The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงาน กศน.จังหวัดพัทลุง ได้จัดทำคู่มือการขับเคลื่อนงานการส่งเสริมการอ่าน โดยมี 4 แนวทาง เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายประชาชนทุกช่วงวัยในจังหวัดพัทลุง ได้รักการอ่าน เพื่ออนาคตลูกหลาน คนเมืองลุง (คู่มือนี้สร้างขึ้นมาเพื่อการศึกษาและการเรียนรู้ ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ในด้านการค้า และขอขอบคุณทุกแหล่งความรู้ที่มา)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phattalung nfephattalung, 2022-08-17 00:34:58

คู่มือ 4 แนวทาง เมืองลุง เมืองนักอ่าน

สำนักงาน กศน.จังหวัดพัทลุง ได้จัดทำคู่มือการขับเคลื่อนงานการส่งเสริมการอ่าน โดยมี 4 แนวทาง เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายประชาชนทุกช่วงวัยในจังหวัดพัทลุง ได้รักการอ่าน เพื่ออนาคตลูกหลาน คนเมืองลุง (คู่มือนี้สร้างขึ้นมาเพื่อการศึกษาและการเรียนรู้ ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ในด้านการค้า และขอขอบคุณทุกแหล่งความรู้ที่มา)

Keywords: คู่มือ 4 แนวทาง เมืองลุง เมืองนักอ่าน

คำนำ

การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มีจุดมุ่งหมายให้คนทุกช่วงวัย
มีคุณลกั ษณะ ทกั ษะ และสมรรถนะตรงตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ ที่สอดคลอ้ งกับกรอบยุทธศาสตร์ชาติ
ระยะ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 นโยบายรฐั บาล นโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ
และแผนแม่บทส่งเสริมวัฒนธรรมการอ่านสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ของไทย พ.ศ. 2560 – 2564 เพื่อให้การ
ขับเคลื่อนการจัดการศึกษาเป็นไปตามทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่มีสื่อ นวัตกรรมช่องทางการเรียนรู้
และกระบวนการเรียนรู้ รูปแบบที่หลากหลาย ทันสมัย และรองรับกับสภาวะการเรียนรู้ในสถานการณ์ต่างๆ
เพม่ิ มากข้ึน

สำนักงาน กศน.จังหวัดพัทลุง จึงตระหนักถึงการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยทุกรูปแบบ
จึงได้จัดทำคู่มือแนวทางการส่งเสริมการอ่าน “เมืองลุง เมืองนักอ่าน” ที่จะช่วยให้การจัดกิจกรรมเป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยการนำสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อเทคโนโลยีดิจิทัล เข้ามาจัดกิจกรรมตามยุค
และเหตุการณ์ปัจจุบัน ที่จะส่งผลต่อการพัฒนาการอ่านของนักศึกษา กศน. และประชาชนทุกช่วงวัย ให้ได้รับ
การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย สร้างการพัฒนานิสัยรักการอ่าน เพิ่มอัตราการอ่าน สู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต
ทำใหเ้ ปน็ คนที่สมบูรณ์ ท้งั ดา้ นจติ ใจและบุคลิกภาพ เพอ่ื อนาคตลูกหลาน คนเมอื งลุง ที่สามารถนำความรู้ไปใช้
ในการดำรงชวี ติ ไดอ้ ย่างมคี วามสุข ต่อไป

กลุ่มส่งเสริมการศกึ ษาตามอัธยาศยั
สำนักงาน กศน.จังหวัดพัทลุง



สารบญั หน้า

ส่วนที่ 1 บทนำ 1
1. ความสำคัญ
2. วตั ถุประสงค์ 1
3. ยทุ ธศาสตร์ 3
4. ภารกจิ 3
5. เป้าหมาย 3
6. นิยามศัพท์ 4
4
ส่วนท่ี 2 บทบาทหนา้ ทผ่ี ขู้ ับเคลือ่ นการส่งเสรมิ การอ่าน “เมืองลุง เมืองนักอ่าน”
1. สำนักงาน กศน.จังหวัด 6
2. กศน.อำเภอ
3. บรรณารกั ษ์ 6
4. ครู กศน.ตำบล 6
5. อาสาสมัครส่งเสรมิ การอ่าน 7
6. ภาคเี ครอื ขา่ ย 7
8
ส่วนที่ 3 แนวทางการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่าน “เมืองลงุ เมืองนกั อ่าน” 8
แนวทางท่ี 1 การส่งเสริมการอ่านในห้องสมดุ ประชาชน
กิจกรรมท่ี 1 หุ่นน้ิวในนิทาน 9
กิจกรรมท่ี 2 มงกฎุ หรรษา
กิจกรรมท่ี 3 นทิ านผ้ากันเปอ้ื น 15
กิจกรรมท่ี 4 ระบายสกี ับนทิ าน
กิจกรรมท่ี 5 สนี อ้ี ยทู่ ่ไี หน 15
กิจกรรมที่ 6 DIY พัดหัดอา่ นเขียน 16
กจิ กรรมที่ 7 การด์ ความรู้อยใู่ นหนงั สือพิมพ์ 17
กจิ กรรมท่ี 8 บันทกึ รักการอ่านเสริมสรา้ งพัฒนาการ 18
กจิ กรรมที่ 9 ตามหายอดนกั อ่าน 19
กิจกรรมที่ 10 พน่ี อ้ งท่องอินเทอร์เนต็ 20
กจิ กรรมที่ 11 ทีค่ นั่ หนงั สอื สือ่ ความรู้ 21
กิจกรรมท่ี 12 หรรษาสารานกุ รมไทย 22
23
24
25
26

กิจกรรมท่ี 13 หนงั สืออา่ นฟรี E-book เคล่อื นที่ หนา้
กิจกรรมท่ี 14 อา่ นแลว้ ทำนำไปใช้ประโยชน์
กจิ กรรมที่ 15 เมืองลงุ เมืองน่าเท่ยี ว 27
กิจกรรมท่ี 16 DIY สายคลอ้ งแมสก์ 28
กิจกรรมท่ี 17 สขุ ภาพดี มีสุข 29
กิจกรรมท่ี 18 Box Set เกรด็ อาชีพ 30
กิจกรรมท่ี 19 พัทลุงน่ารู้ 31
กิจกรรมที่ 20 เล่มใหม่ชวนอ่าน (แนะนำหนงั สอื ใหม่) 32
กจิ กรรมท่ี 21 ใตร้ ม่ พระบารมี (บญุ คุณพระมหากษตั รยิ ไ์ ทย) 33
กจิ กรรมท่ี 22 ดมื่ อร่อย (มมุ กาแฟ) 34
กจิ กรรมที่ 23 Kahoot สขุ สุดหรรษา 35
กจิ กรรมที่ 24 มารู้จักหนงั สอื กนั เถอะ 36
กจิ กรรมที่ 25 ป๊อบอพั หรรษาพาสนกุ 37
กจิ กรรมท่ี 26 ตี ฆอ้ ง รอ้ ง ป่าว ชาว กศน. 38
39
แนวทางที่ 2 ห้องสมุดประชาชนสาขา/เครอื ขา่ ย 40

กิจกรรมที่ 1 15 นาทชี ค้ี วามรู้ 41
กิจกรรมที่ 2 นักอา่ นหลากหลายสไตลน์ ้องคิวอาร์ (โคด้ )
กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมการอา่ น “นทิ านลอ่ งหน” 41
กจิ กรรมที่ 4 ส่งเสริมการอา่ น (เลา่ นทิ าน) ผา่ นสือ่ ประดษิ ฐ์ 42
กจิ กรรมที่ 5 หนงั สือ/สมดุ จิ๋วควิ อารโ์ ค้ด 44
กจิ กรรมท่ี 6 ผเู้ ฒา่ เล่านิทาน 45
กิจกรรมท่ี 7 แป้งปั้น เรียนรู้สู่นิทาน (สร้างเรือ่ งใหเ้ ป็นตวั ) 46
กิจกรรมที่ 8 ตกุ๊ ตาผา้ ขนหนูแฟนซี 48
กิจกรรมท่ี 9 พีเ่ ลา่ นอ้ งอ่าน ผ่าน BiG Book 49
กจิ กรรมที่ 10 มดตะนอย นอ้ ย 50
กิจกรรมที่ 11 เรยี นรู้หนทู ำได้ face shield 51
กจิ กรรมท่ี 12 สนกุ คิด สนกุ อา่ น สำราญเขยี น 52
กิจกรรมท่ี 13 ตอบปญั หาคา่ นิยมสูส่ ารานุกรมไทย 53
55
57

กจิ กรรมที่ 14 หอ้ งสมดุ นำความรูส้ โู่ ลกกว้าง หนา้
กิจกรรมท่ี 15 หนังสอื สไลด์ อา่ นออนไลน์
กิจกรรมที่ 16 DIY ที่แขวงต่างหู ออนไลน์ 58
กิจกรรมที่ 17 หนังสอื อา่ นฟรี E-book เคล่อื นท่ี 59
กิจกรรมท่ี 18 อาณาจกั รนักอ่าน 5 ฐานการเรยี นรู้ (concept) 60
61
แนวทางท่ี 3 บา้ นหนงั สือชุมชน 62

กิจกรรมที่ 1 เลน่ กบั ผ้า 64
กจิ กรรมที่ 2 ใบไม้สร้างอาชีพ
กิจกรรมท่ี 3 การทำ เครอ่ื งหอมไทย บุหงารำไป 64
กจิ กรรมที่ 4 การทำน้ำหอมเอนกประสงคบ์ ำบดั 65
กจิ กรรมท่ี 5 ไอเดยี การหอ่ ของขวญั หลากหลายสไตล์ 66
กิจกรรมท่ี 6 การประดิษฐ์ดอกไม้จากใบเตย 67
กิจกรรมท่ี 7 ปน้ั ดินพัฒนาสมอง 68
กิจกรรมที่ 8 หนา้ กากผา้ ดว้ ยตนเอง 69
กจิ กรรมท่ี 9 งานประดษิ ฐ์จากไมไ้ อศกรีม 70
กิจกรรมท่ี 10 การประดิษฐด์ อกไม้จากถงุ นำ้ ยาปรบั ผา้ นุ่ม 71
กิจกรรมที่ 11 แฟชนั่ กระเป๋ากระดาษ 72
กจิ กรรมที่ 12 กุหลาบเวยี งพงิ ค์ สุดเก๋ 73
กิจกรรมท่ี 13 สร้อยแขนจากหลอดกาแฟ กระดาษนติ ยสาร 74
กจิ กรรมท่ี 14 ถุงใส่ของลดโลกร้อน (กระเป๋าผา้ หูรูด) 75
กจิ กรรมที่ 15 ส่งิ ประดิษฐ์ จากเศษผา้ เหลือใช้ 76
กิจกรรมท่ี 16 นำ้ สมนุ ไพรอญั ชนั ใบเตยเพื่อสขุ ภาพ 77
กจิ กรรมที่ 17 น้ำมะม่วงหาวนะนาวโหเ่ พ่ือสุขภาพ 78
กจิ กรรมท่ี 18 การทำน้ำตะไครใ้ บเตยเพื่อสขุ ภาพ 79
กจิ กรรมที่ 19 การทำน้ำเต้าหู้เพ่ือสขุ ภาพ 80
กจิ กรรมท่ี 20 การทำขนมโดนัทแฟนซี 81
กิจกรรมที่ 21 การทำพายสับปะรด (ไสส้ บั ปะรดกวน) 82
กิจกรรมที่ 22 เมนพู ริกทอดกรอบ 83
กิจกรรมท่ี 23 เมนนู ำ้ พริก 84
86
88

กิจกรรมท่ี 24 การเพาะถัว่ งอกพอเพียง หนา้
กิจกรรมที่ 25 สาระนา่ รูว้ ันนี้
89
แนวทางท่ี 4 กศน.สร้างสุขเพ่อื ประชาชน (เคล่อื นที)่ 90

กจิ กรรมท่ี 1 สมดุ ภาพ “เงานีค้ อื ใครนะ” 91
กจิ กรรมท่ี 2 ระบายสภี าพ 3 D
กจิ กรรมที่ 3 อะไรอยูใ่ นซอง 91
กิจกรรมที่ 4 มงกฎุ ในฝนั 92
กิจกรรมท่ี 5 กจิ กรรมนิทานหรรษา 93
กิจกรรมที่ 6 เจ้าหนตู วั นอ้ ย 94
กิจกรรมท่ี 7 กิจกรรมหนอนหรรษา 95
กิจกรรมท่ี 8 ห่นุ มือถงุ กระดาษ 96
กิจกรรมที่ 9 ปลาในโหลแก้ว 97
กิจกรรมที่ 10 ห่นุ นวิ้ มอื 98
กิจกรรมที่ 11 การระบายสภี าพอาชีพในฝนั 99
กจิ กรรมท่ี 12 DIY ทค่ี นั่ หนงั สือ 100
กจิ กรรมท่ี 13 ทชิ ชหู รรษา 101
กิจกรรมที่ 14 รถโมบายเคลอ่ื นที “คำศัพทโ์ ดนใจ” 102
กิจกรรมท่ี 15 รถโมบายเคลอ่ื นท่ี “อะไรเอย่ ” 103
กจิ กรรมที่ 16 ทายภาพ สุภาษติ คำพังเพย 104
กิจกรรมที่ 17 4 รวม 1 105
กจิ กรรมที่ 18 Kahoot! คิดไว ได้ความรู้ 106
กจิ กรรมท่ี 19 การพบั ดอกกุหลาบจากใบเตยหอม 107
กิจกรรมท่ี 20 นำ้ สมนุ ไพรเพื่อสขุ ภาพ “การทำนำ้ อัญชนั มะนาว” 108
กิจกรรมที่ 21 การทำถงุ ผ้าลดโลกร้อน 109
กจิ กรรมท่ี 22 การเพาะถ่วั งอกในตะกร้า 111
กจิ กรรมท่ี 23 การพับเหรยี ญโปรยทาน 112
กิจกรรมท่ี 24 การทำหนา้ กากอนามัย 113
114
115

กิจกรรมที่ 25 การทำสายคลอ้ งหน้ากากอนามัย หนา้
กจิ กรรมที่ 26 การทำเจลล้างมอื 117
กจิ กรรมที่ 27 ส่งเสรมิ การอา่ นผ่าน QR – CODE 118
119
บรรณานุกรม
121
คณะผู้จดั ทำ
124



สส่ว่วนนทท่ี ่ี1 1

บทนำ

1.ความสำคัญ

ในยุคศตวรรษที่ 21 การอ่านเป็นสิ่งจำเป็นที่ทุกช่วงวัย จะต้องมีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต
(Lifelong Learning Skill) ตามการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยในรูปแบบกิจกรรมการส่งเสริมการอ่าน ให้กับ
นักศึกษา กศน.และประชาทุกช่วงวัย รวมถึงผู้สูงอายุ ซึ่งมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องได้รับการพัฒนาตั้งแต่
เยาวว์ ยั เพือ่ เปน็ การปลูกฝงั สร้างทกั ษะกระบวนการเรยี นรู้ ใหม้ ีความสามารถในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งเลือก
ตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม และมีเหตุผลในการคิด วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ที่จะส่งผลช่วยให้เกิดประโยชน์สู่
การพัฒนาคุณภาพชวี ิต

จากผลสำรวจการอ่านของสำนักงานอุทยานการเรียนรู้ TK park และสำนักงานสถิติแห่งชาติ
ในปี พ.ศ. 2561 ระบุไว้ว่า คนไทยอ่านหนังสือ โดยเฉลี่ยเดือนละ 3 เล่ม ใช้เวลาอ่านทุกรูปแบบเฉล่ีย
80 นาทตี ่อวนั แบง่ เป็น

ภาพ ประเภทสือ่ ที่คนไทยที่นยิ มอา่ น ในปี พ.ศ.2561

1

โดยวัยรุ่นมีสถิติอ่านหนังสือมากสุดที่ อยู่ท่ี 109 นาทีต่อวัน และผลการสำรวจในครั้งนี้ ยังพบว่า
คนไทยตั้งแต่อายุ 6 ปีขึ้นไป มีตัวเลขการอ่านอยูท่ ี่ 78.8% หรือคิดเป็นจำนวนประชากร 49.7 ล้านคน เพิ่มขึ้น
จากปี พ.ศ. 2558 1.1% ท้ังยังใช้เวลาอา่ นทกุ รูปแบบเฉล่ยี เพ่ิมข้ึนเป็น 80 นาทีตอ่ วัน แบ่งตามอายไุ ดด้ งั น้ี

