภยั คุกคามทางดา้ นขอ้ มลู ข. ภยั ท่ีเกิดกบั ตวั เครื่อง

ค. ภยั ท่ีเกิดกบั อุปกรณ์ ง. ภยั พบิ ตั ิจากธรรมชาติ

จ. ภยั จากการกระทาของมนุษย์

7. เราทาการรักษาความถกู ต้องของข้อมูลเพื่ออะไร

ก. เพือ่ การป้องกนั ไม่ใหบ้ คุ คลอ่ืนที่ไม่ใช่ผรู้ ับแอบเปิ ดดูและแกไ้ ขเปลี่ยนแปลงขอ้ มูล

ข. เพอ่ื รักษาความลบั ในขณะส่งผา่ นทางเครือขา่ ยไม่ใหค้ วามลบั ถกู เปิ ดโดยบุคคลอื่นที่ไมใ่ ช่ผรู้ ับ

ค. เพอื่ ระบตุ วั บคุ คลที่ติดต่อหรือทาธุรกรรมร่วมดว้ ย

ง. เพอื่ ป้องกนั การปฏิเสธความรับผิดในการทาธุรกรรมระหวา่ งกนั

จ. เพือ่ ป้องกนั การอา้ งความรับผิดชอบ

8. ผู้ที่แอบเข้าใช้งานระบบคอมพวิ เตอร์ของหน่วยงานโดยมิได้รับอนุญาต แต่ไม่มีประสงค์ร้าย เหตผุ ลที่ทา
เช่นน้นั เป็ นเพราะต้องการทดสอบความรู้ความสามารถของตนเองคือข้อใด

ก. Organized Crime ข. Career Criminal

ค. Com Artist ง. Cracker

จ. Hacker

43

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ความรู้เก่ียวกบั หลกั การบริหารจดั การความปลอดภยั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

9. ผ้ทู ่ีแอบเข้าใช้งานระบบคอมพวิ เตอร์ของหน่วยงานโดยมีเจตนาร้ายอาจจะเข้าไปทาลายระบบ Network ของ
องค์กรอื่นหรือขโมยข้อมูลท่ีเป็ นความลบั ทางธุรกจิ คือข้อใด

ก. Organized Crime ข. Career Criminal

ค. Com Artist ง. Cracker

จ. Hacker

10.ข้อใด ไม่ใช่ มารยาททั่วไปในการใช้งานอนิ เทอร์เน็ต

ก. ไม่ใชอ้ ินเทอร์เน็ตเพื่อล่วงละเมิดหรือรบกวนผอู้ ่ืน

ข. ไมใ่ ชร้ ะบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์เพ่ือการใด ๆ ท่ีขดั ต่อกฎหมายหรือศีลธรรม

ค. นาขอ้ มูลของผอู้ ่ืนมาใชใ้ นทางท่ีผดิ หรือเปล่ียนแปลงขอ้ มลู น้นั ๆ

ง. ไม่บอกรหสั กบั ผอู้ ื่นแมแ้ ต่เพ่ือนสนิท

จ. ไมใ่ ชบ้ ญั ชีช่ือผใู้ ชข้ องผอู้ ื่น หรือใชเ้ ครือข่ายโดยไม่ไดร้ ับอนุญาต

44



ทรพั ยส์ ินทำงปัญญำและจรรยำบรรณ

ของเทคโนโลยสี ำรสนเทศ

สาระสาคญั

ทรัพยส์ ินทางปัญญาหมายถึงอีกนยั หน่ึงว่าทรัพยส์ ินทางปัญญา ไดแ้ ก่ ความรู้ที่เกิด
จากการคิดค้นจนทาให้เกิดมีค่าข้ึนได้หรือจะกล่าวการที่ผูใ้ ดหรือคณะบุคคลใดร่วมกัน
ประดิษฐ์คิดค้นออกแบบสร้างสรรค์จนเกิดผลข้ึนมาและผลงานน้ันมีคุณค่าสามารถใช้
ประโยชนไ์ ดท้ ้งั งานเกษตรกรรมอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม

สมรรถนะประจาหน่วย

แสดงความรู้เกี่ยวกบั ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เรื่องทีจ่ ะศึกษา จุดประสงค์การเรียนรู้

1. ทรัพยส์ ินทางปัญญา 1. อธิบายทรัพยส์ ินทางปัญญาได้
2. ความสาคญั ของทรัพยส์ ินทางปัญญา 2. ยกตวั อยา่ งความสาคญั ของทรพั ยส์ ินทางปัญญาได้
3. ประเภทของทรัพยส์ ินทางปัญญา 3. จาแนกประเภทของทรัพยส์ ินทางปัญญาได้
4. ความหมายของทรัพยส์ ินทางปัญญาแตล่ ะประมาท 4. วิเคราะหค์ วามหมายของทรัพยส์ ินทางปัญญาแตล่ ะ
5. ลิขสิทธ์ิ ประเภทได้
6. จรรยาบรรณวชิ าชีพ 5. ช้ีแจงลิขสิทธ์ิได้
6. แสดงความรู้เก่ียวกบั จรรยาบรรณวชิ าชีพได้
7. นาความรู้มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนินชีวติ ประจาวนั
ได้

ผงั มโนทศั น์

ความสาคญั ของ
ทรัพย์สินทางปัญญา

ทรัพย์สินทางปัญญา ประเภทของทรัพย์สิน
ทางปัญญา

ทรัพย์สินทางปัญญาและจรรยาบรรณ
ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ

จรรยาบรรณวชิ าชีพ ความหมายของทรัพย์สิน
ทางปัญญาแต่ละประเภท

ลขิ สิทธ์ิ

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 2

คาสั่ง จงทาเคร่ืองหมาย X ทบั ข้อที่ถูกต้องทสี่ ุดเพยี งข้อเดียว

1.ข้อใดคือความหมายที่ถูกต้องของทรัพย์สิน

ก.สิ่งของท่ีไมส่ ามารถจบั ตอ้ งได้

ข.ส่ิงของท่ีไมม่ ีคา่ และไม่สามารถจบั ตอ้ งได้

ค.วตั ถุท่ีมีรูปวา่ งไมส่ ามารถเช่ือถือได้

ง.วตั ถุท่ีมีรูปร่าง ซ่ึงอาจมีราคาและอาจถือเอาได้

จ.ส่ิงของที่จบั ตอ้ งได้ ไมม่ ีคุณคา่

2.ฝ่ังของใดต่อไปนี้ ไม่ไช่ ทรัพย์สิน

ก. ท่ีดิน ข. อารมณ์ ค. บา้ น ง. สิทธิบตั ร จ. ลิขสิทธ์ิ

3.ตราสัญญาลกั ษณ์ต่อไปนแี้ สดงถึงอะไร

ก. ตราทรัพยส์ ินทางปัญญา ข. ตราลิขสิทธ์ิ
ค. ตราสิทธิบตั ร ง. ตรากระทรวงพาณิชย์
จ. ตรากระทรวงเกษตรและสหกรณ์
4.ข้อใดต่อไปนที้ กี่ ฎหมายลขิ สิทธ์ิไม่ให้ความค้มุ ครอง ข. งานวิศวกรรม
ก. งานวรรณกรรม ง. งานแพร่เสียงแพร่ภาพ
ค. งานศิลปกรรม
จ. งานส่ิงบนั ทึกเสียง

48

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

5. ข้อใดต่อไปนไี้ ม่ใช่ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม

ก. แบบผงั ภูมิของวงจรรวม ข. ความลบั ทางการคา้

ค. งานภาพยนตร์ ง. สิทธิบตั ร

จ. สิ่งบง่ ช้ีทางภูมิศาสตร์

6.อายคุ วามคุ้มครองเคร่ืองหมายการค้าอย่ไู ด้กป่ี ี นับต้ังแต่วันรับจดหมายทะเบียน

ก. 5 ปี ข. 8 ปี ค. 9 ปี ง.10 ปี จ.12 ปี

7.ข้อใดคือความหมายทถ่ี กู ต้องของสิทธิข้างเคยี ง

ก. ความรู้ท่ีเกิดจากการคิดคน้ จนทาใหเ้ กิดมีคา่ ข้นึ ได้

ข. ความรอบรู้ ความรู้ทวั่ ไป ความฉลาดเกิดแตเ่ รียนและความคดิ

ค. การทางานดา้ นสิทธิออกแสดง

ง. งานหรือความคดิ สร้างสรรคใ์ นสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม งานภาพยนตร์ งานอื่นใดใน
แผนกวิทยาศาสตร์

จ. หนงั สือสาคญั ท่ีรัฐออกใหเ้ พอ่ื คุม้ ครองการประดิษฐ์ การออกแบบผลิตภณั ฑ์

8. เคร่ืองหมายใดต่อไปนี้ เป็ นเคร่ืองหมายทใ่ี ห้บริการ

ก. ข. ค.

ง. จ.

49

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

9. ข้อใดคือความหมายของจรรยาบรรณวิชาชีพ
ก. ความประพฤติ การปฏิบตั ิ กิริยาท่ีควรประพฤติ
ข. คุณความดี บุญกศุ ล ขอ้ บงั คบั กฎ หลกั คาสงั่ สอนทางศาสนา
ค. การแสดงออกทางการประพฤติปฏิบตั ิของบคุ คลที่แสดงใหเ้ ห็นถึงการกระทาในส่ิงที่ถูกตอ้ ง
ง. ประมวลความประพฤติท่ีผูป้ ระกอบอาชีพการงานแต่ละอยา่ งที่กาหนดข้นึ
จ. ผปู้ ระกอบอาชีพสาขาตา่ ง ๆ พงึ ตระหนกั และปฏิบตั ิใหเ้ ป็นไปตามแนวทางที่อานวยประโยชน์ สุขท้งั แก่
ตนเองและผอู้ ่ืนในสงั คม ดว้ ยความซ่ือสัตย์ สุจริต และยตุ ิธรรม

10.คาว่า “ทาซ้า” หมายความว่าอย่างไร
ก. ทาซ้าโดยเปล่ียนรูปแบบใหม่ ปรับปรุงแกไ้ ข เพ่ิมเติม หรือจาลองงานท่ีเป็นตน้ ฉบบั
ข. การคดั ลอกไมว่ า่ โดยวธิ ีเลียนแบบ ทาสาเนา ทาแม่พิมพ์ บนั ทึกเสียงบนั ทึกภาพ หรือบนั ทึก เสียงและภาพ
จากตน้ ฉบบั
ค. คาสัง่ ชุดคาสั่ง หรือส่ิงอ่ืนใดที่นาไปใชก้ บั เครื่องคอมพิวเตอร์ เพอื่ ใหเ้ ครื่องคอมพวิ เตอร์ทางาน
ง. สิทธิแตผ่ เู้ ดียวท่ีจะกระทาการใด ๆ ตามพระราชบญั ญตั ิน้ีเกี่ยวกบั งานที่ผสู้ ร้างสรรคไ์ ดท้ าข้ึน
จ. ผทู้ ่าหรือผกู้ ่อให้เกิดงานสร้างสรรคอ์ ยา่ งใดอยา่ งหน่ึงท่ีเป็นงานอนั มีลิขสิทธ์ิตามพระราชบญั ญตั ิ

50

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

หน่วยกำรเรยี นรูท้ ี่ 2

ทรัพย์สินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ทรัพย์สินทางปัญญา

ทรัพยส์ ิน หมายถึง วตั ถุที่มีรูปร่าง ซ่ึงอาจมีราคาและอาจถือเอาได้ เช่น บา้ น ที่ดิน ลิขสิทธ์ิ สิทธิบตั ร
เป็ นตน้

เด็กควรรู้

ปัญญา หมายถึง ความรอบรู้ ความรู้ทว่ั ไป ความฉลาดเกิดแตเ่ รียน และความคดิ เม่ือรวมท้งั 2 คาเขา้ ดว้ ยกนั

ทรัพยส์ ินทางปัญญา หมายถึง ความรู้ที่เกิดจากการคิดคน้ จน ทาให้เกิดมีค่า
ข้ึนได้ หรือจะกล่าวอีกนัยหน่ึงว่า ทรัพยส์ ินทางปัญญา ไดแ้ ก่ การท่ีผูใ้ ดหรือคณะ
บคุ คลใดร่วมกนั ประดิษฐ์คดิ คน้ ออกแบบสร้างสรรคจ์ นเกิดผลข้ึนมาและผลงานน้นั
มีคุณคา่ สามารถใชป้ ระโยชน์ไดท้ ้งั งานเกษตรกรรมอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม

51

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

2. ความสาคญั ของทรัพย์สินทางปัญญา

ปัจจุบนั ทรัพยส์ ินทางปัญญานับว่าเป็ นสิ่งสาคญั ย่ิง และควรค่าต่อการที่จะไดร้ ับความคุม้ ครอง ตาม
กฎหมาย ดว้ ยเหตุผลท่ีว่า การประดิษฐ์คิดคน้ กรรมวิธีต่างๆ น้นั จุดกาเนิดของการไดม้ าน้นั มาจากความคิด มา
จากมันสมอง ผนวกกับระยะเวลาท่ีทุ่มเทให้กับการศึกษาวิจยั เพื่อให้ได้มาซ่ึงผลงาน นวตั กรรมใหม่ ๆ ท่ี
ทรงคุณค่าเป็นท่ีภูมิใจของผูป้ ระดิษฐ์ ดงั น้นั ผลงานดงั กล่าวจึงควรคา่ แก่การ คุม้ ครอง จากเหตุท่ีกล่าวมาจึงไดม้ ี
การบญั ญตั ิเป็นกฎหมายเพื่อใหก้ ารคุม้ ครอง โดยมีพระราชบญั ญตั ิ สิทธิบตั ร ลิขสิทธ์ิ เครื่องหมายการคา้ ใหก้ าร
คมุ้ ครองในหลกั การรูปแบบท่ีแตกต่างกนั ไป

