The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สำนักงาน กศน.จังหวัดพัทลุง ได้จัดทำคู่มือการขับเคลื่อนงานการส่งเสริมการอ่าน โดยมี 4 แนวทาง เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายประชาชนทุกช่วงวัยในจังหวัดพัทลุง ได้รักการอ่าน เพื่ออนาคตลูกหลาน คนเมืองลุง (คู่มือนี้สร้างขึ้นมาเพื่อการศึกษาและการเรียนรู้ ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ในด้านการค้า และขอขอบคุณทุกแหล่งความรู้ที่มา)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phattalung nfephattalung, 2022-08-17 00:34:58

คู่มือ 4 แนวทาง เมืองลุง เมืองนักอ่าน

สำนักงาน กศน.จังหวัดพัทลุง ได้จัดทำคู่มือการขับเคลื่อนงานการส่งเสริมการอ่าน โดยมี 4 แนวทาง เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายประชาชนทุกช่วงวัยในจังหวัดพัทลุง ได้รักการอ่าน เพื่ออนาคตลูกหลาน คนเมืองลุง (คู่มือนี้สร้างขึ้นมาเพื่อการศึกษาและการเรียนรู้ ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ในด้านการค้า และขอขอบคุณทุกแหล่งความรู้ที่มา)

Keywords: คู่มือ 4 แนวทาง เมืองลุง เมืองนักอ่าน

แนวทางที่ 4 กศน.สรา้ งสขุ เพือ่ ประชาชน (เคลือ่ นท)่ี
กจิ กรรมที่ 2 ระบายสีภาพ 3 D

1. ความสำคญั
กิจกรรมการวาดภาพและระบายสี เป็นกิจกรรมท่ีฝึกทักษะการเรียนรู้ให้เด็กรู้จักการทำงานตามลำพัง

และการทำงานร่วมกับเพื่อน ๆ ในวัยเดียวกัน และยังสามารถฝึกให้เด็กหัดช่วยเหลือเพื่อนร่วมชั้น เมื่อเกิด
ปญั หาหรอื ความไม่เขา้ ใจระหวา่ งการเรยี นได้อย่างมสี ติ และมีความรอบคอบ
2. วัตถปุ ระสงค์

2.1 เพอื่ ปลูกฝังผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมใหม้ ีนสิ ัยรักการอ่าน
2.2 เพ่ือให้ผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรมสามารถใช้ส่อื อิเล็กทรอนกิ สเ์ พือ่ การเรยี นรไู้ ด้
3. กลุ่มเป้าหมาย
เดก็ ปฐมวยั
4. วิธกี ารดำเนนิ งาน
4.1 แจกภาพระบายสี 3 D พรอ้ มทัง้ สีไม้ หรือ สีเทียน ให้กบั กลุ่มเป้าหมาย
4.2 กล่มุ เป้าหมายระบายสภี าพ 3 D ตามจนิ ตนาการ
4.3 นำโทรศัพท์มือถอื ท่ีเป็น Smart Phone หรอื แท็ปเลต็ ขน้ึ มาเปดิ Application Quiver เพื่อ
Scan ภาพระบายสี 3 D จะเกดิ เป็นภาพ 3 D ขึน้ มาในโทรศัพท์มือถอื สามารถให้กลมุ่ เป้าหมายไดเ้ รยี นรู้
คำศัพท์ในภาพ 3 D ได้
5. วัสดุและอุปกรณ์ในการดำเนินงาน
5.1 ภาพระบายสี 3 D
5.2 สไี ม้ หรือ สีเทยี น
5.3 โทรศัพท์มือถือท่ีเป็น Smart Phone หรือ แท็ปเลต็ (สามารถดาวน์โหลด Application Quiver ได)้
6. ตวั ชี้วดั ความสำเรจ็
6.1 เชงิ ปรมิ าณ
จำนวนผ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรมไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 ของเป้าหมายผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ
6.2 เชงิ คุณภาพ
รอ้ ยละ 80 ของผูเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมมนี ิสัยรักการอา่ น และสามารถใชส้ ่ืออิเลก็ ทรอนกิ สเ์ พ่ือการเรียนรูไ้ ด้

92

แนวทางที่ 4 กศน.สร้างสขุ เพ่ือประชาชน (เคล่ือนที่)
กิจกรรมที่ 3 อะไรอยใู่ นซอง

1. ความสำคัญ
กระบวนการเรียนรู้ในช่วงวัยเด็กนั้นจะเริ่มที่การจดจำเป็นสำคัญ เด็กจะจดจำในทุกมิติที่เด็กสามารถ

รับรู้ได้ ควบคู่ไปกับ การเรียนรู้เรื่องราวในชีวิตประจำวันด้วยเสมอ เช่น การจดจำในเรื่องอารมณ์ ความรู้สึก
และสัมผัส ดงั น้ัน ผูป้ กครองควรใส่ใจในเร่ืองวิธีการ และข้ันตอนการสอนอยา่ งมีรปู แบบ เพอื่ ให้เด็กน้ันเกิดการ
รับรู้ที่ดี และจะเป็นการปลกู ฝังใหเ้ ด็ก ชอบและรักการอา่ น ควบค่ไู ปกบั พัฒนาการด้านอื่นจะดขี ้ึนด้วย

กิจกรรม อะไรอยู่ในซอง เป็นกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมการจดจำของเด็กได้เป็นอย่างดี เด็กจะสามารถ
จินตนาการถึงสัตว์ชนดิ ต่าง ๆ ท่ีเดก็ เหน็ ได้จากส่วนหนึ่งของภาพสัตว์ เม่ือเฉลยภาพแล้วเด็กจะจดจำได้ถึงภาพ
จำของสัตวช์ นดิ นนั้ ๆ รวมถงึ ไดร้ บั ความรูเ้ รื่องคำศพั ท์เก่ยี วกับสัตว์ ถ่ินทอี่ ยู่ และบรรณารกั ษ์สามารถสอดแทรก
ในเรื่องของคุณธรรม ความเมตตากรุณาต่อสัตวใ์ หก้ บั เด็ก ๆ ได้
2. วัตถปุ ระสงค์

2.1 เพื่อปลูกฝงั ใหผ้ เู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมมนี ิสัยรักการอา่ น
2.2 เพ่ือใหผ้ ู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถบอกช่ือของสัตว์ และสามารถอา่ นคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
3. กลมุ่ เปา้ หมาย
เด็กปฐมวัย
4. วิธีการดำเนนิ งาน
4.1 นำซองเอกสาร ทภ่ี ายในมรี ูปภาพของสตั วช์ นดิ ต่าง ๆ ออกมาให้กลุ่มเป้าหมายไดเ้ ห็น พร้อมท้ัง
อธบิ ายวธิ กี ารรว่ มกจิ กรรม
4.2 หยิบภาพคำศัพท์ภาษาอังกฤษเกยี่ วกับสัตวอ์ อกจากซองเอกสาร โดยค่อย ๆ หยบิ ข้นึ มาทลี ะนดิ
เพอื่ ใหก้ ลุ่มเป้าหมายได้จินตนาการถึงสตั วท์ ่ีอยู่ในภาพ เชน่ เร่ิมเห็นจะสี, จากส่วนตา่ ง ๆ ของสัตว์ แลว้ จงึ ให้
กลุ่มเป้าหมายเริ่มทายชนดิ ของสัตว์ท่อี ยู่ในภาพนั้น ๆ เมื่อทายถูกแล้ว ดึงภาพขึน้ มาทั้งหมดเพื่อเฉลย และให้
ความรเู้ รื่องคำศัพทภ์ าษาอังกฤษของสตั ว์ชนิดน้ัน ๆ
5. วสั ดุและอปุ กรณ์
5.1 แผ่นภาพคำศัพทภ์ าษาองั กฤษเกย่ี วกบั สตั ว์ชนิดตา่ ง ๆ
5.2 ซองเอกสาร ขนาด A4
6. ตวั ชี้วัดความสำเร็จ
6.1 เชงิ ปรมิ าณ

จำนวนผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 ของเป้าหมายผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรม/โครงการ
6.2 เชงิ คุณภาพ
รอ้ ยละ 80 ของผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรมมีนสิ ัยรักการอา่ น สามารถอ่านคำศพั ทภ์ าษาอังกฤษเกย่ี วกับสัตว์ได้

93

แนวทางที่ 4 กศน.สรา้ งสขุ เพื่อประชาชน (เคลอ่ื นที)่
กิจกรรมท่ี 4 มงกุฎในฝนั

1. ความสำคญั
กิจกรรมมงกุฎในฝัน เป็นกิจกรรมฝึกการระบายสี ให้เด็กรู้จักการทำงานตามลำพัง และการทำงาน

ร่วมกับเพื่อน ๆ ในวัยเดียวกัน สร้างเสริมจินตนาการให้กับเด็ก ทำให้เด็กได้รับทั้งความรู้และความสนุกสนาน
สามารถฝึกให้เด็กหัดช่วยเหลือเพื่อนร่วมชั้น เมื่อเกิดปัญหาหรือความไม่เข้าใจระหว่างการเรียนได้อย่างมีสติ
และมคี วามรอบคอบ เหมาะเปน็ อย่างยิ่งที่จะนำมาใช้กบั กลุ่มเปา้ หมายท่ีเปน็ เด็กเลก็ ในศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็
2. วตั ถุประสงค์

2.1 เพื่อปลูกฝังใหผ้ ้เู ข้ารว่ มกิจกรรมนสิ ัยรักการอ่าน
2.2 เพอื่ ใหผ้ เู้ ข้ารว่ มกิจกรรมสามารถประดิษฐ์มงกฎุ อาชีพตา่ ง ๆ ได้
3. กลมุ่ เป้าหมาย
เด็กปฐมวัย
4. วิธกี ารดำเนินงาน
4.1 แจกหมวกภาพระบายสี พรอ้ มท้งั สีไม้ หรอื สเี ทยี น ให้กับกลุ่มเป้าหมาย
4.2 กลุม่ เปา้ หมายระบายสีหมวกตามจนิ ตนาการ
4.3 นำกลุม่ เปา้ หมาย อา่ นคำศพั ทภ์ าษาองั กฤษ ประเภทของอาชพี ในสาขาตา่ ง ๆ
4.4 นำภาพหมวกมาเย็บกบั ท่ีเยบ็ ทำเป็นหมวกขึ้นมามอบใหก้ ลุ่มเป้าหมาย
5. วัสดุและอุปกรณ์ในการดำเนินงาน
5.1 ภาพมงกุฎในฝัน
5.2 สไี ม้ หรือ สเี ทียน
5.3 ทเ่ี ย็บกระดาษ
6. ตัวชี้วดั ความสำเร็จ
6.1 เชิงปริมาณ
จำนวนผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80 ของเปา้ หมายผูเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรม/โครงการ
6.2 เชงิ คณุ ภาพ
รอ้ ยละ 80 ของผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมสามารถประดษิ ฐ์มงกฎุ และสามารถบอกชื่ออาชีพต่าง ๆ ได้

94

แนวทางที่ 4 กศน.สรา้ งสุขเพอ่ื ประชาชน (เคลือ่ นที)่
กจิ กรรมท่ี 5 กจิ กรรมนทิ านหรรษา

1. ความสำคญั
กิจกรรมการเล่านิทาน เป็นกิจกรรมการเล่าเรื่องหรือถ่ายทอดนิทานให้เด็กฟังอายุตั้งแต่ 0 – 6 ปี เนื้อหา

ในนิทานช่วยเสริมทักษะทางภาษา โดยเฉพาะทักษะการฟัง การพูด และการกล้าแสดงออก การคิดและ
จนิ ตนาการทกี่ ว้างไกล รวมถึงการพัฒนาคุณลักษณะที่พงึ ประสงคใ์ ห้กับเด็กจากการฟังนิทาน เพอื่ ท่ีจะสามารถ
เล่าหรอื แตง่ นทิ านเพอ่ื ถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ อย่างสอดคลอ้ งกับจนิ ตนาการและความต้องการของเด็กการเปิด
โอกาสใหเ้ ดก็ มสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมการเล่านิทาน
2. วตั ถุประสงค์

2.1 เพื่อปลูกฝงั ให้ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมนิสยั รักการอา่ น
2.2 เพ่ือฝึกทกั ษะทางภาษา โดยเฉพาะทักษะการฟงั การพูด และความกลา้ แสดงออก
3. กลุ่มเปา้ หมาย
เดก็ ปฐมวัย
4. วธิ กี ารดำเนินงาน
4.1 การเลอื กนิทานเร่ืองทีจ่ ะเลา่ ให้เดก็ ฟัง
4.2 การเตรยี มตวั กอ่ นเล่านิทาน
4.3 ดำเนนิ การเลา่ นทิ าน โดยการบอกชือ่ เร่ืองที่จะเล่าให้เด็กฟัง
4.4 การเล่านิทานโดยใช้หนงั สือประกอบการเลา่ นทิ าน
4.5 การสนทนาแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ และการทบทวนความเขา้ ใจของเนือ้ เรื่อง
5. วัสดแุ ละอุปกรณ์ในการดำเนนิ งาน
5.1 หนงั สอื นทิ าน
5.2 หุน่ หรือตวั ประกอบการเลา่ นทิ าน
6. ตวั ช้ีวดั ความสำเร็จ
6.1 เชิงปรมิ าณ
จำนวนผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 ของเป้าหมายผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรม/โครงการ
6.2 เชิงคุณภาพ
ร้อยละ 80 ของผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมมีนสิ ัยรกั การอ่าน ทักษะทางภาษา โดยเฉพาะทักษะการฟงั การพูด
และความกลา้ แสดงออก