ภาพ แสดงช่วงวยั ของอายทุ ่ีใช้เวลาการอ่านทุกรปู แบบ ในปี พ.ศ.2561
สำนักงาน กศน.จังหวัดพัทลุง มีความตระหนักถึงความสำคัญในการขับเคลื่อนการจัดการศึกษา
ตลอดชีวิต ในรูปแบบการส่งเสริมการอ่านสู่ “เมืองลุง เมืองนักอ่าน” ที่เป็นส่วนหนึ่งในการที่จะนำกิจกรรม
เข้าจัดการศึกษาให้กับประชาชนทุกช่วงวัย ที่ได้จากการร่วมกิจกรรม ทดลอง ปฏิบัติเรื่องราวจากการอ่าน
เพื่อปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน ที่ส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพและกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างทักษะชีวิต
โดยบูรณาการแหล่งการเรียนรู้ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่าน และพัฒนาศักยภาพ
การเรียนรู้ใหเกิดขึ้นในสังคม ชุมชน ออกไปอย่างกว้างขวางและทั่วถึง “รุกถึงที่ รุยถึงถิ่น” ที่มีห้องสมุด
ประชาชน กศน.ตำบล เป็นฐานในการเรียนรู้ และพร้อมการให้บริการที่ทันสมัย โดยส่งเสริมและสนับสนุน
อาสาสมัครส่งเสริมการอ่านในพื้นที่ จัดหน่วยบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ ห้องสมุดชาวตลาด พร้อมหนังสือและ
อุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ให้บริการกับเด็กปฐมวัยนักเรียน
นักศึกษา กศน.ประชาชนทุกช่วงวัย รวมถึงผู้สูงอายุ ในพื้นที่ต่างๆ อย่างทั่วถึง สม่ำเสมอ รวมทั้งเสริมสร้าง
ความพร้อมในดานบุคลากร สื่ออุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน สู่การปฏิบัติ
“นัง่ ทไ่ี หน อ่านทีน่ ่นั ” และบรรลเุ ป้าหมายตามที่กำหนดตอ่ ไป

2

2. วตั ถุประสงค์

1. เพอ่ื ส่งเสรมิ การพัฒนานิสัยรักการอา่ นของคนทุกชว่ งวัย
2. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้อ่าน และใช้เวลาในการอ่านมากขึ้น โดยได้รับความรู้ ความเข้าใจจากกิจกรรม/แหล่ง
เรยี นรตู้ ามอธั ยาศยั

3. ยุทธศาสตร์

1. ปลูกสรา้ งพฤตกิ รรมรกั การอา่ นทีเ่ ขม้ แขง็ ให้กับคนทุกช่วงวยั
2. อำนวยความสะดวกในการเขา้ ถงึ สอ่ื การอ่านของประชาชน ทั้งในชมุ ชนเมอื งและภูมิภาค
3. ยกระดับคุณภาพแหลง่ เรยี นรู้และสอ่ื การอ่านเพ่ือการเรียนรู้
4. สรา้ งสภาพแวดลอ้ ม ท่ีเออ้ื ตอ่ การส่งเสริมการอ่าน

4. ภารกิจ

ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย (Informal education) ให้กับกลุ่มเป้าหมาย
คือ เด็กปฐมวัย เด็ก เยาวชน นักเรียน นักศึกษา กศน. ประชาชนทุกช่วงวัย และผู้สูงอายุ ซึ่งการจัดการศึกษา
ตามอัธยาศยั จะเปน็ รากฐานสำคญั ของการศกึ ษาตลอดชวี ิต ในรูปแบบที่ไม่ตายตัว ไมม่ ีหลกั สตู ร สามารถเรยี นรู้
ได้ทุกที่ ทุกเวลา “นั่งที่ไหน อ่านที่นั่น” โดยการจัดการศึกษาในรูปแบบนี้ เป็นการศึกษาในการเสริมทักษะ
องค์ความรู้ต่างๆ ผ่านประสบการณ์ตรงที่ได้เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน สำนักงาน กศน.จังหวัดพัทลุง
จึงดำเนินการจัดรูปแบบการศึกษาตามอัธยาศัย ที่สอดคล้องกับความต้องการ และแรงจูงใจใฝ่รู้ของ
กลุ่มเป้าหมาย เปน็ สำคัญ โดยมปี จั จัยในการเออ้ื ตอ่ การจดั การศึกษาตามอัธยาศยั ดงั น้ี

1. จัดกิจกรรมในแหล่งการเรียนรู้ประเภทต่างๆ เช่น ห้องสมุดประชาชน กศน.ตำบล บ้านหนังสือ
ชมุ ชน ศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชน การเรียนร้ดู ว้ ยระบบออนไลน์ พพิ ิธภณั ฑ์ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้จากภูมิปัญญา
ท้องถิ่น การจัดกลุ่มเสวนา หรือการอภิปราย กิจกรรมทางศาสนาและวัฒนธรรม กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
การเผยแพร่ข่าวสารข้อมลู และความรู้ต่างๆ ฯลฯ

2. ส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ได้แก่ สนับสนุนสื่อ หมุนเวียนส่ือ
ให้กับแหล่งเรียนรขู้ องสำนักงาน กศน.จังหวัดพทั ลงุ รวมถึงการรับบรจิ าคหนงั สอื เพื่อส่งต่อให้กับหนว่ ยงานภาคี
และแหลง่ ความรู้ตา่ งๆ

3. ส่งเสริมให้หน่วยงานเครือข่ายจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เช่น ห้องสมุดในสถานที่ราชการ
สถานประกอบการ แหล่งท่องเท่ียว บา้ นหนังสือชุมชน วดั โรงเรยี น ฯลฯ

4. ส่งเสรมิ สนับสนุนการพัฒนาบคุ ลากรตา่ งๆ ตามความตอ้ งการ และความสนใจ

3

5. เป้าหมาย
1. เด็กปฐมวัย อายุ 0 – 6 ปี ได้รบั การสร้างนสิ ัยรักการอา่ น
2. เด็ก เยาวชน นักเรียน อายุ 7 – 14 ปี ได้รับการพัฒนานิสัยรักการอ่านและส่งเสริมการอ่าน

คิด วเิ คราะห์ เปน็ อย่างมรี ะบบ
3. นักศึกษา กศน. ประชาชน อายุ 15 – 59 ปี ได้รับการส่งเสริมการอ่านสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต

และสามารถนำไปพัฒนาอาชีพ ได้อยา่ งมคี ณุ ภาพ
4. ผ้สู งู อายุ 60 ปขี น้ึ ไป ไดร้ ับการสง่ เสรมิ การอา่ น เสรมิ สร้างพัฒนาทางกาย จิต และสมอง

ภาพ แสดงถงึ เปา้ หมายการขับเคลือ่ นงานส่งเสริมการอา่ นใหท้ กุ ช่วงวัยได้รับการอ่านอย่างมีคณุ ภาพ

6. นิยามศพั ท์
“การศึกษาตามอัธยาศัย” หมายความว่า กิจกรรมการเรียนรู้ในวิถีชีวิตประจำวันของบุคคล ซึ่งบุคคล

สามารถเลือกที่จะเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ตามความสนใจ ความต้องการ โอกาสความพร้อม
และศกั ยภาพในการเรยี นรู้ของแตล่ ะบคุ คล

“ภาคีเครือข่าย” หมายความว่า บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และองค์กรอื่น รวมทั้งสถานศึกษาอื่นที่มิได้
สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ตามอธั ยาศยั และรว่ มจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่าน

4

“กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน” หมายความว่า การกระทำต่างๆ เพื่อให้เด็กปฐมวัย เยาวชน นักเรียน
นักศึกษา กศน. ประชาชนและผู้สูงอายุ เกิดความสนใจที่จะอ่าน เห็นความสำคัญของการอ่าน
เกิดความเพลิดเพลินที่จะอ่าน เกิดความมุ่งมั่นที่จะอ่าน เกิดทักษะการคิด และพัฒนาการอ่านจนเป็นนิสัย
อ่านแลว้ นำไปใชใ้ นการเรียนการศกึ ษา อ่านแลว้ นำไปใช้ในการพัฒนาชีวติ อ่านแล้วนำไปใชใ้ นการพัฒนาอาชพี

“เดก็ ปฐมวัย” หมายความว่า กลุม่ เปา้ หมายผู้ท่ีมีอายุ 0 – 6 ปี
“เดก็ เยาวชน นกั เรยี น” หมายความวา่ กลุม่ เป้าหมายผู้ทม่ี อี ายุ 7 – 14 ปี
“นักศึกษา กศน. ประชาชน” หมายความวา่ กล่มุ เป้าหมายผ้ทู ่มี ีอายุ 15 – 59 ปี
“ผู้สูงอายุ” หมายความว่า กล่มุ เปา้ หมายผู้ท่ีมอี ายุ 60 ปขี ้นึ ไป
“หอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวดั /เฉลมิ ราชกมุ ารี/อำเภอ” หมายความวา่ ห้องสมุดในสังกดั สำนกั งาน กศน.
เปดิ บริการแกป่ ระชาชนในท้องถน่ิ หรอื แก่ผทู้ อ่ี าศัยอยู่ในชมุ ชนใดชมุ ชนหนงึ่
“ห้องสมุดประชาชนสาขา/เครือข่าย” หมายความว่า กศน.ตำบล ที่เป็นหน่วยจัดกิจกรรมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่ตั้งอยู่ในระดับตำบล รวมถึงหน่วยงานภาครัฐและเอกชน สถาน
ประกอบการ วดั โรงเรยี น แหลง่ ท่องเทีย่ ว
“บา้ นหนงั สือชุมชน” หมายความว่า สถานที่ไดอ้ ุทิศให้ใช้เป็นห้องสมุดประชาชนของชุมชน มีลักษณะ
เป็น ร้านอาหารและเครื่องดื่ม ร้านค้า ร้านขายของ บ้านผู้มีจิตอาสา บ้านผู้นำชุมชน ศาลาเอนกประสงค์
มีเจา้ ของบ้านเป็น ผู้มจี ติ อาสาใหบ้ รกิ ารดแู ลเอาใจใส่ และเป็นสถานที่ทีเ่ ป็นศนู ยก์ ลางของชุมชนที่มีคนในชุมชน
มาพบปะพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ ร่วมกัน
“กศน.สร้างสขุ เพ่ือประชาชน” หมายความว่า การนำกิจกรรมการศึกษาออกให้บริการแก่เด็กปฐมวัย
เยาวชน นักเรียน นักศึกษา กศน. ประชาชนและผู้สูงอายุ ในพื้นที่ หมู่บ้าน ชุมชน สถานศึกษา ศูนย์พัฒนา
เด็กเล็ก สถานประกอบการ

5

สว่ นท่ี 2

บทบาทหนา้ ท่ผี ู้ขบั เคลือ่ นการสง่ เสรมิ การอา่ น
“เมืองลงุ เมอื งนกั อา่ น”

สำนักงาน กศน.จังหวัดพัทลุง มีบทบาทหน้าท่ีสำคัญ ในการส่งเสริมสนับสนุนให้ สถานศึกษาในสังกดั
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ดำเนินการสร้างความตระหนักถึง การรวบรวมสรรพกำลัง
และองค์ความรู้ เพื่อสร้างรูปแบบแนวทางการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย และแนวทางการส่งเสริมการ
อ่านสู่ “เมืองลุง เมืองนักอ่าน” พร้อมทั้งรวบรวมและปรับปรุงแนวทางการจัดกิจกรรมที่จะส่งผลต่อ
การเพิ่มอัตราการอ่านของประชาชนทุกช่วงวัย ส่งเสริมให้บรรณารักษ์ ครู กศน.ตำบล อาสาสมัครส่งเสริม
การอ่าน และผู้จัดกิจกรรมมีองค์ความรู้ด้านการจัดกิจกรรมอย่างมืออาชีพ นำเทคโนโลยีดิจิทัลมาจัดกิจกรรม
ตามยุคและเหตุการณ์ปัจจุบัน พร้อมทั้งรายงานผลการจัดกิจกรรมที่จะส่งผลต่อการพัฒนาการอ่านของ
นักศึกษา กศน. และประชาชนทุกช่วงวัย เพิ่มอัตราการอ่าน สู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต ยกระดับคุณภาพ
ในการจัดการเรียนรู้ ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ และทำให้ผู้รับบริการการส่งเสริมการอ่าน สามารถนำความรู้ไปใช้
ในการดำรงชีวติ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข โดยมีดำเนนิ การดงั ตอ่ ไปนี้

1. สำนักงาน กศน.จงั หวัด

1.1 กำหนดวางแผนกรอบแนวทางการขบั เคลอ่ื นงาน ตามนโยบายและจดุ เนน้ การดำเนินงานประจำปี
1.2 สนบั สนนุ งบประมาณการจัดกิจกรรมตามแผนการปฏบิ ัติงานประจำปี
1.3 พฒั นาครู กศน.ตำบล บรรณารกั ษ์ และอาสาสมัครสง่ เสริมการอา่ น
1.4 ประชมุ ตดิ ตามผลการดำเนินงานประจำเดือน
1.5 สรปุ รายงานผลการดำเนินงาน

2.กศน.อำเภอ

2.1 ประชมุ ชแี้ จงแนวทางขบั เคล่อื นการส่งเสริมการอ่าน
2.2 จัดทำแผนการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ตามการได้รับการจัดสรรงบประมาณ และกำหนด
วัตถปุ ระสงคใ์ นการจดั กิจกรรมให้ชดั เจน
2.3 กำหนดกล่มุ เป้าหมาย ใหส้ อดคลอ้ งกบั กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
2.4 ประสานผเู้ กีย่ วข้อง ประชาสัมพันธก์ ารจัดกจิ กรรม จดั เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และสถานท่ี
2.5 การดำเนนิ การจัดกจิ กรรม โดยปฏิบัตติ ามขั้นตอนตามแผนทกี่ ำหนดไว้
2.6 นเิ ทศ ติดตามผล และประเมินผล
2.7 สรปุ รายงานผลไปยงั สำนักงาน กศน.จงั หวัด

6

3. บรรณารกั ษ์

3.1 สำรวจความต้องการของนักศึกษา กศน.และประชาชนในพื้นที่ ในการใช้สื่อตามความต้องการ
จัดกจิ กรรม และสำรวจความพรอ้ มด้านสถานท่ี

3.2 จดั ทำแผนการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น ตามการได้รบั การจดั สรรงบประมาณ
3.3 จดั มมุ ส่งเสริมการอ่าน เช่น มุมเด็ก มุมคอมพิวเตอร์ ฯลฯ ในหอ้ งสมดุ ประชาชน
3.4 ส่งเสรมิ การอ่านให้กบั ประชาชนทกุ ช่วงวยั
3.5 จดั กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านภายในและภายนอกหอ้ งสมุดประชาชน
3.6 จดั กจิ กรรมสรา้ งแรงจูงใจทั้งเชงิ รุกและเชงิ รบั
3.7 บรรณารักษ์ประจำห้องสมุดประชาชน คิดค้นนวัตกรรมส่งเสริมการอ่าน เพื่อสร้างเครื่องมือที่จะ
เขา้ ถึงผรู้ บั บริการการอ่านและเพม่ิ จำนวนประชาชนคนอา่ นใหม้ ากขนึ้
3.8 จัดทำสถิติขอ้ มลู ผทู้ ไ่ี ด้รับองคค์ วามรู้ และผูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมห้องสมุด
3.9 พัฒนาห้องสมุดประชาชน ให้เป็น Digital Library (WOW) ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ Good Place –
Best Check In
3.10 ตดิ ตามผล ประเมินผล และรายงานผล

4. ครู กศน.ตำบล

4.1 สำรวจความต้องการของนักศึกษา กศน.และประชาชนในพื้นที่ ในการใช้สอ่ื และความตอ้ งการ
จัดกจิ กรรม และสำรวจความพรอ้ มดา้ นสถานทข่ี องเครอื ข่าย

