The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดที่ ๓ วิจารณญาณ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chaiyasit, 2022-05-05 04:37:26

ชุดที่ ๓ วิจารณญาณ

ชุดที่ ๓ วิจารณญาณ

พ่กี ับนอ้ ง
กิจกรรมที ่ ๕

สาระสำคัญ


ความสัมพันธ์แบบรุ่นพี่รุ่นน้องสามารถสร้างความรู้สึกดีให้เกิดข้ึนทั้งสองฝ่าย และยังเอ้ือ
ประโยชน์ในด้านความสามัคคี ความร่วมมือร่วมใจได้ หากต้ังอยู่บนความเข้าใจและเอ้ืออาทร
ไม่ใช่ดว้ ยการใช้อำนาจ






วตั ถุประสงค์


กิจกรรมน้มี ุ่งหวงั ให้ผ้เู รยี น

๑. วเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมการใชอ้ ำนาจ และผลทเี่ กดิ ขนึ้ ในการจดั กจิ กรรมระหวา่ งรนุ่ พแี่ ละรนุ่ นอ้ ง

๒. เสนอแนวทางสง่ เสรมิ ความสมั พนั ธร์ ุน่ พีร่ ุ่นน้อง โดยไม่ต้องมีการใช้อำนาจ





อุปกรณ


สเี ทยี นหรือปากกาเคมีสตี า่ งๆ






เอกสารประกอบ


แผน่ กิจกรรม “รุ่นพ่ี-รุ่นน้อง”






52 | ชดุ กจิ กรรมและสื่อการเรยี นรู้เพ่ือพัฒนาทักษะชวี ติ สำหรบั เยาวชนอาชีวศกึ ษา ชุดท่ี ๓ วจิ ารณญาณ

กระบวนการ


๑. จากการบ้านที่ได้อ่านบทความคุณหมอกัมปนาท มีใครเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับคุณหมอ
อยา่ งไรบ้าง ขอฟังความเห็น ๒-๓ คน




๒. ผู้ดำเนินการชี้แจงว่า กิจกรรมวันนจ้ี ะเป็นเร่อื งวิเคราะห์กิจกรรมที่ม่งุ สรา้ งความสมั พนั ธข์ อง

ร่นุ พ่ีรุ่นนอ้ ง และเพ่อื นๆ ในวทิ ยาลยั



๓. ถามผู้เรียนว่ามีกิจกรรมอะไรบ้างที่จัดข้ึนในวิทยาลัยท่ีมีการทำงานร่วมกันข้ามช้ันปี หรือ

ระหวา่ งรุน่ พีก่ ับรุน่ นอ้ ง

• ผู้ดำเนินการเขียนคำตอบบนกระดาน (เช่น ไหว้ครู, กีฬาสี, เข้าค่ายลูกเสือ, ประชุม

องค์การวิชาชีพ ฯลฯ)



๔. แบง่ ผูเ้ รียนออกเป็นกลมุ่ ตามจำนวนกจิ กรรมทรี่ ะดมได้ (หรือเลือกใหเ้ หมาะกบั การแบ่งกลมุ่

ผู้เรียน – กล่มุ ละ ๕ คน โดยประมาณ)

• แจก “แผน่ กิจกรรม รุ่นพ่ีรุ่นน้อง” ใหแ้ ต่ละกล่มุ แลกเปลี่ยนกนั ถึงกิจกรรมท่เี ราเข้าร่วม

ในฐานะรุ่นน้องเม่ือปที ผ่ี ่านมา และเขยี นคำตอบในแผน่ กิจกรรม




o ในกจิ กรรมนนั้ รุ่นพ่แี ละรุ่นนอ้ งทำอะไรบา้ ง

o ความรูส้ กึ ทเี่ กดิ ข้ึนของร่นุ พีแ่ ละร่นุ น้องในกิจกรรมนั้น

o เขยี นคำพูดทเี่ กดิ ข้ึนบ่อยๆ ของร่นุ พ่ีและรุ่นน้องในกิจกรรมนน้ั

o ขีดเสน้ หรือระบายสีบนมิเตอร์วดั ระดบั การใชอ้ ำนาจและความเออื้ อาทร

(ใหค้ ดิ ถงึ บรรยากาศโดยรวมของกจิ กรรม)


กิจกรรมท่ี ๕ พกี่ บั นอ้ ง | 53

๕. ใหแ้ ต่ละกลมุ่ นำเสนอ เม่อื ครบทุกกลมุ่ ชวนคยุ เพ่มิ เติม ดังนี

o บทบาทของรุ่นพี่และร่นุ นอ้ งในแต่ละกจิ กรรมเหมือนหรอื ต่างกนั อยา่ งไร

o สิ่งทร่ี ่นุ พท่ี ำแล้วเรารสู้ กึ ไมช่ อบ คืออะไรบ้าง

o เมือ่ เราเปน็ รุน่ พี่ทำกจิ กรรมนน้ั กบั ร่นุ นอ้ ง เราทำเหมือนหรอื ต่างจากท่รี นุ่ พที่ ำกบั เรา
เพราะเหตใุ ด




๖. ในกลุม่ เดิม ใหช้ ว่ ยกันเสนอว่าเราอยากเปลยี่ นแปลงการจดั กจิ กรรมน้ันๆ อยา่ งไรบ้าง และ

จะให้รุ่นพกี่ บั รนุ่ น้องมีบทบาท อย่างไรบ้าง



๗. ขอฟัง ๑ เรื่องที่อยากเปล่ยี นของแตล่ ะกิจกรรม พร้อมเหตุผล










54 | ชดุ กิจกรรมและส่อื การเรยี นรเู้ พอื่ พัฒนาทกั ษะชีวิตสำหรบั เยาวชนอาชวี ศกึ ษา ชุดที่ ๓ วิจารณญาณ

แผ่นกจิ กรรม “รุ่นพ่-ี รนุ่ นอ้ ง”


กิจกรรม: ...............................................................................................


สิ่งที่ “รนุ่ พ”่ี ทำในกจิ กรรมน
ี้ ส่งิ ที่ “ร่นุ นอ้ ง” ทำในกิจกรรมน้ี




ความร้สู กึ ของรนุ่ พแ่ี ละรุ่นนอ้ งทเี่ กดิ ขึน้


คำพดู ทร่ี นุ่ พี่พูดบ่อยๆ
คำพดู ท่ีรุน่ นอ้ งพดู บอ่ ยๆ


ความรูส้ กึ พ
ี่ ความรู้สึกน้อง


ระบายสีระดบั การใช้อำนาจ และความเออ้ื อาทรทเี่ กดิ ขน้ึ


มิเตอรอ์ ำนาจ
มเิ ตอรอ์ าทร


วดั ระดับการขม่ เหง วดั ระดับความ
และอำนาจท่ี เขา้ ใจและความ
เกิดข้ึนใน เออื้ อาทรท่ีเกดิ ขึ้น
กิจกรรม
ในกจิ กรรม


กจิ กรรมท่ี ๕ พ่กี ับน้อง | 55



ภาพยนตร์แนะนำ


หนังสัน้ ก่อน ๑๘ :

เรอ่ื งของพล

หนังส้นั ก่อน ๑๘ : เรอ่ื งของพล


ปี : ๒๕๕๓ ความยาว : ๒๘ นาที





เร่อื ง
ยอ่

เร่ืองราวจากชีวิตจริงของนักศึกษาช่างท่ีเคยเดินทางผิดพลาด

แต่กลับตัวได้ จนสามารถกลับมาเป็นเสาหลักของครอบครัว

และประสบความสำเร็จตามเป
า้ หมายสว่ นตวั ที่ต้ังใจไว้

หนังเร่ิมต้นเล่าจากฉากของวิศวกรชายคนหนึ่งกำลังคุมงานก่อสร้าง และ

ตัดย้อนไปถึงอดีตและเรื่องราวท่ีผ่านมา โดยตัดสลับฉากภาพเขากับกลุ่มเพ่ือนและภูมิหลัง


ครอบครวั ของเขากบั แมแ่ ละพ่อ



พล และเพื่อนเป็นนักศึกษาช่าง และอยู่ในกลุ่มท่ีมีแกนนำที่คอยกระตุ้น เน้นย้ำให้สมาชิก

ทกุ คนรกั ศกั ดศิ์ รแี ละทำหนา้ ทป่ี กปอ้ งสถาบนั นเี่ ปน็ สาเหตทุ ที่ ำใหม้ กี ารยกพวกตกี นั ตามลา้ งแคน้

กนั อย่ตู ลอดเวลา พลตอ้ งทำตามสิ่งทีเ่ พอ่ื นและแกนนำให้ทำ แม้วา่ บางคร้ังเขาจะไมค่ อ่ ยเต็มใจ

เพราะตระหนักถึงความรัก ความห่วงใย ความคาดหวังของแม่ และต้องคอยปกป้องแม่จาก



่อขี้เมาที่คอยหาเร่ืองทะเลาะ ตบตี แย่งเงินจากการขายลูกช้ินทอดของแม่ไปซื้อเหล้า

พลพยายามถอนตวั จากกลมุ่ แต่ไม่ใชส่ ง่ิ ทที่ ำได้ได้ง่ายๆ แม้วา่ พลจะบอกเพอ่ื นไปแล้ว แต่คอู่ ริ

กย็ งั คอยตามลา้ งแคน้ เอาเรอื่ งเขาตลอดเวลา พลไมส่ ู้ หลบเลย่ี ง หนเี รอื่ ยมา จนกระทงั่ วนั หนึ่ง
ต้อม เพื่อนในกลุ่มถูกรุมทำร้ายอาการหนัก พลจึงต้องกลับไปช่วยล้างแค้น เหตุการณ์คร้ังน้ี
รุนแรงถึงขั้นใช้อาวุธปืนยิงคู่อริที่ป้ายรถเมล์ พลถูกจับด้วยข้อหาร่วมกันฆ่าผู้อื่นโดยไตร่ตรอง

ไว้ก่อน แต่สามารถประกันตวั ออกมาเรยี นหนังสอื ตอ่ ได้ เน่ืองจากยงั เป็นเยาวชน





58 | ชดุ กิจกรรมและสือ่ การเรยี นรู้เพ่ือพฒั นาทักษะชีวิตสำหรับเยาวชนอาชวี ศึกษา ชุดท่ี ๓ วจิ ารณญาณ

