The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรียนบ้านม่วงดง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หลักสูตรสถานศึกษา (ระดับมัธยมศึกษา)

หลักสูตรสถานศึกษา ๒๕๖๒
โรงเรียนบ้านม่วงดง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐)

Keywords: หลักสูตรสถานศึกษา ๒๕๖๒



หลักสูตรมธั ยมศึกษาตอนต๎น โรงเรียนบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)



ความนา

กระทรวงศึกษาธิการได๎ประกาศใช๎มาตรฐานการเรียนรู๎และตัวช้ีวัด กลุํมสาระการเรียนรู๎คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ
สาระภูมิศาสตร์ในกลุํมสาระการเรียนร๎ูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ตามคาสั่งกระทรวงศกึ ษาธิการที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และ
คาสงั่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให๎เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนร๎ู
และตัวชี้วัด กลํุมสาระการเรียนร๎ูคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคาส่ังให๎โรงเรียนดาเนินการใช๎
หลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดยให๎ใช๎ในช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ตั้งแตํปี
การศึกษา ๒๕๖๑ เปน็ ต๎นมา ให๎เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนร๎ูเป็นเปูาหมาย
และกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู๎เรียนมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและ มีทักษะการเรียนร๎ูในศตวรรษท่ี ๒๑
เพ่ือใหส๎ อดคล๎องกับนโยบายและเปาู หมายของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

โรงเรยี นบ๎านมํวงดง จึงไดท๎ าการปรบั ปรุงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
๒๕๖๐ ในกลํุมสาระการเรียนร๎ูคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุํมสาระการเรียนรู๎สังคมศึกษา ศาสนา และ
วฒั นธรรม เพื่อนาไปใช๎ประโยชน์และเป็นกรอบในการวางแผนและพัฒนาหลักสตู รของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมี
เปูาหมายในการพัฒนาคุณภาพผ๎ูเรียน ให๎มีกระบวนการนาหลักสูตรไปสูํการปฏิบัติ โดยมีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย
สมรรถนะสาคัญของผู๎เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนร๎ูและตัวชี้วัด โครงสร๎างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์
การวัดประเมินผลให๎มคี วามสอดคลอ๎ งกบั มาตรฐานการเรยี นร๎ู เปิดโอกาสให๎โรงเรียนสามารถกาหนดทิศทางในการจัดทาหลักสูตร
การเรยี นการสอนในแตลํ ะระดบั ตามความพร๎อมและจดุ เนน๎ โดยมกี รอบแกนกลางเป็นแนวทางท่ชี ัดเจนเพอื่ ตอบสนองนโยบายไทย
แลนด์ ๔.๐ มคี วามพรอ๎ มในการกา๎ วสูํสังคมคุณภาพ มีความร๎ูอยาํ งแท๎จริง และมที กั ษะในศตวรรษท่ี ๒๑

มาตรฐานการเรียนรู๎และตัวชี้วัดที่กาหนดไว๎ในเอกสารน้ี ชํวยทาให๎หนํวยงานที่เก่ียวข๎อง ในทุกระดับเห็นผลคาดหวังท่ี
ต๎องการในการพัฒนาการเรียนร๎ูของผ๎ูเรียนท่ีชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถชํวยให๎หนํวยงานที่เกี่ยวข๎องในระดับท๎องถ่ินและ
สถานศึกษารํวมกันพัฒนาหลักสูตรได๎อยํางม่ันใจ ทาให๎การจัดทาหลักสูตรในระดับสถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพ
ย่ิงขนึ้ อีกทั้งยังชํวยให๎เกดิ ความชัดเจนเรื่องการวัดและประเมินผลการเรียนรู๎ และชํวยแก๎ปัญหาการเทียบโอนระหวํางสถานศึกษา
ดังนัน้ ในการพัฒนาหลักสูตรในทกุ ระดบั ตั้งแตํระดับชาติจนกระท่ังถึงสถานศึกษา จะต๎องสะท๎อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนร๎ู
และตัวช้ีวัดท่ีกาหนดไว๎ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งเป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และ
ครอบคลมุ ผเู๎ รียนทุกกลุมํ เปูาหมายในระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน

การจัดหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานจะประสบความสาเร็จตามเปูาหมายท่ีคาดหวังได๎ ทุกฝุาย ท่ีเกี่ยวข๎องท้ังระดับชาติ
ชมุ ชน ครอบครวั และบคุ คลตอ๎ งรวํ มรบั ผิดชอบ โดยรํวมกันทางานอยาํ งเป็นระบบ และตอํ เนอื่ ง ในการวางแผน ดาเนินการ สํงเสริม
สนบั สนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรงุ แกไ๎ ข เพอื่ พฒั นาเยาวชนของชาติไปสูคํ ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นร๎ทู ก่ี าหนดไว๎

การจัดทาหลักสตู รสถานศกึ ษาของโรงเรียนบ๎านมํวงดงครั้งน้ีได๎ดาเนินการเพื่อให๎สอดคล๎องกับนโยบายของสานักงานเขต
พ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาจงั หวัดอดุ รธานี เขต ๒ ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตามนโยบาย ๑๕+๑ ประกอบด๎วย (๑) อําน
ออก เขยี นได๎ (๒) คิดเลขเร็ว (๓) การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร (๔) สะเต็มศึกษา (STEM Education) (๕)
การยกระดับผลสัมฤทธิ์คุณภาพนักเรียน (๖) คํานิยมหลัก ๑๒ ประการ (๗) การพัฒนาครูท้ังระบบครบวงจร (๘) การพัฒนา
กระบวนการเรียนร๎ูด๎วย Active Learning (๙) ปูองกันและแก๎ไขปัญหายาเสพติด (๑๐) ลดอัตราการออกกลางคัน (๑๑)
เศรษฐกจิ พอเพียง (๑๒) การกระกันคณุ ภาพการศึกษา (๑๓) การวัดผลประเมินผล (๑๔) การแนะแนว (๑๕) ลูกเสือเข๎มแข็ง
และ (๑๖) โรงเรียนสวย ห๎องเรยี นงาม ผเ๎ู รียนคณุ ภาพ ตงั้ แตปํ กี ารศึกษา ๒๕๖๑ ให๎มีประสิทธิภาพและบรรลุเปูาหมายตอํ ไป

หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตน๎ โรงเรียนบ๎านมวํ งดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)



วสิ ทั ัศน์ พันธกิจ เปา้ หมาย

วิสัยทศั น์
ภายในปี ๒๕๖๔ โรงเรียนบ๎านมํวงดง มํุงเน๎นพฒั นาผูเ๎ รียนใหม๎ ีมาตรฐานด๎านความร๎ูพน้ื ฐานโดดเดํน ดา๎ นการคิด มีจิตรัก

การใฝุร๎ู เน๎นครสู ํผู ๎ูเรยี นเป็นสาคัญ บริหารรํวมสรา๎ งสรรค์ สมั พันธช์ มุ ชน ประสิทธผิ ลหลกั สูตร เชิดชคู ุณธรรม นอ๎ มนาเศรษฐกจิ
พอเพียงสูํการปฏบิ ตั ิ

พนั ธกิจ

๑. จดั กิจกรรมสงํ เสรมิ ให๎ผ๎เู รียนมคี วามรู๎และทกั ษะทจ่ี าเปน็ ตามหลักสูตรสถานศกึ ษา
๒. จดั กิจกรรมสํงเสริมให๎ผ๎เู รียนมีความสามารถในการคิดอยาํ งเปน็ ระบบ คดิ สรา๎ งสรรค์ ตัดสนิ ใจ
แกป๎ ัญหาไดอ๎ ยํางมสี ติสมเหตผุ ล
๓. จดั กิจกรรมสํงเสริมให๎ผ๎เู รียนมที กั ษะในการแสวงหาความรู๎ด๎วยตนเอง รักเรียนรู๎ และพัฒนา
ตนเองอยาํ งตอํ เนอื่ ง
๔. สงํ เสริมและพฒั นาสถานศึกษาใหม๎ ีการจดั หลกั สตู รและกระบวนการเรียนการสอนทีเ่ น๎นผูเ๎ รยี น
เป็นสาคญั
๕. สํงเสรมิ และพัฒนาใสถานศกึ ษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู๎เรยี นอยาํ งหลากหลายและ
ใช๎แหลงํ เรยี นรู๎

เปา้ หมาย
๑. ผ๎ูเรียนมีความร๎ูและทักษะท่จี าเปน็ ตามหลกั สูตรสถานศึกษา
๒. ผู๎เรยี นมคี วามสามารถในการคิดอยํางเปน็ ระบบ คิดสร๎างสรรค์ ตัดสนิ ใจ แกป๎ ัญหาได๎

อยาํ งมีสติสมเหตผุ ล
๓. ผ๎เู รียนมีทกั ษะในการแสวงหาความรดู๎ ว๎ ยตนเอง รักเรยี นรู๎ และพัฒนาตนเองตอํ เน่อื ง
๔. สถานศึกษามีการจัดหลกั สูตรและกระบวนการเรียนการสอนท่ีเน๎นผเ๎ู รียนเป็นสาคัญ
๕. ครจู ัดการเรยี นการสอนทีเ่ น๎นผเ๎ู รียนเปน็ สาคัญ
๖. สถานศกึ ษามกี ารใช๎แหลํงเรยี นรู๎พฒั นาคณุ ภาพผ๎เู รยี นอยํางค๎ุมคํา
๗. ผ๎ูมสี วํ นเก่ียวขอ๎ งทุกฝุายมีสวํ นรวํ มในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
๘. สถานศึกษามสี ภาพแวดลอ๎ ม เอื้อตอํ การเรยี นรู๎ มคี วามสะอาด รํมร่นื และมคี วามปลอดภัย

สมรรถนะสาคัญของผู๎เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ในการพัฒนาผู๎เรียนตามหลักสูตรโรงเรียนบ๎านมํวงดง พุทธศักราช ๒๕๕๓ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ มุํงเน๎นพัฒนาผ๎ูเรียนให๎มีคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกาหนด ซ่ึงจะชํวยให๎ผู๎เรียน
เกดิ สมรรถนะสาคัญและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ดังน้ี

สมรรถนะสาคญั ของผ๎ูเรยี น

หลักสูตรโรงเรยี นบ๎านมวํ งดง พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ มํงุ ใหผ๎ ๎เู รยี นเกดิ สมรรถนะสาคญั ๕ ประการ ดงั นี้
๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและสํงสาร มีวัฒนธรรมในการใช๎ภาษาถํายทอดความคิด
ความรู๎ความเข๎าใจ ความร๎ูสึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข๎อมูลขําวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ตํอการ
พฒั นาตนเองและสังคม การเลอื กรับหรอื ไมรํ บั ขอ๎ มูลขําวสารดว๎ ยหลกั เหตุผลและความถูกตอ๎ ง ตลอดจนการเลอื กใช๎วธิ ีการส่ือสาร ท่ี
มีประสิทธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบที่มีตํอตนเองและสงั คม

หลักสูตรมธั ยมศึกษาตอนต๎น โรงเรียนบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)



๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อยํางสร๎างสรรค์ การคิด
อยํางมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพอื่ นาไปสูํการสรา๎ งองค์ความรห๎ู รือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคม
ได๎อยาํ งเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก๎ปญั หา เปน็ ความสามารถในการแกป๎ ัญหาและอุปสรรคตําง ๆ ท่เี ผชิญไดอ๎ ยาํ งถูกต๎องเหมาะสม
บนพื้นฐานของหลกั เหตผุ ล คณุ ธรรมและขอ๎ มูลสารสนเทศ เข๎าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ตําง ๆ ในสังคม
แสวงหาความร๎ู ประยุกต์ความร๎ูมาใช๎ในการปูองกันและแก๎ไขปัญหา และมีกาตัดสินใจท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่
เกิดข้นึ ตํอตนเอง สงั คมและสิง่ แวดล๎อม

๔. ความสามารถในการใช๎ทกั ษะชวี ิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการตําง ๆ ไปใช๎ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การ
เรยี นร๎ูด๎วยตนเอง การเรียนรอู๎ ยํางตํอเนือ่ ง การทางาน และการอยํูรํวมกนั ในสังคมด๎วยการสร๎างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหวํางบุคคล
การจดั การปญั หาและความขดั แยง๎ ตาํ ง ๆ อยํางเหมาะสม การปรับตัวให๎ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล๎อม และ
การรจู๎ กั หลกี เลยี่ งพฤตกิ รรมไมํพึงประสงค์ทสี่ ํงผลกระทบตํอตนเองและผู๎อื่น

๕. ความสามารถในการใชเ๎ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช๎ เทคโนโลยีด๎านตําง ๆ และมีทักษะกระบวนการ
ทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด๎านการเรียนร๎ู การสื่อสาร การทางาน การแก๎ปัญหาอยํางสร๎างสรรค์ ถูกต๎อง
เหมาะสม และมีคุณธรรม

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
หลักสูตรโรงเรียนบ๎านมํวงดง พุทธศักราช ๒๕๖๐ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มํุง

พฒั นาผเ๎ู รยี นใหม๎ คี ณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ เพือ่ ใหส๎ ามารถอยรํู ํวมกับผ๎ูอน่ื ในสังคมได๎อยํางมีความสุข ในฐานะพลเมืองไทยและพล
โลก ดังน้ี

๑. รกั ษช์ าติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซื่อสตั ยส์ จุ ริต
๓. มวี ินัย
๔. ใฝเุ รียนร๎ู
๕. อยูอํ ยํางพอเพยี ง
๖. มุงํ มนั่ ในการทางาน
๗. รกั ความเปน็ ไทย
๘. มจี ติ เปน็ สาธารณะ

หลักสตู รมธั ยมศกึ ษาตอนตน๎ โรงเรียนบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)



มาตรฐานการเรียนรู๎

การพฒั นาผ๎เู รียนใหเ๎ กิดความสมดลุ ต๎องคานึงถึงหลกั พฒั นาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พน้ื ฐาน จงึ กาหนดให๎ผู๎เรยี นเรียนรู๎ ๘ กลมํุ สาระการเรยี นรู๎ ดังน้ี

๑. ภาษาไทย
๒. คณติ ศาสตร์
๓. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๔. สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
๕. สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา
๖. ศลิ ปะ
๗. การงานอาชีพ
๘. ภาษาตํางประเทศ
ในแตํละกลุมํ สาระการเรียนร๎ไู ด๎กาหนดมาตรฐานการเรียนร๎ูเป็นเปูาหมายสาคัญของการพัฒนา คุณภาพผ๎ูเรียน มาตรฐาน
การเรียนรู๎ระบสุ ่ิงทผี่ ๎ูเรียนพึงร๎ู ปฏบิ ตั ไิ ด๎ มคี ณุ ธรรมจริยธรรม และคํานิยม ท่ี พงึ ประสงคเ์ มือ่ จบการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน นอกจากน้ัน
มาตรฐานการเรยี นรู๎ยังเปน็ กลไกสาคัญ ในการขบั เคลื่อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนร๎ูจะสะท๎อนให๎ทราบ
วาํ ต๎องการอะไร จะสอน อยาํ งไร และประเมินอยํางไร รวมท้งั เปน็ เครอื่ งมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาโดย
ใช๎ระบบการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซ่ึงรวมถึงการทดสอบระดับเขต พ้ืนท่ีการศึกษา และการ
ทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพ่ือประกันคุณภาพดังกลําวเป็นส่ิงสาคัญท่ี ชํวยสะท๎อนภาพการจัดการศึกษาวําสามารถ
พฒั นาผเู๎ รยี นใหม๎ คี ุณภาพตามทีม่ าตรฐานการเรียนรก๎ู าหนดเพยี งใด
หลกั สูตรได๎มีการกาหนดรหสั กากบั มาตรฐานการเรยี นรู๎และตวั ชี้วัด เพื่อความเข๎าใจและให๎สอ่ื สารตรงกัน ดังนี้ (ตัวอยาํ ง)

ท ๑.๑ ม. ๑/๒
ท กลมํุ สาระการเรียนร๎ูภาษาไทย
๑.๑ สาระที่ ๑ มาตรฐานข๎อท่ี ๑
ม. ๑/๒ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ตัวชีว้ ัดข๎อท่ี ๒

หลักสตู รมธั ยมศกึ ษาตอนตน๎ โรงเรยี นบ๎านมวํ งดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)



สาระและมาตรฐานการเรยี นร๎ู

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานกาหนดมาตรฐานการเรียนร๎ูใน ๘ กลํุมสาระการเรยี นร๎ู
จานวน ๕๗ มาตรฐาน ดังน้ี