4.2 จดั เตรียมสถานทใ่ี น กศน.ตำบล/จดั หาสถานทเ่ี พอ่ื จัดมมุ สง่ เสรมิ การอา่ น
4.3 จัดมุมสง่ เสรมิ การอ่าน ใน กศน.ตำบล/เครอื ข่าย
4.4 จดั หาสอื่ ทห่ี ลากหลายและเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายของ กศน.ตำบลและประชาชนในพน้ื ทช่ี ุมชน
4.5 จดั Display หนังสอื ใหม/่ จัดมมุ หนงั สอื เลม่ โปรด
4.6 จดั กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นและการเรยี นรใู้ หก้ ับนักศึกษา กศน.และประชาชนทุกช่วงวัย

- จัดกิจกรรมส่งเสริมการอา่ น/นทิ รรศการความรู้ ตามโอกาสวนั สำคัญและข่าวสารทนั เหตกุ ารณ์
- จัดกิจกรรมส่งเสรมิ ความรู้ด้านอาชพี ตามความเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย แต่ละช่วงวัย
4.7 จัดทำคลังความรู้ดจิ ิทลั และคิวอาร์โค้ดในการใหบ้ รกิ ารและกจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่าน
4.8 จัดทำทำเนียบภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ และแหล่งข้อมลู สารสนเทศสถานที่ท่องเที่ยวในชมุ ชน
4.9 รับสมคั รอาสาสมคั รสง่ เสริมการอ่าน จัดกจิ กรรมรว่ มกับ ครู กศน.ตำบล/บรรณารกั ษ์ ตำบลละ 20 คน
4.10 จัดทำสถิตขิ ้อมลู ผู้ท่ีไดร้ ับองคค์ วามรู้ และผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ น
4.11 สรุปผล ประเมินผล และรายงานผล

7

5. อาสาสมคั รสง่ เสริมการอ่าน
5.1 จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านตามแผนให้กับประชาชนทุกช่วงวัย (สนับสนุนชุมชนรักการอ่าน

และนงั่ ท่ีไหน อ่านท่ีนนั่ )
5.2 จัดกิจกรรมสง่ เสริมการอ่านในชุมชน โดยมบี า้ นหนงั สือชุมชนเป็นฐานอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน

ของกศน.ตำบล ขยายเครือข่าย 1 คนตอ่ 20 คน
5.3 จัดทำแบบสำรวจความตอ้ งการอา่ นประเภทของหนงั สือทผี่ ใู้ ช้บริการต้องการอ่าน
5.4 นำเมนูหนังสืออ่านฟรี E-book เคลื่อนที่ และหนังสือที่มีในห้องสมุด กศน.ตำบล ออกให้บริการ

ในรปู แบบกระเปา๋ หนังสือ/ตะกรา้ หนังสือ
5.5 จดั กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ นตามแผนดำเนนิ งาน
5.6 บริการหมุนเวียนสอื่ หนังสอื สัปดาห์ละ 1 ครัง้

6. ภาคีเครือข่าย
6.1 สำรวจความพร้อม โดยขอความร่วมมือภาคีเครือข่ายด้านสถานที่และการมีส่วนร่วมอื่นๆ

เช่น การบริจาค โต๊ะ เก้าอี้ ชั้นวางหนังสือ และหนังสือ สร้างผู้มีจิตอาสา ในการดูแลให้บริการ ยืม – คืน
หนงั สอื สำหรบั ผู้มาใชบ้ ริการ

6.2 จดั มมุ สง่ เสริมการอ่านในเครอื ขา่ ย
6.3 จดั ทำแบบสำรวจความตอ้ งการอา่ นประเภทของหนังสอื ท่ีผู้ใชบ้ ริการต้องการอ่าน
6.4 จดั ทำเมนหู นงั สืออ่านฟรี E-book เคลอื่ นที่ และหนังสอื ออกให้บรกิ าร
6.5 จดั กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านตามแผนดำเนินงาน (ก่อใหเ้ กิดชุมชนรักการอ่าน และนั่งท่ีไหน อ่านท่นี ั่น)
6.6 บริการหมนุ เวียนสอ่ื หนังสอื สัปดาหล์ ะ 1 ครั้ง

ภาพ การขับเคลอ่ื นแนวทางสง่ เสริมการอา่ น “เมืองลุง เมอื งนักอา่ น”
8

สว่ นท่ี 3

แนวทางการจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน

“เมอื งลงุ เมอื งนักอ่าน”

1. แนวทางท่ี 1 การส่งเสรมิ การอ่านในห้องสมดุ ประชาชนจังหวัด/เฉลิมราชกุมาร/ี อำเภอ ประกอบด้วย

1.1 กิจกรรมสำหรับเดก็ ปฐมวยั จำนวน 6 กจิ กรรม ไดแ้ ก่

1) หนุ่ น้ิวในนทิ าน
2) มงกุฎหรรษา
3) นิทานผ้ากนั เป้ือน
4) ระบายสีกบั นทิ าน
5) สนี ีอ้ ย่ทู ่ีไหน
6) DIY ผัดหดั อา่ นเขยี น
1.2 กิจกรรมสำหรับเด็ก เยาวชน นักเรียน จำนวน 21 กิจกรรม ไดแ้ ก่

1) DIY พดั หัดอ่านเขยี น
2) การ์ดความรู้อยู่ในหนังสอื พมิ พ์
3) บันทกึ การอ่านเสรมิ สร้างพัฒนาการ
4) ตามหายอดนักอา่ น
5) พนี่ ้องท่องอนิ เทอร์เนต็
6) ที่ค่นั หนังสือสอื่ ความรู้
7) หรรษาสารานุกรมไทย
8) หนังสอื อ่านฟรี E-book เคลอ่ื นท่ี
9) อ่านแล้วทำนำไปใชป้ ระโยชน์
10) เมืองลงุ เมืองน่าเที่ยว
11) DIY สายคลอ้ งแมส
12) สุขภาพดี มีสขุ
13) Box Set เกร็ดอาชพี
14) พัทลงุ นา่ รู้
15) เลม่ ใหม่ชวนอ่าน
16) ใตร้ ่มพระบารมี
17) ดม่ื อร่อย
18) Ka Hoot สุข สดุ หรรษา
19) มารจู้ ักหนังสอื กนั เถอะ
20) ปอ๊ บอัพหรรษาพาสนุก
21) ตี ฆ้อง ร้อง ป่าว ชาว กศน.

9

1.3 กจิ กรรมสำหรบั นกั ศึกษา กศน. ประชาชน จำนวน 15 กจิ กรรม ไดแ้ ก่

1) สมดุ บนั ทึกฝึกเรียนรู้
2) บันทกึ การอ่านเสรมิ สร้างพัฒนาการ
3) ตามหายอดนกั อ่าน
4) ท่ีคนั่ หนังสือสือ่ ความรู้
5) หนงั สอื อา่ นฟรี E-book เคลือ่ นท่ี
6) อ่านแล้วทำนำไปใช้ประโยชน์
7) เมอื งลุง เมืองนา่ เท่ียว
8) DIY สายคล้องแมสก์
9) สขุ ภาพดี มีสขุ
10) Box set เกรด็ อาชพี
11) เลม่ ใหม่ชวนอ่าน
12) ดมื่ อร่อย
13) Ka Hoot สุข สดุ หรรษา
14) มารู้จกั หนังสือกนั เถอะ
15) ตี ฆ้อง รอ้ ง ปา่ ว ชาว กศน.
1.4 กจิ กรรมสำหรับผู้สูงอายุ จำนวน 8 กิจกรรม ไดแ้ ก่

1) หนังสืออา่ นฟรี E-book เคลื่อนที่
2) อ่านแลว้ ทำนำไปใช้ประโยชน์
3) DIY สายคลอ้ งแมสก์
4) สุขภาพดี มีสขุ
5) Box set เกรด็ อาชีพ
6) เลม่ ใหมช่ วนอา่ น
7) ดืม่ อร่อย

2. แนวทางที่ 2 หอ้ งสมุดประชาชนสาขา/เครอื ข่าย ประกอบด้วย

2.1 กิจกรรมสำหรับเด็กปฐมวยั จำนวน 10 กิจกรรม ได้แก่

1. ส่งเสริมการอา่ น นิทานล่องหน
2. สง่ เสริมการอ่าน(เลา่ นทิ าน)ผ่านสอื่ ประดิษฐ์
3. สอื่ รกั แปลงกาย
4. ผูเ้ ฒ่าเล่านิทาน
5. แป้งป้ัน เรยี นรูส้ นู่ ิทาน(สร้างเรอ่ื งใหเ้ ปน็ ตัว)
6. พ่ีเล่า น้องอ่าน ผ่าน BiG BooK
7. นทิ านแปลงกายหนา้ กากแสนรู้ หมวกหนา้ รปู สัตว์
8. อ่าน เขยี น เรยี นรู้ สู่จินตนาการ
9. เรยี นร้ปู ฐมวัยใส่ใจค่านิยม
10. DIY นทิ านหรรษาหุน่ น้วิ มือ โอ้โฮ ฮปิ โปตัวใหญ่

10

2.2 กิจกรรมสำหรับเดก็ นกั เรยี น เยาวชน จำนวน 14 กิจกรรม ไดแ้ ก่
1) นักอา่ นหลากหลายสไตล์นอ้ งควิ อาร(์ โคด้ )
2) ส่งเสรมิ การอ่าน นิทานล่องหน
3) หนังสอื /สมดุ จิว๋ ควิ อาร์โคด้
4) แป้งปนั้ เรียนรู้สนู่ ิทาน(สร้างเรื่องให้เปน็ ตัว)
5) ตุ๊กตาผ้าขนหนูแฟนซี
6) พี่เล่า น้องอา่ น ผา่ น BiG BooK
7) มดตะนอย น้อย
8) เรยี นร้หู นูทำได้ face shield
9) ตอบปัญหาคา่ นิยมสูส่ ารานุกรมไทย
10) ห้องสมดุ นำความรสู้ ู่โลกกว้าง
11) หนังสอื สไลด์ อา่ นออนไลน์
12) DIY ทแี่ ขวงต่างหู ออนไลน์
13) หนงั สืออ่านฟรี E-book เคล่อื นท่ี
14) อาณาจกั รนกั อา่ น 5 ฐานการเรียนรู้ concept

2.3 กจิ กรรมนกั ศกึ ษา กศน. ประชาชน จำนวน 13 กิจกรรม ได้แก่
1) 15 นาทชี ี้ความรู้
2) นักอา่ นหลากหลายสไตลน์ อ้ งควิ อาร์(โคด้ )
3) หนังสอื /สมุดจิ๋วคิวอาร์โคด้
4) ตกุ๊ ตาผ้าขนหนแู ฟนซี
5) มดตะนอย น้อย
6) เรยี นรู้หนูทำได้ face shield
7) สนกุ คิด สนุกอา่ น สำราญเขียน
8) ตอบปญั หาคา่ นิยมสู่สารานุกรมไทย
9) ห้องสมุดนำความรู้สโู่ ลกกวา้ ง
10) หนงั สอื สไลด์ อา่ นออนไลน์
11) DIY ทแ่ี ขวงตา่ งหู ออนไลน์
12) หนังสอื อา่ นฟรี E-book เคลื่อนท่ี
13) อาณาจักรนักอา่ น 5 ฐานการเรยี นรู้ concept

2.4. กิจกรรมสำหรบั ผสู้ งู อายุ จำนวน 3 กิจกรรม ไดแ้ ก่
1) ผเู้ ฒา่ เล่านทิ าน
2) ตกุ๊ ตาผ้าขนหนูแฟนซี
3) อาณาจกั รนักอ่าน 5 ฐานการเรียนรู้ concept

11

3. แนวทางท่ี 3 บา้ นหนังสือชุมชน ประกอบด้วย

3.1 กิจกรรมสำหรับเด็กปฐมวัย จำนวน 1 กจิ กรรม ได้แก่

1) ปั้นดินพัฒนาสมอง
3.2 กิจกรรมสำหรบั เดก็ นกั เรยี น เยาวชน จำนวน 25 กจิ กรรม ไดแ้ ก่

1) เลน่ กบั ผ้า
2) ใบไมส้ ร้างอาชีพ
3) การทำเครื่องหอมไทย บุหงารำไป
4) การทำน้ำหอมเอนกประสงค์บำบดั
5) ไอเดียการห่อของขวญั หลากหลายสไตล์
6) การประดษิ ฐ์ดอกไม้จากใบเตย
7) หนา้ กากผ้าดว้ ยตนเอง
8) งานประดิษฐ์จากไม้ไอศกรีม
9) การประดษิ ฐ์ดอกไมจ้ ากถุงนำ้ ยาปรับผ้าน่มุ
10) แฟช่ันกระเป๋ากระดาษ
11) กุหลาบเวยี งพงิ ค์สุดเก๋
12) สรอ้ ยแขน จากหลอดกาแฟ กระดาษนิตยสาร
13) ถงุ ใสข่ องลดโลกร้อน (กระเป๋าผา้ หรู ูด)
14) สิง่ ประดิษฐ์ จากเศษผา้ เหลือใช้
15) น้ำสมนุ ไพรนำ้ อัญชันใบเตยเพอ่ื สุขภาพ
16) นำ้ สมนุ ไพรนำ้ มะมว่ งหาวมะนาวโห่เพื่อสขุ ภาพ
17) น้ำสมุนไพรน้ำตะไคร้ใบเตยเพื่อสุขภาพ
18) นำ้ เต้าหู้เพ่ือสุขภาพ
19) การทำขนมโดนัทแฟนซี
20) การทำขนมลูกชบุ
21) การทำพายสบั ปะรด (ไส้สับปะรดกวน)
22) เมนูพรกิ ทอดกรอบ
23) เมนนู ้ำพรกิ
24) การเพาะถัว่ งอกพอเพียง
25) สาระนา่ รู้วันน้ี
3.3 กจิ กรรมนักศึกษา กศน. ประชาชน จำนวน 25 กจิ กรรม ได้แก่

1) เล่นกับผ้า
2) ใบไม้สร้างอาชีพ
3) การทำเคร่ืองหอมไทย บหุ งารำไป
4) การทำน้ำหอมเอนกประสงคบ์ ำบดั
5) ไอเดียการห่อของขวญั หลากหลายสไตล์
6) การประดษิ ฐ์ดอกไม้จากใบเตย
7) หนา้ กากผ้าด้วยตนเอง

12

8) งานประดิษฐ์จากไม้ไอศกรีม
9) การประดษิ ฐด์ อกไมจ้ ากถุงนำ้ ยาปรบั ผา้ นมุ่
10) แฟช่นั กระเป๋ากระดาษ
11) กหุ ลาบเวยี งพิงค์สุดเก๋
12) สร้อยแขน จากหลอดกาแฟ กระดาษนติ ยสาร
13) ถงุ ใสข่ องลดโลกร้อน (กระเปา๋ ผา้ หูรดู )
14) สง่ิ ประดิษฐ์ จากเศษผ้าเหลือใช้
15) น้ำสมนุ ไพรน้ำอญั ชนั ใบเตยเพื่อสุขภาพ
16) นำ้ สมนุ ไพรน้ำมะม่วงหาวมะนาวโห่เพ่ือสุขภาพ
17) นำ้ สมุนไพรน้ำตะไคร้ใบเตยเพอ่ื สุขภาพ
18) น้ำเต้าหู้เพื่อสุขภาพ
19) การทำขนมโดนัทแฟนซี
20) การทำขนมลูกชบุ
21) การทำพายสบั ปะรด (ไส้สับปะรดกวน)
22) เมนูพริกทอดกรอบ
23) เมนนู ้ำพรกิ
24) การเพาะถวั่ งอกพอเพียง
25) สาระน่ารวู้ ันน้ี
3.4. กจิ กรรมสำหรับผสู้ ูงอายุ จำนวน 4 กจิ กรรม ไดแ้ ก่

1) การทำเครือ่ งหอมไทย บหุ งารำไป
2) การประดิษฐ์ดอกไมจ้ ากใบเตย
3) การประดิษฐ์ดอกไมจ้ ากถุงนำ้ ยาปรบั ผา้ นุ่ม
4) กุหลาบเวียงพงิ คส์ ดุ เก๋

