The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR ระดับปฐมวัยโรงเรียนวัดบางไกรนอกปี 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tpsc01, 2022-06-22 04:47:34

SAR ระดับปฐมวัยโรงเรียนวัดบางไกรนอกปี 2564

SAR ระดับปฐมวัยโรงเรียนวัดบางไกรนอกปี 2564

ระดับปฐมวัย

ปีการศึกษา ๒๕๖๔



คำนำ

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา 2564 โรงเรยี นวัดบางไกรนอก(แย้มพร้อม
อุปถัมภ์) ได้จัดทำขึ้นตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ให้สถานศึกษาแต่ละ
แห่งจัดใหม้ รี ะบบประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา เพื่อรายงานผลการประเมินตนเองให้
หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปีที่ สะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาทั้ง 2 ระดับการศึกษา คือ ระดับการศึกษาปฐมวัย มีจำนวน3
มาตรฐานไดแ้ ก่มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การมาตรฐานท่ี 3
การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเปน็ สำคญั มีประเดน็ พิจารณา 14 ประเด็นพิจารณา ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน
มีจำนวน 3 มาตรฐานได้แก่มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี นมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีประเด็นพิจารณา 21 ประเด็น
พิจารณา โดยโรงเรียนบ้านปลายคลองนำเสนอผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาต่อหน่วยงานต้นสังกัด
หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ ง ตลอดจนเผยแพรต่ ่อสาธารณชนได้รบั ทราบ และเตรียมความพรอ้ มในการรบั การประเมิน
ภายนอก โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาและประเมนิ คุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) ตอ่ ไป

ขอขอบคุณคณะครู ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ที่มี
ส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา 2564
ฉบับนี้ คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารรายงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนา
คุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียนวัดบางไกรนอก(แยม้ พรอ้ มอปุ ถมั ภ์) ในปีการศึกษา 2565 ตอ่ ไป

(นายสนั่น ไชยหงษ์)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นวดั บางไกรนอก(แย้มพร้อมอุปถมั ภ์)

วนั ๑ เดือน มิถนุ ายน พ.ศ. 2565



สารบญั หนา้

เรื่อง ข
คำนำ 1
สารบัญ
ส่วนที่ 1 บทสรปุ สำหรับผูบ้ ริหาร ๓
สว่ นที่ 2 รายงานการประเมินตนเอง ๓

บทที่ 1 ขอ้ มลู พ้ืนฐานของสถานศึกษา ๖
 ขอ้ มูลทว่ั ไปของสถานศกึ ษา ๗
 ระบบโครงสรา้ งการบริหาร ๘
 ข้อมูลบุคลากรของสถานศกึ ษา ๙
 ข้อมูลผู้เรยี นและผู้สำเรจ็ การศึกษา 20
 ข้อมลู หลักสูตรการเรยี นรู้ 20
 ขอ้ มลู ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศกึ ษาปีการศึกษา 2564 2๕
 ข้อมูลสภาพชมุ ชน
ขอ้ มลู รางวลั /ผลงานท่ีโดดเดน่ ๒๖
ข้อมลู การวิเคราะหป์ ระสิทธภิ าพและโอกาสในการพฒั นาคณุ ภาพของสถานศกึ ษา ๓๒
บทท่ี ๒ การดำเนนิ งานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ๓๔
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ๓๖
มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ ีเ่ น้นเดก็ เปน็ สำคัญ ๓๗
บทท่ี ๓ สรปุ ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา ๓๗
กระบวนการประเมินตนเองของสถานศึกษา ๓๗
ผลการประเมนิ ระดบั การศึกษาปฐมวยั ๓๙
ร่องรอยหลักฐานการดำเนินงานรายประเด็นพิจารณา ๔๑
๔๓
- มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก ๔๔
- มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ๕๑
- มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ที่เนน้ เดก็ เป็นสำคญั
ภาคผนวก
 คำส่ัง
 เครอ่ื งมือวเิ คราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคณุ ภาพของสถานศกึ ษา
ปกี ารศกึ ษา 2564



ส่วนท่ี 1 บทสรปุ สำหรับผูบ้ รหิ าร

โรงเรียนวัดบางไกรนอก(แย้มพรอ้ มอุปถัมภ์) อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี จัดการเรียนการสอน
ระดบั ช้นั อนุบาลปีที่ ๒ ถึงชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ มีนักเรยี นท้งั หมด 179 คน เป็นนกั เรยี นระดับประถมศึกษา
139 คน อนุบาล 40 คน ครูผู้สอน 1๔ คน ผู้บริหาร ๑ คน จัดทำรายงานการประเมินคุณภาพของตนเอง
(SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานอื่นๆ จากผลการดำเนินงาน โครงการ
กิจกรรมตา่ งๆสง่ ผลใหส้ ถานศกึ ษาจัดการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาประสบผลสำเร็จตามทีต่ ้งั เป้าหมายไว้ในแต่ละ
มาตรฐาน จากผลการประเมินโดยรวมสรุปได้ว่าอยู่ในระดบั ยอดเย่ยี ม ทง้ั น้เี พราะ มาตรฐานที่1 คณุ ภาพของเด็ก
อยู่ในระดบั ยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการอยู่ในระดับ ดีเลิศ มาตรฐานที่ 3 การ
จัดประสบการณท์ ่ีเน้นเดก็ เป็นสำคญั อยูใ่ นระดบั ยอดเยย่ี มทง้ั น้ผี ลการประเมินในดา้ นต่างๆมดี งั น้ี

มาตรฐานที่ ๑ ด้านคุณภาพเด็ก สถานศึกษาจัดประสบการณ์ที่ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านด้วย
กิจกรรมที่หลากหลาย ส่งผลเด็กปฐมวยั ร้อยละ 95.0๐ มพี ฒั นาการด้านรา่ งกายแขง็ แรง มสี ุขนิสัยท่ดี ี และดแู ล
ความปลอดภัยของตนเองได้ เดก็ รอ้ ยละ ๑๐๐ มพี ฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์
ได้ เด็กร้อยละ ๙๗.๕๐ มีพฒั นาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเองและเปน็ สมาชกิ ที่ดีของสงั คม เด็กรอ้ ยละ8๗.๕๐
มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้มีทกั ษะการคิดพื้นฐาน ผลรวมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็กปฐมวัยอยูใ่ น
ระดับยอดเยยี่ ม ร้อยละ ๘๗.๕

มาตรฐานที่ 2 ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ สถานศึกษามีระบบบริหารจัดการที่มี
ประสทิ ธภิ าพ มีหลักสูตรสถานศึกษาที่ครอบคลุมพฒั นาการท้ัง 4 ด้าน สอดคล้องกับหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย
ซง่ึ การจดั ทำหลกั สูตรดังกล่าวเป็นความรว่ มมือท้ังครู ผปู้ กครอง และชมุ ชน มีครูผสู้ อนทมี่ ีวุฒแิ ละความเชยี่ วชาญ
ท่เี พียงพอทกุ ระดับชัน้ มีสงิ่ แวดล้อมที่สะอาด ปลอดภยั เออื้ ต่อการเรยี นรูข้ องเด็ก พรอ้ มท้งั มีส่อื และเทคโนโลยีที่
สนับสนุนการจัดประสบการณ์ที่ได้มาตรฐาน ผู้บริหารเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษา

มาตรฐานที่ 3 ดา้ นการจัดประสบการณท์ เี่ นน้ เดก็ เปน็ สำคญั ครจู ดั ประสบการณใ์ หเ้ ดก็ ทม่ี ีประสิทธิภาพ
สามารถใช้สื่อและเทคโนโลยีเหมาะสมในการกระตุน้ การเรียนรู้ของเด็ก จนทำให้เด็กมีพัฒนาการท้ัง 4 ด้านสงู
กว่าที่สถานศึกษากำหนด ครูทุกคนจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ เพื่อให้มีพัฒนาการครอบคลุมทั้ง 4
ด้าน ครูรู้จกั เด็กเป็นรายบุคคล มกี ารจดั กิจกรรมที่สร้างโอกาสให้เด็กทกุ คนได้รับประสบการณ์ผ่านการเล่นและ
การลงมอื ปฏบิ ัตผิ ่านประสาทสัมผัสท้งั 5 ครูสามารถจดั บรรยากาศและส่ิงแวดลอ้ มทง้ั ในและนอกชั้นเรียนที่เอื้อ
ตอ่ การเรียนรู้ของเด็ก ครใู ชส้ ื่อและเทคโนโลยีเพื่อกระตุ้นพัฒนาการเด็ก ครูมกี ารประเมนิ ผลเด็กเป็นรายบุคคล
และนำผลมาพัฒนาการจดั ประสบการณ์ใหเ้ ด็กเพ่ือบรรลตุ ามเป้าหมายท่สี ถานศกึ ษากำหนด

จดุ เด่นของสถานศกึ ษา
จากการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2564 พบว่า
โรงเรยี นวดั บางไกรนอก(แย้มพร้อมอปุ ถัมภ)์ มจี ดุ เดน่ ในมาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสำคัญ ซึ่งสถานศึกษา มีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่ชัดเจน สอดคล้องกับการ
บริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชนท้องถิ่น จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
วตั ถุประสงคข์ องแผนการศึกษาแหง่ ชาติ นโยบายจุดเนน้ ของสำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานนทบุรี
เขต ๑ นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขึ้นพื้นฐานและนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
สามารถนำไปปฏบิ ตั ิไดอ้ ยา่ งเปน็ รูปธรรม รวมทัง้ ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม



จดุ ที่ควรพฒั นาของสถานศึกษา
จากการดำเนนิ งานตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ประจำปีการศึกษา 2564 พบวา่ โรงเรยี น
วัดบางไกรนอก(แย้มพร้อมอุปถัมภ์) มีจุดที่ควรพัฒนาในมาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษา
ดำเนินการโดย ให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นทุกกลุ่มสาระเป็นไปตามเป้าหมายทีส่ ถานศึกษาตัง้ ไว้เปน็ ไป
ตามค่าเปา้ หมายทสี่ ถานศกึ ษาวางเอาไว้ ซง่ึ ควรพฒั นาประเด็นพจิ ารณาใหไ้ ดร้ ะดบั คณุ ภาพทีส่ ูงขึ้นตามเป้าหมาย

แผนการดำเนินงานเพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐานให้สูงขึน้ /รกั ษาระดบั คุณภาพไว้
สถานศกึ ษาควรสง่ เสริมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกบั ชุมชนและสังคมภายนอกสถานศกึ ษาใหม้ ากข้ึน
โดยมุ่งหวงั ใหเ้ ด็กมีความเชอ่ื มัน่ ในตนเองและกล้าแสดงออกในสงิ่ ทดี่ งี าม เพื่อให้เด็กมปี ระสบการณ์และนำสิง่
สง่ิ ทด่ี จี ากภายนอกมาพฒั นาตนเองตอ่ ไป
1. จัดกิจกรรมการเรยี นรูโ้ ดยยดึ ศักยภาพของเดก็ แต่ละคน เชน่ กิจกรรมการเรียนรู้แบบ STEM
Educationโดยครูผู้สอนจัดกิจกรรมการสอนแบบ active Learning ซึ่งเป็นการเรียนการสอนที่ส่งเสริม
พัฒนาการท้ัง 4 ด้านเตม็ ศกั ยภาพของเด็กแตล่ ะคน
3. นำผลการประเมินคุณภาพเด็กไปใช้ในการพัฒนาเด็ก เช่น พัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มี
ทักษะการคิดพื้นฐานและแสวงหาความรู้ ซึ่งมีค่าเฉลีย่ น้อยกว่าพฒั นาการด้านอืน่ ๆโรงเรียนควรจัดทำโครงการ
กจิ กรรมเพิม่ เตมิ เชน่ โครงการบา้ นนกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อย ให้เด็กได้ลงมือปฏบิ ตั แิ ละนำเสนอผลงานหนา้ ช้ันเรยี น
4. ครคู วรส่งเสริมให้ผปู้ กครองได้มสี ่วนรว่ มในการประเมินพัฒนาการเดก็ เพ่ือทราบขอ้ มูลพฒั นาการเด็ก
นำมาเป็นแนวทางในการพัฒนาร่วมกันโดยจัดทำสมุดบันทึกของเด็กแต่ละคนมีการรายงานพฤติกรรมเด็กให้
ผปู้ กครองทราบทุกสปั ดาห์เพ่ือเปน็ การแลกเปลี่ยนและรบั ทราบปญั หาร่วมกนั



ส่วนท่ี 2 รายงานการประเมินตนเอง
บทที่ 1

ข้อมลู พืน้ ฐานของสถานศึกษา

1. ขอ้ มลู ท่ัวไปของสถานศึกษา
1.1 ที่ต้งั
ชือ่ สถานศึกษาโรงเรียนวัดบางไกรนอก(แย้มพรอ้ มอุปถัมภ)์ ทีอ่ ยู่เลขท่ี 134 หม่ทู ่ี 3 ตำบลบางขุนกอง

อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี รหัสไปรษณีย์ 111๓0 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
นนทบุรี เขต 1 โทรศัพท์ 029247008 โทรสาร - E-Mail [email protected] เปิดสอนระดับชั้น
อนุบาลปีที่ 2 ถงึ ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 มีเขตพ้ืนที่บรกิ าร 2 หม่บู ้าน ไดแ้ ก่ หมทู่ ี่ 3 และหมทู่ ่ี 5 ตำบล
บางขนุ กอง อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบรุ ี

1.2 ประวตั โิ รงเรียนโดยยอ่
โรงเรียนวัดบางไกรนอก ( แย้มพร้อมอุปถัมภ์ ) ตั้งอยู่เลขที่ 134 หมู่ที่ 3 ตำบลบางขุน
กอง อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี เดิมเป็นที่โรงเรียนราษฎร์ ชื่อโรงเรียนราษฎร์บำรุง ครั้นเมื่อมีการ
เปล่ียนแปลงการปกครองใน ปี พ.ศ. 2475 รฐั บาลไดส้ ่งเสริมการศึกษาประชาบาล โดยให้มีโรงเรียนประชาบาล
ตำบล ตำบลละ 1 โรงเรียน เริ่มจากการที่ตำบลบางกร่าง อำเภอเมืองนนทบุรี ตื่นตัวในการจัดการศึกษา
ประกอบกบั มีประชากรเพิ่มมากข้นึ เห็นวา่ โรงเรยี น วัดบางกรา่ งโรงเรยี นเดยี ว ไมเ่ พียงพอกับการรบั นักเรียน
คณะกรรมการโรงเรยี น จึงเสนอแนวคิดว่าโรงเรียนวดั บางไกรนอก มโี รงเรียนราษฎรส์ อนอยู่แล้ว มอี ปุ กรณ์และ
บคุ ลากร อยู่เรียบรอ้ ยและเปน็ โรงเรียน ท่ีต้ังอยูร่ ิมคลองบางกอกนอ้ ย อยู่ใกล้คลองตดิ ตอ่ กนั การเดินทางก็
สะดวกสบาย จึงขออนุญาตอำเภอบางกรวย ขอยืมสถานที่วัดบางไกรนอกสร้างเป็นโรงเรียนประชาบาลตำบล
บางกร่าง 2 โรงเรยี นราษฎรบ์ ำรงุ ก็เลกิ กิจการไป ตอ่ มาอำเภอเมืองนนทบรุ ี ได้โอนโรงเรยี นใหไ้ ปข้นึ อำเภอบาง
กรวย ตั้งแตว่ นั ที่ 1 เมษายน 2491 จึงใชช้ อ่ื ใหมว่ ่า“โรงเรยี นวัดบางไกรนอก” ตัง้ แต่นั้นเปน็ ตน้ มา

ในส่วนของอาคารเรียนเดิมเป็นรูปแบบ ป.2 กว้าง 8 เมตร ยาว 12 เมตร คณะกรรมการโรงเรียน
สมัยนั้นเป็นผู้ก่อตั้งโดยใช้งบบริจาค ในปี พ.ศ. 2505 ทางราชการได้ขยายการศึกษาถึงชั้นประถมศึกษาปี
ท่ี 7 โรงเรียนไดร้ ับเงนิ งบประมาณ 330,000 บาท (สามแสนสามหมืน่ บาทถว้ น) จงึ ไดก้ อ่ สรา้ งอาคารหลังใหม่
แ บ บ 017 แ ล ะ ใ น ป ี พ . ศ . 2521 จ ำ น ว น น ั ก เ ร ี ย น เ พ ิ่ ม ม า ก ข ึ ้ น ท า ง ร า ช ก า ร ไ ด ้ อ น ุม ั ต ิเงิน
งบประมาณ 480,000 บาท (ส่ีแสนแปกหมืน่ บาทถ้วน) ประชาชนบริจาคสมทบอีก 10,000 บาท (หน่ึงหม่ืน
บาทถ้วน) จึงได้ก่อสร้างอาคารเรียนหลังท่ี 2 แบบ 017 รวมมีอาคารเรียน 2 หลัง และได้สร้างสิ่งก่อสร้าง
เพิ่มเติมอกี ดงั น้ี

1. ปี พ.ศ. 2518 สรา้ งบ้านพักครู แบบองคก์ ารฯ งบประมาณ 33,000 บาท
2. ปี พ.ศ. 2518 สร้างส้วม ใช้เงนิ งบประมาณและบรจิ าคสมทบ
3. ปี พ.ศ. 2527 สร้างถังเกบ็ น้ำฝน แบบ ฝ.33 ใช้งบประมาณ 30,000 บาท
4. พ.ศ. 2529 สรา้ งสว้ มแบบ สปช. 602/26 งบ ส.ส และบรจิ าค 130,000 บาท
5. ปี พ.ศ. 2531 สรา้ งอาคารอเนกประสงค์ สปช. 201/26 ดดั แปลงงบประมาณ 280,000 บาท
6. ปี พ.ศ. 2541 สร้างอาคารอเนกประสงค์ แบบ สปช 201/26 ดัดแปลงงบ
บรจิ าค 330,000 บาท



ต่อมา อาคารเรยี นและอาคารประกอบหลงั ท่ี 1-5 ซึ่งไดส้ รา้ งมาเปน็ เวลานานชำรุดทรุดโทรมลงประเมนิ แล้วไม่
ค้มุ ค่า กับการซอ่ มแซมทางโรงเรียนจึงขออนุญาตรอ้ื ถอนไปหมดแล้ว คงเหลอื อาคารประกอบหลังที่ 6 ซ่งึ ใช้เป็น
อาคารอเนก - ประสงคแ์ ละโรงอาหารประกอบกับองค์การบริหารส่วนตำบลบางขุนกอง นำโดยนายอนุพงษ์ กัน
พุ่ม นายกองค์การ บริหารส่วนตำบลบางขุนกองและสภาองค์การบริการส่วนตำบลบางขุนกองในสมัยนั้นได้ให้
ความอนุเคราะห์งบประมาณ สร้างอาคารเรียนให้ 1 หลัง เป็นตึก 5 ชั้น 20 ห้องเรียน เริ่มดำเนินการปี
พ.ศ. 2550 แลว้ เสร็จในปี พ.ศ. 2552

ปัจจุบันโรงเรียนมีพื้นที่ทั้งสิ้น 1 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา ได้มาจากวัดบางไกรนอกให้ใช้
ประโยชน์ 326 ตารางวา และผู้มีจิตศรัทธา คือคุณยายพวง แย้มพร้อม และนายนิพนธ์ แย้มพร้อม
บุตรชาย บริจาคที่ดินที่ติดต่อกันให้ 2 ครั้ง รวม 234 ตารางวา รวมทั้งสิ้น 560 ตารางวา เพื่อเป็น
เกยี รตแิ ละแสดงความขอบคุณตอ่ ผูบ้ รจิ าคที่ดิน จึงขอเพิ่มช่ือเปน็
“โรงเรียนวัดบางไกรนอก( แย้มพร้อมอุปถัมภ์ )” และขอเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้น ร.ง.ช. พร้อมเครื่องหมาย
ตอบแทนให้กบั นายนิพนธ์ แย้มพร้อม

จัดแบ่งโครงสร้างการบริหารงานของโรงเรียนเป็น 4 งาน คือ งานบริหารงานวิชาการ การบริหาร
งบประมาณ การบริหารงานบคุ คลและงานบรหิ ารท่วั ไป

1.3 ปรชั ญา/วิสยั ทัศน์/พันธกจิ /เอกลักษณ์/อตั ลกั ษณ์
โรงเรียนวัดบางไกรนอก(แย้มพรอ้ มอปุ ถัมภ)์ ได้กำหนดวิสยั ทัศนข์ ององค์กรในแผนพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาดังน้ี
วสิ ยั ทัศน์ (Vision) โรงเรียนวัดบางไกรนอก(แยม้ พรอ้ มอปุ ถัมภ)์ มุ่งจัดการศึกษาใหไ้ ด้มาตรฐาน
ผเู้ รยี นมคี ุณธรรมตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์และมีความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ
รักษพ์ ลงั งานและส่งิ แวะล้อม โดยการสนบั สนุนของชมุ ชนและท้องถ่ิน
พนั ธกจิ (Mission)
เพือ่ ใหบ้ รรลวุ สิ ยั ทัศนด์ ังกล่าว โรงเรยี นบา้ นปลายคลองจงึ ได้กำหนดพันธกิจหลัก ๘ ประการไวด้ ังน้ี
พันธกจิ ท่ี ๑ จัดการเรยี นรตู้ ามมาตรฐานหลกั สูตรใหส้ อดคลอ้ งกับวยั และธรรมชาตขิ องนักเรียน
พันธกิจท่ี ๒ จัดการเรียนรู้โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นส่ือในการแสวงหาความรู้จากแหลง่ สารสนเทศต่างๆ
พันธกจิ ที่ ๓ จดั การเรียนรู้ท้ังท่ีเป็นสากล และวัฒนธรรม ประเพณีทอ้ งถ่นิ
พันธกิจท่ี ๔ ส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมที่ดงี ามของไทยและความมีระเบยี บวินัย
พนั ธกจิ ท่ี ๕ มุ่งเนน้ ให้ผูเ้ รียนเห็นคุณค่าของส่งิ แวดล้อม พลงั งาน รวมถึงการใช้อย่างคมุ้ ค่าและประหยัด
พันธกิจท่ี ๖ ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นใช้ชวี ติ ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง
พันธกจิ ท่ี ๗ พฒั นาขดี ความสามารถของบุคลากรใหม้ ที กั ษะตามกลุ่มสาระและการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการ
จดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ตามแนวการปฏริ ูปการศึกษา



เป้าประสงค์ (Goal)

ด้านผเู้ รยี น
1. ผเู้ รียนไดเ้ รยี นรู้ทุกกลุม่ สาระการเรยี นรเู้ ตม็ ศกั ยภาพ
2. ผู้เรียนมีความร้คู วามสาสมารถในการใชเ้ ทคโนโลยแี ละอนิ เตอร์เน็ต
3. ผู้เรยี นมคี วามรู้ทเี่ ป็นสากลบนพ้ืนฐานของความเปน็ ไทย
4. ผูเ้ รยี นมจี ติ สำนึกรักษส์ งิ่ แวดลอ้ มและพลงั งานใช้อยา่ งคุ้มคา่ และประหยดั
5. ผ้เู รยี นร้จู ักประหยดั อดออม ใชช้ ีวติ อยา่ งสมถะ

ดา้ นครูและบคุ ลากร
บุคลาการทกุ คนในโรงเรยี นสามารถใช้คอมพิวเตอรแ์ ละอนิ เทอรเ์ นต็ เป็นเคร่ืองมือแสวงหาความรูแ้ ละพฒั นางาน

ด้านบริหารจัดการ
1. พฒั นาการศึกษาโดยนำระบบวงจรคณุ ภาพ PDCA มาใชใ้ นการดำเนนิ งานทกุ ขนั้ ตอน
2. ผบู้ รหิ ารมภี าวะเปน็ ผู้นำและมีวสิ ัยทัศน์ในการบริหารและจดั การ
3. ใช้กระบวนการบริหารแบบ SBM ชุมชนและองคก์ รมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา
4. พฒั นาระบบข้อมูลสารสนเทศเพอื่ เสรมิ สรา้ งประสิทธิภาพการบรหิ าร

ยุทธศาสตร์ (Strategic)
โรงเรยี นวดั บางไกรนอก(แยม้ พรอ้ มอปุ ถมั ภ์) ได้กำหนดยุทธศาตร์เพื่อให้บรรลุวสิ ัยทัศน์ พันธกิจและ

เปา้ ประสงค์ไว้ 5 ยทุ ธศาสตร์ ดงั น้ี
ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ ดา้ นการจัดการศกึ ษาเพ่อื ความม่ันคง
ยุทธศาสตรท์ ่ี ๒ พัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน
ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ พัฒนาผบู้ ริหาร ครู และบุคลาการทางการศึกษา
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๔ สร้างโอกาสในการเข้าถงึ บริการการศกึ ษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน และลดความเหลอ่ื ม

ล้ำทางการศึกษา
ยุทธศาสตรท์ ่๕ี เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการ

คำขวัญ เรยี นดี มีภาวะผนู้ ำ คณุ ธรรมสูง
ปรัชญา (Philosophy) ปญฺญา นรานํ รตนํ ปญั ญาเปรียบเสมือนเครอื่ งประดับของคนดี

อตั ลกั ษณ์ (Identity) เรยี นดี มมี ารยาท
เอกลกั ษณ์ (Uniqueness) มภี าวะผ้นู ำ



๒. ระบบโครงสรา้ งการบริหารงาน



2. ขอ้ มูลบคุ ลากรของสถานศึกษา
3.1 จำนวนบคุ ลากร

บคุ ลากร ผู้บริหาร ขา้ ราชการครู ลูกจ้างประจำ ธุรการโรงเรียน ครจู า้ งสอน รวมทงั้ หมด

จำนวน 1 8 - - 6 15

3.2 วุฒกิ ารศกึ ษาสงู สุดของบุคลากร

บคุ ลากร ต่ำกวา่ ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท ปริญญาเอก รวมทัง้ หมด
จำนวน ปริญญาตรี ๙ ๖ - 1๕