พลได้รับโอกาสจึงต้ังใจเรียนจนจบ ปวส. แล้วสอบเข้าเรียนต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ของ

มหาวิทยาลัยชอื่ ดังตามเปา้ หมายที่ต้ังใจไว้ ในขณะเดียวกนั กช็ ่วยแม่ทำงาน ดูแลพ่อท่เี ส้นเลือด

ในสมองแตก จนกระท่ังเรียนถึงช้ันปีสุดท้าย พลต้องไปรับโทษตามกฎหมาย เน่ืองจากเหตุท่ี

เคยกระทำไว้ อย่างไรก็ตามพลก็ยังมุ่งม่ันด้านการเรียนจนสำเร็จการศึกษา และมีอาชีพท่ี

ม่ันคง เลย้ี งดูพอ่ แม่ได้อยา่ งต้งั ใจ






สาระของหน
งั ท่ีนำไปใช้

ในชีวิตการเป็นวัยรุ่นของแต่ละคนย่อมมีโอกาสก้าวพลาด เพราะความอยากรู้อยากลอง การ

ทำตามเพื่อน สภาพแวดล้อมที่กระตุ้นให้ทดลองทำ สิ่งที่ผิดพลาดอาจแก้ไขได้หรือไม่ได้ แต่

สามารถเป็นประสบการณ์ท่ีจะเรียนรู้และก้าวเดินต่อไป ขึ้นอยู่กับความมุ่งม่ันต้ังใจของตนเอง

ว่าจะเลอื กกำหนดชีวิตไปในเส้นทางใด






หมายเหตุ เรื่องของพลเป็นหนึ่งในหนังส้ันชุด ก่อน ๑๘ ท่ีสะท้อนจากเร่ืองจริง

ของวัยรุ่นชาย ๖ คน ที่ชีวิตได้ผ่านการเดินทางในช่วงหัวเล้ียวหัวต่อและก้าว

พลาด แต่พวกเขาต่างได้เรียนรู้จากประสบการณ์ชีวิตของตัวเอง จนสามารถ

กลบั มายืนในสังคมได้เหมือนคนอื่น






ภาพยนตร์แนะนำ | 59

เตรียมผเู้ รยี น
กอ่ นดูหนงั


๑. แนะนำวา่ วนั นีจ้ ะให้ดหู นงั สัน้ ชุดก่อน ๑๘ เรื่องของพล ซง่ึ สะทอ้ นชีวติ ของวยั ร่นุ คนหน่งึ ท่ี
กา้ วพลาด และใหท้ ุกคนชว่ ยกนั สังเกตในระหว่างท่ีดูหนงั ว่า

• พลอาศยั อยกู่ บั ใครบา้ ง ครอบครวั เขาเปน็ อยา่ งไร

• เกดิ อะไรขึ้นกบั พลตอนทีเ่ รียน ปวส.

• พลมีเป้าหมายคืออะไร และเขาทำสำเรจ็ ตามทีต่ ้ังใจไว้หรอื ไม







แนวคำถามชวนค
ุยหลังดหู นังจบ


๑. เมื่อเปิดหนังใหด้ ูเสร็จแล้ว ถามเพ่ือทบทวนความเข้าใจ และเข้าใจเนือ้ เรื่อง

• มตี อนไหนทเ่ี รายงั งงหรือสงสัยในเน้อื เร่อื งบา้ ง

• ดแู ลว้ เราร้สู ึกอย่างไรกบั เรื่องของพล

• อะไรท่ที ำใหพ้ ลก้าวพลาดและสิ่งที่ทำให้พลก้าวต่อไปได้

• สาเหตทุ ่ีทำให้นกั ศึกษาตา่ งสถาบนั ทะเลาะวิวาทหรอื ทำร้ายกัน

• สงิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ กับพลสามารถเกิดขึน้ กบั ตัวเราหรอื กับเพอ่ื นเราได้หรือไม่


60 | ชดุ กิจกรรมและส่อื การเรยี นรเู้ พอ่ื พัฒนาทักษะชวี ติ สำหรบั เยาวชนอาชวี ศกึ ษา ชดุ ท่ี ๓ วจิ ารณญาณ

๒. ให้จบั ค่กู บั คนท่เี ราร้สู กึ อยากเล่าแลกเปล่ยี นใหก้ ันฟังวา่

• เรอ่ื งทเ่ี คยทำผิดพลาดครงั้ ใหญท่ ่สี ดุ ในชีวติ ของเรา คอื

• แลว้ เราผา่ นเรอื่ งนั้นมาไดอ้ ย่างไร




๓. มอบหมายให้แต่ละคนไปเขียนบันทึกมาส่งครู เพ่ือเล่า “ส่ิงท่ีเราได้เป็นข้อคิด หรือเรียนรู้
จากประสบการณ์ก้าวท่พี ลาด”







ภาพยนตรแ์ นะนำ | 61



คูม่ อื ครู


“การประเมนิ ช้นั เรียน

กิจกรรมส่งเสรมิ ทักษะชีวติ

เยาวชนอาชวี ศกึ ษา”

๑(C. แlaนsวsคrดิoกomารปAรsะsเeมsนิ sชmั้นeเรnยี t)น


ผศ.สันต ิ ศรปี ระเสรฐิ




สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (๒๕๕๒) ให้ความหมายการประเมินช้ันเรียนว่า “เป็น
กระบวนการเกบ็ รวบรวม วเิ คราะห์ ตคี วาม บันทกึ ข้อมูลท่ีไดจ้ ากการวัดและประเมินทั้งที่เป็น
ทางการและไม่เป็นทางการ โดยการดำเนินการดงั กลา่ วเกดิ ข้ึนตลอดระยะเวลาของการจัดการ
เรียนการสอน นับต้ังแต่ก่อนการเรียนการสอน ระหว่างการเรียนการสอน และหลังการเรียน
การสอน โดยใช้เคร่ืองมือท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน มีความสอดคล้องและ
เหมาะสมกบั พฤตกิ รรมทต่ี อ้ งการวดั นำผลที่ไดม้ าตคี า่ เปรยี บเทยี บกบั เกณฑท์ ก่ี ำหนดในตวั ชว้ี ดั
ของมาตรฐานสาระการเรยี นรขู้ องหลกั สตู ร ขอ้ มลู ที่ไดน้ น้ี ำไปใช้ในการใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั เกย่ี วกบั
ความกา้ วหน้า จุดเดน่ จุดที่ต้องปรบั ปรงุ ใหแ้ ก่ผเู้ รียน การตัดสินผลการเรียนรู้รวบยอดในเรื่อง
หรอื หน่วยการเรียนร้หู รือในรายวิชาและการวางแผน ออกแบบการจดั การเรียนร้ขู องคร”ู จาก
ความหมายดังกลา่ ว สามารถสรปุ จดุ ประสงค์ของการประเมนิ ชน้ั เรยี นได้ ดงั น
้ี


๑) เพอ่ื เกบ็ ข้อมลู ทส่ี ะทอ้ นความสามารถในการเรยี นหรอื ทเี่ รยี กว่า “พฤตกิ รรมการเรยี น” และ

ผลลพั ธก์ ารเรยี นรขู้ องนกั เรยี น ซง่ึ ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั ใหผ้ เู้ รยี นวางแผนพฒั นาพฤตกิ รรม
การเรียนรขู้ องตนเอง

๒) เพอื่ ใหค้ รูนำข้อมลู ทเี่ กบ็ ได้ไปใช้ในการพฒั นาวธิ กี ารจดั การเรยี นการสอนของคร




64 | ชดุ กจิ กรรมและสื่อการเรยี นรู้เพอ่ื พฒั นาทักษะชวี ิตสำหรบั เยาวชนอาชีวศึกษา ชดุ ที่ ๓ วิจารณญาณ

๑. หลกั การสำคัญของ
การประเมินช้ันเรยี น


ในการประเมนิ ชน้ั เรยี นต้องใหค้ วามสำคัญกับกจิ กรรม กระบวนการ เป้าหมาย เครือ่ งมือ และ
ประโยชน์ในการดำเนนิ การ ดงั น
้ี


กิจกรรม

ทำการเก็บข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพเป็นระยะๆ โดยการบูรณาการเข้ากับการจัดการ
เรยี นการสอนตลอดภาคการศึกษาของรายวิชานนั้ ๆ



กระบวนการและขอบเขต

ทำร่วมกบั ผู้ปกครองและนกั เรียน (ถา้ เปน็ ไปได)้

- ประเมินเพอื่ สรา้ งความเขา้ ใจเก่ียวกับผเู้ รียนกอ่ นเริม่ ตน้ การเรียนการสอน

- ประเมินความกา้ วหนา้


- ประเมนิ ผลลพั ธ์การเรยี นรู้

ทำให้ครอบคลุมท้ังเน้ือหาสาระของวิชา ความสามารถในการเรียนและเป้าหมายในการพัฒนา
ตนเองของนักเรยี น



เป้าหมาย

เพ่ือการพัฒนานักเรียนมากกว่าการตัดสินผลการเรียน โดยมีเป้าหมายท่ีสำคัญในพัฒนา คือ
ด้านพฤติกรรมการเรียน และคุณลักษณะของนักเรียนที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ของ
วชิ านัน้ ๆ




คมู่ อื คร ู “การประเมินช้นั เรียนกิจกรรมส่งเสรมิ ทกั ษะชีวติ เยาวชนอาชวี ศกึ ษา” | 65

เคร่อื งมือ

ใชเ้ ทคนคิ วธิ ีและเครอื่ งมอื ทหี่ ลากหลายข้นึ กบั ธรรมชาตขิ องวชิ า ธรรมชาตขิ องผเู้ รยี น

และคณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงคต์ ามมาตรฐานการเรียนของวชิ า



ประโยชน

๑) ทำให้ครูมขี ้อมลู เพอ่ื พฒั นาวิธีการจดั การเรยี นการสอนได้สอดคลอ้ งกบั ความสามารถ