คาถาม กฎหมายลิขสิทธ์ิใหค้ วามคุม้ ครองแก่งานสร้างสรรค์ 9 ประเภทตามที่กฎหมาย กาหนด ไดแ้ ก่?
คาตอบ 1. งานวรรณกรรม (หนงั สือ จลุ สาร ส่ิงพมิ พ์ คาปราศรัย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฯลฯ)

2. งานนาฏกรรม (ท่ารา ทา่ เตน้ ฯลฯ)
3. งานศิลปกรรม (จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ภาพถา่ ย ศิลปะประยกุ ต์ ฯลฯ)
4. งานดนตรีกรรม (ทานอง ทานองและเน้ือร้อง ฯลฯ)
5. งานสิ่งบนั ทึกเสียง (เทป ซีดี)
6. งานโสตทศั นวสั ดุ (วซี ีดี ดีวดี ี ท่ีมีภาพ หรือมีท้งั ภาพและเสียง)
7. งานภาพยนตร์
8. งานแพร่เสียงแพร่ภาพ
9. งานอืน่ ใดในแผนกวรรณคดี วทิ ยาศาสตร์ หรือศิลปะ

52

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

3. ประเภทของทรัพย์สินทางปัญญา

โดยทว่ั ๆ ไปคนไทยส่วนมากจะคุน้ เคยกบั คาว่า “ลิขสิทธ์ิ” ซ่ึงใชเ้ รียกทรัพยส์ ินทางปัญญาทุกประเภท
โดยท่ีถูกตอ้ งแลว้ ทรัพยส์ ินทางปัญญาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ท่ีเรียกว่า ทรัพยส์ ินทางอุตสาหกรรม (Industrial
Property) และลิขสิทธ์ิ (Copyright) ทรัพยส์ ินทางอุตสาหกรรมไม่ใช่สงั หาริมทรัพยแ์ ละอสังหาริมทรัพยท์ ี่ใชใ้ น
การผลิตสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม แท้ที่จริงแล้วทรัพย์สินทางอุตสาหกรรมน้ีเป็ นความคิด
สร้างสรรคข์ องมนุษยท์ ่ีเกี่ยวกบั สินคา้ อุตสาหกรรมความคิดสร้างสรรคน์ ้ีจะเป็นความคิดในการประดิษฐ์คิดคน้
การออกแบบผลิตภณั ฑ์ทางอุตสาหกรรม ซ่ึงอาจจะเป็นกระบวนการหรือเทคนิคในการผลิตที่ไดป้ รับปรุงหรือ
คิดคน้ ข้ึนใหม่หรือที่เกี่ยวกบั ตวั สินคา้ หรือผลิตภณั ฑ์ท่ีเป็ นองคป์ ระกอบและรูปร่างสวยงามของตวั ผลิตภณั ฑ์
นอกจากน้ียงั รวมถึงเครื่องหมายการคา้ หรือยห่ี อ้ ช่ือ และถ่ินที่อยู่ทางการคา้ ท่ีรวมถึงแหล่งกาเนิดสินคา้ และการ
ป้องกนั การแขง่ ขนั ทางการคา้ ที่ไม่เป็นธรรมทรัพยส์ ินทางอตุ สาหกรรมสามารถแบง่ ออกไดด้ งั น้ี

1. สิทธิบตั ร (Patent)
2. เคร่ืองหมายการคา้ (Trademark)
3. แบบผงั ภมู ิของวงจรรวม (Layout Designs of Integrated Circuit)
4. ความลบั ทางการคา้ Trade Secrets)
5. ช่ือทางการคา้ (Trade Name)
6. ส่ิงบ่งช้ีทางภมู ิศาสตร์ (Geographical Indication)

53

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

เด็กควรรู้

อายคุ วามคมุ้ ครองเคร่ืองหมายการคา้ (Trademark)
10 ปี นบั ต้งั แตว่ นั รับจดทะเบียน และต่ออายไุ ดอ้ กี คราวละ 10 ปี การต่ออายสุ ามารถตอ่ อายไุ ดก้ ่อน วนั สิ้นอายุ 6 เดือน

หรือหลงั สิ้นอายแุ ลว้ ภายใน 6 เดือนกไ็ ด้ แตต่ อ้ งเสียคา่ ธรรมเนียมเพิม่ ร้อยละ 50 ของ คา่ ธรรมเนียมเบ้ืองตน้ (Basic fee) ท้งั น้ี
สามารถต่ออายเุ ฉพาะบางประเทศ หรือทุกประเทศที่ไดร้ บั ความ คมุ้ ครองก็ได้

4.ความหมายของทรัพย์สินทางปัญญาแต่ละประเภท

ลิขสิทธ์ิ งาน หรือความคิดสร้างสรรคใ์ นสาขาวรรณกรรม
ศิลปกรรม ดนตรีกรรม งานภาพยนตร์ หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์

สิทธิขา้ งเคียง (Neighbouring Right) คือ การนางานดา้ นสิทธิ ออก
แสดง เช่น นกั แสดง ผบู้ นั ทึกเสียง และสถานีวิทยุ โทรทศั น์ ในการ บนั ทึก
หรือถา่ ยทอดเสียงหรือภาพ

คาถาม โปรแกรมคอมพิวเตอร์คอื โปรแกรมใดบา้ ง?
คาตอบ กูข้ อ้ มูล รักษาไฟล์ ระบบ, แอนต้ีไวรัส จดั การรูปภาพ, ดูภาพ. อ่านไฟล์ PDF ช่วยดาวน์โหลด, ช่วยเรียงไฟล์

ฮาร์ดดิสก,์ จบั ภาพหนา้ จอ (Screen Capture) เปล่ียนหนา้ จอ. ดูหนงั ฟังเพลง, บีบอดั ไฟล,์ ไรทแ์ ผน่ , กคู้ ืนระบบ ฯลฯ

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Program หรือ Computer Software) คือ ชุดคาสัง่ ที่ใชก้ บั เครื่อง
คอมพิวเตอร์ เพ่ือกาหนดใหเ้ คร่ืองคอมพวิ เตอร์ทางาน

งานฐานขอ้ มูล (Database) คือ ขอ้ มลู ที่ไดเ้ กบ็ รวบรวมข้นึ เพ่ือใชป้ ระโยชน์ดา้ นต่าง ๆ
สิทธิบตั ร หมายถึง หนงั สือสาคญั ที่รัฐออกใหเ้ พื่อคมุ้ ครองการประดิษฐ์ (Invention) การ ออกแบบ
ผลิตภณั ฑ์ (Product Design) หรือผลิตภณั ฑอ์ รรถประโยชน์ (Utility Model) ที่มีลกั ษณะ ตามท่ีกฎหมายกาหนด
การประดิษฐ์ คือ ความคิดสร้างสรรคเ์ กี่ยวกบั ลกั ษณะ องคป์ ระกอบ โครงสร้าง หรือ ของผลิตภณั ฑ์
รวมท้งั กรรมวิธีในการผลิต การรักษา หรือปรับปรุงคณุ ภาพของผลิตภณั ฑ์

54

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

การออกแบบผลิตภณั ฑ์ คือ ความคดิ สร้างสรรคเ์ กี่ยวกบั การทาใหร้ ูปร่างลกั ษณะภายนอก ของ
ผลิตภณั ฑเ์ กิดความสวยงามและแตกต่างไปจากเดิม

ผลิตภณั ฑอ์ รรถประโยชน์หรือที่เรียกอีกอย่างหน่ึงวา่ อนุสิทธิบตั ร (Petty Patent) จะมีลกั ษณะ คลา้ ยกบั
การประดิษฐ์ แต่เป็นความคิดสร้างสรรคท์ ี่มีระดบั การพฒั นาเทคโนโลยไี มส่ ูงมาก หรือ เป็นการประดิษฐ์คดิ คน้
เพยี งเลก็ นอ้ ย
เด็กควรรู้

อนุสิทธิบัตร (Petty Patent) คือ หนังสือสาคญั ที่รัฐออกให้เพ่ือคุ้มครองการประดิษฐ์ จะมีลกั ษณะคล้าย กับการ
ประดิษฐ์ แต่เป็นความคดิ สร้างสรรคท์ ี่มีระดบั การพฒั นาเทคโนโลยีไม่สูงมาก หรือเป็นการประดิษฐ์ คิดคน้ เพียงเลก็ นอ้ ย และมี
ประโยชนใ์ ชส้ อยมากข้ึน

55

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

แบบผงั ภูมิของวงจรรวม หมายถึง แผนผงั หรือแบบที่ทาข้ึนเพื่อแสดงถึงการจดั วางและ การเชื่อมต่อ
ของวงจรไฟฟ้า เช่น ตวั นาไฟฟ้า หรือตวั ตา้ นทาน เป็นตน้

เคร่ืองหมายการคา้ (Trade Mark) เคร่ืองหมายหรือสญั ลกั ษณ์ หรือตราท่ีใชส้ ินคา้ หรือบริการ ไดแ้ ก่
• เคร่ืองหมายบริการ (Service Mark) คอื เคร่ืองหมายที่ใชเ้ ป็นเคร่ืองหมายเก่ียวขอ้ งกบั สินคา้ เพ่อื แสดง
ว่าสินคา้ ที่ใชเ้ คร่ืองหมายน้นั แตกต่างกบั บริการที่ใชเ้ ครื่องหมายบริการของบุคคลอื่น เช่น เคร่ืองหมายของสาย
การบิน ธนาคาร โรงแรม เป็นตน้

• เครื่องหมายรับรอง (Certification Mark) คือ เครื่องหมายท่ีเจา้ ของเครื่องหมายรับรอง ใชเ้ ป็นท่ีหมาย
หรือเกี่ยวขอ้ งกบั สินคา้ และบริการของบคุ คลอื่น เพ่ือเป็นการรับรองคณุ ภาพของสินคา้ หรือบริการน้นั เช่น เขลล์
ชวนชิม แม่ชอ้ ยนางรา เป็นตน้

56

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

• เครื่องหมายร่วม (Colective Mark) คือ เคร่ืองหมายการคา้ หรือเคร่ืองหมายบริการท่ีใช้ โดยบริษทั หรือ
รัฐวิสาหกิจในกลุ่มเดียวกนั หรือโดยสมาชิกของสมาคม กลุ่มบุคคล หรือองคก์ รอ่ืนใด ของรัฐหรือเอกชน เช่น
ตราชา้ งของบริษทั ปนู ซีเมนตไ์ ทย จากดั เป็นตน้

คาถาม ช่ือทางการคา้ หมายถึง?
คาตอบ ช่ือทางการคา้ หมายถึง ชื่อท่ีใช้ในการประกอบกิจการ เช่น โกดัก ฟูจิ เป็ นตน้ สิ่ง บ่งช้ีทางภูมิศาสตร์ m

หมายถึง ช่ือ สัญลกั ษณ์ หรือส่ิงอ่ืนใดท่ีใช้เรียกหรือใช้แทนแหล่งภูมิศาสตร์ และ สามารถบ่งบอกว่าสินคา้ ที่เกิดจากแหล่ง
ภูมิศาสตร์น้นั เป็นสินคา้ ที่มีคณุ ภาพชื่อเสียง หรือคุณลกั ษณะเฉพาะ ของแหล่งภูมิศาสตร์น้นั เช่น มีดอรัญญิก สม้ บางมด ผา้ ไหม
ไทย แชมเปญ คอนยคั เป็นตน้

5.กฎหมายลขิ สิทธ์ิ

ลิขสิทธ์ิ เป็นทรัพยส์ ินทางปัญญาอยา่ งหน่ึงท่ีกฎหมายใหค้ วามคุม้ ครอง โดยใหเ้ จา้ ของลิขสิทธ์ิ ถือสิทธิ
แต่เพยี งผเู้ ดียวท่ีจะกระทาการใด ๆ เกี่ยวกบั งานสร้างสรรคท์ ี่ตนไดก้ ระทาข้ึน

57

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

เด็กควรรู้

สาหรับรูปแบบลิขสิทธ์ิ (License) ของ Windows น้นั มีดว้ ยกนั อยดู่ ว้ ยกนั แบบหลกั ๆ 3 แบบ ต้งั รายละเอียดตอ่ ไปน้ี
1. Volume Licensing (ช่ือจานวนมาก)
2. 2 OEM/ License (ลิขสิทธ์ิ)

3. 3 FPP (Full Package Product) หรือ BOX (Windows 8 แบบกลอ่ ง)

• งานอนั มีลิขสิทธ์ิ งานสร้างสรรคท์ ่ีจะไดร้ ับความคมุ้ ครองตามพระราชบญั ญตั ิลิขสิทธ์ิ ตอ้ งเป็นงานใน
สาขาวรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทศั นวสั ดุ ภาพยนตร์ ส่ิงบนั ทึกเสียง งานแพร่เสียงแพร่
ภาพรวมถึงงานอ่ืน ๆ ในแผนกวรรณคดีวทิ ยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะงานเหล่าน้ีถือเป็นผลงานที่เกิดจากการใช้
สติปัญญา ความรู้ความสามารถ และความวริ ิยะอุตสาหะ

• การไดม้ าซ่ึงลิขสิทธ์ิ สิทธิในลิขสิทธ์ิเกิดข้นึ ทนั ทีนบั แต่ผสู้ ร้างสรรคไ์ ดส้ ร้างสรรคผ์ ลงาน ออกมา โดย
ไม่ตอ้ งจดทะเบียนหรือผา่ นพธิ ีการใด ๆ

• การคุม้ ครองลิขสิทธ์ิ ผเู้ ป็นเจา้ ของลิขสิทธ์ิมีสิทธิแต่เพียงผเู้ ดียวในการใชป้ ระโยชน์จาก ผลงาน
สร้างสรรคข์ องตน ในการทาซ้า ดดั แปลง หรือเผยแพร่ต่อสาธารณชน รวมท้งั สิทธิในการให้ เช่า โดยทวั่ ไปอายุ
การคมุ้ ครองสิทธิจะมีผลเกิดข้นึ ทนั ทีท่ีมีการสร้างสรรคผ์ ลงาน โดยความคุม้ ครอง น้ีจะมีตลอดอายขุ องผู้
สร้างสรรค์ และคมุ้ ครองตอ่ ไปน้ีอีก 50 ปี นบั แต่ผสู้ ร้างสรรคเ์ สียชีวติ