กลํมุ สาระการเรยี นรู๎ภาษาไทย

สาระที่ ๑ การอาํ น
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช๎กระบวนการอํานสร๎างความรู๎และความคิดเพ่ือนาไปใชต๎ ดั สินใจ

แกป๎ ัญหาในการดาเนนิ ชวี ิตและมนี ิสยั รักการอาํ น
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช๎กระบวนการเขียน เขยี นส่อื สาร เขียนเรยี งความ ยํอความ และเขียน

เรอื่ งราวในรูปแบบตาํ งๆ เขียนรายงานขอ๎ มลู สารสนเทศและรายงาน
การศึกษาค๎นคว๎าอยาํ งมีประสิทธภิ าพ
สาระท่ี ๓ การฟงั การดู และการพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงั และดูอยํางมวี ิจารณญาณ และพูดแสดงความรู๎ ความคิด
ความรู๎สึกในโอกาสตํางๆ อยาํ งมีวิจารณญาณ และสรา๎ งสรรค์
สาระที่ ๔ หลกั การใชภ๎ าษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข๎าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษา
และพลงั ของภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไวเ๎ ปน็
สมบัตขิ องชาติ
สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข๎าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณว์ รรณคดี และวรรณกรรมไทย
อยาํ งเหน็ คณุ คําและนามาประยุกตใ์ ชใ๎ นชีวติ จริง

หลกั สตู รมัธยมศึกษาตอนต๎น โรงเรยี นบ๎านมวํ งดง ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)



กลมํุ สาระการเรียนรู๎คณติ ศาสตร์

สาระท่ี ๑ จานวนและพีชคณติ

มาตรฐาน ค ๑.๑ เข๎าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของ

จานวน ผลท่ีเกดิ ขนึ้ จากการดาเนนิ การ สมบัติของการดาเนนิ การ และนาไปใช๎

มาตรฐาน ค ๑.๒ เข๎าใจและวิเคราะหแ์ บบรูป ความสัมพนั ธ์ ฟังก์ชนั ลาดบั และอนุกรม และนาไปใช๎ มาตรฐาน ค ๑.๓

ใช๎นพิ จน์ สมการ อสมการ และเมทริกซ์ อธบิ ายความสมั พันธ์ หรอื ชํวยแก๎ปญั หาที่

กาหนดให๎

หมายเหตุ: มาตรฐาน ค ๑.๓ สาหรบั ผ๎เู รียนในระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖

สาระท่ี ๒ การวัดและเรขาคณิต

มาตรฐาน ค ๒.๑ เข๎าใจพน้ื ฐานเก่ยี วกับการวัด วดั และคาดคะเนขนาดของส่งิ ทต่ี ๎องการวัด และนาไปใช๎ มาตรฐาน

ค ๒.๒ เข๎าใจและวิเคราะห์รปู เรขาคณิต สมบตั ิของรูปเรขาคณิต ความสัมพนั ธร์ ะหวาํ งรูป

เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช๎

มาตรฐาน ค ๒.๓ เข๎าใจเรขาคณิตวิเคราะห์ และนาไปใช๎

มาตรฐาน ค ๒.๔ เขา๎ ใจเวกเตอร์ การดาเนินการของเวกเตอร์ และนาไปใช๎

หมายเหตุ: ๑. มาตรฐาน ค ๒.๑ และ ค ๒.๒ สาหรบั ผ๎เู รยี นในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถงึ

ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓

๒. มาตรฐาน ค ๒.๓ และ ค ๒.๔ สาหรับผูเ๎ รยี นในระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๔ – ๖ ทเ่ี นน้

วิทยาศาสตร์

สาระท่ี ๓ สถิติและความนาํ จะเปน็

มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา๎ ใจกระบวนการทางสถิติ และใช๎ความรทู๎ างสถิติในการแกป๎ ัญหา

มาตรฐาน ค ๓.๒ เข๎าใจหลักการนับเบอื้ งต๎น ความนําจะเปน็ และนาไปใช๎

หมายเหตุ: ค ๓.๒ สาหรับผู๎เรียนในระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ – ๖

หลักสตู รมัธยมศกึ ษาตอนตน๎ โรงเรยี นบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)



กลมํุ สาระการเรยี นรู๎วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

สาระท่ี ๑ วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เขา๎ ใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสมั พันธ์ระหวาํ งส่ิงไมํมีชีวิตกับส่งิ มชี วี ติ

และความสัมพันธ์ระหวํางสิง่ มชี ีวติ กับสิ่งมีชวี ติ ตําง ๆ ในระบบนิเวศ การถํายทอด
พลงั งานการเปลยี่ นแปลงแทนทใ่ี นระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหา
และผลกระทบทีม่ ีตอํ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ๎ ม แนวทางในการอนรุ กั ษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและการแกไ๎ ขปญั หาสิ่งแวดลอ๎ มรวมทั้งนาความร๎ูไปใช๎ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๒
เข๎าใจสมบัติของสงิ่ มีชีวติ หนํวยพ้ืนฐานของสงิ่ มชี ีวิต การลาเลยี งสารเข๎าและออกจาก
เซลล์ ความสัมพนั ธข์ องโครงสร๎าง และหน๎าท่ีของระบบตําง ๆ ของสตั ว์และมนษุ ย์
ที่ทางานสัมพันธก์ นั ความสมั พนั ธ์ของโครงสร๎าง และหน๎าที่ของอวยั วะตาํ ง ๆ
ของพืชที่ทางานสัมพันธก์ นั รวมท้งั นาความรู๎ไปใชป๎ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๑.๓ เข๎าใจกระบวนการและความสาคัญของการถาํ ยทอดลักษณะทางานพนั ธุกรรม
สารพนั ธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมทม่ี ีผลตอํ สง่ิ มชี วี ติ ความหลากหลาย
ทางชวี ภาพและววิ ัฒนาการ ของสง่ิ มีชวี ติ รวมทงั้ นาความรู๎ไปใช๎ประโยชน์
หมายเหตุ: มาตรฐาน ว ๑.๑– ว ๑.๓ สาหรบั ผู๎เรยี นในระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถึงระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ และผู๎เรียน
ในระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔ – ๖ ที่ไม่เนน้ วทิ ยาศาสตร์
สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข๎าใจสมบตั ขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธ์ระหวํางสมบตั ิของสสาร
กับโครงสรา๎ งและแรงยึดเหนย่ี วระหวํางอนภุ าค หลกั และธรรมชาติของการ
เปล่ียนแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี มาตรฐาน ว ๒.๒
เข๎าใจธรรมชาติของแรงในชวี ติ ประจาวัน ผลของแรงทีก่ ระทาตอํ วัตถุ ลักษณะการ
เคลือ่ นท่ีแบบตําง ๆ ของวัตถุ รวมทั้งนาความรไ๎ู ปใชป๎ ระโยชน์
มาตรฐาน ว ๒.๓ เข๎าใจความหมายของพลงั งาน การเปลี่ยนแปลงและการถํายโอนพลงั งาน ปฏิสมั พนั ธ์
ระหวํางสสารและพลงั งาน พลังงานในชีวติ ประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์
ที่เกี่ยวข๎องกับเสยี ง แสง และคล่นื แมเํ หลก็ ไฟฟาู รวมท้ังนาความร๎ูไปใชป๎ ระโยชน์
หมายเหตุ: มาตรฐาน ว ๒.๑ – ว ๒.๓ สาหรบั ผู๎เรยี นในระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถึงระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ และผ๎เู รียน
ในระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๔ – ๖ ท่ีไมเ่ น้นวิทยาศาสตร์
สาระที่ ๓ วิทยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข๎าใจองคป์ ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และวิวฒั นาการของเอกภพ กาแล็กซี
ดาวฤกษ์และระบบสุริยะ รวมทง้ั ปฏิสัมพนั ธ์ภายในระบบสรุ ยิ ะที่สงํ ผลตํอสิ่งมีชีวิตและ
การประยุกตใ์ ช๎เทคโนโลยอี วกาศ

มาตรฐาน ว ๓.๒ เขา๎ ใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลงภายใน

โลก และบนผวิ โลก ธรณีพิบตั ภิ ยั กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟูาอากาศและ
ภมู อิ ากาศโลก รวมทัง้ ผลตอํ ส่ิงมชี วี ิตและสิง่ แวดล๎อม

หมายเหตุ: มาตรฐาน ว ๓.๑ – ว ๓.๒ สาหรบั ผเ๎ู รียนทกุ คนในระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ถงึ ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ และ
ผเู๎ รยี นในระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๔ – ๖ ท่ไี ม่เนน้ วิทยาศาสตร์

หลกั สตู รมัธยมศึกษาตอนต๎น โรงเรียนบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)



สาระที่ ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๑ เขา๎ ใจแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยีเพ่ือการดารงชีวิตในสงั คมที่มกี ารเปลีย่ นแปลง

อยํางรวดเร็ว ใช๎ความร๎ูและทกั ษะทางดา๎ นวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตร์
อื่น ๆ เพือ่ แก๎ปัญหา หรือ พัฒนางานอยํางมคี วามคิดสรา๎ งสรรคด์ ว๎ ยกระบวนการ
ออกแบบเชงิ วิศวกรรม เลือกใชเ๎ ทคโนโลยีอยํางเหมาะสมโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบ
ตํอชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอ๎ ม
มาตรฐาน ว ๔.๒ เข๎าใจและใช๎แนวคดิ เชงิ คานวณในการแกป๎ ัญหาท่พี บในชีวิตจริงอยาํ งเป็นขั้นตอนและ
เปน็ ระบบ ใชเ๎ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารในการเรียนรู๎ การทางาน และ
การแกป๎ ัญหาได๎อยํางมี ประสิทธิภาพ รูเ๎ ทําทัน และมจี รยิ ธรรม

หมายเหตุ: มาตรฐาน ว ๔.๑ สาหรบั ผเู๎ รยี นในระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖

หลกั สตู รมัธยมศกึ ษาตอนตน๎ โรงเรยี นบ๎านมวํ งดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๐

กลมํุ สาระการเรียนรู๎สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

สาระท่ี ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู๎ และเข๎าใจประวตั ิ ความสาคญั ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือ

ศาสนาทตี่ นนับถือและศาสนาอนื่ มศี รทั ธาที่ถูกตอ๎ ง ยึดมนั่ และปฏิบัตติ าม
หลกั ธรรม เพื่อยรํู วํ มกันอยํางสันติสุข
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข๎าใจ ตระหนกั และปฏิบัตติ นเป็นศาสนกิ ชนทด่ี ีและธารงรกั ษาพระพทุ ธศาสนา
หรอื ศาสนาท่ีตนนับถือ
สาระที่ ๒ หนา๎ ที่พลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชีวิตในสงั คม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เขา๎ ใจและปฏบิ ัตติ นตามหนา๎ ทีข่ องการเป็นพลเมอื งดี มคี ํานยิ มท่ีดงี าม
และธารงรกั ษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยูํรํวมกันใน
สังคมไทย และสงั คมโลกอยํางสนั ติสุข
มาตรฐาน ส ๒.๒ เขา๎ ใจระบบการเมืองการปกครองในสงั คมปจั จุบนั ยึดม่ัน ศรัทธาและธารงรักษา
ไว๎ซงึ่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ

สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข๎าใจและสามารถบรหิ ารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบรโิ ภค

การใช๎ ทรพั ยากรทมี่ อี ยูํจากดั ได๎อยํางมปี ระสิทธิภาพและคม๎ุ คํา รวมทั้งเขา๎ ใจ
หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชวี ติ อยาํ งมีดลุ ยภาพ
มาตรฐาน ส ๓.๒ เขา๎ ใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจตาํ ง ๆ ความสัมพันธท์ างเศรษฐกิจและ
ความจาเปน็ ของการรํวมมอื กนั ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
สาระที่ ๔ ประวตั ิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เขา๎ ใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์
สามารถใชว๎ ธิ กี ารทางประวัติศาสตรม์ าวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณ์ตํางๆ อยํางเป็นระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข๎าใจพัฒนาการของมนษุ ยชาตจิ ากอดตี จนถึงปัจจบุ ัน ในด๎านความสมั พันธแ์ ละ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณอ์ ยาํ งตํอเนือ่ ง ตระหนักถงึ ความสาคัญและสามารถ
วิเคราะห์ผลกระทบทเ่ี กิดข้ึน
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข๎าใจความเปน็ มาของชาตไิ ทย วฒั นธรรม ภูมิปญั ญาไทย มคี วามรกั ความภูมใิ จ
และธารงความเปน็ ไทย

สาระท่ี ๕ ภูมศิ าสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข๎าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสมั พันธ์ของสรรพสง่ิ ซง่ึ มีผลตอํ กัน

ใชแ๎ ผนท่ีและเคร่อื งมอื ทางภมู ิศาสตร์ ในการคน๎ หาขอ๎ มลู วิเคราะห์ และสรุป ข๎อมูล
ตามกระบวนการทางภูมศิ าสตร์ ตลอดจนใช๎ภูมิสารสนเทศอยํางมี ประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ส ๕.๒ เขา๎ ใจปฏิสัมพันธ์ระหวํางมนุษยก์ บั สิ่งแวดลอ๎ มทางกายภาพทก่ี ํอใหเ๎ กิด
สรา๎ งสรรค์วถิ กี ารดาเนนิ ชีวิต มจี ติ สานึก และมสี วํ นรํวมในการจัดการทรพั ยากร
ทางธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ๎ ม เพ่ือการพฒั นาทยี่ ่งั ยืน

หลกั สตู รมธั ยมศกึ ษาตอนตน๎ โรงเรยี นบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑

กลํุมสาระการเรยี นรู๎สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา

สาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา๎ ใจธรรมชาติของการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์

สาระที่ ๒ ชีวติ และครอบครวั
มาตรฐาน พ ๒.๑ เข๎าใจและเหน็ คณุ คําตนเอง ครอบครวั เพศศึกษา และมที กั ษะในการดาเนินชีวิต

สาระที่ ๓ การเคลือ่ นไหว การออกก าลังกาย การเลนํ เกม กีฬาไทย และกฬี าสากล
มาตรฐาน พ ๓.๑ เข๎าใจ มีทกั ษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลํนเกม และ กฬี า
มาตรฐาน พ ๓.๒ รกั การออกกาลงั กาย การเลํนเกม และการเลนํ กฬี า ปฏิบัตเิ ปน็ ประจาอยาํ ง

สม่าเสมอ มีวนิ ัย เคารพสทิ ธิ กฎ กตกิ า มนี า้ ใจนกั กีฬามจี ิตวญิ ญาณในการ
แขงํ ขนั และช่ืนชมในสุนทรยี ภาพของการกฬี า

สาระท่ี ๔ การสรา๎ งเสรมิ สขุ ภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค
มาตรฐาน พ ๔.๑ เหน็ คุณคําและมีทักษะในการสรา๎ งเสริมสุขภาพ การดารงสขุ ภาพ การปูองกนั โรค

และการสร๎างเสรมิ สมรรถภาพเพ่อื สขุ ภาพ

สาระท่ี ๕ ความปลอดภัยในชวี ิต
มาตรฐาน พ ๕.๑ ปูองกันและหลกี เลีย่ งปัจจยั เสย่ี ง พฤตกิ รรมเสีย่ งตํอสุขภาพ อบุ ัติเหตุ

การใชย๎ าสารเสพติด และความรุนแรง

หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต๎น โรงเรียนบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๒

กลุมํ สาระการเรยี นรู๎ศลิ ปะ

สาระท่ี ๑ ทัศนศลิ ป์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สรา๎ งสรรค์งานทศั นศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสรา๎ งสรรค์

วิเคราะห์วิพากษ์วิจารณ์คณุ คํางานทศั นศิลป์ ถํายทอดความรสู๎ ึกความคิดตํอ
งานศิลปะอยาํ งอสริ ะ ช่ืนชม และประยกุ ต์ใชใ๎ นชีวิตประจาวัน
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข๎าใจความสมั พันธ์ระหวํางทัศนศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณคํางาน
ทัศนศิลปท์ เี่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปัญญาทอ๎ งถน่ิ ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล

สาระท่ี ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข๎าใจและแสดงออกทางดนตรอี ยาํ งสร๎างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณ์คุณคํา

