37 ปัจจัยแห่งความส าเร็จ - สมาชิกสหกรณ์และกรรมการด าเนินการ ต้องมีความรู้ความเข้าใจ ในหลักการสหก รณ์สหกรณ์เป็นการรวมคน ดังนั้นคนที่มารวมกันจ าเป็นต้องเข้าใจถึงความมุ่งหมาย ในการรวมกัน รู้ถึง สิทธิและหน้าที่ รวมทั้งหลักและวิธีการสหกรณ์จึงจะท าให้ด าเนินกิจการได้โดยราบรื่น มีความมั่นคงและ เข้มแข็ง สามารถอ านวยประโยชน์ให้สมาชิกได้สมความมุ่งหมาย - ผู้จัดการสหกรณ์ สหกรณ์ต้องท าธุรกิจ ต้องมีผู้รับผิดชอบการด าเนินงานและควบคุม กิจการของสหกรณ์อย่างใกล้ชิด ผู้จัดการสหกรณ์ต้องท างานให้สหกรณ์เต็มเวลา ควรมีประสบการณ์ ในการด าเนินธุรกิจ มีความสามารถซื่อสัตย์ ขยันขันแข็ง และมีความรู้ในหลักการวิธีการสหกรณ์ - ทุนด าเนินงานสหกรณ์ ได้มาจากค่าหุ้น เงินรับฝาก เงินกู้ยืม เงินช่วยเหลือจากบุคคล อื่นๆ และก าไรที่สะสมไว้ สหกรณ์จึงควรประมาณการไว้ว่าจะได้เงินทุนเป็นจ านวนเท่าใด จะได้มาจาก ไหน และถ้าไม่เพียงพอจะหาเพิ่มเติมได้โดยวิธีใด - ปริมาณธุรกิจที่เพียงพอ สหกรณ์ต้องมีรายจ่ายจากการด าเนินธุรกิจ รายจ่ายบาง ประเภทคงที่ไม่ว่าจะท าธุรกิจมากน้อยเท่าใด เช่น เงินเดือน ค่าสึกหรอ เป็นต้น ดังนั้น สหกรณ์จะต้อง ท าธุรกิจให้มาก พอจนมีรายได้คุ้มกับรายจ่าย สหกรณ์จึงต้องประมาณดูว่าสหกรณ์สมควรท าธุรกิจกับ สมาชิกในด้านไหนมากน้อยเพียงใด ตลอดจนการโฆษณาเชิญชวนหรือชักชวนให้สมาชิกมาท าธุรกิจกับ สหกรณ์ให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้
38 ประกอบด้วย สหกรณ์ 5 แห่ง สมาชิก 1,891 คน กลุ่มเกษตรกร 5 แห่ง สมาชิก 284 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) 1. ด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ประกาศนายทะเบียนสหกรณ์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1.1 แนะน า ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถปิดบัญชีได้ ภายใน 30 วัน 1.2 แนะน า ส่งเสริม สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี ได้ภายใน 150วัน 1.3 การให้ความเห็นชอบการก าหนดวงเงินกู้ยืมหรือการค้ าประกัน ประจ าปีของ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.4 การตรวจการสหกรณ์ 1.5 ติดตามการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.6 ติดตามแก้ไขตามข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี 1.7 ส่งเสริมแนะน า สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดท าระเบียบ เพื่อให้นายทะเบียน สหกรณ์ให้ความเห็นชอบ/รับทราบระเบียบของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.8 การรับจดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. ส่งเสริมและพัฒนางานสหกรณ์ทุกประเภท และกลุ่มเกษตรกร 2.1 เข้าร่วมประชุมประจ าเดือนกับคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2.2 เข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์และร่วมเวที (หรือเวทีชาวบ้าน) รับฟังความ คิดเห็นจากสมาชิก ประชาชนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เกี่ยวกับการด าเนินงาน การประกอบอาชีพ ปัญหาอุปสรรค หรือเรื่องอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์กับสมาชิก 2.3 เสวนาแบบมีส่วนร่วมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2.4 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีผลการด าเนินงานตามงบการเงินที่ผ่านการรับรองจาก ผู้สอบบัญชีแล้ว ไม่ขาดทุน เช่นเดียวกับปีบัญชีที่ผ่านมา 2.5 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีผลการด าเนินงานตามงบการเงินที่ผ่านการรับรองจาก ผู้สอบบัญชีแล้ว ขาดทุนลดลง เช่นเดียวกับปีบัญชีที่ผ่านมา 2.6 ส่งเสริมให้สมาชิก/ผู้แทนสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเข้าร่วม ประชุมใหญ่สามัญ ประจ าปีเพิ่มขึ้น 2.7 ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ผ่านมาตรฐานปี 62 รักษามาตรฐาน 2.8 ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ไม่ผ่านมาตรฐานปี 62 ให้ผ่านมาตรฐาน 2.9 แนะน าส่งเสริมเกี่ยวกับการบริหารเงินทุน 2.10 ส่งเสริม แนะน า และติดตามการใช้อุปกรณ์การตลาด 2.11 การเข้าส่งเสริม แนะน า สนับสนุน และติดตามให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่หยุด ด าเนินธุรกิจ หรือไม่พบที่อยู่ สามารถด าเนินธุรกิจได้ หรือจ าเป็นต้องเข้าสู่กระบวนการช าระบัญชี อ ำเภอชนแดน
39 3. ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ให้แก่ บุคลากรสหกรณ์กลุ่มเกษตรกรและประชาชนทั่วไป 4. ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรและสหกรณ์ 4.1 ส่งเสริมการเพิ่มปริมาณธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 4.2 แนะน า ส่งเสริมให้สมาชิกของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีส่วนร่วมในการด าเนิน ธุรกิจกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 4.3 แนะน า ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่จัดตั้งใหม่ให้ด าเนินงานได้ 5. ปฏิบัติตามคู่มือการปฏิบัติงานระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (Cooperatives Promotion System : CPS) 5.1 วิเคราะห์สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ด าเนินการโดยใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอย่างน้อย 2 เครื่องมือ ตามหลักวิชาการ 5.2 ค้นหาสาเหตุที่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรหยุดด าเนินการ 5.3 จัดท าแบบสรุปประเด็นการส่งเสริม ตามผลการวิเคราะห์ มีกิจกรรม/แผนงาน/โครงการ ครบถ้วน 5.4 น าเสนอผลการวิเคราะห์ต่อที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.1 ปัญหาภายในองค์กร - เกี่ยวกับสมาชิกผู้เป็นเจ้าของสหกรณ์ยังไม่รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองเท่าที่ควร ในการเป็น เจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ที่พึงกระท า - กรรมการผู้เป็นผู้แทนในการบริหารงานส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจ ในการบริหารองค์กร และบริหารงานธุรกิจ - สหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรจะไม่มีความสามารถในการจ้างพนักงานเจ้าหน้าที่ - ฝ่ายตรวจสอบหรือผู้ตรวจสอบกิจการที่ยังไม่มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบเพียงพอ - ทุน (ที่ดิน เงินทุน แรงงาน ฯลฯ) ไม่เพียงพอ 1.2 ปัญหาภายนอกองค์กร - ความชัดเจนในนโยบายสนับสนุนต่างๆ ตลอดถึงในแต่ละยุคสมัยไม่ต่อเนื่องสอดคล้องกัน - การแข่งขันด้านการค้าในระบบธุรกิจ - สภาวะเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในปัจจุบันไม่สามารถควบคุมได้ - การให้บริการสมาชิกและการมีส่วนร่วมของสมาชิกยังต ากว่ามาตรฐานสหกรณ์ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - ส่งเสริมให้สมาชิกฯ ปลูกจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ในสหกรณ์ -ส่งเสริมให้ความรู้แก่คณะกรรมการเกี่ยวกับเทคนิคในการบริหารงานองค์กรและบริหารงานธุรกิจ - ส่งเสริมให้มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ร่วมกันระหว่างสหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรที่ไม่มี ทุนในการจัดจ้างเพียงพอ
40 - ส่งเสริมให้ความรู้ด้านกฎหมาย การบริหาร การบัญชี และเทคนิคการตรวจสอบให้แก่ผู้ตรวจ สอบกิจการให้มีความรู้ความสามารถมากขึ้น - ส่งเสริมการระดมทุนจากสมาชิก หรือจัดหาทุนจากแหล่งต้นทุนต่ าและคุ้มทุน - การสร้างความมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจกับสหกรณ์ให้เพิ่มมากขึ้น - แนะน าให้สหกรณ์ปลูกพืช ให้เหมาะสมกับพื้นที่เพราะปลูก (Zoning) -แนะน าส่งเสริมและจัดท าแผนให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจกับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ 1. ชื่อสหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ การเกษตร 2. จ านวนสมาชิกสหกรณ์ ณ 31 มีนาคม 2562 จ านวน 900 ราย 3. ผลผลิตการเกษตรหลักของสหกรณ์ ข้าว , ข้าวโพด 4. ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ 4.1.ธุรกิจ รับฝากเงินจากสมาชิก 4.2.ธุรกิจ ให้เงินกู้แก่สมาชิก 4.3.ธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจ าหน่ายแก่สมาชิก 4.4 ธุรกิจรวบรวมผลิตผล 4.5 ธุรกิจแปรรูปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสินค้า โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจสินเชื่อให้เงินกู้แก่สมาชิก รองลงมาจะเป็นธุรกิจ รวบรวมผลผลิตทางการเกษตร ธุรกิจแปรรูป ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่ายและธุรกิจเงินรับฝาก ตามล าดับ 5. ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ ในพื้นที่แดนด าเนินงานของสหกรณ์ เป็นพื้นที่มีการ ปลูกพืชหลากหลายชนิด เช่น ข้าว ข้าวโพด มันส าปะหลัง นอกจากนั้นสหกรณ์ได้รับความร่วมมือ ช่วยเหลือจากหลายๆองค์กร ทั้งในหน่วยงานราชการ ภาคเอกชนและสถาบันการเงินต่าง ๆ - สหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด ได้รับเงินอุดหนุนโครงการสนับสนุนการสร้างปัจจัยพื้นฐาน รวบรวมและจัดเก็บข้าวเปลือกคุณภาพ เพื่อก่อสร้างฉางขนาดความจุ 500 ตัน เครื่องชั่งระบบอิเลคทรอนิคส์ ขนาด 50 ตัน พร้อมโรงคลุม และลานตากขนาด 1,600 ตารางเมตร สหกรณ์มีธุรกิจรวบรวมผลิตผล รวมทั้งสิ้น 15,313,598.40 บาท - สหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด ได้ด าเนินธุรกิจแปรรูปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสินค้า โดยทางสหกรณ์มีโรงสี 1 โรง การด าเนินธุรกิจแปรรูปข้าวสารเพื่อมาจ าหน่ายให้กับสมาชิก,จ าหน่ายให้กับ คู่ค้าและตลาดทั่วไป โดยมีการจ าหน่าย จากการแปรรูปผลผลิต คิดเป็นรายได้ จ านวน 3,732,160 บาท -สหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด ได้ด าเนินโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ โดยได้เก็บค่าเช่า ที่ดิน เนื้อที่ประมาณ 31 ไร่ 3 งาน 47 ตารางวา ให้บริษัทบี กริม โซลาร์ เพาเวอร์ (ชนแดน) จ ากัด คิดเป็นปีละ 352,137.50 บาท โดยได้รับค่าเช่าล่วงหน้า จ านวน 28 ปี รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 9,560,250 บาท สหกรณ์ได้ บันทึกเป็นรายได้จากการใช้ประโยชน์ในที่ดินปีละ 348,437.50 บาทและได้รับค่าสิทธิ์ขายไฟฟ้าเป็นรายเดือน