และธรรมชาตขิ องผู้เรยี น

๒) ทำใหน้ กั เรยี นมที ักษะในการวางแผนและตั้งเป้าหมาย ตระหนกั ในความสามารถของตนเอง

และความสำคัญของการประเมินผลและการวิพากษ์ตามหลักฐาน ตลอดจนสามารถจัดการ
พัฒนาตนเองได้ในข้อจำกัดของทรพั ยากรและเวลา





๒. บทบาทข
องครผู ้สู อน


๑) ใช้มาตรฐานการเรียนรูข้ องวชิ ามาเปน็ เป้าหมายของการประเมิน

๒) เลือกเครอื่ งมอื และกจิ กรรมในการเกบ็ ขอ้ มลู ใหส้ อดคลอ้ งกบั กจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละผลลพั ธ์

การเรียนรูร้ ายคาบของวชิ านั้นๆ

๓) สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของนกั เรยี นโดยการใหน้ กั เรยี นประเมนิ ตนเอง การใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั ของ

ครแู ละการสรา้ งแรงจงู ใจในการพฒั นาในตัวนักเรียน

๔) นำขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากการประเมนิ แตล่ ะระยะไปปรบั ใช้ในการวางแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

ครง้ั ตอ่ ๆ ไป




66 | ชดุ กจิ กรรมและสอ่ื การเรยี นรู้เพื่อพัฒนาทักษะชวี ติ สำหรบั เยาวชนอาชีวศกึ ษา ชุดที่ ๓ วจิ ารณญาณ

๓. ขั้นตอนการดำเนนิ งานเพอื่ การประเมินชนั้ เรยี น (สันติ ศรีประเสริฐ, ๒๕๕๓)


ข้นั ที่ ๑

เลือกชนั้ เรยี น/หอ้ งเรยี น


ข้ันที่ ๑๐
ขนั้ ที่ ๒

ออกแบบการวิจยั ชนั้ เรยี น
ต้ังคำถามในการประเมิน


เพอื่ ติดตามผล


ข้ันที่ ๙
ข้ันท่ี ๓

ประเมินผลลพั ธท์ ่ีเกดิ ของวธิ กี าร
วางแผนการจดั กิจกรรมการประเมนิ เพ่ือ

สอนของครูและพฤตกิ รรมการเรียน
๑. สะท้อนความสามารถในการเรียนรเู้ ดมิ

ของผ้เู รยี น

ของนักเรียน
๒. สะท้อนพฤตกิ รรม ทกั ษะการเรยี น และ

ข้ันที่ ๘
คุณลกั ษณะท่ีเปลยี่ นไป

แจง้ ผลและทดลองวิธกี ารอ่ืนๆ

ขน้ั ท่ี ๔

สอนบทเรยี นตามทว่ี างแผนไว


ขน้ั ที่ ๗
ข้นั ที่ ๕

แปลผลท่ีไดแ้ ละสร้างวิธกี าร
สรุปผลการประเมิน

ที่จะพฒั นาพฤตกิ รรมการเรียนร
ู้
ของนกั เรียน
และใหข้ ้อมูลย้อนกลับ




ขั้นที่ ๖


วิเคราะห์ขอ้ มลู ย้อนกลบั

และแผนการพัฒนาตนเอง

ของนกั เรยี น




ค่มู อื คร ู “การประเมินชัน้ เรยี นกิจกรรมส่งเสรมิ ทักษะชีวิตเยาวชนอาชวี ศกึ ษา” | 67

๔. วิธกี าร
ประเมิน


ในการประเมินชัน้ เรยี นควรใชว้ ธิ ีการทห่ี ลากหลาย เพอื่ ให้ไดข้ อ้ มลู ทส่ี มบรู ณม์ ากเทา่ ที่สามารถ
ทำได้ เชน่

๑) การสงั เกต

๒) การพูดคยุ

๓) การใหเ้ พือ่ นหรือผู้ปกครองร่วมประเมนิ

๔) การประเมินตนเองของนกั เรียน

๕) การใชแ้ บบสำรวจ

๖) การสาธติ

๗) การใช้แบบทดสอบ

๘) การใช้ผลงาน เช่น สมดุ จดงาน สมุดแบบฝึกหัด หรอื รายงานการทดลอง

๙) การใช้หลักฐานเชงิ ประจักษอ์ ่ืนๆ





๕. บทบาทข
องนักเรียน


มีสว่ นรว่ มในการประเมนิ โดย

๑) ทำการประเมนิ ตนเอง

๒) วางแผนพัฒนาตนเองตามข้อมลู ย้อนกลับ

ที่ได้รบั และเป้าหมายท่ตี นเองต้งั ข้นึ


68 | ชุดกิจกรรมและสอ่ื การเรยี นรู้เพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ติ สำหรับเยาวชนอาชีวศึกษา ชุดที่ ๓ วิจารณญาณ

๖. บทบาทข
องโรงเรยี น


๑) กระตุน้ ใหน้ กั เรียนและครทู ำงานอยา่ งมสี ว่ นร่วมในกระบวนการประเมิน

๒) จัดโอกาสให้มีกจิ กรรมประเมินชน้ั เรียน

๓) ต้ังเป้าหมายร่วมกับครูและนักเรียนในการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนและผลลัพธ์การ

เรยี นร้

๔) ประกาศนโยบายเน้นความสำคัญของ “การประเมินชน้ั เรียน”





๗. การบรหิ ารจดั การ
การประเมนิ ชน้ั เรียน


๑) เลอื กใชก้ จิ กรรมในการเกบ็ ขอ้ มูลอยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ล

๒) เลือกใช้กิจกรรมในการเก็บข้อมูลที่ประหยัดเวลา สามารถดำเนินการได้ในคาบการเรียนรู้

รายวิชานั้นๆ

๓) เลอื กใชก้ จิ กรรมในการเกบ็ ขอ้ มลู ทแ่ี บง่ ภาระการสอน หรอื เปดิ โอกาสใหม้ กี ารสอนเปน็ ทมี ได

๔) สร้างระบบ ชุดเคร่ืองมือ วิธีการเก็บ การบันทึกผลการประเมินเพื่อความสะดวกรวดเร็ว

และสืบค้นข้อมลู มาประกอบการตดั สินใจในการพฒั นาวธิ กี ารสอน หรือสนับสนนุ การตดั สิน
ผลการเรยี นตลอดปกี ารศึกษาหรือตลอดหลักสูตรได้





ข้อควร
ระวงั


๑) ไมค่ วรใช้การประเมินชน้ั เรียนในทางลบเพื่อเปน็ การควบคมุ ชน้ั เรยี น

๒) ไมค่ วรจัดเกบ็ ขอ้ มลู โดยไม่พิจารณา “เป้าหมาย” หรือ “คำถามในการประเมิน”


คู่มือคร ู “การประเมินช้ันเรียนกจิ กรรมส่งเสริมทกั ษะชีวติ เยาวชนอาชวี ศึกษา” | 69

๒. ผังแสดงข้นั ตอนการทำก
ชดุ ท่ี ๓ วจิ า

ผังแสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมการประเมนิ ช้ันเรยี น* “กิจกรร

สถานศึกษา................................................. ช้ัน ป

กระบวนการการจดั การเร

คาบที่ ๑
คาบที่ ๒
คาบที่ ๓
คาบท่ี ๔
คาบที่ ๕


บทบาท นร.
ก.
ก.
ก.


นักเรียนตอบคำถามใน คู่มอื การเรยี นรู้ “กิจกรรมส่งเสรมิ

๕. ประเมนิ พฤติกรร
(ขณะรว่ มกิจกรร
พฒั นาพฤติกรรม

บทบาทคร

๑.ให้ข้อมูลเก่ยี วกับวชิ า
๔. ทำบนั ทึกหลังสอน
๖. ประเมนิ ผลลพั ธ์การ
(เม่ือจบแต่ละกจิ กรรม)
ให้ feedback นร.
๒. ทำความรจู้ ัก นร.

กระตุน้ การตง้ั เปา้ ห
๓. ให้ นร.ทำ Pre-test
ตนเองของ นร.

๕. แบบประเมนิ พฤตกิ ร
เครื่องมือ
๑. ประมวลรายวชิ า
๔. แบบบันทึกหลงั สอน
และการวางแผนพฒั
๖. แบบประเมนิ ผลลัพธ
๒. แบบบนั ทึกขอ้ มูลท่วั ไป
ท่กี ำหนดในคมู่ อื การเ
ของ นร.
จากคูม่ ือการเรยี นรู้/บ
๓. Pre-test


* พฒั นาโดย ผศ.สันติ ศรีประเสริฐ


70 | ชดุ กิจกรรมและสอ่ื การเรียนร้เู พื่อพัฒนาทักษะชวี ิตสำหรับเยาวชนอาชีวศึกษา ชดุ ที่ ๓ วจิ ารณญาณ

กิจกรรมการประเมนิ ช้ันเรยี น

ารณญาณ


รมส่งเสรมิ ทกั ษะชวี ติ เยาวชนอาชีวศกึ ษา” ชดุ ที่ ๓ วิจารณญาณ

ปวช. ...... ภาค.............. ปีการศกึ ษา.....................


