The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดที่ ๓ วิจารณญาณ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chaiyasit, 2022-05-05 04:37:26

ชุดที่ ๓ วิจารณญาณ

ชุดที่ ๓ วิจารณญาณ

ชดุ ท่ี ๓ วิจารณญาณ

ชดุ กจิ กรรมและสอื่ การเรียนรู

เพื่อพัฒนาทักษะชวี ิต สำหรบั เยาวชนอาชวี ศกึ ษา


ชดุ ที่ ๓ วิจารณญาณ


ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๙๒๐๗๖-๖-๕


พิมพค์ รงั้ แรก กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๘ จำนวน ๕๐๐ เล่ม



พฒั นาตน้ ฉบบั โดย มูลนิธิแพธทูเฮลท

๓๗/๑ ซ.เพชรบรุ ี ๑๕ ถ.เพชรบุรี เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ ๑๐๔๐๐

โทรศัพท์ ๐-๒๖๕๓-๗๕๖๓-๕ โทรสาร ๐-๒๖๕๓-๗๕๖๖


เว็บไซต์: www.teenpath.net

สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา (สอศ.)

๓๑๙ ถ.ราชดำเนนิ นอก เขตดุสิต กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐

โทรศัพท์ ๐-๒๒๘๑-๕๕๕๕ โทรสาร ๐-๒๒๘๒-๐๘๕๕


เวบ็ ไซต:์ http://www.vec.go.th

สนับสนุนการจัดพมิ พ์โดย สำนกั งานกองทนุ สนบั สนุนการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.)

อาคารศนู ยเ์ รยี นรสู้ ขุ ภาวะ ๙๙/๘ ซ.งามดูพล

แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรงุ เทพฯ ๑๐๑๒๐

โทรศพั ท์ ๐-๒๓๔๓-๑๕๐๐ โทรสาร ๐-๒๓๔๓-๑๕๕๑


เวบ็ ไซต์: www.thaihealth.or.th


รูปเลม่ วัฒนสนิ ธุ์ สุวรัตนานนท

พมิ พท์ ี่ พี.เอส.ซัพพลาย




มลู นิธิแพธทูเฮลท์ (path2health foundation) ยนิ ดีให้มกี ารเผยแพร่เอกสารนอี้ ยา่ งแพรห่ ลายต่อไป อย่างไรก็ตาม

หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำเนื้อหาจากเอกสารนี้ไปใช้อ้างอิงในเอกสาร หรือสื่ออ่ืนๆ ขอความกรุณา


้างอิงทม่ี าของขอ้ ความนัน้ ตามมาตรฐานสากลด้วย ขอบพระคณุ ย่งิ

สนใจดาวน์โหลดหลักสูตร หรือรายละเอียดเพศศึกษารอบด้านทางออนไลน์ ได้ท่ี www.teenpath.net หรือสนใจ
บริการสุขภาพทางเพศและเอดส์สำหรับเยาวชน ได้ที่ www.lovecarestation.com หากต้องการเสนอแนะหรือ
แสดงความคิดเห็นต่อเอกสารนี้ประการใด กรุณาติดต่อมูลนิธิแพธทูเฮลท์ (path2health foundation) โดยตรง
หรือทางอเี มล [email protected]

สารจากเลขาธิการ

คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา














สถานการณ์ด้านเยาวชนของเราในขณะนี้ แม้ว่าทุกฝ่ายจะช่วยกันระดมทรัพยากรท้ังด้าน

งบประมาณและกำลงั สตปิ ญั ญาในการชว่ ยกนั แก้ไขในทกุ มติ ิ มติ หิ นงึ่ ทอ่ี าจตอ้ งใหค้ วามสำคัญ
ไม่ย่ิงหย่อนไปกว่าด้านอ่ืนๆ คือการให้น้ำหนักในเร่ืองการบ่มเพาะทักษะชีวิตที่รอบด้าน โดย
เฉพาะทักษะด้านกระบวนการคิด ซึ่งเป็นทักษะท่ีไม่สามารถปลูกฝังได้ด้วยการฟังบรรยาย
เพ่ือจดจำ แต่ต้องอาศัยการลงมือทำ แก้ไขปัญหา วิเคราะห์ผลที่เกิดข้ึน ท้ังในสถานการณ์
จำลองและสถานการณจ์ รงิ กระบวนการปลกู ฝงั ทกั ษะชวี ติ ดงั กลา่ ว ไมอ่ าจสรา้ งไดด้ ว้ ยวชิ าใด
วิชาหน่งึ แตจ่ ำเป็นต้องอาศยั การผนึกกำลงั ของครใู นทกุ ๆ วชิ า ตลอดจนกระบวนการในการ
จัดกิจกรรมเสริมนอกห้องเรียนให้สอดรับประสานเป็นหน่ึงเดียวในการจัดประสบการณ์ต่างๆ
ให้ผู้เรียนได้เกิดทักษะในการคิดวิเคราะห์ เพ่ือนำไปสู่ทักษะการจัดการชีวิตมิให้ส่งผลกระทบ
ในทางลบท้งั ต่อตนเองและผู้อ่นื



โครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจร่วมกับมูลนิธิแพธทูเฮลท์ ได้จัดการเรียนรู้เร่ืองเพศวิถีศึกษาให้
กับเยาวชนอาชีวศึกษามาตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ อันเป็นเพศศึกษารอบด้านที่ฝึกฝนให้ผู้เรียนเรยี นร
ู้
ท่ีจะจัดการและควบคุมตนเอง ไม่ให้เดินสู่วิถีการก่อผลกระทบทางลบต่อตนเองและผู้อ่ืน

มีข้อค้นพบจากงานวิจัย โดยติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เรียนเช่นเดียวกันว่า
เพียงรายวิชาเพศศึกษาวิชาเดียว ไม่สามารถสร้างความยั่งยืนหรือความคงทนของพฤติกรรม
ทปี่ ลอดภยั ทงั้ ตอ่ ตนเองและผอู้ นื่ ได้ เครอื ขา่ ยครผู สู้ อนจงึ ไดร้ ว่ มกนั ผนกึ กำลงั จดั ทำชดุ กจิ กรรม

ชุดกิจกรรมและสอ่ื การเรียนรู้เพ่ือพฒั นาทักษะชวี ิตสำหรับเยาวชนอาชีวศึกษา ชดุ ที่ ๓ วจิ ารณญาณ | 3

และสอ่ื การเรยี นรเู้ รอ่ื งทกั ษะชวี ติ ขนึ้ เพอ่ื ใหเ้ พอื่ นครใู นรายวชิ าอน่ื ๆ ได้ใชจ้ ดั การเรยี นรู้ใหก้ ับ


ผ้เู รยี นได้ฝึกฝนทักษะกระบวนการคิดตลอด ๓ ปี ที่ศกึ ษาอยู่ในระดับ ปวช.





ขอขอบคุณมูลนิธิแพธทูเฮลท์ หน่วยศึกษานิเทศก์ สถานศึกษา และเครือข่ายครูเพศศึกษา


ทกุ ท่าน ที่ร่วมกันสละกำลงั กาย กำลังสติปัญญา ในการทดลองใช้ พัฒนา และปรบั ปรุงจน

ชุดกิจกรรมและสื่อการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สำหรับเยาวชนอาชีวศึกษาชุดนี้สำเร็จลง

ด้วยดี ขอขอบคุณสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ที่สนับสนุน


งบประมาณในการดำเนินงานจนสำเร็จลุล่วง และท้ายสุดขอบคุณครูอาชีวศึกษาทุกท่านที่จะ

ได้ช่วยกันนำชุดกิจกรรมนี้ไปใช้จัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างต้นทุนทักษะกระบวนการคิดให้

กับเยาวชนอาชีวศึกษาต่อไป ขออำนวยพรให้ทุกท่านท่ีบากบั่นในการดำเนินงานด้วยความ

ปรารถนาดีต่อเยาวชนได้มีสุขภาพกายและใจแข็งแรง พร้อมเป็นกำลังเสริมในการพัฒนา

เยาวชนของประเทศตอ่ ไป











(นายชยั พฤกษ์ เสรรี ักษ์)


เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา


กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๘





4 | ชดุ กิจกรรมและส่ือการเรยี นรู้เพอื่ พฒั นาทกั ษะชีวิตสำหรบั เยาวชนอาชีวศึกษา ชดุ ท่ี ๓ วิจารณญาณ

คำนิยม












ในฐานะผู้มีส่วนรับผิดชอบเยาวชน “ปลายน้ำ” ในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน (ชาย)
บ้านกาญจนาภิเษก ซงึ่ ไดม้ โี อกาสค้นพบเครอ่ื งมือในการฟืน้ ฟู – เยยี วยา - พัฒนาเยาวชน
“ปลายน้ำ” ในรูปแบบ “วิชาชีวิต” ทเี่ พมิ่ ความรว่ มมอื รว่ มใจ รว่ มเปลย่ี นแปลงตนเองของ
เยาวชนในระดับที่น่าพอใจ โดยเฉพาะเมอื่ เทียบเคยี งกบั ชว่ งท่พี วกเขายังเปน็ เยาวชน “ต้นนำ้ ”



หลงั จากบ้านกาญจนาภิเษกไดค้ ้นพบเครอ่ื งมือทส่ี ามารถฟืน้ ฟู – เยียวยา - พัฒนา และเพมิ่
ภูมคิ ุ้มกันให้กบั เยาวชน “ปลายนำ้ ” ไดแ้ ล้ว เรากพ็ ยายามส่งสญั ญาณ ส่งสาระตา่ งๆ กลับไป
ณ จุด “ตน้ นำ้ ” อย่างสม่ำเสมอ ต่อเนอ่ื ง แต่สัญญาณการตอบรับก็...ขาดๆ หายๆ แรงใน
บางชว่ ง แตแ่ ผว่ เป็นสว่ นใหญ่



แต่ในที่สุดมูลนิธิแพธทูเฮลท์ และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

ไดท้ ำหนา้ ทเ่ี สรมิ แรงสง่ สญั ญาณ จนถงึ ระดบั ทส่ี ำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา (สอศ.)
หนึ่งในกลไกรฐั “รับสัญญาณตดิ ” ...นา่ ชื่นชมมาก



แมว้ า่ ชดุ กจิ กรรมและสอ่ื การเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นาทกั ษะชวี ติ สำหรบั เยาวชนอาชวี ศกึ ษา ทง้ั ๖ ชดุ
ทีพ่ ฒั นาข้ึนมาเพือ่ เพมิ่ “ต้นทนุ ชีวิต” ใหก้ บั ผเู้ รยี น จะมสี ดั สว่ นในเชงิ พน้ื ท่ี เชงิ เนอื้ หาไมม่ ากนกั
แต่กเ็ ปน็ ก้าวย่างทส่ี ำคัญและควรแกก่ ารก้มศรี ษะ คารวะอย่างจรงิ ใจ




ชุดกจิ กรรมและส่ือการเรียนรู้เพื่อพฒั นาทกั ษะชวี ติ สำหรบั เยาวชนอาชีวศึกษา ชุดที่ ๓ วจิ ารณญาณ | 5

หวงั วา่ อกี ไมน่ านจะมกี า้ วตอ่ ไป ตอ่ ไป เนอื่ งจากบรบิ ทของชวี ติ ของโลกแตกตา่ งไปจากเดมิ มาก

การท่ีสถานศึกษาผลิตซ้ำส่ิงเดิมๆ โดยเล็งเป้าหมายใหม่ๆ จึงเป็นการลงทุน ลงทรัพยากรท่ี