• ประโยชนต์ ่อผบู้ ริโภค การคมุ้ ครองและพิทกั ษส์ ิทธิในผลงานลิขสิทธ์ิมีผลใหเ้ กิดแรงจูงใจ แก่ผู้
สร้างสรรคผ์ ลงานที่จะสร้างสรรคผ์ ลงานท่ีมีคุณคา่ ทางวรรณกรรมและศิลปกรรมออกสู่ตลาด ส่งผลใหผ้ บู้ ริโภค
ไดร้ ับความรู้ ความบนั เทิง และไดใ้ ชผ้ ลงานท่ีมีคุณภาพ

58

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

วธิ ีดาเนินการแจ้งข้อมูลลิขสิทธ์ิ

1. การกรอกขอ้ มูลและระบรุ ายละเอียดตา่ ง ๆ
1) ช่ือเจ้าของลิขสิทธ์ิ ให้ระบุช่ือสัญชาติ หมายเลขบตั รประจาตวั ประชาชนหรือนิติบุคคล

(แลว้ แตก่ รณี) และท่ีอยขู่ องเจา้ ของลิขสิทธ์ิ
2) ช่ือตวั แทน กรณีท่ีเจา้ ของลิขสิทธ์ิตอ้ งการมอบอานาจใหก้ บั ผรู้ ับมอบอานาจมาดาเนินการใด

ๆ เก่ียวกบั การรับแจง้ ขอ้ มูลลิขสิทธ์ิ และระบุถึงขอบเขตอานาจของผูร้ ับมอบอานาจ โดยให้ จะ) ช่ือ สัญชาติ
หมายเลขบตั รประจาตวั ประชาชนหรือนิติบคุ คล (แลว้ แตก่ รณี) และที่อยขู่ องผรู้ ับ มอบอานาจ

3) สถานท่ีติดต่อในประเทศไทย ให้ระบุสถานท่ีและเบอร์โทรศพั ท์ที่สามารถติดต่อ เจ้ ของ
สิทธิหรือตวั แทน เพือ่ สะดวกในการติดตามเอกสารและผลงานกรณีเอกสารและผลงาน มีไม่ครบถว้ น

4) ช่ือผสู้ ร้างสรรคห์ รือนามแฝง ใหร้ ะบุช่ือ สญั ชาติ หมายเลขบตั รประจาตวั ประชาชน หรือนิติ
บุคคล ที่อยู่ของผสู้ ร้างสรรค์ หรือนามแฝง กรณีผสู้ ร้างสรรคเ์ ป็นนิติบุคคล ให้ระบุวนั เดือน ปี ท่ีจดทะเบียนนิติ
บคุ คล และกรณีท่ีผสู้ ร้างสรรคเ์ สียชีวติ แลว้ ใหร้ ะบวุ นั เดือน ปี ที่ผสู้ ร้างสรรคเ์ สียชีวติ

5) ชื่อผูส้ ร้างสรรค์ร่วมหรือนามแฝง ให้ระบุช่ือ สัญชาติ หมายเลขบตั รประจาตวั ประชาชน
หรือนิติบคุ คล ที่อยขู่ องผสู้ ร้างสรรคห์ รือนามแฝง กรณีมีผสู้ ร้างสรรคร์ ่วมมากกวา่ 1 คน ให้ระบุใน ช่องน้ี กรณีผู้
สร้างสรรค์ร่วมเป็ นนิติบุคคล ให้ระบุวนั เดือน ปี ที่จดทะเบียนนิติบุคคล และกรณีที่ผูส้ ร้างสรรค์ร่วมเสียชีวิต
แลว้ ใหร้ ะบุวนั เดือน ปี ท่ีผสู้ ร้างสรรคเ์ สียชีวิต
59

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

6) ชื่อผลงาน ใหร้ ะบชุ ่ือผลงานท่ีสะกดถกู ตอ้ ง เพอ่ื ประโยชนใ์ นการระบใุ นหนงั สือรับรอง การ

แจง้ ขอ้ มูล

7) ประเภทของงาน ใหร้ ะบุประเภทของงานและลกั ษณะงานที่ประสงคจ์ ะยืน่ แจง้ ขอ้ มลู พร้อม
ระบุผลงานท่ียนื่ ประกอบคาขอ เช่น หนงั สือ 1 เล่ม หรือแผน่ ซีดี 1 แผน่ ฯลฯ เป็นตน้ 8) ความเป็นเจา้ ของลิขสิทธ์ิ
ใหร้ ะบุว่า เป็นเจา้ ของลิขสิทธ์ิโดยวิธีใด เช่น เป็นผสู้ ร้างสรรค์ ผวู้ า่ จา้ ง ผรู้ ับจา้ ง นายจา้ ง หรือผรู้ ับโอนลิขสิทธ์ิ
ฯลฯ เป็นตน้

9) ลกั ษณะการสร้างสรรค์ ให้ระบุว่า เป็นผูส้ ร้างสรรคข์ ้ึนเองท้งั หมด สร้างสรรคบ์ างส่วน โดย
ระบุวา่ มีส่วนใดบา้ ง หรือเป็นกรณีอ่ืน ๆ เช่น เป็นผรู้ วบรวมผลงาน หรือผดู้ ดั แปลงผลงาน ฯลฯ

10) สถานที่สร้างสรรค์ ใหร้ ะบุวา่ การสร้างสรรคผ์ ลงานกระทาในประเทศใด

คาถาม ประโยชน์ของลิขสิทธ์ิมีอะไรบา้ ง?

คาตอบ 1.ประโยชน์ของเจา้ ของลิขสิทธ์ิ เจา้ ของลิขสิทธ์ิยอ่ มไดร้ ับความคมุ้ ครองตามกฎหมาย ลิขสิทธ์ิ และมีสิทธิแต่

เพียงผูเ้ ดียวท่ีจะกระทาการใด ๆ เกี่ยวกบั งานที่ไดส้ ร้างสรรค์ข้ึน หรือผลงานตาม ขอ้ ใดขอ้ หน่ึงดงั ท่ีกล่าวไวข้ า้ งตน้ ดงั น้ัน
เจา้ ของลิขสิทธ์ิจะมีสิทธิทาซ้า หรือดดั แปลง จาหน่าย ใหเ้ ช่า คดั ลอก เลียนแบบ ทาสาเนา การทาให้ปรากฏตอ่ สาธารณชน หรือ
อนุญาตใหผ้ อู้ ่ืนใชส้ ิทธิของตนท้งั หมด หรือแตบ่ างส่วนกไ็ ด้ โดยเจา้ ของลิขสิทธ์ิยอ่ มไดร้ ับคา่ ตอบแทนท่ีเป็นธรรม

2. ประโยชน์ของประชาชนหรื อผูบ้ ริโภค การคุม้ ครองและพิทกั ษ์สิทธ์ิในผลงานลิขสิทธ์ิมีผลให้เกิด แรงจูงใจแก่
ผสู้ ร้างสรรคผ์ ลงาน ท่ีจะสร้างสรรคผ์ ลงานท่ีเป็นประโยชน์ มีคุณค่าทางวรรณกรรมและศิลปกรรม ออกสู่ตลาดให้มากข้ึน ส่งผล
ให้ผบู้ ริโภคไดร้ ับความรู้ ความบนั เทิง และไดผ้ ลงานที่มีคณุ ภาพ

11) ปี ท่ีสร้างสรรค์ ใหร้ ะบุปี ที่ทาการสร้างสรรคผ์ ลงาน

12) การโฆษณางาน ใหร้ ะบวุ นั เดือน ปี และประเทศท่ีมีการโฆษณาคร้ังแรก โดยการทา สาเนา
งานออกจาหน่ายโดยความยินยอมของผูส้ ร้างสรรค์ และสาเนางานมีจานวนมากพอสมควร กรณียงั ไม่มีการ
โฆษณางานใหร้ ะบโุ ดยทาเครื่องหมายในช่องยงั ไมไ่ ดโ้ ฆษณา

60

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

13) การแจ้ง/จดทะเบียนลิขสิทธ์ิในต่างประเทศ ให้ระบุว่า เคยแจ้ง/จดทะเบียนลิขสิทธ์ิ ใน
ตา่ งประเทศหรือไม่ โดยใหท้ าเครื่องหมายลงในช่องการแจง้ หรือจดทะเบียน (แลว้ แตก่ รณี)

14) การอนุญาตให้ใช้ลิขสิทธ์ิ/โอนลิขสิทธ์ิ ให้ระบุเครื่องหมายลงในช่องวา่ เคยอนุญาต/โอน
ลิขสิทธ์ิหรือไม่ เช่น หากไม่เคยอนุญาตให้ใช้ลิขสิทธ์ิ/โอนลิขสิทธ์ิ ใหท้ าเครื่องหมายในช่องไม่เคย อนุญาตให้
ผอู้ ื่นใชล้ ิขสิทธ์ิหรือโอนลิขสิทธ์ิในงานของตน หากเคยอนุญาตใหใ้ ชล้ ิขสิทธ์ิ/โอนลิขสิทธ์ิ ใหร้ ะบุวา่ อนุญาต
ให้ใช้หรือโอนลิขสิทธ์ิแก่ใคร เมื่อใด เป็ นการอนุญาตโอนลิขสิทธ์ิโดยให้สิทธิท้งั หมด หรือบางส่วน และมี
ระยะเวลาในการอนุญาต/โอนลิขสิทธ์ ิเท่าใด

15) การเผยแพร่ขอ้ มูลลิขสิทธ์ิ ให้ระบุว่า อนุญาตให้คนอื่นตรวจดูเอกสารในแฟ้มคาขอแจง้
ขอ้ มลู ลิขสิทธ์ิและผลงานหรือไม่

16 ) การลงนามในคาขอ ใหเ้ จา้ ของลิขสิทธ์ิหรือตวั แทนเป็นผลู้ งนาม

61

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

2. ใบต่อทา้ ยคาขอแจง้ ขอ้ มลู ลิขสิทธ์ิ ในกรณีท่ีขอ้ มูลท่ีกรอกในคาขอ (ลข.01) มีจานวนมาก และผขู้ อไม่
อาจกรอกขอ้ มลู ไดค้ รบถว้ นในแตล่ ะขอ้ เช่น ในกรณีท่ีมีเจา้ ของลิขสิทธ์ิ ตวั แทน ผสู้ ร้างสรรคร์ ่วมมากกวา่ 1 คน
ผขู้ อสามารถระบุขอ้ มูลเพม่ิ เติมไดใ้ นใบต่อทา้ ย ผลู้ งนามในใบ ต่อทา้ ย คือ เจา้ ของลิขสิทธ์ิหรือตวั แทน

3. แบบแสดงรายละเอียดเก่ียวกบั การสร้างสรรค์ผลงานโดยย่อ ให้ระบุวิธีการและข้นั ตอน ในการ
สร้างสรรคผ์ ลงานโดยย่อ หรือแรงบนั ดาลใจในการสร้างสรรคผ์ ลงาน ผลู้ งนามในแบบแสดง รายละเอียดการ
สร้างสรรคผ์ ลงานโดยยอ่ คือ เจา้ ของลิขสิทธ์ิหรือตวั แทน

4. หนงั สือรับรองความเป็ นเจา้ ของงานลิขสิทธ์ิ ให้ระบุช่ือเจา้ ของลิขสิทธ์ิ ท่ีอยู่ ทะเบียน นิติบุคคล (ถา้
มี) ประเภทของงานลิขสิทธ์ิ ช่ือผลงาน และระบุวนั ที่ยื่นคาขอแจง้ ขอ้ มูลลิขสิทธ์ิ ผูล้ งนามในหนังสือรับรอง
ความเป็นเจา้ ของลิขสิทธ์ิ คอื เจา้ ของลิขสิทธ์ิเทา่ น้นั

5. ผลงานลิขสิทธ์ิที่ใชย้ น่ื ประกอบคาขอ

- วรรณกรรม เช่น หนงั สือ ชุดเอกสาร แผน่ ซีดี ฯลฯ
- โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ เช่น สาเนา

(Source Code) จานวน 10 หนา้ แรก และ 10 หนา้ สุดทา้ ยหรือ
ส่งซีดีหรือแผ่นดิสก์บรรจุโปรแกรม คอมพิวเตอร์ และใน
กรณีที่มี Source Code น้อย กว่า 50 หน้า ให้ส่งแผ่นซีดีหรือ
แผ่นดิสก์บรรจุ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยเจา้ ของลิขสิทธ์ิ
อาจ ผนึกและลงลายมือช่ือกากบั ดว้ ยกไ็ ด้

- นาฏกรรม เช่น แผน่ ซีดี ภาพการแสดง

พร้อมบรรยายประกอบท่าทางทุกข้นั ตอน ฯลฯ • ศิลปกรรม เช่น ภาพถ่ายผลงาน ภาพร่างผลงาน ภาพพมิ พเ์ ขียว
ฯลฯ

- ส่ิงบนั ทึกเสียง เช่น แผน่ ซีดี เทปเพลง ฯลฯ
- โสตทศั นวสั ดุ เช่น แผน่ ซีดี แผน่ ดีวดี ี ฯลฯ
- ภาพยนตร์ เช่น แผน่ ซีดี แผน่ ดีวีดี ฯลฯ
- ดนตรีกรรม เช่น เน้ือเพลง แผน่ ซีดี เทปเพลง โนต้ เพลง ฯลฯ
- แพร่เสียงแพร่ภาพ เช่น แผน่ วีซีดี แผน่ ซีดี ฯลฯ

62

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

- งานอ่ืนใดอนั เป็นงานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ เช่น ภาพถ่าย
ของผลงาน ฯลฯ