รียนรู้ (ประมาณ ๙ คาบ)


คาบท่ี ๖
คาบที่ ๗
คาบที่ ๘
คาบที่ ๙
ผลลัพธ์การเรยี นร้


ก.
ก.
ก.
• ด้านความร้/ู เขา้ ใจ

• ด้านเจตคติ

มทกั ษะชวี ติ เยาวชนอาชีวศึกษา” ชดุ ที่ ๓ วจิ ารณญาณ
• ด้านกระบวนการเรยี นรู้

ดว้ ยตนเอง


รมการเรียนรู้ของตนเอง
๗.ประเมินพฤติกรรมการเรยี นรู้ของตนเอง
สงั คมมติ

รมครง้ั ท่ี ๑-๓) และวางแผน

การอยู่ร่วมกัน

มการเรยี นรู้ของตนเอง
ทักษะชวี ติ


รเรยี นรู้ ครง้ั ท่ี ๑
๘. ประเมินผลลพั ธ์การเรยี นรู้ครั้งท่ี ๒
ประสบการณ/์

รายบคุ คล และ
ให้ feedback นร. รายบคุ คล
ปัญหา, ความรุนแรง,
หมายในการพัฒนา
๙. ให้ นร.ทำ Post-test

รรมการเรยี นรู้ของตนเอง
การลอ้ เลยี น

ฒนาพฤติกรรมการเรยี นรขู้ องตนเอง
การพฒั นาทกั ษะ

ธก์ ารเรยี นรู้ คร้ังท่ี ๑ (ตามประเด็น
และพหปุ ญั ญา

เรยี นรู้ของ นร. โดยอาศัยขอ้ มลู

บันทึกหลงั สอน)



๗. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเรยี นรู้ของตนเอง

๘. แบบประเมนิ ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ครง้ั ท่ี ๒

๙. Post-test

๓. ชุดเครือ่ งมือและวธิ ีใช


แนะนำวิธีใชเ้ ครื่องมือท่ีใช้ในการประเมินชน้ั เรยี น ได้แก่

๓.๑ ประมวลรายวิชา (Course Syllabus) หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๓

๓.๒ แบบบันทึกข้อมูลทว่ั ไปของนกั เรียน

๓.๓ แบบทดสอบหลังการร่วมกจิ กรรม

๓.๔ คู่มอื การเรยี นรู้ ชุดที่ ๓

๓.๕ แบบบนั ทกึ ความตัง้ ใจพัฒนาตนเองของนักเรียน

๓.๖ แบบบันทกึ หลงั สอน

• แบบบนั ทึกหลังสอน

• แบบบันทึกข้อมูลพฤตกิ รรมเส่ียงของนักเรยี น แนวทางปอ้ งกันดูแล และผลลพั ธ์

๓.๗ วธิ ีการใชค้ มู่ อื การเรยี นร้ขู องนกั เรยี น



๓.๑ ประมวลรายวชิ า หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๓ (ดภู าคผนวก ๑)

เนน้ การมสี ว่ นรว่ มของนักเรยี นโดยเฉพาะเรือ่ งการจดั การเรยี นรแู้ ละการประเมนิ ผล



๓.๒ แบบบนั ทกึ ข้อมลู ท่ัวไปของนกั เรียน (ดูภาคผนวก ๒)

เน้นให้ผู้เรียนได้ให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเองสำหรับผู้สอนได้รู้จักเป็นรายบุคคล และติดตาม
พฒั นาการดา้ นทักษะการเรยี นรู้ และทกั ษะชีวติ ในแต่ละกจิ กรรมตามพ้นื ฐานของแตล่ ะบคุ คล




ค่มู อื คร ู “การประเมนิ ชัน้ เรยี นกิจกรรมส่งเสริมทักษะชีวติ เยาวชนอาชวี ศึกษา” | 71

๓.๓ แบบทดสอบหลังการร่วมกจิ กรรม (ดภู าคผนวก ๓)

เน้นประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ในภาพรวมหลังการร่วมกิจกรรมของชุดท่ี ๓ และประเมิน
ประสบการณ์ที่เป็นปัญหาในสังคมรอบตัวของนักเรียน การมองผู้อ่ืนในทางบวก การสร้าง
ความสัมพันธ์ การคิด-วิเคราะห์ ตลอดจนการพัฒนาทักษะการเรียนรู้และการพัฒนา

พหุปัญญาของตนเอง



๓.๔ ค่มู อื การเรียนรู้ ชุดที่ ๓ (ดูภาคผนวก ๔)

เน้นให้นกั เรยี นสรปุ การเรียนรู้ในแตล่ ะกิจกรรมของตนเอง



๓.๕ แบบบนั ทกึ ความตั้งใจพฒั นาตนเองของนักเรยี น (ดภู าคผนวก ๕)

เน้นให้นักเรียนนำการเรียนรู้จากกิจกรรม ๑-๖ ของแต่ละชุดมาใช้เป็นข้อมูล ร่วมกับการ
ประเมินทักษะกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองมาใช้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาแผนการพัฒนา
ตนเองในแต่ละปจี นจบช่วงชั้น ปวช.



๓.๖ แบบบันทกึ หลังสอน (ดูภาคผนวก ๖)

ประกอบด้วยแบบบันทึกหลังสอนกิจกรรมส่งเสริมทักษะชีวิตเยาวชนอาชีวศึกษา และแบบ
บันทึกขอ้ มลู พฤตกิ รรมเส่ียงของนกั เรียน แนวทางป้องกนั ดูแล และผลลพั ธ



๓.๗ วิธกี ารใชค้ ู่มือการเรยี นรขู้ องนักเรยี น

๑) หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกครั้ง ขอให้ครูกระตุ้นให้นักเรียนตอบคำถามในคู่มือของ

แต่ละกจิ กรรมกอ่ นจบการเรยี นการสอน (หมดคาบ)

๒) ท้ายกิจกรรมท่ี ๓ ครูควรเก็บคู่มือนักเรียนมาทำการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้คร้ังที่ ๑

โดยครูอ่านคำตอบของนักเรียนท้ายกจิ กรรมท่ี ๑, ๒ และ ๓ ประมวลผลในภาพรวม และ
ประเดน็ ทีจ่ ะสะทอ้ นให้นกั เรียนไดร้ ับทราบ พร้อมลงนามทง้ั ครแู ละนกั เรยี น ครคู วรกระตุ้น

72 | ชุดกิจกรรมและสอื่ การเรียนรเู้ พ่อื พัฒนาทักษะชวี ิตสำหรบั เยาวชนอาชีวศึกษา ชุดที่ ๓ วิจารณญาณ

ใหน้ ักเรียนทำแผนพฒั นาตนเองโดยมจี ุดเนน้ ดังนี้

ปวช. ๑ เนน้ การพฒั นาทักษะการเรียนรดู้ ้วยตนเอง และการสร้างคณุ คา่ ภายในตน

ปวช. ๒ เน้นการพัฒนาทักษะและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยใช้ข้อมูลของการ

ประเมนิ หรือทบทวนตนเองมาเป็นขอ้ มลู พ้นื ฐาน

ปวช. ๓ เนน้ การพฒั นาทักษะและการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ

๓) ท้ายกจิ กรรมที่ ๖ ครคู วรพบกบั นกั เรียน เพอื่ ทบทวนพัฒนาการของนักเรียนว่า


ก) มีผลลัพธ์การเรียนรู้ตามคู่มือการเรียนรู้ และแบบทดสอบนักเรียนก่อนและหลังเรียน
อยา่ งไร


ข) ผลลัพธ์การเรยี นรู้ในประเด็นพฤตกิ รรมเสีย่ งเป็นอย่างไร

๔) เม่ือสิ้นสุดการสอนทุกชุด ครูควรสรุปข้อมูลที่จะสะท้อนการเปล่ียนแปลงของนักเรียนเพ่ือ

สง่ ต่อให้ปตี ่อไป




























คู่มอื คร ู “การประเมินชัน้ เรียนกจิ กรรมสง่ เสริมทักษะชีวิตเยาวชนอาชวี ศกึ ษา” | 73

ภาคผนวก




๑. ประมวลรายวชิ า (Course Syllabus) หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๓

๒. แบบบนั ทึกขอ้ มูลทว่ั ไปของนกั เรียน

๓. แบบทดสอบหลังการร่วมกิจกรรม

๔. คู่มือการเรยี นรู้ ชดุ ที่ ๓

๕. แบบบันทกึ ความตง้ั ใจพฒั นาตนเองของนักเรียน

๖. แบบบันทึกหลงั สอน


• แบบบันทึกหลงั สอน

• แบบบันทกึ ข้อมูลพฤตกิ รรมเสยี่ งของนกั เรยี น แนวทางป้องกันดูแล และผลลพั ธ




74 | ชดุ กจิ กรรมและส่ือการเรียนรู้เพอื่ พัฒนาทกั ษะชวี ิตสำหรบั เยาวชนอาชีวศกึ ษา ชุดที่ ๓ วิจารณญาณ

ภาคผนวก


ชดุ กิจกรรมและส่อื การเรยี นรู้

เพอื่ พฒั นาทักษะชวี ติ


สำหรับเยาวชนอาชีวศึกษา


ชุดที่ ๓ “วจิ ารณญาณ”




ภาคผนวก | 75

ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)


สถานศึกษา...................................................................................



๑. รหสั วชิ า ............-..............

๒. จำนวนหน่วยกิต ............-..............

๓. ช่อื ชุด วิจารณญาณ

๔. กลมุ่ สาระการเรียนร้ ู กิจกรรมเสริมหลกั สูตรทกั ษะชีวิต

๕. ภาคการศึกษา ...................................................................................

๖. ปีการศกึ ษา ...................................................................................

๗. ช่อื ผู้สอน ๑. ..............................................................................

๒. ..............................................................................

๘. เง่อื นไขรายวิชา ...................................................................................