ต้องทบทวนอย่างจริงจัง





แต่ สอศ. โดยการรว่ มดว้ ยชว่ ยกนั ของมลู นธิ แิ พธทเู ฮลท์ และ สสส. ทำสำเรจ็ ไปแลว้ ระดบั หน่ึง





ดว้ ยความชนื่ ชมค่ะ











ทชิ า ณ นคร


ผูอ้ ำนวยการศนู ย์ฝึกและอบรมเดก็ และเยาวชน (ชาย) บ้านกาญจนาภเิ ษก


กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘








6 | ชุดกจิ กรรมและสื่อการเรยี นรูเ้ พือ่ พัฒนาทกั ษะชีวิตสำหรับเยาวชนอาชวี ศกึ ษา ชดุ ท่ี ๓ วจิ ารณญาณ

คำนำ










จากการให้ความสำคัญต่อการดูแลสุขภาวะทางเพศของเยาวชนอาชีวศึกษา สำนักงาน

คณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) ได้ดำเนินการสอนเพศศึกษามาต้ังแต่ พ.ศ.๒๕๔๗
ตามคำส่ัง สอศ. ที่ ๔๙๕/๒๕๔๗ ให้บรรจุเพศศึกษาเป็นวิชาเลือกเสรี ภายใต้กลุ่มวิชา

สุขศึกษาและพลศึกษา หมวดสามัญ ใช้ช่ือว่า “วิชาเพศศึกษา” (รหัสวิชา ๒๐๐๐-๑๖๑๒)

ในหลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี ๒๕๔๖ (ปวช.) และปรบั ปรงุ เปน็ รายวชิ า “เพศวถิ ีศกึ ษา”
ในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพปี ๒๕๕๖ ซ่ึงสถานศึกษาเปิดสอนได้เพียง ๑ ภาคเรียน

ในระดบั ชัน้ ปวช. ดังนน้ั เพอ่ื ให้เยาวชนอาชีวศึกษาไดเ้ รียนร้แู ละพัฒนาทกั ษะการดำเนนิ ชีวิต
อยา่ งต่อเน่ือง มูลนิธแิ พธทเู ฮลท์ (องค์การแพธ – เดมิ ) ร่วมกบั สอศ. ภายใต้การสนบั สนุน
ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จึงได้พัฒนาชุดกิจกรรมและ
ส่อื การเรียนรูท้ ่เี สรมิ เน้อื หาเพศศึกษาและชว่ ยพัฒนาทกั ษะชีวติ ๖ ชุด โดยได้ปรกึ ษาคุณทิชา
ณ นคร ผู้อำนวยการศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน (ชาย) บ้านกาญจนาภิเษก ซึ่ง
เป็นต้นแบบสำคัญของการจัดการเรียนรู้แบบพัฒนาเยาวชนเชิงบวก และยังได้ถอดบทเรียน
ของบา้ นกาญจนาฯ เปน็ พื้นฐานการออกแบบชดุ กจิ กรรมนี้ดว้ ย



ชุดกิจกรรมและส่ือการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต สำหรับเยาวชนอาชีวศึกษา ท้ัง ๖ ชุด
ไดแ้ ก่ ชดุ ท่ี ๑ คุณคา่ ภายใน ชดุ ท่ี ๒ อยดู่ ว้ ยกัน ชุดที่ ๓ วิจารณญาณ ชดุ ท่ี ๔ เคารพ

ตัวเอง ชดุ ท่ี ๕ โลกของงาน และชดุ ที่ ๖ เสน้ ทางชีวิต ในแตล่ ะชดุ ประกอบไปดว้ ยกิจกรรม
การเรยี นรู้ ๕ กิจกรรม และการเรยี นรผู้ ่านภาพยนตร์ ๑ เรือ่ ง รวมท้งั เครอื่ งมือการประเมนิ
ช้ันเรียน ซึ่งออกแบบสำหรับแต่ละชุดกิจกรรม และสามารถใช้ประมวลผลการเรียนรู้ของ
นกั เรียนไดต้ ลอด ๖ ภาคเรียน หากสถานศกึ ษาใชช้ ดุ กิจกรรมฯ ครบทั้ง ๖ ชุด




ชดุ กจิ กรรมและสอ่ื การเรยี นรู้เพอื่ พฒั นาทักษะชวี ติ สำหรบั เยาวชนอาชวี ศึกษา ชุดที่ ๓ วิจารณญาณ | 7

ในการพัฒนาชุดกิจกรรมและสื่อการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สำหรับเยาวชนอาชีวศึกษา
มูลนิธิแพธทูเฮลท์ได้รับความร่วมมืออย่างดีย่ิงจากคณะครู และกลุ่มนักเรียนอาชีวศึกษาใน
ช่วงการพัฒนาและทดลองใช้ นอกจากน้ัน การประเมินประสิทธิผลการเรียนรู้จากการ
ทดลองใชช้ ุดกิจกรรมฯ ในกลุ่มวทิ ยาลัยนำรอ่ ง พบวา่ ในภาพรวมชดุ กจิ กรรมฯ ทำให้นักเรียน
มีการรับรู้เปล่ียนไปในทางบวกมากข้ึน ในเร่ืองทักษะการใช้ภาษา การสื่อสาร การเข้าใจ
ตนเอง การคิดให้เหตุผล ซึ่งท้ังหมดนี้สอดคล้องกับการเรียนรู้ หรือการพัฒนาทักษะชีวิต

ทช่ี ดุ กิจกรรมฯ ท้งั ๖ ชุด ตง้ั เปน็ เปา้ หมายไว้



ขอขอบคุณ อาจารย์สุจิตรา โปร่งแสง ศึกษานิเทศก์ คณะครูและนักเรียนจากสถานศึกษา

ทร่ี ว่ มโครงการฯ และคณุ ทิชา ณ นคร ทมี่ ีสว่ นสำคัญในการพัฒนาชดุ กิจกรรมฯ ทั้ง ๖ ชดุ นี้



ขอขอบคุณ สสส. ท่ีเปิดโอกาสและสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาชุดกิจกรรมเสริมการเรียนรู้
เร่อื งเพศวิถศี กึ ษาและทักษะชวี ิตข้ึนสำหรบั เยาวชนในอาชวี ศกึ ษา



และขอขอบคุณผู้บริหาร สอศ. และผู้บริหารสถานศึกษาที่เห็นความสำคัญและช่วยสนับสนุน
ให้เกิดการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตและสุขภาวะทางเพศของเยาวชนอาชีวศึกษา
อย่างต่อเน่อื ง








มูลนิธแิ พธทูเฮลท

กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘




8 | ชุดกจิ กรรมและสอ่ื การเรียนรูเ้ พ่ือพฒั นาทักษะชีวิตสำหรับเยาวชนอาชวี ศึกษา ชดุ ท่ี ๓ วิจารณญาณ

สารบัญ



ิจกรรมที่ ๑ อารมณช์ ่ัววูบ ๑๓



ิจกรรมที่ ๒ ติด ๒๑



ิจกรรมที่ ๓ รักนะ...ท้ังสองคน ๒๙



จิ กรรมที่ ๔ ศักดศ์ิ รี ๔๑



กจิ กรรมที่ ๕ พีก่ ับนอ้ ง ๕๑



ภาพยนตรแ์ นะนำ ๕๗



คู่มอื ครู “การประเมินช้ันเรียนกจิ กรรมสง่ เสริมทกั ษะชวี ิตเยาวชนอาชีวศึกษา” ๖๓

ภาคผนวก

๑. ประมวลรายวิชา (Course Syllabus) หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๓ ๗๖


๒. แบบบันทึกข้อมูลท่วั ไปของนักเรียน ๘๐


๓. แบบทดสอบหลังการร่วมกจิ กรรม ๘๘


๔. คมู่ ือการเรยี นรู้ ชุดที่ ๓ ๑๐๑


๕. แบบบันทกึ ความตงั้ ใจพฒั นาตนเองของนักเรยี น ๑๒๕


๖. แบบบนั ทกึ หลงั สอน


• แบบบันทกึ หลงั สอน ๑๒๖


• แบบบนั ทึกข้อมูลพฤตกิ รรมเสี่ยงของนกั เรียน ๑๓๐


แนวทางปอ้ งกนั ดแู ล และผลลพั ธ์

แนวคดิ ร
วบยอด


ในการใช้ชีวิตแต่ละวัน เราต้องเลือกและตัดสินใจในเร่ืองต่างๆ ทั้งที่เก่ียวกับตัวเราเอง และ
เมื่อปฏิสมั พนั ธ์กบั ผอู้ ่ืน ทกุ การตัดสินใจย่อมมผี ลทเ่ี ราตอ้ งรบั ผดิ ชอบตดิ ตามมา ดังน้นั การมี
วจิ ารณญาณในการคดิ ใคร่ครวญถงึ ขอ้ ดี ข้อเสยี ผลทต่ี ามมา ความรสู้ ึกของคนทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
และความรู้สึกของตัวเองก่อนตัดสินใจ จะช่วยให้เราตัดสินใจรอบคอบข้ึน และเลือกการ
กระทำทนี่ ำไปสผู่ ลลบนอ้ ยท่ีสุด ไม่นำไปสคู่ วามรนุ แรง ทำรา้ ยกัน หรือการกระทำท่จี ะทำให้
ทั้งตัวเอง และคนทีเ่ ก่ยี วขอ้ งเสยี ความรู้สกึ



ชุดกิจกรรม “วิจารณญาณ” ชวนให้ผู้เรียน ได้ฝึกคิดแบบมีวิจารณญาณ ในการตัดสินใจใน
บรบิ ทต่างๆ ของชีวติ ทง้ั มติ ดิ า้ นการจดั การอารมณ์ พฤติกรรมการเสพตดิ ในชวี ิตประจำวันท่ี
อาจสง่ ผลต่อสุขภาวะตวั เอง การจัดการความสัมพนั ธ์ท้งั กบั คนรกั เพอื่ น รุ่นพ่ี ร่นุ นอ้ ง และ
คนรอบข้าง



สำหรับภาพยนตร์แนะนำ ๑ เร่ือง เป็นหนังสั้นจากชีวิตจริงวัยรุ่นชายคนหน่ึง ท่ีต้องเผชิญ
ความท้าทายรอบตวั ท้ังการคบเพอ่ื น การรกั พวกพอ้ ง การเรยี น และความฝัน เมอ่ื ชวี ิตมาถงึ
จุดเปล่ียนที่ไมต่ ้องการ เขากพ็ รอ้ มรับผดิ ชอบ และยงั คงมุ่งเดนิ สคู่ วามฝัน พร้อมเรียนร้กู บั ส่งิ
ที่ผา่ นมา

ชุดกิจกรรม ป
ระกอบด้วย


กิจกรรมท่ี ๑ อารมณ์ชว่ั วูบ

กจิ กรรมที่ ๒ ตดิ

กจิ กรรมที่ ๓ รกั นะ...ท้ังสองคน

กิจกรรมท่ี ๔ ศักดศ์ิ รี

กจิ กรรมท่ี ๕ พก่ี บั นอ้ ง

ภาพยนตร์แนะนำ หนงั สน้ั ก่อน ๑๘ : ตอน เรื่องของพล ความยาว ๒๘ นาที




เวล



กิจกรรมท้ัง ๕ กิจกรรม ออกแบบสำหรับ เวลา ๖๐ นาที เพื่อใช้สัปดาห์ละ ๑ กิจกรรม

ตอ่ เน่อื ง และปิดทา้ ยชดุ กจิ กรรมด้วยการดูภาพยนตรแ์ ละพดู คุย ซง่ึ อาจใช้เวลา ๑.๓๐ ชั่วโมง