95

แนวทางที่ 4 กศน.สรา้ งสุขเพื่อประชาชน (เคลือ่ นท)ี่
กิจกรรมที่ 6 เจา้ หนตู วั นอ้ ย

1. ความสำคัญ

กจิ กรรมเจ้าหนตู ัวนอ้ ยเป็นกจิ กรรมประดษิ ฐ์ส่อื สำหรับเดก็ ปฐมวยั ประกอบการเลา่ นิทาน ชว่ ยใหผ้ รู้ ่วม
กิจกรรมที่เป็นเด็กเล็ก อายุ 0 - 6 ปี เด็กและเยาวชน ที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน สนใจ กระตุ้นการ
อ่าน สร้างจินตนาการ เป็นกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้ร่วมกิจกรรมเกิดแนวคิดและจินตนาการ ส่งเสริมให้เด็ก
รู้จักคิด รู้จักทำ และรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ มีความประณีต เพื่อเสริมสร้างจินต นาการให้กับเด็ก
เพราะการสร้างสรรค์ผลงานของเด็กเป็นการลองผิดลองถูก และเรียนรู้การแก้ปัญหาตลอดเวลา ส่วนการ
แก้ปัญหาของเด็กอาจมีถูกมีผิดบ้าง ตามแต่ความสามารถในการสร้างสรรค์ที่มีอยู่ในตัวเด็ก ซึ่งจะช่วยให้เด็ก
ค่อยๆ พฒั นางานสร้างสรรคไ์ ดด้ ขี ้ึนในระดับสงู ตอ่ ไป
2. วัตถุประสงค์

2.1 เพอ่ื ปลูกฝงั ใหผ้ เู้ ข้าร่วมกิจกรรมนิสยั รกั การอ่าน
2.2 เพือ่ ฝึกทกั ษะการสรา้ งจินตนาการ สามารถประดิษฐ์ชิน้ งานได้
3. กลุ่มเปา้ หมาย

เดก็ ปฐมวัย
4. วิธีการดำเนินงาน

4.1 หนงั สอื นทิ านท่เี กี่ยวกับกิจกรรมการประดิษฐ์
4.2 เตรยี มกจิ กรรมเจา้ หนูตัวน้อย ขนาด A4
4.3 ระบายสใี ห้สวยงาม
4.4 ตัดกระดาษโดยตัดตามรูปกรรไกร ส่วนท่ีมีใบหนา้ หนู
4.5 ตัดใบหน้าหนู ตัดตามรอยออก เพื่อมาประกอบเปน็ ใบหน้า
4.6 ทากาวพร้อมกบั ตกแต่งให้สวยงาม
5. วสั ดแุ ละอุปกรณใ์ นการดำเนินงาน

5.1 กระดาษปอนด์ ขนาด A4
5.2 กรรไกร
5.3 กาว UHU
5.4 สเี ทยี นหรือสีไม้
6. ตวั ช้ีวดั ความสำเรจ็
6.1 เชงิ ปริมาณ

จำนวนผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเปา้ หมายผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม/โครงการ
6.2 เชิงคณุ ภาพ

รอ้ ยละ 80 ของผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมมนี ิสยั รกั การอ่าน มีทักษะการสร้างจนิ ตนาการและสามารถประดษิ ฐ์
ชนิ้ งานได้

96

แนวทางท่ี 4 กศน.สรา้ งสขุ เพ่อื ประชาชน (เคลื่อนท)่ี
กิจกรรมท่ี 7 กจิ กรรมหนอนหรรษา

1. ความสำคัญ
กิจกรรมหนอนหรรษาเป็นกิจกรรมประดิษฐ์สำหรับเด็กปฐมวัยประกอบการเล่านิทาน ช่วยให้ผู้ร่วม

กิจกรรมที่เป็นเด็กเล็ก อายุ 0 - 6 ปี เด็กและเยาวชน ที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน สนใจ
สร้างจินตนาการ เพื่อให้ผู้ร่วมกิจกรรมเกิดแนวคิดและจนิ ตนาการ กระตุ้นให้เกดิ ความตระหนักในความสาํ คญั
ของการอ่านและการเรียนรู้ กิจกรรมหนอนหรรษา เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้เด็กสามารถรู้จักคิด รู้จักทำ และรู้จัก
ใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์ มีความประณตี เพือ่ ส่งเสริมจนิ ตนาการและความคิดรา้ งสรรค์
2. วัตถุประสงค์

2.1 เพ่ือปลูกฝงั ให้มีนิสัยรกั การอา่ น
2.2 เพอ่ื ใหส้ ามารถประดิษฐส์ ่ือตวั หนอนมีทกั ษะในการประดษิ ฐส์ ่อื จากกระดาษได้
3. กลุ่มเป้าหมาย
เดก็ ปฐมวัย
4. วธิ กี ารดำเนินงาน
4.1 หนังสอื นทิ านทเ่ี ก่ียวกับกจิ กรรมการประดิษฐ์
4.2 เตรียมกิจกรรมแบบทำตัวหนอนกระดาษ ขนาด A4
4.3 ระบายสใี หส้ วยงาม
4.4 ตัดกระดาษโดยตัดตามรปู กรรไกร สว่ นทมี่ ีใบหน้าหนอน
4.5 ประกอบลำตัว ของตวั หนอน และทากาว
4.6 การตกแต่งใบหน้าใหส้ วยงาม
4.7 นำไมเ้ สียบลูกช้ิน ยึดติดกับตวั หนอน ส่วนลา่ งตกแต่งให้สวยงาม
5. วสั ดแุ ละอุปกรณ์ในการดำเนินงาน
5.1 กระดาษสี
5.2 กระดาษแบบทำตวั หนอน
5.3 กรรไกร
5.4 กาว UHU หรอื กาวลาแทก็ ซ์
5.5 สีเทียนหรอื สไี ม้
5.6 ไมเ้ สียบลกู ชน้ิ
6. ตัวชี้วดั ความสำเร็จ
6.1 เชงิ ปริมาณ

จำนวนผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 ของเปา้ หมายผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม/โครงการ
6.2 เชิงคณุ ภาพ
ร้อยละ 80 ของผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมสามารถประดษิ ฐช์ ิน้ งานจากกระดาษได้

97

แนวทางที่ 4 กศน.สร้างสุขเพอ่ื ประชาชน (เคลอ่ื นที)่
กิจกรรมท่ี 8 หนุ่ มือถุงกระดาษ

1. ความสำคญั
กิจกรรมหุ่นมือถุงกระดาษเป็นกิจกรรม ประดิษฐ์สำหรับเด็กปฐมวัย ช่วยให้ผู้ร่วมกิจกรรม

เด็กเล็ก อายุ 0 - 6 ปี เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน สนใจ สร้างจินตนาการจากการฟัง
นทิ านเพ่ือให้ผูร้ ว่ มกจิ กรรมเกิดแนวคิดและจินตนาการ กระต้นุ ใหเ้ กดิ ความตระหนักในความสําคัญของการอ่าน
และการเรียนรู้เพื่อให้เด็กได้เกิดจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ของเด็ก เป็นกิจกรรมที่เน้นความ
สนกุ สนาน เพลดิ เพลิน และยังชว่ ยส่งเสริมให้เดก็ ไดค้ ิดอะไรทีแ่ ปลกใหม่ ไดอ้ ยา่ งอิสระ จะมุง่ เน้นถึงพัฒนาการ
ดา้ นต่างๆ ของเดก็ กิจกรรมหุน่ มือถุงกระดาษเป็นกจิ กรรมท่ีทำได้งา่ ย เปน็ การประสานสัมพนั ธ์การใช้ตากับมือ
ได้เปน็ อยา่ งดี เดก็ ไดใ้ ช้สว่ นต่างๆ ของน้ิวมอื แขน ไหล่ และมีความพร้อมในดา้ นการใช้กล้ามเน้ือได้อย่างดี ทจ่ี ะ
ส่งผลไปสูก่ ารเรียนรู้ของเดก็
2. วตั ถุประสงค์

2.1 เพอ่ื ปลกู ฝังให้มนี ิสยั รกั การอา่ น
2.2 เพ่ือใหผ้ ้รู ่วมกิจกรรมสามารถประดษิ ฐ์สอื่ ห่นุ มือถุงกระดาษ
3. กลุ่มเป้าหมาย
เด็กปฐมวยั
4. วิธีการดำเนินงาน
4.1 หนังสอื นิทานท่เี ก่ียวกับกจิ กรรมการประดิษฐ์
4.2 เตรียมรปู ภาพ ขนาด A4
4.3 ระบายสใี หส้ วยงาม
4.4 ตัดกระดาษโดยตัดตามรูปนัน้ ๆ
4.5 นำรปู ทีต่ ดั เสรจ็ เรยี บร้อยแล้ว ไปประกอบติดบนถงุ กระดาษ
5. วสั ดุและอุปกรณใ์ นการดำเนินงาน
5.1 เตรยี มรูปภาพ ขนาด A4
5.2 สเี ทยี น หรอื สีไม้
5.3 กรรไกร
5.4 กาว UHU หรือกาวลาแท็กซ์
5.5 ถุงกระดาษ
6. ตวั ช้ีวัดความสำเรจ็
6.1 เชงิ ปริมาณ

จำนวนผูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 ของเป้าหมายผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม/โครงการ
6.2 เชงิ คณุ ภาพ
ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกจิ กรรมมีนสิ ัยรักการอา่ น เกิดทกั ษะสามารถประดษิ ฐ์หุ่นมือถงุ กระดาษได้

98

แนวทางที่ 4 กศน.สร้างสุขเพอื่ ประชาชน (เคลือ่ นท่ี)
กจิ กรรมที่ 9 ปลาในโหลแก้ว

1. ความสำคญั
กิจกรรมปลาในโหลแก้วเป็นกิจกรรมสร้างสรรค์ ช่วยให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นเด็กเล็ก

อายุ 0 - 6 ปี ได้เสริมสร้างจินตนาการ เกิดแนวคิดและจินตนาการเรื่องราวใหม่ ๆ เป็นกิจกรรมสร้างสรรค์
โดยการระบายสี และตัดรปู เกีย่ วกับสัตวใ์ นทอ้ งทะเล มาอยใู่ นโหลแกว้ โดยฝึกให้เดก็ เกิดจินตนาการ ทำให้เด็ก
ได้ผ่อนคลาย และลดความกดดันทางอารมณ์ ทำให้อารมณ์ดีและเป็นเด็กอารมณ์เย็น กระตุ้นการเจริญเติบโต
และพัฒนาการของเซลล์สมอง การเลือกสี และระบายสีไปตามรูปภาพ ทำให้เด็กสามารถเกิดการคิดวิเคราะห์
การระบายสี เป็นกิจกรรมที่เด็กแสดงออกอย่างอิสระ ส่งเสริมเด็กให้แสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิด
การจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์
2. วัตถุประสงค์

2.1 เพอ่ื ปลูกฝงั ให้ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมมนี สิ ัยรกั การอา่ น
2.2 เพ่อื ใหผ้ เู้ ข้าร่วมกจิ กรรมมที ักษะในการจำแนกสีตามชนดิ ของสัตวไ์ ด้
3. กลุ่มเป้าหมาย
เดก็ ปฐมวยั
4. วธิ ีการดำเนนิ งาน
4.1 หนงั สอื นิทานเก่ียวกับสตั ว์ในทะเล
4.2 เตรียมภาพปลาในโหลแก้ว ขนาด A4
4.3 ระบายสีภาพใหส้ วยงาม
4.4 ตัดโหลแก้ว
4.5 ตัดตวั ปลามาติดท่โี หลแก้ว
4.6 ใชก้ ระดาษพับสลบั ไปมา ติดใหม้ ีมิติ
5. วสั ดแุ ละอุปกรณใ์ นการดำเนินงาน
5.1 กระดาษ A4
5.2 สเี ทยี น หรอื สไี ม้
5.3 กรรไกร
5.4 กาวลาแท็กซ์
6. ตัวช้ีวดั ความสำเร็จ
6.1 เชงิ ปรมิ าณ

จำนวนผู้เข้ารว่ มกิจกรรมไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเป้าหมายผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรม/โครงการ
6.2 เชงิ คุณภาพ
ร้อยละ 80 ของผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมเกิดจนิ ตนาการ สามารถจำแนกสีต่าง ๆ ตามชนิดของสัตวไ์ ด้

99

แนวทางท่ี 4 กศน.สรา้ งสุขเพือ่ ประชาชน (เคลือ่ นท)ี่
กิจกรรมที่ 10 หุน่ นิ้วมอื

1. ความสำคญั
หุ่นนิ้วมือ เป็นกิจกรรมประกอบการเล่านิทานทำให้เด็กรู้สึกสนุกสนาน เพลิดเพลิน มีสมาธิ และให้