๙. สถานภาพของวชิ า

[ ] พื้นฐาน [ ] เพมิ่ เตมิ [ ] เพม่ิ เตมิ (เลอื กเสร)ี [ ü ] กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น

๑๐. จำนวนคาบ : สัปดาห ์ ๑-๒ คาบ/สัปดาห

๑๑. คำอธิบายรายวิชา -

๑๒. ผลลัพธ์การเรียนรู้

๑) มที ักษะในการตัดสินใจด้วยเหตแุ ละผล

๒) เห็นความสำคัญของผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับผู้อื่นและตัวเองจากการเลือกตัดสินใจ

ของเรา

๓) บอกเล่ากระบวนการตัดสินใจดว้ ยวิจารณญาณของตนเองได้




76 | ชดุ กิจกรรมและสอื่ การเรยี นรู้เพอื่ พฒั นาทักษะชวี ติ สำหรับเยาวชนอาชีวศึกษา ชดุ ที่ ๓ วจิ ารณญาณ

๑๓. หน่วยการเรียนรแู้ ละสาระการเรียนร
ู้

หนว่ ยการ สาระการเรียนร
ู้ จำนวน
เรยี นร
ู้ คาบ


๓.
๑. อารมณช์ ั่ววบู


วิจารณ- อารมณ์เป็นเร่ืองปกติของมนุษย์ แต่การจัดการอารมณ์เป็นเรื่องที่ต้อง
ญาณ
เรียนรู้และฝึกฝน เราสามารถบริหารจัดการอารมณ์ท่ีเกิดขึ้นได้ดีข้ึน
เรื่อยๆ เม่ือเราเรียนรู้และยอมรับการเกิดข้ึนของอารมณ์ ทำความ
เข้าใจความรู้สึก ปฏิกิริยาของตนเองขณะท่ีเกิดอารมณ์ขึ้น รวมถึงฝึก
พูดคยุ สือ่ สารถึงอารมณ์อย่างสรา้ งสรรค


๒. ติด


มนุษย์ใช้ชีวิตคู่กับการเสพติดหลายรูปแบบ ต้ังแต่เร่ืองท่ัวๆ ไป เช่น

โซเชียลมีเดีย เกม กีฬา กาแฟ ความตื่นเต้น ความสัมพันธ์กับบาง
บุคคล จนถึงเร่ืองท่ีสังคมบอกว่าเป็นการเสพติดที่รุนแรง เช่น การ

เสพยา การดม่ื แอลกอฮอล์ การเลน่ การพนัน เปน็ ตน้ การติดหรอื การ
เกิดภาวะพ่ึงพิงต่อส่ิงใดก็ตามสามารถเกิดผลเสียกับบุคคลได้ทั้งส้ิน
การสังเกตและประเมินตนเองได้ว่าเรากำลังเลือกทำกิจกรรมใดๆ
เพียงเพ่ือความบันเทิง หรือเรากำลังอยู่ในภาวะพึ่งพิงต่อส่ิงเหล่าน้ัน
จะชว่ ยให้เราเทา่ ทันและจัดการสถานการณน์ นั้ ได้มากขน้ึ


๓. รักนะ...ท้ังสองคน



แคลวาะมกสาัมรปพฏันิบธั์ตทิ่ีตลึ่กอซท้ึงั้งนคำนมราักซแ่ึงลคะวตาัมวเคอางดหหวลังาตย่อคกนันเลสือ่งกผกลาตร่อกอราะรทมำณท่ี์
เปน็ การทำรา้ ยคนรกั หรอื ทำรา้ ยตวั เองเพอ่ื แสดงความรสู้ กึ ตา่ งๆ รปู แบบ
การทำรา้ ยกันมีหลายแบบ ทั้งทางร่างกาย จติ ใจ เศรษฐกิจ และสงั คม
บางครั้งอาจเป็นวิธีการท่ีแนบเนียนจนเรามองข้ามไปว่าน่ันคือการ
ทำร้ายกัน ดังนั้น ในความสัมพันธ์ เราควรทบทวนตัวเองอยู่เสมอว่า
เรากำลังทำร้ายคนรักหรือทำร้ายตัวเองอยู่หรือไม่ และบริหารความ
สมั พนั ธ์ให้เปน็ ไปโดยหลกี เลยี่ งพฤติกรรมท่เี ป็นการทำรา้ ยกัน


ภาคผนวก | 77

หนว่ ยการ สาระการเรยี นรู
้ จำนวน
เรียนร
ู้ คาบ



๔. ศักดิศ์ รี


บุคคลทุกคนล้วนมีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ แต่ละคนอาจมีศักด์ิศรี
ที่ต้องการรักษาปกป้องแตกต่างกัน แต่การรักษาปกป้องศักด์ิศรี

ไม่จำเป็นต้องใช้วิธีการที่รุนแรง หรือไปล่วงละเมิดศักดิ์ศรีของคนอ่ืน
ไม่ว่าในกรณีใด เพราะการกระทำเช่นนั้นมีแต่จะนำไปสู่ความรุนแรง

ท่ีเพ่ิมข้ึน การปกป้องศักด์ิศรีสามารถทำได้หลายวิธีโดยไม่ใช้ความ
รนุ แรง


๕. พี่กบั น้อง


ความสัมพันธ์แบบรุ่นพ่ีรุ่นน้องสามารถสร้างความรู้สึกที่ดีให้เกิดขึ้นทั้ง
สองฝ่าย ท้ังยังเอื้อประโยชน์ในด้านความสามัคคี ร่วมมือร่วมใจได้
หากตงั้ อยบู่ นความเขา้ ใจและเอื้ออาทร ไม่ใช่ดว้ ยการใชอ้ ำนาจ


๖. ดูหนัง “กอ่ น ๑๘” ตอน “เรอ่ื งของพล”


ความทา้ ทายในวัยรุน่ ทั้งการคบเพื่อน การรกั พวกพ้อง การเรียน และ
ความฝัน จดุ เปลีย่ นทีส่ ำคัญข้ึนอย่กู ับวจิ ารณญาณ


78 | ชุดกจิ กรรมและสอ่ื การเรียนรเู้ พอ่ื พฒั นาทักษะชีวิตสำหรบั เยาวชนอาชีวศกึ ษา ชุดท่ี ๓ วิจารณญาณ

๑๔. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ใช้กระบวนการเรยี นรูผ้ ่านประสบการณ์ โดย

๑) มกี ิจกรรม/สถานการณ์จำลองให้ผู้เรียนไดล้ งมือทำ

๒) ให้ผเู้ รียนไดส้ ะท้อนสง่ิ ที่ได้จากการลงมือทำกจิ กรรม

๓) แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพ่ือนในกลุ่ม/ห้อง เพื่อคิดวิเคราะห์ด้วยเหตุผล และ
สงั เคราะห์สิง่ ที่ได้เรียนรู้



๔) ใหผ้ ู้เรียนไดล้ องนำสงิ่ ท่ีเรียนรูป้ ระยกุ ต์ใช้ / ตอ่ ยอดจากการเรียนรู้เดมิ

๑๕. การวัดและประเมินผล

ประเมินผลจาก Classroom Assessment ตามแบบประเมินผลรายคาบ (คู่มือการเรียนรู้
“กจิ กรรมส่งเสรมิ ทักษะชีวติ เยาวชนอาชวี ศกึ ษา”) และไมม่ ีผลได้/ตก หรือ ผ่าน/ไมผ่ ่าน หาก

แต่เปน็ การประเมินเพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นทราบวา่ ต้องพัฒนาตนเองในดา้ นใดเพิ่มข้ึน

๑๖. แหล่งการเรยี นรู้


๑) จากการฟังคำบรรยาย

๒) คน้ ควา้ เพมิ่ เติมจากหนังสอื คู่มือ และเวบ็ ไซต์ต่างๆ


ภาคผนวก | 79

แบบบันทกึ ข้อมูลทั่วไปของนกั เ
รยี น
(ติดรปู นักเรียน)


ภาคการศึกษาท.่ี ..................../..................................

รหสั ประจำตัว ...........................................................

ระดับชั้น ¨ ปวช. ๑ ¨ ปวช. ๒ ¨ ปวช. ๓

วิทยาลยั ...................................................................

จังหวดั ......................................................................


ขอให้นักเรียนกรอกข้อมูลและความคิดเห็นในแบบบันทึกน้ี ครูผู้สอนจะเก็บแบบบันทึกน้ีไว้
เพอ่ื รจู้ กั นกั เรยี นมากขนึ้ และเพอื่ สนบั สนนุ การเรยี นรขู้ องนกั เรยี นระหวา่ งการทำกจิ กรรมสง่ เสริม
ทักษะชวี ิต



๑.​ ขอ้ มูลทวั่ ไปของนักเรยี น


๑.๑ ประวตั สิ ว่ นตัว


ชอื่ ¨ นาย ¨ นางสาว ......................................นามสกุล ..........................................


สาขาวิชา....................................................................................................................


เลือกเรียนสาขานี้เพราะ................................................................................................


.................................................................................................................................


ภมู ิลำเนาเดิม จงั หวัด....................................................................................................


ทอ่ี ยปู่ จั จุบนั ...............................................................................................................


.................................................................................................................................


จงั หวดั ............................................................รหสั ไปรษณยี .์ ........................................


80 | ชุดกจิ กรรมและสอ่ื การเรยี นรู้เพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ติ สำหรับเยาวชนอาชีวศึกษา ชดุ ที่ ๓ วิจารณญาณ

เพศ ¨ ชาย ¨ หญงิ ¨ อ่นื ๆ ระบุ....................................................

วันเดือนปีเกิด...............................ที่อยู่อีเมล.................…................@...........................

โทรศัพทบ์ า้ น/ท่พี กั ........................................โทรศัพทส์ ่วนตวั .........................................


เฟซบุ๊ก....................................................................ไลน์..............................................

๑.๒ ภูมิหลังครอบครัว

• ชอ่ื บิดา ....................................................นามสกลุ .................................................

อาชพี ......................................................โทรศพั ท์ ................................................

สถานทีท่ ำงาน ...........................................หน้าที่/ตำแหนง่ .......................................

• ชือ่ มารดา .................................................นามสกุล.................................................

อาชพี ......................................................โทรศพั ท์ ................................................

สถานทที่ ำงาน ...........................................หนา้ ที/่ ตำแหนง่ .......................................

• มพี ีน่ อ้ ง (รวมนกั เรยี นดว้ ย).................. คน นักเรียนเปน็ บุตรคนท่ี ...............................

• สถานภาพทางครอบครวั

¨ บดิ า-มารดาอยดู่ ว้ ยกัน

¨ บดิ า-มารดา แยกกนั ตอนน้นี กั เรยี นอยู่กบั

¨ อยู่กับบดิ า ¨ อยู่กับมารดา ¨ อยู่กับ.....................................

¨ บิดาเสยี ชีวิต ¨ มารดาเสียชวี ติ

• ผู้ท่ดี ูแลนกั เรียน ชอื่ -นามสกลุ ...................................................................................

ความสมั พนั ธก์ บั นกั เรียน คอื .......................โทรศพั ท์ผดู้ แู ล.........................................


ภาคผนวก | 81

๑.๓ บคุ ลิกภาพ


๑) ความสงู ..............ซม. น้ำหนกั .............กก.