-

3.3 สาขาวชิ าทีจ่ บการศกึ ษาและภาระงานสอน

สาขาวชิ า จำนวน (คน) ภาระงานสอนเฉลย่ี ของครู 1 คน
ในแตล่ ะสาขาวิชา (ชม./สปั ดาห์)
1. บรหิ ารการศกึ ษา
2. ภาษาไทย 1-
3. คณิตศาสตร์
4. วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3 19
5. ภาษาอังกฤษ
6. สงั คมศกึ ษา 2 19
7. ปฐมวยั
8. วัดผลการศึกษา 3 23
๙. พลศึกษา
10. นาฏศิลปไ์ ทยศึกษา 1 ๑๙

รวม ๑ ๑8

2 ๑7

--

๑ 19

1 18

15 1๘



4.ข้อมลู ผูเ้ รยี นและผู้สำเร็จการศึกษา
4.1 จำนวนนักเรียน ปกี ารศกึ ษา 256๔ รวม ………179……………. คน

ระดับชัน้ ชาย หญิง รวม
อนุบาลปีที่ 1
อนบุ าลปที ี่ 2 8 12 20
อนุบาลปที ่ี 3 10 10 ๒0
18 22 40
รวมระดบั อนุบาล 10 13 23
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ๑4 8 22
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 ๑1 8 19
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ๑1 11 22
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 ๑9 ๑2 31
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5 ๑2 ๑0 22
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 77 62 139
95 ๘4 179
รวมระดับประถมศึกษา
รวมจำนวนนักเรียนทกุ ระดบั

4.2 จำนวนนกั เรยี นทจ่ี บหลกั สตู ร
อนบุ าล 3 จำนวน ๒๐ คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 จำนวน ๒2 คน คิดเป็นร้อยละ 100

๔.๓) จำนวนวนั ทีส่ ถานศกึ ษาจดั การเรยี นการสอนในปีการศึกษา ๒๕๖๔ จำนวน ๒๐0 วนั

๕. ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกล่าสดุ ระดับคณุ ภาพ ดี
ระดับคณุ ภาพ ดี
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพผ้เู รยี น
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ระดบั คุณภาพ ดี
มาตรฐานท่ี ๓ การบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคัญ



6. ข้อมูลหลักสตู รการเรียนรู้
6.๑ โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นวัดบางไกรนอก(แยม้ พรอ้ มอปุ ถัมภ)์ ระดบั ปฐมวยั
ตารางกจิ กรรมประจำวนั ระดบั ปฐมวัย
กจิ กรรมประจำวันของโรงเรียนวดั บางไกรนอก(แย้มพร้อมอปุ ถมั ภ)์ กำหนดขึน้ โดยมจี ุดมุ่งหมายให้เดก็

ปฐมวัยได้รบั การพัฒนาอย่างรอบดา้ นดังนี้

เวลา กจิ กรรม
0๗.00 – ๐๘.๐๐ น. รบั เดก็ รายบุคคล
0๘.00 – ๐๘.๓๐ น. เขา้ แถว เคารพธงชาติ สวดมนต์
0๘.๓0 – ๐๙.๐๐ น. ตรวจสุขภาพ/ไปห้องนำ้
0๙.00 – ๐๙.๒๐ น. กิจกรรมเคล่อื นไหวและจงั หวะ
0๙.๒0 – ๐๙.๔๐ น. กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์
0๙.๔0 – ๑๐.๒๐ น. กิจกรรมศลิ ปะสร้างสรรค์
๑0.๒0 – ๑๐.๔๐ น. กจิ กรรมเล่นตามมมุ
๑0.๔0 – ๑๑.๐๐ น. กจิ กรรมเล่นกลางแจง้
๑๑.00 –๑๑.๓๐น. พัก/รบั ปรานอาหารกลางวนั
๑๑.๓0 – ๑๒.๐๐ น. แปรงฟนั
๑๒.๐0 – ๑๔.๐๐ น. นอนพักผ่อน
๑๔.๐0 – ๑๔.๓๐ น. เกบ็ ท่นี อน ล้างหนา้
๑๔.๓0 – ๑๔.๔๕ น. พัก/ด่ืมนม
๑๔.๔๕ – ๑๕.๐๐ น. เกมการศกึ ษา
๑๕.๐๐ – ๑๕.๒๐ น. สรุป ทบทวนกจิ กรรมประจำวนั
๑๕.๒๐ – ๑๕.๓๐ น. ผูป้ กครองรบั นักเรียนกลบั บา้ น

7. ขอ้ มลู ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนระดบั สถานศึกษาปีการศึกษา 2564
ระดบั ปฐมวยั รอ้ ยละของเด็กปฐมวยั ที่มีผลการประเมินพฒั นาการแต่ละด้านใ

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก มีประเดน็ พจิ ารณา 4 ประเดน็ พิจารณา
ประเด็นพจิ ารณาที่ 1 มพี ฒั นาการดา้ นร่างกาย แขง็ แรง มสี ุขนิสัยทด่ี ี และ

ตวั บ่งช้ี ระดบั ผลการประเมนิ พัฒนากา
คุณภาพ
ตวั บ่งช้ีท่ี 1 ระดบั
น้ำหนกั ส่วนสูง ตามเกณฑ์ 1 ร้อยละ คณุ ภาพ 2
ตวั บ่งช้ีที่ 2
เคลอื่ นไหวรา่ งกายคล่องแคล่ว (กำลัง (ปานกลาง)
ทรงตัวได้ดี พฒั นา)
ตวั บง่ ชท้ี ี่ 3
การดแู ลสุขภาพอนามยั ตนเอง ๒
ตวั บง่ ชท้ี ่ี 4
การปฏิบัติตนตามขอ้ ตกลง -- -
-- -
-- -

๑๐

ในระดบั 3 ข้นึ ไป
ะดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้
ารดา้ นรา่ งกาย แข็งแรง มีสุขนสิ ัยที่ดี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้

ระดบั ระดับ ระดับ
รอ้ ยละ คณุ ภาพ 3 รอ้ ยละ คณุ ภาพ 4 รอ้ ยละ คณุ ภาพ 5 ร้อยละ

(ด)ี (ดเี ลิศ) (ยอดเยย่ี ม)

๕ ๘ ๒๐ ๑๐ ๒๕ ๒๐ ๕๐

- 5 ๑๒.๕ ๑๐ ๒๕ 25 ๖๒.๕
- ๒ ๕ ๘ ๒๐ ๓๐ ๗๕
- ๒ ๕ ๑๐ ๒๕ ๒๘ ๗๐

ประเดน็ พจิ ารณาท่ี 1 มีพฒั นาการด้านร่างกาย แขง็ แรง มีสุขนิสัยทดี่ ี และดูแลควา

ผลการประเมินพฒั นากา

ตัวบ่งชี้ ระดบั ระดับ
คณุ ภาพ 1 ร้อยละ คุณภาพ 2
ตวั บง่ ช้ที ี่ 5
หลีกเลย่ี งสภาวะที่เสีย่ งต่อ (กำลังพฒั นา) (ปานกลาง)
โรคระวังภยั จากบุคคล
---

ผลการประเมนิ พฒั นา
และดูแลค

100

90

80

70 62.5

ร้อยละ 60 25
50 12.5
ตัวบง่ ชที้ ่ี 2
50

40

30 25
20

20

10 5

0
ตวั บง่ ชที้ ่ี 1

ปานกลา

จากแผนภมู ิพบวา่ มีพฒั นาการดา้ นร่างกาย แขง็ แรง มีสุขนิสยั ที่ดี และดูแลค
นำ้ หนักตามเกณฑม์ าตรฐาน จำนวน ๓๘ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๕ มสี ่วนสงู ตามเกณฑ

๑๑

ามปลอดภัยของตนเองได้(ต่อ) รอ้ ยละ

ารดา้ นร่างกาย แข็งแรง มสี ขุ นิสยั ที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้

ระดับ ระดับ ระดับ
รอ้ ยละ คุณภาพ 3 รอ้ ยละ คณุ ภาพ 4 ร้อยละ คุณภาพ 5

(ด)ี (ดีเลศิ ) (ยอดเยย่ี ม)

- ๕ ๑๒.๕ ๑๕ ๓๗.๕ ๒๐ ๕๐

าการด้านร่างกาย แข็งแรง มสี ุขนสิ ัยทด่ี ี
ความปลอดภยั ของตนเองได้

75 70 50
5 37.5
25
20 5 12.5
5

ตัวบง่ ชที้ ่ี 3 ตวั บง่ ชที้ ่ี 4 ตัวบง่ ชที้ ี่ 5

าง ดี ดีเลิศ ยอดเยย่ี ม

ความปลอดภยั ของตนเองได้ เดก็ ปฐมวัย ชน้ั อนบุ าล จำนวนทั้งหมด ๔๐ คน ตัวบ่งช้ีท่ี 1 มี
ฑ์มาตรฐาน จำนวน ๓๘ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๕ (อ้างองิ จากกรมอนามยั พ.ศ.2546) ตัว

บ่งช้ที ่ี 2 เดก็ ปฐมวยั เคลือ่ นไหวร่างกายคลอ่ งแคล่ว ทรงตวั ไดด้ ี จำนวน ๔๐ คน คิดเป
ละ 100 ตัวบ่งชี้ที่ 4 ดูแลรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนิสัยจำน
จำนวน ๔๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100

ประเดน็ พิจารณาที่ 2 มีพฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงอ

ผลการประเมนิ พฒั น

ตัวบง่ ชี้ ระดบั ร้อยละ ระดับ ร
คณุ ภาพ 1 คุณภาพ 2

(กำลงั (ปานกลาง)
พัฒนา)

ตัวบง่ ช้ที ี่ 1

รา่ เรงิ แจม่ ใส แสดงอารมณ์ความรสู้ กึ

ได้เหมาะสมกบั วัย -- -

ตัวบ่งชท้ี ่ี 2

รจู้ กั ยบั ยง้ั ช่ังใจ อดทนในการรอคอย - - -

ตวั บง่ ชี้ท่ี 3

ยอมรบั ในความสามารถของตนเอง

และผูอ้ นื่ -- -

ตัวบง่ ชีท้ ่ี 4

มจี ติ สำนึกและค่านยิ มทด่ี ี -- -

ตวั บ่งชี้ท่5ี มคี วามม่ันใจ กล้าพูด

กลา้ แสดงออก -- -

๑๒

ปน็ รอ้ ยละ100 ตวั บ่งช้ีท่ี 3 ใชม้ ือและตาประสานสมั พนั ธไ์ ด้ดี จำนวน ๔๐ คน คิดเป็นร้อย
นวน ๔๐ คน คิดเป็นร้อยละ 100 บ่งชี้ที่ 5 หลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อโรคและสิ่งเสพตดิ

ออกทางอารมณ์ได้

นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้
ระดับ ระดับ ระดบั

รอ้ ยละ คณุ ภาพ 3 ร้อยละ คณุ ภาพ 4 ร้อยละ คุณภาพ 5 ร้อยละ

(ดี) (ดีเลศิ ) (ยอดเยี่ยม)

- ๕ ๑๒.๕ ๑๕ ๓๗.๕ ๒๐ ๕๐

- ๑๒ ๓๐ ๑๕ ๓๗.๕ ๒๓ ๕๗.๕

- ๕ ๑๒.๕ ๑๕ ๓๗.๕ ๒๐ ๕๐

- - - ๑๕ ๓๗.๕ ๒๕ ๖๒.๕

- ๑๐ ๒๕ ๑๐ ๒๕ ๒๐ ๕๐

ตัวบง่ ชี้ ระดับ ผลการประเมนิ พฒั น
คุณภาพ 1 ระดบั
ตวั บ่งชท้ี ี่ 6
ช่วยเหลอื แบง่ ปนั เคารพสทิ ธิ รู้ (กำลงั รอ้ ยละ คณุ ภาพ 2 ร
หนา้ ทร่ี ับผิดชอบ พัฒนา)
ตัวบง่ ชี้ที่ 7 (ปานกลาง)
อดทนอดกลน่ั ซอ่ื สตั ย์สจุ ริต มี -
คุณธรรม จริยธรรม --
ตัวบง่ ช้ีที่ 8 -
ช่นื ชม มีความสขุ กบั ศิลปะ ดนตรี และ --
การเคลอ่ื นไหว -
--

๑๓

นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้
ระดับ ระดบั ระดับ

รอ้ ยละ คุณภาพ 3 ร้อยละ คุณภาพ 4 ร้อยละ คุณภาพ 5 รอ้ ยละ

(ดี) (ดีเลศิ ) (ยอดเยย่ี ม)

- ๑๐ ๒๕ ๑๐ ๒๕ ๒๐ ๕๐

- - - ๒๐ ๕๐ ๒๐ ๕๐
- - - ๒๐ ๕๐ ๒๐ ๕๐

ผลการประเมนิ พัฒนาการด้านอารมณ

ร้อยละ ๑๐๐. ๕๗.๕ ๕๐
๓๗.๕
๙๐. ๓๗.๕
๓๐
๘๐.
๑๒.๕
๗๐.
ตวั บ่งชี้ท่ี 2 0
๖๐. ตัวบ่งช้ที ี่ 3 ตวั
๕๐
ดี
๕๐.
๔๐. ๓๗.๕

๓๐.