ความสนใจกับการฟังนิทานมากย่ิงขึน้ เพราะโดยธรรมชาติและลักษณะเฉพาะที่แตกต่างไปจากวัยนี้ทีน่ ่ีเป็นวยั
แห่งการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว ชอบสำรวจสิ่งที่แปลกใหม่ชอบเลียนแบบ ชอบเล่นของเล่น การลงมือปฏิบัติ
จริงด้วยตนเองท่ีเปย่ี มไปด้วยจินตนาการ ความสุข ความสนุกสนานความตน่ื เตน้ และความประทับใจจะย่ิงช่วย
ส่งเสริมให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการ และกล้าแสดงออก หุ่นนิ้วมือนี้สามารถดึงดูดความสนใจ
เดก็ ๆ ใหอ้ ยากเรยี นร้แู ละเกิดความคิดสร้างสรรค์ เปน็ การสร้างเสริมทกั ษะทางการฟงั พูด อ่าน และเขียน

2. วตั ถุประสงค์
2.1 เพือ่ ปลูกฝังใหผ้ ู้ร่วมกจิ กรรมมีนสิ ัยรกั การอ่าน
2.2 เพื่อให้ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมเกิดจินตนาการ เกดิ ความสนุกเพลิดเพลนิ สามารถประดิษฐช์ ้นิ งานได้

3. กลุ่มเป้าหมาย
เด็กปฐมวยั

4. วิธีการดำเนินงาน
4.1 หนงั สอื นิทานทเ่ี กี่ยวกบั กิจกรรมการประดิษฐ์
4.2 ตัดรูปหนุ่ น้วิ มอื
4.3 ระบายสี
4.ภ นำไปวัดกับน้วิ มือของเด็ก และทาด้วยกาว

5. วัสดแุ ละอุปกรณ์ในการดำเนินงาน
5.1 กระดาษ พรอ้ มภาพหุ่นนิว้ มือ
5.2 สเี ทยี น หรอื สไี ม้
5.3 กรรไกร
5.4 กาวลาแท็กซ์

6. ตัวช้ีวดั ความสำเรจ็
6.1 เชงิ ปรมิ าณ
จำนวนผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมายผูเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม/โครงการ
6.2 เชิงคณุ ภาพ
ร้อยละ 80 ของผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมมีนิสยั รกั การอา่ น เกดิ จนิ ตนาการ สามารถประดษิ ฐช์ นิ้ งานได้

100

แนวทางท่ี 4 กศน.สรา้ งสขุ เพอ่ื ประชาชน (เคลอื่ นท)่ี
กิจกรรมที่ 11 การระบายสภี าพอาชีพในฝัน

1. ความสำคัญ
การวาดภาพระบายสี ทำให้มีการเคลื่อนไหวของนิ้วมือและมือ จากการลากเส้นตามรอยปะ

หรือทาสีไปตามรปู ทรงตา่ งๆ เปน็ การเสรมิ สรา้ งจินตนากร และพัฒนาการทางด้านร่างกายและอารมณ์เป็นการ
ใช้สายตาในการแยกแยะ สีต่างๆ ได้ เป็นต้น การระบายสี จะช่วยพัฒนาทักษะของการฝึกการใช้กล้ามเน้ือ
กระตุ้น การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเซลล์สมอง อีกทั้งเป็นการเสริมสร้างจินตนาการ และการระบายสี
ยังชว่ ยพัฒนาการประสานสายตาของมอื เดก็
2. วตั ถุประสงค์

เพ่ือใหผ้ ้เู ขา้ รว่ มกิจกรรมเกิดการเรยี นรู้ จนิ ตนาการ และความคดิ สร้างสรรค์และรู้จักอาชีพ ตา่ ง ๆ
จากการรว่ มกจิ กรรม
3. กลุ่มเป้าหมาย

เด็กปฐมวัย
4. วธิ กี ารดำเนินงาน

4.1 เตรียมภาพลายเส้นอาชีพต่าง ๆ เช่น ตำรวจ พยาบาล ทหาร ครู นักธุรกิจ หมอ พยาบาล
เป็นต้น พิมพด์ ้วยกระดาษถา่ ยเอกสาร ขนาด A4

4.2 สเี ทยี น สีไม้
4.3 กลุม่ เปา้ หมายเลือกภาพอาชีพในฝัน
5. วัสดุและอุปกรณ์ในการดำเนนิ งาน
5.1 เตรยี มภาพลายเส้นอาชีพต่าง ๆ ด้วยกระดาษ A4
5.2 สเี ทียน สไี ม้
6. ตัวช้ีวัดความสำเร็จ
6.1 เชิงปรมิ าณ
จำนวนผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 ของเป้าหมายผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรม/โครงการ
6.2 เชิงคุณภาพ
ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกจิ กรรมแสดงออกถงึ จนิ ตนาการ และความคิดสร้างสรรค์เกิดการเรียนรู้ และ
สามารถอ่านคำศัพทอ์ าชีพต่าง ๆ จากการรว่ มกจิ กรรม

101

แนวทางท่ี 4 กศน.สร้างสขุ เพอื่ ประชาชน (เคล่ือนท่)ี
กจิ กรรมท่ี 12 DIY ท่ีคัน่ หนังสอื

1. ความสำคัญ
กิจกรรม DIY ที่คั่นหนังสือ เป็นกิจกรรมที่เน้นความคิดสร้างสรรค์ ให้กับกลุ่มเป้าหมายนักเรียน

นักศกึ ษา กศน. คดิ ประดษิ ฐ์ท่ีคัน่ หนงั สอื ตามรูปแบบตา่ ง ๆ และสามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ รงิ
ที่คนั่ หนังสือ เปน็ อุปกรณ์ทีส่ ำคญั ท่ีนกั อ่านหนงั สือทั้งหลายควรจะมีติดตวั ไว้ เพราะท่ีคน่ั หนังสือจะทำ

หน้าที่จดจำหน้าหนังสือ ที่อ่านค้างไว้ เพื่อประโยชน์ในการกลับมาอ่านหน้าเดิมได้ง่าย และรวดเร็ว ไม่ต้อง
เสียเวลาในการค้นหา วัสดุที่นำมาทำที่คั่นหนังสือจะแตกต่างกันไป โดยเน้น ที่มีลักษณะบางแบน ได้แก่
กระดาษ ไมไ้ อติม เป็นตน้
2. วัตถุประสงค์

เพื่อใหผ้ ูร้ ่วมกิจกรรมไดร้ บั ความรู้ขั้นตอนการประดษิ ฐ์ท่ีคั่นหนงั สอื และสามารถประดิษฐ์ทค่ี ั่นหนังสอื
จากวัสดุท่กี ำหนดได้
3. กลุ่มเปา้ หมาย

เยาวชน นกั เรียน และนักศึกษา กศน.
4. วิธีการดำเนนิ งาน

4.1 ตัดกระดาษให้เปน็ รปู ทรงตา่ งๆ
4.2 ระบายสี หรือ ตกแต่งให้สวยงาม ตามจินตนาการของเด็กๆ
4.3 นำไปทากาว หรอื ใชเ้ ทปตดิ ใหแ้ ปะกบั ไมไ้ อติมทีเ่ ตรียมไว้
4.3 ไดผ้ ลงาน เป็น DIY ทคี่ น่ั หนงั สือ แบบง่ายๆ ท่ีเก็บไว้ใชไ้ ด้จริง
5. วสั ดุและอุปกรณ์ในการดำเนินงาน
5.1 กระดาษเปล่า
5.2 กรรไกร
5.3 สี
5.4 เทปกาว
5.5 ไม้ไอติม
6. ตัวชี้วัดความสำเรจ็
6.1 เชิงปรมิ าณ
จำนวนผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรมไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเป้าหมายผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม/โครงการ
6.2 เชิงคุณภาพ
ร้อยละ 80 ของผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมไดร้ บั ความรู้ และสามารถประดษิ ฐ์ทคี่ ั่นหนังสอื จากวัสดุท่ีกำหนดได้

102

แนวทางที่ 4 กศน.สรา้ งสขุ เพ่อื ประชาชน (เคลือ่ นที่)
กิจกรรมท่ี 13 ทชิ ชหู รรษา

1. ความสำคัญ
ทิชชู หรือ กระดาษทิชชู (อังกฤษ: tissue paper) เป็นกระดาษประเภทหนึ่งที่ผลิตจากเยื่อกระดาษ

ส่วนใหญ่จะคุ้นเคยกับการใช้กระดาษทิชชูเช็ดและซับคราบน้ำ หรือคราบสกปรกต่าง ๆ หรือบางทีก็อาจจะ
นำมาห่อหุ้มของบ้างเป็นบางโอกาส กระดาษทิชชูยังมีประโยชน์อีกมากมาย นอกจากใช้ชำระสิ่งสกปรกต่าง ๆ
แล้ว ประโยชน์ของกระดาษทิชชูยัง ไม่ได้เป็นเพียงกระดาษชำระอีกต่อไปยังสามารถนำมาเป็นงานศิลปะ
ประดิษฐไ์ ดอ้ ย่างสวยงาม
2. วัตถุประสงค์

2.1 เพอื่ ใหผ้ ูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรมสามารถนำทชิ ชมู าประดิษฐ์ให้เกิดชน้ิ งานท่ีสวยงาม
2.2 เพอ่ื สง่ เสริมให้ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชนโ์ ดยการนำสิง่ ทเ่ี หลอื ใช้มาทำ
ประโยชน์
3. กลุ่มเป้าหมาย

เยาวชน นักเรยี น และนักศึกษา
4. วิธีการดำเนินงาน

4.1 อา่ น และศึกษาเรียนรู้ขั้นตอนการทำกจิ กรรมจากใบความรู้
4.2 ฉีกกระดาษทิชชูแล้วแชล่ งในน้ำสะอาดประมาณ 30 นาที
4.3 กรองน้ำออก บบี นำ้ ออกจากกระดาษทิชชู
4.4 แบง่ กระดาษทชิ ชูเปยี กเปน็ หมาดมาผสมกาว 1 ตอ่ 1 พร้อมกับผสมสีตามต้องการ
4.5 เอาไม้จิ้มฟนั จ้ิมกระดาษทชิ ชูทผ่ี สมกาว และผสมสไี วแ้ ลว้ จ้ิมลงในแบบทีเ่ ตรยี มไว้
4.6 ทำตามแบบใหส้ วยงาม ตากให้แห้ง นำไปใสก่ รอบให้สวยงาม
5. วสั ดุและอุปกรณใ์ นการดำเนินงาน
5.1 กระดาษทชิ ชู
5.2 กาวลาเท็กซ์
5.3 สีโปสเตอร์สีตามใจชอบ
5.4 นำ้ เปล่า
5.5 ภาพลายเสน้ (ถ่ายเอกสาร/วาดเองหรอื ปรน้ิ ก็ได้)
5.6 ไม้จิ้มฟนั หรือไม้จม้ิ ลูกช้ิน
5.7 กรอบรูปสวย ๆ
6. ตวั ชี้วัดความสำเรจ็
6.1 เชงิ ปริมาณ

จำนวนผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 ของเป้าหมายผู้เข้ารว่ มกิจกรรม/โครงการ
6.2 เชงิ คุณภาพ
ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำทิชชูมาประดิษฐ์ให้เกิดชิ้นงานที่สวยงามได้ และใช้เวลา
ว่างให้เป็นประโยชน์ มนี สิ ัยรกั การอ่าน และเห็นความสำคัญของการอา่ น

103

แนวทางที่ 4 กศน.สรา้ งสุขเพอ่ื ประชาชน (เคลอ่ื นท)่ี
กิจกรรมที่ 14 รถโมบายเคล่ือนที “คำศพั ทโ์ ดนใจ”

1. ความสำคญั
กิจกรรม “คำศัพท์โดนใจ”เป็นกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพื่อเพิ่มทักษะการเรียนรู้ภาษาอังกฤษมี

ความสำคัญมาก เนื่องด้วยเทคโนโลยีปัจจุบัน ทำให้โลกของเรากลายเป็นโลกทีไร้พรมแดน ซึ่งภาษาถือว่าเป็น
ภาษาที่สำคัญเป็นภาษาสากลที่ทุกคนควรจะมีความรู้ติดตัว ไว้ก็คือ ภาษาอังกฤษนั่นเอง บรรณารักษ์จึงได้
รวบรวมคำศัพท์ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน คำศัพท์ที่ควรรู้ เหมาะสำหรับนักเรียน นักศึกษา ในการฝึกทักษะ
ทางด้านภาษาเพื่อนำไปใช้ประกอบในการเรียนการสอบ การทำงานและนำไปใช้ในการพบปะพุดคุยกับ
ชาวต่างชาติได้
2. วตั ถปุ ระสงค์