4. แนวทางที่ 4 กศน.สร้างสขุ เพ่อื ประชาชน (เคลอื่ นท)ี่ ประกอบด้วย

4.1 กจิ กรรมสำหรับเดก็ ปฐมวัย จำนวน 11 กิจกรรม ไดแ้ ก่

1) สมุดภาพ “เงานค้ี ือใครนะ”
2) ระบายสีภาพ 3 มติ ิ
3) อะไรอยู่ในซอง ?
4) หนา้ กากอาชีพในฝัน
5) นทิ านหรรษา
6) เจา้ หนตู วั น้อย
7) หนอนหรรษา
8) หนุ่ มอื ถงุ กระดาษ
9) ปลาในโหลแก้ว
10) หนุ่ นว้ิ มือ
11) การระบายสภี าพอาชีพในฝัน

13

4.2 กจิ กรรมสำหรบั เด็ก เยาวชน นกั เรยี น จำนวน 8 กิจกรรม ได้แก่
1) DIY ท่ีคน่ั หนงั สอื
2) ทิชชหู รรษา
3) คำศัพท์โดนใจ
4) อะไรเอย่
5) ทายภาพ สุภาษิต คำพงั เพย
6) 4 รวม 1
7) Kahoot คิดไว ได้ความรู้
8) การอ่านผ่าน QR – CODE

4.3 กิจกรรมสำหรับนักศึกษา กศน. ประชาชน จำนวน 10 กจิ กรรม ได้แก่
1) อ่านสร้างอาชพี การพบั ดอกกหุ ลาบจากใบเตยหอม
2) การทำน้ำสมุนไพรกระชายน้ำผงึ้ มะนาว
3) การทำน้ำสมุนไพร น้ำอัญชนั มะนาว
4) การทำถุงผ้าลดโลกร้อน
5) การเพาะถั่วงอกในตะกรา้
6) การพบั เหรียญโปรยทาน
7) การหนา้ กากอนามัย
8) การทำสายคล้องหน้ากากอนามยั
9) การทำเจลล้างมือ
10) ส่งเสรมิ การอ่านผา่ น QR – CODE

4.4 กิจกรรมสำหรบั ผู้สงู อายุ จำนวน 6 กจิ กรรม ได้แก่
1) อา่ นสร้างอาชพี การพบั ดอกกุหลาบจากใบเตยหอม
2) การทำน้ำสมนุ ไพร น้ำอัญชันมะนาว
3) การเพาะถวั่ งอกในตะกรา้
4) การพบั เหรยี ญโปรยทาน
5) การหนา้ กากอนามัย
6) การทำเจลลา้ งมอื

14

แนวทางที่ 1 การส่งเสรมิ การอา่ นในห้องสมดุ ประชาชน
กจิ กรรมท่ี 1 หนุ่ นิ้วในนิทาน

1. ความสำคญั
การเลา่ นทิ านใหเ้ ด็กฟังก่อให้เกดิ ความสนุกสนาน มจี ินตนาการ เกิดความคิด ความเข้าใจ จากการฟัง

นิทาน การเล่านิทานจึงเป็นกิจกรรมที่มีความจำเป็นสำหรับเด็กในการสร้างเสริมเด็กได้ในทุกเรื่องรวมถึงการ
สร้างนิสัยรักการอ่าน อีกทั้งยังช่วยส่งเสริมพัฒนาการตามวัยทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ
สตปิ ัญญาใหเ้ กิดกับเด็กไดอ้ ีกด้วย
2. วัตถุประสงค์

2.1 เพือ่ สง่ เสริมให้กลุ่มเป้าหมายมคี วามสนุกสนานจากการอา่ น
2.2 เพื่อส่งเสรมิ ทกั ษะการอ่านใหก้ ับกลุม่ เป้าหมาย
3. กลมุ่ เป้าหมาย
เด็กปฐมวยั
4. วิธกี ารดำเนินงาน
4.1 จดั เตรียมหนังสอื นทิ านที่นา่ สนใจ
4.2 จดั เตรยี มภาพตัวละครในนทิ าน
4.3 เลา่ นิทานใหก้ ลุม่ เป้าหมายฟังพร้อมใชห้ นุ่ นว้ิ ประกอบการเลา่ นทิ าน
4.4 ให้กลุ่มเปา้ หมายระบายสีหนุ่ น้ิวและเลยี นแบบในนทิ าน
5. วัสดุและอปุ กรณใ์ นการดำเนนิ งาน
5.1 นิทาน
5.2 กระดาษ A 4
5.3 กรรไกร
5.4 กาว
5.5 สีเทยี น
6. ตวั ช้ีวดั ความสำเร็จ
เชิงปรมิ าณ
รอ้ ยละ 80 ของกลุ่มเปา้ หมายเกดิ ทกั ษะการอา่ นและมคี วามสนุกสนานจากการฟังนิทาน
เชิงคณุ ภาพ
กล่มุ เป้าหมายเกิดทักษะการอ่านและมีความสนุกสนานจากการฟงั นิทาน

15

แนวทางที่ 1 การส่งเสรมิ การอ่านในหอ้ งสมุดประชาชน
กจิ กรรมท่ี 2 มงกฎุ หรรษา

1. ความสำคัญ
การเล่านิทาน เป็นวิธีการกระตุ้นให้เด็กๆ เกิดความสนใจในการฟังในการอ่านและการเรียนรู้

โดยธรรมชาติของเด็กชอบฟังนิทานอยู่แล้ว จึงควรใช้การเล่านิทาน เป็นเครื่องมือในการปลูกฝังให้เกิด
ความรัก ความซาบซ้ึงในวรรณคดี และสนใจในการอ่านจนพฒั นาตนเองใหม้ ีนิสยั รักการอ่าน
2. วตั ถุประสงค์

2.1 เพอ่ื ส่งเสรมิ การอ่านให้กับกลมุ่ เปา้ หมายและเกดิ ความสนกุ สนาน
2.2 เพือ่ สง่ เสรมิ ทักษะการอา่ น ให้กบั กลุ่มเป้าหมาย
3. กลมุ่ เป้าหมาย
เด็กปฐมวัย
4. วิธีการดำเนนิ งาน
4.1 จัดเตรียมหนังสอื นทิ านท่ีน่าสนใจและเลา่ เรอื่ ง
4.2 จดั เตรยี มมงกุฎกระดาษและภาพตัวละครในนิทานเพอ่ื ใชต้ ิดทมี่ งกฎุ
4.3 เลา่ นทิ านให้กลมุ่ เป้าหมายฟงั
4.3 ให้กลุ่มเปา้ หมายระบายสีและติดตัวละครในนิทานท่ีมงกฎุ และฝึกเล่าตามจนิ ตนาการ
5. วัสดแุ ละอุปกรณใ์ นการดำเนนิ งาน
5.1 นิทาน
5.2 จานกระดาษขนาดเสน้ ผ่านศูนย์กลาง 9 นว้ิ
5.3 กรรไกร / มดี คตั เตอร์
5.4 กาว
5.5 ไมบ้ รรทัด
5.6 การดาษ A4 หรือ กระดาษสติ๊กเกอรข์ าวด้าน
6. ตัวชี้วดั ความสำเร็จ
เชิงปรมิ าณ
ร้อยละ 80 ของกลุ่มเปา้ หมายเกดิ ทกั ษะการอา่ นและมคี วามสนุกสนานจากการฟงั นิทาน
เชงิ คณุ ภาพ
กล่มุ เป้าหมายเกิดทักษะการอ่านและมีความสนกุ สนานจากการฟังนิทาน

16

แนวทางที่ 1 การส่งเสริมการอ่านในห้องสมุดประชาชน
กิจกรรมท่ี 3 นิทานผา้ กนั เป้ือน

1. ความสำคัญ

นิทานที่เหมาะสมและควรเล่าให้เด็กฟัง ควรเป็นนิทานที่มีเนื้อหาให้ความรู้ รูปแบบการใช้ถ้อยคำ

สำนวนภาษา ความคิดสร้างสรรค์ ส่งเสรมิ คณุ ภาพยกระดับสติปญั ญาและจิตใจในทางทด่ี ี นทิ านท่ีเล่าให้เด็ก
ฟังนอกจากปัจจัยข้างต้นแล้วผู้เล่ามีส่วนพิเศษมากในการนำเสนอให้นิทานเรื่องนั้นๆ มีความสนุกสนาน

เหมาะสมกบั วัยของเด็ก สง่ ผลใหผ้ ู้ฟังหรือเด็กเกดิ ความสนกุ สนานและประทับใจ
2. วัตถปุ ระสงค์

2.1 เพ่ือสง่ เสริมการอ่านให้กลมุ่ เปา้ หมายและมคี วามสนุกสนาน

2.2 เพื่อสง่ เสรมิ ทกั ษะการอา่ น ให้กับกลมุ่ เป้าหมาย
3. กลุม่ เป้าหมาย

เดก็ ปฐมวัย
4. วิธีการดำเนินงาน

4.1 จัดเตรยี มหนงั สือนิท่านท่ีนา่ สนใน
4.2 จัดเตรียมผ้ากันเปื้อนที่มีกระเป๋าด้านหน้า นำตีนตุ๊กแกมาตัดตามขนาดความต้องการ
นำตนี ตุก๊ แกดา้ นหนามมาเย็บติดที่ผา้ กนั เปอ้ื นตามความเหมาะสม
4.3 ประดิษฐ์ตัวละครในนิทานรูปต่างๆ นำตีนตุ๊กแกด้านขนมาติดกับตัวละครแล้วนำมาประกบกับ
ตีนตุก๊ แกดา้ นหนามที่ผ้ากนั เป้ือน
4.4 นำตัวละครทไี่ มม่ กี ารตดิ ตนี ตุ๊กแกใสล่ งในกระเปา๋ ผ้ากนั เปื้อน
4.5 เล่านิทานให้กลุ่มเป้าหมายฟังพร้อมกับหยิบตัวละครที่อยู่ในกระเป๋าผ้ากันเปื้อนออกมา
ประกอบการเลา่ นิทาน
4.6 เมื่อเล่านิทานจบแล้วให้กลุ่มเป้าหมายได้มีส่วนร่วมในการหยิบตัวละครในนิทานและสนทนา
เกี่ยวกบั ตัวละครนนั้ ๆ
5. วสั ดแุ ละอุปกรณใ์ นการดำเนินงาน

5.1 ผ้ากันเปอ้ื นสำเรจ็ รูปที่มีกระเป๋าดา้ นหนา้

5.2 ผา้ สักหลาด
5.3 เขม็

5.4 ดา้ ย

5.4 กรรไกร
5.5 ตีนตุก๊ แก
6. ตัวชี้วัดความสำเร็จ

เชงิ ปริมาณ

รอ้ ยละ 80 ของกลุม่ เปา้ หมายเกดิ ทกั ษะการอ่านและมีความสนุกสนานจากการฟงั นิทาน
เชิงคณุ ภาพ

กลุม่ เป้าหมายเกดิ ทักษะการอ่านและมีความสนกุ สนานจากการฟงั นิทาน

17

แนวทางท่ี 1 การส่งเสริมการอา่ นในหอ้ งสมดุ ประชาชน
กิจกรรมท่ี 4 ระบายสีกับนิทาน

1. ความสำคญั
การแนะนำหรือการกระตุ้นให้เด็กความสนใจในการอ่าน นิทานจึงใช้เป็นเครื่องมือในการปลูกฝังให้

เด็กเกิดทักษะการอ่าน ความรัก ความซาบซึ้งในการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม และพัฒนาตนเองให้มีนิสัย
รักการอา่ น
2. วตั ถปุ ระสงค์

2.1 เพือ่ ส่งเสรมิ การอ่านให้กลมุ่ เป้าหมายและมีความสนุกสนาน
2.2 เพือ่ สง่ เสริมทักษะการอา่ นใหก้ บั กลมุ่ เป้าหมาย
3. กลมุ่ เป้าหมาย
เด็กปฐมวัย
4. วิธกี ารดำเนนิ งาน
4.1 จดั เตรยี มหนังสอื นทิ านท่ีน่าสนใจ
4.2 จดั เตรียมภาพระบายสีตัวละครในนิทาน
4.3 เล่านิทานให้กลุ่มเป้าหมายฟังในระหว่างการเล่านิทานมีการสนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับนิทานและตัว
ละครในนิทาน
4.4 เมื่อเล่านิทานจบใหก้ ลุ่มเปา้ หมายระบายสีตวั ละครในนิทาน
4.5 นำภาพระบายสีของกลมุ่ เป้าหมายทกุ คนจดั ป้ายนเิ ทศหรือนิทรรศการในห้องสมุด
5. วัสดแุ ละอปุ กรณ์ในการดำเนนิ งาน
5.1 นิทานหรือหนงั สือภาพสำหรับเดก็
5.2 แผ่นภาพสำหรบั ระบายสี
5.3 สีไม้หรอื สีเทยี น
6. ตวั ชี้วัดความสำเร็จ
เชิงปรมิ าณ
ร้อยละ 80 ของกล่มุ เปา้ หมายเกดิ ทกั ษะการอา่ นและมคี วามสนุกสนานจากการฟงั นิทาน
เชิงคณุ ภาพ
กลุ่มเป้าหมายเกิดทักษะการอ่านและมีความสนุกสนานจากการฟงั นิทาน

18

แนวทางที่ 1 การส่งเสรมิ การอ่านในหอ้ งสมดุ ประชาชน

กจิ กรรมท่ี 5 สนี ้ีอยทู่ ีไ่ หน

1. ความสำคัญ

การส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับเด็กปฐมวัยมีความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ การเรียนรู้เรื่องสีจากนิทานหรือ
หนังสือภาพเป็นการสร้างเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่เป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ให้เด็กสามารถนำไปใช้ใน
ชวี ิตประจำวนั ได้
2. วตั ถุประสงค์

2.1 เพื่อส่งเสรมิ การอ่านใหก้ ลุ่มเปา้ หมายและมคี วามสนุกสนาน
2.2 เพื่อสง่ เสริมทักษะการอ่าน การเรยี รู้เรื่องสีของผกั และผลไม้ใหก้ ับกลมุ่ เป้าหมาย
3. กลมุ่ เป้าหมาย

เดก็ ปฐมวัย
4. วิธีการดำเนนิ งาน

4.1 จดั เตรียมนทิ านหรอื หนังสอื ภาพที่เกี่ยวกับผกั และผลไม้
4.2 จดั ทำบตั รคำผักและผลไม้
4.3 ตัดเตรยี มภาพผกั และผลไม้ตามในนิทานหรอื หนังสือภาพ
4.4 ตัดกระดาษสเี ป็นชน้ิ เล็กไวส้ ำหรับติดบนภาพผกั และผลไม้
4.5 เลา่ นทิ านใหก้ ลุ่มเป้าหมายฟงั หลังจากเล่านิทานจบให้นำบตั รคำผกั และผลไม้มาให้กลุ่มเปา้ หมาย
บอกชอ่ื ของผกั และผลไม้
4.6 สนทนาโต้ตอบกบั กลุ่มเป้าหมายถงึ รปู รา่ ง ลักษณะของสตี ามภาพในบตั รคำ
4.7 แจกภาพผกั และผลไม้และกระดาษสใี ห้กล่มุ เปา้ หมายคนละ 1 ชดุ
4.8 ใหก้ ลุม่ เป้าหมายนำกระดาษสีทตี่ ดั เปน็ ชน้ิ เล็กๆ มาติดที่ภาพผกั และผลไม้
4.9 ให้กลมุ่ เป้าหมายบอกชอ่ื ผักและผลไม้และสีตามชิน้ งานของแต่ละคน
4.10 ประทับตราดาวใหก้ บั ชิ้นงานของกลมุ่ เป้าหมายแต่ละคนเพื่อเปน็ รางวัล
5. วสั ดุและอุปกรณ์ในการดำเนนิ งาน

5.1 นทิ าน
5.2 แผ่นภาพผกั และผลไม้
5.3 บัตรคำผกั และผลไม้
5.4 กระดาษสตี ่างๆ
5.5 กาว
5.6 ตราประทบั รูปดาว
6. ตวั ชี้วดั ความสำเรจ็