6. เอกสารท่ีใชป้ ระกอบการแจง้ ขอ้ มูลลิขสิทธ์ิ
1. สาเนาบตั รประชาชน พร้อมรับรองสาเนาถกู ตอ้ ง (กรณีเป็นบุคคลธรรมดา)
2. สาเนาหนงั สือรับรองนิติบุคคลที่นายทะเบียนออกใหไ้ มเ่ กิน 6 เดือน ของเจา้ ของลิขสิทธ์ิ
(กรณีเป็นนิติบคุ คล)
3. หนงั สือมอบอานาจติดอากรแสตมป์ 30 บาท พร้อมสาเนาบตั รประชาชนของผรู้ ับมอบ อานาจ พร้อม

รับรองสาเนาถกู ตอ้ ง (กรณีมีการมอบอานาจ)

เด็กควรรู้

การมอบอานาจ คอื การท่ีบคุ คลหน่ึงเรียกวา่ ตวั การ มอบให้บคุ คลอกี คนหน่ึง เรียกว่า ตวั แทน มีอานาจทาการแทน
และการกระทาน้นั มีผลทางกฎหมายเสมือนวา่ ตวั การทาดว้ ยตนเอง การมอบอานาจ ใหท้ ากิจการใดที่กฎหมายกาหนดวา่ ตอ้ งทา
เป็นหนงั สือมอบอานาจใหท้ ากิจการน้นั กต็ อ้ งทาเป็นหนงั สือ

4. หน่วยงานหรือองคก์ รของรัฐบาลใชส้ าเนาหนงั สือแต่งต้งั ผบู้ ริหารหน่วยงานหรือองคก์ ร รวมท้งั
สาเนาบตั รประชาชนของผยู้ นื่ คาขอ พร้อมรับรองสาเนาถูกตอ้ ง

5. มลู นิธิใชส้ าเนาหนงั สือการจดทะเบียนต้งั มลู นิธิ พร้อมรับรองสาเนาถกู ตอ้ ง
63

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

พระราชบญั ญัติลขิ สิทธ์ิ

กฎหมายลิขสิทธ์ิมีวตั ถุประสงค์ให้ความคุ้มครอง ป้องกันผลประโยชน์ท้ังทางเศรษฐกิจและ ทาง
ศีลธรรม ซ่ึงบุคคลพงึ ไดร้ ับจากผลงานสร้างสรรคอ์ นั เกิดจากความนึกคิดและสติปัญญาของตน นอกจากน้ียงั มงุ่
ท่ีจะสนบั สนุนส่งเสริมใหเ้ กิดการสร้างสรรคผ์ ลงาน กล่าวคือ เมื่อผสู้ ร้างสรรคไ์ ดร้ ับ ผลตอบแทนจากหยาดเหงื่อ
แรงกายและสติปัญญาของตน ยอ่ มจะเกิดกาลงั ใจท่ีจะคดิ คน้ สร้างสรรค์ และเผยแพร่ผลงานใหแ้ พร่หลายออกไป
มากยิ่งข้ึน อนั จะเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาประเทศชาติ ท้งั ดา้ นเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี การกระตุน้
ใหเ้ กิดการพฒั นาสติปัญญาเป็นปัจจยั สาคญั ที่จะนาไปสู่การพฒั นาที่ยง่ั ยนื ในอนาคต

ประเทศไทยได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลิขสิทธ์ิ พ.ศ. 2537 เพื่อใช้บังคับแทนพระราชบัญญัติ
ลิขสิทธ์ิ พ.ศ. 2521 โดยมีผลบงั คบั ใชว้ นั ท่ี 21 มีนาคม พ.ศ. 2538 พระราชบญั ญตั ิลิขสิทธ์ิให้ความคุม้ ครอง ต่อ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยจดั ใหเ้ ป็นผลงานทางวรรณกรรมประเภทหน่ึง

งานที่ไดจ้ ดั ทาข้ึนก่อนวนั ท่ีพระราชบญั ญตั ิน้ีใชบ้ งั คบั และเป็นงานที่ไดร้ ับความคุม้ ครองลิขสิทธ์ิ ตาม
พระราชบญั ญตั ิน้ี จะไดร้ ับความคมุ้ ครองลิขสิทธ์ิตามพระราชบญั ญตั ิน้ี แมว้ า่ ประเทศไทยจะมี กฎหมายคุม้ ครอง
ลิขสิทธ์ิมาเป็ นระยะเวลานานแลว้ แต่ความเขา้ ใจของประชาชนโดยทว่ั ไปในเร่ือง ลิขสิทธ์ิยงั ไม่ชดั เจน ความ
ตระหนักรู้ถึงความสาคญั ของการคุม้ ครองลิขสิทธ์ิ และทศั นคติท่ีถูกตอ้ ง เก่ียวกบั การคุม้ ครองทรัพยส์ ินทาง
ปัญญาท่ียงั ยนื กวา่ การปราบปรามการละเมิดลิขสิทธ์ิ ซ่ึงเป็น การแกป้ ัญหาที่ปลายเหตุ

64

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

การละเมิดลขิ สิทธ์ิ

• การละเมิดลิขสิทธ์ิโดยตรง : คือ การทาซ้า ดดั แปลง เผยแพร่
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ แก่สาธารณชน รวมท้ังการนาต้นฉบบั หรือ
สาเนางานดงั กลา่ วออกใหเ้ ช่าโดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต จากเจา้ ของลิขสิทธ์ิ

• การละเมิดลิขสิทธ์ิโดยออ้ ม : คือ การกระทาทาง การคา้ หรือ
การกระทาที่มีส่วนสนบั สนุนใหเ้ กิดการละเมิดลิขสิทธ์ิ ดงั กลา่ วขา้ งตน้
โดยผูก้ ระทารู้อยู่แลว้ ว่างานใดได้ทาข้ึน โดยละเมิดลิขสิทธ์ิของผูอ้ ื่น
แต่ก็ยงั กระทาเพือ่ หากาไรจาก งานน้นั ไดแ้ ก่ การขาย มีไวเ้ พื่อขาย ใหเ้ ช่า เสนอใหเ้ ช่า ใหเ้ ช่าซ้ือ เสนอใหเ้ ช่าซ้ือ

บทกาหนดโทษ

• การละเมิดลิขสิทธ์ิโดยตรง มีโทษปรับต้งั แต่ 20,000 บาท ถึง 200,000 บาท หากเป็น การกระทาเพื่อ
การคา้ มีโทษจาคุกต้งั แต่ 6 เดือน ถึง 4 ปี หรือปรับต้งั แต่ 100,000 บาท ถึง 800,000 บาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ

• การละเมิดลิขสิทธ์ิโดยออ้ ม : มีโทษปรับต้งั แต่ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท หากเป็น การกระทาเพื่อ
การคา้ มีโทษจาคกุ ต้งั แต่ 3 เดือน ถึง 2 ปี หรือปรับต้งั แต่ 50,000 บาท ถึง 400,000 บาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ

ผูใ้ ดกระทาความผิดตอ้ งระวางโทษตามพระราชบัญญตั ิลิขสิทธ์ิฉบบั น้ี เมื่อพน้ โทษแลว้ ยงั ไม่ครบ
กาหนด 5 ปี กระทาความผิดต่อพระราชบญั ญตั ิน้ีอีก จะตอ้ งระวางโทษเป็น 2 เท่า ของโทษท่ีกาหนดไวส้ าหรับ
ความผิดน้นั

กรณีท่ีนิติบุคคลกระทาความผิดตามพระราชบญั ญตั ิน้ี ให้ถือว่ากรรมการหรือผูจ้ ดั การ ทุกคนของนิติ
บุคคลน้นั เป็นผรู้ ่วมกระทาความผิดกบั นิติบุคคลน้นั เวน้ แต่จะพิสูจน์
ไดว้ า่ มิไดร้ ู้เห็นหรือ ยนิ ยอมดว้ ย

ค่าปรับที่ไดม้ ีการชาระตามคาพิพากษาน้นั คร่ึงหน่ึง จะตก
เป็ นของเจ้าของลิขสิทธ์ิ การได้รับค่าปรับดังกล่าวไม่ กระทบต่อ
สิทธิของเจา้ ของลิขสิทธ์ิท่ีจะฟ้องเรียกค่าเสียหาย ในทางแพ่งสาหรับ
ส่วนที่เกินจานวนเงินคา่ ปรับท่ีเจา้ ของ ลิขสิทธ์ิไดร้ ับไวแ้ ลว้

ความสาคญั กบั การละเมิดลขิ สิทธ์ิ

การละเมิดลิขสิทธ์ิเป็นการกระทาท่ีผิดกฎหมาย นอกจากความเส่ียงทางดา้ นกฎหมายที่อาจไดร้ ับแลว้

65

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

ธุรกิจของท่านยงั สูญเสียช่ือเสียง ความน่าเช่ือถือ ซ่ึงทาให้สูญเสียรายไดแ้ ละดาเนินธุรกิจ ไดย้ ากข้ึน
นอกจากน้ีท่านยงั ตอ้ งเสี่ยงกบั การใช้ซอฟต์แวร์ที่อาจสร้างปัญหาให้กับขอ้ มูลทางการคา้ มีค่า ไม่ได้รับการ
สนับสนุนด้านเทคนิค และข่าวสารอนั เป็ นประโยชน์ต่อท่านและธุรกิจของท่าน การสนับสนุนการละเมิด
ลิขสิทธ์ิเป็ นส่วนหน่ึงท่ีหยดุ ย้งั การเจริญเติบโตของอุตสาหกรรม ไอที ซ่ึงเป็ น อุตสาหกรรมท่ีมีอนาคต อนั จะ
นามาซ่ึงรายไดใ้ ห้กบั ประเทศไทย และมีการพฒั นาความรู้ดา้ นไอที ให้กบั บุคลากรของประเทศ ทาให้สามารถ
แข่งขนั ไดใ้ นโลกการคา้ โลกาภิวตั น์

มูลค่าการละเมดิ ลขิ สิทธ์ิ

ในปี 2542 สถิติการละเมิดลิขสิทธ์ิในประเทศไทยมีอตั ราสูงถึงร้อยละ 81 ทาใหอ้ ุตสาหกรรม ซอฟตแ์ วร์
สูญเสียรายไดม้ ากกว่า 3,200 ลา้ นบาท ความสูญเสียดงั กล่าวไม่เพียงส่งผลกระทบต่อ อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์
แต่ยงั ส่งผลกระทบต่อสภาวะเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศไทยอีกด้วย การละเมิดลิขสิทธ์ิซอฟต์แวร์เป็ น
อุปสรรคที่บนั่ ทอนการพฒั นาวตั กรรมและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในภูมิภาค การลดอตั ราการจา้ งงาน การพฒั นา
บุคลากร การลงทุน และทาให้รัฐบาลขาดรายได้ จากการเก็บภาษีอันจะนามาพฒั นาประเทศได้อี กด้วย
อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์เป็ นอุตสาหกรรม ท่ีมีอนาคต โดยเฉพาะอย่างย่ิงเป็ นการส่งเสริมให้คนไทยใช้
ความสามารถในการคิดคน้ และเพ่ิม ศกั ยภาพในการพฒั นาซอฟตแ์ วร์ ซ่ึงเป็นการพฒั นาคุณภาพของประชาชน
บุคลากรรุ่นใหม่ที่กาลงั กา้ วเขา้ มาสู่ตลาดแรงงานจะมีภาคธุรกิจรองรับ หากแต่การละเมิดลิขสิทธ์ิเป็ นปัญหา
สาคญั ท่ีทาให้ ความเจริญเติบโตเหล่าน้ีหยุดย้งั ไป เนื่องจากธุรกิจท่ีซื่อสัตยไ์ ม่สามารถแข่งขันได้ และขาด
กาลงั ใจในการพฒั นาธุรกิจของตน

การกระทาทถี่ ูกกฎหมายควรปฏิบตั ดิ ังต่อไปนี้

ซ้ือลิขสิทธ์ิของซอฟตแ์ วร์ที่ใชง้ านอยู่ ทกุ ซอฟตแ์ วร์ที่มีการใชง้ านตอ้ งมีลิขสิทธ์ิเสมอ
- ติดต้งั และใชง้ านลิขสิทธ์ิซอฟตแ์ วร์ 1 ชุด ในคอมพวิ เตอร์เพียง 1 เครื่องเทา่ น้นั

- อยา่ ทาสาเนาโปรแกรมเพือ่ การสารองมากกวา่ 1 สาเนา

- อยา่ ใหผ้ ใู้ ดขอยมื ซอฟตแ์ วร์ของท่านไปติดต้งั

66

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

การพจิ ารณาว่าซอฟต์แวร์ทีใ่ ช้มีลขิ สิทธ์ิถูกต้องหรือไม่

เม่ือซ้ือซอฟตแ์ วร์มาใชง้ านควรไดร้ ับใบอนุญาตการใชง้ าน ซ่ึงระบุสิทธิท่ีเจา้ ของลิขสิทธ์ิอนุญาตใหใ้ ช้
งานซอฟตแ์ วร์เหล่าน้ีได้ รวมท้งั ระบุขอบขา่ ยของการใชง้ านอีกดว้ ย เช่น ซอฟตแ์ วร์บาง ประเภทอาจอนุญาตให้
ใชง้ านสาเนาท่ี 2 สาหรับการทางาน ท่ีบา้ น ไดค้ วรอา่ นเอกสารเหลา่ น้ีใหล้ ะเอียดเพ่อื ประโยชน์เอง และ เก็บ
เอกสารเหลา่ น้ีไวเ้ ป็นหลกั ฐานในการมีลิขสิทธ์ิที่ถูกตอ้ งเสมอ

ข้อสังเกตของซอฟต์แวร์ละเมดิ ลขิ สิทธ์ิ

• ซอฟตแ์ วร์ราคาถกู จนไม่น่าเชื่อ
• โปรแกรมน้นั อยใู่ นแผน่ CD-ROM ท่ีบรรจุซอฟตแ์ วร์หลายชนิด ซ่ึงมกั เป็นผลงานจาก ผผู้ ลิต
ซอฟตแ์ วร์หลายบริษทั
• ซอฟตแ์ วร์จาหน่ายโดยบรรจุในกล่องพลาสติกใสโดยไม่มีกล่องบรรจุภณั ฑ์ • ไม่มีเอกสารอนุญาตการ
ใชง้ านหรือคู่มือการใชง้ าน