ผลลพั ธ์การเรยี นร
ู้

• คดิ ใคร่ครวญ ก่อนตดั สนิ ใจ

• เท่าทันและสามารถจดั การอารมณ์ของตนเองไดด้ ขี นึ้

• เทา่ ทันสังคมและเลอื กตดั สินใจโดยรถู้ งึ ผลทต่ี ามมา

และพร้อมรบั ผดิ ชอบ

• แยกแยะและเลือกปฏบิ ตั ติ อ่ ผู้อืน่ โดยไม่ใชค้ วามรุนแรง

หรอื ทำร้ายกนั



อารมณ์กิจกรรมท่ ี ๑

ชั่ววบู

สาระสำคญั


อารมณ์เป็นเร่ืองปกติของมนุษย์ แต่การจัดการอารมณ์เป็นเร่ืองท่ีต้องเรียนรู้และฝึกฝน

เราสามารถบริหารจัดการอารมณ์ท่ีเกิดข้ึนได้ดีข้ึนเรื่อยๆ เมื่อเราเรียนรู้และยอมรับการเกิดข้ึน
ของอารมณ์ ทำความเขา้ ใจความรสู้ กึ ปฏกิ ริ ยิ าของตนเองขณะทเ่ี กดิ อารมณข์ น้ึ รวมถงึ ฝกึ พดู คยุ

่อื สารถึงอารมณอ์ ย่างสรา้ งสรรค์





วัตถุประสงค


กจิ กรรมน้ีมงุ่ หวงั ให้ผเู้ รยี น

๑. ฝึกการรบั รู้และเทา่ ทันต่ออารมณ์ทเี่ กดิ ขึ้นของตวั เอง


๒. บอกแนวทางการจดั การอารมณ์ของตนเอง





อุปกรณ


ตัวอย่างหน้าการ์ตูนแสดงความรู้สึกต่างๆ ขนาดท่ีทุกคนมองเห็นได้จำนวนหนึ่ง สำหรับติดไว้

นกระดาน





เอกสารประกอบ


ใบทบทวน “อารมณข์ องฉัน” (สำหรบั ทุกคนเป็นการบา้ น)








14 | ชุดกจิ กรรมและส่อื การเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาทกั ษะชีวติ สำหรับเยาวชนอาชวี ศึกษา ชดุ ที่ ๓ วิจารณญาณ

กระบวนการ


๑. ช้ีแจงว่าวันนี้เราจะเรียนรู้เรื่องอารมณ์ ชวนดูภาพการ์ตูนที่แสดงความรู้สึกต่างๆ ท่ีติดไว้
หน้าหอ้ ง สมุ่ ถามบางภาพว่าภาพนน้ั กำลังมีอารมณ์หรือความรู้สึกอยา่ งไร




๒. อธิบายว่าจะมีสถานการณ์ให้ผู้เรียนพิจารณาว่า ถ้าเราอยู่ในสถานการณ์น้ันๆ เราจะรู้สึก

อยา่ งไร

๑) ใหแ้ ตล่ ะคนวาดหนา้ การต์ นู ทแี่ ทนความรสู้ กึ ตวั เอง (วาดไดม้ ากกวา่ ๑ ความรสู้ กึ ) ลงใน

กระดาษหรือสมดุ

๒) เขยี น “ชื่ออารมณ์หรือความรู้สึก” กำกบั ใตร้ ูปการต์ ูนนน้ั



๓. อ่านสถานการณ์ใหผ้ ้เู รยี นฟังทลี ะสถานการณ์ และใหเ้ วลาแตล่ ะคนเลา่ ใหก้ นั ฟงั ในกลมุ่



สถานการณ์ที่ ๑ เราถูกพอ่ แม่หรอื ครบู ่น/ด/ุ ดา่ โดยไม่ฟังเหตผุ ล

สถานการณ์ที่ ๒ พ่หี รอื นอ้ งของเราแอบเอาของทเี่ รารักไป และทำให้เสียหาย

สถานการณ์ท่ี ๓ เราถูกเพอื่ นลอ้ เลยี นในเรอื่ งที่เราไม่ชอบ ท้ังๆ ทเ่ี คยขอร้องแลว้

สถานการณ์ที่ ๔ เราเห็นเพ่อื นเรากำลังถูกทำร้าย

สถานการณท์ ่ี ๕ เราเพ่ิงจบั ไดว้ า่ แฟนเราไปแอบคบกบั คนอนื่ ด้วย




กิจกรรมที่ ๑ อารมณช์ ัว่ วูบ | 15

๔. เมอื่ ครบทงั้ ๕ สถานการณแ์ ลว้ ถามผูเ้ รียนว่า




• จาก ๕ สถานการณ์ เราสังเกตเห็นอารมณ์ของเราในแต่ละเร่ืองอย่างไร เรื่องไหน
กระทบกบั อารมณ์เรามากท่ีสดุ


• ในแตล่ ะสถานการณ์ คำตอบของเราและเพอ่ื นเหมอื นหรอื ตา่ งกนั อย่างไร สาเหตทุ รี่ สู้ กึ
ตา่ งกันในสถานการณเ์ ดยี วกันเป็นเพราะเหตุใด


• มีใครที่ไม่สามารถเรียกช่อื อารมณห์ รอื ความรสู้ ึกท่ีเกดิ ข้นึ ไดบ้ ้าง




๕. ผู้ดำเนินการถามเชื่อมโยงว่า หากสถานการณ์สมมติเหล่าน้ีเกิดขึ้นในชีวิตจริง โดย


ยกตวั อย่าง ๑ – ๒ สถานการณ์ เช่น

๑) เพ่ือนลอ้ เลยี นในเรอื่ งที่เราไม่ชอบ ทัง้ ๆ ท่ีเคยขอร้องแลว้

๒) เราเพ่งิ จับได้ว่าแฟนเรากำลงั แอบคบคนอื่น


• ปฏิกริ ิยาแรกของเราจะเป็นอยา่ งไร สงิ่ แรกที่เราจะทำคอื อะไร

• คดิ ว่าส่งิ ทีเ่ ราทำจะสง่ ผลอย่างไรบ้าง



๖. ใหแ้ ตล่ ะคนนึกถึงเหตกุ ารณจ์ รงิ ทีท่ ำให้เรารสู้ ึกโกรธมาก



• ตอนนนั้ ความรสู้ กึ เราเปน็ อย่างไร ลองเรยี กชอื่ ความรู้สึกท่ีเกิดขนึ้ วา่ มอี ะไรบ้าง

• ตอนท่ีเรามีความรู้สึกมากๆ ร่างกายของเรามีปฏิกิริยาอย่างไรบ้าง และความรู้สึกที่

เกดิ ขนึ้ เปรยี บเหมอื นอะไร ลองอธบิ าย

• จำได้หรอื ไม่ว่าเรามปี ฏกิ ิริยาตอบสนองหรือทำอะไรไป



จากนั้นให้ผ้เู รยี นจับคกู่ ันและผลัดกนั เลา่ ใหเ้ พือ่ นฟัง คนละ ๓ นาท


16 | ชุดกิจกรรมและส่ือการเรียนรเู้ พอ่ื พัฒนาทกั ษะชีวติ สำหรบั เยาวชนอาชวี ศึกษา ชุดท่ี ๓ วจิ ารณญาณ

๗. ผู้ดำเนินการสรุปกิจกรรมว่า เราได้ฝึกฝนทักษะสำคัญ ๓ อย่างในการจัดการกับอารมณ์
ของตนเอง คอื

þ การเรียกช่ืออารมณ์ที่เกดิ ขึ้นว่าคืออะไร ชว่ ยใหเ้ รารับรคู้ วามร้สู ึกของเราที่เกดิ ข้นึ

þ การรับรู้ความรู้สึกหรือปฏิกิริยาท่ีเกิดข้ึนในร่างกายของเรา ขณะที่อารมณ์เกิดขึ้น
ว่าเปน็ อยา่ งไร ครง้ั ตอ่ ไปที่มคี วามรสู้ ึกคล้ายกันน้ีเกดิ ข้ึน เราจะสามารถรับทราบได้
เร็วข้นึ ว่าเรากำลังมีอารมณน์ ัน้ ๆ อยู

þ การแบ่งปันหรือพูดถึงความรู้สึกที่เกิดขึ้นออกมาให้เพ่ือนฟัง ซึ่งเป็นการเล่าท่ีผ่าน
การทำความเข้าใจของเราแล้วว่ากำลังเกิดอะไรขึ้นกับตัวเรา ก่อนท่ีเราจะบอกเล่า
มันออกมา ช่วยให้เราได้พิจารณาอารมณ์ที่เกิดขึ้น ปฏิกิริยา การตอบสนองของ
ตนเอง และผลท่เี กิดขึน้ เป็นโอกาสทจี่ ะใครค่ รวญวา่ หากเกิดอารมณเ์ ช่นนีอ้ ีก เรา
จะจดั การอย่างไร




๘. แจกใบทบทวนตวั เอง “อารมณข์ องฉัน” – ใหท้ ำเปน็ การบา้ น


• เขียนเล่า “เหตุการณ์จรงิ ” ท่ีทำให้เรารู้สึกหรือมีอารมณร์ นุ แรง ๑ เร่ือง

• เราทำอะไรหรือแสดงออกอย่างไรในเหตุการณ์น้ัน

• เกดิ อะไรข้ึนหลังจากท่ีเราแสดงปฏกิ ิริยาในเหตกุ ารณ์นน้ั

• สิง่ ที่ได้เรยี นรู้จากเหตกุ ารณ์น้นั หรอื ข้อดีของการเกิดเหตกุ ารณ์นั้น














กจิ กรรมที่ ๑ อารมณช์ ัว่ วูบ | 17

ตัวอยา่ งใบการ์ตูนหนา้ ความรสู้ ึก




18 | ชดุ กิจกรรมและส่อื การเรียนรู้เพ่อื พัฒนาทักษะชีวติ สำหรบั เยาวชนอาชีวศกึ ษา ชุดท่ี ๓ วจิ ารณญาณ

ใบทบทวน “อารมณ์ของฉัน”


“เหตุการณจ์ รงิ ” ทที่ ำให้เราร้สู กึ หรอื มอี ารมณ์รุนแรง เขียนเล่า ๑ เร่อื ง


• เราทำอะไรหรือแสดงออกอยา่ งไรในเหตกุ ารณน์ ้นั

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................



• เกิดอะไรข้ึนหลงั จากที่เราแสดงปฏกิ ริ ยิ าในเหตุการณ์น้นั

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................



• สง่ิ ท่ีไดเ้ รียนรู้จากเหตุการณ์นั้น หรือขอ้ ดขี องการเกิดเหตุการณน์ น้ั

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................