โดยรวมจดั ว่าเปน็ คน ¨ อว้ น ¨ ผอม ¨ ไมอ่ ว้ น-ไมผ่ อม


๒) กิริยาทา่ ทาง ¨ สุภาพเรียบร้อย ¨ ชา่ งพดู ช่างคุย ¨ อื่นๆ.............................


๓) น้ำเสียง ¨ เสยี งดัง ¨ เสียงค่อย


๔) การพูด ¨ พูดเร็ว ¨ พดู ช้า



๕) บุคลกิ ภาพหรือลกั ษณะของรา่ งกายท่นี กั เรยี นภูมิใจ คอื ..........................................


๑.๔ เพื่อน : ช่ือเพือ่ นสนิทในสถานศึกษา


๑) ...........................................................................................หอ้ ง ....................


ชอบเพอื่ น คนน้ี เพราะ......................................................................................


๒) ...........................................................................................ห้อง ....................



ชอบเพ่อื น คนน้ี เพราะ......................................................................................


๑.๕ ลกั ษณะนิสยั สว่ นตัว (ตอบได้มากกว่า ๑ ขอ้ )


¨ ใจเยน็ ¨ ใจร้อน ¨ โกรธง่าย


¨ สุภาพ ¨ ชอบอยูเ่ งยี บๆ ¨ ชอบอยกู่ บั เพ่อื น



¨ อื่นๆ (ระบ)ุ ...................................................................................................


๑.๖ นักเรียนเคยถกู เพื่อนลอ้ เรือ่ ง.................................................................................


ความรู้สกึ เมือ่ ถูกลอ้ ¨ เฉยๆ ¨ อื่นๆ ..........................................................


¨ โกรธ ระงบั อาการโกรธโดย..........................................


82 | ชดุ กิจกรรมและสอื่ การเรยี นรเู้ พื่อพัฒนาทกั ษะชีวิตสำหรับเยาวชนอาชวี ศึกษา ชดุ ท่ี ๓ วิจารณญาณ

๑.๗ ทผ่ี า่ นมาเร่ืองทที่ ำใหน้ กั เรยี นเครยี ดมากท่สี ดุ คอื ......................................................



นักเรียนกำจัดความเครียดโดย..............................................................................


๑.๘ สุขภาพ


¨ แข็งแรง ¨ มีโรคประจำตัว คอื .......................................................................


¨ เคยเข้าพักรกั ษาตัวในโรงพยาบาล



¨ เคยเขา้ พักรักษาตวั ในโรงพยาบาลดว้ ยโรค..........................................................


๑.๙ ความสามารถพิเศษ.......................................................................................


สงิ่ ที่ทำไดด้ ี..........................................................................................................



งานอดเิ รก...........................................................................................................


๑.๑๐ เรอื่ งท่ีนักเรยี นสนใจเปน็ พเิ ศษ



¨ ไม่มี ¨ มี คอื ....................................................................................


๑.๑๑ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน



ระดับช้ัน
เทอมต้น
เทอมปลาย

๑) ชนั้ ม.๓ (สำหรับ นร.ช้ัน ปวช.๑ เทา่ นัน้ ) GPA ทงั้ ปี =

๒) ชน้ั ปวช.๑
GPA =
GPA =

๓) ช้นั ปวช.๒
GPA =
GPA =

๔) ชั้น ปวช.๓
GPA =
GPA =


ภาคผนวก | 83

๒. กิจกรรมสง่ เสรมิ ทักษะชีวติ เยาวชนอาชีวศกึ ษา

๒.๑ นกั เรียนคิดวา่ เปน็ วิชาทเี่ รยี นเกี่ยวกบั .......................................................................

..........................................................................................................................

๒.๒ นกั เรียนคิดว่าจะได้ประโยชนอ์ ะไรจากการเรยี นและทำกิจกรรมน้ี ................................
..........................................................................................................................

..........................................................................................................................

..........................................................................................................................

..........................................................................................................................

๒.๓ นกั เรียนอยากเรยี นเกย่ี วกับอะไรในวชิ าน้ี

๑) ........................................................................................................................

๒) ........................................................................................................................

๓) ........................................................................................................................



๓. ลักษณะครูท่นี ักเรียนชอบ
.................................................................................................................................

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................



๔. กรณุ าระบุ “วิธีเรยี น” ทนี่ กั เรียนชอบ

.................................................................................................................................

................................................................................................................................

84 | ชดุ กจิ กรรมและส่อื การเรยี นร้เู พอ่ื พัฒนาทักษะชวี ิตสำหรบั เยาวชนอาชีวศึกษา ชดุ ท่ี ๓ วิจารณญาณ

๕. กรุณาระบุ “วธิ ีสอน” ทน่ี ักเรยี นชอบ

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................



๖. อาชพี ทนี่ กั เรยี นใฝฝ่ นั อยากทำ

.................................................................................................................................

เหตผุ ลทีอ่ ยากประกอบอาชีพน้

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................



๗. สิง่ ท่นี กั เรยี นอยากบอกคร

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................

.................................................................................................................................








ภาคผนวก | 85

คำช้แี จงสำหรับครูผสู้ อน


แบบบันทึกข้อมูลท่ัวไปของนักเรียนน้ีเป็นเคร่ืองมือท่ีช่วยรวบรวมข้อมูลพ้ืนฐานในด้านต่างๆ
ของผู้เรียนเพ่ือให้ครูได้รู้จักผู้เรียนท้ังด้านร่างกาย จิตใจ ความรู้สึกนึกคิด พฤติกรรมการ
แสดงออก พฤตกิ รรมการเรยี น และความสามารถดา้ นวชิ าการทส่ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ ในภาพผลสมั ฤทธ์ิ
การเรียนรู้ ซ่ึงจะช่วยให้ครูสามารถนำไปใช้ในการสร้างความสัมพันธ์กับผู้เรียน และใช้ในการ
วางแผนการสอน หรอื แผนการจัดการเรียนรทู้ สี่ อดคลอ้ งกบั ลกั ษณะของผ้เู รียนไดท้ ้ังรายบคุ คล
และรายห้อง รูปแบบและวิธีการนำไปใช้อาจทำได้แตกต่างกันไปตามบริบทของโรงเรียน

กั เรยี น และครู ในที่นีจ้ ะขอยกตวั อย่างแนวทางการนำข้อมลู ดังกล่าวไปใช้พอสังเขป ดงั น
ี้
๑. ขอ้ มลู เกยี่ วกบั เหตผุ ลในการเลือกเรยี นสาขาตา่ งๆ ของผ้เู รยี น

ผู้เรียนอาจมีเหตุผลในการเลือกเรียนสาขาน้ันๆ แตกต่างกัน เช่น เพื่อสืบทอดอาชีพของ

ผู้ปกครอง เลือกตามเพ่ือน หรือยังไม่รู้ ฯลฯ เหตุผลต่างๆ เหล่าน้ีเป็นข้อมูลท่ีสะท้อน
ประสบการณ์ อิทธพิ ลของประสบการณท์ ตี่ า่ งกนั ผเู้ รียนทีม่ ีเปา้ หมายในการเรยี นชดั เจน อาจ
มีแนวโน้มรับผิดชอบต่อการเรียนสูง ส่วนผู้เรียนที่ยังไม่มีเป้าหมายในการเลือกเรียนชัดเจน
อาจยังไม่มีความรับผิดชอบหรือต้ังใจเรียนมากเท่าที่ควร ข้อมูลดังกล่าวจะช่วยให้ครูใช้ปรับ

พฤตกิ รรมการเรยี นของผเู้ รยี น และวางแผนการสอนชดุ ที่ ๕ เรือ่ งโลกของงานได้

๒. ข้อมลู เก่ยี วกับบุคลกิ ภาพ

บคุ ลิกภาพของมนุษย์ เชน่ ความสูง กริ ยิ าทา่ ทาง นำ้ เสียง การพดู และลักษณะของรา่ งกาย
ถือเป็นปัจจัยพื้นฐานในการสร้างความมั่นใจให้เราสร้างความน่าเช่ือถือให้ผู้พบเห็น การรู้จัก
ดแู ลบุคลกิ ภาพ ความม่ันใจในบุคลิกภาพทด่ี ีเปน็ เรื่องทม่ี ีคณุ ค่าต่อตัวเราเอง ซึง่ บุคลิกภาพสว่ น

หน่ึงเป็นสงิ่ ทีต่ ิดตวั มา ในขณะที่อีกสว่ นหนง่ึ เราสรา้ งได้

การสอนให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าในบุคลิกภาพจึงเป็นการช่วยสร้างความม่ันใจ ความน่าเชื่อถือ
ข้อมูลดังกล่าวจึงช่วยให้ครูใช้ในการปรับทัศนคติต่อตนเอง และการวางแผนการสอนชุดที่ ๑
เรือ่ งคุณค่าภายในได้




86 | ชดุ กจิ กรรมและส่อื การเรยี นรูเ้ พื่อพฒั นาทกั ษะชวี ิตสำหรับเยาวชนอาชวี ศึกษา ชดุ ท่ี ๓ วิจารณญาณ

๓. ขอ้ มูลเก่ียวกับเพ่อื นสนทิ ในสถานศกึ ษา

เหตุผลในการเลือกคบเพื่อนจนเกิดความสนิทสนมจัดเป็นทักษะการสร้างความสัมพันธ์ และ
การยอมรบั ความเหมอื นหรอื ความตา่ งจากผอู้ นื่ ขอ้ มลู ดงั กลา่ วจงึ ชว่ ยใหค้ รใู ช้ในการปรบั ทศั นคติ

องผู้เรยี นตอ่ เพ่ือน และใชก้ ารวางแผนการสอนชุดท่ี ๒ เรื่องอยดู่ ้วยกนั ได้

๔. ขอ้ มูลเกีย่ วกบั พฤตกิ รรมเวลาโกรธ

พฤติกรรมทม่ี นษุ ย์แสดงออกอยา่ งเหมาะสมเวลาโกรธจดั นบั เปน็ ทกั ษะดา้ นการจดั การอารมณ์
ทจ่ี ะสง่ ผลลบตอ่ ตนเอง และผทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ งนอ้ ยทส่ี ดุ เทา่ ทจี่ ะกระทำได้ โดยทกั ษะนสี้ ามารถควบคมุ
ได้ถ้าคนเรารู้จักคิดอย่างมีวิจารณญาณ ดังนั้น ครูจึงสามารถใช้ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมเวลา
โกรธในแบบบนั ทกึ ขอ้ มลู ทว่ั ไปของผเู้ รยี นมาใชว้ างแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรชู้ ดุ ท่ี ๓ เรอื่ ง