ดนตรถี ํายทอดความร๎ูสึก ความคิดตอํ ดนตรีอยํางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใ์ ช๎
ในชีวิตประจาวนั
มาตรฐาน ศ ๒.๒ เขา๎ ใจความสัมพันธร์ ะหวาํ งดนตรี ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คณุ คาํ ของ
ดนตรที ่ีเปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาทอ๎ งถน่ิ ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล

สาระท่ี ๓ นาฏศลิ ป์
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข๎าใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อยํางสรา๎ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์คณุ คํา

นาฏศิลปถ์ ํายทอดความร๎ูสึก ความคดิ ตอํ ดนตรีอยํางอิสระ ชนื่ ชม และประยุกต์ใช๎
ในชีวิตประจาวนั
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข๎าใจความสมั พันธ์ระหวํางนาฏศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคณุ คําของ
นาฏศิลปท์ ่เี ป็น มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปัญญาท๎องถิน่ ภูมปิ ัญญาไทยและสากล

หลักสตู รมัธยมศึกษาตอนตน๎ โรงเรียนบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๓

กลํุมสาระการเรียนรู๎การงานอาชพี

สาระที่ ๑ การดารงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง ๑.๑ เข๎าใจการทางาน มคี วามคิดสรา๎ งสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน

ทกั ษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก๎ปัญหา ทกั ษะการท างานรวํ มกนั
และทักษะ การแสวงหาความรู๎ มีคุณธรรม และลกั ษณะนิสัยในการทางาน
มีจิตสานกึ ในการใช๎พลงั งาน ทรพั ยากรและส่ิงแวดลอ๎ ม เพอ่ื การดารงชวี ิต
และครอบครวั

สาระที่ ๒ การอาชีพ
มาตรฐาน ง ๒.๑ เข๎าใจ มีทกั ษะทจ่ี าเป็น มีประสบการณ์ เหน็ แนวทางในงานอาชีพ

ใช๎เทคโนโลยี เพ่ือพัฒนาอาชีพ มีคณุ ธรรม และมีเจตคติท่ดี ีตอํ อาชีพ

หลกั สตู รมธั ยมศึกษาตอนต๎น โรงเรียนบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๔

กลุมํ สาระการเรยี นร๎ูภาษาตาํ งประเทศ

สาระที่ ๑ ภาษาเพอื่ การส่อื สาร
มาตรฐาน ต ๑.๑ เข๎าใจและตีความเร่อื งท่ีฟังและอาํ นจากสือ่ ประเภทตาํ งๆ และแสดงความ

คดิ เห็นอยาํ งมีเหตุผล
มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการส่ือสารทางภาษาในการแลกเปลย่ี นขอ๎ มูลขําวสาร แสดงความรู๎สึก

และความคิดเหน็ อยาํ งมปี ระสิทธิภาพ
มาตรฐาน ต ๑.๓ นาเสนอข๎อมลู ขําวสาร ความคดิ รวบยอด และความคิดเห็นในเรอื่ งตาํ งๆ โดย

การพูดและการเขียน

สาระท่ี ๒ ภาษาและวฒั นธรรม
มาตรฐาน ต ๒.๑ เขา๎ ใจความสัมพนั ธ์ระหวาํ งภาษากบั วัฒนธรรมของเจ๎าของภาษา และนาไปใช๎

ไดอ๎ ยาํ งเหมาะสมกบั กาลเทศะ
มาตรฐาน ต ๒.๒ เข๎าใจความเหมือนและความแตกตํางระหวํางภาษาและวัฒนธรรมของ

เจา๎ ของภาษากับภาษาและวฒั นธรรมไทย และนามาใช๎อยํางถูกต๎องและ
เหมาะสม

สาระที่ ๓ ภาษากบั ความสัมพันธ์กบั กลุํมสาระการเรียนรอ๎ู นื่
มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช๎ภาษาตํางประเทศในการเชื่อมโยงความรกู๎ บั กลุมํ สาระการเรียนร๎อู ื่น และ เปน็

พื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความร๎ู และเปดิ โลกทศั น์ของตน

สาระท่ี ๔ ภาษากบั ความสัมพันธก์ บั ชมุ ชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.๑ ใชภ๎ าษาตาํ งประเทศในสถานการณต์ ํางๆ ทั้งในสถานศึกษา ชมุ ชน และสังคม
มาตรฐาน ต ๔.ป๒ ใชภ๎ าษาตํางประเทศเป็นเครื่องมือพนื้ ฐานในการศึกษาตอํ การประกอบอาชีพและ

การแลกเปลีย่ นเรยี นรู๎กับสงั คมโลก

หลกั สูตรมัธยมศกึ ษาตอนตน๎ โรงเรียนบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๕

โครงสรา๎ งเวลาเรยี นระดับมัธยมศกึ ษา

เวลาเรยี น (ชว่ั โมง/ปี)

กลมุํ สาระการเรียนร๎/ู กิจกรรม ระดบั มัธยมศึกษาตอนต๎น

 กลุํมสาระการเรยี นรู๎ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓

ภาษาไทย ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
คณติ ศาสตร์ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.)
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑๒๐ (๓นก.) ๑๒๐ (๓นก.) ๑๒๐ (๓นก.)
o สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.)
- ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
- หน๎าที่พลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชวี ิตใน ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
สังคม ๔๐ (๑นก.) ๔๐ (๑นก.) ๔๐ (๑นก.)
- ภูมศิ าสตร์ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
- เศรษฐศาสตร์ ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.)
o ประวัติศาสตร์
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
สุขศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐
ศิลปะ
๔๐ ๔๐ ๔๐
การงานอาชพี ๒๕ ๒๕ ๒๕
ภาษาตาํ งประเทศ ๑๕ ๑๕ ๑๕
๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐
รวมเวลาเรียน (พ้นื ฐาน)
 กิจกรรมพฒั นาผูเ๎ รยี น บูรณาการ บูรณาการ บูรณาการ
จานวน ๑,๒๐๐ ชัว่ โมง/ปี
oกจิ กรรมแนะแนว
oกจิ กรรมนักเรียน

- ลกู เสือ-เนตรนารี

- ชมุ นุม
o กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและ สาธารณประโยชน์

 รายวชิ า/กิจกรรมทส่ี ถานศกึ ษาจดั เพ่มิ เติมตามความ
พรอ๎ มและจุดเนน๎
กิจกรรมเพม่ิ เวลารู๎

รวมเวลาเรียนทัง้ หมด

หลักสูตรมัธยมศกึ ษาตอนต๎น โรงเรยี นบ๎านมวํ งดง ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๖

จานวนช่ัวโมงท่ีจัดให๎นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต๎น ( ม.๑-ม.๓) เทํากับ ๑,๒๐๐ ชั่วโมงช่ัวโมง แผนการเรียนรู๎/
จดุ เน๎นการพฒั นาผเู๎ รียนทตี่ อ๎ งการเน๎นให๎ผูเ๎ รียนมคี วามรบั ผิดชอบทีจ่ ะใหแ๎ นวทางทีเ่ หมาะสมแกํผ๎ูเรียนแตํละคน การศึกษาในระดับ
นี้เป็นการปูพ้ืนฐานวิชาชีพให๎ผู๎เรียนในการไปประกอบอาชีพหรือศึกษาตํอ ตามสิ่งที่ตนเองสนใจและถนัด เลือกอาชีพท่ีเป็น
ประโยชน์ตํอตนเองและสังคมเมือ่ จบมัธยมศึกษาตอนตน๎ แล๎วอาจไปประกอบอาชีพเลยตามความสามารถ หรือศึกษาเพิ่มตามสายที่
ตนถนดั และมคี วามสนใจ เพ่ือเพ่มิ พูนความสามารถ อาจจะศกึ ษาวิชาชีพชั้นสูง ต๎องการความรู๎เป็นพิเศษ ก็ศึกษาตํอในระดับสูงข้ึน
ไปจนถึงระดับอดุ มศึกษา เพ่อื นาไปสูํเปาู หมายทีพ่ งึ ปรารถนาไว๎

ในระดบั ชัน้ มธั ยมปที่ ี่ ๑ – ๓ โรงเรยี นไดจ๎ ัดสาระสาระเพ่ิมเตมิ จานวน ๕ ชัว่ โมงตํอสัปดาห์ (๒๐๐ชัว่ โมง/ปี) และเพอ่ื พัฒนา
เพ่มิ พนู และทกั ษะท่ตี ๎องการเนน๎ ให๎เกดิ แกผํ เู๎ รียน รวมทั้งการพัฒนางานด๎านการเกษตร ให๎สอดคล๎องกบั บรบิ ทของโรงเรียน และ
วิชาหนา๎ ทีพ่ ลเมือง๑ ชั่วโมงตอํ สัปดาห์ โดยจดั บูรณาการกบั สาระสังคมฯ และบูรณากบั กิจกรรมพฒั นาผูเ๎ รียนกิจกรรมที่โรงเรียน
ไดแ๎ กํ กิจกรรมหนา๎ เสาธง กจิ กรรมกฬี าสี กิจกรรมประเพณี กิจกรรม ลูกเสือ เนตรนารี เป็นต๎น เพอ่ื ปลูกฝังให๎เกดิ การปฏิบัติ
และกลายเป็นพฤตกิ รรมในชีวิตประจาวนั

การสอนเสรมิ ประสบการณพ์ เิ ศษเพ่ือเพิม่ ศักยภาพนกั เรยี น ในระดบั ชั้นมธั ยมป่ีท่ี ๑ – ๓ ในกลํุมสาระหลกั มภี าษาไทย
คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมศกึ ษา เพื่อพัฒนาการผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นระดับชาติ ( O-NET) โดยจดั ใหม๎ ีชั่วโมงซํอมเสรมิ
และบรู ณาการในชั่วโมงเรียนอยาํ งนอ๎ ย ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์/รายวชิ า

หลักสตู รมัธยมศึกษาตอนตน๎ โรงเรียนบ๎านมวํ งดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๗

โรงเรียนบ๎านมํวงดงกาหนดกรอบโครงสรา๎ งหลักสูตรจาแนกเป็นรายชัน้ ปดี ังนี้

โครงสรา๎ งหลกั สตู รชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๑

ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑

ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒

รายวิชา/กิจกรรม หนวํ ยกิต/ช่ัวโมง รายวชิ า/กจิ กรรม หนํวยกิต/ชวั่ โมง

รายวิชาพื้นฐาน ๑๑.๐ (๔๔๐) รายวชิ าพ้นื ฐาน ๑๑.๐ (๔๔๐)

ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๑.๕ (๖๐) ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ ๑.๕ (๖๐)

ค๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ๑.๕ (๖๐) ค๒๑๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๒ ๑.๕ (๖๐)

ว๒๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๑ ๑.๕ (๖๐) ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๒ ๑.๕ (๖๐)

ว๒๑๑๐๓ วทิ ยาการคานวณ ๑ ๐.๕ (๒๐) ว๒๑๑๐๔ การออกแบบ ๐.๕ (๒๐)

เทคโนโลยี ๑

ส๒๑๑๐๑ สังคมศกึ ษา ๑ ๑.๕ (๖๐) ส๒๑๑๐๒ สงั คมศึกษา ๒ ๑.๕ (๖๐)

ส๒๑๑๐๓ ประวัติศาสตร์ ๑ ๐.๕ (๒๐) ส๒๑๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร์ ๒ ๐.๕ (๒๐)

พ๒๑๑๐๑ สุขศึกษา ๑ ๐.๕ (๒๐) พ๒๑๑๐๒ สุขศกึ ษา ๒ ๐.๕ (๒๐)

พ๒๑๑๐๓ พลศึกษา ๑ ๐.๕ (๒๐) พ๒๑๑๐๔ พลศกึ ษา ๒ ๐.๕ (๒๐)

ศ๒๑๑๐๑ ทศั นศิลป์ ๑ ๐.๕ (๒๐) ศ๒๑๑๐๒ ทศั นศิลป์๒ ๐.๕ (๒๐)

ศ๒๑๑๐๑ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ๑ ๐.๕ (๒๐) ศ๒๑๑๐๒ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๒ ๐.๕ (๒๐)

ง๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๐.๕ (๒๐) ง๒๑๑๐๒ การงานอาชีพ ๒ ๐.๕ (๒๐)

อ๒๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑ ๑.๕ (๖๐) อ๒๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ ๑.๕ (๖๐)

รายวชิ าเพ่มิ เติม ๓ (๑๐๐) รายวิชาเพม่ิ เตมิ ๓ (๑๐๐)

- หนา๎ ทพ่ี ลเมือง๑ ส๒๑๒๓๑ (๒๐) - หนา๎ ท่พี ลเมือง๒ ส๒๑๒๓๒ (๒๐)

- อาเซียนศกึ ษา๑ ส๒๑๒๐๑ (๒๐) - อาเซยี นศกึ ษา๒ ส๒๑๒๐๒ (๒๐)

- งานเกษตร ๑ ง๒๑๒๐๑ (๔๐) - งานเกษตร ๒ ง๒๑๒๐๒ (๔๐)

- คอมพวิ เตอร์เพิม่ เติม ๑ ว๒๑๒๐๑ (๒๐) - คอมพวิ เตอรเ์ พม่ิ เติม ๒ ว๒๑๒๐๒ (๒๐)

กจิ กรรมพัฒนาผเู๎ รียน ๖๐ กจิ กรรมพฒั นาผ๎เู รยี น ๖๐

กจิ กรรมแนะแนว ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๒๐

กิจกรรมนักเรียน กจิ กรรมนกั เรยี น

- ลูกเสอื – เนตรนารี ๒๐ - ลกู เสอื – เนตรนารี ๒๐

- ชุมนมุ ๑๕ - ชมุ นมุ ๑๐

กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและ ๕ กิจกรรมเพ่ือสงั คมและ ๑๐

สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์

รวมเวลาเรยี น ๖๐๐ รวมเวลาเรยี น ๖๐๐

หลกั สูตรมธั ยมศกึ ษาตอนตน๎ โรงเรียนบ๎านมวํ งดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๘

โครงสร๎างหลักสตู รช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒

ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒

รายวิชา/กจิ กรรม หนํวยกิต/ชวั่ โมง รายวิชา/กจิ กรรม หนวํ ยกติ /ชั่วโมง

รายวชิ าพนื้ ฐาน ๑๑.๐ (๔๔๐) รายวชิ าพ้นื ฐาน ๑๑.๐ (๔๔๐)

ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๑.๕ (๖๐) ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ ๑.๕ (๖๐)

ค๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ ๑.๕ (๖๐) ค๒๒๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๔ ๑.๕ (๖๐)

ว๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ ๑.๕ (๖๐) ว๒๒๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๔ ๑.๕ (๖๐)

ว๒๒๑๐๓ วทิ ยาการคานวณ ๒ ๐.๕ (๒๐) ว๒๒๑๐๔ การออกแบบ ๐.๕ (๒๐)

เทคโนโลยี ๒

ส๒๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ๓ ๑.๕ (๖๐) ส๒๒๑๐๒ สงั คมศึกษา ๔ ๑.๕ (๖๐)

ส๒๒๑๐๓ ประวัติศาสตร์ ๓ ๐.๕ (๒๐) ส๒๒๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๔ ๐.๕ (๒๐)

พ๒๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษา ๓ ๐.๕ (๒๐) พ๒๒๑๐๒ สขุ ศึกษา ๔ ๐.๕ (๒๐)

พ๒๒๑๐๓ พลศึกษา ๓ ๐.๕ (๒๐) พ๒๒๑๐๔ พลศกึ ษา ๔ ๐.๕ (๒๐)

ศ๒๒๑๐๑ ทศั นศิลป์ ๓ ๐.๕ (๒๐) ศ๒๒๑๐๒ ทัศนศิลป์ ๔ ๐.๕ (๒๐)

ศ๒๒๑๐๑ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ๓ ๐.๕ (๒๐) ศ๒๒๑๐๒ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ๔ ๐.๕ (๒๐)

ง๒๒๑๐๑ การงานอาชพี ๓ ๐.๕ (๒๐) ง๒๒๑๐๒ การงานอาชพี ๔ ๐.๕ (๒๐)

อ๒๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ ๑.๕ (๖๐) อ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ ๑.๕ (๖๐)

รายวชิ าเพม่ิ เตมิ ๓ (๑๐๐) รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ๓ (๑๐๐)

- หน๎าทพ่ี ลเมอื ง๓ ส๒๒๒๓๓ (๒๐) - หน๎าท่พี ลเมือง๔ ส๒๒๒๓๔ (๒๐)

- อาเซยี นศึกษา๓ ส๒๒๒๐๑ (๒๐) - อาเซียนศึกษา๔ ส๒๒๒๐๒ (๒๐)