2.1 เพือ่ พัฒนาทักษะทางด้านภาษาองั กฤษให้กบั ผู้เข้ารว่ มกิจกรรม
2.2 เพอื่ สง่ เสริมผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรมให้มนี สิ ัยรกั การอ่าน เห็นความสำคัญของการอ่าน
3. กลมุ่ เปา้ หมาย
เยาวชน นกั เรียน และนกั ศึกษา กศน.
4. วธิ กี ารดำเนนิ งาน
4.1 จดั เตรยี ม พยญั ชนะภาษาองั กฤษ A - Z ขนาดเท่ากระดาษ A 4 จำนวน 3 ชดุ
ตัดแปะในแผ่น ฟิวเจอร์บอรด์
4.2 จัดแบ่งผ้เู ลน่ เป็น 3 ทีม ทีมละ 5 คน
4.3 ผู้จดั กิจกรรมอา่ นคำศัพท์ใหผ้ ้เู ล่นแตล่ ะทีมเลือกมาวางใครเรียงได้ก่อนทมี น้นั ชนะมรี างวัล
5. วัสดุอปุ กรณใ์ นการดำเนินงาน
5.1 กระดาษ A 4
5.2 แผ่นฟวิ เจอร์บอร์ด
5.3 กาวลาเเทก็ ซ์
5.4 ของรางวัล
6. ตัวชี้วัดความสำเรจ็
6.1 เชงิ ปรมิ าณ
จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเป้าหมายผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม/โครงการ
6.2 เชงิ คณุ ภาพ
ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะด้านภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น มีนิสัยรักการอ่าน และเห็น
ความสำคญั ของการอ่านโดยเฉพาะภาษาองั กฤษมากขึน้

104

แนวทางท่ี 4 กศน.สรา้ งสขุ เพ่อื ประชาชน (เคลอ่ื นที)่
กิจกรรมที่ 15 รถโมบายเคล่ือนที่ “อะไรเอย่ ”

1. ความสำคญั
กิจกรรม “อะไรเอย่ ” เปน็ กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นและทักษะการเรยี นรู้ เพราะเป็นการรวบรวมความรู้

ด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นความรู้รอบตัว เหตุการณ์สำคัญ วิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ฯลฯ โดยบรรณารักษ์จะ
รวบรวมมาจัดทำเป็นคำถามพร้อมเฉลยเหมาะสำหรับนักเรียน นักศึกษา รวมกลุ่มกันในการทำกิจกรรมจะมี
ความสนุกสนาน และได้ฝึกสมองในการคิด มีไหวพริบในการตอบคำถามและในขณะเดียวกันก็จะได้รับความรู้
อีกอกี ดว้ ย และสามารถนำไปใชป้ ระกอบในการเรยี นการสอบได้
2. วัตถปุ ระสงค์

2.1 เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านความคิด การมไี หวพรบิ ในการตอบคำถามให้กบั ผูเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรม
2.2 เพอ่ื สง่ เสริมใหผ้ ู้เขา้ รว่ มกิจกรรมมีนสิ ัยรักการอา่ น เห็นความสำคัญของการอ่าน
3. กลมุ่ เป้าหมาย
เยาวชน นักเรยี น และนักศึกษา กศน.
4. วธิ ีการดำเนินงาน
4.1 จัดเตรยี ม คำถามเกย่ี วกบั ความรรู้ อบตวั ต่าง ๆ พร้อมเฉลย จำนวน 1 ชุด
4.2 ผ้จู ัดกจิ กรรมอา่ นคำถาม ผรู้ ่วมกิจกรรตอบถูกมีรางวัล
5. วัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน
5.1 ชุดคำถาม พร้อมเฉลย
5.2 ของรางวลั
6. ตวั ช้ีวัดความสำเรจ็
6.1 เชิงปริมาณ
จำนวนผูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเปา้ หมายผู้เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ
6.2 เชิงคณุ ภาพ
ร้อยละ 80 ของผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมมที ักษะด้านการคดิ และมีไหวพรบิ การคิดแก้ปญั หามากขึน้ มนี ิสยั รัก
การอ่าน และเหน็ ความสำคญั ของการอา่ นมากขึ้น

105

แนวทางที่ 4 กศน.สร้างสขุ เพื่อประชาชน (เคล่ือนท่ี)
กิจกรรมท่ี 16 ทายภาพ สุภาษติ คำพังเพย

1. ความสำคญั
สำนวนเป็นเรื่องสำคัญเรื่องหนึ่งของภาษาไทย เพราะเป็นคำพูดที่กลั่นกรองขึ้น เพื่อความสละสลวย

ของภาษาเป็นถ้อยคำที่คมคายกว่าคำพูดธรรมดา เป็นคำพูดที่รวมใจรวมความยาวๆให้สั้นลงได้ ก็จะทำให้ผู้ฟงั
สามารถเข้าใจง่าย ๆ ฉะนั้นการศึกษาถ้อยคำประเภทนี้ไว้ เพื่อใช้ให้ถูกต้องเหมาะสมกับเนื้อเรื่องที่จะพูดจึงมี
ความจำเป็น ค่านิยมของคนไทย แสดงให้เห็นถึงรากเหง้าของคนไทย ใช้ในการส่ือสาร เพื่อเปรียบเทยี บให้เห็น
ภาพทช่ี ดั เจนยง่ิ ข้ึน เปน็ ตน้

กิจกรรม ทายภาพ สุภาษิต คำพังเพย จึงเป็นกิจกรรมที่จัดขึน้ เพื่อเป็นการให้ความรู้แก่กลุม่ เป้าหมาย
และเป็นการสืบสานการใชส้ ุภาษติ คำพังเพย ไม่ใหส้ ญู หายไปกับกาลเวลา กลมุ่ เป้าหมายท่เี ขา้ ร่วมกิจกรรมน้ีจะ
ได้รับท้ังความรูเ้ รื่องการใชส้ ุภาษติ คำพังเพย และสามารถนำความรู้ไปถา่ ยทอดแกผ่ ู้อืน่ ได้
2. วัตถปุ ระสงค์

2.1 เพื่อให้ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมมคี วามรเู้ รือ่ งสุภาษิต คำพังเพย
2.2 เพื่อสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เข้าร่วมกิจกรรม มนี สิ ยั รกั การอ่าน เห็นความสำคญั ของการอ่าน
3. กลุม่ เป้าหมาย
เยาวชน นกั เรยี น และนกั ศึกษา กศน.
4. วธิ ีการดำเนนิ งาน
เปิดแผ่นภาพสุภาษิต คำพังเพย ให้กลุ่มเป้าหมายดู โดยให้แต่ละคนแข่งกันทายสุภาษิต คำพังเพย
ตามภาพที่เห็น พรอ้ มทั้งบอกความหมายให้ถกู ต้อง
5. วสั ดุและอปุ กรณใ์ นการดำเนนิ งาน
แผน่ ภาพสุภาษติ คำพังเพย พร้อมเฉลยด้านหลังภาพ
6. ตวั ช้ีวดั ความสำเร็จ
6.1 เชงิ ปรมิ าณ
จำนวนผู้เข้าร่วมกจิ กรรมไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 ของเป้าหมายผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม/โครงการ
6.2 เชิงคุณภาพ
รอ้ ยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรเู้ รื่องสภุ าษติ คำพงั เพยมากขึน้ มีนิสัยรักการอ่าน และเห็น
ความสำคัญของการอ่านมากขึน้

106

แนวทางที่ 4 กศน.สร้างสุขเพ่อื ประชาชน (เคล่ือนที่)
กิจกรรมที่ 17 4 รวม 1

1. ความสำคญั
ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ และ

เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารความเข้าใจและ
ความสมั พันธ์ทด่ี ีต่อกัน และเปน็ เคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์ จากแหล่งขอ้ มูลสารสนเทศต่าง
ๆ เพื่อพัฒนาความรู้ ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และ
ความก้าวหน้า ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีตลอดจนนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง ทางสังคม
และเศรษฐกิจ นอกจากน้ียังเป็นสื่อทีแ่ สดงภมู ิปัญญาของบรรพบรุ ุษดา้ นวฒั นธรรม ประเพณี ชีวทัศน์ โลกทัศน์
และสุนทรียภาพ โดยบันทึกไว้เป็นวรรณคดีและวรรณกรรมอันล้ำค่า ภาษาไทยจึงเป็นสมบัติของชาติที่ควรค่า
แก่การเรียนรู้ เพือ่ อนรุ กั ษแ์ ละสืบสานให้คงอย่คู ชู่ าตไิ ทยตลอดไป

กิจกรรม 4 รวม 1 จึงเป็นกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่เน้นการให้ความรู้เรื่องของคำและกลุ่มคำใน
ภาษาไทยที่ถูกต้องกับกลุ่มเป้าหมาย ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนอกจากจะได้รับความสนุกสนานแล้วยังได้รับความรู้
เรือ่ งของคำในภาษาไทยท่ีถกู ต้องอีกดว้ ย
2. วตั ถุประสงค์

2.1 เพอ่ื พฒั นาผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมใหม้ คี วามรู้ ความคดิ วเิ คราะห์ กลุ่มคำภาษาไทย
2.2 เพื่อส่งเสริมให้ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม มนี สิ ัยรกั การอา่ น เห็นความสำคญั ของการอ่าน
3. กลมุ่ เป้าหมาย
เยาวชน นกั เรียน และนักศึกษา กศน.
4. วิธีการดำเนินงาน
เปิดแผ่นภาพกิจกรรม 4 รวม 1 ให้กลมุ่ เป้าหมายดู โดยให้แตล่ ะคนแขง่ กันทายกล่มุ คำท่ีเห็น พร้อมท้ัง
บอกความหมายให้ถกู ต้อง
5. วัสดุและอุปกรณใ์ นการดำเนนิ งาน
แผ่นภาพกิจกรรม 4 รวม 1 พรอ้ มเฉลยดา้ นหลังภาพ
6. ตวั ช้ีวดั ความสำเร็จ
6.1 เชิงปรมิ าณ
จำนวนผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 ของเปา้ หมายผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม/โครงการ
6.2 เชิงคณุ ภาพ
ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความร้เู ร่ืองคำศัพท์ภาษาไทย และความสามารถในการคิด
วิเคราะห์คำศพั ท์ภาษาไทย

107

แนวทางท่ี 4 กศน.สร้างสขุ เพือ่ ประชาชน (เคล่อื นท)ี่
กิจกรรมท่ี 18 Kahoot! คดิ ไว ไดค้ วามรู้

1. ความสำคัญ
กิจกรรม Kahoot! คิดไว ได้ความรู้ เป็นกจิ กรรมทชี่ ่วยฝกึ การคิด การตัดสนิ ใจอยา่ งรวดเรว็ และถกู ต้อง

ให้กับกลุ่มเป้าหมายได้เป็นอย่างดี โดยสามารถประยุกต์ใช้ทั้งในการจัดการเรียนสอนหรือการจัดกิจกรรม
ส่งเสริมการอ่านได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มเป้าหมายที่เป็นนกั ศึกษา กศน., นักเรียนและประชาชนทั่วไป เพียง
แคม่ โี ทรศพั ท์มือถือพร้อมสัญญาณอินเตอรเ์ นต็ กส็ ามารถเขา้ ร่วมกิจกรรมได้ กลมุ่ เป้าหมายจะได้ท้ังความรู้และ
ความสนกุ สนานจากการจัดกจิ กรรมน้ี
2. วตั ถุประสงค์

เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมมีนสิ ยั รักการอ่าน ฝกึ การคิด วเิ คราะห์ ปัญหาเฉพาะหน้าได้
3. กลมุ่ เปา้ หมาย

เยาวชน นักเรยี น และนักศึกษา กศน.
4. วิธกี ารดำเนนิ งาน

4.1 สร้างคำถามสำหรับการจัดกจิ กรรมในเวบ็ ไซต์ https://kahoot.it จำนวนขอ้ คำถามตามความ
เหมาะสมของการจัดกจิ กรรม

4.2 นำเครอ่ื งคอมพวิ เตอรโ์ นต๊ บคุ๊ ท่มี ีสัญญาณอินเตอรเ์ น็ต มาตดิ ตั้งโดยการเช่ือมต่อกบั โทรทัศนของ
รถโมบายห้องสมุดเคล่ือนท่ี ผา่ นสายสัญญาณ HDMI พร้อมท้งั เปดิ คำถามท่ีสร้างไวใ้ นเวบ็ ไซต์
https://kahoot.it

4.3 แนะนำให้กลุ่มเปา้ หมายใช้โทรศัพท์มือถือที่มสี ัญญาณอนิ เตอรเ์ น็ต เข้าเวบ็ ไซต์
https://kahoot.it จากนน้ั ดำเนนิ การกรอกเลข Game Pin และลงชอื่ เขา้ รว่ มกจิ กรรม

4.4 เร่มิ ตน้ เปิดคำถาม ให้กลมุ่ เป้าหมายไดแ้ ข่งขันกนั ตอบ โดยผู้ทตี่ อบได้รวดเร็วและถูกตอ้ งมากทสี่ ุด
จะเป็นผู้ชนะ

4.5 สรุปผลการจดั กิจกรรม พร้อมทงั้ ใหก้ ลมุ่ เป้าหมายร่วมกันบอกกล่าวสิง่ ท่ไี ด้จากการเข้าร่วม
กิจกรรมน้ี
5. วัสดุและอปุ กรณใ์ นการดำเนนิ งาน

5.1 คอมพวิ เตอรโ์ น๊ตบุ๊ค พรอ้ มสัญญาณอินเตอรเ์ นต็
5.2 โทรศัพท์มือถือ พร้อมสัญญาณอินเตอรเ์ น็ต
5.3 คำถามสำหรับใชใ้ นการจัดกจิ กรรม (สรา้ งใน https://kahoot.it)
6. ตัวชี้วดั ความสำเรจ็
6.1 เชิงปรมิ าณ
จำนวนผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเป้าหมายผู้เข้ารว่ มกิจกรรม/โครงการ
6.2 เชงิ คุณภาพ
ร้อยละ 80 ของผ้เู ขา้ รว่ มกิจกรรมมีนิสัยรกั การอา่ น สามารถฝึกการคดิ วเิ คราะห์ ปญั หาเฉพาะหนา้ ได้