เชงิ ปรมิ าณ

ร้อยละ 80 ของกลุม่ เปา้ หมายเกดิ ทกั ษะอ่านและการเรียนรู้เร่อื งสีของผักและผลไม้
เชงิ คณุ ภาพ

กลมุ่ เปา้ หมายเกดิ ทักษะการอ่านและการเรยี นรสู้ ามารถบอกสขี องผักและผลไม้ได้

19

แนวทางที่ 1 การส่งเสริมการอ่านในหอ้ งสมดุ ประชาชน
กจิ กรรมท่ี 6 DIY พดั หัดอา่ นเขยี น

1. ความสำคญั
การส่งเสริมการอา่ นมสี ่วนในการสร้างเสรมิ จนิ ตนาการ สติปัญญา ทีเ่ ปน็ พน้ื ฐานสำคญั และยงั เป็นการ

ฝึกทักษะในด้านภาษา การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ตลอดจนไปถึงการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม
การเสริมสร้างค่านิยมที่ดีงาม และยังเป็นการสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ท่ี
สมบูรณเ์ กิดคุณค่าต่อตนเองและสังคม
2. วตั ถุประสงค์

เพือ่ ส่งเสรมิ ให้กลุม่ เป้าหมายเกิดทักษะการอา่ น เขยี น และมคี วามคิดสรา้ งสรา้ งสรรค์
3. กล่มุ เป้าหมาย

เดก็ ปฐมวยั เยาวชน นักเรียน นกั ศกึ ษา กศน.
4. วธิ ีการดำเนนิ งาน

4.1 จดั เตรยี มนิทาน/หนงั สือที่นา่ สนใจ
4.2 จดั เตรยี มพัดกระดาษตามแบบที่ต้องการ
4.3 เลา่ นทิ าน/เล่าเรือ่ งหนงั สือให้กลุม่ เป้าหมายฟัง
4.4 ใหก้ ลุ่มเป้าหมายฝึกเขยี นและอ่านตามคำหรอื ข้อความท่ปี รากฎอยบู่ นพัดตกแต่งให้สวยงาม
4.6 ให้กลมุ่ เป้าหมายแตล่ ะคนอ่านนำพัดของตนเองมาอ่านให้เพือ่ นฟงั
5. วสั ดแุ ละอุปกรณ์ในการดำเนินงาน
5.1 นทิ าน/หนังสือ
5.2 ดนิ สอ/ปากกา
5.2 สีเทียน สีไม้ สเี มจกิ
5.3 กระดาษแขง็ สำหรบั ทำพัด
5.4 กระดาษสตก๊ิ เกอร์ขาวดา้ น ขนาด A4
5.4 ไมไ้ อตมิ หลากสี
5.5 กระดาษกาวสองหน้าแบบบาง/กาว
5.6 หนงั สือนทิ าน
6. ตวั ช้ีวัดความสำเร็จ
เชิงปริมาณ
ร้อยละ 80 ของกล่มุ เปา้ หมาย เกิดทกั ษะการอ่าน เขยี น และมคี วามคิดสร้างสร้างสรรค์
เชิงคุณภาพ
กลุ่มเป้าหมาย สามารถอ่านออกเขยี นได้และมีความคิดสร้างสร้างสรรค์

20

แนวทางที่ 1 การส่งเสริมการอา่ นในหอ้ งสมุดประชาชน
กิจกรรมที่ 7 การด์ ความรู้อยู่ในหนังสอื พิมพ์

1. ความสำคญั
การพัฒนาตนเองในด้านความรู้ สิ่งทจี่ ะชว่ ยให้ผ้อู า่ นไดร้ อบรูแ้ ละรู้ทนั เหตุการณ์อยู่เสมอ คือข่าวจาก

หนงั สอื พมิ พ์ ซงึ่ อาจถือไดว้ ่าเปน็ ดุจอาหารประจำวนั ของสมอง
2. วตั ถปุ ระสงค์

เพ่อื พฒั นาทักษะดา้ นการอ่าน คดิ วิเคราะห์ให้กับกลุ่มเป้าหมายและสามารถนำไปปรบั ใช้ใน
ชวี ติ ประจำวนั ได้
3. กลุม่ เป้าหมาย

เยาวชน นกั เรยี น นกั ศกึ ษา กศน. ประชาชน
4. วิธกี ารดำเนนิ งาน

4.1 จัดเตรยี มหนงั สือพมิ พฉ์ บับลว่ งเวลา
4.2 จดั เตรยี มการด์ รูปแบบตา่ งๆ
4.3 สนาทนากับกลุ่มเป้าหมายเกย่ี วกับข่าวเดน่ ในปจั จบุ นั
4.2 ให้กลุ่มเป้าหมายเลือกข่าวจากหนงั สอื พิมพ์ทีต่ นเองสนใจนำมาตดั ติดบนกระดาษการ์ดสี
4.3 ให้กลุ่มเป้าหมายเขียนสรุปเหตกุ ารณ์จากหนงั สือพมิ พ์ทเ่ี ลือกไว้ (ใคร ทำอะไร ท่ีไหน ไดข้ อ้ คิด
อะไร) แลว้ ระบายสีตกแต่งการ์ดของตนเอง
4.4 กลมุ่ เป้าหมายนำเสนอ แบง่ ปนั ขอ้ คดิ ท่ีไดจ้ ากการอ่านใหเ้ พือ่ นฟัง
5. วัสดุและอุปกรณใ์ นการดำเนนิ งาน
5.1 กระดาษการ์ดสีขนาด A4
5.2 ปากกาสี
5.3 สีไม้
5.4 กรรไกร
5.5 หนังสอื พิมพ์
6. ตวั ช้ีวดั ความสำเรจ็
เชงิ ปรมิ าณ
รอ้ ยละ 80 ของกลมุ่ เปา้ หมายเกดิ ทักษะการอา่ น คดิ วเิ คราะห์
เชงิ คุณภาพ
กลุม่ เปา้ หมายเกดิ ทักษะอ่าน คิด วเิ คราะห์และสามารถนำไปปรับใช้ในชวี ิตประจำวันได้

21

แนวทางท่ี 1 การส่งเสริมการอา่ นในหอ้ งสมุดประชาชน
กิจกรรมที่ 8 บันทกึ รักการอ่านเสรมิ สรา้ งพัฒนาการ

1. ความสำคญั
การอ่าน คือ กระบวนการที่ผู้อ่านรับรู้สารซึ่งเป็นความรู้ กระบวนการคิด ความรู้สึก การที่จะทำให้

การอ่านเกิดประโยชน์สูงสูง ต้องมีการจดบันทึกข้อมูลการเรียนรู้ เนื้อหาที่ได้จากการอ่าน การบันทึกการอ่าน
ช่วยให้ผู้เรยี นมีสมาธิในการอ่าน เพราะต้องเลือกบันทึกเฉพาะสิ่งที่เป็นประเด็นสำคญั ทีต่ ้องการนำไปใช้ในงาน
ของตน ดังนั้นการบันทึกจากการอ่านผู้อ่านจึงต้องมีความเข้าใจเรื่องที่อ่านเป็นอย่างดี และสร้างความคิดของ
ตนเองในขณะที่เขยี นบันทกึ
2. วัตถปุ ระสงค์

2.1 เพอื่ พัฒนาทักษะด้านการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ใหก้ ับกลุม่ เป้าหมาย
2.2 เพอื่ สง่ เสรมิ การเพิ่มอตั ราการอา่ น
3. กลมุ่ เป้าหมาย
นกั เรยี น นกั ศึกษา กศน. ประชาชน
4. วิธกี ารดำเนนิ งาน
4.1 จัดเตรยี มแบบฟอรม์ บันทกึ รกั การอ่าน
4.2 รับสมคั รกลมุ่ เป้าหมาย
4.3 กลุม่ เปา้ หมายเลือกหนงั สอื ท่ีสนใจอา่ นภายในห้องสมดุ หรือยืมหนังสอื กลบั ไปอ่านทบ่ี า้ นและจัดทำ
บนั ทกึ การอ่านตามแบบฟอร์ม
4.4 รวบรวมบันทึกการอ่านจากการกลุ่มเป้าหมายพร้อมจัดเก็บสถิติการจัดทำบันทึกการอ่านของ
กลมุ่ เปา้ หมายในแต่ละเดือน
4.5 ประกาศรายชื่อผู้ที่ทำบันทึกการอ่านได้มากที่สุด (สามารถดำเนินการได้ตามความเหมาะสมของ
แตล่ ะหอ้ งสมดุ )
4.6 มอบของรางวลั และเกียรติบัตรใหก้ ลุ่มเป้าหมายทีจ่ ดั ทำบันทึกการอา่ นได้มากทส่ี ุด
5. วสั ดแุ ละอุปกรณใ์ นการดำเนนิ งาน
5.1 หนงั สือ
5.2 ปากกาสี
5.3 แบบฟอรม์ บนั ทึกรกั การอ่าน
5.4 ของรางวัล
6. ตัวชี้วดั ความสำเร็จ
เชิงปรมิ าณ
รอ้ ยละ 80 ของกลมุ่ เป้าหมาย เกิดทกั ษะในการเรียนรู้ ดา้ นการอ่าน
เชิงคุณภาพ
กลุ่มเปา้ หมาย สามารถนำความร้ทู ่ไี ด้ไปพฒั นาศักยภาพในทักษะการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ได้

22

แนวทางท่ี 1 การส่งเสรมิ การอา่ นในหอ้ งสมุดประชาชน
กจิ กรรมที่ 9 ตามหายอดนกั อ่าน

1. ความสำคัญ
การอ่านหนังสือ เป็นการรวบรวมความคิด ขณะอ่านควรใช้ความคิดไปด้วย เพื่อทำความเข้าใจเรื่องที่

ปรากฎในหนังสือ การอ่านหนังสือต้องอ่านอย่างต้ังใจ การอ่านด้วยความพินิจพิเคราะห์จะช่วยให้ได้รับความรู้
ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ เปน็ การก่อให้เกดิ สติปญั ญาตามมา
2. วตั ถปุ ระสงค์

2.1 เพ่ือสง่ เสรมิ การอา่ นและสรา้ งนสิ ยั รกั การอ่านให้กลุ่มเปา้ หมาย
2.2 เพื่อส่งเสริมทักษะการอา่ น เขียน คิด วิเคราะห์ให้กับกลมุ่ เปา้ หมาย
3. กล่มุ เป้าหมาย
เยาวชน นักเรยี น นกั ศึกษา กศน. ประชาชน
4. วิธีการดำเนินงาน
4.1 จดั เตรยี มสมุดบันทึกการอา่ น
4.2 รับสมัครกลมุ่ เป้าหมาย พรอ้ มช้แี จ้งวัตถุประสงค์ กฎ กตกิ าในการร่วมกิจกรรม
4.3 กลมุ่ เปา้ หมายจดบนั ทกึ การอา่ นตามรูปแบบและสง่ ตามระยะเวลาท่กี ำหนด (สมุดบันทกึ การอ่าน
และระยะเวลาสามารถดำเนินการไดต้ ามรูปแบบของแตล่ ะห้องสมดุ )
4.4 ประกาศรายชอื่ ยอดนกั อ่านพร้อมมอบรางวัลและเกยี รตบิ ตั ร
5. วสั ดแุ ละอปุ กรณใ์ นการดำเนนิ งาน
5.1 หนังสือ
5.2 สมุดบันทึกการอ่าน
5.3 ของรางวัล
5.4 เกยี รตบิ ตั ร
6. ตัวชี้วดั ความสำเร็จ
เชิงปรมิ าณ
ร้อยละ 80 ของกลุ่มเปา้ หมาย มนี สิ ัยรักการอ่าน เกดิ ทักษะการอ่าน เขยี น คดิ วเิ คราะห์ จากการจด
บันทกึ การอ่าน
เชิงคุณภาพ
กลมุ่ เปา้ หมาย มีนสิ ัยรกั การอ่าน เกิดทกั ษะการอ่าน เขียน คดิ วิเคราะห์ จากการจดบันทึกการอ่าน

23

แนวทางท่ี 1 การสง่ เสริมการอ่านในห้องสมุดประชาชน

กจิ กรรมที่ 10 พ่นี อ้ งทอ่ งอินเทอรเ์ น็ต

1. ความสำคญั

การอ่านจากอินเทอร์เน็ต เป็นรูปแบบการอ่านในโลกยุคปัจจุบันซึ่งเรามิอาจหลีกเลี่ยงได้ การค้นหา
ข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตเป็นไปอย่างกว้างขวาง เนื่องจากมีความสะดวกรวดเร็ว การใช้วิธีการค้นหาข้อมูลจาก
อินเทอร์เน็ต การบันทึกข้อมูลหรือนำเข้าข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตมาใช้งาน ผู้อ่านต้องมีความชำนาญเสียก่อน
จงึ จะคน้ หาข้อมูลทีต่ อ้ งการจากอินเทอรเ์ นต็ ได้
2. วัตถปุ ระสงค์

2.1 เพ่อื ให้กลุ่มเป้าหมาย สามารถคน้ หาข้อมูลจากอนิ เทอร์เน็ตได้
2.2 เพ่ือพัฒนาดา้ นทักษะการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ให้กลมุ่ เป้าหมาย
3. กลุ่มเป้าหมาย

เยาวชน นกั เรียน นักศึกษา กศน.
4. วิธีการดำเนนิ งาน

4.1 จัดเตรยี มแบบบนั ทึกข้อมูล
4.2 สนทนากบั กลุ่มเป้าหมายถึงเรอ่ื งราวเหตุการณ์ในวนั สำคญั หรอื ขา่ วสารข้อมูลที่เป็นเรอ่ื งเด่นใน
ปัจจบุ นั
4.3 กำหนดหัวข้อในค้นหาข้อมูลจากอนิ เทอรเ์ น็ตใหก้ ับกลุ่มเปา้ หมาย เชน่ เหตกุ ารณใ์ นวันสำคญั
ข่าวสารขอ้ มูลท่ีเป็นเรอ่ื งเด่นในปจั จุบนั เปน็ ต้น หรือคน้ หาเร่ืองราวท่ีกลุ่มเปา้ หมายสนใจ
4.4 ใหก้ ลุ่มเปา้ หมายค้นหาข้อมูลจากอนิ เทอรเ์ น็ตตามหัวข้อทก่ี ำหนดหรอื ตามความสนใจ
4.5 ใหก้ ลุ่มเปา้ หมายบนั ทึกข้อมลู ท่ีได้คน้ หาจากอินเทอรเ์ น็ตลงในแบบบันทึกข้อมลู
4.6 สนทนากบั กลุม่ เปา้ หมายถงึ ประโยชน์ที่ไดจ้ ากเรอ่ื งที่คน้ หาข้อมูลจากอินเทอร์เนต็
4.7 รับใบงานจากกลมุ่ เปา้ หมายและมอบของรางวัล
5. วสั ดุและอุปกรณใ์ นการดำเนนิ งาน

5.1 ภาพขา่ วหรอื บทความ
5.2 อนิ เทอร์เนต็
5.3 คอมพิวเตอร์/สมาร์ทโฟน
5.4 ของรางวลั
6. ตวั ชี้วดั ความสำเรจ็
เชิงปรมิ าณ

ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายสามารถค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต เกิดทักษะการอ่าน คิดวิเคราะห์
นำไปปรับใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้

เชงิ คณุ ภาพ

กลุ่มเป้าหมาย สามารถค้นหาข้อมูลเรื่องที่ตนเองสนใจจากอินเทอร์เน็ตและเกิดทักษะการอ่าน คิด
วเิ คราะห์ นำไปปรับใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้

24

แนวทางท่ี 1 การส่งเสริมการอ่านในหอ้ งสมดุ ประชาชน
กิจกรรมท่ี 11 ท่ีค่นั หนงั สอื สอื่ ความรู้

1. ความสำคญั
ท่ีคั่นหนังสือเป็นอุปกรณ์ทีส่ ำคญั ทีน่ ักอ่านท้ังหลายควรมีติดตัวไว้เพราะทีค่ ัน่ หนงั สือจะทำหนา้ ที่จดจำ