- งานเกษตร ๓ ง๒๒๒๐๑ (๔๐) - งานเกษตร ๔ ง๒๒๒๐๒ (๔๐)

- คอมพวิ เตอร์เพ่ิมเติม๓ ว๒๒๒๐๑ (๒๐) - คอมพิวเตอรเ์ พิ่มเตมิ ๔ ว๒๒๒๐๒ (๒๐)

กจิ กรรมพฒั นาผเู๎ รยี น ๖๐ กจิ กรรมพฒั นาผ๎ูเรยี น ๖๐

กจิ กรรมแนะแนว ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๒๐

กิจกรรมนกั เรียน กจิ กรรมนักเรยี น

- ลูกเสอื – เนตรนารี ๒๐ - ลกู เสอื – เนตรนารี ๒๐

- ชมุ นมุ ๑๕ - ชมุ นมุ ๑๐

กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและ ๕ กจิ กรรมเพ่ือสังคมและ ๑๐

สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์

รวมเวลาเรยี น ๖๐๐ รวมเวลาเรียน ๖๐๐

หลักสตู รมัธยมศกึ ษาตอนตน๎ โรงเรียนบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๙

โครงสรา๎ งหลกั สตู รช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓

ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒

รายวชิ า/กิจกรรม หนํวยกิต/ชว่ั โมง รายวชิ า/กจิ กรรม หนํวยกิต/ชัว่ โมง

รายวชิ าพน้ื ฐาน ๑๑.๐ (๔๔๐) รายวชิ าพ้นื ฐาน ๑๑.๐ (๔๔๐)

ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๑.๕ (๖๐) ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ ๑.๕ (๖๐)

ค๒๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕ ๑.๕ (๖๐) ค๒๓๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๖ ๑.๕ (๖๐)

ว๒๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๕ ๒.๐ (๘๐) ว๒๓๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๒.๐ (๘๐)

ว๒๓๑๐๓ วทิ ยาการคานวณ ๓ ๐.๕ (๒๐) ว๒๓๑๐๔ การออกแบบ ๐.๕ (๒๐)

เทคโนโลยี ๓

ส๒๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๕ ๑.๕ (๖๐) ส๒๓๑๐๒ สังคมศกึ ษา ๖ ๑.๕ (๖๐)

ส๒๓๑๐๓ ประวตั ศิ าสตร์ ๕ ๐.๕ (๒๐) ส๒๓๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์๖ ๐.๕ (๒๐)

พ๒๓๑๐๑ สุขศกึ ษา ๕ ๐.๕ (๒๐) พ๒๓๑๐๒ สุขศึกษา ๖ ๐.๕ (๒๐)

พ๒๓๑๐๓ พลศึกษา ๕ ๐.๕ (๒๐) พ๒๓๑๐๔ พลศกึ ษา ๖ ๐.๕ (๒๐)

ศ๒๓๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๕ ๐.๕ (๒๐) ศ๒๓๑๐๒ ทศั นศิลป์ ๖ ๐.๕ (๒๐)

ศ๒๓๑๐๑ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ๕ ๐.๕ (๒๐) ศ๒๓๑๐๒ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ๖ ๐.๕ (๒๐)

ง๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๕ ๐.๕ (๒๐) ง๒๓๑๐๒ การงานอาชีพ ๖ ๐.๕ (๒๐)

อ๒๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๕ ๑.๕ (๖๐) อ๒๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ ๑.๕ (๖๐)

รายวชิ าเพมิ่ เติม ๓ (๑๐๐) รายวชิ าเพมิ่ เตมิ ๓ (๑๒๐)

- หนา๎ ที่พลเมือง๕ ส๒๓๒๓๕ (๒๐) - หนา๎ ที่พลเมอื ง๖ ส๒๓๒๓๖ (๒๐)

- อาเซยี นศกึ ษา๕ ส๒๓๒๐๑ (๒๐) - อาเซียนศกึ ษา๖ ส๒๓๒๐๒ (๒๐)

- งานเกษตร ๕ ง๒๓๒๐๑ (๔๐) - งานเกษตร ๖ ง๒๓๒๐๒ (๔๐)

- คอมพวิ เตอรเ์ พ่มิ เติม ๕ ว๒๓๒๐๑ (๒๐) - คอมพิวเตอรเ์ พิม่ เติม ๖ ว๒๓๒๐๒ (๒๐)

กจิ กรรมพัฒนาผู๎เรียน ๖๐ กิจกรรมพฒั นาผูเ๎ รียน ๖๐

กิจกรรมแนะแนว ๒๐ กจิ กรรมแนะแนว ๒๐

กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมนกั เรยี น

- ลกู เสอื – เนตรนารี ๒๐ - ลูกเสือ – เนตรนารี ๒๐

- ชุมนุม ๑๕ - ชุมนมุ ๑๐

กจิ กรรมเพ่อื สังคมและ ๕ กิจกรรมเพอ่ื สังคมและ ๑๐

สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์

รวมเวลาเรยี น ๖๐๐ รวมเวลาเรียน ๖๐๐

หลักสตู รมธั ยมศึกษาตอนต๎น โรงเรยี นบ๎านมวํ งดง ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๐

รายวิชาของโรงเรียนบา๎ นมํวงดง

กลมุํ สาระการเรียนร๎ูภาษาไทย จานวน ๖๐ ชัว่ โมง ๑.๕ หนวํ ยกติ
รายวิชาพ้ืนฐาน จานวน ๖๐ ชัว่ โมง ๑.๕ หนํวยกติ

ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ จานวน ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนํวยกติ
ท ๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ จานวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนวํ ยกติ
ท ๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ จานวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนํวยกติ
ท ๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔
ท ๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ จานวน ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนํวยกติ
ท ๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖

กลํุมสาระการเรียนรู๎คณิตศาสตร์ ****************

รายวิชาพื้นฐาน จานวน ๖๐ ชวั่ โมง ๑.๕ หนํวยกติ
จานวน ๖๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หนํวยกิต
ค ๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ จานวน ๖๐ ชวั่ โมง ๑.๕ หนวํ ยกติ
ค ๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ จานวน ๖๐ ชวั่ โมง ๑.๕ หนํวยกติ
ค ๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ จานวน ๖๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หนํวยกติ
จานวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนวํ ยกติ
ค ๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔
ค ๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕
ค ๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖

กลมุํ สาระการเรยี นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จานวน ๖๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หนวํ ยกติ
รายวชิ าพ้ืนฐาน จานวน ๖๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หนํวยกิต
จานวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนวํ ยกติ
ว ๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑
ว ๒๑๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๒ จานวน ๖๐ ชวั่ โมง ๑.๕ หนวํ ยกติ
ว ๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ จานวน ๖๐ ชวั่ โมง ๑.๕ หนวํ ยกติ

ว ๒๒๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๔ จานวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนํวยกติ
ว ๒๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๕ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนํวยกติ
ว ๒๓๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๖ จานวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนวํ ยกติ
ว ๒๑๑๐๓ วทิ ยาการคานวณ ๑
ว ๒๑๑๐๔ การออกแบบเทคโนโลยี ๑ จานวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนํวยกติ
ว ๒๒๑๐๓ วิทยาการคานวณ ๒ จานวน ๒๐ ชัว่ โมง ๐.๕ หนํวยกิต
ว ๒๒๑๐๔ การออกแบบเทคโนโลยี ๒
ว ๒๓๑๐๓ วิทยาการคานวณ ๓ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนํวยกิต
ว ๒๓๑๐๔ การออกแบบเทคโนโลยี ๓ จานวน ๒๐ ชวั่ โมง ๐.๕ หนวํ ยกิต

หลักสตู รมธั ยมศึกษาตอนต๎น โรงเรยี นบ๎านมวํ งดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๑

รายวิชาเพมิ่ เติม จานวน ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนํวยกิต
จานวน ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนํวยกติ
ว ๒๑๒๐๑ คอมพวิ เตอร์เพมิ่ เตมิ ๑ จานวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนํวยกิต
ว ๒๑๒๐๒ คอมพิวเตอรเ์ พิ่มเตมิ ๒ จานวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนวํ ยกติ
ว ๒๒๒๐๑ คอมพิวเตอรเ์ พิม่ เตมิ ๓ จานวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนวํ ยกิต
ว ๒๒๒๐๒ คอมพิวเตอร์เพิม่ เตมิ ๔ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนํวยกิต
ว ๒๓๒๐๑ คอมพวิ เตอร์เพ่ิมเตมิ ๕
ว ๒๓๒๐๒ คอมพวิ เตอร์เพิ่มเติม ๖ จานวน ๖๐ ชวั่ โมง ๑.๕ หนํวยกิต
จานวน ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนํวยกติ
กลุํมสาระการเรียนรูส๎ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม จานวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนํวยกติ
รายวิชาพืน้ ฐาน จานวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนํวยกติ
จานวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนวํ ยกิต
ส ๒๑๑๐๑ สังคมศกึ ษาฯ ๑ จานวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนวํ ยกิต
ส ๒๑๑๐๓ สังคมศึกษาฯ ๒ จานวน ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนํวยกิต
ส ๒๒๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๓ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวํ ยกติ
ส ๒๒๑๐๓ สงั คมศึกษาฯ ๔ จานวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนํวยกิต
ส ๒๓๑๐๑ สังคมศกึ ษาฯ ๕ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวํ ยกติ
ส ๒๓๑๐๓ สงั คมศึกษาฯ ๖ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวํ ยกิต
ส ๒๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๑ จานวน ๒๐ ชัว่ โมง ๐.๕ หนวํ ยกิต
ส ๒๑๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร์ ๒
ส ๒๒๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๓ จานวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนวํ ยกติ
ส ๒๒๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร์ ๔ จานวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนวํ ยกติ
ส ๒๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๕ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวํ ยกิต
ส ๒๓๑๐๔ ประวัตศิ าสตร์ ๖ จานวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนวํ ยกติ
จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวํ ยกติ
รายวชิ าเพิม่ เติม จานวน ๒๐ ชัว่ โมง ๐.๕ หนํวยกิต
จานวน ๒๐ ชวั่ โมง ๐.๕ หนวํ ยกติ
ส ๒๑๒๓๑ หน๎าทพ่ี ลเมอื ง ๑ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนํวยกิต
ส ๒๑๒๓๒ หน๎าทพ่ี ลเมอื ง ๒ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวํ ยกติ
ส ๒๒๒๓๓ หน๎าทีพ่ ลเมือง ๓ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวํ ยกิต
ส ๒๒๒๓๔ หน๎าทพ่ี ลเมือง ๔ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนํวยกิต
ส ๒๓๒๓๔ หนา๎ ทพ่ี ลเมอื ง ๕ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนํวยกติ
ส ๒๓๒๓๖ หน๎าท่พี ลเมือง ๖
ส ๒๑๒๐๑ อาเซียนศกึ ษา ๑
ส ๒๑๒๐๒ อาเซียนศกึ ษา ๒
ส ๒๒๒๐๓ อาเซียนศึกษา ๓
ส ๒๒๒๐๔ อาเซียนศกึ ษา ๔
ส ๒๓๒๐๕ อาเซียนศึกษา ๕
ส ๒๓๒๐๖ อาเซียนศึกษา ๖

หลกั สตู รมธั ยมศกึ ษาตอนตน๎ โรงเรียนบ๎านมวํ งดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

กลํมุ สาระการเรยี นรู๎สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๒๒
รายวชิ าพน้ื ฐาน
จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวํ ยกิต
พ ๒๑๑๐๑ สขุ ศึกษาฯ ๑ จานวน ๒๐ ชวั่ โมง ๐.๕ หนํวยกติ
พ ๒๑๑๐๒ สขุ ศึกษาฯ ๒ จานวน ๒๐ ชวั่ โมง ๐.๕ หนวํ ยกติ
พ ๒๒๑๐๑ สุขศึกษาฯ ๓ จานวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนํวยกิต
พ ๒๒๑๐๒ สุขศกึ ษาฯ ๔ จานวน ๒๐ ช่วั โมง ๐.๕ หนํวยกิต
พ ๒๓๑๐๑ สขุ ศึกษาฯ ๕ จานวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนํวยกิต
พ ๒๓๑๐๒ สขุ ศกึ ษาฯ ๖ จานวน ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนํวยกติ
พ ๒๑๑๐๓ พลศึกษา ๑ จานวน ๒๐ ชวั่ โมง ๐.๕ หนํวยกติ
พ ๒๑๑๐๔ พลศกึ ษา ๒ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวํ ยกติ
พ ๒๒๑๐๓ พลศกึ ษา ๓ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวํ ยกติ
พ ๒๒๑๐๔ พลศกึ ษา ๔ จานวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนวํ ยกติ
พ ๒๓๑๐๓ พลศกึ ษา ๕ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนํวยกิต
พ ๒๓๑๐๔ พลศึกษา ๖
จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวํ ยกติ
กลุมํ สาระการเรยี นร๎ูศิลปะ จานวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนวํ ยกิต
รายวชิ าพน้ื ฐาน จานวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนวํ ยกติ
จานวน ๒๐ ชัว่ โมง ๐.๕ หนวํ ยกติ
ศ ๒๑๑๐๑ ทัศนศิป์ ๑ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนํวยกติ
ศ ๒๑๑๐๑ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๑ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวํ ยกิต
ศ ๒๑๑๐๒ ทัศนศิป์ ๒ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวํ ยกิต
ศ ๒๑๑๐๒ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๒ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวํ ยกติ
ศ ๒๒๑๐๑ ทัศนศลิ ป์ ๓ จานวน ๒๐ ชว่ั โมง ๐.๕ หนวํ ยกติ
ศ ๒๒๑๐๑ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๓ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวํ ยกติ
ศ ๒๒๑๐๒ ทัศนศิลป์ ๔ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนํวยกติ
ศ ๒๒๑๐๒ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๔ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนํวยกิต
ศ ๒๓๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๕
ศ ๒๓๑๐๑ ดนตรี-นาฏศิลป์ ๕ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนํวยกติ
ศ ๒๓๑๐๒ ทัศนศิลป์ ๖ จานวน ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนวํ ยกิต
ศ ๒๓๑๐๒ ดนตรี-นาฏศลิ ป์ ๖ จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวํ ยกติ
จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนํวยกิต
กลํุมสาระการเรียนรก๎ู ารงานอาชพี จานวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนํวยกติ
รายวิชาพน้ื ฐาน จานวน ๒๐ ชวั่ โมง ๐.๕ หนํวยกิต

ง ๒๑๑๐๑ การงานอาชพี ๑
ง ๒๑๑๐๒ การงานอาชพี ๒
ง ๒๒๑๐๑ การงานอาชพี ๓
ง ๒๒๑๐๓ การงานอาชพี ๔
ง ๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๕
ง ๒๓๑๐๓ การงานอาชพี ๖

หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต๎น โรงเรยี นบ๎านมวํ งดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๓

รายวิชาเพมิ่ เติม จานวน ๔๐ ชวั่ โมง ๑.๐ หนํวยกติ
จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ๑.๐ หนํวยกิต
ง ๒๑๒๐๑ งานเกษตร ๑ จานวน ๔๐ ชว่ั โมง ๑.๐ หนํวยกิต
ง ๒๑๒๐๒ งานเกษตร ๒
ง ๒๒๒๐๑ งานเกษตร ๓ จานวน ๔๐ ช่วั โมง ๑.๐ หนวํ ยกติ
ง ๒๒๒๐๒ งานเกษตร ๔ จานวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนํวยกติ
ง ๒๓๒๐๑ งานเกษตร ๕
ง ๒๓๒๐๒ งานเกษตร ๖ จานวน ๔๐ ชัว่ โมง ๑.๐ หนํวยกติ

****************

กลุํมสาระการเรียนรภ๎ู าษาตาํ งประเทศ(องั กฤษ)

รายวชิ าพน้ื ฐาน

อ ๒๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑ จานวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนวํ ยกิต

อ ๒๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๒ จานวน ๖๐ ชวั่ โมง ๑.๕ หนํวยกติ

อ ๒๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ จานวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนวํ ยกิต

อ ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ จานวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนวํ ยกิต

อ ๒๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ จานวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนวํ ยกติ

อ ๒๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ จานวน ๖๐ ชัว่ โมง ๑.๕ หนํวยกิต

****************

หลกั สูตรมัธยมศกึ ษาตอนตน๎ โรงเรียนบ๎านมวํ งดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๔

คาอธบิ ายรายวชิ า
กลุํมสาระการเรียนร๎ูภาษาไทย

หลกั สตู รมัธยมศกึ ษาตอนตน๎ โรงเรียนบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๕

คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน กลมํุ สาระการเรียนรภ๎ู าษาไทย
เวลา ๑๒๐ ชั่วโมง
รหสั วิชา ท ๒๑๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย ๑
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๑