41 - สหกรณ์ด าเนินกิจกรรมเพื่อเอื้ออาทรต่อชุมชน โดยด าเนินกิจกรรมสาธารณประโยชน์ต่างๆ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ชุมชน โรงเรียน ฯ 6. บทบาทของสหกรณ์ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ ดังนี้ 6.1 การเข้าร่วมโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าว ปี 61/62 6.2 ใช้อุปกรณ์ตามโครงการสนับสนุนการสร้างปัจจัยพื้นฐานรวบรวมและจัดเก็บ ข้าวเปลือกคุณภาพ งบกลาง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 6.3 โครงการสานพลังประชารัฐเพื่อสนับสนุนการปลูกข้าวโพดหลังฤดูท านา 6.4 ศูนย์เรียนรู้ด้านการสหกรณ์ 6.5 โครงการสัมมนาสมาชิกระดับกลุ่ม เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในการ พัฒนาความเข้มแข็งและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ 6.6 โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2561/62 6.7 รวบรวมผลผลิตหลักของสมาชิกสหกรณ์ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
42 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีผลการด าเนินงานเด่น ประชุมคณะกรรมการด าเนินการ สหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี สิ้นสุดปีบัญชี 31 มีนาคม 2562 ในวันที่ 20 สิงหาคม 2562
43 การเข้าร่วมโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าว ปี 61/62
44 อุปกรณ์ตามโครงการสนับสนุนการสร้างปัจจัยพื้นฐานรวบรวม และจัดเก็บข้าวเปลือกคุณภาพ งบกลาง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 1. ฉางขนาด 500 ตัน 2. ลานตาก 1,600 ตรม. 3. เครื่องชั่งระบบอิเลคทรอนิคส์ ขนาด 50 ตัน พร้อมโรงคลุม
45 โครงการสานพลังประชารัฐเพื่อสนับสนุนการปลูกข้าวโพดหลังฤดูท านา โครงการสัมมนาสมาชิกระดับกลุ่ม เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในการพัฒนาความเข้มแข็ง และพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
46 รวบรวมผลผลิตหลักของสมาชิกสหกรณ์ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “แก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสหกรณ์”
47 การด าเนินธุรกิจและกิจกรรมอื่น ๆ 1. แปรรูปข้าวสารจ าหน่าย 2. รวบรวมข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของสหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด
48 3. การรวบรวมยางพารา ของสหกรณ์ยางพาราไทยเพชรบูรณ์ จ ากัด
49 4. ร่วมกับส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ เลี้ยงอาหารกลางวันเด็กนักเรียน โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดน บ้านโป่งตะแบก (กิจกรรมสาธารณประโยชน์)
50 ประกอบด้วย สหกรณ์ 4 แห่ง สมาชิก 2,217 คน กลุ่มเกษตรกร 7 แห่ง สมาชิก 565 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) 1. ด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1.1 แนะน า ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถปิดบัญชีได้ ภายใน 30 วัน 1.2 แนะน า ส่งเสริม สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี ได้ภายใน 150 วัน 1.3 การให้ความเห็นชอบการก าหนดวงเงินกู้ยืมหรือการค้ าประกัน ประจ าปีของ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.4 การตรวจการสหกรณ์ 1.5 ติดตามการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.6 ติดตามแก้ไขตามข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี 1.7 ส่งเสริมแนะน า สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดท าระเบียบ เพื่อให้นายทะเบียน สหกรณ์ให้ความเห็นชอบ/รับทราบระเบียบของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.8 การรับจดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. ส่งเสริมและพัฒนางานสหกรณ์ทุกประเภท และกลุ่มเกษตรกร 2.1 เข้าร่วมประชุมประจ าเดือนกับคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2.2 เข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์และร่วมเวที (หรือเวทีชาวบ้าน) รับฟังความ คิดเห็นจากสมาชิก ประชาชนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เกี่ยวกับการด าเนินงาน การประกอบอาชีพ ปัญหาอุปสรรค หรือเรื่องอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์กับสมาชิก 2.3 เสวนาแบบมีส่วนร่วมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2.4 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีผลการด าเนินงานตามงบการเงินที่ผ่านการรับรองจาก ผู้สอบบัญชีแล้ว ไม่ขาดทุน เช่นเดียวกับปีบัญชีที่ผ่านมา 2.5 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีผลการด าเนินงานตามงบการเงินที่ผ่านการรับรองจาก ผู้สอบบัญชีแล้ว ขาดทุนลดลง เช่นเดียวกับปีบัญชีที่ผ่านมา 2.6 ส่งเสริมให้สมาชิก/ผู้แทนสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเข้าร่วม ประชุมใหญ่สามัญ ประจ าปีเพิ่มขึ้น 2.7 ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ผ่านมาตรฐานปี 62 รักษามาตรฐาน 2.8 ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ไม่ผ่านมาตรฐานปี 62 ให้ผ่านมาตรฐาน 2.9 แนะน าส่งเสริมเกี่ยวกับการบริหารเงินทุน 2.10 ส่งเสริม แนะน า และติดตามการใช้อุปกรณ์การตลาด อ ำเภอศรีเทพ
51 2.11 การเข้าส่งเสริม แนะน า สนับสนุน และติดตามให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่หยุดด าเนินธุรกิจ หรือไม่พบที่อยู่ สามารถด าเนินธุรกิจได้ หรือจ าเป็นต้องเข้าสู่กระบวนการช าระบัญชี 3. ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ให้แก่ บุคลากรสหกรณ์กลุ่มเกษตรกรและประชาชนทั่วไป 4. ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 4.1 ส่งเสริมการเพิ่มปริมาณธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 4.2 แนะน า ส่งเสริมให้สมาชิกของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีส่วนร่วมในการด าเนิน ธุรกิจกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 4.3 แนะน า ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่จัดตั้งใหม่ให้ด าเนินงานได้ 5. ปฏิบัติตามคู่มือการปฏิบัติงานระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (Cooperatives Promotion System : CPS) 5.1 วิเคราะห์สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ด าเนินการโดยใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอย่างน้อย 2 เครื่องมือ ตามหลักวิชาการ 5.2 ค้นหาสาเหตุที่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรหยุดด าเนินการ 5.3 จัดท าแบบสรุปประเด็นการส่งเสริม ตามผลการวิเคราะห์ มีกิจกรรม/แผนงาน/ โครงการครบถ้วน 5.4 น าเสนอผลการวิเคราะห์ต่อที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.1 ปัญหาภายในองค์กร - เกี่ยวกับสมาชิกผู้เป็นเจ้าของสหกรณ์ขาดจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและ หน้าที่ที่พึงกระท า - กรรมการผู้เป็นผู้แทนในการบริหารงานส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจในการบริหารองค์กร และบริหารงานธุรกิจ - สหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรจะไม่มีความสามารถในการจ้างพนักงานเจ้าหน้าที่ - ฝ่ายตรวจสอบหรือผู้ตรวจสอบกิจการที่ยังไม่มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบเพียงพอ - ทุน (ที่ดิน เงินทุน แรงงาน ฯลฯ) ไม่เพียงพอ 1.2 ปัญหาภายนอกองค์กร - ความชัดเจนในนโยบายสนับสนุนต่างๆ ตลอดถึงในแต่ละยุคสมัยไม่ต่อเนื่องสอดคล้องกัน - การแข่งขันด้านการค้าในระบบธุรกิจ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - ส่งเสริมให้สมาชิกฯ มีจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ในสหกรณ์ -ส่งเสริมให้ความรู้แก่คณะกรรมการเกี่ยวกับเทคนิคในการบริหารงานองค์กรและบริหารงานธุรกิจ