108

แนวทางท่ี 4 กศน.สร้างสุขเพอื่ ประชาชน (เคลอ่ื นท)่ี
กจิ กรรมที่ 19 การพับดอกกุหลาบจากใบเตยหอม

1. ความสำคัญ
ใบเตย มีประโยชน์มากมายทั้งด้านสมุนไพรและการนำมาประกอบเป็นส่วนหนึ่งของอาหาร

ไม่เพยี งเทา่ น้ี ใบเตยยังสามารถนำมาประดิษฐ์เป็นดอกกหุ ลาบสวย ๆ ได้ดว้ ย กลิน่ หอมของใบเตยช่วยให้สดช่ืน
สามารถหาไดง้ ่าย และวธิ ีประดิษฐก์ ไ็ มย่ าก อกี ทง้ั เปน็ วสั ดทุ ี่เป็นมิตรกับธรรมชาติ ลดวัสดทุ ีก่ อ่ มลพษิ เหมาะกับ
การมอบเป็นช่อดอกไม้แสดงความยินดี ประดับไว้ในส่วนต่างๆ ของบ้าน หรือเป็นดอกไม้บูชาพระก็ได้ ใบเตย
จดั เปน็ พืชที่หาได้ง่ายในท้องถ่ินจึงสามารถนำมาประดิษฐ์เพ่ือใช้ในชีวิตประจำวัน หรือเพื่อการประกอบอาชีพก็ได้
การทำดอกกุหลาบจากใบเตยหอม จึงเป็นกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ ให้แก่ประชาชนในพื้นที่
และกระตุ้นให้ประชาชนทั่วไป ตระหนักถึงความสำคัญของการอ่านและการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ เพิ่มทักษะ
การเรียนรู้การอ่าน การปฏิบัติจริง ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และเพื่อสร้างนิสัยรักอ่านแล้วยังสามารถ
สร้างอาชพี ได้อกี ดว้ ย
2. วตั ถปุ ระสงค์

2.1 เพ่อื ใหผ้ ู้เข้ารว่ มกจิ กรรมมคี วามรู้ และสามารถพบั ดอกกหุ ลาบจากใบเตยได้ สามารถนำความรไู้ ป
ปรับใช้ในชวี ติ ประจำวันได้

2.2 เพอ่ื ส่งเสริมใหผ้ ูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมมนี สิ ัยรกั การอ่าน เห็นความสำคัญของการอ่านและการเรยี นรู้
3. กลุม่ เปา้ หมาย

นกั ศึกษา กศน. ประชาชน และผ้สู งู อายุ
4. วธิ ีการดำเนนิ งาน

4.1 อ่าน และศึกษาเรียนรู้ข้ันตอนการทำกิจกรรมจากใบความรู้
4.2 เริม่ ตน้ จากสว่ นโคนใบเตยถือเป็นส่วนของก้านกุหลาบน เรมิ่ จากกะจากโคนข้ึนมาเอาขนาดตาม
ความยาวก้านทีต่ ้องการ จากนนั้ พับไปทางขวา ให้ได้อย่างภาพที่ 1 จากภาพท่ี 1 เราหมนุ ใหม้ าอยู่ในรปู แบบ
สามเหลีย่ มตามภาพด้านลา่ ง (มอื ซ้ายจบั ส่วนโคน มือขวาจับ สว่ นปลาย)
4.2 มอื ขวาจบั สว่ นปลายไว้ มอื ซา้ ยพบั ส่วนโคนลงมา
4.3 จบั ส่วนโคนไว้ พับสว่ นปลายลงมา (พับไปทางด้านหลัง)
4.4 หมนุ มอื ทจี่ ับสว่ นโคนพับทบลงมาหาสว่ นปลาย ๑ ครง้ั (จะได้สว่ นใจกลางดอกไม้)
4.5 ใชม้ ือซ้ายเล่อื นข้นึ มาจบั ยดึ ส่วนใจกลางดอกไวใ้ ห้ม่ัน จากนั้นบดิ ส่วนปลาย 1 ครัง้
ตามภาพ เพื่อทำกลบี ดอก
4.6 จากนน้ั จบั รวบกันไว้ทก่ี ้านลักษณะเหมือนดอกไม้
4.7 มอื ขวาบดิ สว่ นปลายแลว้ จับรวบไว้ทก่ี ้าน ทำอย่างน้ีไปเรอ่ื ย ๆ จะได้กลบี ดอกไมท้ ีส่ วยงาม
4.8 ทำมาจนเกือบสุดปลายใบเตย
4.9 บดิ เหมือนทำกลีบดอกอกี 1 ชัน้ แตใ่ หม้ คี วามแนน่ แบบรัดข้อไว้
4.10 จากนัน้ นำปลายใบเตยซ่อนขดั ไว้ด้านใน เป็นอันเสร็จ 1 ดอก
ทำจำนวนดอกตามปริมาณที่ต้องการ จากน้ันนำมา จัดช่อ และนำไปใช้ประโยชน์ได้ ตามตอ้ งการ

109

5. วัสดแุ ละอุปกรณใ์ นการดำเนินงาน
5.1 ใบเตยหอม
5.2 ด้าย หรือ หนังยางวงเลก็
5.3 กรรไกร
5.4 อปุ กรณต์ กแตง่ เชน่ กระดาษห่อของขวญั , กระดาษสา, ร้บิ บ้ิน อน่ื ๆ

6. ตวั ช้ีวดั ความสำเรจ็
6.1 เชิงปรมิ าณ
จำนวนผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80 ของเปา้ หมายผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม/โครงการ
6.2 เชงิ คุณภาพ
6.2.1 ร้อยละ 80 ของผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรมมีความรู้ สามารถพับดอกกหุ ลาบจากใบเตยได้ สามารถนำ

ความรู้ทีไ่ ด้รบั ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน หรือประกอบอาชพี ได้
6.2.2 รอ้ ยละ 80 ของผ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรมมนี ิสัยรักการอา่ น เห็นความสำคัญของการอ่านและการ

เรยี นรู้

110

แนวทางท่ี 4 กศน.สร้างสขุ เพื่อประชาชน (เคลอ่ื นท่)ี
กิจกรรมท่ี 20 นำ้ สมนุ ไพรเพอ่ื สุขภาพ “การทำน้ำอญั ชันมะนาว”

1. ความสำคัญ
กิจกรรมน้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ “การทำน้ำอัญชันมะนาว”เป็นกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้

ตามอัธยาศัย ซึ่งจัดใหแ้ กป่ ระชาชนในพื้นที่และกระตุน้ ให้ประชาชนทัว่ ไป ตระหนักถึงความสำคัญของการการ
เรยี นรู้ในรปู แบบต่าง ๆ เพม่ิ ทกั ษะการเรียนรู้ การปฏบิ ตั ิจริง ใชเ้ วลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ สามารถนำความรู้ที่
ได้รับไปปฏิบัติ และปรับใช้ในชีวิตประจำวันด้านการอุปโภค บริโภค ยกระดับคุณภาพชีวิตสร้างอาชีพ
สร้างรายไดเ้ สรมิ ตอ่ ไป
2. วัตถปุ ระสงค์

2.1 เพอ่ื ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมไดร้ ับความรู้ และสามารถทำน้ำอัญชนั มะนาวได้ สามารถนำความรู้ไป
ปรับใช้ในชวี ิตประจำวันได้

2.2 เพื่อสง่ เสริมให้ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมมนี ิสัยรักการอา่ น เห็นความสำคญั ของการอ่านและการเรยี นรู้
3. กลุ่มเปา้ หมาย

นักศกึ ษา กศน. ประชาชน และผ้สู ูงอายุ

4. วิธกี ารดำเนนิ งาน
4.1 อา่ น และศึกษาเรยี นรู้ข้ันตอนการทำกจิ กรรมจากใบความรู้
4.2 นำดอกอัญชันมาเดด็ ขว้ั ออกและล้างใหส้ ะอาด เตรยี มไว้ และเตรียมใบเตย 3 - 4 ต้น ล้างให้

สะอาดและหั่นคร่งึ เตรียมไว้
4.3 ต้มน้ำสะอาดจนนำ้ เดือดจดั เมอื่ นำ้ เดือดจดั แล้วใสอ่ ัญชัน และใบเตยลงไป ปดิ ฝา แตย่ งั คงไฟร้อน

ไว้ประมาณ 5 นาที จากนน้ั หร่ไี ฟลงให้ร้อนปานกลาง ปิดฝาไว้ตลอดเวลา ต้มท้ิงไว้อีก 15 นาที
4.4 เสร็จแล้วบีบมะนาวและเกลือลงไปเลก็ น้อย เพื่อให้สจี ากดอกอัญชันออกมามาก ๆ แลว้ คอ่ ย ๆ

เทน้ำตาลทรายใส่ลงไป ชมิ รสออกหวานเลก็ นอ้ ย
4.5 กรองนำ้ ด้วยผา้ ขาวบาง พกั ให้น้ำสมุนไพรเยน็ กรอกในขวดพลาสติก
4.6 ประเมนิ ผลทไ่ี ดจ้ ากการอ่าน

5. วัสดุอปุ กรณใ์ นการดำเนนิ งาน
5.1 หมอ้ สเตนเลส
5.2 เตาแก๊สปิคนิก
5.3 ดอกอัญชนั
5.4 น้ำผงึ้ ,นำ้ มะนาว, เกลือ

6. ตัวชี้วดั ความสำเร็จ
6.1 เชิงปริมาณ

จำนวนผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 80 ของเปา้ หมายผูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม/โครงการ
6.2 เชงิ คุณภาพ
ร้อยละ 80 ของผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมไดร้ ับความรู้ และสามารถทำนำ้ อัญชันมะนาวได้ สามารถนำความรู้
ไปปรบั ใช้ในชีวติ ประจำวัน และประกอบอาชพี ได้

111

แนวทางที่ 4 กศน.สรา้ งสขุ เพ่อื ประชาชน (เคลือ่ นท่)ี

กิจกรรมท่ี 21 การทำถงุ ผา้ ลดโลกรอ้ น

1. ความสำคญั

กิจกรรมการทำถุงผ้าลดโลกร้อนเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ซึ่งจัดให้แก่ประชาชน ในพื้นท่ี
และกระตุ้นให้ประชาชนทั่วไป ตระหนักถึงความสำคัญของการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อเพิ่มทักษะการ
เรียนรู้ การปฏิบัติจริง ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เน้นการปฏิบัติและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ใน
ชวี ิตประจำวนั ด้านการอุปโภค บริโภค ยกระดับคุณภาพชีวิตดว้ ยการสร้างอาชพี
สร้างรายไดเ้ สรมิ ต่อไป
2. วัตถปุ ระสงค์

2.1 เพอ่ื ให้ผูเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรมไดร้ บั ความรู้ และสามารถทำถงุ ผา้ ลดโลกรอ้ นได้ สามารถนำความรู้ไป
ปรับใชใ้ นชีวิตประจำวันได้

2.2 เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมมนี สิ ยั รกั การอา่ น เหน็ ความสำคญั ของการอ่านและการเรยี นรู้
3. กลมุ่ เป้าหมาย

นกั ศึกษา กศน. ประชาชน และผู้สงู อายุ
4. วิธีการดำเนินงาน

4.1 อา่ น และศึกษาเรยี นร้ขู ้นั ตอนการทำกจิ กรรมจากใบความรู้
4.2 ตดั ผา้ เปน็ สเี่ หลย่ี ม ขนาด กวา้ ง 50 X 37 ซม. พับครงึ่ ผา้ แลว้ พับจากดา้ นบน 1.5 ซม. พบั อกี
ครง้ั 4 ซม.แลว้ กลัดเข็มหมุดไว้ ทำทง้ั 2 ข้าง วัดจากขอบท่ีพบั ประมาณ 2 ซม.ท้ัง 2 ขา้ ง ทำเครื่องหมายจุดไว้
4.3 กลบั ผา้ จากในมานอก เยบ็ ริมทงั้ 2 ขา้ งจนถงึ จุดที่ทำเครื่องหมายไว้ เยบ็ เสร็จเอาเข็มหมุดออก
กลบั ด้าน เย็บดา้ นข้างที่เหลอื เป็นตัวU แลว้ กลับดา้ นผา้ มาเหมือนเดิมแล้วพบั ตามรอยทีเ่ คยพับไว้กลัดเข็มกลดั
ท้งั 2 ด้าน เย็บขอบแตล่ ะด้าน กลบั ดา้ นผ้า แลว้ นำสายมาเยบ็ เป็นอนั เสร็จ
4.4 การทำสายกระเปา่ นำผ้ามาพับทบกลดั เข็มหมุดแลว้ เย็บเสร็จกลับด้านในออกนำมาเยบ็ ตดิ กับตัว
กระเป๋า
5. วสั ดุอปุ กรณใ์ นการดำเนินงาน