หน้าหนงั สอื หรอื นิตยสารท่ีอา่ นคา้ งไว้เพือ่ ประโยชนใ์ นการกลับมาอ่านหน้าเดิมได้งา่ ยและรวดเรว็ ไม่ตอ้ ง
เสียเวลาในการคน้ หา
2. วตั ถปุ ระสงค์

เพอ่ื สง่ เสริมการอ่านและการเรียนรู้ใหก้ บั กลมุ่ เป้าหมาย
3. กลุ่มเปา้ หมาย

เยาวชน นักเรยี น นกั ศกึ ษา กศน. ประชาชน
4. วธิ ีการดำเนินงาน

4.1 จัดเตรียมที่คั่นหนังสือ คิวอาร์โค๊ดความรู้และคำถามเรื่องต่างๆ เช่น เรื่องสุขภาพ สมุนไพร การ
ปรงุ อาหาร เปน็ ต้น

4.2 จัดมุมความรู้ตามหัวข้อที่กำหนดพร้อมที่คั่นหนังสือสวยๆ หรือภาพระบายสีที่คั่นหนังสือเพื่อดึง
ความสนใจกลุ่มเปา้ หมาย

4.3 ให้กลุ่มเป้าหมายระบายสีทีค่ ัน่ หนังสือศึกษาข้อมูลความรู้จากควิ อาร์โค๊ดและตอบคำถามด้านหลัง
ของทีค่ น่ั หนงั สอื หากกลุม่ เป้าหมายตอบคำถามถกู ไดร้ บั ของรางวัล
5. วสั ดแุ ละอปุ กรณใ์ นการดำเนินงาน

5.1 ที่ค่ันหนงั สือรูปแบบตา่ งๆ
5.2 หนังสือความรูห้ มวดต่างๆ ในห้องสมดุ
5.3 สีเทียน สไี ม้
5.4 ของรางวลั
6. ตัวช้ีวัดความสำเรจ็
เชิงปริมาณ
ร้อยละ 80 ของกลมุ่ เป้าหมายสามารถนำความร้จู ากการอ่านไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
เชิงคุณภาพ
กลุ่มเป้าหมาย ได้รับความรจู้ ากการอา่ น และสามารถนำไปปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้

25

แนวทางที่ 1 การสง่ เสริมการอ่านในหอ้ งสมดุ ประชาชน
กิจกรรมท่ี 12 หรรษาสารานกุ รมไทย

1. ความสำคัญ
หนังสือสารานุกรมนั้น เป็นหนังสือที่มีเนื้อหาสาระไว้ครบทุกแขนง เมื่อมีความต้องการ หรือพอใจจะ

เรยี นรู้เรื่องใด ก็สามารถค้นหา อา่ นทราบโดยสะดวก นบั ว่า เป็นหนังสอื ท่ีมีประโยชน์ เก้ือกูลการศกึ ษา เพมิ่ พูน
ปัญญาดว้ ยตนเองของประชาชนอยา่ งสำคัญ
2. วตั ถปุ ระสงค์

เพ่ือส่งเสริมการอา่ นและการเรยี นรกู้ ารใชส้ ารานกุ รมไทยฉบบั เยาวชนในการศกึ ษาค้นควา้ ไดด้ ว้ ย
ตนเองให้กับกลุ่มเปา้ หมาย
3. กลุ่มเป้าหมาย

เยาวชน นักเรียน นักศกึ ษา กศน.
4. วิธกี ารดำเนินงาน

4.1 จัดมมุ นทิ รรศการหนงั สือสารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชน
4.2 จดั เตรียมใบคำถาม และตน้ ไม้สำหรับแขวนใบคำตอบ
4.3 สนทนากับกลุ่มเปา้ หมายแนะนำวธิ กี ารใช้สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชน
4.4 กำหนดเลม่ สารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชนใหก้ ลุ่มเป้าหมายได้ศกึ ษาค้นค้วา คน้ หาคำตอบและ
ตอบคำถามลงในใบคำถาม
4.5 กล่มุ เปา้ หมายนำใบคำถามทตี่ อบคำถามถูกต้องไปแขวนทตี่ ้นไม้ความรู้
4.6 มอบของรางวัลให้กบั กลุ่มเปา้ หมาย
5.วัสดแุ ละอปุ กรณใ์ นการดำเนินงาน
5.1 หนังสือสารานกุ รมไทยสำหรบั เยาวชน
5.2 ใบคำถาม
5.3 ต้นไมค้ วามรู้ หรือส่ืออื่นๆตามความเหมาะสม
5.4 ของรางวลั
6. ตัวช้ีวัดความสำเรจ็
เชงิ ปรมิ าณ
รอ้ ยละ 80 ของกลุม่ เป้าหมายสามารถใช้สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนในการศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเองได้
เชงิ คณุ ภาพ
กลมุ่ เปา้ หมายได้รบั การส่งเสริมการอ่านและการเรียนรสู้ ามารถใชส้ ารานกุ รมไทยสำหรับเยาวชนใน
การศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ยตนเองได้

26

แนวทางท่ี 1 การส่งเสรมิ การอ่านในห้องสมดุ ประชาชน
กจิ กรรมที่ 13 หนงั สืออ่านฟรี E-book เคลื่อนที่

1. ความสำคญั
E- book คือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับการพัฒนาให้ตอบสนองรูปแบบของการศึกษาเรียนรู้ท่ี

ทันสมัยด้วยการอำนวยความสะดวกในการสร้างหนังสือเพื่อการศึกษา อาชีพ และประโยชน์ใช้สอยอื่นๆ
E-book สามารถทำใหผ้ ู้รบั บริการอ่านหนังสือได้ทุกท่ี ทกุ เวลา เพ่ิมชอ่ งทางการอ่านได้อย่างไร้ขอบเขต อ่านได้
หลากหลายหลายตามความสนใจ เกดิ เปน็ สงั คมการเรยี นรู้ น่งั ที่ไหน อ่านทน่ี นั้
2. วตั ถุประสงค์

เพอ่ื สง่ เสรมิ การอ่านให้กับกลุ่มเปา้ หมาย สามารถอ่านไดท้ ุกที ทุกเวลา
3. กลมุ่ เปา้ หมาย

เยาวชน นักเรยี น นักศึกษา กศน. ประชาชน ผู้สูงอายุ
4. วิธีการดำเนนิ งาน

4.1 จัดทำ E-book และนำมาสร้าง QR Code
4.2 นำ QR Code มาออกแบบ และตกแตง่ ให้สวยงาม ในฟอรม์ ของกระดาษ A4
4.3 พมิ พ์ QR Code ท่ีได้ มาเคลือบกบั สต๊ิกเกอรเ์ คลือบใส
4.4 ตดั ฟิวเจอรบ์ อรด์ ใหเ้ ป็นรูปแบบปฏิทนิ ตงั้ โต๊ะ
4.5 นำ QR Code ทีไ่ ด้มาเจาะใส่หว่ งเหล็ก แลว้ แขวนบนฟิวเจอรบ์ อร์ดในรูปแบบปฏิทนิ ต้งั โต๊ะ
5. วสั ดุและอุปกรณ์ในการดำเนินงาน
5.1 กระดาษ
5.2 สตก๊ิ เกอร์เคลอื บใส
5.3 หว่ งเหล็ก
5.4 ฟวิ เจอร์บอร์ด
5.5 ทเ่ี จาะกระดาษ
6. ตัวชี้วัดความสำเร็จ
เชิงปรมิ าณ
ร้อยละ 80 ของกลุม่ เปา้ หมาย สามารถอา่ นไดท้ ุกที่ ทุกเวลา
เชงิ คุณภาพ
กลุ่มเป้าหมายได้รับความร้จู ากการอา่ น อ่านได้ทุกท่ี ทุกเวลา

27

แนวทางท่ี 1 การส่งเสริมการอ่านในห้องสมุดประชาชน
กิจกรรมที่ 14 อ่านแล้วทำนำไปใช้ประโยชน์

1. ความสำคญั
การอ่านจะได้รับผลสำเร็จมากน้อยเพียงใดนั้น ขึ้นอยู่กับผู้อ่านว่าจะเข้าใจความหมาย หรือเรื่องราว

ถกู ตอ้ งตามวัตถุประสงค์ของผู้เขยี นหรือไม่ สามารถเลือกส่ิงท่ดี ี ถกู ต้องเหมาะสมและนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน
ตามโอกาสต่างๆ ได้
2. วตั ถุประสงค์

เพือ่ ส่งเสรมิ การอา่ นและการเรยี นรู้ให้กับกลมุ่ เป้าหมายนำไปปรบั ใช้ในชีวิตประจำวนั
3. กลุม่ เป้าหมาย

เยาวชน นกั เรยี น นกั ศกึ ษา กศน. ประชาชน ผู้สูงอายุ
4. วธิ กี ารดำเนนิ งาน

4.1 คดั เลือกหนังสอื หมวด 000 – 900 เชน่ หมวด 600 จดั กจิ กรรมการเรียนรดู้ ้านการเกษตร การ
ปรุงอาหาร เป็นต้น

4.2 จดั เตรยี มใบความรู้จากเนอื้ เรื่องในหนังสือพรอ้ มคิวอารโ์ คด๊
4.3 จดั เตรียมวัสดุอุปกรณต์ ามชิ้นงานท่ปี รากฎในหนงั สอื
4.3 ใหก้ ลมุ่ เป้าหมายอ่านหนงั สอื หรอื ใบความรแู้ ละประดิษฐช์ น้ิ งานดว้ ยตนเอง
5. วัสดแุ ละอุปกรณ์ในการดำเนินงาน
5.1 หนงั สือ
5.2 ใบความรู้
5.3 อุปกรณ์เกี่ยวกับชิ้นงานตามทีเ่ ลือกจากหนังสือ
6. ตวั ชี้วดั ความสำเรจ็
เชงิ ปริมาณ
รอ้ ยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายไดร้ ับความรู้จากการอ่านสามารถนำไปปรบั ใช้ในชีวติ ประจำวันได้
เชงิ คณุ ภาพ
กลมุ่ เป้าหมายไดร้ บั ความรจู้ ากการอา่ นสามารถนำไปปรบั ใชใ้ นชีวิตประจำวันได้

28

แนวทางท่ี 1 การสง่ เสริมการอา่ นในห้องสมดุ ประชาชน
กิจกรรมท่ี 15 เมืองลุงเมอื งน่าเท่ียว

1. ความสำคัญ
ห้องสมุดประชาชนซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชน ซึ่งรวบรวมข้อมูลข่าวสารเป็นสถานที่ที่

ประชาชนทุกเพศทุกวัยสามารถเข้ามาใช้บริการและศึกษาค้นคว้าได้อย่างอิสระ การส่งเสริมการอ่านและการ
เรยี นรูใ้ นเรอ่ื งความเป็นมาและประวตั ขิ องแหลง่ ท่องเที่ยวในจังหวัดพัทลงุ เป็นการสง่ เสรมิ ให้ประชาชนทุกช่วง
วัยตระหนกั และมีความภาคภูมิใจในทอ้ งถ่นิ ของตนเอง
2. วตั ถุประสงค์

2.1 เพือ่ ส่งเสริมการอา่ นและการเรยี นรู้สถานที่ทอ่ งเท่ยี วในจังหวดั พทั ลุงให้กบั กลุม่ เป้าหมาย
2.2. เพอื่ ส่งเสรมิ ให้กลมุ่ เป้าหมายมีความภาคภูมใิ จในท้องถิ่นของตนเอง
3. กลุม่ เปา้ หมาย
เยาวชน นักเรียน นักศึกษา กศน. ประชาชน
4. วิธีการดำเนินงาน
4.1 จัดนิทรรศการมุมเมืองลงุ เมอื งน่าเท่ียว
4.2 สนทนากับกลุ่มเป้าหมายเก่ียวกบั สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวดั พัทลุง
4.3 ให้กลมุ่ เป้าหมาย สบื คน้ ข้อมูลแหลง่ ท่องเทีย่ วดว้ ยการสแกน QR Code
4.4 กลุม่ เป้าหมายทำแบบทดสอบเร่ืองเมอื งลุงเมืองน่าเที่ยว เพอ่ื รบั เกียรตบิ ัตรออนไลน์
5. วสั ดแุ ละอปุ กรณใ์ นการดำเนินงาน
5.1 กระดาษ
5.2 ฟิวเจอร์บอร์ด
5.3 อุปกรณ์ตกแต่ง
5.4 สต๊ิกเกอรเ์ คลอื บใส
6. ตวั ช้ีวดั ความสำเร็จ
เชงิ ปริมาณ
ร้อยละ 80 ของกลุม่ เป้าหมาย ได้รบั ความร้เู ร่ืองทที่ ่องเท่ียวในจงั หวดั พทั ลุง
เชงิ คณุ ภาพ
กลมุ่ เปา้ หมาย ได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกบั แหลง่ ท่องเทีย่ วในจังหวดั พทั ลงุ มีความภาคภูมิใจใน
ทอ้ งถ่ินของตนเอง

29

แนวทางที่ 1 การสง่ เสรมิ การอ่านในหอ้ งสมดุ ประชาชน

กจิ กรรมที่ 16 DIY สายคลอ้ งแมสก์

1. ความสำคญั

ในปัจจุบันการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อโรคระบบทางเดินหายใจ เช่น โรคไข้หวัด โรคไวรัส
โคโรนา่ (Covid 19) ซงึ่ สามารถตดิ ต่อไดจ้ ากการไอ จาม นำ้ ลาย นำ้ มลู น้ี การดแู ลสขุ ภาพอนามยั ด้วยการสวม
ใส่แมสก์หรือหน้ากากอนามัยกลายเป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตประจำวันของทุกคน ไม่ว่าจะออกไปซื้อของ
เดินห้าง หรือไปเที่ยวตามสถานที่ต่าง ๆ ก็ต้องใส่แมสก์ทุกครั้ง สายคล้องแมสก์จึงเป็นสิ่งที่ตอบโจทย์เป็น
อยา่ งยง่ิ เพราะจะช่วยป้องกนั การทำแมสก์หายในขณะที่ใช้ ชวี ติ อยนู่ อกบ้านได้
2. วัตถุประสงค์

2.1 เพอ่ื สง่ เสริมการอ่านและการเรยี นรู้ใหก้ ับกลมุ่ เป้าหมายในการดแู ลและป้องกนั ตนเองจากการติด
เชื้อโรคระบบทางเดนิ หายใจ

2.2 เพอ่ื ส่งเสรมิ ทักษะอา่ นและการเรียนรู้การทำสายคล้องแมสกใ์ นการนำไปปรับใชใ้ นชีวติ ประจำวัน
3. กลมุ่ เปา้ หมาย

เยาวชน นักเรียน นกั ศึกษา กศน.และประชาชน ผ้สู ูงอายุ
4. วธิ ีการดำเนนิ งาน

4.1 จัดเตรียมใบความรูเ้ รื่องการดแู ลและป้องกันตนเองจากโรคตดิ ต่อระบบทางเดนิ หายใจดว้ ยการ
สวมหน้ากากอนามยั

4.2 สนทนากับกลุ่มเปา้ หมายเร่อื งการสวมหน้ากากอนามยั
4.3 ใหก้ ลุม่ เปา้ หมายทำสายคล้องหนา้ กากอนามัย โดยวดั ขนาดความยาวของเอน็ ตามต้องการ
นำปลายดา้ นหนง่ึ ของเอน็ รอ้ ยเขา้ กับตะขอเอาไว้ ร้อยลูกปดั ใส่ปลายเอน็ อกี อกี ข้างโดยใหเ้ หลอื ปลายเอาไว้
ผูกกับตะขอด้วย เมอ่ื ร้อยลูกปัดครบแล้วนำปลายเอน็ ไปผกู กบั ตะขออกี ชนิ้ เปน็ อันเสรจ็ เรยี บรอ้ ย
4.4 ใหก้ ลุม่ เป้าหมายนำสายคลอ้ งแมสก์ไปคล้องกบั แมสกท์ ่ีตนเองสวมใส่
5. วัสดแุ ละอปุ กรณ์ในการดำเนินงาน