ฝกึ ทกั ษะการอําน การฟัง การดู การพดู การเขยี น และประเมินคําวรรณคดี วรรณกรรม โดยการศึกษาการอํานออกเสียง
รอ๎ ยแก๎ว บทรอ๎ ยกรอง อาํ นจบั ใจความจากเรอ่ื งเลาํ จากประสบการณ์ นทิ าน วรรณคดีในบทเรียน อํานตีความเอกสารทางวิชาการที่
มคี าศัพทเ์ ฉพาะวงการทตี่ อ๎ งทาความเขา๎ ใจความหมาย อํานตีความเอกสารคูํมือ มีมารยาทในการอําน และการเขียน การสร๎างคา
ชนิดและหน๎าท่ีของคาในประโยค การเขียนเรียงความ เขียนแสดงความคิดเห็นจากบทความ ขําว และเหตุการณ์ประจาวัน และ
ประเมินความนําเช่อื ถือจากสือ่

วิเคราะห์ ประเมินคํา และข๎อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม เรื่องนิราศภูเขาทอง เร่ืองราชาธิราชตอนสมิงพระราม
ทํองจาบทอาขยานตามกาหนด และบทร๎อยกรองทม่ี ีคุณคาํ ตามความสนใจ

โดยใช๎กระบวนการอําน กระบวนการฟัง การดู การพูด กระบวนการเขียน เขียนสื่อสารสร๎างสรรค์ความร๎ูและความคิด
เพื่อนาไปใช๎ตัดสินใจ แก๎ปัญหาในการดาเนินชีวิต เพ่ือให๎เข๎าใจธรรมชาติของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา เลือกฟังและดูอยํา งมี
วิจารณญาณ และพูดแสดงความรู๎ ความคิด ความร๎ูสึกในโอกาสตําง ๆ อยํางมีวิจารณญาณ แสดงความคิดเห็นและวิเคราะห์
วรรณคดีและวรรณกรรมไทยเพ่ือให๎เห็นคุณคําของภาษาไทย ใฝุเรียนรู๎ อยูํอยํางพอเพียง มีวินัย มีนิสัยรักการอําน การเขียน มี
มารยาทในการอําน การฟงั การดู

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด

ท ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒,ม.๑/๓, ม.๑/๔,ม.๑/๕
ท ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒,ม.๑/๓
ท ๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒,ม.๑/๓, ม.๑/๔
ท ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๖
ท ๕.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒,ม.๑/๓,
รวมทัง้ หมด ๕ มาตรฐาน ๑๘ ตวั ชี้วัด

หลักสูตรมธั ยมศึกษาตอนตน๎ โรงเรียนบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๖

คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน กลํุมสาระการเรียนร๎ูภาษาไทย
เวลา ๑๒๐ ชว่ั โมง
รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๒ รายวชิ าภาษาไทย ๒
ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒

ฝึกทักษะการอาํ น การฟัง การดู การพดู การเขียน และประเมนิ คําวรรณคดี วรรณกรรม โดยการศกึ ษาเกย่ี วกบั การพูดสรุป
ความ พูดแสดงความรู๎ ความคิดเห็นอยํางสร๎างสรรค์ จากเรื่องท่ีฟังและดู พูดประเมินความนําเชื่อถือจากสื่อ เปรียบเทียบความ
แตกตาํ งของภาษาพูดและภาษาเขียน จาแนกและใช๎สานวนที่เป็นคาพังเพยและสุภาษิต อธิบายชนิดและหน๎าที่ของคาในประโยค
แตํงบทรอ๎ ยกรองประเภทกาพย์ยานี ๑๑ ไดอ๎ ยํางมปี ระสิทธิภาพ อํานตีความเอกสารทางวิชาการท่ีมีคาศัพท์เฉพาะวงการท่ีต๎องทา
ความเข๎าใจความหมาย

วเิ คราะห์ ประเมนิ คํา และข๎อคดิ จากวรรณคดีและวรรณกรรม เร่ืองโคลงโลกนิติ เร่ืองกาพย์เหํชมเคร่ืองคาวหวาน นิทาน
ทํองจาบทอาขยานตามกาหนด และบทรอ๎ ยกรองท่มี คี ุณคําตามความสนใจ

โดยใช๎กระบวนการอาํ น กระบวนการฟงั การดู การพูด กระบวนการเขยี น เขียนสอ่ื สารสร๎างสรรค์ความรู๎และความคิดเพ่ือ
นาไปใชต๎ ัดสนิ ใจ โดยนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาแก๎ปัญหาในการดาเนินชีวิต และให๎เข๎าใจธรรมชาติของภาษา ภูมิปัญญาทาง
ภาษา เลอื กฟังและดอู ยาํ งมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความร๎ูความคิด ความรู๎สึกในโอกาสตําง ๆ อยํางมีวิจารณญาณ แสดงความ
คิดเห็นและวเิ คราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยาํ งมีคุณคํา และนาไปประยุกต์ใช๎ในชีวิตจริง รักษาภาษาไทยไว๎เป็นสมบัติของ
ชาติ และมีนิสยั รักการอําน การเขียน มีมารยาทในการอําน การฟัง การดู

มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด

ท ๑.๑ ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗
ท ๒.๑ ม๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๕, ม.๑/๗, ม.๑/๘
ท ๓.๑ ม๑/๓ , ม.๑/๔, ม.๑/๕
ท ๔.๑ ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖
ท ๕.๑ ม.๑/๓, ม.๑/๔,
รวมท้ังหมด ๕ มาตรฐาน ๑๗ ตัวชี้วัด

หลักสูตรมธั ยมศึกษาตอนต๎น โรงเรียนบ๎านมวํ งดง ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๗

คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

รหสั วิชา ท๒๒๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย ๓ กลํมุ สาระการเรยี นรภ๎ู าษาไทย
ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๑๒๐ ช่วั โมง

ศึกษาหลักการอํานออกเสียงให๎ถูกต๎อง จับใจความสาคัญของเรื่องท่ีอําน เขียนแผนผังความคิด แสดงความ
คิดเห็นและข๎อโต๎แย๎งจากการอําน ฝึกคัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด เขียนบรรยาย พรรณนา เรียงความยํอความ พูดสรุป

ใจความสาคัญจากการฟังและการดู วิเคราะห์ข๎อเท็จจริงและข๎อคิดเห็น วิจารณ์เรื่องที่ฟังและดูได๎อยําง มีเหตุผล สร๎าง
คาสมาส วิเคราะห์โครงสร๎างของประโยค ฝึกการใช๎คาราชาศัพท์ สรุปเนื้อหา วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม

ท๎องถิ่นท่ีอาํ น สรุปความรู๎และขอ๎ คดิ จากการอํานไปประยุกต์ใชใ๎ นชีวิตจรงิ
โดยใชก๎ ระบวนการทางภาษา การสืบคน๎ ความร๎ู การจดบันทึก ใช๎ความสามารถในการคิด การอภิปราย เพ่ือให๎เกิด

ความร๎ู ความเข๎าใจในการเรียนรู๎ ใช๎ความสามารถในการสือ่ สารกับผูอ๎ ่ืนใหเ๎ ขา๎ ใจตรงกัน

เห็นคุณคําของภาษาไทย นาความร๎ูไปในการแก๎ปัญหาให๎เกิดประโยชน์ในชีวิต เป็นผู๎มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีมารยาทใน
การอาํ น การเขยี น การฟัง การดแู ละการพูด เห็นคุณคําภาษาไทยซ่ึงเป็นเอกลักษณ์ของชาติ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่ือสัตย์

สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู๎ อยูํอยํางพอเพียง มุํงม่ันในการทางาน รักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะเพ่ือให๎เกิดการเรียนร๎ูอยํางมี
ประสิทธภิ าพ ภาคภมู ิใจในภาษาไทย และรักษาไวเ๎ ปน็ สมบตั ขิ องชาติ

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด

ท ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒,ม.๒/๓, ม.๒/๔
ท ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒,ม.๒/๓, ม.๒/๔
ท ๓.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒,ม.๒/๓
ท ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒,, ม.๒/๔
ท ๕.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒,ม.๒/๓,
รวม ๕ มาตรฐาน ๑๗ ตัวชี้วัด

หลักสูตรมธั ยมศึกษาตอนต๎น โรงเรยี นบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน ๒๘

รหัสวชิ า ท๒๒๑๐๒ รายวชิ าภาษาไทย ๔ กลํมุ สาระการเรยี นร๎ภู าษาไทย
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๑๒๐ ชว่ั โมง

ศึกษาหลักการวิเคราะห์จาแนกข๎อเท็จจริงและข๎อคิดเห็น ระบุข๎อสังเกตการชวนเช่ือจากเรื่องท่ีอําน อํานหนังสือและ
ประเมินคุณคําจากการอํานเพื่อนาไปใช๎แก๎ปัญหาในชีวิต เขียนรายงานจากการศึกษาค๎นคว๎า จดหมายกิจธุระ วิเคราะห์วิจารณ์

แสดงความคดิ เหน็ เรอ่ื งที่อํานอยาํ งมีเหตุผล พูดในโอกาสตําง ๆ พูดรายงานจากการศึกษาค๎นคว๎า แตํงกลอนสุภาพ รวบรวมและ
อธบิ ายความหมายของคาภาษาตํางประเทศท่ีใช๎ในภาษาไทยอธิบายคุณคําของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอําน ทํองจาบทอาขยาน

และบทร๎อยกรองทมี่ คี ุณคําตามความสนใจ
โดยใช๎กระบวนการทางภาษา กระบวนการกลุมํ สัมพนั ธ์ จัดการเรียนรู๎เพื่อพัฒนาความคิดเรียนร๎ูแบบโครงงาน ให๎รู๎วิธีการ

แก๎ปญั หาอยาํ งเปน็ ระบบ วางแผน คิดวิเคราะห์ ประเมินผล ฝกึ การเปน็ ผู๎นาและผ๎ูตาม

มคี วามสามารถในการใช๎เทคโนโลยี สามารถสรา๎ งองค์ความร๎ไู ปใช๎ประโยชนใ์ นชีวิตประจาวัน
มีคุณธรรม จริยธรรม และมีมารยาทในการใช๎ภาษา เป็นผู๎มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีมารยาทในการอําน การ

เขยี น การฟงั การดูและการพดู เห็นคุณคาํ ภาษาไทยซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาติ รกั ชาติ ศาสน์
กษัตรยิ ์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนร๎ู อยํูอยํางพอเพียง มุํงมั่นในการทางาน รักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะเพ่ือให๎เกิด
การเรยี นรอ๎ู ยาํ งมปี ระสทิ ธิภาพ ภาคภูมใิ จในภาษาไทย และรกั ษาไวเ๎ ปน็ สมบตั ิของชาติ

มาตรฐาน/ตัวชวี้ ัด

ท ๑.๑ ม.๒/๒,ม.๒/ ,ม.๒/๕, ม.๒/๖,ม.๒/๗, ม.๒/๘
ท ๒.๑ ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๕, ม.๒/๖,ม.๒/๗, ม.๒/๘
ท ๓.๑ ม.๒/๒, ม.๒/๕, ม.๒/๖
ท ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒,ม.๒/๓, ม.๒/๔,ม.๒/๕
ท ๕.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒,ม.๒/๓, ม.๒/๔,ม.๒/๕
รวม ๕ มาตรฐาน ๒๔ ตวั ชี้วัด

หลกั สูตรมัธยมศึกษาตอนต๎น โรงเรียนบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๙

คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน

รหสั วิชา ท๒๓๑๐๑ รายวชิ าภาษาไทย ๕ กลุมํ สาระการเรยี นร๎ภู าษาไทย
ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๑๒๐ ช่วั โมง

ศึกษาหลักการอํานออกเสียงได๎ถูกต๎อง เหมาะสม ระบุความแตกตํางของคา ใจความสาคัญและรายละเอียดของข๎อมูลที่
สนับสนุนจากเรื่องท่ีอําน เขียนกรอบความคิด วิเคราะห์วิจารณ์และประเมินเร่ืองท่ีอํานโดยใช๎กลวิธีการเปรียบเทียบ ประเมิน
ความถูกต๎องของข๎อมูลท่ีใช๎สนับสนุนในเรื่องที่อําน ฝึกการคัดลายมือ เขียนข๎อความ ชีวประวัติ ยํอความ จดหมายกิจ
ธุระ อธบิ าย ช้ีแจงแสดงความคิดเหน็ และโต๎แย๎งอยํางมเี หตผุ ล พดู แสดงความคดิ เห็น พูดวเิ คราะห์ วิจารณ์เรื่องท่ีฟังและดูเพ่ือ
นาข๎อคิดมาประยุกต์ใช๎ในการดาเนินชีวิต พูดรายงานการศึกษาค๎นคว๎าเก่ียวกับภูมิปัญญาท๎องถ่ิน จาแนกและใช๎คาที่มาจาก
ภาษาตํางประเทศ วิเคราะห์ประโยคซับซ๎อน ระดับภาษา สรุปเน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรมท๎องถิ่น วิเคราะห์วิถีไทยและ
คณุ คาํ จากการอํานวรรณกรรม

โดยใช๎กระบวนการทางภาษา การสืบค๎นความรู๎ การจดบันทึก ใช๎ความสามารถในการคิดการอภิปราย เพื่อให๎เกิด
ความรู๎ ความเข๎าใจในการเรยี นรู๎ ใช๎ความสามารถในการสอื่ สารกับผู๎อนื่ ใหเ๎ ข๎าใจตรงกัน

เห็นคุณคําของภาษาไทย นาความร๎ูไปใช๎ในการแก๎ปัญหาให๎เกิดประโยชน์ในชีวิต เป็นผ๎ูมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มี
มารยาทในการอําน การเขียน การฟัง การดูและการพูด เห็นคุณคําภาษาไทยซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาติ รัก
ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซ่ือสัตยส์ จุ รติ มีวนิ ัย ใฝุเรยี นรู๎ อยูํอยํางพอเพียง มํุงมนั่ ในการทางาน รักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะ
เพอ่ื ให๎เกดิ การเรียนรอ๎ู ยํางมปี ระสิทธภิ าพ ภาคภูมใิ จในภาษาไทย และรักษาไวเ๎ ปน็ สมบตั ขิ องชาติ

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒,ม.๓/๓, ม.๓/๔,ม.๓/๕, ม.๓/๖
ท ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒,ม.๓/๓, ม.๓/๔,ม.๓/๕, ม.๓/๖
ท ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒,ม.๓/๓
ท ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒,ม.๓/๓
ท ๕.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒

รวม ๕ มาตรฐาน ๒๐ ตวั ช้ีวัด

หลกั สตู รมัธยมศกึ ษาตอนตน๎ โรงเรียนบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๐

คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน

รหัสวชิ า ท๒๓๑๐๑ รายวิชาภาษาไทย ๖ กลํมุ สาระการเรียนรภู๎ าษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๑๒๐ ชัว่ โมง

ศึกษาหลกั การวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ ความสมเหตุสมผลของเรือ่ งทอี่ าํ น แสดงความคิดเหน็ ตคี วาม ประเมินคุณคาํ แนวคิดท่ี
ไดจ๎ ากการอํานงานเขยี น เพอ่ื นาไปใชแ๎ ก๎ปัญหาในชวี ิต เขียนวิจารณ์แสดงความรู๎ความคิดเห็น เขียนรายงาน โครงงาน กรอก
แบบสมัครงาน ฝึกพูดในโอกาสตาํ ง ๆ พูดโน๎มน๎าวอยํางมีเหตุผลและนําเชอ่ื ถือ ใชค๎ าทับศพั ท์ ศัพท์บญั ญัติ ศัพท์ทางวิชาการ
และวชิ าชีพ แตงํ โคลงสสี่ ุภาพ สรปุ ความร๎ู ข๎อคดิ จากการอาํ นวรรณคดีและวรรณกรรม เพ่ือนาไปใช๎ประยกุ ต์ใน
ชวี ิตประจาวัน ทอํ งจาและบอกคณุ คาํ บทอาขยานและบทร๎อยกรองตามความสนใจและนาไปใช๎อา๎ งอิง

โดยใช๎กระบวนการทางภาษา กระบวนการกลมุํ สมั พนั ธ์ จดั การเรียนร๎เู พ่อื พฒั นาความคิด เรยี นร๎ูแบบโครงงาน ให๎ร๎ู
วิธกี ารแกป๎ ัญหาอยํางเป็นระบบ วางแผน คดิ วิเคราะห์ ประเมินผล ฝึกการเป็นผูน๎ าและผู๎ตามมีความสามารถในการใช๎
เทคโนโลยี สามารถสร๎างองค์ความร๎ไู ปใช๎ประโยชนใ์ นชีวิตประจาวนั

มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และมมี ารยาทในการใช๎ภาษา เปน็ ผ๎มู คี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ มีมารยาทในการอาํ น การ
เขยี น การฟัง การดูและการพดู เห็นคณุ คาํ ภาษาไทยซ่งึ เปน็ เอกลักษณ์ของชาติ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซือ่ สัตย์สุจรติ มี
วินยั ใฝุเรยี นรู๎ อยูํอยํางพอเพียง มงุํ มน่ั ในการทางาน รักความเปน็ ไทยและมจี ติ สาธารณะเพือ่ ใหเ๎ กิดการเรียนรอ๎ู ยาํ งมี
ประสิทธภิ าพ ภาคภูมใิ จในภาษาไทย และรกั ษาไวเ๎ ปน็ สมบตั ิของชาติ

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ท ๑.๑ ม.๓/๒, ม. ๓/๕, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐
ท ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒ , ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐
ท ๓.๑ ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ท ๔.๑ ม.๓/๑ , ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ท ๕.๑ ม.๓/๒,ม.๓/๓, ม.๓/๔

รวม ๕ มาตรฐาน ๒๔ ตวั ชว้ี ัด

หลกั สูตรมธั ยมศึกษาตอนตน๎ โรงเรยี นบ๎านมวํ งดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๑

คาอธบิ ายรายวิชา
กลุํมสาระการเรียนรค๎ู ณติ ศาสตร์

หลกั สูตรมธั ยมศึกษาตอนต๎น โรงเรียนบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน ๓๒

รหสั วิชา ค ๒๑๑๐๑ รายวิชาคณิตศาสตร์๑ กลํมุ สาระการเรียนรู๎คณิตศาสตร์
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๖๐ ชัว่ โมง ๑.๕ หนํวยกิต

ศึกษา ฝกึ ทกั ษะการคดิ คานวณ และฝกึ การแก๎ปญั หาในสาระตํอไปน้ี

-จานวนตรรกยะ จานวนเต็ม สมบัติของจานวน ทศนิยมและเศษสํวน จานวนตรรกยะและสมบตั ขิ องจานวนตรรกยะ
-การสรา๎ งทางเรขาคณิต การสรา๎ งพืน้ ฐานทางเรขาคณิต การสร๎างรูปเรขาคณิตสองมติ โิ ดยใชก๎ ารสรา๎ งพน้ื ฐานทาง
เรขาคณิต การนาความรเ๎ู ก่ียวกบั การสร๎างพน้ื ฐานทางเรขาคณิตไปใช๎ในชีวิต
-ทศนยิ มและเศษสวํ น การเขยี นเศษสํวนในรปู ทศนิยม การเขยี นทศนิยมซา้ ในรปู เศษสวํ น
การเปรยี บเทียบเศษสํวนและทศนยิ ม การบวก ลบ คูณ หารเศษสํวนและทศนิยม โจทย์ปัญหาหรอื สถานการณ์เกย่ี วกบั เศษสํวน
และทศนิยม
-เลขยกกาลัง เลขยกกาลังท่มี เี ลขช้กี าลังเปน็ จานวนเต็มบวก การนาความรู๎เก่ยี วกบั จานวนเตม็ จานวนตรรกยะ และเลขยก
กาลังไปใช๎ในการแก๎ปัญหา
-รปู เรขาคณิตสองมิติและสามมิติ หนา๎ ตัดของรปู เรขาคณิตสามมิติ ภาพท่ีได๎จากการมองดา๎ นหน๎าด๎านขา๎ งดา๎ นบนของรูป
เรขาคณิตสามมิตทิ ี่ประกอบข้ึนจากลูกบาศก์
เพ่อื ใหส๎ ามารถใช๎ความรู๎ ทักษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยใี นการแก๎ปญั หาในสถานการณ์ตําง ๆ ไดอ๎ ยาํ ง
เหมาะสม รจ๎ู ักใชว๎ ธิ ีการท่ีหลากหลายในการในการแก๎ปัญหา ใช๎เหตผุ ลประกอบการตัดสนิ ใจ ใช๎ภาษา และสญั ลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ในการสือ่ สาร การสอ่ื ความหมาย และการนาเสนอได๎อยาํ งถกู ต๎องและชดั เจน สามารถเชอ่ื มโยงและนาความร๎ู
หลกั การกระบวนการทางคณติ ศาสตรไ์ ปใช๎ในการเรยี นรู๎สงิ่ ตําง ๆ และใช๎ชวี ติ ประจาวนั รวมทั้งเหน็ คณุ คําและมีเจตคติที่ดตี อํ
คณติ ศาสตร์ มีความคดิ รเิ รม่ิ สรา๎ งสรรค์ สามารถทางานอยํางมรี ะบบ มรี ะเบียบ มคี วามรอบคอบ มีความรับผดิ ชอบ มี
วิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั

ค ๑.๑ ม ๑/๑ , ม ๑/๒
ค ๒.๒ ม ๑/๑ , ม ๑/๒

รวมท้งั หมด ๔ ตัวช้ีวัด

หลักสูตรมธั ยมศกึ ษาตอนต๎น โรงเรียนบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน ๓๓

รหสั วิชา ค ๒๑๑๐๑ รายวิชาคณิตศาสตร์๒ กลมํุ สาระการเรียนรู๎คณิตศาสตร์
มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนวํ ยกติ

ศกึ ษา ฝึกทักษะการคิดคานวณ และฝึกการแก๎ปัญหาในสาระตอํ ไปนี้
-สมการเชิงเส๎นตวั แปรเดียว สมการเชิงเส๎นตวั แปรเดียว การแกส๎ มการเชิงเสน๎ ตวั แปรเดียว

การนาความร๎เู ก่ียวกับสมการเชงิ เส๎นตวั แปรเดียวไปใชใ๎ นชวี ิตจริง
-อตั ราสวํ น สัดสวํ น และรอ๎ ยละ อตั ราสวํ นของจานวนหลายๆจานวน สดั สํวน การนาความรเ๎ู กยี่ วกับอัตราสวํ น สดั สวํ น

ร๎อยละไปใชใ๎ นการแก๎ปัญหา
-กราฟและสัมพันธเ์ ชิงเสน๎ กราฟของความสัมพันธเ์ ชงิ เสน๎ สมการเชงิ เสน๎ สองตวั แปร การนาความร๎เู กย่ี วกับสมการเชิง

เส๎นสองตวั แปรและกราฟของความสัมพนั ธ์เชิงเส๎นไปใชใ๎ นชวี ิตจรงิ

-สถติ (ิ ๑) การตง้ั คาถามทางสถติ ิ การเก็บรวบรวมข๎อมลู การนาเสนอขอ๎ มูล แผนภูมริ ปู ภาพแผนภูมิแทํง กราฟเสน๎ แผนภมู ิ
รปู วงกลม การแปลความหมายข๎อมลู การนาสถิติไปใช๎ในชีวติ จรงิ

เพอ่ื ให๎สามารถใช๎ความรู๎ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก๎ปญั หาในสถานการณ์ตาํ ง ๆ ไดอ๎ ยาํ ง
เหมาะสม รจู๎ ักใชว๎ ิธีการทห่ี ลากหลายในการในการแก๎ปญั หา ใช๎เหตผุ ลประกอบการตัดสินใจ ใชภ๎ าษา และสญั ลักษณท์ าง
คณิตศาสตรใ์ นการสือ่ สาร การสือ่ ความหมาย และการนาเสนอได๎อยาํ งถูกต๎องและชดั เจน สามารถเชอื่ มโยงและนาความร๎ู

หลกั การกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปใช๎ในการเรยี นรส๎ู ่งิ ตาํ ง ๆ และใช๎ชวี ิตประจาวัน รวมท้ังเหน็ คุณคําและมเี จตคติทดี่ ตี ํอ
คณิตศาสตร์ มคี วามคิดรเิ ริ่มสรา๎ งสรรค์ สามารถทางานอยาํ งมรี ะบบ มรี ะเบียบ มีความรอบคอบ มคี วามรบั ผิดชอบ มี

วิจารณญาณ และมคี วามเชอื่ มั่นในตนเอง

มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ค ๑.๑ ม๑/๓
ค ๑.๓ ม๑/๑ , ม๑/๑ , ม๑/๓
ค ๓.๑ ม ๑/๑

รวมทงั้ หมด ๓ มาตรฐาน ๕ ตัวชวี้ ัด

หลักสูตรมัธยมศกึ ษาตอนตน๎ โรงเรยี นบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน ๓๔

รหสั วชิ า ค ๒๒๑๐๑ รายวิชาคณติ ศาสตร์ ๓ กลุํมสาระการเรยี นร๎คู ณิตศาสตร์
มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวํ ยกิต

ศึกษา คน๎ ควา๎ ฝึกทักษะ / กระบวนการเกย่ี วกับเรอ่ื งตอํ ไปน้ี
-การแปลงทางเรขาคณติ การเล่ือนขนาน การสะทอ๎ น การหมนุ การนาความร๎ูเกี่ยวกบั การแปลงทางเรขาคณิตไปใช๎ในการ

แก๎ปญั หา
-ความเทาํ กันทกุ ประการ ความเทํากันทกุ ประการของรูปสามเหลีย่ ม การนาความรเู๎ กย่ี วกับความเทาํ กันทกุ ประการไปใช๎

ในการแก๎ปญั หา
-จานวนตรรกยะ เลขยกกาลงั ทม่ี เี ลขช้กี าลงั เปน็ จานวนเต็ม การนาความรเ๎ู ก่ียวกบั เลขยกกาลงั ไปใช๎ในการแก๎ปัญหา
-พหนุ าม พหุนาม การบวก การลบ และการคูณของพหนุ าม การหารพหุนามดว๎ ยเอกนามท่ีมผี ลหารเป็นพหนุ าม การ

แยกตัวประกอบพหนุ าม การแยกตวั ประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช๎สมบตั ิการแจกแจงกาลังสองสมบรู ณผ์ ลตํางของกาลัง
สอง

-การสรา๎ งทางเรขาคณติ การนาความรูเ๎ กย่ี วกบั การสร๎างทางเรขาคณิตไปใช๎ในชวี ิตจรงิ
เพ่อื ใหส๎ ามารถใช๎ความร๎ู ทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยใี นการแกป๎ ัญหาในสถานการณ์ตาํ ง ๆ ไดอ๎ ยาํ ง
เหมาะสม รู๎จักใช๎วิธีการที่หลากหลายในการในการแก๎ปญั หา ใช๎เหตผุ ลประกอบการตดั สนิ ใจ ใชภ๎ าษา และสัญลักษณ์ทาง

คณติ ศาสตร์ในการสอื่ สาร การสือ่ ความหมาย และการนาเสนอได๎อยํางถกู ตอ๎ งและชดั เจน สามารถเชื่อมโยงและนาความรู๎
หลกั การกระบวนการทางคณิตศาสตรไ์ ปใช๎ในการเรยี นรส๎ู งิ่ ตาํ ง ๆ และใช๎ชีวติ ประจาวนั รวมท้ังเหน็ คณุ คําและมเี จตคติทดี่ ตี อํ

คณิตศาสตร์ มคี วามคิดรเิ ร่ิมสร๎างสรรค์ สามารถทางานอยาํ งมรี ะบบ มีระเบยี บ มีความรอบคอบ มีความรบั ผิดชอบ มี
วิจารณญาณ และมีความเชอื่ ม่ันในตนเอง

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ค ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒

ค ๑.๒ ม๒/๑ , ม.๒/๒
ค ๒.๒ ม .๒/๑, ม.๒/๓, ม.๒/๔
รวมทง้ั หมด ๓มาตรฐาน ๗ ตวั ชีว้ ัด

หลักสตู รมัธยมศึกษาตอนตน๎ โรงเรยี นบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

คาอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน ๓๕

รหัสวชิ า ค ๒๒๑๐๒ รายวิชาคณติ ศาสตร์ ๔ กลมํุ สาระการเรยี นรค๎ู ณิตศาสตร์
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หนวํ ยกิต

ศกึ ษา ค๎นคว๎า ฝึกทักษะ / กระบวนการเกี่ยวกับเรอื่ งตอํ ไปนี้
-จานวนจรงิ จานวนอตรรกยะจานวนจรงิ รากท่สี องและรากท่สี ามของจานวนตรรกยะการนาความร๎ูเกยี่ วกับจานวนจรงิ ไป

ใช๎
-ทฤษฏีบทพีทาโกรสั ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลบั การนาความรูเ๎ กย่ี วกบั ทฤษฎีบทพที าโกรัสและบทกลับไปใช๎ในชวี ติ

จริง
-เส๎นขนาน สมบตั ิเกยี่ วกบั เส๎นขนานและรปู สามเหลี่ยม ความเทาํ กันทกุ ประการ ความเทาํ กันทกุ ประการของรปู

สามเหลยี่ มการนาความรู๎เกย่ี วกบั ความเทาํ กนั ทุกประการไปใช๎ในการแก๎ปญั หา

-พน้ื ท่ผี วิ และปริมาตร การหาพืน้ ที่ผวิ ของปรซิ มึ และทรงกระบอก การนาความรเู๎ กยี่ วกับพื้นท่ผี วิ ของปรซิ มึ และ
ทรงกระบอกไปใช๎ในการแกป๎ ญั หา การหาปรมิ าตรของปริซมึ และทรงกระบอก การนาความรเ๎ู ก่ยี วกับปรมิ าตรของปรซิ มึ และ

ทรงกระบอกไปใชใ๎ นการแก๎ปัญหา
-สถิติ การนาเสนอและวิเคราะห์ขอ๎ มูล แผนภาพจดุ แผนภาพต๎น-ใบ ฮิสโตแกรม คํากลางของขอ๎ มูลการแปล

ความหมายผลลพั ธ์ การนาสถติ ไิ ปใชใ๎ นชีวติ จริง

เพอื่ ใหส๎ ามารถใช๎ความร๎ู ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยใี นการแก๎ปัญหาในสถานการณต์ ําง ๆ ได๎อยาํ ง
เหมาะสม ร๎ูจกั ใชว๎ ธิ ีการทหี่ ลากหลายในการในการแกป๎ ญั หา ใช๎เหตุผลประกอบการตัดสนิ ใจ ใชภ๎ าษา และสัญลักษณท์ าง

คณิตศาสตรใ์ นการสือ่ สาร การสื่อความหมาย และการนาเสนอได๎อยาํ งถกู ต๎องและชัดเจน สามารถเชื่อมโยงและนาความรู๎
หลักการกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ไปใช๎ในการเรยี นรสู๎ ิง่ ตําง ๆ และใช๎ชีวติ ประจาวนั รวมทั้งเหน็ คณุ คําและมเี จตคติท่ีดตี อํ
คณิตศาสตร์ มีความคิดรเิ ร่มิ สร๎างสรรค์ สามารถทางานอยํางมีระบบ มีระเบยี บ มีความรอบคอบ มีความรบั ผิดชอบ มี

วิจารณญาณ และมีความเช่ือม่นั ในตนเอง

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ค ๑.๑ ม.๒/๒
ค ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒

ค ๒.๒ ม.๒/๕
ค ๓.๑ ม.๒/๑

รวมทั้งหมด ๔ มาตรฐาน ๕ ตวั ช้ีวัด

หลกั สตู รมธั ยมศกึ ษาตอนต๎น โรงเรียนบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๖

คาอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน กลมุํ สาระการเรียนรคู๎ ณิตศาสตร์
เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนํวยกิต
รหสั วชิ า ค ๒๓๑๐๑ รายวิชาคณติ ศาสตร์ ๕
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑

ศึกษา ฝกึ ทักษะ / กระบวนการในสาระตํอไปนี้
-ระบบสมการ ระบบสมการเชิงเสน๎ สองตัวแปรการแก๎ระบบสมการเชงิ เสน๎ สองตัวแปรการนาความรู๎เก่ยี วกับระบบสมการ

เชงิ เสน๎ สองตวั แปรไปใช๎ในการแกป๎ ัญหา
-พื้นที่ผิวและปรมิ าตร การหาพนื้ ท่ีผิวของพีระมิด กรวยและทรงกลม การนาความรู๎พื้นทผี่ ิวของพรี ะมดิ กรวย และทรง