52 - ส่งเสริมให้มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ร่วมกันระหว่างสหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรที่ไม่มี ทุนในการจัดจ้างเพียงพอ - ส่งเสริมให้ความรู้ด้านกฎหมาย การบริหาร การบัญชี และเทคนิคการตรวจสอบให้แก่ผู้ ตรวจสอบกิจการให้มีความรู้ความสามารถมากขึ้น - ส่งเสริมการระดมทุนจากสมาชิก หรือจัดหาทุนจากแหล่งต้นทุนต่ าและคุ้มทุน สหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ 1. ชื่อสหกรณ์การเกษตรศรีเทพ จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ การเกษตร 2. จ านวนสมาชิกสหกรณ์ ณ 31 มีนาคม 2562จ านวน 1,377 ราย 3. ผลผลิตการเกษตรหลักของสหกรณ์ ข้าว ข้าวโพด อ้อย 4. ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ 4.1 ธุรกิจรับฝากเงินจากสมาชิก 4.2 ธุรกิจให้เงินกู้แก่สมาชิก 4.3 ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่ายแก่สมาชิก 4.4 ธุรกิจรวบรวมผลิตผล โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจ ให้เงินกู้แก่สมาชิก 5. ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ ในพื้นที่แดนด าเนินงานของสหกรณ์ เป็นพื้นที่มีการ ปลูกพืชหลากหลายชนิด เช่น ข้าว ข้าวโพด อ้อย นอกจากนั้นสหกรณ์ได้รับความร่วมมือช่วยเหลือจาก หลายๆ องค์กร ทั้งในหน่วยงานราชการ และสถาบันการเงินต่าง ๆ ในรอบปี สหกรณ์ฯได้ด าเนิน กิจกรรมที่โดดเด่น เช่น 5.1 สหกรณ์ฯจัดอบรมสัมมนาให้แก่คณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ เจ้าหน้าที่ สหกรณ์ และผู้น าเกษตรกรสมาชิก เกี่ยวกับการจัดท าแผนพัฒนาความเข้มแข็ง และแผนพัฒนาการ ด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ 5.2 สหกรณ์ฯ จัดท าแผนและด าเนินการประชุมกลุ่มสมาชิก เพื่อให้เข้าใจถึงสภาพ ปัญหา ในการด าเนินงานของสหกรณ์ ตลอดจนการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างของสมาชิก 5.3 สหกรณ์ฯ จัดท าโครงการส่งเสริมการระดมทุนในสหกรณ์ โดยได้จัดกิจกรรมถือหุ้นลุ้นโชค 6. บทบาทของสหกรณ์ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ ดังนี้ 6.1 สหกรณ์การเกษตรศรีเทพ จ ากัด ได้เข้าร่วมโครงการรวบรวมข้าวเปลือก ปี การผลิต 2561/2562 โดยได้รับวงเงินกู้ตามโครงการฯ จาก ธ.ก.ส. จ านวน ๓๐ ล้านบาท สรุปผลการ ด าเนินงาน สหกรณ์ฯ เบิกเงินกู้ไปจาก ธ.ก.ส. จ านวน ๑๘ ล้านบาท รวบรวมข้าวเปลือกหอมมะลิ ได้จ านวน 964.68 ตัน คิดเป็นเงินมูลค่าทั้งสิ้น 12,648,437.30 บาท 6.2 สหกรณ์การเกษตรศรีเทพ จ ากัด ได้รับคัดเลือกตามโครงการพัฒนาสหกรณ์ ภาคการเกษตร ให้เป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ และเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านการสหกรณ์ระดับอ าเภอ
53 6.3 สหกรณ์ฯ ได้เข้าร่วมโครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้ างระบบน้ าในไร่น า ของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560/61 มีสมาชิกเข้าร่วมโครงการฯ จ านวน 40 ราย ในปีที่ผ่านมา สมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการฯได้รับเงินอุดหนุนเพื่อด าเนินกิจกรรม โครงการเกษตร ผสมผสานและทฤษฏีใหม่ รายละ 6,000 บาท สามารถด าเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีผลการด าเนินงานเด่น กิจกรรมจัดสัมมนาให้แก่คณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ เจ้าหน้าที่สหกรณ์และผู้น าสมาชิกเกี่ยวกับการจัดท าแผนพัฒนาความเข้มแข็ง และแผนพัฒนาการด าเนินธุรกิจสหกรณ์
54 กิจกรรมการจัดประชุมกลุ่มสมาชิก เพื่อชี้แจงให้เข้าใจถึงสภาพปัญหาในการด าเนินงาน ของสหกรณ์ตลอดจนการแก้ไขปัญหาหนี้ค้าง
55 โครงการส่งเสริมการระดมทุนในสหกรณ์ โดยจัดกิจกรรมถือหุ้นลุ้นโชค
56 กิจกรรมการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ 1. โครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวเปลือก ปีการผลิต 2561/62
57 2. โครงการยกระดับความเข้มแข็ง พัฒนาสหกรณ์ให้เป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ และเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านการสหกรณ์ระดับอ าเภอ
58 3. โครงการเกษตรผสมผสานและทฤษฏีใหม่ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
59 ประกอบด้วย สหกรณ์ 5 แห่ง สมาชิก 9,381 คน กลุ่มเกษตรกร 8 แห่ง สมาชิก 749 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. สมาชิกของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับหลักการ วิธีการ และอุดมการณ์สหกรณ์ รวมทั้งตระหนักถึงสิทธิ และแสดงบทบาทและหน้าที่ของสมาชิกได้อย่าง ถูกต้องมากขึ้นกว่าเดิม ซึ่งพิจารณาได้จากการเข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปี หรือการเข้าร่วมประชุม กลุ่มสมาชิก ซึ่งในปัจจุบันสมาชิกมีความกล้าแสดงออก มีส่วนร่วมในการซักถาม การแสดงความคิดเห็น การลงมติต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้นจากเดิม ทั้งนี้สืบเนื่องจากใน ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้ด าเนินโครงการ สร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในการพัฒนาความเข้มแข็งและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ซึ่งมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจถึงแผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์แก่สมาชิกชั้นน า รวมทั้งหาวิธีการหรือข้อสรุปการในการขับเคลื่อนตามแผนที่จะท าให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการแสดงความ คิดเห็น หรือเสนอแนะข้อคิดเห็นเพื่อด าเนินการตามแผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจของ สหกรณ์ โดยในโครงการฯ มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิก เพื่อไปเป็น วิทยากรให้ความรู้ ความเข้าใจ ในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบต่างๆ รวมทั้งส่งเสริม พัฒนาด้านการด าเนินธุรกิจ ตลอดจนตอบข้อซักถามต่าง ๆ ของสมาชิกได้อย่างละเอียด จนเข้าใจ ส่งผลให้ สมาชิกมีความสนใจ ใส่ใจ และด าเนินกิจกรรมกับสหกรณ์ได้เพิ่มมากขึ้นอีกด้วย 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรด าเนินงานเป็นไปตามแนวทางที่นายทะเบียนสหกรณ์และ นายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรก าหนด ทั้งทางด้านกฎหมาย ข้อบังคับและระเบียบต่างๆ โดยส่งเสริมให้ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ก าหนดข้อบังคับ ระเบียบต่าง ๆ ให้สอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับ แนวทางฯ ของกรมฯ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาข้อบกพร่องต่างๆ ในระหว่างการด าเนินงานของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร และหากคณะกรรมการด าเนินการ เกิดข้อสงสัยหรือ เกิดข้อหารือในการด าเนินงานของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ก็สามารถให้ค าแนะน าได้อย่างถูกต้อง 3.สหกรณ์ ฯ จัดการประชุมคณะกรรมการด าเนินการเป็นประจ าอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง มีการแจ้งหนังสือเชิญประชุมพร้อมทั้งระเบียบวาระให้ทางส านักงานสหกรณ์จังหวัดเป็นประจ า และการลง มติใด ๆ ในแต่ละระเบียบวาระการประชุม ไม่ขัดกับกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบต่าง ๆ รวมทั้งประกาศ และค าแนะน าต่าง ๆ ของนายทะเบียนสหกรณ์ ซึ่งหากสหกรณ์ใด พบว่ามีกรรมการด าเนินการในที่ประชุม ไม่เห็นด้วยกับการลงมติใดๆ ได้แนะน าให้ด าเนินการตามมาตรา 51/3 แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 และฉบับปรับปรุง พ.ศ.2562 4. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ได้ติดตามให้คณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร น าข้อสังเกตและข้อแนะน าจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ส านักงานตรวจบัญชี ส านักงานสหกรณ์จังหวัด อ ำเภอหนองไผ่
60 มาติดตามและแก้ไขข้อสังเกตดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง เป็นรูปธรรมและชัดเจนจนกว่าการแก้ไขข้อบกพร่อง จะแล้วเสร็จ 5.สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ด าเนินงานเพื่อให้ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดต่างๆ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ - สามารถผลักดันให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ หากสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรใดที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมฯ อยู่แล้วให้สามารถรักษาเกณฑ์มาตรฐานไว้ให้ได้ - ผลการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ดีขึ้นจากเดิม โดยดูได้จาก งบการเงินประจ าปี หรือหากสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีภาวะขาดทุน ก็พบว่าขาดทุนลดลง - ไม่มีข้อบกพร่องหรือข้อบกพร่องลดลง - การติดตามการใช้เงินกู้ให้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ และการติดตามเร่งรัดให้ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถส่งช าระหนี้ได้ตามระยะเวลาที่ก าหนด - การบันทึกบัญชีที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน - การเพิ่มปริมาณธุรกิจ ให้เป็นไปตามตัวชี้วัด - การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของสมาชิก ที่มีเพิ่มมากขึ้นจากเดิม -การยกระดับชั้นของสหกรณ์ให้ดีขึ้น เช่น จากชั้น 3เข้าสู่ชั้น 2 หรือ จากชั้น 2 เข้าสู่ชั้น 1 - การปิดบัญชีและสามารถประชุมใหญ่ให้ได้ตามที่กฎหมายก าหนด - การช าระบัญชีให้อยู่ในชั้นตอนที่ดีขึ้น 6. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าร่วมการประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ เพื่อเผยแพร่ อุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ รวมทั้งประชาสัมพันธ์งานนโยบายของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รับฟังปัญหาอุปสรรคในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงานของสหกรณ์ รวมทั้ง ตอบข้อซักถามต่าง ๆ ของสมาชิกและบุคคลทั่วไปที่สนใจในงานสหกรณ์ 7. ส่งเสริมและช่วยเหลือสหกรณ์จัดตั้งใหม่ ให้ด าเนินงานได้อย่างถูกต้องตามระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายสหกรณ์ โดยได้วางแนวทางการด าเนินงานให้สอดคล้องกับแนวทางของกรมส่งเสริม สหกรณ์ ให้ความรู้แก่คณะกรรมการด าเนินการและฝ่ายจัดการอย่างสม่ าเสมอ เข้าร่วมประชุมประจ าเดือน เพื่อให้ค าแนะน า และข้อเสนอแนะในการด าเนินงาน ติดตามการด าเนินงานของสหกรณ์อย่างใกล้ชิด เพื่อ ป้องกันมิให้เกิดข้อบกพร่องของสหกรณ์ได้ รวมทั้งส่งเสริมทางด้านการพัฒนาธุรกิจ การเพิ่มปริมาณธุรกิจ การบันทึกบัญชี และส่งเสริมให้สหกรณ์จัดตั้งใหม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานทั้ง 7 ข้อ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ได้ 8. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้น าแผนปฏิบัติงาน รวมทั้งแผนงบประมาณการรายรับ - รายจ่ายประจ าปี ที่ได้รับอนุมัติจากสมาชิกในที่ประชุมใหญ่ มาท ารายละเอียดเป็นแผนงานประจ าเดือน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการติดตามงานจากคณะกรรมการด าเนินการและฝ่ายจัดการ รวมทั้งเพื่อให้มีการ ควบคุมค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ของสหกรณ์ ไม่ให้เกินกว่างบประมาณที่ก าหนดไว้ด้วย