6. กฎหมายสิทธิบตั ร

สิทธิบัตรเป็ นทรัพย์สินทางปัญญาประเภทหน่ึงที่อยู่ใกล้ตัวทุกคนมากที่สุด หรืออาจกล่าวได้ว่า
สิทธิบตั รเก่ียวขอ้ งกบั ชีวติ ประจาวนั ของทุก ๆ คนไม่วา่ จะเป็นส่ิงของหรือเคร่ืองใชต้ ่าง ๆ ที่ใชใ้ น ชีวติ ประจาวนั
ลว้ นแลว้ แต่เป็นผลงานสร้างสรรคจ์ ากการประดิษฐ์คิดคน้ ท้งั สิ้น เช่น การประดิษฐ์ เก่ียวกบั ผงซกั ฟอก โทรทศั น์
รถยนต์ เครื่องปรับอากาศ ฯลฯ ดงั น้นั สิทธิบตั รจึงมีส่วนช่วยในการ ดารงชีวิตของมนุษย์ มีความสะดวกสบาย
และมีความปลอดภยั มากข้ึน

67

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

สิทธิบตั ร คือ

สิทธิบตั ร หมายถึง หนงั สือสาคญั ที่รัฐออกใหเ้ พ่ือคุม้ ครองการประดิษฐ์ หรือการออกแบบ ผลิตภณั ฑท์ ่ี
มีลกั ษณะตามท่ีกฎหมายกาหนด หรือกล่าวอีกนยั หน่ึงไดว้ า่ สิทธิบตั ร หมายถึง การท่ี รัฐใหค้ วามคุม้ ครองการ
ประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภณั ฑใ์ หผ้ ทู้ รงสิทธิบตั ร มีสิทธิเด็ดขาด หรือสิทธิแต่เพียงผเู้ ดียวในการแสวงหา
ประโยชน์จากการประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภณั ฑ์ ที่ได้รับสิทธิบัตรน้ันภายในระยะเวลาที่กฎหมาย
กาหนด การประดิษฐ์ หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์ เก่ียวกับลกั ษณะองค์ประกอบโครงสร้างหรือกลไกของ
ผลิตภณั ฑ์ รวมท้งั กรรมวธิ ีในการผลิต การเก็บรักษา หรือการปรับปรุงคุณภาพของผลิตภณั ฑใ์ ห้ดีข้ึน หรือทาให้
เกิดผลิตภณั ฑใ์ หม่ท่ี แตกต่างไปจากเดิม การออกแบบผลิตภณั ฑ์ หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกบั รูปร่าง
ลกั ษณะ ภายนอกของผลิตภณั ฑ์ องคป์ ระกอบของลวดลาย หรือสีของผลิตภณั ฑ์ ซ่ึงสามารถใชเ้ ป็นแบบ สาหรับ
การผลิตเชิงอตุ สาหกรรม รวมท้งั หตั ถกรรมได้

ผลทจ่ี ะได้รับจากสิทธิบตั ร

- ในด้านของประชาชน โดยทัว่ ๆ ไปส่ิงของเครื่องใช้ต่าง ๆ ท่ีเกิดจากการประดิษฐ์คิดคน้ หรือ การ
ออกแบบผลิตภณั ฑ์ คือ สิทธิบตั ร นอกจากจะก่อให้เกิดผลิตภณั ฑ์ เครื่องมือ เคร่ืองใชใ้ หม่ ๆ ท่ี อานวยความ
สะดวกตา่ ง ๆ แลว้ ยงั ก่อใหเ้ กิดผลิตภณั ฑท์ ่ีใหค้ วามปลอดภยั แก่ชีวิตมากข้ึนดว้ ย เช่น ยารักษาโรคต่างๆ อปุ กรณ์
อานวยความสะดวกต่าง ๆ เป็ นต้น ดังจะเห็นได้จากเครื่ องกลเติมอากาศหรื อ กังหันน้ าชัยพัฒนา ที่
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงประดิษฐ์คิดคน้ เพ่ือใช้ ในการบาบดั น้าเสียและใช้เพื่อ
ปรับปรุงคุณภาพของบ่อเล้ียงสัตว์น้า เป็ นการปรับปรุงคุณภาพ ส่ิงแวดล้อมเพ่ือสุขภาพและอนามัยของ
ประชาชนให้ดีข้ึน การประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ น้ีจะทาให้ ประชาชนได้รับแต่สิ่งท่ีดี มีคุณภาพสูงข้ึน มี
ประสิทธิภาพที่ดีข้นึ และใหค้ วามปลอดภยั แก่ชีวิตมากข้นึ

68

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

- ในด้านเจ้าของสิทธบิ ตั ร ผทู้ ่ีประดิษฐ์คิดคน้ สิ่งใหม่ ๆ ยอ่ มสมควรไดร้ ับผลตอบแทนจาก สังคม คือ
การไดร้ ับความคุม้ ครองสิทธิบตั ร ซ่ึงสามารถที่จะทาการประดิษฐ์ตามสิทธิบตั รน้นั ไปผลิต จาหน่าย นาเขา้ มา
ในราชอาณาจกั ร หรืออนุญาตใหบ้ ุคคลอ่ืนใชส้ ิทธิบตั รน้นั โดยไดร้ ับ ค่าตอบแทน

เหตุผลในการให้ความคุ้มครองสิทธิบัตร

- เพ่ือค้มุ ครองสิทธอิ นั ชอบธรรมของผ้ปู ระดิษฐ์และผ้อู อกแบบ เน่ืองจากผปู้ ระดิษฐห์ รือ
ผูอ้ อกแบบได้ใช้สติปัญญาและความพยายามของตนรวมท้งั เวลาและค่าใช้จ่ายเพ่ือให้ได้มา ซ่ึงส่ิงท่ีจะมี
ประโยชน์แก่มนุษย์ ดงั น้นั หากการคิดคน้ ดงั กล่าวสามารถทาให้เกิดผลตอบแทน ในทางเศรษฐกิจหรือใน
เชิงพาณิชยไ์ ด้ กค็ วรถือเป็นสิทธิของผปู้ ระดิษฐ์คดิ คน้ หรือผอู้ อกแบบท่ี รัฐควรใหค้ วามคุม้ ครอง

- เพื่อให้รางวลั ตอบแทนแก่ผ้ปู ระดิษฐ์และผ้อู อกแบบ เน่ืองจากผลงานท่ีไดค้ ิดคน้ ข้ึนทาใหช้ ีวติ
ความเป็ นอยู่ของมนุษยไ์ ดร้ ับความสะดวกสบาย และมีคุณภาพชีวิตท่ีดียิ่งข้ึน ปลอดภยั มากยิ่งข้ึน สังคมก็
ควรให้รางวลั ตอบแทนแก่ผูส้ ร้างคุณประโยชน์ ดังกล่าว โดยการให้ความคุ้มครองป้องกันมิให้ผูอ้ ื่น
แสวงหาประโยชนจ์ ากผลงานดงั กล่าวน้นั โดยมิชอบ

69

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

- เพ่ือจูงใจให้มีการประดษิ ฐ์คดิ ค้นสิ่งใหม่ๆ ข้ึน เน่ืองจากการประดิษฐค์ ิดคน้ จะตอ้ งมีการลงทุนท้งั ในดา้ น
ค่าใชจ้ ่ายเวลา และสติปัญญาอนั พิเศษของมนุษยแ์ ต่เมื่อมีการเปิ ดเผยสาระสาคญั ในการประดิษฐ์คิดคน้ หรือมี
การผลิตเป็นสินคา้ เพื่อออกจาหน่ายแลว้ บุคคลอื่นอาจสามารถสอบ) เลียนแบบไดโ้ ดยง่าย ดงั น้นั จึงจาเป็นที่รัฐ
ตอ้ งให้การคุม้ ครอง อนั จะเป็ นการกระตุน้ ให้นักประดิษฐ์ ! คิดคน้ มีกาลงั ใจ และมีความมน่ั ใจในการคิดคน้
ผลิตภณั ฑใ์ หม่ๆ

- เพ่ือกระตุ้นให้มีการเปิ ดเผยรายคิดค้นใหม่ๆ ในการใหค้ วามละเอียดเก่ียวกบั การประดิษฐ์ คมุ้ ครองน้ี ได้
มีการกาหนดใหจ้ นมีการเปิ ดเผยรายละเอียดเกี่ยวกบั การประดิษฐ์คดิ คน้ น้นั ๆ ทาให้ สามารถนาไปศึกษา คน้ ควา้
วิจยั และพฒั นาตอ่ ไปไดส้ ่งผลใหเ้ กิดการพฒั นาเทคโนโลยที ่ีสูงข้ึน

- เพื่อจูงใจให้มกี ารถ่ายทอดเทคโนโลยแี ละการลงทุนจากต่างประเทศ การจดั ระบบใหม้ ี การคมุ้ ครอง
สิทธิบตั รยอ่ มทาให้เจา้ ของเทคโนโลยจี ากต่างประเทศมีความมน่ั ใจในการลงทุนหรือ ถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ผู้
ร่วมทุนในประเทศ

เงื่อนไขหรือลกั ษณะของการรับความค้มุ ครองสิทธิบัตร

สิทธบิ ตั รการประดิษฐ์
1. ตอ้ งเป็ นการประดิษฐ์ท่ีคิดค้นข้ึนใหม่ คือ การประดิษฐ์ท่ีแตกต่างไปจากเดิม ยงั ไม่เคยมี ใช้หรือ
แพร่หลายมาก่อนในประเทศ หรือไม่เคยเปิ ดเผยสาระสาคญั หรือรายละเอียดในเอกสาร สิ่งพิมพ์ หรือการนา
ออกแสดง หรือเปิ ดเผยตอ่ สาธารณชนมาก่อนท้งั ในและนอกประเทศ และ ยงั ไมเ่ คยไดร้ ับสิทธิบตั รมาก่อน
2. ตอ้ งเป็ นการประดิษฐ์ที่มีข้นั การประดิษฐ์สูงข้ึน คือ มีลกั ษณะที่เป็ นการแกไ้ ขปัญหาทาง เทคนิค
หรือไมเ่ ป็นการประดิษฐ์ท่ีทาไดโ้ ดยงา่ ยตอ่ ผทู้ ่ีมีความชานาญในระดบั สามญั สาหรับงาน ประเภทน้นั
3. ตอ้ งเป็นการประดิษฐ์ท่ีสามารถนาไปประยกุ ตใ์ นทางอุตสาหกรรมได้

70

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

สิทธิบตั รการออกแบบผลติ ภัณฑ์

สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ เป็ นการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่เพ่ืออุตสาหกรรมซ่ึงรวม ถึง
หัตถกรรม คือ เป็ นการออกแบบผลิตภณั ฑท์ ี่ยงั ไม่มีใชแ้ พร่หลายในประเทศ ยงั ไม่ไดเ้ ปิ ดเผย สาระสาคญั หรือ
รายละเอียดในเอกสารหรือส่ิงพมิ พก์ ่อนวนั ขอรับสิทธิบตั ร และไม่คลา้ ยกบั แบบ ผลิตภณั ฑท์ ่ีมีอยแู่ ลว้

สิ่งท่ขี อรับสิทธิบตั รไม่ได้

การประดษิ ฐ์ที่ขอรับสิทธิบตั รไม่ได้
1. จุลชีพและส่วนประกอบส่วนใดส่วนหน่ึงของจุลชีพที่มีอยู่ตามธรรมชาติสัตวพ์ ืชหรือสารสกดั จาก
สัตวห์ รือพืช
2. กฎเกณฑแ์ ละทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
3. ระเบียบขอ้ มลู สาหรับการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์
4. วิธีการวนิ ิจฉยั บาบดั หรือรักษาโรคมนุษย์ หรือสัตว์
5. การประดิษฐ์ท่ีขดั ตอ่ ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอนั ดี อนามยั หรือสวสั ดิภาพของประชาชน
การออกแบบผลิตภณั ฑท์ ่ีขอรับสิทธิบตั รไม่ได้
1. แบบผลิตภณั ฑท์ ่ีไมใ่ ช่การออกแบบผลิตภณั ฑใ์ หม่
2. แบบผลิตภณั ฑท์ ่ีขดั ต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอนั ดีของประชาชน
3. แบบผลิตภณั ฑท์ ่ีกาหนดโดยพระราชกฤษฎีกา (ยงั ไม่มีการกาหนด)

เอกสารที่เป็ นการขอรับสิทธิบัตร

สิทธิบัตรการประดิษฐ์ การให้ความคุ้มครองสิทธิบัตรการประดิษฐ์เป็ นการใช้ความคุ้มครอง
แนวความคิดในการประดิษฐ์คิดคน้ ดงั น้นั การย่ืนขอรับสิทธิบตั รจึงไม่จาเป็นตอ้ งส่งตวั อย่าง การประดิษฐ์ใน
การขอรับสิทธิบตั ร ผทู้ ี่ประสงคจ์ ะยื่นขอตอ้ งจดั เตรียมคาขอน้ีประกอบดว้ ยส่วนที่ เป็นแบบพิมพค์ าขอซ่ึงเป็ น
แบบที่ทางราชการกาหนด (แบบ สป/สผ/อสป/001 -ก) และส่วนที่เป็น เอกสารประกอบคาขอ ซ่ึงเป็นส่วนที่ผขู้ อ
จะตอ้ งจดั เตรียมข้ึนเองท้งั หมด ตามหัวขอ้ และรูปแบบ ที่กาหนดส่วนเอกสารประกอบคาขอน้ีประกอบดว้ ย
รายละเอียดการประดิษฐ์ ขอ้ ถือสิทธิบทสรุป การประดิษฐ์ และรูปเขียน (ถา้ มี) นอกจากน้ี ยงั มีเอกสารอ่ืนๆ (ถา้
มี) เช่น หนงั สือสญั ญาโอนสิทธิ หนงั สือมอบอานาจ เป็นตน้