5.1 ผ้าดบิ
5.2 ผ้าสำหรบั ทำสายกระเปา๋
5.3 กรรไกร ไม้บรรทดั
5.4 เขม็ ดา้ ย เข็มหมดุ
6. ตัวชี้วดั ความสำเร็จ
6.1 เชิงปรมิ าณ

จำนวนผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเป้าหมายผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม/โครงการ
6.2 เชงิ คณุ ภาพ

รอ้ ยละ 80 ของผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรมได้รบั ความรู้ และสามารถทำถงุ ผา้ ลดโลกร้อนได้ สามารถนำความรู้
ไปปรบั ใช้ในชีวติ ประจำวนั และประกอบอาชีพได้
112

แนวทางท่ี 4 กศน.สร้างสขุ เพือ่ ประชาชน (เคลือ่ นที)่
กิจกรรมที่ 22 การเพาะถัว่ งอกในตะกร้า

1. ความสำคัญ

กิจกรรมการเพาะถั่วงอกในตะกร้าเป็นกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ ซึ่งจัดให้แก่ประชาชน

ในพื้นที่และกระตุ้นให้ประชาชนทั่วไป ตระหนักถึงความสำคัญของการอ่านและการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ
เพ่มิ ทกั ษะการเรียนรู้การอ่าน การปฏิบัติจริง ใช้เวลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ เนน้ กิจกรรมสง่ เสริมการอ่านเพ่ือนำ

ไปปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวันด้านการอุปโภค บรโิ ภค ยกระดับคุณภาพชีวติ ด้วยการอ่านสร้างอาชีพ สรา้ งรายได้
2. วตั ถุประสงค์

2.1 เพ่อื ใหผ้ ู้เข้าร่วมกจิ กรรมไดร้ บั ความรู้ และสามารถเพาะถ่วั งอกในตะกรา้ สามารถนำความรู้ไป
ปรับใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้

2.2 เพอื่ สง่ เสริมให้ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมมนี สิ ัยรกั การอา่ น เหน็ ความสำคัญของการอ่านและการเรียนรู้
3. กลุ่มเปา้ หมาย

นักศกึ ษา กศน. ประชาชน และผูส้ งู อายุ
4. วธิ กี ารดำเนนิ งาน

4.1 อา่ น และศึกษาเรยี นรู้ขั้นตอนการทำกจิ กรรมจากใบความรู้

4.2 แชถ่ ่ัวเขียวไว้ 1 คืน แล้วล้างให้สะอาด

4.3 นำถวั่ เขียวมาเกลย่ี ในตะกร้าพลาสติกทเี่ ตรยี มไว้
4.4 ใชผ้ า้ ขนหนูคลุมปดิ ไว้ รดนำ้ ใหช้ ุ่ม

4.5 รดน้ำทุกวัน 2 - 3 วัน กจ็ ะไดถ้ ่วั งอก
5. วัสดอุ ุปกรณใ์ นการดำเนนิ งาน

5.1 ถัว่ เขยี ว 200 กรมั

5.2 ตะกรา้ พลาสติก 1 ใบ

5.3 ผา้ ขนหนู 1 ผนื

(ถา้ ตอ้ งการปริมาณมากให้เพิ่มสัดส่วน ถ่ัวเขยี วและเพม่ิ จำนวนตะกร้า)

6. ตัวชี้วัดความสำเร็จ

6.1 เชิงปริมาณ

จำนวนผูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเปา้ หมายผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม/โครงการ
6.2 เชิงคณุ ภาพ

ร้อยละ 80 ของผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ และสามารถเพาะถ่วั งอกในตะกร้าได้ สามารถนำความรู้
ไปปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวนั และประกอบอาชพี ได้

113

แนวทางที่ 4 กศน.สรา้ งสขุ เพื่อประชาชน (เคลอื่ นท)่ี

กจิ กรรมท่ี 23 การพับเหรยี ญโปรยทาน

1. ความสำคัญ

กิจกรรมการพับเหรียญโปรยทานดอกพิกุลเป็นกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ ซึ่งจัดให้แก่
ประชาชนในพนื้ ท่ีและกระต้นุ ให้ประชาชนท่วั ไป ตระหนกั ถึงความสำคัญของการอ่านและการเรียนรู้ในรูปแบบ
ต่าง ๆ เพิ่มทักษะการเรียนรู้การอ่าน การปฏิบตั ิจริง ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เนน้ กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน
เพื่อนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันด้านการอุปโภค บริโภค ยกระดับคุณภาพชีวิตด้วยการอ่านสร้างอาชีพสร้าง
รายได้
2. วตั ถุประสงค์

2.1 เพ่อื ใหผ้ ู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมมีความรู้ ทักษะ สามารถนำความรู้ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั หรอื ประกอบ
อาชพี ได้

2.2 เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้ผ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรมมีนสิ ัยรกั การอา่ น เหน็ ความสำคญั ของการอา่ นและการเรียนรู้
3. กลุม่ เป้าหมาย

นักศกึ ษา กศน. ประชาชน และผ้สู งู อายุ
4. วธิ กี ารดำเนนิ งาน

4.1 อ่าน และศึกษาเรยี นรู้ขั้นตอนการทำกิจกรรมจากใบความรู้
4.2 ตดั ริบบิ้นให้ไดข้ นาดยาวประมาณ 25 ซม. 4 เส้น ตัดปลายแหลม แลว้ พบั
4.3 นำริบบ้ินมาไขวก้ ันทง้ั 4 เส้นใหไ้ ดต้ ามแบบในรปู หนึ่งยาวด้านหนงึ่ สน้ั
4.4 นำเหรียญบาทไว้ตรงกลางแล้ว พบั ริบบน้ิ เขา้ ทั้ง 4 ด้าน
4.5 เมื่อครบทง้ั 4 ดา้ นแล้วก็กลบั ดา้ นลา่ งข้นึ แลว้ ก็นำรบิ บิ้นสอดลงไปดา้ นตรงข้าม
4.6 เม่ือสอดครบทุกดา้ นแลว้ จะเปน็ ดงั รปู
4.7 จับรบิ บน้ิ ดา้ นหน่งึ ขน้ึ แล้วพับใหอ้ ยู่ในลักษณะสามเหลย่ี มแลว้ มว้ นลงสอดดา้ นลา่ ง
4.8 แล้วกก็ ลบั ด้านจบั ริบบน้ิ ด้านใดด้านหน่ึงแลว้ มว้ นสอดช่องล่าง
4.9 เมื่อสอดครบทุกดา้ นแล้วจะได้ดังรปู ตัดรบิ บน้ิ ทงิ้ ทเ่ี หลือ
5. วัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน

5.1 ริบบน้ิ
5.2 เหรยี ญ
5.3 กรรไกร
6. ตัวชี้วัดความสำเรจ็
6.1 เชงิ ปริมาณ

จำนวนผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 ของเป้าหมายผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม/โครงการ
6.2 เชงิ คุณภาพ

รอ้ ยละ 80 ของผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมได้รบั ความรู้ สามารถพับเหรยี ญโปรยทานดอกพกิ ุลได้ และสามารถ
นำความรู้ไปปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวัน หรือประกอบอาชพี ได้

114

แนวทางที่ 4 กศน.สร้างสขุ เพ่อื ประชาชน (เคลอ่ื นท)ี่
กจิ กรรมที่ 24 การทำหนา้ กากอนามัย

1. ความสำคญั

กิจกรรมการทำหน้ากากอนามัยเป็นกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ซึ่งจัดให้แก่ประชาชนใน
พื้นที่และกระตุ้นให้ประชาชนทั่วไป ตระหนักถึงความสำคัญของการอ่านและการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ
เพิ่มทักษะการเรียนรู้การอ่าน การปฏิบัติจริง ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เน้นกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเพ่ือ
นำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันด้านการอุปโภค บริโภค ยกระดับคุณภาพชีวิตด้วยการอ่านสร้างอาชีพ
สร้างรายได้
2. วตั ถุประสงค์

2.1 เพอ่ื ใหผ้ เู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมมีความรู้ ทักษะ สามารถทำหนา้ กาอนามัยได้ และนำความร้ไู ปใชใ้ น
ชวี ติ ประจำวนั หรอื ประกอบอาชีพได้

2.2 เพ่ือสง่ เสริมใหผ้ ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรมมีนิสัยรักการอา่ น เหน็ ความสำคัญของการอา่ นและการเรียนรู้
3. กลุ่มเป้าหมาย

นักศึกษา กศน. ประชาชน และผสู้ ูงอายุ
4. วิธีการดำเนินงาน

4.1 อา่ น และศึกษาเรียนรู้ขั้นตอนการทำกจิ กรรมจากใบความรู้
4.2 ร่างแบบลงบนผา้ ขนาด 20 x 28 ซม.
4.3 ตดั ตามเสน้ ทรี่ ่าง และตัด 2 ชนิ้
4.4 นำด้านถูกประกบเขา้ หากนั แล้วเยบ็ ตามรูป
4.5 เม่ือเย็บเสรจ็ แลว้ ใหก้ ลบั ดา้ นถูกออกมา
4.6 จากนน้ั ใช้เย็บรอบๆ แบบเกอื บชิดขอบ
4.7 วัดทัง้ 4 มมุ ลงมา 5 ซม..
4.8 พบั ทั้ง 4 มุมลงมา แล้วเยบ็ ตามรปู
4.9 พบั บนและลา่ ง 5 ซม.
4.10 เย็บเกือบชิดขอบ ตามรปู
4.11 พบั ดา้ นข้าง ทงั้ สองดา้ นแล้วเยบ็ เพ่ือทำช่องใส่ยางยืด
4.12 ตัดยางยืด 2 เส้น ยาวประมาณ 27 ซม. หรอื ยาวตามต้องการ แล้วรอ้ ยยางยดื ลงไปท้ัง 2 ดา้ น
4.13 แบะทั้ง 4 มมุ ออก แลว้ เยบ็ เพอ่ื ทำใหท้ รงบานออกมาเปน็ อันเสร็จ

5. วัสดุอุปกรณ์ในการดำเนนิ งาน
5.1 ผ้ามัสลนิ
5.2 เข็ม
5.3 ด้าย
5.4 เชือก

115

6. ตัวช้ีวัดความสำเร็จ
6.1 เชงิ ปรมิ าณ
จำนวนผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 ของเปา้ หมายผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม/โครงการ
6.2 เชิงคุณภาพ
6.2.1 รอ้ ยละ 80 ของผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมมคี วามรู้ มที ักษะสามารถทำหนา้ กาอนามัยได้ และนำ

ความรู้ไปใช้ในชวี ิตประจำวนั หรอื ประกอบอาชพี ได้
6.2.2 รอ้ ยละ 80 ของผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมมีนสิ ัยรักการอา่ น เห็นความสำคัญของการอ่านและการ

เรียนรู้

116

แนวทางท่ี 4 กศน.สร้างสุขเพ่ือประชาชน (เคลอ่ื นที่)
กิจกรรมที่ 25 การทำสายคลอ้ งหนา้ กากอนามยั

1. ความสำคัญ
ในปัจจุบันนี้หน้ากากอนามัยกลายเป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตประจำวันของทุกคน ไม่ว่าจะออกไปตาม

สถานทตี่ ่าง ๆ ก็ต้องใส่หนา้ กากอนามัยทุกครัง้ ถึงแม้จะไม่ได้ใส่ตลอดเวลา แตก่ ป็ ฏิเสธไม่ได้ว่าต้องพกหน้ากาก
อนามัยติดตัวไว้เสมอ สายคล้องหน้ากากอนามัยเป็นสิ่งจำเป็นและสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนทุกช่วงวัยเป็นอย่างยง่ิ เพราะจะช่วยป้องกันการทำหน้ากากอนามัยหายในขณะท่ีใช้ชีวิตอยู่นอกบ้าน
ได้ โดยสายคลอ้ งหนา้ กากอนามยั ที่ว่านีส้ ามารถทำเองได้ไม่ต้องไปหาซอ้ื
2. วัตถุประสงค์

2.1 เพ่อื ให้ผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรมมีความรู้ ทักษะ สามารถทำสายคล้องหน้ากากอนามัย
รปู แบบต่าง ๆ ได้ และนำความรไู้ ปใชใ้ นชีวิตประจำวนั หรือประกอบอาชีพได้

2.2 เพ่อื ส่งเสริมให้ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมมนี สิ ยั รักการอ่าน เห็นความสำคัญของการอ่านและการเรียนรู้
3. กลุ่มเปา้ หมาย

นักศกึ ษา กศน. ประชาชน และผู้สงู อายุ
4. วธิ กี ารดำเนนิ งาน

4.1 อ่าน และศึกษาเรยี นรู้ขั้นตอนการทำกิจกรรมจากใบความรู้
4.2 วดั ขนาดความยาวของเอ็นตามต้องการ
4.3 นำปลายดา้ นหน่ึงของเอน็ รอ้ ยเขา้ กับตะขอเอาไว้
4.4 รอ้ ยลูกปดั ใสป่ ลายเอ็นอกี อกี ข้างโดยให้เหลือปลายเอาไวผ้ กู กบั ตะขอดว้ ย
4.5 เม่อื ร้อยลูกปัดครบแลว้ นำปลายเอน็ ไปผูกกบั ตะขออีกชิ้น เป็นอันเสร็จเรยี บร้อย
5. วัสดุอุปกรณใ์ นการดำเนินงาน
5.1 เอนเบอร์ 40
5.2 ลูกปดั คละแบบ
5.3 ตะขอสร้อยแบบก้ามปู
5.4 กรรไกร
6. ตวั ช้ีวดั ความสำเรจ็
6.1 เชงิ ปรมิ าณ

จำนวนผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 ของเป้าหมายผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรม/โครงการ
6.2 เชงิ คณุ ภาพ
6.2.1 ร้อยละ 80 ของผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมมคี วามรู้ มีทักษะสามารถทำสายคลอ้ งหนา้ กากอนามัยรปู แบบ
ตา่ ง ๆ ได้ และนำความรู้ไปใช้ในชวี ิตประจำวนั หรอื ประกอบอาชพี ได้
6.2.2 ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีนิสัยรักการอ่าน เห็นความสำคัญของการอ่าน และการ
เรียนรู้

117

แนวทางท่ี 4 กศน.สร้างสขุ เพอื่ ประชาชน (เคลือ่ นที่)

กจิ กรรมที่ 26 การทำเจลลา้ งมอื

1. ความสำคญั

ปัจจุบันนี้เราอยู่ในยุคที่เชื้อโรคปะปนอยู่รอบ ๆ ตัว มันง่ายมากที่เราจะรับเชื้อโรคเหล่านั้นเข้าสู่
ร่างกาย ทั้งการหายใจทางจมูก และการสัมผัสสิ่งของต่างๆที่เป็นแหล่งสะสมของเชื้อโรค เมื่อสัมผัสไปแล้ว
เราอาจจะเผลอใช้มือขยี้ตา หรือใช้มือหยิบอาหารเข้าปาก การใช้สบู่และน้ำเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการทำความ
สะอาดมอื แต่ไมส่ ามารถกำจัดเชื้อโรคเชอ้ื แบคทีเรยี ต่าง ๆ ออกไดห้ มดจด การใช้เจลลา้ งมือแอลกอฮอล์จึงเป็น
วิธีที่ดีที่สุดช่วงนี้เป็นยุคที่อะไร ๆ ก็ต้องป้องกันตัวเองไว้ก่อน บางครั้งแอลกอฮอล์เจลล้างมือก็ขาดตลาด หรือ
บางครั้งก็มีพ่อค้าหัวใสปรับราคาขึ้นเป็นเท่าตัว มันคงจะดีหากเราทำแอลกอฮอล์เจลล้างมือได้ด้วยตัวเอง
กิจกรรมส่งเสริมการอ่านการทำเจล ล้างมือจึงเป็นกิจกรรมที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันด้านการ
อุปโภค บรโิ ภค ยกระดับคณุ ภาพชีวิตดว้ ยการอา่ นได้เปน็ อยา่ งดี
2. วตั ถุประสงค์

2.1 เพอื่ ให้ผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมมีความรู้ และทกั ษะสามารถทำเจลล้างมือได้ และนำความรู้ไปใช้ใน
ชีวิตประจำวนั หรือประกอบอาชพี ได้

2.2 เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เข้ารว่ มกจิ กรรมมนี ิสยั รกั การอ่าน เหน็ ความสำคญั ของการอ่านและการเรียนรู้
3. กลุ่มเปา้ หมาย

นักศึกษา กศน. ประชาชน และผู้สงู อายุ
4. วิธกี ารดำเนนิ งาน

4.1 อ่าน และศกึ ษาเรียนรู้ขัน้ ตอนการทำกจิ กรรมจากใบความรู้
4.2 ละลายผงคารโ์ บพอลในน้ำต้มสกุ คนจนเข้ากนั ดี จากน้ันตงั้ พกั ไว้ ใหส้ ารพองตวั เต็มท่ี
4.3 ค่อย ๆ เติมสว่ นประกอบทเี่ หลอื โดยเรม่ิ จากแอลกอฮอล์ก่อน แล้วคนทุกอย่างใหเ้ ข้ากนั ดี
4.4 นำเจลลา้ งมือบรรจลุ งในภาชนะท่ีสะอาด แหง้ จากนัน้ ปิดฝาให้สนิท
5. วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ในการดำเนินงาน

5.1 เอทิลแอลกอฮอล์ 95% ประมาณ 2 ใน 3 สว่ น หรือ 370 มลิ ลิลิตร
5.2 นำ้ ต้มสกุ 1 ใน 3 ส่วน หรือประมาณ 125.5 มิลลลิ ิตร

5.3 กลีเซอรีน 2.5 มิลลิลิตร

5.4 คาร์โบพอล 940 ประมาณ 1 กรมั

5.5 ไตรเอทาโนลามีน 1 กรมั

6. ตวั ช้ีวัดความสำเรจ็

6.1 เชิงปริมาณ

จำนวนผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80 ของเปา้ หมายผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ
6.2 เชงิ คณุ ภาพ

รอ้ ยละ 80 ของผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ และทักษะสามารถทำเจลล้างมือได้ และนำความรูไ้ ปใชใ้ น
ชวี ติ ประจำวัน หรอื ประกอบอาชพี ได้
118

แนวทางท่ี 4 กศน.สรา้ งสุขเพื่อประชาชน (เคล่ือนท่ี)
กจิ กรรมท่ี 27 ส่งเสริมการอา่ นผ่าน QR – CODE

1. ความสำคญั
ในยุคที่ “อะไรๆ ก็ดิจิทัล” ต้องยอมรับว่าเป็นยุคของการเปลี่ยนแปลงที่สื่อต่างๆ ทางอินเตอร์เน็ต

มีอิทธิพลสูงต่อวิถีการดำเนินชีวิตประจำวันของผู้คนทัว่ ไป ส่งผลให้เกิดการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการอ่านของ
ผู้อ่านหนังสือจำนวนมากโดยเฉพาะกลุ่มเด็กและคนหนุ่มสาวที่หันไปอ่านหนังสือ รับรู้ข้อมูลข่าวสาร และ
เรอ่ื งราวท่ีตนเองสนใจผ่านอนิ เทอรเ์ น็ต โดยการอา่ นบนหนา้ จอ โทรศพั ท์มอื ถือหรือคอมพวิ เตอร์ แทนการอ่าน
หนังสือที่พิมพ์เป็นเล่มมีมากขึ้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการอ่านครั้งใหญ่นี้มาจากพฤติกรรมการอ่านของ
ผคู้ นในยุค 4.0 โดยเฉพาะผอู้ ่าน 3 กลมุ่ ซงึ่ ชน่ื ชอบการใช้อินเทอรเ์ น็ต 6 – 7 ชวั่ โมงตอ่ วนั นยิ มอ่าน รับรู้ หรือ
เสพ (ติด) เรื่องราวต่างๆ ทางออนไลน์ผ่านหน้าจอโทรศัพท์มือถือหรือ เนื่องจากสถิติการอ่านหนังสือที่ลด
ประชาชนส่วนใหญ่ไม่เข้าใชบ้ ริการห้องสมุด และในช่วงแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา (COVID – 19)
ส่งผลใหบ้ รรณารักษต์ ้องปรับรูปแบบกิจกรรมส่งเสริมการอ่านทห่ี ลากหลายและเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายทุกช่วงวัย
โดยการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านมากข้ึน
2. วัตถุประสงค์

2.1 เพอ่ื นำเทคโนโลยเี ขา้ มาใชใ้ นการจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ น
2.2 เพือ่ จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านในรปู แบบที่หลากหลายมากข้ึน
2.3 เพ่ือส่งเสริมนสิ ัยรกั การอ่าน และเหน็ ความสำคญั ของการอ่านและการเรยี นรู้
3. กลุ่มเป้าหมาย
เยาวชน นกั เรียน นักศกึ ษา กศน. ประชาชน และผสู้ งู อายุ
4. วธิ กี ารดำเนินงาน
4.1 รวบรวมเรอ่ื งราว, บทความ สาระความรตู้ ่าง ๆ พร้อมอา้ งอิงทม่ี าของข้อมูล
4.2 แบ่งสาระความร้เู ปน็ หมวดหมู่
4.3 จัดทำข้อมลู หรือเรอ่ื งราวสาระนา่ รใู้ นรูปแบบ QR – CODE
4.4 ออกแบบการนำเสนอ QR – CODE โดยกำหนดคำ หรอื ขอ้ ความให้นา่ สนใจ
4.5 ให้บริการการอ่านผ่าน QR – CODE สนับสนุนโครงการ กศน.เพื่อประชาชน (เคลื่อนที่) หรือ
โครงการอ่นื ๆ
5. วสั ดแุ ละอุปกรณ์ในการดำเนนิ งาน
5.1 คอมพวิ เตอรต์ ัง้ โต๊ะ หรอื คอมพิวเตอรโ์ นต๊ บุ๊ค
5.2 โทรศพั ท์มือถือ
5.3 กระดาษการด์ สรี ปู แบบต่าง ๆ
5.4 วสั ดุอ่ืน ๆ ตามการออกแบบเพื่อใหบ้ ริการ QR – CODE

119

6. ตวั ชี้วดั ความสำเรจ็
6.1 เชงิ ปรมิ าณ
ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมมากกว่ารอ้ ยละ 80 ของเป้าหมายผู้เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ
6.2 เชงิ คณุ ภาพ
6.2.1 รอ้ ยละ 80 ของผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรมสามารถใชเ้ ทคโนโลยีที่ทนั สมยั เพื่อการอ่านได้
6.2.2 ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเห็นความสำคัญของการอ่าน มีนิสัยรักการอ่าน เห็น

ความสำคัญของการอ่านและการเรียนรู้

120

บรรณานกุ รม

กรมวิชาการ. กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ :
โรงพมิ พ์คุรสุ ภาลาดพร้าว.

กรมวิชาการ. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.

กรงุ เทพฯ : โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย.
กศน. สำนกั งาน. (2552). คมู่ อื การดำเนนิ งาน กศน. ตำบล. พิมพค์ รงั้ ที่ 2. กรุงเทพฯ : บรษิ ัท พรกิ หวาน

กราฟฟิค จำกดั .
กศน. สำนักงาน. (2553). คมู่ ือการปฏิบตั ิงานหวั หน้า กศน.ตำบล. กรุงเทพฯ : รังษีการพิมพ์.
เกริก ยุ้นพันธ์. (2543). เอกสารคำสอนวิชา บร 620 การเล่านิทาน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ :

ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒประสานมติ ร.
กระทรวงวัฒนธรรม. กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงมหาดไทย. (2560). แผนแม่บทส่งเสริมวัฒนธรรม

การอ่านส่สู งั คมแห่งการเรียนรู้ของไทย พ.ศ. 2560 – 2565. กรุงเทพฯ : (ม.ป.พ.)
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สำนกั งาน. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และ

สงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564). สำนกั นายกรัฐมนตรี.
ฉวีวรรณ คูหาภินันท์. (2542). การอ่านและส่งเสริมการอ่าน (Reading and Promotion). กรุงเทพฯ

:ศิลปาบรรณาคาร.
ฉวีวรรณ บุณยะกาญจน. (2547). จติ วิทยาการอา่ น (Physchology of Reading). กรุงเทพฯ

: ธารอักษร.
ณภัทร ศิรนิ าวิน. (2560). ดอกไม้จากใบเตย. กรงุ เทพ : วาดศิลป์
แผนงานสร้างเสริมวัฒนธรรมการอ่าน. (2555). อ่านสร้างสุข หนังสือภาพ สื่อสร้างสรรค์พัฒนาสมองและ

คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องลูกน้อย. กรุงเทพฯ : แปลนพร้ินทต์ ิง้ .
ไพพรรณ อินทนลิ . (2546). การสง่ เสริมการอา่ น Better Reading. ชลบรุ ี : ภาควิชาบรรณารกั ษศาสตร์

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา.
ฟองจันทร์ สุขยิง่ . (2550). ศิลปะการอา่ นอย่างมอื อาชพี . กรุงเทพฯ : อักษรเจรญิ ทัศน์.
ศุภธดิ า กิตตสิ าระวัณโณ, ผแู้ ปล (๒๕๕๕) . ปัน้ ดินพัฒนาสมอง. กรุงเทพฯ : เอม็ ไอ เอ
สมบตั ิ จำปาเงิน. (2550). กลเมด็ การอ่านใหเ้ ก่ง. พมิ พค์ รงั้ ที่ 4. กรุงเทพฯ : สถาพรบุ๊คส์.
สายพิณ นาประจลุ . (2545). เกมและกิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านทีส่ นองตอกลมุ สาระการเรียนรู.

พมิ พคร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ : นานมบี ุคสพับลเิ คช่ันส์.
สายพิณ นาประจุล. (2558). เกมและกิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านทีส่ นองต่อกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ เลม่ 2.