61 9.สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้รับการสนับสนุนเงินกองทุนต่างๆ เช่น กองทุนพัฒนาสหกรณ์ กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ซึ่งสหกรณ์มีการวางแผนการใช้เงิน และการส่งช าระเงิน เป็นไปตามแผนงานและวัตถุประสงค์แห่งการกู้เงินโดยแท้จริง ส่งผลต่อสมาชิกให้มีความกินดีอยู่ดีมากขึ้น 10. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สหกรณ์ขนาดใหญ่ระดับอ าเภอ ได้รับงบประมาณจาก ทางราชการในการสนับสนุนเรื่องอุปกรณ์การตลาด อาทิเช่น ลานตาก ฉาง เครื่องชั่งดิจิตอล ฯลฯ ส่งเสริม และติดตามให้สหกรณ์เหล่านี้ สามารถใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์การตลาดได้อย่างเต็มก าลัง โดยมีการ ติดตามผลการใช้ประโยชน์ และเน้นย้ าให้สหกรณ์ด าเนินการจัดซื้อจัดจ้างให้ถูกต้องตามระเบียบที่ก าหนด พร้อมที่จะได้รับการตรวจสอบจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.1 ปัญหาภายในองค์กร - ในกรณีสหกรณ์ขนาดเล็ก เมื่อได้รับการจัดตั้งแล้วยังไม่มีความพร้อมที่จะเข้าสู่ระบบ สหกรณ์อย่างเต็มตัว เช่น ขาดองค์ความรู้ในเรื่องการบริหารจัดการภายในองค์กร และเรื่อง การจัดการด้าน ธุรกิจ ขาดอุปกรณ์การตลาด ขาดเจ้าหน้าที่ในการท างานในด้านต่าง ๆ ขาดเงินทุนหมุนเวีย นที่จะน ามา ให้บริการแก่สมาชิก และที่ส าคัญขาดการรวมตัวของคณะกรรมการด าเนินการ ซึ่งจะส่งผลให้การ ด าเนินงานของสหกรณ์ขาดประสิทธิผลตั้งแต่ปีแรก ๆ ของการตั้งสหกรณ์ - สมาชิกผู้เป็นเจ้าของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ขาดจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตาม บทบาทสิทธิและหน้าที่ที่พึงกระท าไม่ให้ความร่วมมือในกิจกรรมของสหกรณ์ การเชิญสมาชิกเข้าร่วม ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี เต็มไปด้วยความยากล าบาก เนื่องจากสมาชิกไม่เห็นความส าคัญของสหกรณ์ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีทุนภายในของตนเองน้อย ไม่เพียงพอต่อการให้บริการแก่ สมาชิก เมื่อเปรียบเทียบอัตราส่วนทุนภายในและทุนภายนอก พบว่าสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีทุนตนเอง น้อยมากกว่าทุนภายนอกหลายเท่า จึงยังมีความจ าเป็นที่จะต้องพึ่งพาแหล่งเงินทุนจากภายนอกเป็นหลัก เช่น กู้เงินจากธนาคาร รับเงินฝากจากสหกรณ์อื่น จึงท าให้สหกรณ์มีต้นทุนจ่ายจากดอกเบี้ยเงินฝากหรือ ดอกเบี้ยเงินกู้ให้แก่แหล่งเงินทุนภายนอกเป็นจ านวนมาก - กรรมการด าเนินการผู้เป็นตัวแทนในการบริหารงาน และฝ่ายจัดการ ส่วนใหญ่ขาด ความรู้ความเข้าใจในการบริหารองค์กรและบริหารงานธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจบางธุรกิจ เช่น ธุรกิจรวบรวม ผลผลิตทางการเกษตร พบว่าในแต่ละปีผลการด าเนินงานของสหกรณ์ขนาดใหญ่ จะประสบภาวะขาดทุน เฉพาะธุรกิจ สืบเนื่องมาจาก ขาดองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญในด้านการด าเนินธุรกิจรวบรวม - สหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรจะไม่มีความสามารถในการจ้างพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือมีไม่เพียงพอ ส่งผลให้ตกชั้นการควบคุมภายใน ซึ่งเป็นตัวชี้วัดในเรื่องการยกระดับชั้นของสหกรณ์ - ฝ่ายตรวจสอบหรือผู้ตรวจสอบกิจการที่ยังไม่มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบ เพียงพอ หรือไม่เท่าทันต่อข้อบกพร่องที่จะเกิดขึ้น
62 1.2 ปัญหาภายนอกองค์กร - ความชัดเจนในนโยบายสนับสนุนต่างๆ เมื่อมีการเปลี่ยนรัฐบาลส่งผลให้นโยบายไม่ ต่อเนื่องและสอดคล้องกัน - การแข่งขันด้านการค้าในระบบธุรกิจและสภาวะเศรษฐกิจของโลก - ปัญหาภัยธรรมชาติ ที่ไม่เป็นไปตามฤดูกาล ส่งผลต่อการส่งช าระหนี้ของสมาชิกที่มีต่อสหกรณ์ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. กรณีเป็นสหกรณ์จัดตั้งใหม่ ในระยะสามปีแรก เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์และ ผู้เกี่ยวข้องจะต้องเข้าไปช่วยเหลือการด าเนินงานของสหกรณ์ในทุก ๆ ด้านอย่างใกล้ชิด เพื่อให้สหกรณ์ สามารถด าเนินงานต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง เช่น การให้องค์ความรู้ ความเข้าใจในอุดมการณ์ หลักการ และ วิธีการสหกรณ์ การวางระบบโครงสร้างภายในของสหกรณ์ ด้านการด าเนินธุรกิจ ด้านการบริหารจัดการ ภายใน และที่ส าคัญคือต้องก ากับไม่ให้สหกรณ์มีข้อบกพร่องหรือข้อสังเกตต่าง ๆ ตั้งแต่เริ่มต้นของการเข้าสู่ ระบบสหกรณ์ 2. ส่งเสริมให้สมาชิกฯ มีจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและห น้าที่ โดย น าเสนอองค์ความรู้ต่าง ๆ เพื่อให้โอกาสสมาชิกได้ซักถามหรือให้ข้อเสนอแนะ ในการด าเนินงานของ สหกรณ์ โดยใช้เวทีจากการประชุมกลุ่มสมาชิก และเวทีการประชุมใหญ่สามัญประจ าปีและกระท าเช่นนี้ อย่างต่อเนื่องเป็นประจ าทุกปี 3. จัดหาแหล่งเงินทุนอัตราดอกเบี้ยต่ าเพื่อช่วยเหลือสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เช่น เงินกู้ กองทุนพัฒนาสหกรณ์ เงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร รวมทั้งแจ้งแนวทางในการด าเนินโครงการต่าง ๆ เพื่อระดมทุนภายในของตนเองอย่างสม่ าเสมอ ได้แก่ การระดมหุ้น การฝากเงินกับสหกรณ์ โดยให้สมาชิกมี ส่วนร่วมอย่างแท้จริง เพื่อลดปัญหาต้นทุนการเงินจากแหล่งเงินทุนภายนอกของสหกรณ์ 4. ส่งเสริมให้ความรู้แก่คณะกรรมการด าเนินการ และเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ เกี่ยวกับการ บริหารจัดการภายในองค์กร และการจัดการด้านธุรกิจของสหกรณ์ ทั้งนี้จะต้องจัดการอยู่ภายใต้กฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง 5. ส่งเสริมให้มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่หรือฝ่ายจัดการร่วมกันระหว่างสหกรณ์ขนาดเล็กหรือ กลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีทุนในการจัดจ้างเพียงพอ 6. ส่งเสริมให้ความรู้ด้านกฎหมาย การบริหาร การบัญชี และวิธีการตรวจสอบให้แก่ ผู้ตรวจสอบกิจการให้มีความรู้ความสามารถมากขึ้นและเมื่อมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้ตรวจสอบ กิจการ เช่น ส านักงานตรวจสอบบัญชี หรือ ส านักงานสหกรณ์จังหวัด ก็ด าเนินการเข้าอบรมตามหลักสูตรที่ ก าหนด พร้อมทั้งให้ผู้ตรวจสอบกิจการได้มีบทบาท หน้าที่ รายงานข้อเสนอแนะต่อที่ประชุมคณะกรรมการ และที่ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี เพื่อให้คณะกรรมการด าเนินการและสมาชิกได้เห็นความส าคัญของผู้ ตรวจสอบกิจการ 7. สร้างแนวทางก ารด าเนินงานเพื่อรับมือกับสภ าวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา เช่น ส่งเสริมการจัดท าอาชีพเสริม จัดท าโครงการต่าง ๆ เพื่อให้สมาชิกมีอาชีพเสริมที่สามารถ
63 หารายได้เพิ่มมากขึ้น โดยมีสหกรณ์เป็นผู้บริหารจัดการให้แก่สมาชิก เพื่อหลีกหนีปัญหาพืชราคาตกต่ าขายไม่ได้ เนื่องจากเกษตรกรผลิตมากจนเกินไปท าให้ล้นตลาด สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ. ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 1. การเข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิก ตามโครงการสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในการพัฒนา ความเข้มแข็งและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด มีสมาชิกสามัญ 2,067 ราย แบ่งเป็นกลุ่มสมาชิกแยก ตามพื้นที่ต่าง ๆ ครอบคลุมทั้งอ าเภอหนองไผ่ รวมทั้งสิ้น 55 กลุ่ม ซึ่งในแต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย ประธานกลุ่ม เลขานุการกลุ่ม และสมาชิก ซึ่งมีจ านวนที่แตกต่างกันไปตามพื้นที่แต่ละต าบล ในแต่ละปี สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด ซึ่งเป็นสหกรณ์ขนาดใหญ่มากจากการจัด ชั้นของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จะด าเนินการจัดประชุมกลุ่มสมาชิก ปีละ 2 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ 1 ในระหว่าง เดือนพฤษภาคม และครั้งที่ 2 ในระหว่างเดือน พฤศจิกายน ถึงธันวาคม ส าหรับในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ทางส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้จัดท าโครงการสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในการพัฒนา ความเข้มแข็งและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ โดยมีวัตถุประสงค์ในการให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าไปร่วม ประชุมกลุ่มสมาชิกร่วมกับคณะกรรมการและฝ่ายจัดการของสหกรณ์ เพื่อ 1.1 สร้างความรู้ความเข้าใจถึงแผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์แก่สมาชิกชั้นน า 1.2 ได้ข้อสรุปวิธีการด าเนินงานขับเคลื่อนตามแผนที่จะท าให้สมาชิกมีส่วนร่วมตาม แผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ซึ่งการจัดท าแผนพัฒนาความเข้มแข็ง และแผนพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์ สหกรณ์ฯ ได้จัด ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อยกระดับสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอด าเนินการมาใน ระหว่างวันที่ 25-26 กันยายน 2562 เป็นการระดมสมอง แนวทางการแก้ไขปัญหาเรื่องต่างๆ และ ข้อคิดเห็นจากหลายฝ่าย ประกอบไปด้วย คณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ ฝ่ายจัดการ สมาชิกชั้นน า ผู้แทนธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และส านักงานสหกรณ์จังหวัด ส่งผลให้สหกรณ์จัดท า แผนงานโครงการต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางการส่งเสริมอาชีพ และแนวทางในการด าเนินงานของสหกรณ์ให้มี ประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล อาทิเช่น โครงการรวบรวมข้าวเปลือกตามโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าว และเพิ่มมูลค่า 2. โครงการรวบรวมข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และถั่วเขียว 3. โครงการยกระดับการบริการธุรกิจรวบรวมผลิตผล 4. แผนงานพัฒนาองค์ความรู้ของบุคลากร และโครงการต่าง ๆ เหล่านี้ เพื่อให้เกิดประโยชน์และครบถ้วนสูงสุด ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ จึง ได้จัดท าโครงการสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในการพัฒนาความเข้มแข็งและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ เพื่อให้ ใช้การประชุมกลุ่มสมาชิกของสหกรณ์เป็นเวทีในการน าแผนงาน/โครงการต่าง ๆ ลงไปสู่สมาชิกของ สหกรณ์ ให้ได้รับทราบ รับฟัง และมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น แนวทางเพิ่มเติม ในการที่จะน า
64 โครงการ/แผนงาน ต่าง ๆ ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมและเข้าใจตรงกันในทุกส่วนของสหกรณ์และ นอกเหนือจากสมาชิกของสหกรณ์จะได้รับทราบ รับรู้ และเสนอแนะในเรื่องแผนงาน/โครงการ ต่างๆ ของ สหกรณ์แล้ว เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ได้ให้ความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่อง หลักการ อุดมการณ์ และวิธีการ สหกรณ์ ให้แก่สมาชิก รวมทั้งทางด้านกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบต่าง ๆ ของสหกรณ์ ตลอดจนตอบ ข้อซักถามจนสมาชิกเข้าใจ สนใจ และมีจิตส านึกที่จะเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของสหกรณ์ ซึ่งในการประชุม กลุ่มสหกรณ์ฯ ยังได้น าโครงการต่างๆ ที่จะช่วยเหลือสมาชิก เช่น โครงการลดค่าปรับเงินกู้ โครงการช าระดีมีคืน โครงการส่งเสริมอาชีพสมาชิก ผลลัพธ์ที่ตามมาหลังจากการประชุมกลุ่มสมาชิก และด าเนินโครงการสร้างการมีส่วนร่วม ของสมาชิกในการพัฒนาความเข้มแข็งและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ พบว่าสหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด มีผลลัพธ์ดังนี้ 1. สหกรณ์สามารถด าเนินธุรกิจรวบรวมได้ตามแผนงานหรือเป้าหมายที่ก าหนด 2. สมาชิกมีส่วนร่วมในกิจกรรมของสหกรณ์มากขึ้นจากเดิม 3. สามารถติดตามเร่งรัดลูกหนี้ได้เพิ่มมากขึ้น ดอกเบี้ยค้างลดลง 4. อัตราส่วนทางการเงินของสหกรณ์ดีขึ้นกว่าที่ผ่านมา โดยพบว่าทุนภายในของสหกรณ์มีมากขึ้น 5. สหกรณ์น าโครงการต่าง ๆ ไปปรับใช้เพื่อติดตามหนี้ค้างจากสมาชิก เช่น โครงการ ส่งเสริมอาชีพเลี้ยงวัว โดยสหกรณ์เป็นผู้บริหารจัดการเงินทุน และเป็นผู้ให้ค าแนะน าต่าง ๆ จนกระทั่ง สมาชิกขายได้ และน าเงินมาส่งช าระคืนแก่สหกรณ์ ซึ่งบางส่วนจะน าไปส่งช าระหนี้ค้างเดิม
63 65 การเข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิก
66 การใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์ทางการตลาด ที่ได้รับการสนับสนุนจากราชการ
67 ประกอบด้วย สหกรณ์ 2 แห่ง สมาชิก 3,663 คน กลุ่มเกษตรกร 7 แห่ง สมาชิก 668 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) 1. ด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ ประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1.1 แนะน า ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถปิดบัญชีได้ ภายใน 30 วัน 1.2 แนะน า ส่งเสริม สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี ได้ภายใน 150 วัน 1.3 การให้ความเห็นชอบการก าหนดวงเงินกู้ยืมหรือการค้ าประกัน ประจ าปีของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.4 การตรวจการสหกรณ์ 1.5 ติดตามการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.6 ติดตามแก้ไขตามข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี 1.7 ส่งเสริมแนะน า สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดท าระเบียบ เพื่อให้นายทะเบียนสหกรณ์ ให้ความเห็นชอบ/รับทราบระเบียบของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.8 การรับจดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. ส่งเสริมและพัฒนางานสหกรณ์ทุกประเภท และกลุ่มเกษตรกร 2.1 เข้าร่วมประชุมประจ าเดือนกับคณะกรรมการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2.2 เข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์และร่วมเวที (หรือเวทีชาวบ้าน) รับฟังความ คิดเห็นจากสมาชิก ประชาชนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เกี่ยวกับการด าเนินงาน การประกอบอาชีพ ปัญหา อุปสรรค หรือเรื่องอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์กับสมาชิก 2.3 เสวนาแบบมีส่วนร่วมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2.4 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีผลการด าเนินงานตามงบการเงินที่ผ่านการรับรองจาก ผู้สอบบัญชีแล้ว ไม่ขาดทุน เช่นเดียวกับปีบัญชีที่ผ่านมา 2.5 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีผลการด าเนินงานตามงบการเงินที่ผ่านการรับรองจาก ผู้สอบบัญชีแล้ว ขาดทุนลดลง เช่นเดียวกับปีบัญชีที่ผ่านมา 2.6 ส่งเสริมให้สมาชิก/ผู้แทนสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเข้าร่วม ประชุมใหญ่สามัญ ประจ าปีเพิ่มขึ้น 2.7 ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ผ่านมาตรฐานปี 62 รักษามาตรฐาน 2.8 ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ไม่ผ่านมาตรฐานปี 62 ให้ผ่านมาตรฐาน 2.9 แนะน าส่งเสริมเกี่ยวกับการบริหารเงินทุน 2.10 ส่งเสริม แนะน า และติดตามการใช้อุปกรณ์การตลาด 2.11 การเข้าส่งเสริม แนะน า สนับสนุน และติดตามให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่หยุด ด าเนินธุรกิจ หรือไม่พบที่อยู่ สามารถด าเนินธุรกิจได้ หรือจ าเป็นต้องเข้าสู่กระบวนการช าระบัญชี อ ำเภอวิเชียรบุรี
68 3. ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ให้แก่ บุคลากรสหกรณ์กลุ่มเกษตรกรและประชาชนทั่วไป 4. ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรและสหกรณ์ 4.1 ส่งเสริมการเพิ่มปริมาณธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 4.2 แนะน า ส่งเสริมให้สมาชิกของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจ กับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 4.3 แนะน า ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่จัดตั้งใหม่ให้ด าเนินงานได้ 5. ปฏิบัติตามคู่มือการปฏิบัติงานระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (Cooperatives Promotion System : CPS) 5.1 วิเคราะห์สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ด าเนินการโดยใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรอย่างน้อย 2 เครื่องมือ ตามหลักวิชาการ 5.2 ค้นหาสาเหตุที่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรหยุดด าเนินการ 5.3 จัดท าแบบสรุปประเด็นการส่งเสริม ตามผลการวิเคราะห์ มีกิจกรรม/แผนงาน/ โครงการครบถ้วน 5.4 น าเสนอผลการวิเคราะห์ต่อที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.1 ปัญหาภายในองค์กร - เกี่ยวกับสมาชิกผู้เป็นเจ้าของสหกรณ์ยังไม่รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองเท่าที่ควร ในการเป็น เจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ที่พึงกระท า - กรรมการผู้เป็นผู้แทนในการบริหารงานส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจ ในการบริหารองค์กร และบริหารงานธุรกิจ - สหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรจะไม่มีความสามารถในการจ้างพนักงานเจ้าหน้าที่ - ฝ่ายตรวจสอบหรือผู้ตรวจสอบกิจการที่ยังไม่มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบเพียงพอ - ทุน (ที่ดิน เงินทุน แรงงาน ฯลฯ) ไม่เพียงพอ 1.2 ปัญหาภายนอกองค์กร - ความชัดเจนในนโยบายสนับสนุนต่างๆ ตลอดถึงในแต่ละยุคสมัยไม่ต่อเนื่องสอดคล้องกัน - การแข่งขันด้านการค้าในระบบธุรกิจ - สภาวะเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในปัจจุบันไม่สามารถควบคุมได้ - การให้บริการสมาชิกและการมีส่วนร่วมของสมาชิกยังต ากว่ามาตรฐานสหกรณ์ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - ส่งเสริมให้สมาชิกฯ ปลูกจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ในสหกรณ์ - ส่งเสริมให้ความรู้แก่คณะกรรมการเกี่ยวกับเทคนิคในการบริหารงานองค์กรและบริหารงานธุรกิจ - ส่งเสริมให้มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ร่วมกันระหว่างสหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีทุนใน การจัดจ้างเพียงพอ