กลมไปใช๎ในการแก๎ปญั หา การหาปรมิ าตรของพรี ะมดิ กรวย และทรงกลม การนาความรูเ๎ กย่ี วกับปรมิ าตรของพีระมดิ กรวย และ

ทรงกลมไปใชใ๎ นการแก๎ปัญหา
-ความคลา๎ ย รปู สามเหล่ียมท่คี ล๎ายกนั การนาความรเ๎ู กย่ี วกบั ความคล๎ายไปใช๎ในการแก๎ปญั หา

-การแยกตวั ประกอบพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหนุ ามดกี รสี งู กวําสอง
-สมการกาลงั สองตัวแปรเดยี ว สมการกาลังสองตวั แปรเดยี ว การแกส๎ มการกาลงั สองตัวแปรเดยี ว การนาความรูเ๎ ก่ยี วกับ
การแก๎สมการกาลงั สองตวั แปรเดียวไปใช๎ในการแก๎ปญั หา

-ฟังก์ชนั กาลังสอง กราฟของฟงั กช์ นั กาลงั สอง การนาความรเ๎ู ก่ียวกับฟังกช์ ันกาลังสองไปใชใ๎ นการแก๎ปัญหา
โดยจดั ประสบการณ์หรอื สร๎างสถานการณ์ในชีวติ ประจาวนั ท่ใี กล๎ตวั ให๎ผู๎เรียนได๎ศึกษา ค๎นควา๎ โดยการปฏิบัติจริง ทดลอง

สรุป รายงาน เพอ่ื พัฒนาทักษะ/กระบวนการ ในการคดิ คานวณ การแกป๎ ัญหา การให๎เหตุผล การสื่อความหมายทางคณติ ศาสตร์
และนาประสบการณด์ ๎านความร๎ู ความคิดทักษะกระบวนการทไี่ ด๎ไปใช๎ในการเรียนรู๎สิง่ ตํางๆ และใช๎ในชวี ติ ประจาวนั อยําง
สร๎างสรรค์ รวมทงั้ เหน็ คณุ คําและเจตคตทิ ด่ี ีตํอคณิตศาสตร์ สามารถทางานอยาํ งเป็นระบบระเบยี บ มคี วามรอบคอบ มีความ

รับผดิ ชอบ มวี ิจารณญาณ และมีความเชือ่ มั่นในตนเอง
การวดั ผลประเมินผล ใชว๎ ิธีการทห่ี ลากหลายตามสภาพความเป็นจริงให๎สอดคลอ๎ งกบั เนอ้ื หา และทักษะที่ตอ๎ งการวัด

มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ค ๑.๑ ม. ๓/๑, ม. ๓/๒

ค ๑.๒ ม.๓/๒, ม.๓/๓
ค ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒

ค ๒.๒ ม.๓/๑
รวมทง้ั หมด ๔ มาตรฐาน ๗ ตวั ชี้วัด

หลกั สูตรมธั ยมศึกษาตอนตน๎ โรงเรียนบ๎านมวํ งดง ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๗

คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลมุํ สาระการเรยี นรูค๎ ณิตศาสตร์
เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนํวยกิต
รหัสวิชา ค ๒๓๑๐๒ รายวิชา คณติ ศาสตร์ ๖
มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๒

ศกึ ษา ฝกึ ทักษะ / กระบวนการในสาระตอํ ไปนี้
-อสมการ อสมการเชิงเส๎นตวั แปรเดยี ว การแกส๎ มการเชิงเส๎นตวั แปรเดยี ว การนาความรู๎เกีย่ วกับการแกอ๎ สมการเชงิ เสน๎

ตวั แปรเดยี วไปใช๎ในการแก๎ปัญหา
-อตั ราสํวนตรีโกณมิติ อตั ราสํวนตรีโกณมิติ การนาคําอัตราสวํ นตรโี กณมติ ิของมุม ๓๐ องศา ๔๕ องศาและ ๖๐ องศาไป

ใช๎ในการแก๎ปญั หา

-สถติ ิ ข๎อมูลและการวิเคราะห์ขอ๎ มูล แผนภาพกลอํ ง การแปลความหมายผลลพั ธ์ การนาสถติ ิไปใช๎ในชีวิตจรงิ
-ความนาํ จะเปน็ เหตกุ ารณ์จากการทดลองสํมุ ความนาํ จะเป็น การนาความรูเ๎ กี่ยวกบั ความนําจะเป็นไปใชใ๎ นชวี ติ จริง

-วงกลม วงกลม คอรด์ และเสน๎ สัมผัส ทฤษฎีเกีย่ วกบั วงกลม
โดยจัดประสบการณ์หรอื สรา๎ งสถานการณ์ในชวี ติ ประจาวนั ที่ใกล๎ตัวให๎ผู๎เรียนไดศ๎ ึกษา คน๎ คว๎าโดยการปฏิบตั ิจรงิ ทดลอง
สรุป รายงาน เพ่ือพฒั นาทักษะ/กระบวนการ ในการคิดคานวณ การแก๎ปัญหา การให๎เหตุผล การส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์

และนาประสบการณ์ดา๎ นความรู๎ ความคิดทกั ษะกระบวนการทไี่ ด๎ไปใช๎ในการเรียนรส๎ู ่ิงตาํ งๆ และใชใ๎ นชีวติ ประจาวันอยําง
สร๎างสรรค์ รวมท้งั เหน็ คุณคาํ และเจตคติท่ดี ีตํอคณติ ศาสตร์ สามารถทางานอยํางเปน็ ระบบระเบยี บ มีความรอบคอบ มคี วาม

รบั ผดิ ชอบ มวี ิจารณญาณ และมคี วามเชือ่ มัน่ ในตนเอง
การวัดผลประเมินผล ใชว๎ ธิ กี ารท่ีหลากหลายตามสภาพความเป็นจริงให๎สอดคลอ๎ งกับเนือ้ หา และทักษะทตี่ อ๎ งการวดั

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ค ๑.๒ ม.๓/๑

ค ๒.๒ ม.๓/๒, ม.๓/๓
ค ๓.๑ ม.๓/๑
รวมท้ังหมด ๓ มาตรฐาน ๔ ตวั ช้ีวัด

หลักสูตรมธั ยมศกึ ษาตอนตน๎ โรงเรียนบ๎านมวํ งดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๘

คาอธบิ ายรายวชิ า
กลุมํ สาระการเรยี นรวู๎ ิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยี

หลักสูตรมธั ยมศึกษาตอนตน๎ โรงเรียนบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๙

คาอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน

รหัสวชิ า ว๒๑๑๐๑ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ๑ กลํมุ สาระการเรยี นร๎วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนํวยกิต

ศกึ ษา วเิ คราะห์ การจาแนกสาร สมบัติทางกายภาพสมบตั ิทางเคมขี องสาร สารเน้อื เดียว สารเน้ือผสมสารแขวนลอย
คอลลอยด์ สารละลาย คาํ pH ของสารละลาย การจัดเรียงอนุภาคและการเคลอ่ื นไหวของอนุภาคกับสถานะของสาร กรด-เบส การ

เตรยี มสารละลายทีร่ ะบคุ วามเข๎มขน๎ เปน็ ร๎อยละ การเปลย่ี นสถานะและการละลายของสารกบั สมบัติ มวลและพลงั งานของสาร
ปริมาณเวคเตอร์ ปริมาณสเกลาร์ ผลของแรงลพั ธ์กบั การเคลอ่ื นทขี่ องวตั ถใุ นหนึ่งมติ ิ องค์ประกอบ และการแบํงช้ันบรรยากาศ
อุณหภมู ขิ องอากาศความชนื้ ความกดอากาศ ลมฟูาอากาศและภูมอิ ากาศ การเปลี่ยนแปลงภูมอิ ากาศ การพยากรณอ์ ากาศ

โดยใชก๎ ารสืบเสาะหาความรู๎ การสารวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทกั ษะในศตวรรษท่ี ๒๑ การ
สืบค๎นขอ๎ มลู และการอภปิ ราย

เพื่อให๎เกิดความรู๎ ความคิด ความเขา๎ ใจ สามารถสอื่ สารสิ่งที่เรียนร๎ู มีความสามารถในการตัดสินใจ การแกป๎ ัญหา การนา
ความรู๎ไปใชใ๎ นชีวิตประจาวัน มจี ิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคํานิยมทีเ่ หมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ว.๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙,ม.๑/๑๐

ว ๒.๒ ม.๑/๑
ว ๒.๓ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔,ม.๑/๖, ม.๑/๗
ว ๓.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๖, ม.๑/๗

รวมท้งั หมด ๔ มาตรฐาน ๒๓ ตัวชี้วัด

หลักสตู รมัธยมศึกษาตอนต๎น โรงเรยี นบ๎านมวํ งดง ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๐

คาอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน

รหัสวชิ า ว ๒๑๑๐๓ รายวิชา วทิ ยาการคานวณ ๑ กลุํมสาระการเรยี นร๎ูวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนํวยกติ

ศึกษาแนวคดิ เชิงนามธรรม การคัดเลอื กคณุ ลักษณะท่จี าเปน็ ตํอการแก๎ปัญหา ข้ันตอนการแกป๎ ัญหา
การเขียนรหสั ลาลองและผงั งาน การเขยี นออกแบบและเขียนโปรแกรมอยํางงาํ ย ที่มีการใช๎งานตัวแปร เงอื่ นไข และการวนซ้า เพื่อ

แกป๎ ญั หาทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ การรวบรวมข๎อมลู ปฐมภมู ิ การประมวลผลขอ๎ มูล การสรา๎ งทางเลอื กและประเมินผล
เพอื่ ตดั สนิ ใจ ซอฟตแ์ วร์และบริการบนอินเทอร์เน็ตท่ใี ช๎ในการจัดการข๎อมลู แนวทางการใช๎งานเทคโนโลยสี ารสนเทศใหป๎ ลอดภัย
การจัดการอัตลกั ษณ์ การพจิ ารณาความเหมาะสมของเน้อื หา ขอ๎ ตกลงและข๎อกาหนดการใช๎สอื่ และแหลํงขอ๎ มูล

นาแนวคิดเชิงนามธรรมและขั้นตอนการแกป๎ ญั หา ไปประยุกตใ์ ชใ๎ นการเขียนโปรแกรม หรือการแกป๎ ัญหาในชวี ิตจรงิ
รวบรวมข๎อมลู และสร๎างทางเลอื ก ในการตดั สนิ ใจไดอ๎ ยาํ งมีประสทิ ธภิ าพและตระหนักถึงการใช๎งานเทคโนโลยีสารสนเทศอยาํ ง

ปลอดภยั เกดิ ประโยชนต์ อํ การเรยี นรู๎ และไมํสรา๎ งความเสียหายให๎แกํผู๎อืน่

มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ว๔.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔

รวมทัง้ หมด ๑ มาตรฐาน ๔ ตวั ชวี้ ัด

หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต๎น โรงเรียนบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๑

คาอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน

รหสั วิชา ว๒๑๑๐๒ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ๒ กลมํุ สาระการเรียนร๎ูวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวํ ยกิต

ศกึ ษา วิเคราะห์ การเรยี นร๎วู ทิ ยาศาสตร์ สมบัติของสารบริสทุ ธิ์ การจาแนกและองคป์ ระกอบของสารบริสทุ ธิ์ เซลล์ การ
ลาเลียงสารเขา๎ ออกเซลล์ การสบื พันธแ์ุ ละขยายพันธพ์ุ ืชดอก การสงั เคราะหด์ ๎วยแสง การลาเลียงน้า ธาตุอาหาร และอาหารของพชื

โดยใช๎การสืบเสาะหาความร๎ู การสารวจตรวจสอบ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทกั ษะการเรียนร๎ูในศตวรรษที่
๒๑ การสืบคน๎ ขอ๎ มลู และการอภิปราย

เพื่อให๎เกิดความรู๎ ความคิด ความเข๎าใจ สามารถส่ือสารสงิ่ ท่ีเรียนรู๎ มีความสามารถในการตัดสินใจ การแกป๎ ญั หา การนา

ความรไ๎ู ปใช๎ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคํานยิ มที่เหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ว ๑.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔,ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙,ม.๑/๑๐, ม.๑/๑๑, ม.๑/๑๒
ม.๑/๑๓, ม.๑/๑๔, ม.๑/๑๕, ม.๑/๑๖, ม.๑/๑๗, ม.๑/๑๘

รวมท้งั หมด ๑ มาตรฐาน ๑๘ ตวั ชว้ี ัด

หลกั สูตรมัธยมศกึ ษาตอนตน๎ โรงเรยี นบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๒

คาอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน

รหสั วิชา ว๒๑๑๐๔ รายวชิ าการออกแบบเทคโนโลยี ๑ กลํุมสาระการเรยี นรูว๎ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวํ ยกติ

ศึกษาแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจาวันและปัจจัยท่ีสํงผลตํอการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี การคัดเลือก
คณุ ลกั ษณะท่ีจาเป็นตอํ การแกป๎ ัญหา ใช๎ทักษะด๎านวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี นการรวบรวม วิเคราะห์ข๎อมูลที่เกี่ยวข๎องกับปัญหา

ออกแบบวิธีการแก๎ไขปัญหาโดยการรํางภาพ เขียนผังงาน ทดสอบประเมินผลและระบุข๎อบกพรํองที่เกิดขึ้น พร๎อมท้ังหาแนวทาง
ปรบั ปรุงแก๎ไขโดยอาจทดสอบซ้า และนาเสนอผลงาน ผํานส่ือออนไลน์ การเขียนรายงาน ใช๎ความรู๎และทักษะวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อ
แก๎ปัญหาไดอ๎ ยาํ งถูกต๎องเหมาะสมและปลอดภยั

นาแนวคดิ เชงิ นามธรรมและขัน้ ตอนการแก๎ปญั หา ไปประยุกตใ์ ช๎ในการเขยี นโปรแกรม หรอื การแกป๎ ัญหาในชีวติ จริง
รวบรวมข๎อมลู และสรา๎ งทางเลือก ในการตดั สินใจไดอ๎ ยํางมีประสิทธิภาพและตระหนักถึงการใชง๎ านเทคโนโลยีสารสนเทศอยําง

ปลอดภยั เกิดประโยชน์ตํอการเรยี นร๎ู และไมํสร๎างความเสยี หายให๎แกํผอ๎ู ่ืน

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ว ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕

รวมทั้งหมด ๑ มาตรฐาน ๕ ตัวชว้ี ัด

หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต๎น โรงเรยี นบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๓

คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน

รหัสวิชา ว๒๒๑๐๑ รหสั วิชาวทิ ยาศาสตร์ ๓ กลุมํ สาระการเรียนรว๎ู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนวํ ยกติ

ศึกษา วิเคราะห์ ระบบหมุนเวยี นเลอื ดของมนษุ ย์ ระบบหายใจของมนุษย์ ระบบขับถาํ ยของมนุษย์ ระบบประสาทของ
มนุษย์ ระบบสืบพันธ์ขุ องมนษุ ย์ การคมุ กาเนิด องค์ประกอบของสารละลาย สภาพละลายได๎ของสาร และปจั จยั ท่ีมผี ลตอํ สภาพ

ละลายได๎ ความเข๎มขน๎ ของสารละลาย วิธกี ารแยกสาร ตาแหนํงของวตั ถุ ระยะทางและการกระจัด ความเรว็ และอัตราเร็ว
โดยใชก๎ ารสืบเสาะหาความร๎ู การสารวจตรวจสอบ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทกั ษะการเรียนรใ๎ู นศตวรรษที่

๒๑ การสืบคน๎ ขอ๎ มลู และการอภิปราย

เพ่อื ใหเ๎ กิดความร๎ู ความคิด ความเข๎าใจ สามารถสื่อสารสงิ่ ทีเ่ รยี นรู๎ มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ การแกป๎ ญั หา การนา
ความรูไ๎ ปใช๎ในชวี ิตประจาวัน มจี ิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคํานิยมที่เหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั

ว ๑.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ม.๒/๙, ม.๒/๑๐, ม.๒/๑๑, ม.๒/๑๒, ม.๒/
๑๓, ม.๒/๑๔, ม.๒/๑๕, ม.๒/๑๖, ม.๒/๑๗

ว ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖
ว ๒.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕

รวมทง้ั หมด ๓ มาตรฐาน ๒๘ ตวั ช้ีวัด

หลักสตู รมัธยมศกึ ษาตอนต๎น โรงเรียนบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๔

คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน

รหสั วชิ า ว๒๒๑๐๓ รายวิชาวทิ ยาการคานวณ ๒ กลมุํ สาระการเรยี นร๎วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนวํ ยกติ