กจิ กรรมท่ี ๑ อารมณช์ ่วั วบู | 19



ตดิ
กิจกรรมท ่ี ๒

สาระส
ำคัญ


มนุษย์ใช้ชวี ติ คกู่ บั การเสพตดิ หลายรูปแบบ ต้งั แต่เรือ่ งทั่วๆ ไป เช่น โซเชยี ลมีเดีย เกมส์ กฬี า
กาแฟ ความตื่นเต้น ความสัมพันธ์กับบุคคลบางคน จนถึงเร่ืองที่สังคมบอกว่าเป็นการเสพติด

ที่รนุ แรง เชน่ การเสพยา การดมื่ แอลกอฮอล์ การเลน่ การพนนั เป็นตน้ การตดิ หรือการเกดิ
ภาวะพ่ึงพิงต่อสิ่งใดก็ตามสามารถเกิดผลเสียกับบุคคลได้ท้ังส้ิน การสังเกตและประเมินตนเอง
ได้ว่าเรากำลังเลือกทำกิจกรรมใดเพียงเพื่อความบันเทิง หรือเรากำลังอยู่ในภาวะพ่ึงพิงต่อ

สง่ิ เหลา่ นั้น จะช่วยใหเ้ ราเท่าทนั และจดั การสถานการณน์ ั้นได้มากขึน้





วัตถปุ ร
ะสงค


กิจกรรมนีม้ งุ่ หวงั ให้ผูเ้ รียน

๑. สำรวจพฤติกรรมตา่ งๆ ของตนเอง ที่อาจนำไปส่กู ารพงึ่ พงิ หรอื เสพตดิ

๒. ระบเุ กณฑ์ท่ีใช้ในการตดั สนิ ว่าเปน็ การกระทำเพื่อความบนั เทงิ หรอื อยู่ในภาวะเสพติด

๓. วิเคราะหพ์ ฤติกรรมเสพตดิ ว่าเกดิ ขน้ึ เม่ือใด เพราะเหตใุ ด และอะไรทำให้เกิดการตดิ





อปุ กรณ์

ไม
ม่




เอกสารป
ระกอบ


๑. แบบสำรวจตัวเอง – ตดิ หรอื ไม่ (สำหรบั ทุกคน)



๒. ใบทบทวนตอ่ ด้วยตวั เอง


22 | ชุดกิจกรรมและส่อื การเรยี นรเู้ พือ่ พฒั นาทักษะชวี ติ สำหรับเยาวชนอาชีวศึกษา ชดุ ท่ี ๓ วิจารณญาณ

ข้อควรระวังสำหรบั ผู้ดำเนินการ

• สร้างพ้ืนที่ปลอดภัยให้ผู้เรียนรู้สึกสบายใจในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและสำรวจ

ตวั เองด้วยการรบั ฟงั ไม่ตีตราตดั สิน ไมว่ พิ ากษว์ จิ ารณ์ หรือส่ังสอนผเู้ รยี นเกี่ยวกบั

พฤติกรรมการเสพติด เป้าหมายของกิจกรรมคือการให้ผู้เรียนมีโอกาสมองตนเอง

อย่างเป็นจริง ซ่ึงจะเป็นไปได้เมื่อผู้เรียนมีพ้ืนท่ีปลอดภัยท่ีทำให้เขากล้าเผชิญหน้า

กับพฤตกิ รรมของตนเอง


• รักษาความลับของผู้เรียน และย้ำให้ผู้เรียนเคารพและรักษาความลับของกันและกัน

เนื่องจากพฤติกรรมท่ีผู้เรียนจะสำรวจตัวเองในบางเร่ืองถูกจัดให้เป็นส่ิงผิดกฎหมาย


หรือเปน็ ส่งิ ท่จี ะทำใหผ้ ู้เรียนถกู ตตี รา กล
่นั แกล้ง หรอื ไดร้ บั ผลกระทบท่เี ลวรา้ ย


กระบว
นการ

๑. ถามทวนผ้เู รียนว่า จากการบา้ นที่ให้นกึ ถึงเหตกุ ารณ์จรงิ ที่ทำใหเ้ รามีอารมณ์รนุ แรง และให้

เขียนว่าเราได้เรียนร้อู ะไรจากเหตุการณ์นน้ั หรือเขยี นข้อดขี องการเกิดเหตุการณ์นนั้ มีใคร

พร้อมเลา่ เรื่องท่ีเขียนบา้ ง (ขออาสาสมคั ร ๑-๒ คน)





๒. ผดู้ ำเนินการชแ้ี จงวา่ กิจกรรมวันนจี้ ะชวนสำรวจพฤติกรรมหรือการกระทำทเี่ กย่ี วกบั “การ

เสพติด” เรอื่ งตา่ งๆ เรมิ่ จากให้ผูเ้ รยี นระดมความคดิ แลกเปลี่ยนในวงใหญ่ ดังน
ี้

• เมอื่ พดู ถึงการเสพติด นึกถึงอะไรบา้ ง


• เราสามารถติดอะไรไดบ้ ้าง


• อะไรคอื อาการของการติด





กิจกรรมที่ ๒ ตดิ | 23

๓. แจกแบบทบทวนตวั เอง “ติดหรอื ไม”่ ใหผ้ เู้ รยี นทุกคนตอบ



ความรสู้ กึ ทำบอ่ ย คดิ ว่าเรา คดิ วา่ เรา
กิจกรรม
ที่เกดิ ขน้ึ แค่ไหน
ควบคมุ
ติดหรือไม่
เมอื่ ไดท้ ำ
ตวั เองได้มาก เพราะ
หรอื นอ้ ย
อะไร

๑. เล่นเฟซบุ๊ก







๒. เลน่ เกมส






๓. เล่นโทรศพั ท






๔. ใชเ้ วลากบั คนท่ีชอบ






๕. ดูทวี






๖. ดม่ื นำ้ อัดลม






๗. เลน่ หวย






๘. ดื่มเหลา้






๙. สบู บุหร
ี่





สง่ิ อืน่ ทีเ่ ราใชเ้ วลากับมันมากๆ (ระบ)ุ .........






๔. แบ่งผเู้ รียนเป็น ๙ กลุ่ม แตล่ ะกลุ่มจะแลกเปลีย่ นกนั ใน ๑ พฤตกิ รรม (๑-๙) ตามประเด็น
ต่อไปนี้ (เขียนประเด็นแลกเปลีย่ นบนกระดาน)




๑) การไดท้ ำเรือ่ งนนั้ ๆ มขี ้อดี ขอ้ เสยี อย่างไรบ้าง

๒) ให้แลกเปล่ียนในกรณีที่เราทำเร่ืองนั้นๆ คิดว่าตัวเราสามารถควบคุมการทำได้หรือไม่
เม่อื ไรทเ่ี ราควบคุมได้ เม่ือไรท่ีเราควบคุมไม่ได้

๓) เกณฑท์ ่จี ะบอกว่าเราติดหรือไม่ตดิ ในเรื่องน้ี สามารถวดั จากอะไรไดบ้ า้ ง


24 | ชดุ กจิ กรรมและส่อื การเรียนรเู้ พื่อพฒั นาทกั ษะชวี ติ สำหรบั เยาวชนอาชีวศึกษา ชดุ ท่ี ๓ วจิ ารณญาณ

• เม่ือแลกเปลี่ยนแล้ว ให้เขียนพฤติกรรมท่ีกลุ่มตนเองได้รับ และคำตอบข้อ ๓ เกณฑ์ที่
บอกว่าเราติดหรือไม่ติดวัดจากอะไรได้บ้างบนกระดาษฟลิปชาร์ต และนำไปติดติดไว้
รอบๆ ห้อง ดงั ตวั อย่าง




เลน่ เฟซบุ๊ก


เกณฑท์ ี่จะบอกวา่ ตดิ หรือไมต่ ดิ คอื

o

o

o

o






๕. เมื่อทกุ กลุ่มติดแล้ว ใหผ้ เู้ รยี นทุกคนเดนิ ดู ทง้ั ๙ เร่ือง ให้เวลา ๑๐ นาที โดยให้พจิ ารณา

ดังน้




• เรารู้สึกอยา่ งไรกับเกณฑพ์ ิจารณาท่ีเพื่อนเสนอวา่ ติดหรือไม่ในแตล่ ะพฤตกิ รรม

• ถา้ เทยี บกบั สงิ่ ทเ่ี ราประเมินตนเองในตอนแรก เราเหน็ ด้วยหรือไม่ อย่างไร

• มีใครรู้สกึ อยากเปลย่ี นแปลงตวั เองในเรอื่ งใดบ้างหรือไม่ เพราะอะไร



๖. แจกใบทบทวนตอ่ ดว้ ยตัวเองให้ผ้เู รยี นทกุ คนทำ (หรือเปน็ การบ้าน โดยนดั หมายการสง่ )


กิจกรรมที่ ๒ ตดิ | 25

สำรวจตวั เอง – ตดิ หรอื ไม่






ความร้สู กึ ทำบอ่ ย คดิ ว่าเรา คิดว่าเรา
กจิ กรรม
ที่เกิดข้ึน แคไ่ หน
ควบคุม
ติดหรอื ไม่
เมือ่ ไดท้ ำ
ตัวเองไดม้ าก เพราะ
หรือนอ้ ย
อะไร

๑. เล่นเฟซบุก๊

๒. เล่นเกมส












๓. เล่นโทรศพั ท





๔. ใช้เวลากับคนท่ีชอบ





๕. ดทู ีว






๖. ด่ืมนำ้ อดั ลม





๗. เล่นหวย





๘. ด่มื เหลา้





๙. สูบบุหร
่ี




สิง่ อ่ืนท่ีเราใชเ้ วลากับมนั มากๆ (ระบุ)......






26 | ชดุ กิจกรรมและสื่อการเรยี นรูเ้ พ่ือพฒั นาทกั ษะชีวติ สำหรับเยาวชนอาชวี ศกึ ษา ชดุ ท่ี ๓ วิจารณญาณ

ใบทบทวนตอ่ ดว้ ยตนเอง
๒) เราจะทำสิง่ น้นั

เมอื่ ใดบ้าง


ขยี นถึงสง่ิ ท่เี ราติดและไมต่ ิด ดังน้

สง่ิ ทีเ่ ราตดิ : นกึ ถึงส่ิงทีเ่ ราทบทวนตวั เองและพบว่าตดิ




๑) การทำสิ่งนน้ั

ทำใหเ้ รารสู้ กึ อย่างไรบา้ ง


๓) เม่ือใดทเ่ี รา
๔) คดิ วา่ เราต้องการสงิ่ นนั้
ไมต่ อ้ งทำสิง่ น้ัน
เพราะอะไร


สง่ิ ทเี่ ราไมต่ ิด


) เราไดท้ ำบางส่ิงทค่ี นทว่ั ไปมองวา่ เปน็ ส่ิงทที่ ำใหเ้ กดิ การติด แตเ่ ราคดิ วา่ เราไมต่ ดิ บา้ งหรอื ไม่



๔) คิดว่าในอนาคตเรา

มีโอกาสท่ีจะติดมัน

๒) เราทำอย่างไร

เราจึงไมต่ ดิ
หรือไม


๓) เรามีความรสู้ ึกตอ่ มนั

หรอื คิดกับมันอย่างไร


กิจกรรมท่ี ๒ ตดิ | 27



รักนะ...
กิจกรรมท่ี ๓

ทั้งสองคน

สาระส
ำคัญ


ความสัมพันธ์ที่ลึกซ้ึงนำมาซ่ึงความคาดหวังต่อกัน ส่งผลต่ออารมณ์และการปฏิบัติต่อทั้งคนรัก
และตัวเอง หลายคนเลือกการกระทำทีท่ ำรา้ ยคนรักหรือทำรา้ ยตัวเองเพอ่ื แสดงความรสู้ ึกตา่ งๆ
รูปแบบการทำร้ายกันมีหลายแบบ ทั้งทางร่างกาย จิตใจ เศรษฐกิจ และสังคม บางคร้ังอาจ
เป็นวธิ ีการท่แี นบเนยี นจนเรามองข้ามไปว่านน่ั คือการทำร้ายกนั ดงั นั้น ในความสัมพนั ธ์เราควร
ทบทวนตัวเองอยู่เสมอว่า เรากำลังทำร้ายคนรักหรือทำร้ายตัวเองอยู่หรือไม่ และบริหารความ