5.1 ใบความรู้
5.2 ลกู ปดั
5.3 ตะขอกา้ มปู
5.4 เอน็ สำหรับร้อยลกู ปัด
6. ตัวชี้วดั ความสำเร็จ

เชิงปรมิ าณ

รอ้ ยละ 80 ของกลมุ่ เปา้ หมายไดร้ บั ความรู้จากการอ่านในการดแู ลและป้องกันตนเองจากการติดเช้อื
โรคระบบทางเดินหายใจและสามารถทำสายคลอ้ งแมสก์เพื่อใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้

เชงิ คณุ ภาพ

กลุ่มเป้าหมายได้รบั ความรจู้ ากการอา่ นในการดแู ลและปอ้ งกนั ตนเองจากการติดเชอ้ื โรคระบบทางเดนิ
หายใจและสามารถทำสายคล้องแมสกเ์ พ่ือใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้

30

แนวทางที่ 1 การสง่ เสรมิ การอา่ นในหอ้ งสมุดประชาชน
กจิ กรรมที่ 17 สุขภาพดี มสี ขุ

1. ความสำคัญ
การดูแลสุขภาพให้แข็งแรง เป็นสิ่งที่ทุกคนต้องการ การอ่านหนังสือเกี่ยวกับสุขภาพทำให้ได้รับรู้

เรือ่ งราวเกย่ี วกับสขุ ภาพรา่ งกาย สขุ ภาพจติ ค้นหาคำตอบเพ่ิมศักยภาพการเรียนรู้ได้จากการอ่าน สามารถนำ
ความรูท้ ไ่ี ดไ้ ปดแู ลตนเองและบุคคลในครอบครัว
2. วตั ถุประสงค์

เพอื่ สง่ เสรมิ การอา่ นและการเรยี นรกู้ ารดแู ลสุขภาพใหก้ ับกล่มุ เป้าหมายนำไปปรบั ใช้ในการดูแลตนเอง
และครอบครัว
3. กล่มุ เป้าหมาย

เยาวชน นกั เรยี น นักศกึ ษา กศน. ประชาชน ผู้สงู อายุ
4. วิธีการดำเนินงาน

4.1 จัดมุมสุขภาพดี มสี ุข ประกอบดว้ ยหนงั สอื สุขภาพ อปุ กรณน์ วดหรืออปุ กรณ์อืน่ ๆ ตามความ
เหมาะสม

4.2 ใบความรู้การดูแลสุขภาพ สลากคำถามเกีย่ วกับสุขภาพ กระดาษคำตอบ
4.3 กลมุ่ เป้าหมายอ่านใบความรู้ แลว้ จับสลากคำถาม แล้วตอบลงในกระดาษคำตอบ
4.4 มอบของรางวลั ให้กลุ่มเป้าหมายทีต่ อบคำถามถูกต้อง
5. วัสดแุ ละอุปกรณ์ในการดำเนินงาน
5.1 หนังสอื เรือ่ งการดแู ลสุขภาพ
5.2 กระดาษ
5.3 ปากกาสี
5.4 กล่อง
5.5 ของรางวัล
6. ตวั ช้ีวดั ความสำเรจ็
เชิงปรมิ าณ
ร้อยละ 80 ของกลุ่มเปา้ หมาย ไดร้ บั ความร้เู รื่องการดูแลสขุ ภาพ
เชงิ คุณภาพ
กลุ่มเปา้ หมายสามารถนำความรเู้ ก่ยี วกบั การดูแลสขุ ภาพ มาปรบั ใช้ในการดูแลตนเองและคนใน
ครอบครวั ได้

31

แนวทางท่ี 1 การส่งเสริมการอา่ นในห้องสมดุ ประชาชน
กจิ กรรมที่ 18 Box Set เกร็ดอาชพี

1. ความสำคัญ
หอ้ งสมดุ ประชาชนเปน็ แหล่งเรยี นร้ทู ่ีมีความร้ใู ห้ศึกษาค้นควา้ อย่างหลากหลาย อาชพี เป็นเร่ืองสำคัญ

ในการดำรงชวี ติ ในการก่อเกดิ รายได้ การจดั กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ดา้ นอาชีพภายในห้องสมุด
เป็นสว่ นหนงึ่ ที่ส่งเสรมิ ให้เกดิ การเรียนรแู้ ละนำไปประกอบอาชีพในชีวิตประจำวันได้
2. วตั ถุประสงค์

2.1 เพ่ือสง่ เสริมการอา่ นและการเรยี นรู้ด้านอาชพี ใหก้ ับประชาชน
2.2 เพือ่ ส่งเสรมิ ให้ประชาชนนำความรทู้ ไ่ี ด้จากการอา่ นไปปรับใชใ้ นชีวติ ประจำวนั
3. กลมุ่ เป้าหมาย
เยาวชน นักเรียน นักศกึ ษา กศน. ประชาชน ผ้สู งู อายุ
4. วิธกี ารดำเนินงาน
4.1 จัดมมุ เรียนรูต้ ามอธั ยาศัย Box set เกร็ดอาชีพ
4.2 จัดเตรยี มกลอ่ งนำอุปกรณแ์ ละใบความรู้ใสใ่ นกล่องและจัดวางไว้ท่ีมมุ เรยี นรตู้ ามอธั ยาศัย Box set
เกร็ดอาชีพ
4.3 ให้กล่มุ เปา้ หมายอ่านและเรียนร้จู ากใบความรู้หรือเรียนรจู้ ากการสแกนคิวอาร์โคด๊ และปฏิบัตทิ ำ
ด้วยตนเอง
5. วสั ดุและอปุ กรณใ์ นการดำเนินงาน
5.1 ใบความร้อู าชีพ เช่น การทำกระเป๋าผ้าหรู ูด การประดิษฐข์ องชำรว่ ยจากผ้าขนหนู
5.2 กล่องพลาสตกิ
5.3 อปุ กรณ์อาชพี ตามใบความรู้
6. ตวั ชี้วัดความสำเรจ็
เชิงปรมิ าณ
รอ้ ยละ 80 ของกลุ่มเปา้ หมาย ได้รับการส่งเสรมิ การอ่านและการเรียนรู้ดา้ นอาชีพสามารถนำไปรับใช้
ในชีวติ ประจำวันได้
เชงิ คุณภาพ
กลุ่มเปา้ หมายเกิดการเรียนรู้จากการอ่านสามารถนำไปปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้

32

แนวทางท่ี 1 การสง่ เสริมการอา่ นในห้องสมุดประชาชน
กิจกรรมท่ี 19 พทั ลุงน่ารู้

1. ความสำคัญ
ห้องสมุดประชาชนซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชน ซึ่งรวบรวมข้อมูลข่าวสาร ประวัติความ

เป็นมา องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน และเป็นสถานที่ที่ประชาชนทุกเพศทุกวัยสามารถเข้ามาใช้
บริการและศกึ ษาคน้ คว้าได้อย่างอิสระ การส่งเสรมิ การอ่านและการเรียนรู้ในเรื่องความเป็นมาและประวัติของ
ชมุ ชนเปน็ การส่งเสรมิ ใหค้ นในชุมชนตระหนักและมคี วามภาคภูมใิ จในทอ้ งถน่ิ ของตนเอง
2. วตั ถปุ ระสงค์

2.1 เพื่อสง่ เสรมิ การอ่านและการเรียนรู้ประวัติความเปน็ มาของจังหวดั พัทลุง ภมู ปิ ัญญา และเร่ืองราว
ในชุมชนให้กับกลุ่มเป้าหมาย

2.2 เพ่อื ส่งเสรมิ ให้กลมุ่ เป้าหมายเกดิ ความภาคภูมใิ จในชุมชนของตนเอง
3. กลุ่มเปา้ หมาย

เยาวชน นักเรยี น นักศกึ ษา กศน.
4. วธิ ีการดำเนินงาน

4.1 สนทนาเกย่ี วกับจังหวดั พทั ลุง ของดีเมอื งพัทลงุ และเล่าเรอื งความเป็นมาของจงั หวดั พทั ลุง
4.2 แบ่งกลุ่มเป้าหมายให้ศกึ ษาค้นควา้ ข้อมูลประวตั ิ ภูมปิ ญั ญา ขอ้ มูลชุมชนท้องถิน่
4.3 ใหแ้ ต่ละกลมุ่ นำเสนอถงึ เรอ่ื งราวและความภูมใิ จทมี่ ีต่อชมุ ชนของตนเอง
5. วสั ดแุ ละอุปกรณใ์ นการดำเนินงาน
5.1 กระดาษปร๊ฟู
5.2 กระดาษการด์ สี
5.3 ปากกา สไี ม้ สเี มจกิ
6. ตัวช้ีวัดความสำเร็จ
เชงิ ปริมาณ
ร้อยละ 80 นักเรียน กลมุ่ เปา้ หมายมคี วามรู้ประวตั คิ วามเป็นมาของจงั หวัดพัทลงุ ภมู ปิ ัญญา และ
เรอ่ื งราวในชมุ ชน เกดิ ความภาคภมู ิใจในชมุ ชนของตนเอง
เชิงคุณภาพ
กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ประวัติความเป็นมาของจังหวัดพัทลงุ ภมู ปิ ัญญา และเรื่องราวในชมุ ชน และ
เกดิ ความภาคภูมิใจในชุมชนของตนเอง

33

แนวทางท่ี 1 การส่งเสรมิ การอ่านในหอ้ งสมดุ ประชาชน
กจิ กรรมท่ี 20 เลม่ ใหมช่ วนอ่าน (แนะนำหนังสอื ใหม)่

1. ความสำคญั
การคัดเลือกหนังสือให้ตรงกับความต้องการของผู้อ่านหรือการส่งเสริมและแนะแนววิธีการอ่าน

เสริมสร้างความรู้ ความคิด สติปัญญา และความเพลิดเพลนิ บันเทิงใจ เพอื่ บำบัดความทุกข์ หรอื ช่วยแก้ปัญหา
ให้แก่ผู้อ่านได้ทุกเวลา การแนะนำหนังสือไม่ใช่การกำหนด หรือบังคับให้ผู้อ่านต้องคล้อยตามและปฏิบัติตาม
คำแนะนำของผู้ใหค้ ำแนะนำ แตเ่ พอื่ กระตนุ้ ดงึ ดูดความสนใจใหผ้ ู้อ่านเกดิ ความอยากอ่านหนังสือ
2. วตั ถปุ ระสงค์

เพ่อื ส่งเสริมการอา่ นและกระตุ้นความสนใจในการอา่ นให้กับกลมุ่ เป้าหมาย
3. กลุ่มเป้าหมาย

เยาวชน นักเรียน นกั ศึกษา กศน.และประชาชน ผสู้ ูงอายุ
4. วิธีการดำเนนิ งาน

4.1 คัดเลอื กหนังสือใหม/่ หนังสือท่มี ีอยู่ในห้องสมุด
4.2 จัดทำ Display หนังสือ
5. วัสดุและอปุ กรณใ์ นการดำเนินงาน
5.1 หนงั สือใหม่/หนงั สือที่มีอยู่ในหอ้ งสมดุ
5.2 กระดาษสต๊ิกเกอร์ขาวดา้ น A4
5.3 ฟวิ เจอร์บอร์ด
6. ตวั ชี้วดั ความสำเร็จ
เชงิ ปรมิ าณ
ร้อยละ 80 ของกลุม่ เป้าหมายเกดิ ความสนใจในการอ่าน
เชงิ คุณภาพ
กลุ่มเป้าหมายเกดิ ความสนใจในการอ่านจากการจัด Display ภายในห้องสมุด

34

แนวทางที่ 1 การสง่ เสริมการอา่ นในหอ้ งสมุดประชาชน

กจิ กรรมที่ 21 ใต้รม่ พระบารมี (บุญคุณพระมหากษตั ริยไ์ ทย)

1. ความสำคญั

สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสัญลักษณ์ของการดำรงอยู่ของชาติไทย มายาวนาน ทำให้ประเทศไทย
สามารถรักษาความเป็นไทย ตราบจนปัจจุบัน การส่งเสริมให้มีการเรียนรู้เกี่ยวกับพระราชประวัติ พระราช
กรณียกิจ และพระมหากรุณาธิคุณที่มีต่อปวงชนชาวไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันเป็นสิ่งที่สำคัญ ในการสร้าง
การรบั รูก้ ารสำนึกรักและเทิดทลู ร่วมกนั ปกป้องสถาบนั พระมหากษตั ริยใ์ หด้ ำรงอยตู่ ลอดไป
2. วตั ถปุ ระสงค์

2.1 เพอ่ื ส่งเสริมใหก้ ลุม่ เปา้ หมายมคี วามรู้ความเข้าใจ เก่ยี วกับความเปน็ มาของประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทย
2.2 เพอ่ื ส่งเสริมให้กลุม่ เป้าหมาย มคี วามรักชาติ สำนกึ ในพระมหากรุณาธิคุณ เทดิ ทูนสถาบนั
พระมหากษัตรยิ ์
3. กลุม่ เป้าหมาย

เยาวชน นักเรียน นักศกึ ษา กศน.
4. วิธีการดำเนนิ งาน

4.1 จัดมุมใต้ร่มพระบารมหี รือมุมเก่ียวกับการส่งเสรมิ การเรียนรู้เกี่ยวกบั ประวตั ศิ าสตร์และบุญคณุ
พระมหากษัตรยิ ์ไทย

4.2 ใหก้ ลุ่มเปา้ หมายได้เรยี นรจู้ ากคลิปวดี โี อวันสำคัญต่างๆทเ่ี กี่ยวกบั สถาบันพระมหากษัตริย์ เชน่
วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา วนั ฉัตรมงคล เป็นต้น

4.3 สนทนาซักถามเกยี่ วกับเร่ืองราวจากคลปิ วีดโี อ
4.4 แบ่งกล่มุ เปา้ หมายตามความเหมาะสมเพ่ือให้ระดมความคิด เกีย่ วกบั เรื่องพระมหากษตั ริย์ไทยมี
พระมหากรณุ าธิคณุ อยา่ งไร และเราจะปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์ของเราอย่างไร โดยศกึ ษาคน้ ควา้ จาก
หนงั สอื และจัดทำเปน็ หนงั สอื เลม่ เล็ก
4.5 ใหก้ ลมุ่ เป้าหมายนำเสนอผลงานของแต่ละกลุ่ม
5. วสั ดุและอปุ กรณ์ในการดำเนนิ งาน

5.1 หนังสอื
5.2 คลปิ วดิ ีโอ
5.2 ดนิ สอ ปากกา สไี ม้ สีเมจิก
5.3 กระดาษ A4 กระดาษการด์ สี A4
6. ตัวช้ีวัดความสำเร็จ

เชงิ ปรมิ าณ

ร้อยละ 80 กลุ่มเป้าหมายมคี วามรู้ความเขา้ ใจ เกยี่ วกบั ความเป็นมาของประวัติศาสตร์ชาติไทยมีความ
รักชาติ สำนึกในพระมหากรณุ าธิคุณ เทิดทูนสถาบนั พระมหากษตั ริย์

เชิงคณุ ภาพ

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับความเป็นมาของประวัติศาสตร์ชาติไทยมีความรักชาติ
สำนึกในพระมหากรณุ าธิคุณ เทิดทนู สถาบนั พระมหากษัตริย์

35

แนวทางท่ี 1 การสง่ เสรมิ การอา่ นในหอ้ งสมดุ ประชาชน
กจิ กรรมที่ 22 ดมื่ อรอ่ ย (มุมกาแฟ)

1. ความสำคญั
การนั่งอา่ นหนังสือพร้อมดว้ ยเคร่ืองดม่ื เปน็ การสร้างบรรยากาศและสรา้ งความผ่อนคลายจากการอ่าน

ให้รู้สึกสบาย และเป็นกิจกรรมที่หลายคนชื่นชอบ การดื่มเครื่องดื่มภายในห้องสมุดประชาชนนั้นเป็นสิ่งที่
เป็นไปได้ยากในอดีต แต่ในปัจจุบนั ห้องสมุดหลายๆแหง่ ได้ปรับเปลี่ยนให้ทันกับยุคและมีความทันสมัยอำนวย
ความสะดวกให้ผู้อ่านมากขึ้น โดยการจัดให้มีมุมกาแฟ จัดบริการเครื่องดื่มไว้บริการ เพื่อสร้างแรงดึงดูดและ
ความนา่ สนใจแก่ผใู้ ช้บริการ
2. วตั ถปุ ระสงค์