จิ ารณญาณได้

๕. ข้อมูลเก่ยี วกับวธิ ีการกำจัดความเครียดของนักเรยี น

ชีวิตมีท้ังเร่ืองสุขและทุกข์ ท้ังสุขและทุกข์ถือเป็นแบบฝึกหัดของชีวิตทั้งส้ิน ความทุกข์อาจเกิด
จากหลายสาเหตุ สาเหตหุ นงึ่ คอื ความเครยี ด ความเครยี ดที่เกิดจากอุปสรรคต่างๆ การกำจัด
ความเครยี ดเปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ของการนำไปสกู่ ารแกป้ ญั หาและอปุ สรรคตา่ งๆ ในชวี ติ ได้ ครสู ามารถ
ใช้ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการกำจัดความเครียดของนักเรียนในแต่ละห้องเป็นแนวทางในการจัด

กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชดุ ที่ ๖ เรอื่ งเสน้ ทางชวี ติ ใหเ้ หมาะสมกบั ผเู้ รยี นทม่ี ลี กั ษณะทแ่ี ตกตา่ งกนั ได

อยา่ งไรกต็ ามครสู ามารถนำขอ้ มลู พน้ื ฐานนกั เรยี นมาใช้ได้ในภาพรวมของผเู้ รยี นทง้ั หอ้ ง โดยการ
จัดข้อมูลเป็นตารางในประเด็นต่างๆ และการใช้ข้อมูลของผู้เรียนแต่ละคนในการจัดกิจกรรม

การเรียนรเู้ พ่อื พัฒนาทักษะชีวติ ของผเู้ รียนได

นอกเหนอื จากขอ้ มลู นกั เรยี นทคี่ รจู ะสามารถนำมาใชเ้ ปน็ แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นรแู้ ลว้
ขอ้ มลู ทเ่ี ดก็ แสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั ครผู สู้ อนและกจิ กรรมของวชิ ากน็ า่ จะเปน็ ประโยชน์ในการ
พฒั นาแผนการสอน และพัฒนาความเปน็ ครขู องผ้สู อน เพอ่ื ใหเ้ ป็นไปตามยคุ สมัยของ

นักเรียนและทกั ษะการเรยี นรู้ในยคุ ปัจจบุ นั ของสงั คมได้อีกดว้ ย




ภาคผนวก | 87

ส่งแเบสบรทมิ ดชทุดสักทอษบี่ะ๓ชหีวลวิตงัจิ เกย


าารารวณรชว่ญนมอากาณิจชก
ีวรศรึกมษ



วทิ ยาลยั ...........................................................จังหวดั .................................................

วันท.่ี ...................เดอื น......................................................พ.ศ....................................
รหสั ประจำตวั ...........................................ระดบั ชั้น ¨ ปวช. ๑ ¨ ปวช. ๒ ¨ ปวช.๓




คำชี้แจง แบบประเมินหลังการร่วมกิจกรรมส่งเสริมทักษะชีวิตเยาวชนอาชีวศึกษา ชุดที่ ๓

วจิ ารณญาณ นี้ ต้องการสะท้อนความชัดเจนของผลลัพธ์การพฒั นานักเรียนในเรื่อง
การรบั รูค้ ณุ ค่าตนเอง การปรบั ตวั การตัดสนิ ใจ และการวางแผนชวี ิต ดังนน้ั จงึ ขอ
ความร่วมมือจากนักเรียนในการตอบคำถามทุกข้อตามความรู้สึกจริงๆ ของนักเรียน
ท้งั น้ี คำตอบใดในแบบประเมินชดุ นี้ ไม่มผี ลตอ่ การประเมนิ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
ของนักเรยี น แบบประเมินมที ้ังหมด ๖ หมวด



หมวดท่ี ๑ ความรู้

คำช้แี จง ใหน้ ักเรียนวงกลมรอบข้อท่ีนกั เรยี นคิดวา่ ถูกต้อง

๑. ข้อใดสง่ ผลใหเ้ กิดการคดิ ตดั สินใจที่ดี

ก. สญั ชาตญาณของมนุษย์

ข. ประสบการณ์ท่ีเกดิ ขึ้นในอดตี

ค. การไวเ้ นอื้ เชื่อใจผู้ใหญ ่

ง. ขอ้ มลู จากตนเองหรือคนรอบข้างท่ีมีการวิเคราะห์ถอดบทเรียนแล้ว




88 | ชดุ กิจกรรมและสอ่ื การเรยี นรู้เพือ่ พัฒนาทกั ษะชวี ติ สำหรับเยาวชนอาชีวศึกษา ชดุ ท่ี ๓ วิจารณญาณ

๒. ขอ้ ใดเป็นการแสดงการเคารพตนเอง (ตอบไดม้ ากกวา่ ๑ ขอ้ )

ก. การรู้จกั และเฝ้าระวังจติ ใจ รา่ งกายของตนเอง

ข. การเชอ่ื ฟงั รุน่ พ่ี หรือทำตามเพ่อื นเพื่อใหเ้ ป็นที่รัก

ค. การทำตามกระแสสงั คม ทง้ั ทางร่างกาย การแสดงบุคลิกทา่ ทาง การพูด


การแต่งตัว แมต้ วั เองอาจไม่ชอบทง้ั หมด

ง. การพดู แสดงหลกั การของตนเองให้ผูอ้ ื่นทราบอยา่ งสภุ าพ




หมวดที่ ๒ ทศั นคตแิ ละคา่ นยิ ม

คำชแ้ี จง นกั เรียนเหน็ ด้วยกับประโยคต่อไปนี้ในระดบั ใด ให้นกั เรียนเขยี นเครือ่ งหมาย ü ลง


ในชอ่ งทตี่ รงกบั ระดับความเหน็ ของนกั เรียนมากทีส่ ุด


ท่
ี ขอ้ ความ
ไมเ่ ห็น
ไมค่ ่อย
เห็น เหน็ ดว้ ย

ด้วยเลย
เห็นดว้ ย
ดว้ ย
มาก



การประสบความสำเร็จในชีวิตมาจากการ




วางแผนท่ดี ีดว้ ยตนเอง



การประสบความสำเร็จในชีวิตมาจากการ




ร้จู กั และยอมรบั ตนเอง


ภาคผนวก | 89

หมวดท่ี ๓ แบบประเมนิ สงั คมมติ

คำช้แี จง นักเรียนมีเพ่ือนที่นึกถึงเสมอ เมื่อนักเรียนมีปัญหาด้านต่างๆ ต่อไปน้ี ให้ทำ

เครือ่ งหมาย ü ลงใน ¨



ี่ เร่อื ง

ี ไม่ม


การเรยี น

¨
¨



การเงนิ
¨
¨


ครอบครวั
¨
¨


กฎหมาย
¨
¨



สุขภาพ
¨
¨



ภาพลักษณ
์ ¨
¨



คนรัก
¨
¨


พฤติกรรมการตดั สนิ ใจ
¨
¨


พฤติกรรมทางเพศ
¨
¨


๑๐
พฤตกิ รรมด้านอารมณ
์ ¨
¨


๑๑
พฤตกิ รรมการแกป้ ัญหา
¨
¨


๑๒
อ่นื ๆ ระบ.ุ ......................
¨
¨


90 | ชดุ กจิ กรรมและส่อื การเรยี นรู้เพือ่ พัฒนาทักษะชีวติ สำหรบั เยาวชนอาชีวศกึ ษา ชุดท่ี ๓ วิจารณญาณ

หมวดท่ี ๔ พฤตกิ รรมการเรยี นร้แู ละทกั ษะชีวิต

คำช้ีแจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบหรือระดับทักษะของการเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา

การสร้างสัมพันธ์ และการปรับตัวของนักเรียนมากที่สุด โดยทำเคร่ืองหมาย ü

ลงในช่องทีต่ รงกับลักษณะหรือระดบั ทักษะของนักเรยี น


๑. นกั เรียนคดิ วา่ ตนเองเรียนรู้ได้ดีทส่ี ดุ ด้วยวธิ ีใด

¨ การอา่ น ¨ การฟัง ¨ การคุยแลกเปลี่ยน

¨ การดูภาพ ¨ การลงมอื ทำด้วยตนเอง


๒. นกั เรียนคดิ ว่าตนเองมี “ความสามารถสื่อสาร” เรือ่ งตอ่ ไปนกี้ บั เพอ่ื นได้ในระดบั ใด



ท่
ี เรอ่ื งทสี่ อ่ื สารกับเพอ่ื น
ระดับการประเมนิ ตนเอง



ดมี าก
ดี
พอใช
้ ตอ้ งปรับปรุง


การเรยี น







ปญั หาตัวตนภาพลักษณส์ ่วนตัว






ปญั หาการเข้ากบั เพ่อื น







ปัญหาครอบครวั







๓. นักเรยี นคิดวา่ ตนเองมี “ทักษะการเจรจาต่อรอง” กับบุคคลตอ่ ไปน้ี ในระดับใด


ท่
ี เร่ืองท่ีส่ือสารกับเพือ่ น
ระดับการประเมนิ ตนเอง



ดีมาก

ี พอใช้
ต้องปรับปรงุ


ทกั ษะการเจรจาตอ่ รองกบั เพือ่ น






ทกั ษะการเจรจาตอ่ รองกบั พอ่ แม่






ทกั ษะการเจรจา่ ตอ่ รองกบั แฟน






ทกั ษะการเจรจาตอ่ รองกบั คนแปลกหนา้






ภาคผนวก | 91

๔. นักเรียนคิดวา่ ตนเองมี “ทักษะการแกป้ ญั หา” เรอ่ื งตอ่ ไปน้ี ในระดบั ใด



ี่ เรอ่ื งทสี่ ่ือสารกับเพื่อน
ระดบั การประเมินตนเอง



ดมี าก
ดี
พอใช
้ ตอ้ งปรบั ปรุง


ทักษะการแกป้ ัญหา “การเรยี น”