สมั พนั ธ์ใหเ้ ปน็ ไปโดยหลีกเลย่ี งพฤตกิ รรมทเ่ี ปน็ ก
ารทำร้ายกัน





วัตถุปร
ะสงค


กจิ กรรมน้มี งุ่ หวงั ให้ผเู้ รยี น

๑. สำรวจอารมณแ์ ละการกระทำของตนเองเมื่อมคี วามรกั ความสมั พนั ธ์

๒. ประเมนิ วา่ การกระทำใดเข้าข่ายความรนุ แรง ทงั้ ตอ่ ตนเองและคนรัก

๓. บอกวธิ ที ี่ไม่ใช้ความรนุ แรงเม่อื มีอารมณร์ ุนแรง หรอื เกดิ ความไมเ่ ขา้ ใจในความสัมพันธ์





อปุ ก
รณ


คลปิ MV เร่อื งจรงิ ท่ี (อ) ยากจะบอก http://youtu.be/pKj-๘Wu๕wOA





เอกสารป
ระกอบ


๑. แบบสำรวจตวั เอง “เราเปน็ แบบนบี้ า้ งหรอื ไม่”

๒. เอกสารอ่านเพ่ิมเตมิ เร่ืองความรุนแรง สำหรับผดู้ ำเนินการ


30 | ชดุ กจิ กรรมและสือ่ การเรียนรเู้ พ่อื พัฒนาทกั ษะชวี ติ สำหรบั เยาวชนอาชีวศึกษา ชดุ ท่ี ๓ วิจารณญาณ

กระบว
นการ


๑. เกร่ินนำกิจกรรมครั้งที่ผ่านมา พูดถึงการพ่ึงพิงบางส่ิงหรือกระทำบางอย่างจนเข้าสู่ “การ
เสพติด” ถามผเู้ รยี นวา่ รสู้ ึกอย่างไรทตี่ อ้ งทบทวนตัวเองในเรอื่ งน้ี ยากหรือง่ายเพราะอะไร
และหากมีอาสาสมัครพร้อมเล่าเร่ืองในใบทบทวนด้วยตัวเองแก่เพื่อนๆ กลุ่มใหญ่ ขอบคุณ
ผู้เรยี นคนนนั้




๒. ช้แี จงวา่ วนั น้ีเราคุยกนั เร่อื งความรกั ความสมั พนั ธ์ ถามผเู้ รียนว่า




• เวลาทเี่ รามีความรัก เรามคี วามรูส้ ึกอะไรบา้ งตอ่ คนรัก

(ชวนใหผ้ ้เู รยี นคิดถึงท้ังความรู้สกึ ที่ดีและความรู้สึกที่ไม่ด)ี

• เราทำอะไรบ้างเวลาท่ีเราร้สู ึกดี และทำอะไรเวลาที่เรารู้สกึ ไม่ดี

(ท้ังทท่ี ำกบั คนรักและทำกับตัวเอง)

• เรามี “เงอ่ื นไข” อะไรบ้างหรือไม่ สำหรับ “ความรัก”

(ขอตัวอยา่ งว่ามีเรือ่ งอะไรบ้าง)



๓. ชวนผเู้ รยี นดเู รอื่ งราวความรกั ความสมั พนั ธข์ องคนสองคนใน MV “ความจรงิ ท่ี (อ) ยากจะ
บอก” ความยาว ๘.๔๓ นาท

• ระหว่างที่ดู MV ให้ผู้เรียนสังเกตว่า ทั้ง ๒ คนในเรื่องรักกันหรือไม่ และส่ิงท่ีแสดงว่า

“รกั ” หรอื “ไม่รัก” ของท้ัง ๒ คน คืออะไร

• คำถามทมี่ ี ระหว่างดู MV




กจิ กรรมท่ี ๓ รักนะ...ทงั้ สองคน | 31

๔. เม่อื MV จบ ชวนคุยดงั นี้

• รู้สึกอย่างไรกบั เรือ่ งราวของคนคู่น้

• สองคนนีร้ ักกันหรอื ไม่ ใครรักใครมากกว่ากนั เพราะเหตุใด

• รสู้ ึกอยา่ งไรกบั การที่ฝ่ายหญิงเลือก “ไมบ่ อก”

• ถ้าเราเปน็ ผ้หู ญงิ ในเรอ่ื ง เราจะ “บอก” หรอื “ไม่บอก” เมอ่ื เร่มิ ตน้ คบกนั

• ถ้าเราเปน็ ผู้ชายในเร่อื ง เราจะตดั สินใจอย่างไร

• คำถามท่ีมี เมือ่ ไดด้ ูหนงั เร่อื งน้ี

o ผู้ดำเนินการจดคำถามไว้บนกระดาษฟลปิ ชารต์ (เพ่ือเปน็ การบ้านให้ไปหาคำตอบ –
โดยแจง้ ผ้เู รยี นตอนทา้ ยชว่ั โมง) โดยอาจสรุปประเด็นสำคญั ในเรอ่ื งเอดส์ ดังน
้ี


ในชีวิตจริง มีคนท่ีมีผลเลือดต่างใช้ชีวิตอยู่ด้วยกัน เพราะ HIV ไม่
สามารถติดต่อกันไดจ้ ากการใชช้ ีวติ รว่ มกนั และการใช้ถงุ ยางปอ้ งกัน
ในการมเี พศสัมพนั ธท์ ุกครั้งไมท่ ำใหอ้ กี ฝา่ ยตดิ เชื้อ

ขณะนมี้ ีเยาวชนทต่ี ดิ เชอื้ ตั้งแตเ่ กดิ เตบิ โต และเรยี นในระดบั มัธยม-
อุดมศึกษา ยงั คงแขง็ แรง เพราะได้รับยาตา้ นไวรสั

แต่เร่ืองการเปิดเผยสถานการณ์ติดเชื้อ ยังคงเป็นเรื่อง “ยาก”
เพราะไม่อาจคาดถึงผลกระทบที่จะตามมาเพราะความไมเ่ ขา้ ใจ





๕. แจกแบบสำรวจตัวเอง “เราเป็นแบบน้ีบ้างหรือไม่” ให้ผู้เรียนทุกคน ผู้ดำเนินการช้ีแจงว่า

ใหผ้ ้เู รียนพับสว่ นคอลมั น์ “ตวั เอง” และ “คนรัก” ไว้กอ่ น และตอบคอลัมน์ในส่วน “เคยทำ
บ่อย” “เคยทำบา้ ง” “ไมเ่ คยทำ” ก่อน ใช้เวลาในการตอบไม่เกนิ ๑๐ นาท




32 | ชุดกจิ กรรมและสอ่ื การเรยี นรู้เพ่อื พฒั นาทกั ษะชีวติ สำหรบั เยาวชนอาชีวศกึ ษา ชุดท่ี ๓ วจิ ารณญาณ

๖. ถามผู้เรียนวา่ ตอบคำถามเหล่านแ้ี ลว้ รู้สึกอย่างไร หรือคดิ อยา่ งไรกับพฤตกิ รรมเหลา่ น้ี

• อธิบายว่า การกระทำท้ัง ๔๐ ขอ้ ล้วนจดั เปน็ ความรุนแรงและเป็นการทำรา้ ยกนั

• ยกตัวอย่างการกระทำที่มักถูกมองข้ามว่าเป็นการทำร้ายกันข้ึนมาอธิบาย (ผู้ดำเนินการ
ดูเอกสารเพ่มิ เติมทีเ่ ปน็ คำอธิบายความรุนแรง)

• ถามผ้เู รยี น ดังนี้



o การไม่พูดดว้ ย เปน็ การทำร้ายกนั อย่างไร

o เรารู้สกึ แย่ไหม เวลามีคนไมพ่ ดู ดว้ ย

o การทำให้อีกฝ่ายรู้สึกแย่ ต้องทุกข์ใจ ทรมานใจ เป็นการทำร้ายกันทางจิตใจ

ผลของการทำรา้ ยจติ ใจคอื อะไรบา้ ง (คำตอบ เชน่ เกดิ ความเครยี ด สง่ ผลตอ่ สขุ ภาพ
รา่ งกาย กงั วลใจ ไมอ่ ยากทำอะไร เสยี งาน ซึมเศรา้ กดดนั เปน็ ต้น)




๗. ผู้นำกิจกรรมให้ผู้เรียนคลี่คอลัมน์ “ตัวเอง” และ “คนรัก” ออกมา และพิจารณาว่าการ

กระทำแต่ละข้อเป็นการทำร้ายตัวเอง หรือทำร้ายคนรัก หากเป็นท้ังสองแบบให้ทำ
เครอ่ื งหมายในทงั้ สองช่อง

• ชวนแลกเปล่ียนความคิดเห็นกันว่าการกระทำในแต่ละข้อเป็นการทำร้ายคนรัก หรือ

เป็นการทำร้ายตัวเองอยา่ งไร

• คดิ วา่ MV เร่อื ง “ความจรงิ ท่ี (อ)ยากจะบอก” มีการทำรา้ ยกันหรือไม่ อยา่ งไร



๘. สรุปส่งิ ท่ีได้เรยี นรู้ในความสัมพันธข์ องเราและคนรัก


þ ในความสัมพันธ์ เราอาจมีอารมณ์ที่หลากหลายเกิดขึ้นบางครั้ง อารมณ์ที่เกิดขึ้น
ทำให้เราเลือกทำร้ายตัวเองหรือทำร้ายคนท่ีเรารัก เพ่ือแสดงออกถึงความรู้สึกหรือ
เพ่ือให้ได้สง่ิ ที่เราต้องการ


กจิ กรรมที่ ๓ รักนะ...ทง้ั สองคน | 33

þ เราได้เรียนรู้ว่าการทำร้ายตัวเองและทำร้ายคนรักมีได้หลายรูปแบบ บางรูปแบบ
เห็นได้ชัดเจนว่าเป็นการทำร้าย เช่น การทำร้ายร่างกาย แต่บางคร้ังเราทำร้าย

ตัวเองหรือทำร้ายกันด้วยรูปแบบท่ีแนบเนียน เช่น ควบคุมการกระทำของกัน

และกัน ทำให้เสียกำลังใจหรือรู้สึกไม่ดีกับตัวเอง ทำให้รู้สึกผิด ทำให้รู้สึกว่าพึ่ง

ตัวเองไม่ได้ ใช้ประโยชนเ์ ขาทางการเงนิ เป็นต้น


þ การทำรา้ ยคนรกั ทั้งทางร่างกาย จติ ใจ การเงนิ ช่อื เสยี ง และการทำร้ายตัวเองใน
ทุกรปู แบบ เปน็ สิ่งที่ไมค่ วรเกิดขน้ึ ในความสัมพนั ธ์




๙. แจกแผ่นทบทวนตัวเอง เพือ่ ให้ผู้เรียนทำเป็นการบา้ น




• เป็นไปไดห้ รือไมท่ เ่ี ราจะไม่ใชค้ วามรนุ แรงกบั คนรกั เมอ่ื เกดิ ความไมเ่ ข้าใจกนั

จะต้องทำอยา่ งไร

• ให้เขยี นโปสการ์ดถึงคนรัก เล่าส่ิงท่ีได้เรยี นรู้วันนี้



๑๐. สำหรับคำถามเร่ืองเอดส์ให้ช่วยกันไปหาคำตอบ โดยแนะนำแหลง่ ขอ้ มูล ดังน้

o มูลนิธเิ ข้าถึงเอดส์ www.aidsaccess.com

o เครอื ขา่ ยผูต้ ิดเชื้อเอชไอว/ี เอดส์ ประเทศไทย www.thaiplus.net

o มูลนธิ ิแพธทเู ฮลท์ www.teenpath.net












34 | ชุดกิจกรรมและสื่อการเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาทักษะชวี ติ สำหรับเยาวชนอาชวี ศกึ ษา ชุดที่ ๓ วจิ ารณญาณ