2.1 เพอ่ื สง่ เสริมการอ่านและการเรียนรูใ้ หก้ ับกลุม่ เปา้ หมาย
2.2 เพื่อส่งเสริมทักษะการอ่าน และนำไปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั
3. กลมุ่ เป้าหมาย
เยาวชน นกั เรียน นักศกึ ษา กศน. ประชาชน ผู้สงู อายุ
4. วิธีการดำเนินงาน
4.1 จดั มุมกาแฟที่ประกอบดว้ ยเครื่องดื่มชนดิ ตา่ งๆทีผ่ ใู้ ชบ้ ริการสามารถทำได้ด้วยตนเอง
4.2 จดั ทำใบความร้เู กีย่ วกับการชงเครื่องดมื่
4.3 ใหผ้ รู้ ับบรกิ ารเรียนร้จู ากการอา่ นและชงเครอ่ื งดมื่ ตามอธั ยาศยั
5. วัสดุและอุปกรณใ์ นการดำเนนิ งาน
5.1 อุปกรณ์เคร่อื งด่ืมชากาแฟ
5.2 ใบความรู้
6. ตัวช้ีวัดความสำเรจ็
เชงิ ปรมิ าณ
รอ้ ยละ 80 กล่มุ เป้าหมายเกดิ ทกั ษะการอา่ น และนำไปปรับใชใ้ นชีวติ ประจำวัน
เชงิ คุณภาพ
กลุ่มเป้าหมายเกิดทักษะการอ่าน และนำไปปรับใช้ในชีวติ ประจำวัน

36

แนวทางท่ี 1 การสง่ เสริมการอ่านในห้องสมุดประชาชน
กิจกรรมที่ 23 Kahoot สขุ สุดหรรษา

1. ความสำคัญ
ห้องสมุดประชาชนเป็นสถานที่ที่มีการจัดการเรียนรู้ จากการเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบันทีก่ ารอ่าน

สามารถเข้าถึงได้หลากหลายรูปแบบ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านก็เช่นเดียวกันสามารถจัดได้หลากหลาย
รูปแบบ ดังนนั้ การนำ Kahoot มาใช้ในการส่งเสริมการอ่าน ก็เปน็ การกระตนุ้ การอยากอ่านและการเรียนรู้ให้
กลุ่มเปา้ หมายเกิดความสนุกสนานผ่านเกม เกิดความใฝ่รู้ อยากอา่ นมากขึ้น
2. วัตถุประสงค์

2.2 เพอื่ ส่งเสริมการอ่านผา่ นเทคโนโลยี
2.3 เพอ่ื สง่ เสริมให้กลมุ่ เปา้ หมายเกดิ ความสนกุ สนานจากการอ่าน
3. กลมุ่ เปา้ หมาย
เยาวชน นกั เรียน นกั ศกึ ษา กศน. ประชาชน
4. วธิ กี ารดำเนินงาน
4.1 จัดเตรยี มหัวขอ้ ท่นี า่ สนใจหรอื ใบความรู้ เช่น วนั สำคัญตา่ งๆ สถานที่ท่องเที่ยว เปน็ ตน้
4.2 จัดทำคำถามใน Kahoot เพ่ือใชใ้ นการจดั กจิ กรรม
4.3 แจกใบความรแู้ ละใหก้ ลุ่มเป้าหมายได้อ่าน
4.4 เปิด Kahoot ใหก้ ลุม่ เป้าหมายเขา้ รว่ มกิจกรรมและตอบคำถามผา่ นสมารท์ โฟน
4.5 เฉลยคำตอบทุกครั้งที่กลุม่ เปา้ หมายตอบในแต่ละข้อและสรปุ ใครตอบเปน็ คนแรก และใครมี
คะแนนนำ เพอ่ื สร้างความสนใจในการร่วมกิจกรรม
4.6 เมื่อกลุ่มเปา้ หมายตอบคำถามหมดทุกข้อสรุปและแจ้งช่ือผทู้ ่มี ีคะแนนสูงสุดในสามลำดับ
4.7 มอบของรางวัลใหผ้ ู้ท่ีมคี ะแนนสงู สุดในสามลำดบั แรก
5. วัสดุและอุปกรณใ์ นการดำเนนิ งาน
5.1 จอโปรแจคเตอร์
5.2 โน๊ตบุ๊ค
5.3 สมารท์ โฟน (สำหรับผ้รู ่วมกิจกรรม)
5.4 ของรางวัล
6. ตัวชี้วดั ความสำเร็จ
เชิงปรมิ าณ
ร้อยละ 80 ของ กลุ่มเป้าหมายไดเ้ รียนรกู้ ารอา่ นผา่ นเทคโนโลยแี ละมคี วามสนกุ สนาน
เชิงคณุ ภาพ
กลุ่มเปา้ หมายไดเ้ รียนรู้การอ่านผ่านเทคโนโลยแี ละมคี วามสนกุ สนาน

37

แนวทางที่ 1 การสง่ เสริมการอ่านในหอ้ งสมดุ ประชาชน
กิจกรรมที่ 24 มารูจ้ กั หนงั สอื กนั เถอะ

1. ความสำคญั
หนังสือมีความสำคัญมากในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน มีส่วนประกอบที่สำคัญต่างๆภายในเล่ม

มีประโยชน์มากมายในการเรียนรู้ ศึกษาหาความรู้ในด้านต่างๆ มีความเพลิดเพลินและสนุกสนาน เป็นการ
เรียนรจู้ ากประสบการณต์ รงของเด็ก ซึ่งเป็นการสง่ เสริมการอา่ นอย่างแทจ้ ริง
2. วตั ถปุ ระสงค์

2.1 เพอ่ื ให้ส่งเสริมการอา่ นและการเรียนรู้สว่ นต่างๆ ของหนังสือให้กบั กลมุ่ เป้าหมาย
2.2 เพ่ือส่งเสรมิ ให้กลมุ่ เปา้ หมายใช้เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์
3. กลมุ่ เปา้ หมาย
เยาวชน นักเรียน นกั ศึกษา กศน.
4. วธิ กี ารดำเนินงาน
4.1 สนทนากบั กลมุ่ เป้าหมายแนะนำเกีย่ วกับลกั ษณะ รูปแบบ และประโยชนข์ องหนงั สอื
4.2 แนะนำสว่ นตา่ งๆของหนังสอื เชน่ ปก ชือ่ เร่อื ง ช่อื ผู้แต่ง หน้าปกใน เปน็ ตน้
4.3 ใหก้ ลมุ่ เปา้ หมายตอบสว่ นตา่ งๆ ของหนังสอื โดยใชห้ นังสือภายในห้องสมุด
4.4 ใหก้ ลุ่มเป้าหมายเลือกอ่านหนังสอื ตามความสนใจ
5. วัสดุและอปุ กรณใ์ นการดำเนนิ งาน
หนงั สอื
6. ตัวช้ีวดั ความสำเร็จ
เชงิ ปรมิ าณ
ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมาย มีความรูเ้ กี่ยวกับส่วนต่างๆ ของหนังสือและสามารถใช้เวลาว่างให้เกดิ
ประโยชน์
เชิงคุณภาพ
กลมุ่ เป้าหมาย มีความร้เู กย่ี วกับส่วนต่างๆ ของหนังสือและสามารถใช้เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์

38

แนวทางที่ 1 การส่งเสริมการอา่ นในหอ้ งสมุดประชาชน
กจิ กรรมที่ 25 ปอ๊ บอพั หรรษาพาสนุก

1. ความสำคัญ
การส่งเสริมการอ่านมสี ่วนในการสรา้ งเสริมจนิ ตนาการ สติปัญญา และลักษณะนิสัยบางอย่างใหเ้ ด็กๆ

ได้รับการอ่าน ที่เป็นพื้นฐานสำคัญ และยังเป็นการฝึกทักษะในด้านภาษา การฟัง การพูด การอ่าน และ
การเขียน ตลอดจนไปถึงการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม การเสริมสร้างค่านิยมที่ดีงาม และยังเป็นการสร้าง
รากฐานคณุ ภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสคู่ วามเปน็ มนษุ ยท์ ีส่ มบรู ณเ์ กิดคุณค่าต่อตนเองและสังคม
2. วตั ถปุ ระสงค์

2.1 เพอื่ สง่ เสริมการอา่ นและการเรียนรู้ใหก้ บั กลุม่ เปา้ หมาย
2.2 เพ่ือสง่ เสรมิ ใหก้ ลุ่มเปา้ หมายนำความรู้ไปปรบั ใช้ในชีวิตประจำวนั
3. กลมุ่ เป้าหมาย
เยาวชน นกั เรียน นักศกึ ษา กศน.
4. วธิ กี ารดำเนนิ งาน
4.1 สนทนากับกลุม่ เปา้ หมายตามหวั ขอ้ ท่กี ำหนดหรือตามความสนใจของกลุม่ เปา้ หมาย เชน่ วนั
สำคัญ นิทานป๊อปอัพ คำศัพทภ์ าษาอังกฤษ เป็นตน้
4.2 จัดเตรียมแบบป๊อปอัพดว้ ยกระดาษการ์ดสี A4 หรือขนาดตามความตอ้ งการ
4.3 อธิบายข้ันตอนการทำป๊อปอพั ใหก้ ลุ่มเปา้ หมายฟัง
4.4 ให้กลุ่มเป้าหมายทำตามข้ันตอนตามแบบที่กำหนดหรอื ตามความคิดสรา้ งสรรค์ ตกแตง่ ระบายสใี ห้
สวยงาม
4.5 ให้กล่มุ เป้าหมายนำเสนอป๊อปอัพของตนเอง
5. วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ในการดำเนินงาน
5.1 กระดาษแขง็ /กระดาษการด์ สี
5.2 สไี ม้ สเี มจกิ
5.3 กาว
5.4 ปากกา
6. ตวั ชี้วัดความสำเร็จ
เชงิ ปรมิ าณ
รอ้ ยละ 80 ของกลุม่ เปา้ หมายเกดิ การเรียนรจู้ ากการอา่ นและสามารถนำไปปรบั ใชใ้ นชีวิตประจำวันได้
เชิงคณุ ภาพ
กลุม่ เปา้ หมายเกิดการเรยี นรจู้ ากการอา่ นและสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวนั ได้

39

แนวทางท่ี 1 การส่งเสรมิ การอา่ นในหอ้ งสมดุ ประชาชน
กจิ กรรมท่ี 26 ตี ฆ้อง ร้อง ป่าว ชาว กศน.

1. ความสำคัญ
การคัดเลือกส่ือให้ตรงกับความต้องการของผูอ้ ่านหรือการสง่ เสรมิ และแนะแนววธิ ีการอ่าน เสริมสรา้ ง

ความรู้ ความคิด สติปัญญา และความเพลิดเพลิน บันเทิงใจ เพื่อบำบัดความทุกข์ หรือช่วยแก้ปัญหาให้แก่
ผู้อ่านได้ทุกเวลา การจัดทำใบความรู้หน้าเดียวเป็นช่องทางที่กระตุ้นให้ผู้อ่านมีนิสัยรักการอ่านและสร้าง
วิจารณญาณในการอ่าน เพื่อพัฒนาความรู้ ปรับปรุงและต่อยอดอาชีพ เพื่อความบันเทิงอารมณ์และเพื่อความ
จรรโลงใจ
2. วัตถุประสงค์

2.1 เพือ่ ส่งเสรมิ การอ่านและการเรียนรู้ผา่ นระบบออนไลน์ให้กบั กลมุ่ เป้าหมาย
2.2 เพอ่ื ประชาสัมพนั ธ์กิจกรรมของห้องสมดุ ประชาชน
3. กลุ่มเป้าหมาย
เยาวชน นักเรียน นกั ศกึ ษา กศน. ประชาชน
4. วธิ กี ารดำเนนิ งาน
4.1 จัดทำใบความรหู้ นา้ เดยี ว ตามสถานการณ์ท่นี ่าสนใจ
4.2 จัดทำแบบทดสอบความรู้และรบั เกยี รติบัตรออนไลน์
4.3 ประชาสมั พันธ์ กจิ กรรมเวบ็ ไซต์ ผ่านไลน์ เพจห้องสมุดประชาชน
5. วสั ดุและอุปกรณ์ในการดำเนินงาน
กระดาษ A4
6. ตวั ชี้วัดความสำเร็จ
เชงิ ปรมิ าณ
รอ้ ยละ 80 ของกลุ่มเปา้ หมาย ได้รับข่าวสารการจัดกิจกรรมของห้องสมุด และเกดิ การเรยี นร้จู ากการ
อา่ นผา่ นระบบออนไลน์ สามารถนำความร้ไู ปปรับใช้ในชีวิตประจำวนั ได้
เชิงคุณภาพ
กลุ่มเป้าหมาย ได้รับข่าวสารการจัดกิจกรรมของห้องสมุด และเกิดการเรียนรู้จากการอ่านผ่านระบบ
ออนไลน์ สามารถนำความรไู้ ปปรับใชใ้ นชีวิตประจำวันได้

40

แนวทางที่ 2 ห้องสมดุ ประชาชนสาขา/เครือขา่ ย
กิจกรรมท่ี 1 15 นาทชี ้ีความรู้

1. ความสำคัญ

การค้นคว้าหาความรู้เรื่องราว หัวเรื่อง เนื้อหาตามความถนัด ตามความสนใจและรวบรวมความรู้เปน็

แฟ้มสะสมงาน เป็นกิจกรรมที่เติมเตม็ ความรู้ด้วยการอ่านและช่วยกระตุ้นให้เกิดความสนใจ เกิดความต้องการ

อา่ นหนงั สอื และมแี รงจงู ใจในการแขง่ ขันการอ่านหนงั สือเพ่ิมมากข้ึน
2. วตั ถปุ ระสงค์

2.1 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายฝึกใช้กระบวนการคิดและวิเคราะห์ก่อนการอ่านและหลัง
การอ่าน

2.2 เพ่อื ส่งเสรมิ ใหก้ ลุ่มเป้าหมายเกิดทักษะการอ่านจากการคน้ คว้าและการใช้ห้องสมดุ
2.3 เพือ่ ส่งเสริมและสนบั สุนนสร้างนิสยั รักการอ่านใหก้ ับกล่มุ เป้าหมาย
3. กลุ่มเป้าหมาย

นักศึกษา กศน.
4. วิธีการดำเนินงาน

4.1 เตรยี มหัวขอ้ /หัวเรอ่ื ง ให้ผูร้ ่วมกิจกรรมคน้ ควา้

4.2 กำหนดเวลาในการค้นคว้า

4.3 กลุ่มเป้าหมายค้นควา้ คำตอบจากส่ือสิ่งพมิ พ์
4.4 กลุ่มเป้าหมายนำความรู้ท่ีไดจ้ ากสือ่ สิง่ พิมพ์มาสรุปตามแบบบนั ทกึ การอ่าน

4.5 กลุ่มเป้าหมายแลกเปลยี่ นเร่อื งราวที่ไดจ้ ากการคน้ คว้า/การอ่าน
5. วสั ดแุ ละอุปกรณใ์ นการดำเนนิ งาน

5.1 สอ่ื สิ่งพิมพ์ประเภทตา่ ง ๆ เชน่ ใบความรูแ้ ละเอกสารส่อื ประกอบ
หนงั สือ หนงั สือพมิ พ์ วารสาร หนงั สอื อ้างองิ ฯลฯ

5.2 แบบบนั ทึกการอา่ น
5.3 ของที่ระลกึ /ของขวัญ/ของรางวลั
6. ตวั ชีว้ ดั ความสำเรจ็

6.1 เชงิ ปรมิ าณ

ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการส่งเสริมให้เกิดทักษะ การอ่านจากการค้นคว้าสื่อและการ
แนะนำวธิ ีการใช้ห้องสมดุ

6.2 เชิงคุณภาพ

กลุม่ เปา้ หมายสามารถฝกึ ใชก้ ระบวนการคดิ และวเิ คราะห์กอ่ นการอา่ นและหลังการอ่าน

41


Click to View FlipBook Version