๒๐. ๑๒.๕
๑๐.

๐.
ตัวบ่งชีท้ ่ี 1

จากแผนภูมิพบว่า มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกท

แสดงอารมณค์ วามรสู้ ึกไดเ้ หมาะสมกบั วยั จำนวน ๔๐ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ตวั บ่ง
3 ยอมรับ พอใจในความสามารถ ต่อผลงานของตนเองและผู้อ่ืน จำนวน ๔๐ คน คิด
100 ตัวบง่ ชี้ท่ี 5 มีความมัน่ ใจ กลา้ พดู กลา้ แสดงออก จำนวน ๔๐ คน คดิ เป็นรอ้ ยล

เปน็ ร้อยละ 100 ตวั บ่งช้ีท่ี 7 อดทนอดกล่ัน ซือ่ สตั ยส์ จุ รติ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม จำน
เคลอ่ื นไหว จำนวน ๔๐ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100

๑๔

ณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงทางอารมณ์ได้

๖๒.๕ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐
๕๐ ๒๕ ๒๕

๓๗.๕
๒๕ ๒๕

0 ตวั บ่งชท้ี ่ี 6 0 0
วบ่งชท้ี ี่ 4 ตวั บ่งชท้ี ี่ 5 ตัวบ่งชท้ี ี่ 7 ตวั บง่ ชที้ ่ี 8
ดีเลศิ ยอดเยย่ี ม

ทางอารมณ์ได้ เด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาล จำนวนทั้งหมด ๔๐ คน ตัวบ่งชี้ที่ 1 ร่าเริงแจ่มใส
งชที้ ่ี 2 รจู้ ักยับยั้งชัง่ ใจ อดทนในการรอคอย จำนวน ๔๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ตัวบ่งช้ีท่ี
ดเป็นร้อยละ 100 ตัวบ่งช้ีที่ 4 มีจิตสำนึกและค่านิยมที่ดี จำนวน ๔๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ
ละ 100 ตัวบง่ ช้ที ี่ 6 ชว่ ยเหลอื แบ่งปนั เคารพสทิ ธิ รูห้ น้าทร่ี บั ผิดชอบ จำนวน ๔๐ คน คิด

นวน ๔๐ คน คิดเป็นร้อยละ 100 ตัวบง่ ชีท้ ี่ 8 ช่ืนชม มคี วามสขุ กับศิลปะ ดนตรี และการ

ประเด็นพจิ ารณาที่ 3มพี ัฒนาการด้านสงั คม ช่วยเหลอื ตนเองและเป็นสมา

ผลการประเมิน

ตวั บง่ ชี้ ระดบั ร้อยละ ระดับ
คณุ ภาพ
คณุ ภาพ
1 (ปานกล

(กำลังพฒั นา)

ตวั บ่งชี้ท่ี 1 - - -
การปฏบิ ัตกิ ิจวตั รประจำวนั ของตนเอง - - -
ตัวบง่ ชีท้ ่ี 2 - - -
การมวี นิ ัยในตนเอง - - -
- - -
ตัวบ่งชี้ที่ 3 - - -
การประหยัดและพอเพียง - - -
ตวั บ่งชี้ท่ี 4
การดแู ลรกั ษาสิ่งแวดล้อม - - -
ตวั บง่ ชี้ท่ี 5
การมมี ารยาทตามวฒั นธรรมไทย
ตัวบ่งชที้ ี่ 6
การเคารพความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล
ตวั บ่งชี้ท่ี 7
การเลน่ และทำงานร่วมกับผู้อ่นื
ตัวบ่งชีท้ ่ี 8
การแกไ้ ขข้อขดั แย้งโดยไมใ่ ช้ความ
รนุ แรง

๑๕

าชกิ ท่ดี ขี องสงั คม

นพัฒนาการด้านสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเองและเปน็ สมาชกิ ที่ดขี องสงั คม

บ ร้อยละ ระดบั รอ้ ยละ ระดับ ระดบั รอ้ ยละ
พ2 คุณภาพ คณุ ภาพ ร้อยละ คณุ ภาพ 5

ลาง) 3 4 (ยอดเยย่ี ม)

(ด)ี (ดีเลศิ )

- - - ๒๐ ๕๐ ๒๐ ๕๐

- ๒๕ ๖๒.๕ ๑๐ ๒๕ ๕ ๑๒.๕
- ๑๕ ๓๗.๕ ๑๕ ๓๗.๕ ๑๐ ๑๕
- 10 ๒๕ ๑๐ ๒๕ ๒๐ ๕๐
- - - ๒๐ ๕๐ ๒๐ ๕๐
- ๕ ๑๒.๕ 15 ๓๗.๕ ๒๐ ๕๐
- - - ๒๐ ๕๐ ๒๐ ๕๐

- ๒๐ ๕๐ ๑๐ ๒๕ ๕ ๑๒.๕

ผลการประเมนิ พฒั นาการด้านสังคม

100

90

80

70 ๖๒.๕

ร้อยละ 60 ๕๐ ๕๐ ๓๗.๓๕๗.๕
50

40

30 ๒๕ ๒๕

20 ๑๒.๕ ๑๕

10 ตวั บง่ ชท้ี ่ี 2 ตวั บ่งชท้ี ี่ 3 ตวั
0

0
ตัวบ่งชที้ ่ี 1

ดี

จากแผนภมู พิ บว่า มพี ัฒนาการดา้ นสังคม ชว่ ยเหลือตนเองและเปน็ สมาชิกทีด่
การปฏิบตั กิ ิจวตั รประจำวัน จำนวน ๔๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ100 ตัวบ่งชท้ี ่ี 2 มวี นิ ัยใน
ดแู ลรักษาสิง่ แวดลอ้ มในและนอกห้องเรยี น จำนวน ๔๐ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ100 ตัว

ผู้ใหญ่ ฯลฯ จำนวน ๔๐ คน คิดเป็นร้อยละ 100 ตัวบ่งชี้ที่ 5 ยอมรับหรือเคารพค
วัฒนธรรม ฯลฯ จำนวน ๔๐ คน คิดเป็นร้อยละ 100 ตัวบ่งชี้ที่ 6 เล่นและทำงานรว่

ปราศจากความรุนแรง จำนวน ๔๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100

๑๖

ช่วยเหลือตนเอง และเป็ นสมาชิกทด่ี ีของสังคม

๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐ ๕๐

๓๗.๕

๕ ๒๕ ๒๕
๑๒.๕ ๑๒.๕

0 ตวั บ่งชี้ที่ 6 0 ตวั บง่ ช้ีที่ 8
วบ่งชที้ ่ี 4 ตัวบง่ ชท้ี ่ี 5 ตัวบ่งชที้ ี่ 7
ดีเลศิ ยอดเยย่ี ม

ดีของสังคม เดก็ ปฐมวยั ช้นั อนุบาล จำนวนทง้ั หมด ๔๐ คน ตวั บง่ ชที้ ี่ 1 ช่วยเหลือตนเองใน
นตนเอง ประหยดั และพอเพยี งจำนวน ๔๐ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ100 ตวั บง่ ชี้ที่ 3 มีส่วนร่วม
วบง่ ชี้ที่ 4 มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การยิ้ม ทักทาย และมสี มั มาคารวะกบั

ความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่นความคิด พฤติกรรม พื้นฐานครอบครัว เชื้อชาติ ศ าสนา
วมกับผู้อื่นได้ จำนวน ๔๐ คน คิดเป็นร้อยละ 100 และ ตัวบ่งชี้ที่ 7 แก้ไขข้อขัดแย้ง โดย

ประเด็นพจิ ารณาที่ 4มีพัฒนาการด้านสตปิ ัญญา ส่อื สารได้ มีทักษะการคดิ

ผลการประเมนิ พฒั นาการดา้ นสต

ตัวบ่งชี้ ระดบั ระดบั
คณุ ภาพ 1 รอ้ ยละ คณุ ภาพ 2 ร้อยละ
ตวั บ่งชีท้ ่ี 1
การสนทนาโตต้ อบและเลา่ (กำลังพฒั นา) (ปานกลาง)
เร่ืองให้ผูอ้ นื่ เขา้ ใจ
----

ตัวบ่งชท้ี ่ี 2 - - ๑๐ ๒๕
การตง้ั คำถาม และการค้นหา - ---
คำตอบ - - ๕ ๑๒.๕

ตวั บ่งชี้ที่ 3 - - ๕ ๑๒.๕
อ่านนทิ านและเล่าเรือ่ งได้ - - ๕ ๑๒.๕
เหมาะสมกับวยั

ตัวบ่งชท้ี ี่ 4
มคี วามสามารถในการคดิ
รวบยอด

ตวั บง่ ชท้ี ่ี 5
การคดิ เชิงเหตุผลทาง
คณิตศาสตร์และ
วทิ ยาศาสตร์

ตวั บ่งชที้ ี่ 6
การคิดแกป้ ัญหา และ
ตัดสนิ ใจ

๑๗

ดพน้ื ฐานและแสวงหาความร้ไู ด้ ร้อยละ

ตปิ ัญญา ส่อื สารได้ มที ักษะการคิดพนื้ ฐานและแสวงหาความรูไ้ ด้

ระดับ ระดบั ระดับ
ะ คุณภาพ 3 รอ้ ยละ คณุ ภาพ 4 รอ้ ยละ คุณภาพ 5

(ดี) (ดีเลศิ ) (ยอดเยยี่ ม)

๒๐ ๕๐ ๒๐ ๕๐ - -

๑๐ ๒๕ ๑๐ ๒๕ ๑๐ ๒๕

๑๐ ๒๕ ๑๕ ๓๗.๕ ๑๕ ๓๗.๕

๑๕ ๓๗.๕ ๑๐ ๒๕ ๑๐ ๒๕

๑๕ ๓๗.๕ ๑๐ ๒๕ ๑๐ ๒๕

๑๕ ๓๗.๕ ๑๐ ๒๕ ๑๐ ๒๕

ประเดน็ พิจารณาที่ 4 มพี ัฒนาการดา้ นสติปญั ญา สอ่ื สารได้ มที กั ษะการคิด

ผลการประเมนิ พฒั นาการด้านส

ตัวบง่ ช้ี ระดบั ระดบั ร้อ
คุณภาพ 1 ร้อยละ คณุ ภาพ
(กำลงั พัฒนา)
2
ตวั บง่ ช้ที ี่ 7 - - (ปาน
สร้างสรรค์ผลงานตามความคิด - - กลาง)
และจนิ ตนาการ
ตวั บ่งชี้ที่ 8 -
การใชส้ อ่ื เทคโนโลยีในการเรยี นรู้
-
ตัวบ่งชี้ท่ี 9 รจู้ ักใชเ้ ครอ่ื งมือตา่ ง
ๆ ในการเรียนรแู้ ละแสวงหา
ความรู้

๑๘

ดพ้นื ฐานและแสวงหาความรไู้ ด(้ ต่อ)
สติปญั ญา สือ่ สารได้ มที ักษะการคิดพน้ื ฐานและแสวงหาความร้ไู ด้

ระดับ ระดบั ระดบั

อยละ คณุ ภาพ รอ้ ยละ คณุ ภาพ รอ้ ยละ คณุ ภาพ 5 รอ้ ยละ
3 4 (ยอด

(ดี) (ดเี ลศิ ) เย่ยี ม)

- ๑๕ ๓๗.๕ ๑๕ ๓๗.๕ ๑๐ ๒๕
- - - ๒๐ ๕๐ ๒๐ ๕๐

๑๕ ๓๗.๕ ๑๕ ๓๗.๕ ๑๐ ๒๕

ผลการประเมนิ พัฒนาการด้านส
และแ

100

90

80

70

ร้อยละ 60 ๕๐๕๐

50 ๓๗๓.๕๗.๕ ๓๗.๕
40
30 ๒๕๒๕๒๕๒๕ ๒๕ ๒๕๒

20 ๑๒.๕

10 0 0 0
0

ตวั บง่ ชท้ี ี่ 1 ตวั บ่งช้ีที่ 2 ตัวบ่งชที้ ี่ 3 ตัวบ่งชีท้ ่ี

ปานกลาง

จากแผนภมู พิ บวา่ มีผลการประเมนิ พฒั นาการด้านสตปิ ัญญา สือ่ สารได้ มที กั
บ่งชี้ที่ 1 สนทนาโตต้ อบและเลา่ เรือ่ งให้ผูอ้ ืน่ เข้าใจ จำนวน ๔๐ คน คิดเปน็ ร้อยละ 10

๓๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๕ ตัวบ่งชีท้ ี่ 3 อ่านนิทานและเล่าเรื่องทีต่ นเองอ่านได้เหม
รวบยอด จำนวน ๓๕ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๘๗.๕ ตวั บ่งชี้ที่ 5 การคดิ เชงิ เหตุผลทางค
แก้ปัญหาและสามารถตัดสินใจในเรื่อง ง่าย ๆ ได้ จำนวน ๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ

เคลือ่ นไหวท่าทาง การเลน่ อสิ ระ จำนวน ๔๐ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ตวั บง่ ช้ที ี่ 8 ร
100 และ ตัวบง่ ช้ที ี่ 9 รู้จกั ใช้เคร่ืองมอื ต่าง ๆ ในการเรียนรแู้ ละแสวงหาความรู้ไดจ้ ำน

สรุปภาพรวมของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาล จำนวน ๔๐ คน โดยมีระดับคุณภา
เป้าหมายที่โรงเรียนวัดบางไกรนอก(แย้มพร้อมอุปถัมภ์) กำหนด มีความพร้อมใน
ประสบการณ์การเรยี นรู้ตามหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 ประจำปีก

และต่อเนอื่ ง มกี ารประสานความสัมพันธ์ การร่วมมือของพ่อแม่ ครอบครวั ชมุ ชน ตล
ตามศกั ยภาพ

๑๙

สตปิ ัญญา สื่อสารได้ มที กั ษะการคดิ พื้นฐาน
แสวงหาความรู้ได้

๓๗.๕ ๓๗.๕ ๓๗๓.๕๗.๕ ๕๐๕๐
๒๕ ๒๕๒๕ ๒๕๒๕ ๒๕ ๓๗.๓๕๗.๕
๒๕
๑๒.๕ ๑๒.๕

0

4 ตัวบ่งชีท้ ่ี 5 ตวั บ่งช้ีที่ 6 ตัวบ่งชท้ี ่ี 7 ตวั บง่ ช้ีท่ี 8 ตัวบง่ ชี้ที่ 9
ดี ดีเลศิ ยอดเย่ียม

กษะการคดิ พ้ืนฐานและแสวงหาความรไู้ ดเ้ ด็กปฐมวยั ช้นั อนุบาล จำนวนทง้ั หมด ๔๐ คน ตัว
00 ตัวบ่งช้ที ี่ 2 ตงั้ คำถามในส่ิงที่ตนเองสนใจหรือสงสัยและพยายามคน้ หาคำตอบ จำนวน

มาะสมกับวัย จำนวน ๔๐ คน คิดเป็นร้อยละ 100 ตัวบ่งชีท้ ี่ 4 มีความสามารถในการคดิ
คณติ ศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จำนวน ๓๕ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๘๗.๕ ตัวบ่งช้ีที่ 6 การคิด
๘๗.๕ ตัวบ่งชี้ที่ 7 สร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ เช่น งานศิลปะ การ

รจู้ กั ใชส้ อ่ื เทคโนโลยี เชน่ แวน่ ขยาย แมเ่ หลก็ กลอ้ งดิจติ อล จำนวน ๔๐ คน คิดเป็นร้อยละ
นวน ๔๐ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100

าพ ยอดเยี่ยม มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา บรรลุตาม
นการเข้าสู่กระบวนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ครูมีการจัด
การศึกษา 2564 มแี ผนงาน / โครงการ / กิจกรรมท่ีสง่ เสริมการพัฒนาเดก็ อยา่ งเปน็ ระบบ

ลอดจนถึงทุกฝ่ายท่ีเกยี่ วข้องในการสง่ เสริมพฒั นาการของเดก็ ให้เหมาะสมตามวัยและเต็ม

๒๐

8. สภาพบริบทของสถานศกึ ษา
สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมลี ักษณะเป็นที่ราบลุ่มติดคลองบางกอกน้อย เนื้อดินอุดมสมบูรณ์

สภาพถนนในหมู่บ้านเป็นถนนลาดยาง การคมนาคมมีทั้งทางรถและทางเรือ มีระบบสาธารณูปโภค ไฟฟา้
ประปา บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ ได้แก่ วัดบางไกรนอก วัดอุทยาน วัดไทยเจริญ และ
ประเพณ/ี ศลิ ปวฒั นธรรมท้องถิน่ ที่รู้จักโดยทัว่ ไป คอื ประเพณีตกั บาตรพระ ๑๐๘

ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ อาชีพหลัก รับจ้าง ค้าขาย พนักงาน
บรษิ ัท ประชากรส่วนใหญน่ บั ถอื ศาสนาพทุ ธ ประชากรมีฐานะทางเศรษฐกิจโดยมรี ายไดเ้ ฉลีย่ ต่อครอบครัวต่อ
ปี 30,000 บาท จำนวนคนเฉลี่ยตอ่ ครอบครัว 5 คน แหล่งเรียนรู้ทีส่ ำคัญในเขตบรกิ ารประกอบด้วย วัด
บางไกรนอก วัดอุทยาน วดั ไทยเจริญ

9.ขอ้ มูลด้านอาคารสถานที่
อาคารเรียน รปู แบบ ป.2 กว้าง 8 เมตร ยาว 12 เมตร จำนวน 1 หลัง ปที ่ีสร้าง 2505
อาคารเรยี น รูปแบบ 017 จำนวน 1 หลงั ปที ส่ี รา้ ง 2521
อาคารเรียน 1 หลงั เปน็ ตกึ 5 ชัน้ 20 หอ้ งเรยี น ปที ี่สร้าง พ.ศ. 2550
อาคารอเนกประสงค์ สปช. 201/26 ปที ี่สร้าง 2531
อาคารอเนกประสงค์ แบบ สปช 201/26 ปที ่ีสร้าง 2541
บ้านพกั ครู แบบองคก์ ารฯ ปีที่สรา้ ง พ.ศ. 2518
ส้วมแบบ สปช. 602/26 ปีท่สี รา้ ง 2529
ถงั เก็บนำ้ ฝน แบบ ฝ.33 ปีที่สรา้ ง 2527

๑0.ขอ้ มลู แหล่งเรยี นร้ภู ายในและภายนอกสถานศกึ ษา
แหล่งเรยี นรู้ภายในโรงเรยี นได้แก่
- ห้องสมุด
- ห้องพยาบาล
- ห้องวิทยาศาสตร์
- โรงอาหาร
- ห้ององั กฤษ

แหลง่ เรียนร้ภู ายนอกโรงเรียน
- คลองบางกอกน้อย
- วัดบางไกรนอก
- วัดอทุ ยาน
- วัดไทยเจริญ
- ร้านค้าใกล้โรงเรยี น
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางขุนกอง

ปราชญช์ าวบา้ น/ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ผ้ทู รงคุณวุฒิที่สถานศึกษาเชญิ มาใหค้ วามรแู้ ก่ครู นกั เรียน
1) นางสมุ าลี เกษรมาลา ใหค้ วามรู้เรือ่ ง จักสาน
2) นางฉลวย สุขโต ใหค้ วามร้เู รื่อง ทำอาหาร
3) นางสาววรี กานต์ เกดิ เกษ วิทยากรทอ้ งถน่ิ ให้ความร้เู ร่ือง ความเป็นมาคลองบางกอกน้อย

๒๑

ขอ้ มลู สภาพชุมชน
สภาพบรเิ วณโดยรอบเป็นสวนผลไม้ ดา้ นหน้าโรงเรียนติดกบั ซอยวดั บางไกรนอก ดา้ นทิศตะวนั ออก

ตดิ ต่อกบั บ้าน นายนิพนธ์ แยม้ พร้อม ซ่ึงเปน็ ผ้บู ริจาคท่ีดินใหก้ บั โรงเรียน ทิศตะวนั ตกตดิ ต่อกบั วัดบางไกร
นอก ดา้ นทิศเหนอื ติดกบั คลองบางกอกนอ้ ย รอบ ๆ บรเิ วณโรงเรียนมีรัว้ กัน้ ทงั้ 4 ดา้ น มีอาคารเรียนจำนวน
1 หลงั เป็นตกึ เป็นอาคารแบบขององคก์ ารบริหารสว่ นตำบลบางขนุ กอง ที่สรา้ งให้ในพ้นื ท่ขี องโรงเรยี น เพอ่ื

ใชป้ ระโยชนใ์ นการจัดการเรยี นการสอน สงู 5 ช้ัน 20 ห้องเรียน ไดใ้ ชเ้ ป็นห้องเรยี นตงั้ แต่ช้ันที่ 1 – 3
จำนวน 9 หอ้ งเรยี น นอกนั้นใชเ้ ป็นห้องพิเศษตา่ ง ๆ เช่น หอ้ งคอมพิวเตอร์ หอ้ งสมุด ห้องวทิ ยาศาสตร์

หอ้ งวชิ าการ หอ้ งพยาบาล และห้องประชุม ทกุ ช้ันของอาคารเรยี นจะมีหอ้ งสว้ มชาย-หญิงและอ่างล้างมอื
นอกจากน้ียังมีอาคารอเนกประสงค์ 1 หลังใชเ้ ปน็ โรงอาหาร และสถานที่จดั กจิ กรรมสนบั สนนุ การเรียนการ
สอน

ชุมชนรอบบรเิ วณโรงเรียนมีลกั ษณะเปน็ ชาวสวน ประชากรในเขตพน้ื ทบี่ ริการหมู่ 3 และหมู่ 5 มี
ประมาณ 2,782 คน อาศัยอยู่บรเิ วณใกลเ้ คยี งได้แก่ วดั บางไกรนอก คลองบางกอกน้อย วดั ไทยเจริญ วดั

อทุ ยาน อาชพี หลกั ของชมุ ชนเปน็ เกษตรกรทำสวน เน่ืองจากเปน็ ท่รี าบล่มุ มีนำ้ อุดมสมบูรณ์ นักเรียนนบั ถอื
ศาสนาพทุ ธ 100% ผู้ปกครองสว่ นใหญ่ จบการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) ฐานะทาง
เศรษฐกจิ /รายได้เฉลีย่ ต่อคน 96,000 ตอ่ ปี ประเพณีศลิ ปวฒั นธรรมท้องถน่ิ ทีเ่ ปน็ ท่รี จู้ กั ทว่ั ไปคอื การทำบุญ

ตักบาตรพระ 108 ซง่ึ ถือเปน็ วันสำคญั ทางศาสนา

๑๑. ขอ้ มูลรางวลั /ผลงานทโ่ี ดดเดน่

ประเภท ระดบั รางวลั / หนว่ ยงานท่มี อบรางวลั
โรงเรยี น ช่ือรางวลั ทไี่ ด้รบั
สำนกั งานคณะกรรมการ
โรงเรียน ผลการคัดสรรผลงานหนึง่ โรงเรียนหนงึ่ นวตั กรรม ประจำปี การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
การศึกษา 2564ระดบั ภมู ภิ าค ประจำปีการศกึ ษา 2564
ได้รบั รางวัลระดบั เหรียญเงนิ ชือ่ ผลงาน KIDPEN สำนักงานคณะกรรมการ
Model นวตั กรรมดา้ นบรหิ ารจดั การเรยี นการสอน การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

ผลงานนวัตกรรมการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์การ
แพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (โควิด - 19)
ท่เี ปน็ แบบอย่างได้ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564
ประเภทไดส้ ร้างสรรคผ์ ลงานนวัตกรรมฯ ผลงานระดับ
สถานศึกษา

๒๒

ประเภท ระดบั รางวลั / หน่วยงานท่ีมอบรางวัล
ชือ่ รางวลั ทไี่ ด้รับ
ผู้บริหาร สำนกั งานคณะกรรมการ
นายสนน่ั ไชยหงษ์ ผลงานนวตั กรรมการจดั การเรียนการสอนใน การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน
สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด
ของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ - 19) ท่ี
เป็นแบบอยา่ งได้ ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564

การอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารพฒั นาสมรรถนะการอา่ นขน้ั สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษา

สูง ด้วยเทคนิคบนั ได 6 ขั้น ประถมศกึ ษานนทบุรี เขต 1

ครผู สู้ อน ผลงานนวัตกรรมการจดั การเรยี นการสอนใน สำนกั งานคณะกรรมการ
นางสาวนทั จนนั ท์ ซ่อนกล่ิน สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโร การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
นา 2019 (โควดิ - 19) ที่เปน็ แบบอย่างได้ ภาค
ครูผูส้ อน เรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ประเภทไดส้ ร้างสรรค์ สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา
นายชัยวฒั น์ จ๋ิวโคราช ผลงานนวัตกรรมฯ ผลงานระดับสถานศกึ ษา ประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต 1
การอบรมการเสริมสร้างภมู ิคุ้มกนั ในการดแู ล
สุขภาพจิตเด็กนักเรยี นในโครงการเสรมิ สรา้ ง สำนักงานคณะกรรมการ
ภมู คิ ุ้มกันทางจติ เพอ่ื ป้องกนั ปัญหายาเสพตดิ การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

ผลงานนวตั กรรมการจัดการเรียนการสอนใน สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโร ประถมศกึ ษานนทบุรี เขต 1
นา 2019 (โควิด - 19) ที่เป็นแบบอยา่ งได้ ภาค
เรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 ประเภทไดส้ ร้างสรรค์
ผลงานนวตั กรรมฯ ผลงานระดับสถานศึกษา
การประชมุ แนวทางการขบั เคลื่อนการประเมนิ
คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนนิ งานของ
สถานศกึ ษา (ITA Online)

ครผู ู้สอน ผลงานนวัตกรรมการจดั การเรยี นการสอนใน สำนักงานคณะกรรมการ
นางสาวปาณสิ รา คำมูล การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโร
นา 2019 (โควิด - 19) ท่ีเปน็ แบบอย่างได้ ภาค
เรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 ประเภทไดส้ ร้างสรรค์
ผลงานนวัตกรรมฯ ผลงานระดบั สถานศกึ ษา

การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการครผู ู้สอนภาษาจนี สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา
“ภาษาจนี สำหรับชนั้ เรยี น” ประถมศึกษานนทบรุ ี เขต 1

๒๓

ประเภท ระดบั รางวลั /ชื่อรางวลั ที่ไดร้ ับ หน่วยงานที่มอบรางวลั
จังหวดั นนทบรุ ี
รางวัลสถานศกึ ษาสีขาวปลอดยาเสพตดิ และ
อบายมขุ ระดับดเี ดน่

ครผู ู้สอน เขา้ รว่ มงานสัมมนา “บทสรปุ การสรา้ งภูมิคุ้มกนั จาก สำนักงานกองทนุ สนบั สนนุ
นางสาวจริ าพร ทองหนูนุ้ย ปัจจัยเสีย่ ง เหล้า บหุ ร่ี การพนันและอุบตั เิ หตทุ าง การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ
ถนนสำหรับเด็กวัยอนบุ าลและนักเรยี นระดับช้นั
ประถมศกึ ษาตอนต้นผา่ นชุดสือ่ กิจกรรมของ สำนักงานคณะกรรมการ
โครงการอารักข์ และโครงการอาสา” การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน

ผลงานนวตั กรรมการจัดการเรยี นการสอนใน มลู นิธคิ รูดขี องแผ่นดนิ
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโร
นา 2019 (โควดิ - 19) ท่ีเปน็ แบบอย่างได้ ภาค
เรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ประเภทไดส้ รา้ งสรรค์
ผลงานนวัตกรรมฯ ผลงานระดับสถานศกึ ษา

รางวลั ครดู ีของแผน่ ดินข้นั พืน้ ฐาน

คณะทำงานการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการเสริมสรา้ ง สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา

ทักษะทางสมอง EF และทกั ษะชวี ติ สำหรบั เด็ก ประถมศกึ ษานนทบุรี เขต 1

ปฐมวัย

ครูตน้ แบบจิตอาสา โครงการพัฒนารปู แบบจดั การ สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา

เรียนการสอนทางไกลโดยใชว้ ดี ทิ ัศน์(Video Clip) ประถมศกึ ษานนทบุรี เขต 1

ครผู ู้สอน ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โค
นางสาวเพ็ญนภา พนั พนิ จิ
โรน่า 2019 (Covid-19)

เข้ารว่ มงานสัมมนา “บทสรปุ การสรา้ งภมู คิ ้มุ กนั จาก สำนกั งานกองทุนสนับสนนุ

ปจั จยั เส่ียง เหล้า บหุ ร่ี การพนันและอุบัตเิ หตทุ าง การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ

ถนนสำหรบั เด็กวยั อนุบาลและนักเรยี นระดับช้นั

ประถมศึกษาตอนตน้ ผา่ นชดุ ส่อื กิจกรรมของ

โครงการอารกั ข์ และโครงการอาสา”

ผลงานนวัตกรรมการจดั การเรียนการสอนใน สำนักงานคณะกรรมการ

สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโร การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

นา 2019 (โควิด - 19) ที่เปน็ แบบอยา่ งได้ ภาค

เรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 ประเภทไดส้ รา้ งสรรค์

ผลงานนวัตกรรมฯ ผลงานระดบั สถานศึกษา

ประกวดส่อื และนวัตกรรมในห้องเรียนทเ่ี ปน็ เลิศ สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา

สอดคล้องกับการพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ประถมศกึ ษานนทบรุ ี เขต 1

ของผู้เรยี น

๒๔

ประเภท ระดบั รางวัล/ หน่วยงานท่ีมอบรางวลั
ชอ่ื รางวลั ทไ่ี ด้รับ

ครตู ้นแบบจิตอาสา โครงการพฒั นารปู แบบจัดการ สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษา

เรยี นการสอนทางไกลโดยใช้วดี ิทัศน์(Video Clip) ประถมศึกษานนทบรุ ี เขต 1

ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโค

โรนา่ 2019 (Covid-19)

ครผู ูส้ อน การอบรมหลักสูตรส่งเสรมิ การเรยี นร้หู นา้ ทพ่ี ลเมือง สำนักงานคณะกรรมการ
นางสาวกนษิ ฐา วรรณวงษ์
ดจิ ิทัล สำหรบั ครปู ระถมศึกษา การศึกษาข้ันพื้นฐาน
ครผู ู้สอน
นายอนวุ ตั ร ธิระมาร ผลงานนวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอนใน สำนักงานคณะกรรมการ

ครผู ู้สอน สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโร การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
นางสาวพินทุสร แสงเนตร
นา 2019 (โควิด - 19) ท่ีเปน็ แบบอยา่ งได้ ภาค

เรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ประเภทได้สร้างสรรค์

ผลงานนวัตกรรมฯ ผลงานระดบั สถานศึกษา

วิทยากรอบรมครูและบคุ ลากรโรงเรียนศรเี ทพบาล สถาบันฝึกอบรม

เร่อื ง การจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณใน SNS TRAINING

สถานศกึ ษาแบบ Coding

ผลงานนวัตกรรมการจัดการเรยี นการสอนใน สำนกั งานคณะกรรมการ

สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโร การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

นา 2019 (โควิด - 19) ท่ีเปน็ แบบอย่างได้ ภาค

เรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 ประเภทได้สร้างสรรค์

ผลงานนวตั กรรมฯ ผลงานระดับสถานศกึ ษา

การอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร “การวดั และประเมินผล สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา

ตามแนวทางการประเมนิ ของ PISA ดา้ นการรเู้ รอื่ ง ประถมศกึ ษานนทบุรี เขต 1

วทิ ยาศาสตร์”

ผลงานนวตั กรรมการจัดการเรียนการสอนใน สำนกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาขน้ั พื้นฐาน
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโร
นา 2019 (โควดิ - 19) ที่เปน็ แบบอยา่ งได้ ภาค
เรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ประเภทได้สรา้ งสรรค์
ผลงานนวัตกรรมฯ ผลงานระดบั สถานศกึ ษา

๒๕

ประเภท ระดับรางวัล/ หนว่ ยงานท่มี อบรางวัล
ชือ่ รางวัลท่ีได้รบั
ครผู ู้สอน สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา
นางสาวทพิ าภรณ์ มะหนิ การประชมุ แลกเปล่ียนเรียนรู้วิธีการพัฒนาทกั ษะ ประถมศกึ ษานนทบุรี เขต 1
การสอ่ื สารภาษาอังกฤษ
ครูผ้สู อน
นางยุวดี ทองคำ ผลงานนวัตกรรมการจัดการเรยี นการสอนใน สำนักงานคณะกรรมการ

สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโร การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน

นา 2019 (โควดิ - 19) ที่เปน็ แบบอย่างได้ ภาค

เรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ประเภทได้สร้างสรรค์

ผลงานนวตั กรรมการจัดการเรยี นการสอนใน สำนกั งานคณะกรรมการ

สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโร การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

นา 2019 (โควดิ - 19) ที่เปน็ แบบอย่างได้ ภาค

เรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ประเภทไดส้ ร้างสรรค์

ผลงานนวัตกรรมฯ ผลงานระดบั สถานศกึ ษา

การอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ “การ สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา

จัดการเรียนรู้แบบโครงงานในสถานศกึ ษา” ประถมศกึ ษานนทบุรี เขต 1

ผลงานนวตั กรรมการจัดการเรยี นการสอนใน สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
ครผู ู้สอน สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโร
สำนกั งานคณะกรรมการ
นางสาวแก้วใจ จำปาทอง นา 2019 (โควดิ - 19) ที่เปน็ แบบอย่างได้ ภาค การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน

เรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ประเภทไดส้ รา้ งสรรค์

ผลงานนวัตกรรมฯ ผลงานระดบั สถานศกึ ษา

ครูผสู้ อน ผลงานนวัตกรรมการจดั การเรียนการสอนใน

นางสาวเณศรพี ถนอมสนิ ทรพั ย์ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโร

นา 2019 (โควิด - 19) ท่ีเปน็ แบบอย่างได้ ภาค

เรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ประเภทได้สรา้ งสรรค์

ผลงานนวตั กรรมฯ ผลงานระดับสถานศกึ ษา

๒๖

๑๒. ข้อมูลการวิเคราะหป์ ระสทิ ธภิ าพและโอกาสในการพฒั นาคุณภาพของสถานศกึ ษา

จากผลการวิเคราะห์ประสทิ ธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของโรงเรียนวัดบางไกรนอก(แย้ม
พร้อมอุปถัมภ์) ด้านปัจจัยนำเข้า (Input) ด้านกระบวนการ (Process) ด้านผลผลิต (Output/Outcome)
พบว่า โรงเรียนมีผลการวิเคราะห์ทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับ Y Y Y ซึ่งโรงเรียนมีการจัดห้องเรียน ครบตาม
ระดับชั้นที่เปิดสอน มีห้องปฏิบัติการ/ห้องพิเศษ/แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน มีสื่อเทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
อย่างหลากหลาย และครบทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้

โรงเรียนมีผู้อำนวยการสถานศึกษา มีครูครบทุกระดับชั้น และทุกรายวิชา ครูมีการพัฒนาตนเอง
ทั้งหมดในปีการศึกษาที่ผ่านมาเฉลี่ย 20 ชั่วโมงขึ้นไป ครูมีการเข้าร่วมกิจกรรม PLC 50 ชั่วโมงขึ้นไป มี
บุคลากรสนับสนุนงานวิชาการ และธุรการ โรงเรียนมีการประชุม/อบรม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องการพฒั นา
ระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษาใหก้ บั ครูทุกคน
ผู้ปกครองร้อยละ 80 ขึ้นไป เข้าร่วมประชมุ หรอื กิจกรรมของสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาเขา้ ร่วม
ประชุมกับสถานศึกษา อย่างน้อย 4 ครั้งต่อปี และได้รับการสนับสนุนอย่างเพียงพอ จนส่งผลต่อการพัฒนา
สถานศกึ ษา

๒๗

บทท่ี ๒
การดำเนนิ งานตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของเด็ก วิธกี ารดำเนนิ การ ผลการดำเนนิ การ

ประเด็นพิจารณา (How to) (Output/Outcome)

มีพัฒนาการดา้ นร่างกาย โรงเรยี นวัดบางไกรนอก(แย้ม เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นร่างกาย
แขง็ แรง มสี ุขนสิ ยั ท่ดี ี และดูแล
ความปลอดภัยของตนเองได้ พร้อมอุปถมั ภ์) มี แข็งแรง มีสขุ นสิ ยั ทีด่ ี และดูแล

กระบวนการพฒั นาเดก็ ท่ี ความปลอดภยั ของตนเองได้

หลากหลาย ส่งเสรมิ ให้เด็กมี ร้อยละ ๙๕ ในระดบั ยอดเย่ยี ม

พฒั นาการด้านรา่ งกาย แข็งแรง มี

สขุ นิสยั ท่ีดี และดูแลความ

ปลอดภัยของตนเองได้ โรงเรียน

วดั บางไกรนอก(แยม้ พรอ้ ม

อุปถัมภ์)จดั ให้เดก็ ไดร้ บั ประทาน

อาหารท่สี ะอาด ถกู สุขลกั ษณะ

ปรมิ าณเหมาะสมตามวยั มกี าร

ควบคมุ ดูแลให้เด็กดม่ื นมเป็น

ประจำทุกวันอย่างสม่ำเสมอ มีการ

ชัง่ น้ำหนัก วดั ส่วนสูง ภาคเรยี นละ

2 คร้ัง มีการจดั หา อุปกรณ์

ซ่อมแซมสนามเด็กเล่นให้มีความ

ปลอดภยั สะดวก พร้อมใช้งานอยู่

ตลอดเวลาไม่มีจดุ ที่เป็นอันตราย

มกี ฎ กติกา ขอ้ ตกลงในการดแู ล

ตนเองให้ปลอดภยั หลีกเลีย่ งจาก

อนั ตราย มีการจัดบอรด์ ให้ความรู้

แกเ่ ดก็ เกย่ี วกับโรคติดต่อในชมุ ชน

โรคติดตอ่ จากการอย่รู ว่ มกนั

อุบัตเิ หตุที่เกดิ ขึ้นไดใ้ น

ชวี ติ ประจำวัน มีการรณรงค์

ตอ่ ตา้ นยาเสพติด มกี ารจัด

กิจกรรมสุขภาพดมี สี ุขเพอ่ื สง่ เสริม

พัฒนาการดา้ นร่างกายให้กบั เดก็

และไดร้ บั ความร่วมมือจาก

โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพ ตำบล

บางขนุ กองในการดูแลส่งเสรมิ

สุขภาพอนามัยของเด็ก

๒๘

ประเด็นการพจิ ารณา การดำเนนิ การ ผลการดำเนนิ การ

มกี ารพฒั นาดา้ นอารมณจ์ ิตใจ โรงเรยี นวัดบางไกรนอก(แย้มพรอ้ ม เดก็ มพี ฒั นาการทางอารมณ์
ควบคมุ และแสดงออกทาง
อารมณ์ได้ อุปถมั ภ)์ มกี ระบวนการพฒั นาเดก็ จิตใจ ควบคุมและแสดงออก