71

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ การให้ความคุม้ ครองสิทธิบตั รการออกแบบผลิตภณั ฑ์น้นั เป็ นไป
เช่นเดียวกันกบั สิทธิบตั รการประดิษฐ์ โดยในการจดั เตรียมคาขอจะคลา้ ยกัน คือ แบบพิมพ์ คาขอ เอกสาร
ประกอบคาขอ และเอกสารอ่ืนๆ จะแตกต่างกนั เฉพาะในส่วนที่เป็นเอกสารประกอบ คาขอ ซ่ึงจะประกอบดว้ ย
คาพรรณนาแบบผลิตภณั ฑ์ (ถา้ มี) ขอ้ ถือสิทธิ รูปเขียนหรือราพถา่ ยที่ แสดงแบบผลิตภณั ฑน์ ้นั ชดั เจนทุกดา้ น

72

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

ข้นั ตอนการรับสิทธิบัตร

การประดษิ ฐ์
1. การยน่ื คาขอรับสิทธิบตั รการประดิษฐ์ จะตอ้ งยน่ื คาขอพร้อมท้งั ช่าระค่าธรรมเนียม ใน คาขอ ตอ้ ง
ประกอบดว้ ย

1.1 แบบพมิ พค์ าขอรับสิทธิบตั ร สป/สผ/อสป/001-ก
1.2 รายละเอียดการประดิษฐ์
1.3 ขอ้ ถือสิทธ์ิ
1.4 บทสรุปการประดิษฐ์
1.5 รูปเขยี น (ถา้ มี)
1.6 เอกสารอื่น ๆ เช่น หนงั สือรับรองสิทธิ สาเนาบตั รประชาชน หนงั สือสัญญาโอนสิทธิ
สญั ญาการวา่ จา้ ง หนงั สือมอบอานาจ เป็นตน้

2. เม่ือยนื่ คาขอตามขอ้ 1. แลว้ ถา้ มีส่ิงบกพร่องที่พอจะแกไ้ ขได้ จะแจง้ ใหผ้ ขู้ อหรือตวั แทนทราบเพอื่ ทา
การแกไ้ ขตามคาสั่งในหนงั สือแจง้ น้นั ๆ

3. ผขู้ อตอ้ งใชแ้ บบ สป/สผ/อสป/003-ก ในการยนื่ ขอแกไ้ ขเพ่มิ เติมพร้อมท้งั ชาระค่า ธรรมเนียม
4. ในกรณีคาขอถกู ตอ้ งหรือไดแ้ กไ้ ขใหถ้ ูกตอ้ งตามขอ้ 3. แลว้ จะส่งหนงั สือแจง้ ใหผ้ ขู้ อชาระ
คา่ ธรรมเนียมประกาศโฆษณาในหนงั สือจดหมายเหตสุ ิทธิบตั ร
5. ผขู้ อตอ้ งใชแ้ บบ สป/อสป/005-ก ในการยนื่ ขอให้ตรวจสอบการประดิษฐ์ภายใน 5 ปี นบั จากวนั
ประกาศโฆษณา

73

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

6. ถา้ อธิบดีเห็นวา่ คาขอถูกตอ้ งตามกฎหมายและสั่งใหร้ ับจดทะเบียนสิทธิบตั รแลว้ จะ ส่งหนงั สือแจง้
ใหผ้ ขู้ อมาชาระคา่ ธรรมเนียม

7. เม่ือผขู้ อชาระคา่ ธรรมเนียมตามขอ้ 6. แลว้ จะออกสิทธิบตั รใหแ้ ก่ผขู้ อต่อไป
การออกแบบผลติ ภัณฑ์
1. การยนื่ คาขอรับสิทธิบตั รการออกแบบผลิตภณั ฑ์ จะตอ้ งยนื่ คาขอพร้อมท้งั ชาระค่า ธรรมเนียม ในคา
ขอตอ้ งประกอบดว้ ย

1.1 แบบพมิ พค์ าขอรับสิทธิบตั ร สป/สผ/อสป/001-ก
1.2 คาพรรณนาแบบผลิตภณั ฑ์ (ถา้ มี)
1.3 ขอ้ ถือสิทธิ
1.4 รูปเขยี น
1.5 เอกสารอ่ืน ๆ เช่น หนงั สือรับรองสิทธิ สาเนาบตั รประชาชน หนงั สือโอนสญั ญาสิทธิ
สญั ญาการวา่ จา้ ง หนงั สือมอบอานาจ เป็นตน้
2. เมื่อยน่ื คาขอตามขอ้ 1. แลว้ ถา้ มีส่ิงบกพร่องที่พอจะแกไ้ ขได้ จะแจง้ ใหผ้ ขู้ อหรือตวั แทน ทราบ เพือ่
ทาการแกไ้ ข ตามคาส่ังในหนงั สือแจง้ น้นั ๆ
3. ผขู้ อตอ้ งใชแ้ บบ สป/สผ/อสป/003-ก ในการยน่ื ขอแกไ้ ขเพม่ิ เติมพร้อมท้งั ชาระค่า ธรรมเนียม
4. ในกรณีคาขอถกู ตอ้ งหรือไดแ้ กไ้ ขใหถ้ ูกตอ้ งตามขอ้ 3. แลว้ จะส่งหนงั สือแจง้ ใหผ้ ขู้ อชาระ
ค่าธรรมเนียมประกาศโฆษณาในหนงั สือจดหมายเหตุสิทธิบตั ร
5. หากอธิบดีเห็นวา่ คาขอถกู ตอ้ งตามกฎหมายและสัง่ ใหร้ ับจดทะเบียนสิทธิบตั รแลว้ จะ ส่งหนงั สือแจง้
ใหผ้ ขู้ อมาชาระคา่ ธรรมเนียม
6. เม่ือผขู้ อชาระค่าธรรมเนียมตามขอ้ 5. จะออกสิทธิบตั รใหแ้ ก่ผขู้ อต่อไป สิทธิบตั รการ

อายุการให้ความคุ้มครองสิทธิบตั ร

- สิทธิบตั รประดิษฐม์ ีอายุ 20 ปี นบั แต่วนั ยน่ื คาขอรับสิทธิบตั ร
- สิทธิบตั รการออกแบบผลิตภณั ฑม์ ีอายุ 10 ปี นบั แต่วนั ยน่ื คาขอรับสิทธิบตั ร

74

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

ค่าธรรมเนียม
- คาขอรับสิทธิบตั รการประดิษฐ์ 500 บาท
- คาขอรับสิทธิบตั รการออกแบบผลิตภณั ฑ์ 250 บาท
- คาขอแกไ้ ขเพิม่ เติม 50 บาท
- การประกาศโฆษณา 250 บาท
- คาขอใหต้ รวจสอบการประดิษฐ์ 250 บาท (เฉพาะกรณีการประดิษฐก์ ารทาไดภ้ ายใน 5 ปี นบั จากวนั

ประกาศโฆษณา)
- รับจดทะเบียนและออกสิทธิบตั ร 500 บาท
- คาคดั คา้ น (กระทาภายใน 90 วนั นบั จากวนั ประกาศโฆษณา) 500 บาท คาอทุ ธรณ์ 500 บาท
- คาขอเปลี่ยนแปลงคาขอรับสิทธิบตั ร 100 บาท (กระทาไดก้ ่อนการประกาศโฆษณาสิทธิบตั ร)

สถานท่แี ละวิธีการยื่นขอจดทะเบียน

สถานท่ียื่นขอจดทะเบยี น
ทา่ นสามารถยนื่ คาขอจดทะเบียนไดท้ ี่ศนู ยบ์ ริการทรัพยส์ ินทางปัญญา ช้นั 3 กรมทรัพยส์ ิน ทางปัญญา
กระทรวงพาณิชย์ หรือที่สานกั งานพาณิชยจ์ งั หวดั ทุกแห่ง

75

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

วิธีการยื่นขอจดทะเบยี น

1. ยน่ื ขอโดยตรงต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ที่พร้อมชาระคา่ ธรรมเนียม

2. ส่งคาขอทางไปรษณียล์ งทะเบียนถึง ผอู้ านวยการสานกั สิทธิบตั รพร้อมชาระคา่ ธรรมเนียม โดย
ธนาณตั ิสง่ั จ่ายในนาม ผอู้ านวยการสานกั สิทธิบตั รกรมทรัพยส์ ินทางปัญญา

3. ยนื่ คาขอทางอินเทอร์เนต็ ย่ืนคาขอ
ตรวจสอบเบือ้ งต้น
ข้นั ตอนการขอรับสิทธิบัตร

แก้ไขเพม่ิ เตมิ

ประกาศโฆษณา

ตรวจสอบความใหม่ คัดค้าน/โต้แย้ง
การประดิษฐ์ /การ
คาวินจิ ฉัยของ
ส่ังยกคาขอ อธิบดี
อุทธรณ์ อทุ ธรณ์
คาวินิจฉัยของ
นาคดีสู่ศาล คาวินิจฉัยของ
ยกคาขอ
นาคดีสู่ศาล
รับจดทะเบียนออก
ผ้ขู อมีสิทธิ ยกคาขอ
76

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

7. สรรมาบรรณวิชาชีพ

คาวา่ จริยธรรมมีรากศพั ทม์ าจากภาษาบาลี-สันสกฤต เกิดจากการสมาสคาระหวา่ งจริยกบั ธรรม เกิดเป็น
คาใหม่ คือ จริยธรรม แปลโดยศพั ทไ์ ดด้ งั น้ี

จริย หมายถึง ความประพฤติ การปฏิบตั ิ กิริยาที่ควรประพฤติ

ธรรม หมายถึง คณุ ความดี บญุ กศุ ล ขอ้ บงั คบั กฎ หลกั คาสงั่ สอนทางศาสนา

สรุป คาวา่ จริยธรรม หมายถึง การแสดงออกทางการประพฤติปฏิบตั ิของบุคคล ท่ีแสดง

ใหเ้ ห็นถึงการกระทาในส่ิงที่ถูกตอ้ งและอยใู่ นกรอบของศีลธรรม

จริยธรรมมกั เกี่ยวขอ้ งกบั หลกั คาสอนของศาสนา เพราะหลกั คาสอนทางศาสนามีส่วนสร้าง จริยธรรม
ให้กับสังคม แต่ก็มิใช่หลักคาสอนทางศาสนาเพียงอย่างเดียว จริยธรรมยงั มีรากฐานมาจาก วฒั นธรรม
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่สืบทอดกันมายาวนานอีกด้วย นอกจากน้ียงั มีคาอ่ืน ๆ ที่อยู่ ๆ ในขอบข่ายของ
จริยธรรม

จรรยาบรรณ พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน (2554 : 301) ไดใ้ ห้ความหมายของจรรยาบรรณ ไว้
ดงั น้ี จรรยาบรรณ หมายถึง “ประมวลความประพฤติท่ีผปู้ ระกอบอาชีพการงานแต่ละอยา่ ง กาหนดข้นึ เพอื่ รักษา
และส่งเสริมเกียรติคณุ ชื่อเสียง และฐานะของสมาชิก อาจเขยี นเป็น ลายลกั ษณ์อกั ษรหรือไม่ก็ได”้

จรรยาบรรณเป็นจริยธรรมท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การประกอบอาชีพ ผปู้ ระกอบอาชีพสาขาต่าง ๆ พึงตระหนัก
และปฏิบตั ิใหเ้ ป็นไปตามแนวทางท่ีอานวยประโยชนส์ ุขท้งั แก่ตนเองและผูอ้ ่ืนในสังคม ดว้ ยความซ่ือสัตย์ สุจริต
และยตุ ิธรรม

77

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

คาถาม ลกั ษณะของผมู้ ีจริยธรรมมีลกั ษณะอยา่ งไร?
คาตอบ ลกั ษณะของผมู้ จี ริยธรรม ผมู้ ีจริยธรรมจะเป็นผทู้ ่ีมีคณุ ลกั ษณะดงั น้ี 1. เป็นผทู้ ี่มีความเพียรพยายามประกอบ

ความดี ละอายตอ่ การปฏิบตั ิชวั่ 2. เป็นผมู้ ีความซื่อสัตยส์ ุจริต ยตุ ิธรรม และมีเมตตากรุณา 3. เป็นผมู้ ีสติปัญญา รู้สึกตวั อยเู่ สมอ
ไม่ประมาท 4. เป็นผใู้ ฝ่ หาความรู้ความสามารถในการประกอบอาชีพเพอ่ื ความมนั่ คง 5. เป็นผทู้ ่ีรัฐสามารถอาศยั เป็นแกนหรือ
ฐานให้กบั สงั คมสาหรับการพฒั นาใด ๆ ได้

ความสาคญั ของจริยธรรม
จริยธรรมนบั เป็นหลกั ข้นั พ้ืนฐานที่มนุษยท์ ุกคนและทุกวงการวิชาชีพควรตระหนกั และยดึ ถือ เป็นหลกั
ในการประพฤติปฏิบตั ิ หากบคุ คลใดหรือผปู้ ระกอบวชิ าชีพใดขาดความมีจริยธรรม อาจ ส่งผลใหเ้ กิดความเสื่อม
เสียตอ่ ตนเอง วงการวชิ าชีพ และเกิดผลกระทบท่ีร้ายแรงตอ่ สงั คมและ ประเทศชาติได้
พศิ ิษฐ์ ชวาลาธวชั (2543.241) ไดก้ ล่าวถึงความสาคญั ของจริยธรรมในมุมมองท่ีเก่ียวขอ้ งกบั วิชาชีพไว้
ดงั น้ี
“จริยธรรมเป็นเรื่องของนามธรรมที่เกิดข้ึนภายในจิตใจของคนในชาติ และในแต่ละวิชาชีพ ต่างมีหลกั
และกฎเกณฑใ์ นการธารงไวซ้ ่ึงส่ิงท่ีถูกตอ้ งและความดีงาม เป็นบรรทดั ฐานแนวทางปฏิบตั ิ ใหผ้ ทู้ ่ีอยูใ่ นวิชาชีพ
น้ันปฏิบตั ิ หากมีการฝ่ าฝื นเกิดข้ึนอาจถูกลงโทษด้วยการถูกขับออกจากวิชาชีพ หรืออาจตอ้ งรับโทษทาง
กฎหมายได”้
78