เราเปน็ แบบนบี้ ้างหรือไม่



เคยทำ เคยทำ ไม่เคย ตวั เอง
คนรกั

บอ่ ย
บา้ ง
ทำ

๑. งอนไม่พูดดว้ ยนานๆ, ไม่บอกวา่ เป็นอะไร
ให้เดาเอาเอง







๒. ไม่ยอมใหแ้ ฟนไปสงั สรรค์กับเพอ่ื น







๓. โทษว่าเพราะเธอแหละผดิ







๔. บอกว่าจะไปฟอ้ งเพ่อื นๆ เพือ่ หาพวก







๕. คอยส่องว่าแฟนทำอะไร, ตามจกิ







๖. ไปไหนไมบ่ อก หายตวั







๗. คอ่ นแคะให้รสู้ กึ แย







๘. ทำใหแ้ ฟนรสู้ กึ ว่าเขาไมด่ ีพอ







๙. ขูว่ ่าจะบอกทุกคนเรอื่ งที่คบกัน







๑๐. ทำใหเ้ สียหนา้







๑๑. หงึ โหด







๑๒. ล้อเลยี น วพิ ากษว์ จิ ารณ์ใหร้ ู้สกึ อาย







๑๓. จ๊ิกเงนิ







๑๔. ทำใหแ้ ฟนรู้สึกผดิ ทต่ี ้องพึ่งพาเราดา้ นการเงนิ







๑๕. ใช้แตเ่ งินแฟนตลอด







๑๖. จ่ายใหแ้ ละเอามาเป็นบญุ คุณ







๑๗. มอมเหล้าเพอื่ มีอะไรด้วย







๑๘. หวา่ นลอ้ ม พูดหวาน ออ้ น ใหค้ ำสัญญา เพอื่ มี





อะไรกับเขาโดยทเี่ ขาไม่พร้อมหรือไมแ่ น่ใจ

๑๙. บงั คับไม่ให้เขาทำแทง้ หรอื บงั คบั ให้เขาทำแทง้







๒๐. ทำลายทรัพย์สินของเขา







กจิ กรรมที่ ๓ รกั นะ...ทั้งสองคน | 35

เคยทำ เคยทำ ไมเ่ คย ตวั เอง
คนรกั

บอ่ ย
บ้าง
ทำ

๒๑. ทำลายทรัพยส์ ินของเราใหเ้ ขาเห็น








๒๒. ตะโกนใส่หน้า







๒๓. ตบ ต่อย







๒๔. ดา่ อยา่ งหยาบคาย







๒๕. ผลกั คว้าแขน กระชาก







๒๖. ขูว่ ่าจะทำร้ายตวั เอง







๒๗. กินเหลา้ เมาแประเวลาทที่ ะเลาะกัน







๒๘. กนิ ประชดชวี ิตเวลาท่ีไมพ่ อใจแฟน







๒๙. ไมย่ อมกนิ ขา้ วเวลาที่ไม่พอใจแฟน







๓๐. ทำทกุ อย่างใหแ้ ฟนจนสายตวั แทบขาด







๓๑. แกลง้ ออกไปเดินคนเดียวนอกบา้ นตอนเที่ยงคนื





ประชดแฟน

๓๒. ตอ่ ยกำแพงเม่ือมเี รอ่ื งไม่พอใจแฟน








๓๓. รสู้ กึ แยม่ ากกับสง่ิ ท่เี ขาทำ แตเ่ ก็บไวค้ นเดยี ว







๓๔. ยอมให้เขาดูแลในทุกเร่ือง, รู้สึกว่าต้องพึ่งเขา





ทุกเรอ่ื ง

๓๕. ไมย่ อมบอกแฟนว่าอึดอัดเรอื่ งอะไร








๓๖. อยากเลกิ แต่ไมก่ ล้าคุย







๓๗. รู้สึกว่าเขาอยากเลิกแต่ไม่กล้าคุย อยู่กับความ





รูส้ กึ ไมม่ ั่นใจ

๓๘. บอกตัวเองว่าไม่ดพี อสำหรบั แฟน








๓๙. ฝืนความต้องการของตัวเอง เพราะอยากให้





แฟนพอใจ

๔๐. ใช้ชีวิตแย่ๆ เพือ่ ประชดชีวติ








36 | ชดุ กจิ กรรมและส่ือการเรียนรูเ้ พอื่ พัฒนาทกั ษะชวี ิตสำหรบั เยาวชนอาชวี ศึกษา ชดุ ท่ี ๓ วจิ ารณญาณ

แผ่นทบทวนตัวเอง


เรื่องความรกั ความสมั พนั ธ




๑) เป็นไปได้หรือไม่ท่ีเราจะไม่ใช้ความรุนแรงกับคนรัก เมื่อเกิดความไม่เข้าใจกันจะต้องทำ

อย่างไร

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................


.................................................................................................................................

ใหเ้ ขยี นโปสการด์ ถึงคนรัก เลา่ สิ่งท่ีไดเ้ รยี นรวู้ ันน
ี้

กจิ กรรมท่ี ๓ รกั นะ...ทงั้ สองคน | 37

เอกสารอา่ นเพ่ิมเติมสำหรบั ผู้ดำเนินการ




การกระทำในแบบสอบถามจดั เปน็ การทำรา้ ยกันหรือเปน็ ความรนุ แรง
อยา่ งไร




การใช้ความรุนแรง หมายถึง การกระทำโดยเจตนาที่แสดงออกมาทางร่างกาย คำพูด การ
แสดงอำนาจที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บ การเสียชีวิต ความสะเทือนใจ การสูญเสียทรัพย์สิน

หรอื การถกู ทอดท้ิง บคุ คลสามารถกระทำรุนแรงตอ่ ตนเองหรอื บุคคลอน่ื




รปู แบบของการแสดงออกท่ีเป็นความรุนแรง ไดแ้ ก่

๑) ความรุนแรงทางร่างกาย หมายถึง การทำให้บาดเจ็บทางร่างกายโดยจงใจ เช่น ตบ เตะ

รวมถึงการสัมผัสท่ีแสดงถึงอำนาจและการควบคมุ เช่น ผลัก กระชาก

๒) ความรุนแรงทางเพศ หมายถงึ การกระทำทม่ี ีวตั ถุประสงค์เพ่อื ใชผ้ ู้ถูกกระทำเป็นเคร่อื งมือ

ตอบสนองความต้องการทางเพศของผู้กระทำ ซ่ึงมีตั้งแต่การข่มขืน ลวนลาม ไปจนถึง


การขม่ ขู่ หรือหลอกล่อด้วยวิธีการตา่ งๆ

๓) ความรุนแรงทางจิตใจ หมายถึง การกระทำท่ีจงใจทำร้ายจิตใจ ทำให้ผู้ถูกกระทำถูก

ควบคมุ ทางจติ ใจ รูส้ ึกอบั อาย รู้สกึ ผดิ ไรพ้ ลงั ด้อยคา่ หรอื ถูกลดคณุ คา่

๔) ความรุนแรงทางเศรษฐกิจ หมายถึง การกระทำที่มีวัตถุประสงค์เพ่ือใช้ประโยชน์ผู้ถูก

กระทำทางดา้ นเศรษฐกิจ หรอื เพ่อื กีดกันผู้ถกู กระทำไม่ให้สามารถดูแลตวั เองทางเศรษฐกิจ
ได้ เชน่ ขูดรดี กล่าวอ้างเพอ่ื ให้ได้ทรัพยจ์ ากผู้ถูกกระทำ ไม่ใหท้ ำงาน หรอื จงใจไม่ทำงาน

เพอ่ื ใหอ้ กี ฝ่ายเลย้ี งด

๕) ความรุนแรงท่ีก่อให้เกิดความสูญเสียหรือทอดท้ิง หมายถึง การไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่
และคุ้มครองอย่างเหมาะสมเพียงพอ ทอดท้ิงทางกาย ไม่ให้อาหารอย่างเพียงพอ ไม่ดูแล
สขุ ภาพ ไมด่ ูแลยามเจ็บปว่ ย ไมค่ มุ้ ครองจากอันตรายหรืออุบตั เิ หต


38 | ชดุ กิจกรรมและสือ่ การเรยี นร้เู พ่ือพัฒนาทกั ษะชีวิตสำหรับเยาวชนอาชีวศกึ ษา ชุดที่ ๓ วจิ ารณญาณ


ูปแบบของความรนุ แรงท่ีเห็นได้ไม่ชัดเจน ไดแ้ ก่

• การไม่ส่อื สาร เป็นการปฏเิ สธอกี บคุ คลหน่ึง ทำเหมือนอีกฝา่ ยไม่มีตัวตน เป็นความรุนแรง

ทางจติ ใจ

• การบังคับหรือกดดัน รวมถึงการกดดันทางสังคม เป็นการควบคุมรูปแบบหน่ึง เป็นความ

รุนแรงทางจิตใจ และอาจเป็นความรุนแรงทางร่างกายและเศรษฐกิจด้วย หากส่ิงที่บังคับ


มคี วามเกี่ยวข้องกบั สขุ ภาพและทรัพยส์ ิน การเงินของฝา่ ยถกู กระทำ

• การทำให้สูญเสียความสามารถในการดูแลตนเอง เป็นการควบคุมรูปแบบหนึ่ง เช่น

ตัดขาดจากเพ่ือนหรือญาตพิ ่ีน้อง ไม่ให้โอกาสในการหารายไดด้ ว้ ยตนเอง

• การไม่ดูแลตัวเองตามสมควร เป็นการทำร้ายตัวเอง และเป็นการทำร้ายผู้อ่ืนด้วยเม่ือจงใจ

กระทำเพ่อื สรา้ งความรสู้ กึ ที่ไม่ดีให้อีกฝา่ ยหนึง่





กิจกรรมท่ี ๓ รกั นะ...ทงั้ สองคน | 39



ศกั ด์ศิ ร
ีกิจกรรมที ่ ๔

สาระส
ำคัญ

บุคคลทุกคนล้วนมีศักด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ แต่ละคนอาจมีศักด์ิศรีที่ต้องการรักษาปกป้อง

แตกตา่ งกนั แตก่ ารรกั ษาปกปอ้ งศกั ดศ์ิ รี ไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งใชว้ ธิ กี ารทรี่ นุ แรง หรอื ลว่ งละเมดิ ศกั ดศ์ิ รี

ของคนอ่ืน ไม่ว่าในกรณีใด เพราะการกระทำเช่นน้ันมีแต่จะนำไปสู่ความรุนแรงเพิ่มข้ึน การ

ปกป้องศักดศ์ิ รีสามารถทำได้หลายวิธโี ดยไม่ใช้ค
วามรนุ แรง




วัตถุปร
ะสงค์

กิจกรรมน้ีมุง่ หวังให้ผเู้ รียน


๑. แยกแยะการกระทำทจี่ ัดเป็นความรนุ แรง


๒. เลือกวิธกี ารท่ีไม่ใช้ความรุนแรงในการตอบโต้





อปุ ก
รณ์

๑. บตั รคำขนาดเอสี่ตัดครง่ึ จำนวนมาก


๒. กระดาษกาว


๓. ปากกาเคมี






เอกสารป
ระกอบ

๑. บทความ “เรื่องของศกั ดศ์ิ รี” เป็นการบา้ น สำหรบั ทุกคน








42 | ชดุ กจิ กรรมและส่ือการเรยี นรูเ้ พือ่ พัฒนาทักษะชีวติ สำหรบั เยาวชนอาชวี ศกึ ษา ชุดท่ี ๓ วจิ ารณญาณ

กระบว
นการ

๑. ชแ้ี จงผู้เรียนว่า วันนเ้ี ราจะคุยกันเร่ือง “ศักดศิ์ รี” ให้ผเู้ รียนจับคแู่ ละแลกเปลี่ยนกันในเร่ือง