จดั กิจกรรมวนั สำคัญทาง ทางอารมณ์ได้ รอ้ ยละ 100 ใน

พระพทุ ธศาสนา เชน่ พอ่ วนั แม่ วัน ระดบั ยอดเย่ยี ม

ไหวค้ รู วนั เข้าพรรษา สง่ เสรมิ

พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ

ปลูกฝังให้เด็กมคี วามซื่อสัตย์สุจรติ

ไมเ่ อาส่ิงของผู้อ่นื มาเป็นของ

ตน มีความอดทน มีความมัน่ ใจ

กล้าพดู กล้าแสดงออก ย้ิมแยม้

แจม่ ใส มีการจัดกจิ กรรมทางด้าน

ศิลปะ ดนตรี ให้นกั เรยี นไดว้ าด

ภาพ ระบายสี เพ่ือสรา้ ง

จนิ ตนาการและมอี ารมณ์ ให้เดก็ ได้

ทำกจิ กรรมดว้ ยความสนกุ สนาน มี

ปฏสิ มั พนั ธ์ที่ดกี บั เพ่อื น ทงั้ ในและ

นอกหอ้ งเรียน

มพี ฒั นาการดา้ นสงั คม โรงเรยี นวดั บางไกรนอก(แย้มพรอ้ ม เดก็ มพี ฒั นาการทางสังคม

ชว่ ยเหลอื ตนเองและเป็นสมาชิก อุปถมั ภ์) ไดส้ ่งเสรมิ ใหเ้ ด็กมี ช่วยเหลอื ตนเองและเปน็

ท่ดี ีของสงั คม พัฒนาการด้านสังคม ชว่ ยเหลือ สมาชิกทีด่ ขี องสังคม ร้อยละ

ตนเองและเป็นสมาชิกที่ดขี อง ๙๗.๕ ในระดบั ยอดเยีย่ ม

สังคม โดยดำเนินงาน โครงการ

สง่ เสรมิ คุณธรรมตามแนวทางวถิ ี

พทุ ธ เพอ่ื ใหเ้ ดก็ ทำความดี มี

มารยาทในกจิ วัตรประจำวัน

ประกอบด้วยกิจกรรมงามอย่างไทย

เพ่ือส่งเสริมใหเ้ ด็กมีมารยาทตาม

วัฒนธรรมไทยและรกั ความเปน็

ไทย โครงการจัดการเรียนร้สู คู่ วาม

พอเพียง และกิจกรรมออมเงนิ เพ่อื

พ่อ เพอื่ ช่วยสง่ เสรมิ ให้เด็กมีความ

ซื่อสัตย์สจุ ริต มคี วามประหยัดและ

พอเพียง

๒๙

ประเดน็ การพจิ ารณา การดำเนนิ การ ผลการดำเนนิ การ

มีพัฒนาการดา้ นสติปัญญา โรงเรียนวดั บางไกรนอก(แย้ม เด็กมีพัฒนาการด้านสตปิ ัญญา
สื่อสารได้มีทักษะการคดิ พื้นฐาน
และแสวงหาความร้ไู ด้ พร้อมอุปถมั ภ์) ไดส้ ่งเสรมิ ใหเ้ ด็กมี สื่อสารได้ มีทกั ษะการคดิ

พฒั นาการดา้ นสตปิ ัญญา ส่ือสาร พน้ื ฐาน ร้อยละ ๘๗.๕ในระดับ

ได้ มที กั ษะการคดิ พืน้ ฐาน และ ยอดเย่ยี ม

แสวงหาความร้ไู ด้ โดยการเข้ารว่ ม

โครงการบ้านนกั วทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย

ประเทศไทยทำให้เดก็ ได้ฝกึ

ปฏบิ ตั ิการทดลอง(Hand on) การ

สังเกต ความคิดสร้างสรรค์ รู้จัก

แก้ปญั หา มีการจดั กจิ กรรม

โครงงานโดยส่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ มคี วาม

สนใจเรยี นรสู้ ิ่งตา่ งๆ รอบตวั กลา้

ซกั ถามเพือ่ ค้นหาคำตอบ มกี ารจัด

โครงการส่งเสริมนสิ ยั รกั การอ่าน

เพ่อื ปลูกฝงั นสิ ัยรกั การอ่านและ

การแสวงหาความรู้ มกี ารสง่ เสรมิ

สนับสนนุ ให้เดก็ เข้าร่วมกจิ กรรม

การแขง่ ขนั ทักษะทางวชิ าการใน

ระดบั ตา่ งๆ มกี ารสรา้ งสรรค์

ผลงานดา้ นศิลปะโดยการวาดภาพ

ระบายสี การตัด ฉกี ตดั ปะ

สง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กไดเ้ สนอผลงานด้วย

ภาษาทเี่ หมาะสมตามวยั จดั

กจิ กรรมการเรยี นรนู้ อกหอ้ งเรยี น

ใหเ้ ดก็ ไดป้ ฏสิ มั พนั ธก์ ับ

บคุ คลภายนอก เรยี นรนู้ อก

สถานท่ี แก้ปญั หาในสถานการณ์

จรงิ

๓๐

สรปุ ผลการดำเนนิ งาน
โรงเรียนวดั บางไกรนอก(แยม้ พร้อมอปุ ถมั ภ)์ จัดประสบการณท์ คี่ รอบคลมุ พัฒนาการท้ัง ๔ ดา้ น ได้แก่

รา่ งกาย อารมณ์ สังคมและสตปิ ญั ญา ท้งั น้มี ีผลการดำเนนิ งานเชิงประจักษ์จากการประเมนิ ในดา้ นตา่ งๆ ดังน้ี

พัฒนาการดา้ นร่างกาย

100 95 95
อนบุ าล ๓ รวม
90 95

80
70
60
50
40
30
20
10

0

อนบุ าล ๒

รอ้ ยละ

จากแผนภูมิ พบว่า เด็กนักเรียนระดับชั้นอนุบาล ๒ และอนุบาล ๓ มีผลการประเมิน
พัฒนาการด้านรา่ งกาย แข็งแรง มีสุขนิสยั ทดี่ ี และดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้ ในระดับดีขึ้นไป
ร้อยละ ๙๕ ท้ังสองระดบั ชัน้ เมอื่ พจิ ารณาในภาพรวมทุกระดบั ช้ันอยใู่ นระดบั ยอดเยย่ี ม มีค่าเฉลย่ี รอ้ ย
ละ ๙๕ ซึ่งสูงกวา่ เป้าหมายทส่ี ถานศกึ ษากำหนดไวค้ ือ เดก็ มพี ฒั นาการด้านรา่ งกาย แข็งแรง มีสขุ นิสัย

ท่ดี แี ละดแู ลความปลอดภยั ของตนเองไดใ้ นระดบั ดขี นึ้ ไปรอ้ ยละ ๘๐

พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ

120

100
100 100 100

80

60

40

20

0 อนบุ าล ๓ รวม

อนบุ าล ๒

รอ้ ยละ

๓๑

จากแผนภูมิ พบว่า เด็กนักเรียนระดับชั้นอนุบาล ๒ และอนุบาล ๓ มีผลการประเมิน
พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ ในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ ๙๗.๕

ทั้งสองระดับชั้น เมื่อพิจารณาในภาพรวมทกุ ระดับช้ันอยูใ่ นระดับยอดเยี่ยม มีค่าเฉลี่ยร้อยละ ๙๗.๕
ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดไว้คือ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและ
แสดงออกทางอารมณ์ได้ในระดบั ดีขึน้ ไปรอ้ ยละ ๘๐

พฒั นาการด้านสังคม

101 100 97.5
100 อนบุ าล ๓ รวม

99
98
97
96
95

94 95

93
92

อนบุ าล ๒

รอ้ ยละ

จากแผนภูมิ พบว่า เด็กนักเรียนระดับชั้นอนุบาล ๒ และอนุบาล ๓ มีผลการประเมิน
พัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกทีด่ ีขอในระดังสังคมได้ในระดับดีขึ้นไป ร้อย
ละ ๙๕ และ ๑๐๐ ตามลำดับเมื่อพิจารณาในภาพรวมทุกระดับชั้นอยู่ในระดับยอดเยี่ยม มีค่าเฉลี่ย

ร้อยละ ๙๗.๕ ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดไว้คือ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือ
ตนเอง และเปน็ สมาชกิ ทีด่ ีของสังคมไดใ้ นระดบั ดขี ้นึ ไปรอ้ ยละ ๘๐

พฒั นาการด้านสตปิ ัญญา

91 85 87.5
90
89 90 อนบุ าล ๓ รวม
88
87
86
85
84
83
82

อนบุ าล ๒

รอ้ ยละ

๓๒

จากแผนภูมิ พบวา่ เดก็ นักเรียนระดบั ชนั้ อนบุ าล ๒ และอนบุ าล ๓ มผี ลการประเมนิ พฒั นาการดา้ น
สติปญั ญา สื่อสารได้ มที ักษะการคิดพ้นื ฐานและแสวงหาความรู้ได้ในระดบั ดีขน้ึ ไป รอ้ ยละ ๙๐ และ ๘๕

ตามลำดบั เมอื่ พิจารณาในภาพรวมทุกระดบั ช้นั อยู่ในระดับยอดเย่ียม มีค่าเฉลย่ี ร้อยละ ๘๗.๕ ซง่ึ สงู กว่า
เปา้ หมายท่สี ถานศกึ ษากำหนดไว้คือ เดก็ มีพัฒนาการด้านสติปัญญา ส่ือสารได้ มที ักษะการคิดพ้นื ฐานและ

แสวงหาความรไู้ ดใ้ นระดบั ดีขึน้ ไปรอ้ ยละ ๘๐

102 สรุปพัฒนาการทงั้ ๔ ดา้ น
100
100
98 97.5
96
94 95 อารมณ์ จิตใจ สงั คม 87.5 87.5
92 รย้ ละ
90 สตปิ ัญา รวม
88
86
84
82
80

รา่ งกาย

เมื่อพิจารณาในภาพรวม พบว่า เด็กระดับปฐมวัยมีผลการประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย ด้าน
อารมณ์ ด้านสังคม และสติปัญญาในระดับดีขึ้นไปร้อยละ ๙๕, 100, 97.5, 87.5 และสรุปภาพรวมด้าน
คุณภาพเด็กอยู่ในระดับดีขึ้นไปร้อยละ 87.5 ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษา
กำหนดไว้คอื เดก็ ระดบั ปฐมวัยมีผลการประเมนิ พฒั นาการด้านรา่ งกาย ด้านอารมณ์ ด้านสงั คม และสติปัญญา
ในระดับดีขึ้นไปรอ้ ยละ ๘๐ นักเรยี นชนั้ อนุบาล ๓ มคี วามพรอ้ มในการศึกษาระดับประถมศึกษา

๓๓

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

ประเดน็ การพจิ ารณา การดำเนนิ การ ผลการดำเนนิ การ

หลักสตู รครอบคลุมพฒั นาการท้ัง โรงเรียนวัดบางไกรนอก(แยม้ พรอ้ ม สถานศกึ ษามีหลกั สูตรสถานศึกษาท่ี
ยดื หย่นุ ออกแบบการจัด
4 ดา้ น สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของ อปุ ถมั ภ)์ ไดส้ ง่ เสรมิ ให้ สถานศึกษา ประสบการณ์ทเ่ี รยี มความพรอ้ มไม่
เร่งรัดวิชาการ มีการประเมิน
ทอ้ งถนิ่ มหี ลกั สตู รครอบคลมุ พฒั นาการท้งั หลกั สูตรสถานศกึ ษาให้สอดคล้อง
กบั หลักสตู รปฐมวัยและบริบทของ
4 ด้าน สอดคลอ้ งกับบริบทของ ทอ้ งถน่ิ รอ้ ยละ ๙๐ ในระดับ ยอด
เยย่ี ม
ทอ้ งถ่นิ โดยใชโ้ ครงการพัฒนา

คุณภาพการศกึ ษาปฐมวยั และ

โครงการการจัดการศึกษาโดยความ

รว่ มมือของชมุ ชนและทอ้ งถิ่น

สถานศึกษาจดั ครูใหเ้ พยี งพอกับ โรงเรียนวัดบางไกรนอก(แยม้ พรอ้ ม สถานศกึ ษาจัดครูใหเ้ หมาะสมกบั
ชัน้ เรียน
อปุ ถัมภ)์ ไดส้ ่งเสริมให้สถานศึกษา ภารกจิ การเรยี นการสอน และจัดครู
จดั ครใู ห้เพียงพอกบั ชั้นเรยี น มุ่งให้ ท่ีจบการศกึ ษาปฐมวยั โดยตรงอยา่ ง
ครูในสถานศึกษามโี อกาสทำงาน เพยี งพอกบั ชัน้ เรยี น ร้อยละ ๙๐ ใน

รว่ มกนั เปน็ ทมี หรอื เป็นกลุม่ ให้ทุก ระดบั ยอดเยี่ยม
คนมสี ่วนรว่ มและมีประสทิ ธิภาพ