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

สุภาพร พิศาลบตุ ร (2546:7) ไดก้ ลา่ วถึงความสาคญั ของจริยธรรมท่ีมีผลต่อตนเองและสงั คม ดงั น้ี
“จริยธรรมเป็นสิ่งสาคญั ในสังคม ที่จะนาความสุขสงบและความเจริญกา้ วหนา้ มาสู่สงั คมน้นั ๆ เพราะ
เมื่อคนในสังคมมีจริยธรรมจิตใจยอ่ มสูงส่ง มีความสะอาดและสวา่ งในจิตใจ จะทาการงานใด กไ็ ม่ก่อใหเ้ กิด
ความเดือดร้อน ไม่ก่อใหเ้ กิดทุกขแ์ ก่ตนเองและผอู้ ่ืน เป็นบคุ คลมีคุณคา่ มีประโยชน์ และสร้างสรรคค์ ุณงาม
ความดีอนั เป็นประโยชน์
จริยธรรมมีความสาคญั ท้งั ต่อตนเองและสงั คมส่วนรวม ช่วยพฒั นาจิตใจและพฤติกรรมของ บุคคลให้
เป็นพลเมืองดี ใชค้ วามรู้ความสามารถท่ีจะดาเนินชีวิตอยใู่ นสังคมไดอ้ ยา่ งเป็นปกติสุข และ ไม่ก่อใหเ้ กิดความ
เดือดร้อนแก่ผอู้ ่ืน สามารถสร้างสรรคค์ ุณประโยชนต์ ่าง ๆ แก่ตนเองและประเทศชาติ ไดอ้ ยา่ งมีหลกั หรือ
แนวทางที่ถกู ตอ้ ง

จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

เทคโนโลยสี ารสนเทศเป็นเทคโนโลยที ี่มีการขยายตวั อยา่ งรวดเร็ว มีความสามารถในการใช้ งานมาก
ข้ึน ผลของการพฒั นาทาใหม้ ีการประยกุ ตใ์ ชง้ านกนั อยา่ งกวา้ งขวาง จนอาจกล่าวไดว้ า่ ปัจจุบนั เทคโนโลยี
สารสนเทศไดเ้ ขา้ มามีส่วนเกี่ยวขอ้ งกบั มนุษยท์ กุ คนไม่ทางตรงก็ทางออ้ ม

79

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศมีท้งั ทางบวกและทางลบ ทางบวกทาให้มนุษยม์ ีความ เป็ นอยู่ดี
ช่วยส่งเสริมใหม้ ีประสิทธิภาพในการทางาน ทาให้เกิดการผลิตในอุตสาหกรรม ส่งเสริม ใหเ้ กิดการคน้ ควา้ วิจยั
สิ่งใหม่ ส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยใู่ ห้ดีข้ึน ทางลบทาใหเ้ กิดอาชญากรรม ทาใหค้ วามสัมพนั ธ์ของมนุษย์
เส่ือมถอย ทาให้เกิดการเสี่ยงภยั ทางดา้ นธุรกิจ ธุรกิจในปัจจุบนั จาเป็ น ตอ้ งพ่ึงพาอาศยั เทคโนโลยีสารสนเทศ
มากข้ึน ขอ้ มูลข่าวสารของธุรกิจฝากไวใ้ นศูนยข์ อ้ มูล หากขอ้ มูล เกิดการสูญหายย่อมทาให้เกิดผลกระทบต่อ
ธุรกิจโดยตรง คอมพวิ เตอร์เป็นอปุ กรณ์ที่ทางานตาม คาสัง่ การนามาใชใ้ นทางใดจึงข้ึนอยกู่ บั ผูใ้ ช้ จริยธรรมการ
ใชค้ อมพิวเตอร์จึงเป็นเรื่องสาคญั ที่จะตอ้ ง ปลูกฝังให้กบั ผใู้ ชค้ อมพิวเตอร์ เพื่อใหร้ ู้จกั การใชง้ านท่ีเหมาะสม ใน
เรื่องการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ก็จาเป็นตอ้ งปลูกฝังเช่นเดียวกนั เพื่อให้ผใู้ ชน้ าไปใชง้ านที่เป็นประโยชน์เชิง
สร้างสรรคห์ รือทางบวก มิใช่นาไปใชใ้ นทางที่ไม่ดีอยา่ งเช่นที่เกิดข้นึ เสมอ ๆ

เด็กควรรู้

กฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ
1. กฎหมายเก่ียวกบั ธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Transactions Law)
2. กฎหมายเก่ียวกบั ลายมือชื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Signatures Law)
3.กฎหมายเก่ียวกบั การพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐานสารสนเทศให้ทว่ั ถึงและเทา่ เทียมกนั
(NationalInformation Infrastructure Law)
4. กฎหมายเก่ียวกบั การคมุ้ ครองขอ้ มูลส่วนบคุ คล (Data Protection Law)
5. กฎหมายเก่ียวกบั การกระทาความผดิ เก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์ (Computer Crime Law)
6. กฎหมายเกี่ยวกบั การโอนเงินทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Funds Transfer)

80

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

การมีคุณธรรมและจริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยจี ึงเป็น เรื่องที่สาคญั ไมแ่ พก้ นั มีรายละเอียดดงั น้ี
1. ไมค่ วรใหข้ อ้ มลู ท่ีเป็นเทจ็
2. ไม่บิดเบือนความถูกต้องของขอ้ มูลให้ผูร้ ับคนต่อไป ได้

ขอ้ มูลที่ไมถ่ ูกตอ้ ง
3. ไม่ควรเขา้ ถึงขอ้ มลู ของผอู้ ่ืนโดยไม่ไดร้ ับอนุญาต
4. ไม่ควรเปิ ดเผยขอ้ มูลกบั ผทู้ ี่ไม่ไดร้ ับอนุญาต
5. ไม่ทาลายขอ้ มลู
6. ไม่เขา้ ควบคุมระบบบางส่วน หรือท้งั หมด โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต
7. ไม่ทาให้อีกฝ่ ายหน่ึงเขา้ ใจว่าตวั เองเป็นอีกบุคคลหน่ึง ตวั อยา่ งเช่น การปลอมอีเมลของ ผสู้ ่งเพ่ือให้

ผรู้ ับเขา้ ใจผดิ เพ่ือการเขา้ ใจผดิ หรือตอ้ งการลว้ งความลบั
8. การขดั ขวางการให้บริการของเซิร์ฟเวอร์ โดยการทาให้มีการใช้ทรัพยากรของเซิร์ฟเวอร์ จนหมด

หรือถึงขดี จากดั ของมนั ตวั อยา่ งเช่น เวบ็ เซิร์ฟเวอร์ หรืออีเมลเซิร์ฟเวอร์ การโจมตีจะทา โดยการเปิ ดการเชื่อมต่อ
กบั เซิร์ฟเวอร์จนถึงขดี จากดั ของเซิร์ฟเวอร์ทาใหผ้ ใู้ ชค้ นอื่น ๆ ไม่สามารถ เขา้ มาใชบ้ ริการได้

9. ไม่ปล่อย หรือสร้างโปรแกรมประสงค์ร้าย (Maicious Program) ซ่ึงเรียกย่อ ๆว่า (Malware) เป็ น
โปรแกรมที่ถูกสร้างข้ึนมาเพื่อทาการก่อกวน ทาลาย หรือทาความเสียหายระบบ คอมพิวเตอร์ เครือข่าย
โปรแกรมประสงคร์ ้ายท่ีแพร่หลายในปัจจุบนั คอื ไวรัส เวริ ์ม และมา้ โทรจนั

81

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

10. ไม่ก่อความราคาญให้กับผูอ้ ่ืนโดยวิธีการต่าง ๆ เช่น สแปม (Spam) คือ การส่งอีเมล์ ไปยงั ผูใ้ ช้
จานวนมาก โดยมีจุดประสงคเ์ พือ่ การโฆษณา

11. ไม่ผลิตหรือใชส้ ปายแวร์ (Spyware) โดยสปายแวร์จะใชช้ ่องทางการเช่ือมต่อทาง อินเทอร์เน็ต เพื่อ
แอบส่งขอ้ มูลส่วนตวั ของผนู้ ้นั ไปใหก้ บั บคุ คลหรือองคก์ รหน่ึงโดยที่ผใู้ ชไ้ ม่ทราบ

จรรยาบรรณสาหรับผ้ใู ช้อนิ เทอร์เน็ต

ปัจจุบนั มีผูใ้ ช้งานอินเทอร์เน็ตเป็ นจานวนมาก และมีจานวนเพ่ิมข้ึนทุกวนั เครือข่าย อินเทอร์เน็ตเป็ น
ระบบออนไลน์ท่ีสามารถแลกเปลี่ยนขอ้ มูลซ่ึงกันและกนั ได้ ในเครือข่ายย่อมมี ผูป้ ระพฤติไม่ดีปะปนอยู่ ซ่ึง
ก่อให้เกิดปัญหาต่อส่วนรวมอยู่เสมอ แต่ละเครือข่ายจึงไดอ้ อกกฎเกณฑ์ การใช้งานภายในเครือข่าย เพ่ือให้
สมาชิกในเครือข่ายของตนยดึ ถือและปฏิบตั ิตาม กฎเกณฑเ์ หลา่ น้ี จะช่วยใหส้ มาชิกโดยส่วนรวมไดร้ ับประโยชน์
สูงสุด และป้องกนั ปัญหาที่เกิดจากผใู้ ชบ้ างคนได้ ดงั น้นั ผใู้ ชอ้ ินเทอร์เน็ตทกุ คนจะตอ้ งเขา้ ใจกฎเกณฑ์ ขอ้ บงั คบั
ของเครือข่ายที่ตนเองเป็ นสมาชิก จะตอ้ งมีความรับผิดชอบต่อตนเองและผูร้ ่วมใช้บริการคนอ่ืน และจะตอ้ ง
รับผิดชอบต่อการกระทา ของตนเองท่ีเขา้ ไปขอใชบ้ ริการต่าง ๆ บนเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
ที่ผูใ้ ช้ อินเทอร์เน็ตใชบ้ ริการอยมู่ ิไดเ้ ป็นเพียงเครือข่ายขององคก์ รท่ีผูใ้ ชเ้ ป็ นสมาชิกอยู่เท่าน้นั แต่เป็น เครือข่าย
คอมพิวเตอร์ที่เช่ือมโยงเครือข่ายตา่ ง ๆ จานวนมากเขา้ ไวด้ ว้ ยกนั มีขอ้ มูลข่าวสารว่ิงอยู่ ระหวา่ งเครือขา่ ยมากมาย
การส่งข่าวสารลงในเครือข่ายน้ันอาจทาให้ข่าวสารกระจายไปยังเครือข่ายอ่ืน ๆ เช่น การส่งจดหมาย
อิเลก็ ทรอนิกส์ฉบบั หน่ึง อาจจะตอ้ งเดินทางผ่านเครือข่ายหลายเครือข่าย จนกวา่ จดหมายฉบบั น้นั จะเดินทางถึง
ปลายทาง ดงั น้นั ผใู้ ชอ้ ินเทอร์เน็ตจะตอ้ งให้ความสาคญั และ ตระหนกั ถึงปัญหา ปริมาณขอ้ มูลข่าวสารที่วิ่งอยู่
บนเครือข่าย แมผ้ ูใ้ ชง้ านอินเทอร์เน็ตจะไดร้ ับสิทธิ จากผบู้ ริหารเครือข่ายให้ใชบ้ ริการต่าง ๆ บนเครือข่ายน้นั ได้
ผูใ้ ชจ้ ะตอ้ งเขา้ ใจกฎเกณฑต์ ่าง ๆ ที่ เครือข่ายน้ันวางไวด้ ว้ ย ไม่พึงละเมิดสิทธิหรือกระทาการใด ๆ ท่ีจะสร้าง
ปัญหา หรือไมเ่ คารพกฎเกณฑ์ ที่แต่ละเครือขา่ ยวางไว้ และจะตอ้ งปฏิบตั ิตามคาแนะนาอยา่ งเคร่งครัด

82

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

การใชง้ านอินเทอร์เนต็ อยา่ งสร้างสรรคแ์ ละเป็นประโยชน์จะทาใหส้ ังคมอินเทอร์เน็ตเป็นสงั คม ที่น่าใช้
และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม ผใู้ ชจ้ ะตอ้ งหลีกเลี่ยงกิจกรรมบางอย่างท่ีไม่ควรปฏิบตั ิ เช่น การส่งกระจายข่าว
ลือจานวนมากบนเครือข่าย การกระจายข่าวแบบส่งกระจายไปยงั ปลายทาง จานวนมาก การส่งจดหมายลูกโซ่
เป็นตน้ กิจกรรมเหลา่ น้ีจะเป็นผลเสียตอ่ ส่วนรวม และไม่เกิด ประโยชน์ใด ๆ ตอ่ สงั คมอินเทอร์เนต็

บัญญัติ 10 ประการ สาหรับผ้ใู ช้อนิ เทอร์เน็ต

บญั ญตั ิ 10 ประการ ซ่ึงเป็ นจรรยาบรรณท่ีผูใ้ ชอ้ ินเทอร์เน็ตยึดถือไวเ้ สมือนเป็ นแม่บทของ การปฏิบตั ิ
ผใู้ ชพ้ งึ ระลึกและเตือนความจาเสมอ มีดงั น้ี