พิมพครั้งท่ี 5. กรุงเทพฯ : นานมบี คุ สพับลเิ คชั่นส์.
สำนักงาน กศน. (ม.ป.ป). กรอบแนวทางการดำเนนิ งาน “หองสมดุ 3 ดี”. กรุงเทพฯ :รังสีการพิมพ.์

121

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน. (2555). บรรณนทิ ศั นห์ นงั สอื อา่ นนอกเวลา. กรุงเทพฯ :

โรงพมิ พค์ ุรสุ ภาลาดพรา้ ว.
การเล่านิทาน...สิ่งเล็กๆแต่ยิ่งใหญ่สำหรับโลกของเด็กๆ (ออนไลน์) . สืบค้นจาก

:https://www.aksorn.com/storytelling ( 26 มิถุนายน 2564)
การทำขนมโดนัทจิ๋ว. (ออนไลน์) . สืบค้นจาก :https://sites.google.com/site/spfoodthai/158

(19 มิถุนายน 2564 )
การทำขนมลูกชุบ . (ออนไลน์) . สืบค้นจาก : https://cooking.kapook.com/view236013.html

(19 มิถุนายน 2564 )
การทำพายสบั ปะรด (ไสส้ บั ปะรดกวน). (ออนไลน)์ . สบื คน้ จาก :

https://cooking.kapook.com/view69687.html ( 9 มิถุนายน 2564 )
การทำตุ๊กตาการบรู . (ออนไลน)์ . สืบค้นจาก : http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=

683031e6f6f6a496 ( วันท่ี 3 มิถุนายน 2564 )
การประดษิ ฐ์ดอกไม้จากถุงนำ้ ยาปรบั ผ้านุ่ม. (ออนไลน์) . สบื ค้นจาก :

http://parnmaroon5.blogspot.com/2014/02/blog-post.html ( 19 มิถุนายน 2564 )
การพับใบเตยดอกกุหลาบ. (ออนไลน์) . สืบคน้ จาก :

https://www.youtube.com/watch?v=iYLp-bAd7EA ( 5 มิถุนายน 2564 )
กจิ กรรม kahoot. (ออนไลน์) . สืบค้นจาก : https://www.kahoot.it ( 31 พฤษภาคม 2564 )
เกบ็ กลน่ิ หอมของดอกไม้. (ออนไลน)์ . สบื คน้ จาก :

https://freshbitesdaily.com/flower-perfume/ ( 4 มถิ ุนายน 2564 )
เกบ็ กลนิ่ หอมของดอกไม.้ (ออนไลน)์ . สืบคน้ จาก :

https://freshbitesdaily.com/flower-perfume/ ( 4 มถิ ุนายน 2564 )
ถุงใส่ของลดโลกรอ้ น (กระเปา๋ ผ้าหูรดู ). (ออนไลน์) . สืบคน้ จาก :

https://home.kapook.com/view210632.html ( 9 มิถุนายน 2564 )
เทคนิคการปนั้ ดินน้ำมันแบบตา่ ง ๆ. (ออนไลน์) . สืบคน้ จาก :

https://www.pinterest.com/pin/473722454546203208/ ( 5 มถิ นุ ายน 2564 )
เทคนคิ ห่อของขวัญงา่ ยๆ ทำได้ด้วยตัวเอง. (ออนไลน)์ . สบื คน้ จาก :

https://www.thebeeinspired.com/craft/diy-gift-wrapping-hack/ ( 4 มถิ นุ ายน 2564 )
แนวทางการขับเคลื่อน นโยบายส่งเสริมการอ่าน พ.ศ. 2561-2564 (ออนไลน์) . สืบค้นจาก :
http://www.lertchaimaster.com/doc/Roadmap-Reading-2561-2564.pdf ( 18 สิงหาคม 2564 )
น้ำหอมทำเอง. (ออนไลน์) . สืบคน้ จาก :

https://www.treehugger.com/diy-perfume-4864152 ( 4 มิถุนายน 2564 )
แผนแม่บทส่งเสริมวัฒนธรรม การอ่านสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ของไทย พ.ศ. 2560 – 2564. (ออนไลน์) .

สืบค้นจาก : https://www.matichon.co.th/advertorial/news_1438383 ( 18 สิงหาคม
2564 )
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่สี บิ สอง พ.ศ. 2560 – 2564. (ออนไลน)์ . สืบค้นจาก :
https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=6422 ( 18 สิงหาคม 2564 )
พับดอกกหุ ลาบใบเตย ในวนั ว่าง. (ออนไลน)์ . สบื คน้ จาก :
http://www.snc.lib.su.ac.th/kmblog/?p=4471 ( 31 พฤษภาคม 2564 )

122

เมนูพรกิ ทอดกรอบ. (ออนไลน)์ . สบื คน้ จาก : https://food.mthai.com/dessert/140897.html
( 19 มถิ ุนายน 2564 )

วิธีทำน้ำเต้าหู.้ (ออนไลน์) . สืบค้นจาก :
https://cooking.kapook.com/view124576.html ( 5 มถิ ุนายน 2564 )

วิธีทำบหุ งาสดและดอกบุหงาแหง้ . (ออนไลน์) . สืบค้นจาก :
https://readthecloud.co/staycation-perfume-flower/ ( 4 มิถนุ ายน 2564 )

วิธกี ารเพาะถว่ั งอก. (ออนไลน์) . สบื ค้นจาก :
https://www.youtube.com/watch?v=jhS0t3iCCkI ( 5 มถิ นุ ายน 2564 )

วธิ พี บั เหรยี ญโปรยทานรูปดอกพิกุล. (ออนไลน์) . สบื ค้นจาก :
http://workmanship14.blogspot.com/2014/11/blog-post_13.html
( วันท่ี 31 พฤษภาคม 2564 )

วิธีเย็บหนา้ กากผา้ 3 D แบบพับแลว้ เยบ็ . (ออนไลน์) . สบื ค้นจาก :
https://sewingremaker.com/article/how-to-3d-mask-origami/ ( 31 พฤษภาคม 2564 )

ศิลปะการจบั ผ้า. (ออนไลน์) . สบื คน้ จาก : https://www.slideshare.net/yimtae/ss-35903937
( 4 มถิ ุนายน 2564 )

สง่ิ ประดษิ ฐจ์ ากเศษผ้าเหลอื ใช้. (ออนไลน์) . สบื ค้นจาก :
https://www.youtube.com/watch?v=YhVnfAgdyxQ ( 9 มถิ ุนายน 2564 )

สรอ้ ยแขน จากหลอดกาแฟ และนติ ยสาร. (ออนไลน์) . สืบค้นจาก :
https://p-dit.com/2013/08/14/3013 ( 9 มถิ ุนายน 2564 )

ไอเดียทำถุงกระดาษสวย. (ออนไลน์) . สืบค้นจาก : https://p-dit.com/2015/11/23/7527
( 19 มิถุนายน 2564 )

ไอเดยี ใบไม.้ (ออนไลน์) . สืบคน้ จาก :
https://happywedding.in.th/th/tips/wedding-deco/41354 ( 4 มถิ นุ ายน 2564 )

DIY ดอกกหุ ลาบจากกระดาษยน่ . (ออนไลน)์ . สบื ค้นจาก :
https://www.iurban.in.th/decoration/diy-giant-roses/ ( 9 มิถนุ ายน 2564 )

3 วิธีทำหนา้ กากผ้าทำเองง่าย ๆ ซกั ใช้ซำ้ ได.้ (ออนไลน)์ . สืบค้นจาก :
https://covid-19.kapook.com/view221555.html ( 5 มถิ นุ ายน 2564 )

14 สูตรนำ้ พริกโฮมเมด อาหารไทยคู่ครัว. (ออนไลน)์ . สืบค้นจาก :
https://www.qrcode-monkey.com/ ( 4 มิถุนายน 2564 )

123



คณะผจู้ ดั ทำ

ทีป่ รึกษา ผอู้ ำนวยการสำนักงาน กศน.จังหวดั พัทลงุ
รองผอู้ ำนวยการสำนักงาน กศน.จังหวัดพทั ลงุ
1. นางบษุ บา ณะแก้ว ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเมืองพัทลุง
2. นางฉัตราภรณ์ เอ่งฉ้วน ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอปากพะยนู
3. นางทศั นีย์ รดุ คง ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอควนขนนุ
4. นายศริ พิ งศ์ บวั แดง ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอปา่ บอน
5. นางดัชนี ปิยะพงษ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอกงหรา
6. นางสาวทศั นา กำปัตตา ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอศรีบรรพต
7. นางสาวทวิ าวรรณ พทิ กั ษ์จินดา ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอปา่ พะยอม
8. นางกริ ิยาลกั ษณ์ สงณรงค์ ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอศรนี ครนิ ทร์
9. นางสาวจำเนยี ร รัตนบุรี ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอเขาชัยสน
10 นางสาวเรอื งวิไล เรืองศรี ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอบางแกว้
11. นางวรรณา ศรีหรัญ ศึกษานเิ ทศก์ ชำนาญการพิเศษ สำนักงาน กศน.จงั หวัดพัทลุง
12. นายยะฝาด สันหมาน ศกึ ษานเิ ทศก์ ชำนาญการ สำนกั งาน กศน.จังหวัดพัทลุง
13. นายธวัชชัย วรรณขาว
14. นางสาวชนะจติ โมฬิยสุวรรณ นกั วิชาการศกึ ษา สำนกั งาน กศน.จังหวดั พทั ลงุ
บรรณารักษ์ ชำนาญการพเิ ศษ
คณะผู้จดั ทำ หอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวัดพัทลุง
บรรณารกั ษ์ ชำนาญการพเิ ศษ
1. นายกติ ติ สวุ รรณพงษ์ หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอปากพะยูน
2. นางสาวกรรณกิ าร์ เสน็ ตหิ ย๊ะ บรรณารักษ์ ชำนาญการพิเศษ
ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอปา่ พะยอม
3. นางจำเรยี ง เซ่งเขม็ บรรณารกั ษ์ ชำนาญการพิเศษ
หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอปา่ บอน
4. นางจนั ทรจ์ ิรา ดำแกว้ หลอ่ บรรณารกั ษ์ ชำนาญการ
ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอศรบี รรพต
5. นางสาวบหุ งา ณ สวุ รรณ บรรณารกั ษ์ ชำนาญการ
หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี
6. นางสาวยพุ ิณ เนียมชมุ อำเภอศรนี ครินทร์

7. นางนนั ทนา ชอ่ งพิทกั ษ์ 124

8. นางภริ มย์ ชขู ันธ์ บรรณารักษ์ ชำนาญการ
ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอกงหรา
9. นายพสธร อินแพง บรรณารักษ์ ปฏิบัตกิ าร
หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอตะโหมด
10. นางสาวจฬุ ารัตน์ นมิ่ ดวง บรรณารกั ษ์ ปฏบิ ตั กิ าร
หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอบางแก้ว
11. นางอรไทร จันทรน์ อ้ ย บรรณารกั ษ์
ห้องสมุดประชาชนจงั หวดั พทั ลุง
12. นางสริ ิการญจน์ จันทร์เจือแก้ว บรรณารกั ษ์
หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอเมืองพทั ลงุ
13. นางจริ ะวรรณ ชแู กว้ บรรณารกั ษ์
หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี
14. นางธดิ ารัตน์ อนิ แพง อำเภอศรนี ครินทร์
บรรณารักษ์
15. นางวิลาวัลย์ ประทมุ เมศ ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอควนขนนุ
บรรณารักษ์
16. นายยง่ิ ยศ ทวีเศรษฐ ห้องสมุดประชาชนอำเภอเขาชยั สน
บรรณารักษ์
บรรณาธิการ หอ้ งสมุดประชาชนจงั หวัดพทั ลุง
1. นางสาวทัศนา กำปัตตา
2. นางสาวทวิ าวรรณ พทิ ักษ์จินดา ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอป่าบอน
3. นายธวชั ชยั วรรณขาว ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอกงหรา
4. นางนนั ทนา ชอ่ งพิทักษ์ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สำนกั งาน กศน.จังหวัดพทั ลงุ
บรรณารักษ์ ชำนาญการ
5. นางจันทร์จิรา ดำแก้วหล่อ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี”อำเภอศรีนครนิ ทร์
บรรณารกั ษ์ ชำนาญการพิเศษ
6. นางจำเรยี ง เซ่งเข็ม หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอป่าพะยอม
บรรณารักษ์ ชำนาญการพเิ ศษ
7. นางภิรมย์ ชขู นั ธ์ ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอปากพะยนู
บรรณารักษ์ ชำนาญการ
8. นางวิมล กรดเต็ม หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอกงหรา
9. นางมัทนยี า สวสั ด์วิ งค์ ครู ชำนาญการพิเศษ กศน.อำเภอศรีนครนิ ทร์
10. นายภพพล พูลสวสั ดิ์ ครู กศน.อำเภอป่าพะยอม
11. นายธงชยั หอนอก ครู ผชู้ ่วย กศน.อำเภอป่าพะยอม
ครู ผ้ชู ่วย กศน.อำเภอปากพะยนู

125

ออกแบบ นกั เทคโนโลยีสารสนเทศ สำนกั งาน กศน.จงั หวัดพัทลงุ
1. นายณัฐพงษ์ ปานหมีน เจา้ หน้าทเี่ ทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงาน กศน.จังหวดั พัทลงุ
2. นายมงั กร นวลละออง
นักวิชาการศกึ ษา สำนกั งาน กศน.จังหวัดพัทลุง
จดั พิมพต์ ้นฉบับ นกั วชิ าการโสตทัศนศึกษา

1. นายกิตติ สุวรรณพงษ์
2. นายดิฐิพัฒน์ เวชรังสี

126


Click to View FlipBook Version