การจดั การแบบมี สว่ นรว่ ม เนน้ การ
จดั การที่ผู้เก่ียวขอ้ งหรือควบคมุ
ปญั หาได้ โดยใช้โครงการพฒั นา

วชิ าชีพ เพื่อสง่ เสรมิ ให้ครมู ี
สมรรถนะในด้านการจัดการเรยี นกร

สอน พัฒนา และประเมนิ หลกั สตู ร
ตลอดจนสร้างความสัมพนั ธแ์ ละ
ร่วมมือกับชมุ ชน

๓๔

ประเด็นการพจิ ารณา การดำเนนิ การ ผลการดำเนนิ การ

ครมู คี วามเชีย่ วชาญด้านการจัด โรงเรียนวดั บางไกรนอก(แย้มพรอ้ ม สถานศึกษามีการส่งเสริมใหค้ รมู ี
ประสบการณ์
อุปถัมภ์) ได้ส่งเสรมิ ใหส้ ถานศึกษามี ความเชยี่ วชาญดา้ นการจดั

ครทู ี่มคี วามเชย่ี วชาญด้านการจดั ประสบการณท์ ีส่ ง่ เสริมพฒั นาการเดก็

ประสบการณ์ โดยใช้ โครงการ เปน็ รายบคุ คลตรงตามความตอ้ งการ

พฒั นาวชิ าชีพ เพื่อสง่ เสริมให้ครมู ี ของครูและสถานศกึ ษาและจัดให้มี

สมรรถนะในด้านการจดั การเรียนกร ชุมชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพมีการ

สอน พฒั นา และประเมินหลกั สูตร ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล

ตลอดจนสรา้ งความสัมพันธ์และ รอ้ ยละ ๙๐ ในระดับ ยอดเยีย่ ม

รว่ มมือกบั ชมุ ชน

จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพือ่ การ โรงเรียนวดั บางไกรนอก(แย้มพร้อม สถานศกึ ษาจัดสภาพแวดล้อมทัง้
เรียนรู้ อยา่ งปลอดภยั และ
อปุ ถัมภ์) ไดส้ ่งเสรมิ ใหส้ ถานศกึ ษา ภายในภายนอกห้องเรียนท่ีคำนงึ ถึง
เพยี งพอ
จดั สภาพแวดล้อมและสือ่ เพ่อื การ ความปลอดภัยสง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการ

เรยี นรู้ อย่างปลอดภยั และเพียงพอ เรียนรรู้ ายบคุ คลและรายกลมุ่ มีมมุ

โดยใช้ โครงการปรับปรุงอาคาร ประสบการณห์ ลากหลาย มสี ือ่ การ

สถานที่ ภมู ิทัศน์ และความ เรยี นรู้เพ่อื การสบื เสาะของเด็กที่

ปลอดภัย เพียงพอและหลากหลาย รอ้ ยละ 85

ในระดับ ยอดเยย่ี ม

บริการสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ โรงเรียนวัดบางไกรนอก(แย้มพรอ้ ม สถานศึกษาอำนวยความสะดวกและ
และส่ือการเรยี นรูเ้ พอื่ สนบั สนุน อุปถมั ภ)์ ได้สง่ เสรมิ ให้สถานศกึ ษา ใหบ้ ริการสอ่ื สารสนเทศและอุปกรณ์

การจัดประสบการณ์ ให้มบี ริการสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ เพือ่ การจดั การจดั ประสบการณ์และ
และสื่อการเรยี นร้เู พ่ือสนบั สนุนการ พัฒนาครูให้เหมาะสมกับบริบทของ
จัดประสบการณ์ โดยใช้โครงการ สถานศกึ ษา ร้อยละ ๘๕ ในระดบั

สง่ เสริมการเรียนรูค้ อมพิวเตอร์ ยอดเย่ยี ม
อินเตอร์เนต็

ระบบบรหิ ารคณุ ภาพทเี่ ปดิ โอกาส โรงเรียนวดั บางไกรนอก(แย้มพรอ้ ม มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของ
ให้ผูเ้ ก่ียวข้องทกุ ฝา่ ยมีสว่ นร่วม อุปถมั ภ์) ไดส้ ง่ เสรมิ ให้สถานศกึ ษา สถานศึกษาท่มี คี วามเหมาะสมและ
ใช้ระบบบริหารคุณภาพท่ีเปดิ โอกาส ตอ่ เน่อื งมกี ารชีแ้ นะระหว่างการ

ใหผ้ ู้เก่ยี วข้องทุกฝ่ายมสี ่วนรว่ ม โดย ปฏบิ ตั ิงานสง่ ต่อคณุ ภาพตามมารฐาน
ใชโ้ ครงการการจดั การศกึ ษาโดย ของสถานศึกษาบรู ณาการการ

ความรว่ มมือของชุมชนและทอ้ งถ่นิ ปฎบิ ัตงิ านและเปิดโอกาสให้
ผเู้ กี่ยวขอ้ งทุกฝา่ ยมีสว่ นรว่ มจนเป็น
แบบอยา่ งทดี่ แี ละไดร้ บั การยอมรับ

จากชุมชนและผ้มู สี ่วนเกี่ยวข้องทุก
ฝา่ ย รอ้ ยละ 8๕ ในระดับ ยอดเย่ียม

๓๕

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ

ประเดน็ การพจิ ารณา การดำเนินการ ผลการดำเนินการ

จัดประสบการณ์ทสี่ ง่ เสริมให้เด็กมี โรงเรยี นวัดบางไกรนอก(แย้มพร้อม ครูจัดกิจกรรมทส่ี ่งเสริมใหเ้ ด็กมี

พฒั นาการทกุ ด้านอย่างสมดลุ เต็ม อปุ ถัมภ์) ไดส้ ่งเสริมให้ครจู ัด พัฒนาการทกุ ดา้ นอย่างสมดลุ เต็ม

ศกั ยภาพ ประสบการณ์ที่สง่ เสริมใหเ้ ด็กมี ศกั ยภาพรอ้ ยละ ๘๕ ในระดับ ยอด

พฒั นาการทกุ ด้านอย่างสมดลุ เต็ม เยีย่ ม

ศักยภาพ โดยใช้โครงการพฒั นา

คุณภาพการศึกษาปฐมวัย โดยครู

วเิ คราะห์ขอ้ มูลเดก็ เปน็ รายบุคคล

จดั ทำแผนการจดั ประสบการณ์ จาก

การวเิ คราะห์มาตรฐานคุณลกั ษณะ

ทพี่ งึ ประสงคใ์ นหลกั สตู ร

สถานศึกษา ออกแบบหนว่ ยการ

เรยี นรทู้ ีส่ อดคลอ้ งกบั หลกั สตู ร

การศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช

๒๕๖๐ มีหน่วยการเรียนรู้ตลอดปี

การศกึ ษา และมกี จิ กรรมท่ีสง่ เสริม

พฒั นาการเดก็ ครบทกุ ดา้ นทัง้ ดา้ น

รา่ งกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ดา้ น

สงั คม และด้านสตปิ ัญญา ไม่มุ่งเนน้

การพัฒนาดา้ นใดดา้ นหนงึ่ เพยี งดา้ น

เดยี ว

สร้างโอกาสใหเ้ ดก็ ได้รบั โรงเรยี นวดั บางไกรนอก(แยม้ พร้อม ครูสรา้ งโอกาสใหเ้ ดก็ ได้รับ

ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏิบตั ิ อปุ ถมั ภ์) ไดส้ ง่ เสริมใหค้ รูสรา้ ง ประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ตั ิ

อยา่ งมีความสุข โอกาสให้เด็กไดร้ ับประสบการณ์ตรง อย่างมีความสขุ ร้อยละ ๘๕ ใน

เล่นและปฏิบตั อิ ย่างมคี วามสุข โดย ระดับ ยอดเยีย่ ม

ใชโ้ ครงการพฒั นาคุณภาพ

การศกึ ษาปฐมวัย โครงการบ้าน

นักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย โดยครจู ดั

ประสบการณท์ ่เี ชอื่ มโยงกับ

ประสบการณ์เดิมใหเ้ ดก็ มีโอกาส

เลือกทำกิจกรรมอยา่ งอสิ ระ ตาม

ความตอ้ งการ ความสนใจ

ความสามารถ ตอบสนองต่อวธิ ีการ

เรียนร้ขู องเดก็ เปน็ รายบคุ คล

หลากหลายรปู แบบจากแหล่งเรียนรู้

ที่หลากหลาย เดก็ ได้เลอื กเล่น

เรยี นรู้ ลงมอื กระทำ และสร้างองค์

ความร้ดู ว้ ยตนเอง

๓๖

ประเด็นการพจิ ารณา การดำเนนิ การ ผลการดำเนินการ

จัดบรรยากาศทีเ่ อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ โรงเรยี นวัดบางไกรนอก(แยม้ พร้อม ครูสร้างโอกาสใหเ้ ด็กได้รบั

ใชส้ ่ือและเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกบั อุปถัมภ์) ไดส้ ่งเสริมใหค้ รจู ัด ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏบิ ตั ิ

วัย บรรยากาศทเี่ อื้อต่อการเรียนรูใ้ ช้สอ่ื ย่างมีความสุขรอ้ ยละ 8๕ ในระดบั

และเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมกับวยั จัด ยอดเยี่ยม

หอ้ งเรยี นให้สะอาด อากาศถา่ ยเท

ปลอดภัย มพี นื้ ท่ีแสดงผลงานเด็ก

พื้นท่ีสำหรบั มมุ ประสบการณ์ โดย

ใชโ้ ครงการพฒั นาคุณภาพ

การศึกษาปฐมวยั ครใู ช้สือ่ และ

เทคโนโลยที ่ีเหมาะสมกบั ช่วงอายุ

ระยะความสนใจ และวิถีการเรยี นรู้

ของเด็ก

ประเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพ โรงเรยี นวดั บางไกรนอก(แยม้ พรอ้ ม ครปู ระเมนิ พัฒนาการเด็กตาม
จรงิ และนำผลการประเมนิ
อปุ ถมั ภ์) ไดส้ ่งเสริมใหค้ รปู ระเมนิ สภาพจรงิ และนำผลการประเมนิ
พฒั นาการเด็กไปปรับปรุงการจัด
ประสบการณ์และพัฒนาเดก็ พฒั นาการเดก็ ตามสภาพจริงและนำ พฒั นาการเดก็ ไปปรับปรงุ การจัด

ผลการประเมนิ พัฒนาการเด็ก โดย ประสบการณ์และพฒั นาเด็กร้อยละ

ใชโ้ ครงการพัฒนาคุณภาพ 8๕ ในระดบั ยอดเยย่ี ม

การศึกษาปฐมวัย จากกิจกรรมการ

สอนตามแผนการจดั ประสบการณ์

และกิจวตั รประจำวนั ด้วยเครื่องมอื

และวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย ไมใ่ ช้

แบบทดสอบวิเคราะหผ์ ลการ

ประเมินพัฒนาการ เดก็ โดย

ผู้ปกครองและผู้เกยี่ วขอ้ งมสี ว่ นรว่ ม

และนาํ ผลการประเมนิ ท่ไี ด้ไปพัฒนา

คุณภาพเด็ก และแลกเปลีย่ นเรียนรู้

การจัดประสบการณ์ที่มี

ประสิทธิภาพ

๓๗

บทท่ี ๓
สรุปผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

กระบวนการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนวัดบางไกรนอก(แยม้ พร้อมอุปถัมภ์) ได้ดำเนินกระบวนการจัดทำรายงานผลประเมินตนเอง

ดงั น้ี
1. แต่งตั้งคณะทำงานประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา ครูและบุคลากรผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

รวบรวมข้อมูลสารสนเทศเชิงประจักษ์ตามประเด็นพิจารณาในแต่ละมาตรฐานการศึกษา ผลการดำเนินงาน
โครงการต่าง ๆ ในแผนปฏิบตั กิ ารประจำปี ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของสถานศกึ ษา ฯลฯ (Plan)

2. เขียนรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ตามแนวทางการเขียนรายงานผลการประเมิน
ตนเองของสถานศกึ ษาของสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษานนทบุรี เขต ๑ ซง่ึ มีสาระสำคัญ 2 ส่วน
คอื ส่วน 1 บทสรุปสำหรับผบู้ รหิ าร และส่วนที่ 2 รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Do)

3. ตรวจสอบกล่นั กรองรายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาเพือ่ พิจารณาประเด็นที่ตกหล่น
หรือเพ่มิ เติมรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาให้สมบูรณ์ทส่ี ุด นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษา
พจิ ารณาให้ความเห็นชอบและรับรองรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Check)

4. ศึกษา วิเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพื่อนำไปใช้ในการวางแผน
ดำเนินการพัฒนาระดับคุณภาพใหส้ ูงขนึ้ หรอื รกั ษาระดับคุณภาพไว้ ในปกี ารศกึ ษาตอ่ ไป (Action)

5. เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ผ่านช่องทางเฟซบุ๊ค และ
สารประชาสัมพันธ์ของสถานศึกษาให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับทราบถึงการดำเนินงานในปีที่ผ่านมา
(Accountability)


Click to View FlipBook Version