1. ตอ้ งไมใ่ ชค้ อมพวิ เตอร์ทาร้ายหรือละเมิดผอู้ ่ืน
2. ตอ้ งไมร่ บกวนการทางานของผอู้ ่ืน
3. ตอ้ งไมส่ อดแนม แกไ้ ข หรือเปิ ดดูแฟ้มขอ้ มูลของผอู้ ่ืน
4. ตอ้ งไม่ใชค้ อมพิวเตอร์เพ่อื การโจรกรรมขอ้ มูลข่าวสาร
5. ตอ้ งไม่ใชค้ อมพิวเตอร์สร้างหลกั ฐานท่ีเป็นเทจ็
6. ตอ้ งไม่คดั ลอกโปรแกรมของผอู้ ่ืนที่มีลิขสิทธ์ิ
7. ตอ้ งไมล่ ะเมิดการใชท้ รัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ
8. ตอ้ งไม่นาเอาผลงานของผอู้ ่ืนมาเป็นของตน
9. ตอ้ งคานึงถึงส่ิงที่จะเกิดข้ึนกบั สงั คมอนั ติดตามมาจากการกระทาของท่าน
10. ตอ้ งใชค้ อมพวิ เตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกา และมีมารยาท

83

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

จรรยาบรรณเป็นสิ่งท่ีทาใหส้ ังคมอินเทอร์เน็ตเป็นระเบียบ ความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นเร่ือง ที่จะตอ้ ง
ปลูกฝังกฎเกณฑข์ องแต่ละเครือข่าย จะตอ้ งมีการวางระเบียบเพ่ือใหก้ ารดาเนินงานเป็นไป อยา่ งมีระบบและเอ้ือ
ประโยชน์ซ่ึงกนั และกนั บางเครือข่ายมีบทลงโทษท่ีชดั เจน เช่น การปฏิบตั ิผิด กฎเกณฑข์ องเครือข่ายจะตอ้ งตดั
สิทธิการเป็นผใู้ ชข้ องเครือข่ายในอนาคตจะมีการใชเ้ ครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์เป็นจานวนมาก จรรยาบรรณจึงเป็นส่ิง
ที่ช่วยให้ สังคมอินเทอร์เน็ตสงบสุข หากมีการละเมิดอยา่ งรุนแรงกฎหมายจะเขา้ มามีบทบาทต่อไป (โครงการ
เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์เพือ่ โรงเรียนไทย)

จรรยาบรรณเกย่ี วกบั จดหมาย

อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) และแฟ้มข้อมูล ผูใ้ ช้อินเทอร์เน็ตทุกคนมีตู้จดหมาย (mailbox) และอีเมล
แอดเดรสที่ใชอ้ า้ งอิงในการรับส่ง จดหมาย ความรับผิดชอบต่อการใชง้ านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์เป็นเร่ืองท่ีทุก
คนตอ้ งใหค้ วามสาคญั อย่างมาก เพราะระบบจะรับส่งจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์โดยอตั โนมตั ิ หากมีจดหมายค้าง
ในระบบ เป็ นจานวนมากจะทาให้พ้ืนที่จดั เก็บจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของระบบหมดไป ส่งผลให้ระบบไม่
สามารถรับส่งจดหมายไดอ้ ีก ทาใหผ้ ใู้ ชท้ ุกคนในระบบไมส่ ามารถรับส่งจดหมายท่ีสาคญั ไดอ้ ีกต่อไป นอกจากน้ี
ผใู้ ดผหู้ น่ึงส่งจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ท่ีมีขนาดใหญ่มาก ส่งแบบกระจายเข้าไปในระบบ เดียวกนั พร้อมกนั หลาย
คน จะทาใหร้ ะบบหยดุ ทางานไดเ้ ช่นกนั ผใู้ ชท้ ุกคนพึงระลึกเสมอวา่ เคร่ือง คอมพิวเตอร์ท่ีจดั เก็บตูจ้ ดหมายของ
แต่ละคนมิไดม้ ีผใู้ ชเ้ พยี งไม่กี่คน แตอ่ าจมีผใู้ ชเ้ ป็นพนั คน หม่ืนคน ดงั น้นั ระบบอาจมีปัญหาไดง้ า่ ย ผใู้ ชแ้ ตล่ ะคน
จะตอ้ งมีความรับผิดชอบในการดูแลตจู้ ดหมายของ ตนเอง ดงั น้ี

84

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

1. ตรวจสอบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของตนเองทุกวนั และจะตอ้ งจดั เก็บแฟ้มข้อมูลและ จดหมาย
อิเลก็ ทรอนิกส์ของตนใหเ้ หลือภายในโควตาที่ผบู้ ริหารเครือขา่ ยกาหนดให้

2. ลบจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ที่ไม่ตอ้ งการแลว้ ออกจากระบบ เพื่อลดปริมาณการใชเ้ น้ือท่ีระบบ
3. ดูแลใหจ้ านวนจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ท่ีอยใู่ นตจู้ ดหมายมีจานวนนอ้ ยที่สุด
4. ควรโอนยา้ ยจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ท่ีจะใชอ้ า้ งอิงภายหลงั มายงั เครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง
5. พึงระลึกเสมอว่าจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ท่ีเก็บไวใ้ นตูจ้ ดหมายน้ีอาจถูกผูอ้ ่ืนแอบอ่านได้ ดงั น้นั ไม่
ควรจดั เกบ็ ขอ้ มลู หรือจดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ที่ไมไ่ ดใ้ ชแ้ ลว้ ไวใ้ นตจู้ ดหมาย
หลงั จากผูใ้ ช้ได้รับบญั ชี (account) ในโฮสจากผูบ้ ริหารเครือข่าย ผูใ้ ช้จะไดร้ ับสิทธ์ิให้ใช้เน้ือท่ี ของ
ระบบ ซ่ึงเป็นเน้ือท่ีเฉพาะที่เรียกว่า “โฮมไดเรกทอรี" ตามจานวนโควตาที่ผบู้ ริหารเครือข่าย กาหนด ผใู้ ชจ้ ะตอ้ ง
มีความรับผดิ ชอบตอ่ เน้ือท่ีดงั กลา่ ว เพราะเน้ือที่ของระบบเหล่าน้ีเป็นเน้ือท่ีที่ใช้ ร่วมกนั เช่น โฮสแห่งหน่ึงมีผูใ้ ช้
ร่วมกนั 3,000 คน ถา้ ผบู้ ริหารเครือข่ายกาหนดเน้ือท่ีใหผ้ ใู้ ชค้ นละ 3 เมกะไบต์ โฮสจะตอ้ งมีเน้ือท่ีจานวน 9 จิกะ
ไบต์ โดยความเป็นจริงแลว้ โฮสไม่มีเน้ือท่ีจานวนมาก เท่าจานวนดงั กล่าว เพราะผบู้ ริหารเครือข่ายคิดเน้ือที่โดย
เฉล่ียของผใู้ ชเ้ ป็น 1 เมกะไบต์ ดงั น้นั ถา้ ผใู้ ชท้ ุกคนใชพ้ ้ืนที่ใหพ้ อเหมาะและจดั เกบ็ เฉพาะแฟ้มขอ้ มลู ที่จาเป็น จะ
ทาใหร้ ะบบมีเน้ือท่ีใชง้ าน ไดม้ าก ผใู้ ชท้ ุกคนควรมีความรับผดิ ชอบร่วมกนั ดงั น้ี

85

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

1. จดั เก็บแฟ้มขอ้ มูลในโฮมไดเรกทอรีของตน ใหม้ ีจานวนต่าที่สุด ควรโอนยา้ ยแฟ้มขอ้ มูลมา เก็บไวท้ ี่
เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ของตนเอง

2. การแลกเปล่ียนแฟ้มขอ้ มูลระหว่าง เครื่องคอมพิวเตอร์ของตนและผอู้ ่ืนในเครือขา่ ย อินเทอร์เน็ตควร
จะตรวจสอบไวรัสเป็นประจา เพื่อลดการกระจายของไวรัสในเครือข่าย

3. พึงระลึกเสมอวา่ แฟ้มขอ้ มูลของผใู้ ช้ ที่เก็บไวบ้ นเคร่ืองน้นั อาจไดร้ ับการตรวจสอบโดย ผทู้ ี่มีสิทธิสูง
กวา่ ดงั น้นั ผใู้ ชไ้ ม่ควรเก็บแฟ้มขอ้ มลู ที่เป็นเร่ืองลบั เฉพาะไวบ้ นโฮส

นกั คอมพิวเตอร์ควรศึกษากฎหมายที่เก่ียวขอ้ งกบั งานอาชีพคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี สารสนเทศไว้
เพ่อื ประโยชน์ในการประกอบอาชีพ และจะไดป้ ฏิบตั ิตามขอ้ บญั ญตั ิตา่ ง ๆ ตาม ท่ีกฎหมายกาหนดไวไ้ ดถ้ ูกตอ้ ง

Web Guide

1. http://home.kku.ac.th/regis/student/Unnamed%20Site%201/Untitled-5.htm
2. http://noopor1991.blogspot.com/p/7.html
3. http://sw07010.blogspot.com/2009/01/blog-post__30.html
4. http://www.yenta4.com/law/document.php
5. http://www.ipthailand.go.th/ipthailand/index.php?option=com_content
&task=section&id=21&Itemid=198

86

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

ใบความรู้อาเซียน หน่วยท่ี 2

เร่ือง ไทยจะเสนอให้สมาชิกอาเซียนจัดต้งั หน่วยงานตารวจอาเซียน

นางปัจฉิมา ธนสันติ อธิบดีกรมทรัพยส์ ินทางปัญญา เปิ ดเผยว่า การประชุมคณะทางาน ทรัพยส์ ินทาง
ปัญญาอาเซียนที่จะมีข้ึนในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 ไทยจะเสนอให้สมาชิกอาเซียน จดั ต้งั หน่วยงานตารวจ
อาเซียน (อาเซียนโพล) ข้ึนมา เพื่อดูแลและปราบปรามการกระทาผิด ละเมิดทรัพยส์ ินทางปัญญาในกลุ่มชาติ
อาเซียนโดยตรง เพราะในปี 2558 ที่จะมีการรวมกลุ่ม เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) จะทาใหเ้ กิดการ
เคล่ือนยา้ ยสินคา้ ไดง้ ่าย จึงควรมี หน่วยงานกลางข้ึนมาช่วยดูแลการละเมิดในรูปแบบตา่ ง ๆ เพิม่

ท้งั น้ี หากมีการต้งั อาเซียนโพล เมื่อประเทศใดตรวจพบหรือรู้ข่าวว่าจะมีการส่งสินคา้ ละเมิดทรัพยส์ ิน
ทางปัญญาข้ามชายแดนมาอีกประเทศหน่ึง ก็สามารถติดต่อให้ตารวจของอีก ประเทศหน่ึงติดตามจับกุม
ดาเนินคดีให้ไดท้ นั ที หรือหากมีเครือข่ายขบวนการละเมิดประเทศอ่ืน ก็สามารถใหข้ อ้ มูลช้ีเบาะแสซ่ึงกนั และ
กนั ได้ โดยอาเซียนโพลน้ี ทาหน้าที่คลา้ ยกบั อียูโพลของกลุ่ม ประเทศสหภาพยุโรป ท่ีจดั ต้งั เจ้าหน้าท่ีตารวจ
ร่วมกนั ข้นึ หลงั เปิ ดเสรีการคา้

นอกจากน้ีการจัดต้ังอาเซียนโพลจะช่วย ให้การ
ปราบปรามการละเมิดทรัพยส์ ินทางปัญญาใน ประเทศไทย
และกลุ่มประเทศอาเซียนมีประสิทธิภาพ มากข้ึนกว่าเดิม จาก
ปัจจุบนั ต่างคนต่างทา ไม่มีการ ประสานเท่าท่ีควร ส่งผลให้มี
สินค้าละเมิดทรัพย์สิน ทางปัญญาเล็ดลอดเข้ามาตามแนว
ชายแดน อย่างต่อ เนื่อง สาหรับความร่วมมือในกลุ่มประเทศอาเซียน ไทยมีแผนจะนาสินคา้ เส้นไหมในภาค
อีสานยื่นจดทะเบียนส่ิงบ่งช้ีทางภูมิศาสตร์ (จีไอ) ในเวียดนาม และอียู รวมท้งั ยื่นขอจดจีไอขา้ วสังข์หยด จ.
พทั ลุง กบั อียู

87

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

กจิ กรรมท้ายหน่วยการเรียนรู้ท่ี 2

ใบงานท่ี 2
เรื่อง ทรัพย์สินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยสี ารสนเทศ
คาส่ัง ใหน้ กั เรียนสัมภาษณ์บคุ คลทวั่ ๆ ไปเกี่ยวกบั ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของ
เทคโนโลยสี ารสนเทศวา่ มีความสาคญั ต่อการดารงชีวิต หรือการอยรู่ ่วมกนั ในสังคม หรือไม่
อยา่ งไร พร้อมตอบคาถามดา้ นลา่ ง
1. ชื่อ-นามสกลุ ผใู้ หส้ ัมภาษณ์
………………………………………………………………………………………………………
2. อาชีพ
………………………………………………………………………………………………………
3. ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยสี ารสนเทศมีความสาคญั หรือไม่ พร้อม
อธิบาย
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
4. สรุปผลการสมั ภาษณ์
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

88

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทรัพยส์ ินทางปัญญาและจรรยาบรรณของเทคโนโลยี

แบบฝึ กหัด หน่วยที่ 1

ตอนท่ี 1 คาส่ัง ให้นกั เรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. ทรัพยส์ ินทางปัญญาหมายถึง
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
2. จงอธิบายความสาคญั ของทรัพยส์ ินทางปัญญา
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
3. ประเภทของทรัพยส์ ินทางปัญญาแบง่ ออกเป็นก่ีประเภท อะไรบา้ ง
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
4. จงอธิบายความหมายของทรัพยส์ ินทางปัญญาแตล่ ะประเภท
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

89


Click to View FlipBook Version