“ศกั ด์ิศร”ี ดงั น้ี (ให้เวลา ๑๐ นาที)


• “ศักดศ์ิ ร”ี หมายถึงอะไร


• การกระทำแบบใดที่ทำใหเ้ รารู้สกึ วา่ เปน็ การเสียศกั ดิศ์ รี


• หากเป็นเรื่องท่ีทำให้ “เสยี ศักดิศ์ ร”ี เรายอมได้หรอื ไม่ เพราะเหตุใด





๒. ขอฟังความเห็น ๒-๓ คู่ ในแต่ละหัวข้อ เพอื่ ให้เห็นความคิดทีแ่ ตกตา่ งกัน





๓. ผู้ดำเนินการวาด “เส้นความรุนแรง” บนกระดาน หรือใช้กระดาษกาวติดเป็นเส้นยาวบน


ฝาผนังห้องด้านหน่ึง ยาวประมาณ ๔-๕ เมตร เพื่อให้มีพ้ืนที่เพียงพอในการทำกิจกรรม

ตามความยาวของเสน้


• ทปี่ ลายด้านหนึ่งของเส้นเขียนวา่ “ไม่รุนแรง” ท่ีปลายอีกดา้ นหนงึ่ เขยี นว่า “รุนแรงมาก”


• ระหว่างท้ังสองดา้ นของเส้น เขียน “รุนแรงเลก็ น้อย” และ “รุนแรง” ตามภาพ








ไม่รุนแรง รนุ แรงเล็กนอ้ ย รนุ แรง รุนแรงมาก





๔. ให้ผู้เรยี นแตล่ ะคนนกึ ถึงเรือ่ งทีเ่ ราเปน็ ฝ่ายถูกกระทำแลว้ ทำใหเ้ ราร้สู กึ “เสยี ศกั ดิศ์ ร”ี


• เมอื่ ผ้เู รียนนึกออกแลว้ ให้คิดตอ่ วา่ เราจะตอบโต้การกระทำน้ันดว้ ยวิธีใด


• เขียนคำตอบวธิ กี ารลงในบตั รคำ ๑ แผ่นต่อ ๑ วิธี ตอบไดม้ ากกว่า ๑ วธิ


• เม่ือได้คำตอบแล้ว ให้แต่ละคนนำบัตรการกระทำตอบโต้ของตัวเอง ไปติดท่ีเส้นความ

รุนแรง ในตำแหนง่ ระดับความรนุ แรงที่เราประเมินเอง


กิจกรรมท่ี ๔ ศักด์ศิ รี | 43

๕. เม่ือทกุ คนตดิ แลว้ ขออาสาสมคั รจากกลมุ่ ทต่ี อบโต้ในแตล่ ะระดบั ระดบั ละ ๑-๒ คน ว่า

• คิดถึงเหตุการณอ์ ะไรทเี่ ราเป็นฝา่ ยถูกกระทำแลว้ ทำใหเ้ รารู้สกึ “เสยี ศกั ด์ศิ รี”

• เราเลอื กการตอบโตแ้ บบนั้น ด้วยเหตผุ ลอะไร

• ขอบคณุ อาสาสมัครทแี่ บ่งปัน




๖. จากนนั้ ชวนผูเ้ รยี นดูคำตอบวธิ กี ารตา่ งๆ ที่ปรากฏอยู่ในแตล่ ะตำแหน่ง


• ในระดับความรุนแรงท่ียังมีบัตรวางอยู่น้อย ให้ผู้เรียนช่วยกันคิดว่ามีการกระทำท่ีเป็นวิธี
ตอบโต้ในระดับความรุนแรงนั้นๆ แบบใดอีก (เพื่อเป็นข้อมูลในการลดระดับความ
รุนแรงลงในข้นั ตอนต่อไป)




๗. จากน้นั ชวนตรวจสอบบัตรคำแต่ละใบ เริ่มจากตำแหน่ง “ไมร่ นุ แรง” กอ่ นว่า


• บตั รคำเหล่าน้ีเป็นวธิ กี ารตอบโต้ เมอื่ เราถกู “หมนิ่ ศกั ดศ์ิ ร”ี ในทางกลับกันหากเราเป็น
ฝา่ ยถูกกระทำดว้ ยวิธกี ารแบบเดยี วกนั เราจะรสู้ ึกอยา่ งไร


• เห็นด้วยกับการจัดระดับความรุนแรงเหมือนเดิมหรือไม่ หากเราเป็นฝ่าย “ถูกกระทำ”
เพราะเหตุใด




๘. แบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็น ๔ กลุ่มตามระดับความรุนแรง ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันอภิปรายถึง

ขอ้ ด-ี ข้อเสีย ของผลกระทบท่ตี ามมาจากการกระทำในแตล่ ะบัตร

• ฟังการนำเสนอพร้อมบันทึกประเด็นสำคัญของผลกระทบท่ีเกิดข้ึนในแต่ละระดับความ

รุนแรง ทวนผลทีเ่ กิดขึน้ จากการใช้ความรนุ แรง และถามเพิ่มเตมิ ดงั นี้




o การตอบโตแ้ บบนน้ั ช่วยแกป้ ัญหาท่ีเกิดขึ้นไดห้ รอื ไม่ อยา่ งไร

o การตอบโตท้ ีร่ นุ แรงทำใหฝ้ ่ายตรงขา้ มเคารพศักด์ศิ รขี องเรามากข้ึนหรอื ไม

และทำให้เราเคารพศักดศ์ิ รตี ัวเองได้มากข้ึนหรอื ไม


44 | ชดุ กจิ กรรมและสื่อการเรียนรู้เพื่อพฒั นาทักษะชีวิตสำหรบั เยาวชนอาชีวศกึ ษา ชุดท่ี ๓ วิจารณญาณ

๙. จากนั้นให้ทุกคนลองคิดถึงวิธีการตอบโต้ที่ลดระดับความรุนแรงจากระดับท่ีตนเองวางไว้ใน


ตอนแรก











ไมร่ ุนแรง รุนแรงเล็กน้อย รุนแรง รุนแรงมาก









• ใหแ้ ตล่ ะคนเลือกวธิ กี ารตอบโตท้ ่ีลดระดบั ความรนุ แรงไป ๑ ขน้ั


• ส่วนผูเ้ รยี นทีอ่ ยู่ในตำแหน่งไม่รนุ แรงอยู่แลว้ ใหว้ นไปเลอื กวธิ ีที่รนุ แรงมาก


• จากน้นั ถามดังน
้ี




o ในเหตุการณ์ที่เราคิดถึงเม่ือครู่ หากเราเลือกตอบโต้ในแบบใหม่นี้ จะเกิดผลลัพธ์ที่

แตกต่างไปอยา่ งไร ดีขนึ้ หรอื แย่ลง


o หากเราสามารถลดระดบั ผลกระทบทม่ี คี วามรนุ แรงลงได้ ดว้ ยการเลอื กวธิ กี ารตอบโต้

แบบใหม่ เราจะมวี ธิ จี ัดการตนเองอยา่ งไร ให้สามารถทำเชน่ น้นั ได้





๑๐. แจกบทความ “เรอื่ งของศกั ดศ์ิ ร”ี ใหท้ กุ คนอา่ นเปน็ การบา้ น และใหเ้ ขยี นแสดงความเหน็ วา่


๑) ตนเองเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับผู้เขียนบทความในประเด็นใดบ้าง พร้อมแสดง

เหตุผลทเ่ี ห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย


๒) “ศกั ดศ์ิ รี” สำหรบั “ฉนั ” หมายถึง...








กิจกรรมที่ ๔ ศกั ดิ์ศรี | 45

เร่ืองของศักด์ิศรี






ดย นายแพทยก์ มั ปนาท ตนั สิตบุตรกลุ , ไทยรัฐออนไลน์, ๑๒ ม.ค. ๒๕๕๗

หลายทา่ นคงเรม่ิ ตน้ ปีใหมด่ ว้ ยหวั ใจทแี่ ขง็ แกรง่ ขน้ึ หลงั จากที่ไดพ้ กั ผอ่ นกนั มาหลายวนั ทบทวน
สิ่งต่างๆ ที่ผ่านมาในอดีตเม่ือปีก่อน และวางแผนเริ่มต้นทำสิ่งใหม่ๆ ในปีน้ีกันต่อไป ช่วงน้ีมี
วาทกรรมเกดิ ขน้ึ ในสงั คมไทยไมน่ อ้ ย ไมว่ า่ จะเปน็ คำวา่ ปฏริ ปู ซงึ่ นา่ จะเปน็ คำยอดฮติ อนั ดบั หนงึ่
ซึ่งได้นำเสนอไปเมื่อครั้งปลายปีท่ีแล้ว ปีน้ีมีคำยอดฮิตอีกคำหน่ึงคือคำว่า เกียรติยศ ศักด์ิศรี
ซ่ึงหลายคนเมื่อพูดถึงคำนี้ มักมีอารมณ์ความโกรธร่วมตามมา เนื่องจากกำลังคิดว่าตนเองถูก
หมนิ่ เกยี รตยิ ศ ศกั ดิ์ศร



คำวา่ เกยี รตยิ ศ หมายถึง เกียรตโิ ดยฐานะ ตาํ แหนง่ หนา้ ที่ หรอื ชาตชิ ัน้ วรรณะ ส่วน ศกั ดิ์ศรี
หมายถึง คุณค่าท่ีมาจากความเป็นอิสระของมนุษย์ หรือความสามารถในการกำหนดตัวเอง
(autonomy) มีองค์ประกอบหลักสองประการคือ เป็นคุณค่าที่ปราศจากเง่ือนไข และเป็น
คุณค่าที่นำไปเปรียบเทียบไม่ได้ ซ่ึงท้ังสองคำนี้จะมีความหมายคล้ายๆ กันและใช้แทนกันได้
เช่นเดียวกนั หรือใชพ้ ูดค่กู นั ไป เช่น เกียรตยิ ศศักด์ศิ รี



โดยความหมายทเ่ี ป็นความร้สู กึ ของคนทว่ั ไป จะหมายถงึ คุณคา่ ทอ่ี ยู่ในตัวตนของคนคนนน้ั ใน
การทจี่ ะใหม้ คี นนบั หนา้ ถอื ตา หรอื มองวา่ ตนเองเปน็ คนทมี่ คี ณุ คา่ ในสงั คม หนา้ ทกี่ ารงานเปน็ หลกั
เรยี กว่า เป็นคุณคา่ ของวชิ าชพี และเป็นคุณคา่ ของความเปน็ มนษุ ยด์ ้วยเชน่ เดียวกนั



เมอื่ รสู้ กึ วา่ โดนหมนิ่ ศกั ดศ์ิ รี ผมไมท่ ราบวา่ ความรสู้ กึ เหลา่ น้ีในแตล่ ะคน แตล่ ะวชิ าชพี หรอื สาขา
อาชพี จะมคี วามรสู้ กึ เชน่ เดียวกันหรือไม่ หากตอ้ งเจอกบั เหตุการณ์ท่ตี อ้ งพูดวา่ โดนหมน่ิ ศักดิศ์ รี
ของวิชาชีพ ซ่ึงล้วนแล้วแต่เป็นความเข้าใจผิดท้ังส้ิน สถานการณ์ท่ีคนท่ัวไปมักเข้าใจว่าตนเอง
ถูกดหู มิ่นศกั ดศิ์ รี เช่น เอาวชิ าชพี หรอื คนคนนน้ั มาล้อเลยี นเป็นเรอ่ื งตลกขบขนั เอาวิชาชพี หรอื
คนคนนนั้ มาพูดจาดถู ูกเหยียดหยามใหเ้ กดิ ความอับอาย ใหร้ ูส้ ึกต่ำตอ้ ยด้อยค่า กลา่ วหาวา่ ใคร
คนใดคนหนึ่งซ่ึงมีอาชพี หรือวชิ าชพี ใดวชิ าชพี หนึ่งแต่ครองตนอย่างผิดศีลธรรม โดยใช้ตำแหน่ง