69 - ส่งเสริมให้ความรู้ด้านกฎหมาย การบริหาร การบัญชี และเทคนิคการตรวจสอบให้แก่ผู้ตรวจ สอบกิจการให้มีความรู้ความสามารถมากขึ้น - ส่งเสริมการระดมทุนจากสมาชิก หรือจัดหาทุนจากแหล่งต้นทุนต่ าและคุ้มทุน - การสร้างความมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจกับสหกรณ์ให้เพิ่มมากขึ้น - แนะน าให้สหกรณ์ปลูกพืช ให้เหมาะสมกับพื้นที่เพราะปลูก (Zoning) -แนะน าส่งเสริมและจัดท าแผนให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจกับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ 1. ชื่อสหกรณ์การเกษตรวิเชียรบุรี จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ การเกษตร 2. จ านวนสมาชิกสหกรณ์ ณ 31 มีนาคม 2562 จ านวน 3,357 ราย 3. ผลผลิตการเกษตรหลักของสหกรณ์ ข้าว , ข้าวโพด 4. ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ 4.1.ธุรกิจ รับฝากเงินจากสมาชิก 4.2.ธุรกิจ ให้เงินกู้แก่สมาชิก 4.3.ธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจ าหน่ายแก่สมาชิก 4.4.ธุรกิจรวบรวมผลิตผล 4.5 ธุรกิจแปรรูปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสินค้า 4.6 ธุรกิจบริการและส่งเสริมการเกษตร โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจสินเชื่อให้เงินกู้แก่สมาชิก รองลงมาจะเป็นธุรกิจ รวบรวมผลผลิตทางการเกษตร ธุรกิจเงินรับฝาก ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย ธุรกิจแปรรูปและธุรกิจ ให้บริการและส่งเสริมการเกษตร ตามล าดับ 5. ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ ในพื้นที่แดนด าเนินงานของสหกรณ์ เป็นพื้นที่มีการ ปลูกพืชหลากหลายชนิด เช่น ข้าว ข้าวโพด มันส าปะหลัง นอกจากนั้นสหกรณ์ได้รับความร่วมมือช่วยเหลือ จากหลายๆองค์กร ทั้งในหน่วยงานราชการ ภาคเอกชนและสถาบันการเงินต่าง ๆ 5.1 สหกรณ์การเกษตรวิเชียรบุรี จ ากัด เข้าร่วมโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน แสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดินส าหรับหน่วยงานราชการและสหกรณ์ภาคการเกษตร พ.ศ. 2560 โดยสหกรณ์ท าสัญญาให้กับบริษัทพาราโบลิก โซลาร์ พาวเวอร์ จ ากัด เป็นผู้ด าเนินการผลิตไฟฟ้าบนดินของ สหกรณ์ตามเลขที่ 15433 อ าเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ ขนาดก าลังการผลิต 1.75 เมกะวัตต์ เป็น ระยะเวลา 25 ปี โดยสหกรณ์ได้รับสิทธิ์ขายไฟฟ้า ส าหรับที่ดินดังกล่าว บริษัท พาราโบลิก โซลาร์ พาวเวอร์ จ ากัด ได้โอนกรรมสิทธิ์ที่ดินดังกล่าวให้กับสหกรณ์ 5.2 สหกรณ์ได้รับเงินสนับสนุน บริษัท พาราโบลิก โซลาร์ พาวเวอร์ จ ากัด จ านวน 3,000,000.00 บาท เป็นทุนสะสมเพื่อพัฒนากิจการสหกรณ์ในการท าสัญญาใช้สิทธิ์การขายไฟฟ้าจาก พลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดินส าหรับหน่วยงานราชการและสหกรณ์ภาคการเกษตร พ.ศ. 2560 โดยบริษัทไม่สามารถเรียกคืนได้ และในระหว่างปีสหกรณ์ได้รับเงินที่เกิดจากค่าสิทธิ์การขายไฟฟ้าจาก
70 บริษัท พาราโบลิก โซลาร์ พาวเวอร์จ ากัด ตามโครงการผลิตไฟฟ้าจากโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน แสงอาทิตย์แบบติดบนพื้นดินส าหรับหน่วยงานราชการและสหกรณ์ภาคการเกษตร พ.ศ. 2560 ในอัตรา ร้อยละ 15 ของยอดขายไฟฟ้า เป็นระยะเวลา 25 ปี นับตั้งแต่วันที่จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบเชิงพาณิชย์วันที่ 1 ธันวาคม 2561 ถึงวันสิ้นสุดโครงการวันที่ 30 พฤศจิกายน 2586 คงเหลือระยะเวลา 24 ปี 11 เดือน 5.3 สหกรณ์ได้รับเงินสนับสนุน บริษัท พาราโบลิก โซลาร์ พาวเวอร์ จ ากัด จ านวน 3,000,000.00 บาทเป็นทุนสะสมเพื่อจัดสวัสดิการสมาชิกและสังคมในการท าสัญญาใช้สิทธิ์การขายไฟฟ้า โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังแสงอาทิตย์แบบติดบนพื้นดินส าหรับหน่วยงานราชการและสหกรณ์ภาคการเกษตร พ.ศ. 2560 โดยบริษัทไม่สามารถเรียกคืนได้ และในระหว่างปีสหกรณ์ได้รับเงินที่เกิดจากค่าสิทธิ์การขาย ไฟฟ้าจากบริษัท พาราโบลิก โซลาร์ พาวเวอร์ จ ากัด ตามโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ แบบติดตั้งบนดินส าหรับหน่ วยงานราชการและสหกรณ์ภาคการเกษตร พ.ศ. 2560 ในอัตราร้อยล ะ 1 5 ของยอดขายไฟฟ้าเป็นระยะเวลา 25 ปี ปี นับตั้งแต่วันที่จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบเชิงพาณิชย์วันที่ 1 ธันวาคม 2561 ถึงวันสิ้นสุดโครงการวันที่ 30 พฤศจิกายน 2586 คงเหลือระยะเวลา 24 ปี 11 เดือน 5.4 สหกรณ์ได้รับเงินสนับสนุนจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ จ านวน 1,225,000.00 บาท เพื่อสร้างฉางโดยสหกรณ์ต้องสมทบเงินจ านวน 699,393.00 บาท 5.5 สหกรณ์ได้รับเงินอุดหนุนจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ จ านวน 276,000.00 บาท เพื่อให้สมาชิกใช้ในการด าเนินกิจกรรมเกษตรผสมผสานในสหกรณ์ 5.6 สหกรณ์ด าเนินกิจกรรมเพื่อเอื้ออาทรต่อชุมชน โดยด าเนินกิจกรรมสาธารณประโยชน์ต่างๆ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ชุมชน โรงเรียน ฯ 6. บทบาทของสหกรณ์ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ ดังนี้ 6.1 การเข้าร่วมโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าว ปี 61/62 6.2 ใช้อุปกรณ์ตามโครงการสนับสนุนการสร้างปัจจัยพื้นฐานรวบรวมและจัดเก็บ ข้าวเปลือกคุณภาพ งบกลาง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 6.3 ศูนย์เรียนรู้ด้านการสหกรณ์ 6.4 โครงการสัมมนาสมาชิกระดับกลุ่ม เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในการพัฒนา ความเข้มแข็งและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ 6.5 รวบรวมผลผลิตหลักของสมาชิกสหกรณ์ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ 6.6 โครงการผลิตฟ้าฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดินส าหรับหน่วยงาน ราชการและสหกรณ์ภาคการเกษตร 6.7 โครงการปุ๋ยผสมใช้เองผ่านสหกรณ์การเกษตรเพื่อลดต้นทุนการผลิตให้แก่เกษตรกร
71 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีผลการด าเนินงานเด่น ประชุมคณะกรรมการด าเนินการ สหกรณ์การเกษตรวิเชียรบุรี จ ากัด ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี สิ้นสุดปีบัญชี 31 มีนาคม 2562 ในวันที่27 สิงหาคม 2562
72 การเข้าร่วมโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าว ปี 61/62
73 การใช้อุปกรณ์ตามโครงการสนับสนุนการสร้างปัจจัยพื้นฐานรวบรวมและจัดเก็บข้าวเปลือกคุณภาพ งบกลาง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 (ฉาง ขนาด 500 ตัน)
74 โครงการสัมมนาสมาชิกระดับกลุ่ม เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในการพัฒนาความเข้มแข็ง และพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
75 รวบรวมผลผลิตหลักของสมาชิกสหกรณ์ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
76 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “แก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสหกรณ์”
77 โครงการผลิตฟ้าฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดินส าหรับหน่วยงานราชการ และสหกรณ์ภาคการเกษตร
78 โครงการปุ๋ยผสมใช้เองผ่านสหกรณ์การเกษตรเพื่อลดต้นทุนการผลิตให้แก่เกษตรกร
79 โครงการปุ๋ยผสมใช้เองผ่านสหกรณ์การเกษตรเพื่อลดต้นทุนการผลิตให้แก่เกษตรกร
80 ประกอบด้วย สหกรณ์ 2 แห่ง สมาชิก 1,505 คน กลุ่มเกษตรกร 2 แห่ง สมาชิก 118 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. สมาชิกของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับหลักการ วิธีการ และอุดมการณ์สหกรณ์ รวมทั้งตระหนักถึงสิทธิ และแสดงบทบาทและหน้าที่ของสมาชิกได้อย่างถูกต้อง มากขึ้นกว่าเดิม ซึ่งพิจารณาได้จากการเข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปี หรือการเข้าร่วมประชุมกลุ่ม สมาชิก ซึ่งในปัจจุบันสมาชิกมีความกล้าแสดงออก มีส่วนร่วมในการซักถาม การแสดงความคิดเห็น การลง มติต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้นจากเดิม ทั้งนี้สืบเนื่องจากใน ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้ด าเนินโครงการ สร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในการพัฒนาความเข้มแข็งและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจถึงแผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์แก่สมาชิกชั้นน า รวมทั้งหาวิธีการหรือข้อสรุปการในการขับเคลื่อนตามแผนที่จะท าให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการแสดงความ คิดเห็น หรือเสนอแนะข้อคิดเห็นเพื่อด าเนินการตามแผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจของ สหกรณ์ โดยในโครงการฯ มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิก เพื่อไปเป็น วิทยากรให้ความรู้ ความเข้าใจ ในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสริม พัฒนาด้านการด าเนินธุรกิจ ตลอดจนตอบข้อซักถามต่าง ๆ ของสมาชิกได้อย่างละเอียดจนเข้าใจ ส่งผลให้ สมาชิกมีความสนใจ ใส่ใจ และด าเนินกิจกรรมกับสหกรณ์ได้เพิ่มมากขึ้นอีกด้วย 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรด าเนินง านเป็นไปตา มแนวท างที่นา ยทะเบี ยนสหก รณ์แล ะ นายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรก าหนด ทั้งทางด้านกฎหมาย ข้อบังคับและระเบียบต่าง ๆ โดยส่งเสริมให้ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ก าหนดข้อบังคับ ระเบียบต่าง ๆ ให้สอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับ แนวทางฯ ของกรมฯ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหา ข้อบกพร่องต่าง ๆ ในระหว่างการด าเนินงานของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร และหากคณะกรรมการด าเนินการ เกิดข้อสงสัยหรือ เกิดข้อหารือในการด าเนินงานของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ก็สามารถให้ค าแนะน าได้อย่างถูกต้อง 3. สหกรณ์ ฯ จัดการประชุมคณะกรรมการด าเนินการเป็นประจ าอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง มีการ แจ้งหนังสือเชิญประชุมพร้อมทั้งระเบียบวาระให้ทางส านักงานสหกรณ์จังหวัดเป็นประจ า และการ ลงมติใดๆ ในแต่ละระเบียบวาระการประชุม ไม่ขัดกับกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบต่าง ๆ รวมทั้ง ประกาศและค าแนะน าต่าง ๆ ของนายทะเบียนสหกรณ์ ซึ่งหากสหกรณ์ใด พบว่ามีกรรมการด าเนินการ ในที่ประชุมไม่เห็นด้วยกับการลงมติใด ๆ ได้แนะน าให้ด าเนินการตามมาตรา 51/3 แห่งพระราชบัญญัติ สหกรณ์ พ.ศ.2542 และฉบับปรับปรุง พ.ศ.2562 อ ำเภอวังโป่ง
81 4. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ได้ติดตามให้คณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร น าข้อสังเกตและข้อแนะน าจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ส านักงานตรวจบัญชี ส านักงานสหกรณ์จังหวัด มาติดตามและแก้ไขข้อสังเกตดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง เป็นรูปธรรมและชัดเจนจนกว่าการแก้ไขข้อบกพร่องจะ แล้วเสร็จ 5. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ด าเนินงานเพื่อให้ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดต่าง ๆ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 5.1 สามารถผลักดันให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ หากสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรใดที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมฯ อยู่แล้วให้สามารถรักษาเกณฑ์มาตรฐานไว้ให้ได้ 5.2 ผลการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ดีขึ้นจากเดิม โดยดูได้จากงบการเงิน ประจ าปี หรือหากสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีภาวะขาดทุน ก็พบว่าขาดทุนลดลง 5.3 ไม่มีข้อบกพร่องหรือข้อบกพร่องลดลง 5.4 การติดตามการใช้เงินกู้ให้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ และการติดตามเร่งรัดให้สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร สามารถส่งช าระหนี้ได้ตามระยะเวลาที่ก าหนด 5.5 การบันทึกบัญชีที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน 5.6 การเพิ่มปริมาณธุรกิจ ให้เป็นไปตามตัวชี้วัด 5.7 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของสมาชิก ที่มีเพิ่มมากขึ้นจากเดิม 5.8 การยกระดับชั้นของสหกรณ์ ให้ดีขึ้น เช่น จากชั้น 2 เข้าสู่ชั้น 1 5.9 การปิดบัญชีและสามารถประชุมใหญ่สามัญประจ าปีให้ได้ตามที่กฎหมายก าหนด 6. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าร่วมการประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ เพื่อเผยแพร่อุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ รวมทั้งประชาสัมพันธ์งานนโยบายของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ รับฟังปัญหาอุปสรรคในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงานของสหกรณ์ รวมทั้งตอบข้อ ซักถามต่าง ๆ ของสมาชิกและบุคคลทั่วไปที่สนใจในงานสหกรณ์ 7. ส่งเสริมและช่วยเหลือสหกรณ์จัดตั้งใหม่ ให้ด าเนินงานได้อย่างถูกต้องตามระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายสหกรณ์ โดยได้วางแนวทางการด าเนินงานให้สอดคล้องกับแนวทางของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ให้ความรู้แก่คณะกรรมการด าเนินการและฝ่ายจัดการอย่างสม่ าเสมอ เข้าร่วมประชุมประจ าเดือน เพื่อให้ ค าแนะน า และข้อเสนอแนะในการด าเนินงาน ติดตามการด าเนินงานของสหกรณ์อย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกัน มิให้เกิดข้อบกพร่องของสหกรณ์ได้ รวมทั้งส่งเสริมทางด้านการพัฒนาธุรกิจ การเพิ่มปริมาณธุรกิจ การ บันทึกบัญชี และส่งเสริมให้สหกรณ์จัดตั้งใหม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานทั้ง 7 ข้อ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ได้ 8. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้น าแผนปฏิบัติงาน รวมทั้งแผนงบประมาณการรายรับ -รายจ่าย ประจ าปี ที่ได้รับอนุมัติจากสมาชิกในที่ประชุมใหญ่ มาท ารายละเอียดเป็นแผนงานประจ าเดือน เพื่อใช้เป็น แนวทางในการติดตามงานจากคณะกรรมการด าเนินการและฝ่ายจัดการ รวมทั้งเพื่อให้มีการควบคุม ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ของสหกรณ์ ไม่ให้เกินกว่างบประมาณที่ก าหนดไว้ด้วย
82 9. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้รับการสนับสนุนเงินกองทุนต่าง ๆ เช่น กองทุนพัฒนาสหกรณ์ กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ซึ่งสหกรณ์มีการวางแผนการใช้เงิน และการส่งช าระ เงินเป็นไปตามแผนงานและวัตถุประสงค์แห่งการกู้เงินโดยแท้จริง ส่งผลต่อสมาชิกให้มีความกินดีอยู่ดีมากขึ้น ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.1 ปัญหาภายในองค์กร - ในกรณีสหกรณ์ขนาดเล็ก เมื่อได้รับการจัดตั้งแล้วยังไม่มีความพร้อมที่จะเข้าสู่ระบบ สหกรณ์อย่างเต็มตัว เช่น ขาดองค์ความรู้ในเรื่องการบริหารจัดการภายในองค์กร และเรื่อง การจัดการด้าน ธุรกิจ ขาดอุปกรณ์การตลาด ขาดเจ้าหน้าที่ในการท างานในด้านต่าง ๆ ขาดเงินทุนหมุนเวีย นที่จะน ามา ให้บริการแก่สมาชิก และที่ส าคัญขาดการรวมตัวของคณะกรรมการด าเนินการ ซึ่งจะส่งผลให้การ ด าเนินงานของสหกรณ์ขาดประสิทธิผลตั้งแต่ปีแรก ๆ ของการตั้งสหกรณ์ - สมาชิกผู้เป็นเจ้าของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ขาดจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตาม บทบาทสิทธิและหน้าที่ที่พึงกระท า ไม่ให้ความร่วมมือในกิจกรรมของสหกรณ์ การเชิญสมาชิกเข้าร่วม ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี เต็มไปด้วยความยากล าบาก เนื่องจากสมาชิกไม่เห็นความส าคัญของสหกรณ์ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีทุนภายในของตนเองน้อย ไม่เพียงพอต่อการให้บริการแก่ สมาชิก เมื่อเปรียบเทียบอัตราส่วนทุนภายในและทุนภายนอก พบว่าสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีทุนตนเอง น้อยมากกว่าทุนภายนอกหลายเท่า จึงยังมีความจ าเป็นที่จะต้องพึ่งพาแหล่งเงินทุนจากภายนอกเป็นหลัก เช่น กู้เงินจากธนาคาร รับเงินฝากจากสหกรณ์อื่น จึงท าให้สหกรณ์มีต้นทุนจ่ายจากดอกเบี้ยเงินฝากหรือ ดอกเบี้ยเงินกู้ให้แก่แหล่งเงินทุนภายนอกเป็นจ านวนมาก - กรรมการด าเนินการผู้เป็นตัวแทนในการบริหารงาน และฝ่ายจัดการ ส่วนใหญ่ขาด ความรู้ความเข้าใจในการบริหารองค์กรและบริหารงานธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจบางธุรกิจ เช่น ธุรกิจรวบรวม ผลผลิตทางการเกษตร พบว่าในแต่ละปีผลการด าเนินงานของสหกรณ์ขนาดใหญ่ จะประสบภาวะขาดทุน เฉพาะธุรกิจ สืบเนื่องมาจาก ขาดองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญในด้านการด าเนินธุรกิจรวบรวม - สหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรจะไม่มีความสามารถในการจ้างพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือมีไม่เพียงพอ ส่งผลให้ตกชั้นการควบคุมภายใน ซึ่งเป็นตัวชี้วัดในเรื่องการยกระดับชั้นของสหกรณ์ - ฝ่ายตรวจสอบหรือผู้ตรวจสอบกิจการที่ยังไม่มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบ เพียงพอ หรือไม่เท่าทันต่อข้อบกพร่องที่จะเกิดขึ้น 1.2 ปัญหาภายนอกองค์กร - ความชัดเจนในนโยบายสนับสนุนต่างๆ เมื่อมีการเปลี่ยนรัฐบาลส่งผลให้นโยบายไม่ ต่อเนื่องและสอดคล้องกัน - การแข่งขันด้านการค้าในระบบธุรกิจและสภาวะเศรษฐกิจของโลก - ปัญหาภัยธรรมชาติ ที่ไม่เป็นไปตามฤดูกาล ส่งผลต่อการส่งช าระหนี้ของสมาชิกที่มีต่อสหกรณ์