ศึกษาแนวโน๎มเทคโนโลยีที่จะเกิดข้ึน โดยพิจารณาปัจจัยที่สํงผลตํอการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี ใช๎ทักษะด๎าน

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการระบุปัญหาหรือความต๎องการในชุมชน ท๎องถ่ิน รวบรวม วิเคราะห์ข๎อมูลท่ีเก่ียวข๎องกับปัญหา
ออกแบบวิธกี ารแก๎ไขปัญหาโดยการราํ งภาพ เขยี นผังงาน ทดสอบประเมนิ ผลและระบขุ อ๎ บกพรํองทเี่ กิดขน้ึ ภายใต๎กรอบเงอื่ นไขเวลา
พร๎อมทัง้ หาแนวทางปรับปรงุ แก๎ไขโดยอาจทดสอบซ้า และนาเสนอผลงาน ผํานส่ือออนไลน์ การเขียนรายงาน ใช๎ความรู๎และทักษะ

วสั ดุ อปุ กรณ์ เพือ่ แก๎ปญั หาได๎อยาํ งถูกตอ๎ งเหมาะสมและปลอดภยั
โดยใชก๎ ารสืบเสาะหาความรู๎ การสารวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทักษะการเรยี นรูใ๎ นศตวรรษท่ี

๒๑ การสืบคน๎ ข๎อมลู และการอภิปราย
เพ่ือให๎เกดิ ความรู๎ ความคิด ความเข๎าใจ สามารถส่ือสารสิง่ ที่เรยี นรู๎ มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจ การแก๎ปัญหา การนา

ความรไู๎ ปใช๎ในชีวติ ประจาวนั มีจิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคาํ นิยมทเี่ หมาะสม

มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ว ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕

รวมท้ังหมด ๑ มาตรฐาน ๕ ตัวชี้วัด

หลกั สูตรมธั ยมศกึ ษาตอนตน๎ โรงเรยี นบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๕

คาอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน

รหสั วชิ า ว๒๒๑๐๒ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์๔ กลุํมสาระการเรยี นร๎วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๖๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หนวํ ยกติ

ศกึ ษา วเิ คราะห์ แรงลัพธ์ แรงเสยี ดทาน แรงและความดันของของเหลว แรงพยุง โมเมนต์ของแรง แรงและสนามของแรง
งานและกาลงั เคร่ืองกลอยาํ งงําย พลงั งานกล กฎการอนุรกั ษพ์ ลงั งาน ลักษณะของช้ันหน๎าตัดดิน กระบวนการเกิดดิน ปัจจัยที่ทา

ใหด๎ นิ มีลักษณะและสมบตั แิ ตกตาํ งกัน การตรวจวัดสมบตั ิบางประการของดนิ และการใชป๎ ระโยชนด์ ิน กระบวนการเกดิ แหลํงน้าผิว
ดนิ และแหลํงนา้ ใตด๎ ิน การใช๎น้าอยํางยง่ั ยนื ในทอ๎ งถิน่ กระบวนการเกิด สมบัติ การใช๎ประโยชน์และผลกระทบจากการใช๎เช้ือเพลิง
ซากดึกดาบรรพ์ พลังงานทดแทน กระบวนการผุพังอยํูกับท่ี การกรํอน และการสะสมตัวของตะกอน กระบวนการเกิดและ

ผลกระทบของน้าทํวม การกัดเซาะชายฝั่ง ดินถลํม หลมุ ยุบ แผํนดนิ ทรดุ โครงสรา๎ งภายในโลกตามองค์ประกอบทางเคมี
โดยใชก๎ ารสบื เสาะหาความรู๎ การสารวจตรวจสอบ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะการเรียนร๎ูในศตวรรษท่ี

๒๑ การสืบคน๎ ข๎อมลู และการอภิปราย
เพอื่ ใหเ๎ กิดความรู๎ ความคิด ความเข๎าใจ สามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนร๎ู มีความสามารถในการตัดสินใจ การแก๎ปัญหา การนา

ความร๎ูไปใชใ๎ นชวี ิตประจาวัน มจี ติ วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคาํ นิยมท่เี หมาะสม

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ว ๒.๒ ม๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ม.๒/๙, ม.๒/๑๐, ม.๒/๑๑, ม.๒/๑๒, ม.๒/๑๓, ม.๒/๑๔,
ม.๒/๑๕
ว ๒.๓ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖
ว ๓.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ม.๒/๙, ม.๒/๑๐

รวมท้งั หมด ๓ มาตรฐาน ๒๖ ตวั ช้ีวัด

หลักสตู รมัธยมศกึ ษาตอนตน๎ โรงเรียนบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๖

คาอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน

รหัสวิชา ว๒๒๑๐๔ รายวชิ าการออกแบบเทคโนโลยี ๒ กลมํุ สาระการเรยี นรูว๎ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนวํ ยกิต

ศึกษาแนวคดิ เชงิ นามธรรม การคดั เลือกคณุ ลักษณะท่ีจาเป็นตํอการแก๎ปัญหา ขั้นตอนการแก๎ปัญหา การเขียนรหัสลาลอง

และผังงาน การเขียนออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีใช๎ตรรกะและฟังก์ชัน เพื่อแก๎ปัญหาทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ การ
อภิปรายองค์ประกอบและหลกั การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการส่ือสารเพื่อประยุกต์ใช๎งานและการแก๎ปัญหา
เบื้องต๎น ใช๎ซอฟตแ์ วร์และบรกิ ารบนอนิ เทอร์เนต็ ทใ่ี ชใ๎ นการจดั การขอ๎ มลู แนวทางการใชง๎ านเทคโนโลยีสารสนเทศให๎ปลอดภัย การ

จัดการอัตลักษณ์ การพิจารณาความเหมาะสมของเนื้อหา ข๎อตกลงและข๎อกาหนดการใช๎สื่อและแหลํงข๎อมูล นาแนวคิดเชิง
นามธรรมและข้ันตอนการแก๎ปัญหา ไปประยุกต์ใช๎ในการเขียนโปรแกรม หรือการแก๎ปัญหาในชีวิตจริง รวบรวมข๎อมูลและสร๎าง

ทางเลือก ในการตัดสินใจได๎อยํางมีประสิทธิภาพและตระหนักถึงการใช๎งานเทคโนโลยีสารสนเทศอยํางปลอดภัย เกิดประโยชน์ตํอ
การเรยี นร๎ู และไมํสร๎างความเสยี หายให๎แกํผอ๎ู ่นื การสร๎างและแสดงสทิ ธิความเปน็ เจา๎ ของผลงาน

โดยใช๎การสืบเสาะหาความรู๎ การสารวจตรวจสอบ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทกั ษะการเรยี นรใ๎ู นศตวรรษที่

๒๑ การสืบค๎นข๎อมูลและการอภิปราย
เพ่อื ให๎เกดิ ความรู๎ ความคิด ความเขา๎ ใจ สามารถส่ือสารส่ิงท่เี รียนรู๎ มคี วามสามารถในการตัดสินใจ การแกป๎ ญั หา การนา

ความรไู๎ ปใช๎ในชีวติ ประจาวนั มจี ิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคาํ นิยมท่ีเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั
ว ๔.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔

รวมท้งั หมด ๑ มาตรฐาน ๔ ตวั ชว้ี ัด

หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต๎น โรงเรียนบ๎านมํวงดง ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๗

คาอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน

รหสั วิชา ว๒๓๑๐๑ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ ๕ กลมุํ สาระการเรียนรูว๎ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ชว่ั โมง ๑.๕ หนวํ ยกิต

ศกึ ษา วิเคราะห์ ปฏสิ ัมพันธร์ ะหวาํ งองคป์ ระกอบทม่ี ีชวี ติ และองคป์ ระกอบไมํมีชีวิต สายใยอาหาร รูปแบบความสัมพันธ์
ของสิ่งมีชีวิต เชํน ภาวะพึ่งพา ภาวะอิงอาศัย การสะสมสารพิษในโซํอาหาร โครโมโซม ยีน ดีเอ็นเอ การถํายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรมจากการผสมโดยพิจารณาลักษณะเดียวที่แอลลีลเดํนขํมแอลลีลด๎อยอยํางสมบูรณ์ รวมถึงการเกิดฟีโนไทป์และจีโนไทป์
และการคานวณ ความสาคัญของการแบํงเซลล์แบบไมํโทซิสและไมโอซิส โรคทางพันธุกรรม สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ( GMO)
ความหลากหลายทางชีวภาพ เพอลเิ มอร์ เซรามกิ ส์และวัสดผุ สม การเปล่ียนแปลงพลังงานความร๎อนของปฏิกิริยาการเกิดปฏิกิริยา
เคมี

โดยใชก๎ ารสืบเสาะหาความรู๎ การสารวจตรวจสอบ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทักษะการเรียนรู๎ในศตวรรษท่ี
๒๑ การสบื คน๎ ข๎อมูลและการอภปิ ราย

เพื่อให๎เกดิ ความร๎ู ความคิด ความเขา๎ ใจ สามารถส่ือสารสิ่งที่เรยี นร๎ู มีความสามารถในการตัดสินใจ การแก๎ปัญหา การนา
ความรูไ๎ ปใชใ๎ นชีวิตประจาวัน มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคาํ นยิ มทเ่ี หมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด

ว ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ว ๑.๓ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐,

ม.๓/๑๑
ว ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘

รวมทงั้ หมด ๓ มาตรฐาน ๒๕ ตัวชว้ี ัด

หลกั สูตรมธั ยมศึกษาตอนต๎น โรงเรยี นบ๎านมวํ งดง ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๘

คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน

รหัสวิชา ว๒๒๑๐๓ รายวชิ าวิทยาการคานวณ ๓ กลมุํ สาระการเรยี นร๎วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง ๐.๕ หนํวยกิต

ศึกษาวเิ คราะห์สาเหตหุ รอื ปัจจัยท่สี ํงผลตอํ การเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยีและความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับศาสตร์อ่ืน โดย

ใชท๎ ักษะดา๎ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีในการระบุปญั หาหรือความตอ๎ งการในชุมชน ท๎องถิ่น รวบรวม วิเคราะห์ข๎อมูลที่เก่ียวข๎อง
กับปญั หา ออกแบบวิธีการแกไ๎ ขปญั หาโดยการราํ งภาพ เขยี นผงั งาน ทดสอบประเมินผลและระบุข๎อบกพรํองที่เกิดขึ้นภายใต๎กรอบ
เง่ือนไขเวลา พร๎อมท้ังหาแนวทางปรับปรุงแก๎ไขโดยอาจทดสอบซ้า และนาเสนอผลงาน ผํานสื่อออนไลน์ การเขียนรายงาน ใช๎

ความรแู๎ ละทักษะวสั ดุ อุปกรณ์ เพือ่ แก๎ปญั หาไดอ๎ ยํางถกู ตอ๎ งเหมาะสมและปลอดภัย
โดยใชก๎ ารสืบเสาะหาความร๎ู การสารวจตรวจสอบ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทกั ษะการเรยี นรู๎ในศตวรรษที่

๒๑ การสืบค๎นขอ๎ มลู และการอภิปราย
เพ่อื ให๎เกิดความรู๎ ความคิด ความเขา๎ ใจ สามารถส่ือสารสิง่ ที่เรียนร๎ู มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจ การแกป๎ ัญหา การนา

ความร๎ูไปใช๎ในชีวติ ประจาวนั มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคาํ นิยมที่เหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ว๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕

รวมท้งั หมด ๑ มาตรฐาน ๕ ตัวชวี้ ัด

หลกั สตู รมัธยมศกึ ษาตอนต๎น โรงเรยี นบ๎านมวํ งดง ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๙

คาอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน

รหสั วิชา ว๒๓๑๐๒ รายวชิ าวิทยาศาสตร์๖ กลุํมสาระการเรียนรู๎วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง ๑.๕ หนํวยกติ

ศึกษา วิเคราะห์ วงจรไฟฟูาเบื้องต๎น วงจรไฟฟูาในบ๎าน พลังงานไฟฟูา อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต๎น การเกิดคล่ืนและ
สํวนประกอบของคล่ืน คลื่นแมํเหล็กไฟฟูาเบื้องต๎น ความสวํางและการมองเห็น การสะท๎อนของแสง การหักเหของแสง ทัศน

อปุ กรณ์ การโคจรของดาวเคราะหร์ อบดวงอาทติ ยด์ ว๎ ยแรงโน๎มถํวงจากสมการ การเกดิ ฤดู การเคล่ือนท่ีปรากฏของดวงอาทิตย์ การ
เกิดข๎างขน้ึ ข๎างแรม การขึน้ และตกของดวงจนั ทร์ การเกิดนา้ ข้นึ น้าลงเทคโนโลยอี วกาศ โครงการสารวจอวกาศ

โดยใช๎การสบื เสาะหาความร๎ู การสารวจตรวจสอบ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทักษะการเรียนร๎ูในศตวรรษที่

๒๑ การสบื คน๎ ขอ๎ มลู และการอภปิ ราย
เพื่อใหเ๎ กิดความรู๎ ความคดิ ความเขา๎ ใจ สามารถสอ่ื สารสงิ่ ท่เี รียนรู๎ มีความสามารถในการตัดสินใจ การแก๎ปัญหา การนา

ความรไ๎ู ปใช๎ในชีวติ ประจาวัน มจี ิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคาํ นยิ มท่ีเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ว ๒.๓ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐,
ม.๓/๑๑, ม.๓/๑๒, ม.๓/๑๓, ม.๓/๑๔, ม.๓/๑๕, ม.๓/๑๖, ม.๓/๑๗, ม.๓/๑๘,
ม.๓/๑๙, ม.๓/๒๐, ม.๓/๒๑
ว ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔

รวมทั้งหมด ๒ มาตรฐาน ๒๕ ตัวช้วี ัด

หลักสูตรมัธยมศกึ ษาตอนต๎น โรงเรยี นบ๎านมวํ งดง ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๕๐

คาอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

รหัสวิชา ว๒๒๑๐๔ รายวชิ าการออกแบบเทคโนโลยี ๓ กลํุมสาระการเรียนร๎ูวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หนํวยกติ

ศึกษาและพัฒนาแอปพลิเคชันที่มีการบูรณาการกับวิชาอ่ืนอยํางสร๎างสรรค์ การรวบรวมข๎อมูลปฐมภูมิ การประมวลผล

ข๎อมลู การสรา๎ งทางเลือกและประเมินผลเพ่ือตดั สนิ ใจซอฟต์แวร์และบริการบนอินเทอร์เน็ตที่ใช๎ในการจัดการข๎อมูล ประเมินความ
นําเช่ือถือของข๎อมูล เชํนตรวจสอบและยืนยันข๎อมูล แนวทางการใช๎งานเทคโนโลยีสารสนเทศให๎ปลอดภัย การพิจารณาความ
เหมาะสมของเนื้อหา ข๎อตกลงและข๎อกาหนดการใช๎ส่ือและแหลํงข๎อมูล นาแนวคิดเชิงนามธรรมและขั้นตอนการแก๎ปัญหา ไป

ประยุกต์ใช๎ในการเขียนโปรแกรม หรือการแก๎ปัญหาในชีวิตจริง รวบรวมข๎อมูลและสร๎างทางเลือก ในการตัดสินใจได๎อยํางมี
ประสทิ ธภิ าพและตระหนกั ถึงการใช๎งานเทคโนโลยีสารสนเทศอยํางปลอดภัย และมีความรับผิดชอบตํอสังคม ปฏิบัติตามกฎหมาย

เกย่ี วกับคอมพิวเตอร์ ใช๎ลิขสทิ ธ์ขิ องผอู๎ นื่ โดยชอบธรรม
โดยใชก๎ ารสืบเสาะหาความร๎ู การสารวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทกั ษะการเรยี นรู๎ในศตวรรษที่

๒๑ การสืบคน๎ ขอ๎ มลู และการอภปิ ราย

เพือ่ ใหเ๎ กิดความร๎ู ความคิด ความเขา๎ ใจ สามารถส่ือสารส่ิงท่ีเรียนร๎ู มคี วามสามารถในการตัดสินใจ การแกป๎ ญั หา การนา
ความร๎ูไปใช๎ในชวี ิตประจาวัน มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคํานิยมทเี่ หมาะสม

มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ว ๔.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔

รวมทั้งหมด ๑ มาตรฐาน ๔ ตัวช้ีวัด

หลักสตู รมธั ยมศึกษาตอนตน๎ โรงเรียนบ๎านมวํ งดง ๒๕๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)


Click to View FlipBook Version