46 | ชุดกจิ กรรมและสอ่ื การเรยี นรเู้ พือ่ พฒั นาทักษะชวี ติ สำหรบั เยาวชนอาชีวศึกษา ชดุ ท่ี ๓ วิจารณญาณ

หน้าที่การงานน้นั ทำร้ายผอู้ นื่ หรือฉกฉวยผลประโยชนจ์ ากผู้อน่ื กล่าวหาวา่ คนคนนนั้ หรือคนท่ี
อยู่ในวิชาชีพน้ันเป็นคนที่ไม่มีความสามารถมากพอจนเป็นท่ียอมรับ (ตามความคาดหวัง) ของ
สงั คม เป็นตน้



เหตุการณห์ รือการกระทำต่อคนเหลา่ น้ี หรือวชิ าชีพเหล่านม้ี กั นำไปสู่ความไม่สบายใจ ไมพ่ ออก
พอใจ และกระต้นุ ให้เกิดการใช้อารมณต์ ่อตา้ นได้มาก จนถงึ ขั้นอาจจะมกี ารใช้ความรนุ แรงเกดิ
ขึน้ ในสังคม ดงั ทีเ่ คยเกดิ ขนึ้ มาหลายคร้ังทัว่ โลก



เชน่ การข่มขืนผ้หู ญิงท่ีไรห้ นทางสู้ในทส่ี าธารณะและทำรา้ ยร่างกายจนเสียชีวติ นับวา่ เปน็ การ
ดหู มิน่ เหยยี ดหยามสตรีเพศ คือมีการปฏิบตั ทิ ป่ี ่าเถือ่ นยิง่ กวา่ มนษุ ย์ กระทำต่อผหู้ ญงิ ท่เี ป็นเพศ
อ่อนแอ ใครที่ได้รับฟังข่าวเหล่านี้ก็พลอยอดมิได้ท่ีจะรู้สึกว่าเป็นการดูหม่ิน เหยียดหยาม

ศักดิ์ศรีกันเกินไป จนผู้หญิงหลายๆ คนต้องออกมาประท้วงเรียกร้องความเป็นธรรมและ

กลา่ วอา้ งถงึ การดหู มิ่นศกั ดิ์ศรขี องลกู ผ้หู ญงิ



นอกจากน้ีการดูถูกเหยียดหยามในวิชาชีพต่างๆ ว่าเป็นวิชาชีพท่ีต่ำต้อย ด้อยคุณค่าในทางวุฒิ
การศึกษา หรือกลา่ วหาวา่ วิชาชพี นน้ั ฉกฉวยผลประโยชนจ์ ากภาครัฐท่เี รียกว่าคอรร์ ัปชันนั้น ไม่
วา่ จะจรงิ หรอื เทจ็ แตอ่ าจจะมกี ารกลา่ วเหมารวมวา่ วงการวชิ าชพี ดงั กลา่ วนา่ จะเปน็ แบบนน้ั แบบน้ี
ตามที่กล่าวหาจริงๆ ซ่ึงย่อมมีผลกระทบต่อความรู้สึกของผู้ที่ถูกกล่าวหา หรือผู้ที่เกี่ยวข้องใน
วิชาชีพเดียวกันอย่างมาก โดยคนท่ีอยู่ร่วมในวิชาชีพเดียวกันส่วนใหญ่อาจจะไม่ได้มีส่วน
เก่ียวข้องกับการกระทำดังกล่าวเลยก็ได้ เรียกง่ายๆ ว่า พอมีการเหมารวมก็เกิดความรู้สึกท
ี่
ไม่ดขี ้ึนมาทนั ท



ถา้ พจิ ารณาดๆี คำวา่ ถกู ดหู มนิ่ ศกั ดศิ์ รกี อ็ าจจะเปน็ แคค่ วามรสู้ กึ หรอื ความคดิ ของเราเองตา่ งหากที่
ทำให้เกิดขึ้นมา หาได้เกิดจากใครมาทำลายเกียรติยศศักด์ิศรีของเราไม่ เพราะความจริงก็คือ
เกยี รตยิ ศศกั ดศ์ิ รีไม่มีใครทำลายของใครได้ นอกจากตวั เราเอง


กิจกรรมที่ ๔ ศกั ดิศ์ รี | 47

...ตน้ เหตขุ องความรสู้ ึกเสียศักด์ิศร



คนเราทุกคนไม่มีใครสามารถทำลายศักด์ศิ รีของเราได้ แตเ่ ขาสามารถทำให้เรา “รสู้ ึก” วา่ ถูก
ทำลายศักดิ์ศรีได้ด้วยวาทกรรมต่างๆ กายกรรมต่างๆ แต่น่ันก็ไม่สำคัญเท่ากับเรามีความรู้สึก
ข้นึ มาเอง...ทพ่ี ูดถึงคำว่ามคี วามรสู้ กึ ขน้ึ มาเองนั้น ได้มกี ารสะท้อนถงึ อะไรบ้าง เช่น ความคิดท่ี
ชอบบิดเบือนของตัวเอง เกิดจากนิสัยส่วนตัวท่ีทำประจำ เป็นคนหูเบา หรือเป็นคนไม่ค่อยคิด
พิจารณา ใชแ้ ตอ่ ารมณแ์ ละอคติสว่ นตัวเป็นหลกั



มองคณุ คา่ ในตวั เองตำ่ คนประเภทนม้ี เี ซลฟเ์ ปราะบาง ใครทำอะไร ใครพดู อะไรเลก็ นอ้ ยกไ็ วตอ่
ความรสู้ ึก เพราะรู้สึกว่าไปสะกดิ ปมดอ้ ยของตนเองโดยไมร่ ตู้ วั



ถกู ยุแหย่จากสังคมคนรอบข้าง ถ้าอยู่ในสังคมท่ีโงเ่ ขลาเบาปัญญา เอาแตม่ อมเมาด้วยขอ้ มูลท่ี
จริงบา้ งเทจ็ บา้ ง กจ็ ะเคยชินและกลายเป็นส่วนหนง่ึ ของนสิ ยั ของตนเองไปในทีส่ ดุ



เป็นคนท่ีมีปัญหาสุขภาพจิตอยู่เดิม เช่นโรคอารมณ์แปรปรวน หรือปัญหาบุคลิกภาพ ใจร้อน
ทำตนเป็นคนเคร่งในเรื่องศักดิ์ศรีมาก ท้ังๆ ท่ีจริงอาจจะเป็นคนเห็นแก่ตัวนั่นเอง แต่ชอบอ้าง
คำอน่ื ใหด้ ดู



ทง้ั หมดทย่ี กมานนั้ จะเหน็ วา่ คนทมี่ ปี ญั หาแบบนมี้ กั จะมวี ธิ คี ดิ วธิ แี กป้ ญั หาทน่ี ำไปสคู่ วามทกุ ข์ใจ
ได้ง่าย ด้วยเพราะมีระบบความคิดแบบหนงึ่ ท่ซี ่อนอยู่ คอื ความคิดอัตโนมตั ิ ซึง่ เกิดขนึ้ อยู่เสมอ
หากปราศจากการควบคมุ และการฝกึ ฝนตนเอง เมอ่ื มคี วามคดิ อตั โนมตั เิ กดิ ขน้ึ อยบู่ อ่ ยๆ กท็ ำให้
มักจะสรปุ เรือ่ งราวต่างๆ ตามความเขา้ ใจของตนเอง แล้วเร่ืองกจ็ ะบานปลายในทส่ี ดุ



ตวั อยา่ ง เชน่ นาย ก ถกู เลยี้ งดมู าในครอบครวั นกั เลงหวั ไม้ พอ่ แมเ่ ปน็ อนั ธพาลชอบระรานคน

ไปท่ัว และได้รับการปลูกฝังมาท้ังชีวิตว่า “ฆ่าได้หยามไม่ได้” เม่ือโตขึ้น เวลาท่ีใครพูดอะไร

48 | ชุดกจิ กรรมและส่ือการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะชวี ิตสำหรับเยาวชนอาชีวศึกษา ชุดท่ี ๓ วิจารณญาณ

หรือทำพฤติกรรมอะไรท่ีตัวเองยังไม่กระจ่างในความเข้าใจมากนัก ก็มักจะมีความคิดอัตโนมัติ
สรุปรวบยอดเหตุการณ์ท่ีเกดิ ขึ้นวา่ เปน็ เพราะหยามเกียรติตนเอง เมอื่ คิดแบบน้นั กม็ คี วามโกรธ
จนบางครง้ั พาลทะเลาะกับผู้อ่ืนและอาจลงเอยดว้ ยการใช้ความรนุ แรงได



เกียรตยิ ศศกั ดิศ์ รี คอื คำที่มนุษย์สรรค์สรา้ งข้นึ มาเพ่ือประกอบคุณค่าของความเป็นคน ในความ
เหน็ ของผมมองวา่ คำเหลา่ นอี้ าจจะไมม่ คี วามหมายอะไร ถา้ ไม่ไดถ้ กู สรา้ งขนึ้ มาจากรากฐานของ
จิตใจและการประพฤติปฏิบัติในส่ิงที่ดีงาม ไม่สร้างความเดือดร้อนให้ตนเองและผู้อ่ืน แต่ยังมี
คนจำนวนมากไมเ่ ขา้ ใจและเอาไปเชอื่ มโยงกบั ความเขา้ ใจผดิ ของตนเองมายาวนาน จนอาจจะนำ
ไปสู่ความไม่สบายอกไม่สบายใจ เมื่อรู้สึกว่าถูกเหยียดหยาม หรือนำไปสู่การลุ่มหลงในตัวเอง
เม่ือใครชน่ื ชมหรือใหร้ างวลั อนั ทรงเกยี รติทง้ั หลายมา และคิดว่านน่ั คือรางวลั แหง่ เกียรติยศ



สิ่งจอมปลอมเหล่าน้ีจะไม่มีวันทำให้เรามีความสุขได้นอกเหนือจากความรู้สึกภาคภูมิใจใน
ตนเองทเี่ ปน็ คนดี สรา้ งสรรคค์ ุณประโยชน์ให้กบั สงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม



คุณจะตามหาเกียรติยศศักด์ิศรีไม่มีวันเจอ เพราะตราบใดที่คุณยังไม่เคารพตัวเอง และไม่มี
ใครสามารถทำลายส่ิงเหลา่ น้ีได้ นอกจากความประพฤติที่บ่งบอกถงึ เน้อื แท้ในจติ ใจของคณุ เอง
รางวัลเกียรติยศจะต้องแลกมาด้วยความดีเสมอ มิใช่แลกมาด้วยเงินทองหรือทรัพย์สิน

ผลประโยชน์ เพราะน่นั ไม่ใช่สิ่งท่ีจะทำใหค้ ณุ มีความสขุ ความพงึ พอใจอยา่ งแท้จรงิ




การบ้าน: เขยี นแสดงความเห็น ๒ ขอ้ ดังน
้ี
๑) ตนเองเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับผู้เขียนบทความ ในประเด็นใดบ้าง พร้อม

แสดงเหตุผลทเี่ ห็นด้วยหรอื ไม่เห็นดว้ ย

๒) “ศกั ดิศ์ ร”ี สำหรับ “ฉัน” หมายถงึ ...


กจิ กรรมท่ี ๔ ศักดศ์ิ รี | 49


Click to View FlipBook Version