83 ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. กรณีเป็นสหก รณ์จัดตั้งใหม่ ในระยะสามปีแร ก เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์แล ะ ผู้เกี่ยวข้องจะต้องเข้าไปช่วยเหลือการด าเนินงานของสหกรณ์ในทุกๆ ด้านอย่างใกล้ชิด เพื่อให้สหกรณ์ สามารถด าเนินงานต่างๆ ได้ด้วยตนเอง เช่น การให้องค์ความรู้ ความเข้าใจในอุดมการณ์ หลักการ และ วิธีการสหกรณ์ การวางระบบโครงสร้างภายในของสหกรณ์ ด้านการด าเนินธุรกิจ ด้านการบริหารจัดการ ภายใน และที่ส าคัญคือต้องก ากับไม่ให้สหกรณ์มีข้อบกพร่องหรือข้อสังเกตต่าง ๆ ตั้งแต่เริ่มต้นของการเข้าสู่ ระบบสหกรณ์ 2. ส่งเสริมให้สมาชิกฯ มีจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ โดย น าเสนอองค์ความรู้ต่าง ๆ เพื่อให้โอกาสสมาชิกได้ซักถามหรือให้ข้อเสนอแนะ ในการด าเนินงานของ สหกรณ์ โดยใช้เวทีจากการประชุมกลุ่มสมาชิก และเวทีการประชุมใหญ่สามัญประจ าปีและกระท าเช่นนี้ อย่างต่อเนื่องเป็นประจ าทุกปี 3. จัดหาแหล่งเงินทุนอัตราดอกเบี้ยต่ าเพื่อช่วยเหลือสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เช่น เงินกู้ กองทุนพัฒนาสหกรณ์ เงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร รวมทั้งแจ้งแนวทางในการด าเนินโครงการต่าง ๆ เพื่อระดมทุนภายในของตนเองอย่างสม่ าเสมอ ได้แก่ การระดมหุ้น การฝากเงินกับสหกรณ์ โดยให้สมาชิกมี ส่วนร่วมอย่างแท้จริง เพื่อลดปัญหาต้นทุนการเงินจากแหล่งเงินทุนภายนอกของสหกรณ์ 4. ส่งเสริมให้ความรู้แก่คณะกรรมการด าเนินการ และเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ เกี่ยวกับการ บริหารจัดการภายในองค์กร และการจัดการด้านธุรกิจของสหกรณ์ ทั้งนี้จะต้องจัดการอยู่ภายใต้กฎหมายที่ เกี่ยวข้อง 5. ส่งเสริมให้มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่หรือฝ่ายจัดการร่วมกันระหว่างสหกรณ์ขนาดเล็กหรือ กลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีทุนในการจัดจ้างเพียงพอ 6. ส่งเสริมให้ความรู้ด้านกฎหมาย การบริหาร การบัญชี และวิธีการตรวจสอบให้แก่ ผู้ตรวจสอบกิจการให้มีความรู้ความสามารถมากขึ้นและเมื่อมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้ตรวจสอบ กิจการ เช่น ส านักงานตรวจสอบบัญชี หรือ ส านักงานสหกรณ์จังหวัด ก็ด าเนินการเข้าอบรมตามหลักสูตร ที่ก าหนดพร้อมทั้งให้ผู้ตรวจสอบกิจการได้มีบทบาท หน้าที่ รายงานข้อเสนอแนะต่อที่ประชุมคณะกรรมการ ด าเนินการและที่ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี เพื่อให้คณะกรรมการด าเนินการและสมาชิก ได้เห็น ความส าคัญของผู้ตรวจสอบกิจการ 7. สร้างแนวทางก ารด าเนินงานเพื่อรับมือกับสภ าวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา เช่น ส่งเสริมการจัดท าอาชีพเสริม จัดท าโครงการต่าง ๆ เพื่อให้สมาชิกมีอาชีพเสริมที่สามารถ หารายได้เพิ่มมากขึ้น โดยมีสหกรณ์เป็นผู้บริหารจัดการให้แก่สมาชิก เพื่อหลีกหนีปัญหาพืชราคาตกต่ าขาย ไม่ได้ เนื่องจากเกษตรกรผลิตมากจนเกินไปท าให้ล้นตลาด
84 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 1. การเข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิก ตามโครงการสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในการพัฒนาความ เข้มแข็งและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค. เพชรบูรณ์ จ ากัด มีสมาชิกสามัญ 972 ราย แบ่งเป็นกลุ่มสมาชิกแยกตามพื้นที่ต่าง ๆ ครอบคลุมทั้งอ าเภอวังโป่ง รวมทั้งสิ้น 28 กลุ่ม ซึ่งใน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย ประธานกลุ่ม เลขานุการกลุ่ม และสมาชิก ซึ่งมีจ านวนที่แตกต่างกันไปตามพื้นที่ แต่ละต าบล ในแต่ละปี สหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค. เพชรบูรณ์จ ากัด ซึ่งเป็นสหกรณ์ขนาดใหญ่ มากจากการจัดชั้นของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จะด าเนินการจัดประชุมกลุ่มสมาชิก ปีละ 2 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ 1 ในระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึง กรกฎาคม และครั้งที่ 2 ในระหว่างเดือน มกราคม ถึง กุมภาพันธ์ ส าหรับในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ทางส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้จัดท าโครงการสร้างการ มี ส่วนร่วมของสมาชิกในการพัฒนาความเข้มแข็งและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์โดยมีวัตถุประสงค์ในการ ให้ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าไปร่วมประชุมกลุ่มสมาชิกร่วมกับคณะกรรมการและฝ่ายจัดการของสหกรณ์ เพื่อ 1.1 สร้างความรู้ความเข้าใจถึงแผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์แก่ สมาชิกชั้นน า 1.2 ได้ข้อสรุปวิธีการด าเนินงานขับเคลื่อนตามแผนที่จะท าให้สมาชิกมีส่วนร่วมตาม แผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ซึ่งการจัดท าแผนพัฒนาความเข้มแข็ง และ แผนพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์ สหกรณ์ฯ ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อยกระดับสหกรณ์ภาคการเกษตร เป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอด าเนินการมาในระหว่างวันที่ 16-17 ตุลาคม 2562 เป็นการระดมสมอง แนว ทางการแก้ไขปัญหาเรื่องต่าง ๆ และข้อคิดเห็นจากหลายฝ่าย ประกอบไปด้วย คณะกรรมการด าเนินการ สหกรณ์ ฝ่ายจัดการ สมาชิกชั้นน า ผู้แทนธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรและส านักงาน สหกรณ์จังหวัด ส่งผลให้สหกรณ์จัดท าแผนงานโครงการต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางการส่งเสริมอาชีพ และ แนวทางในการด าเนินงานของสหกรณ์ให้มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล อาทิเช่น 1.โครงการรวบรวม ข้าวเปลือกตามโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและเพิ่มมูลค่า 2. โครงการรวบรวมข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 3. โครงการปรับปรุงเมล็ดพันธุ์ข้าว พล.2 4.แผนงานพัฒนาองค์ความรู้ของบุคลากร และโครงการต่าง ๆ เหล่านี้ เพื่อให้เกิดประโยชน์และครบถ้วนสูงสุด ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ จึงได้จัดท าโครงการ สร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในการพัฒนาความเข้มแข็งและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ เพื่อให้ใช้การประชุม กลุ่มสมาชิกของสหกรณ์เป็นเวทีในการน าแผนงาน/โครงการต่าง ๆ ลงไปสู่สมาชิกของสหกรณ์ ให้ได้ รับทราบ รับฟัง และมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น แนวทางเพิ่มเติม ในการที่จะน าโครงการ/แผนงาน ต่าง ๆ ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมและเข้าใจตรงกันในทุกส่วนของสหกรณ์และนอกเหนือจากสมาชิก ของสหกรณ์จะได้รับทราบ รับรู้ และเสนอแนะในเรื่องแผนงาน/โครงการ ต่าง ๆ ของสหกรณ์แล้ว เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ได้ให้ความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่อง หลักการ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ ให้แก่ สมาชิก รวมทั้งทางด้านกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบต่าง ๆ ของสหกรณ์ ตลอดจนตอบข้อซักถามจน สมาชิกเข้าใจ สนใจ และมีจิตส านึกที่จะเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของสหกรณ์ ซึ่งในการประชุมกลุ่มสหกรณ์ฯ ยังได้น าโครงการต่าง ๆ ที่จะช่วยเหลือสมาชิก เช่น โครงการหุ้นลุ้นรางวัล โครงการส่งเสริมอาชีพสมาชิก
85 ผลลัพธ์ที่ตามมาหลังจากการประชุมกลุ่มสมาชิก และด าเนินโครงการสร้างการมีส่วนร่วม ของสมาชิกในการพัฒนาความเข้มแข็งและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ พบว่าสหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค. เพชรบูรณ์จ ากัด มีผลลัพธ์ดังนี้ 1. สหกรณ์สามารถด าเนินธุรกิจรวบรวมได้ตามแผนงานหรือเป้าหมายที่ก าหนด 2. สมาชิกมีส่วนร่วมในกิจกรรมของสหกรณ์มากขึ้นจากเดิม 3. สามารถติดตามเร่งรัดลูกหนี้ได้เพิ่มมากขึ้น ดอกเบี้ยค้างลดลง 2. สหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค. เพชรบูรณ์ จ ากัด ได้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการผลิตและ กระจายเมล็ดพันธุ์ดีแก่สหกรณ์ในสถาบันเกษตรกร ปีการผลิต 2561/2562 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตและ กระจายเมล็ดพันธุ์ดีให้แก่สมาชิกและเกษตรกรทั่วไป สหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค. เพชรบูรณ์ จ ากัด ได้ด าเนินธุรกิจแปรรูปผลิตผลการเกษตร และการผลิตสินค้า โดยทางสหกรณ์มี โรงคัดพร้อมเครื่องคัดเมล็ดพันธุ์ขนาด 10 ตัน การด าเนินธุรกิจแปร รูปผลผลิตเพื่อมาจ าหน่ายเมล็ดพันธุ์ให้กับสมาชิก,จ าหน่ายให้กับคู่ค้าและตลาดทั่วไป ซึ่งสหกรณ์สามารถ ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวได้ จ านวน 109.50 ตัน ตัน คิดเป็นเงินทั้งสิ้น 1,011,293.50 บาท 3. ผู้บริหารงานของสหกรณ์ มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ วิธีการและอุดมการณ์สหกรณ์ บริหารงานโดยยึดหลักความโปร่งใส ยึดผลประโยชน์ของสมาชิกและสหกรณ์เป็นหลัก 4. มีหน่วยงานภาครัฐและเอกชนให้การส่งเสริม สนับสนุน ท าให้ธุรกิจสหกรณ์สามารถ ขับเคลื่อน ไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้สหกรณ์ยังมีบทบาทในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ ดังนี้ 4.1 โครงการสานพลังประชารัฐเพื่อสนับสนุนการปลูกข้าวโพดหลังฤดูท านา 4.2 ศูนย์เรียนรู้ด้านการสหกรณ์ 4.3 โครงการระบบส่งเสริมเกษตรกรแบบแปลงใหญ่ 4.4 โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่ 4.5 รวบรวมผลผลิตหลักของสมาชิกสหกรณ์ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
86 โครงการสัมมนาสมาชิกระดับกลุ่มเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในการพัฒนาความเข้มแข็ง และพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ประชุมคณะกรรมการสหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค. เพชรบูรณ์ จ ากัด