ทกั ษะการแกป้ ญั หา “ชีวติ สว่ นตวั ”






ทักษะการแกป้ ัญหา “เพื่อน”







ทกั ษะการแก้ปัญหา “ความรกั /แฟน”






ทักษะการแกป้ ญั หา “คร”ู







๕. นกั เรยี นคดิ ว่าตนเองมี “ทกั ษะการสรา้ งความสัมพันธ”์ กบั บคุ คลต่อไปน้ี ในระดับใด


ท่
ี เรอื่ งท่สี อื่ สารกบั เพื่อน
ระดบั การประเมนิ ตนเอง



ดมี าก
ดี
พอใช
้ ตอ้ งปรับปรุง



ทักษะการสร้างความสัมพันธ์กับ




“เพ่ือน”



ทกั ษะการสร้างความสัมพนั ธก์ บั





“รุ่นพ่”ี



ทกั ษะการสร้างความสัมพันธก์ ับ





“รนุ่ น้อง”



ทักษะการสรา้ งความสมั พนั ธ์กับ “คร/ู




ผู้ใหญ่”


92 | ชุดกจิ กรรมและสอ่ื การเรียนรเู้ พ่ือพฒั นาทกั ษะชีวิตสำหรับเยาวชนอาชีวศกึ ษา ชดุ ที่ ๓ วจิ ารณญาณ

๖. นักเรียนคิดวา่ ตนเองมี “ทักษะการปรับตัวหรอื ทำใจ” ในบคุ คลตอ่ ไปน้ี ในระดับใด


ที
่ เรือ่ งท่ีสอ่ื สารกับเพ่ือน
ระดับการประเมนิ ตนเอง



ดีมาก

ี พอใช้
ต้องปรับปรุง



ทักษะการปรับตวั หรือทำใจกบั




“เพ่อื น”



ทกั ษะการปรบั ตวั หรอื ทำใจกบั “ร่นุ พ่”ี







ทักษะการปรบั ตวั หรือทำใจกบั





“รนุ่ นอ้ ง”



ทักษะการปรับตัวหรือทำใจกับ “ครู/




ผู้ใหญ่”


๗. นกั เรียนคดิ ว่าตนเองมีทกั ษะในเรื่องต่อไปน้ี ในระดับใด



ท่ี
เรอ่ื งที่ส่อื สารกบั เพื่อน
ระดบั การประเมนิ ตนเอง



ดีมาก
ดี
พอใช
้ ต้องปรับปรงุ



ทักษะการนำเสนอตวั เอง







ทักษะการตดั สนิ ใจ






ภาคผนวก | 93

หมวดที่ ๕ ประสบการณ์ในภาพรวมชวี ติ ท่ผี ่านมาของนักเรยี น

คำช้แี จง ๕.๑ ให้นักเรยี นระบปุ ระสบการณต์ นเองในเรอ่ื งตอ่ ไปนี้ โดยทำเครอ่ื งหมาย ü ลง

ในช่องที่ตรงกับระดับประสบการณ์ท่ีเกิดข้ึน กรุณาให้ข้อมูลตามความเป็น


จริงมากทีส่ ดุ







ระดับประสบการณ์ท่ีเกดิ ขน้ึ

ที่
ประสบการณท์ เี่ กิดขนึ้
เกดิ เปน็ เกิด เกดิ บ้าง
ไมเ่ คยเกดิ

ประจำ
บอ่ ยๆ
เลย


การถูกเพอื่ นลอ้ เลียน








การทะเลาะกบั เพอื่ น







การถกู เพอ่ื นดถู กู หรอื ทำให้อบั อาย







การถกู เพ่ือนหรือคนรจู้ กั ทำรา้ ย







การถูกตำรวจจับ







การถกู คาดโทษจากผู้ใหญ่





หรือครูอาจารย์


การถกู รมุ ทำรา้ ยโดยรุ่นพ่ี รนุ่ น้อง







การชกตอ่ ย ตบตีกับเพอื่ น







การไดร้ บั ยกย่องชมเชยจากโรงเรยี น






๑๐
การได้รบั ยกยอ่ งชมเชยจากญาติ





พ่นี ้อง

๑๑
การไดร้ ับยกย่องชมเชยจากเพ่อื น






๑๒
การได้รับรางวลั จากโรงเรียนหรอื




สงั คมชมุ ชน


94 | ชดุ กจิ กรรมและส่อื การเรียนรูเ้ พือ่ พฒั นาทกั ษะชวี ิตสำหรับเยาวชนอาชวี ศกึ ษา ชุดที่ ๓ วจิ ารณญาณ

ระดบั ประสบการณท์ เ่ี กิดขึ้น


ี่ ประสบการณท์ ่ีเกดิ ข้ึน
เกิดเปน็ เกดิ เกิดบา้ ง
ไมเ่ คยเกดิ

ประจำ
บอ่ ยๆ
เลย

๑๓
การรสู้ กึ เบ่อื นอ้ ยใจในตนเอง






๑๔
การรสู้ กึ ว่าตนเองมีปัญหาในการอยู่




รว่ มกบั เพอ่ื น

๑๕
การรู้สึกวา่ ตนเองไมม่ ีอนาคต






๑๖
การรู้สกึ อยากหนีไปจากคนรอบขา้ ง






๑๗
การรสู้ กึ เปน็ ส่วนเกนิ ของคนรอบขา้ ง






๑๘
การรู้สกึ วา่ ตนเองดกี วา่ คนรอบขา้ ง






๑๙
การรสู้ กึ ถกู เอาเปรยี บ หลอกใช






๒๐
การรสู้ ึกอยากไดร้ ับการยอมรบั จาก




คนรอบข้าง


ภาคผนวก | 95

หมวดที่ ๖ การรับรแู้ ละพัฒนาตนเอง

คำช้ีแจง ๖.๑ ให้นักเรียนระบุความต้องการของตนเองในการพัฒนาทักษะต่อไปน้ี โดยใส่

หมายเลข ๑-๙ หน้าหัวขอ้ โดยเรยี งลำดับจาก ๑ คอื ทกั ษะท่ีตอ้ งการพฒั นา


มากที่สุด จนถึง ๙ คอื ทักษะท่ตี อ้ งการพัฒนาน้อยทส่ี ุด ตามลำดบั


.
......ทักษะการเรยี นรู้ในช้นั เรียน .......ทักษะการสือ่ สาร


.......ทกั ษะการแก้ปญั หา .......ทักษะการเรยี นร้จู ากสงั คม

.......ทักษะการตัดสนิ ใจ .......ทกั ษะการนำเสนอตนเอง


.......ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ .......ทกั ษะการเจรจาตอ่ รอง

.......ทักษะการสรา้ งความสมั พันธก์ ับผูอ้ น่ื


คำช้แี จง ๖.๒ ให้เรียนทำเคร่ืองหมายกากบาท (X) ลงในช่องตัวเลขที่แสดงระดับความเก่ง

ของตนเองในแตล่ ะด้าน โดย ๑ คอื ความเกง่ ระดับ “นอ้ ยทสี่ ุด” จนถงึ ๑๐

คือ ความเกง่ “มากที่สดุ ” ตามลำดบั



่ี ความเกง่ ในด้าน
น้อยท่ีสดุ ระดบั ความเก่ง มากที่สดุ


การใชภ้ าษา



การใหเ้ หตุผล









๑๐


ภาพ/พ้ืนท
ี่











ร่างกายและการเคล่อื นไหว


ดนตร












ความสัมพนั ธ


ความเขา้ ใจตนเอง












การรบั รธู้ รรมชาต





























































96 | ชดุ กิจกรรมและสอื่ การเรยี นร้เู พอ่ื พัฒนาทกั ษะชีวิตสำหรบั เยาวชนอาชีวศึกษา ชุดที่ ๓ วจิ ารณญาณ

แนวสค่งำเตสอรบมิ แทชบดุกั บษททะ่ี ๓ชดีวสวิตอจิ เบาย
รหาณลวชังญกนาอารณารช
ว่ วี มศกึกจิ ษการ
รม


หมวดท่ี ๑ ความร้



ี่ คำตอบ





ก | ง


หมวดที่ ๒ ทศั นคติและค่านยิ ม



ี่ ไม่เหน็ ด้วยเลย
ไม่คอ่ ยเหน็ ด้วย
เห็นดว้ ย
เห็นดว้ ยมาก














หมวดท่ี ๓ แบบประเมนิ สังคมมิต

ไม่มแี นวคำตอบ





มวดท่ี ๔ พฤตกิ รรมการเรียนรแู้ ละทกั ษะชวี ติ


๑. นกั เรียนคิดวา่ ตนเองเรยี นรู้ไดด้ ีที่สุดด้วยวธิ ีใด



การอา่ น
การฟัง
การคุยแลกเปลี่ยน
การดภู าพ
การลงมือทำดว้ ยตนเอง

คะแนน
















ภาคผนวก | 97

๒. นักเรยี นคิดว่าตนเองมี “ความสามารถสือ่ สาร” เรอื่ งตอ่ ไปน้กี บั เพอื่ นได้ในระดบั ใด




ี่ ระดับการประเมินตนเอง

ดมี าก

ี พอใช้
ตอ้ งปรบั ปรุง


























๓. นกั เรียนคิดว่าตนเองมี “ทักษะการเจรจาตอ่ รอง” กับบคุ คลต่อไปนี้ ในระดบั ใด




่ี ระดบั การประเมนิ ตนเอง

ดีมาก
ดี
พอใช้
ตอ้ งปรบั ปรุง


























๔. นกั เรยี นคดิ วา่ ตนเองมี “ทักษะการแก้ปัญหา” เรอ่ื งต่อไปน้ี ในระดับใด




่ี ระดับการประเมินตนเอง

ดมี าก

ี พอใช
้ ต้องปรับปรุง
































98 | ชดุ กจิ กรรมและสือ่ การเรยี นรเู้ พื่อพฒั นาทกั ษะชวี ิตสำหรับเยาวชนอาชีวศกึ ษา ชุดท่ี ๓ วจิ ารณญาณ


Click to View FlipBook Version