87 ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี สิ้นสุดปีบัญชี 31 มีนาคม 2562 ในวันที่ 9 สิงหาคม 2562 โครงการส่งเสริมการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ดีแก่สหกรณ์ในสถาบันเกษตรกร
88 โครงการสานพลังประชารัฐเพื่อสนับสนุนการปลูกข้าวโพดหลังฤดูท านา โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “แก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสหกรณ์”
89 รวบรวมผลผลิตหลักของสมาชิกสหกรณ์ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
90 โครงการระบบส่งเสริมเกษตรกรแบบแปลงใหญ่ โครงการจิตอาสา
91 ประกอบด้วย สหกรณ์ 3 แห่ง สมาชิก 1,873 คน กลุ่มเกษตรกร 5 แห่งสมาชิก 338 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. สมาชิกของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มมากขึ้นในเรื่อง เกี่ยวกับหลักการ วิธีการ และอุดมการณ์สหกรณ์รวมทั้งตระหนักถึงสิทธิ และแสดงบทบาทหน้าที่ของ สมาชิกได้อย่างถูกต้อง สังเกตได้จากการเข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปีหรือการเข้าร่วมประชุมกลุ่ม สมาชิก ซึ่งในปัจจุบันสมาชิกมีความกล้าแสดงออกมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นการซักถามและ การลงมติต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้นจากเดิม 2.สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรด าเนินงานเป็นไปตามแนวทางที่นายทะเบียนสหกรณ์ และนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรก าหนดทั้งทางด้านกฎหมาย ข้อบังคับและระเบียบต่างๆ โดยให้ สอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับแนวทางฯ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาข้อบกพร่องต่างๆ ใน ระหว่างการด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 3. สหกรณ์ฯ จัดการประชุมคณะกรรมการด าเนินการเป็นประจ าทุกเดือนมีการแจ้ง หนังสือเชิญประชุมพร้อมทั้งระเบียบวาระให้ทางส านักงานสหกรณ์จังหวัดเป็นประจ าและการลงมติใดๆ ในแต่ละระเบียบวาระการประชุมไม่ขัดกับระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายสหกรณ์ รวมทั้งประกาศและ ค าแนะน าต่างๆ ของนายทะเบียนสหกรณ์ 4. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้น าข้อสังเกตและข้อแนะน าจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ส านักงานตรวจบัญชี ส านักงานสหกรณ์จังหวัด มาติดตามและแก้ไขข้อสังเกตดังกล่าวอย่าง ต่อเนื่องเป็นรูปธรรมและชัดเจนจนกว่าการแก้ไขข้อบกพร่องจะแล้วเสร็จ 5. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ด าเนินงานเพื่อให้ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐาน เกณฑ์ตัวชี้วัดต่างๆ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ อาทิเช่น - สามารถผ่านมาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ - ผลการด าเนินงานที่ดีขึ้นจากเดิมโดยดูได้จากงบการเงินประจ าปี - ไม่มีข้อบกพร่องหรือข้อบกพร่องลดลง - การติดตามการใช้เงินกู้ให้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ - การบันทึกบัญชีที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน - การเพิ่มปริมาณธุรกิจ ให้เป็นไปตามตัวชี้วัด - การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกิจกรรมของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร - การยกระดับชั้นของสหกรณ์ ให้ดีขึ้นเช่น จากชั้น 3 เข้าสู่ชั้น 2 - การปิดบัญชีและประชุมใหญ่ให้ได้ตามที่กฎหมายก าหนด เป็นต้น อ ำเภอบึงสำมพัน
92 6. ส่งเสริมและเข้าร่วมการประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ เพื่อเผยแพร่อุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ รวมทั้งประชาสัมพันธ์งานนโยบายของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ รับฟังปัญหาอุปสรรคในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงานของสหกรณ์ รวมทั้งตอบข้อซักถามต่างๆ ของสมาชิกและบุคคลทั่วไปที่สนใจในงานสหกรณ์ 7. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้น าแผนปฏิบัติงาน รวมทั้งแผนงบประมาณการ รายรับ-รายจ่ายปร ะจ าปี ที่ได้รับอนุมัติจากสมาชิกในที่ประชุมใหญ่ มาแตกย่อยเป็นแผนงา น ประจ าเดือน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการติดตามงานจากคณะกรรมการด าเนินการและฝ่ายจัดการ รวมทั้ง เพื่อให้มีการควบคุมค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ของสหกรณ์ ไม่ให้เกินกว่างบประมาณที่ก าหนดไว้ด้วย 8. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการสนับสนุนเงินกองทุนต่างๆ เช่น กองทุนพัฒนา สหกรณ์กองทุนสงเคราะห์เกษตรกรของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ซึ่งสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการวาง แผนการใช้เงิน และการส่งช าระเงินเป็นไปตามแผนงานและวัตถุประสงค์แห่งการกู้เงินโดยแท้จริงช่วยให้ สมาชิกมีแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ าท าให้มีรายได้เพิ่มและส่งผลให้มีความกินดีอยู่ดีมากขึ้น ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.1 ปัญหาภายในองค์กร - ในกรณีสหกรณ์ขนาดเล็ก เมื่อได้รับการจัดตั้งแล้วยังไม่มีความพร้อมที่จะเข้าสู่ระบบ สหกรณ์ เช่น ขาดองค์ความรู้ขาดการรวมตัวของคณะกรรมการด าเนินการ ขาดเงินทุนหมุนเวียนที่จะ น ามาให้บริการแก่สมา ชิกสมาชิกข าดการช่วยเหลือซึ่งกัน และกันส่งผลให้การด า เนินงานขา ด ประสิทธิภาพ - สมาชิกผู้เป็นเจ้าของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขาดจิตส านึกในการเป็นเจ้าของ ตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ที่พึงกระท า - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีทุนภายในของตนเองยังไม่เพียงพอต่อการให้บริการ แก่สมาชิกยังคงต้องพึ่งพาแหล่งเงินทุนจากภายนอกเช่น กู้เงินจากธนาคาร รับเงินฝากจากสหกรณ์อื่น ท าให้สหกรณ์มีต้นทุนจ่ายจากดอกเบี้ยเงินฝากหรือดอกเบี้ยเงินกู้ให้แก่แหล่งเงินทุนภายนอก - กรรมการด าเนินการผู้เป็นตัวแทนในการบริหารงานส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจ ในการบริหารองค์กรและบริหารงานธุรกิจ - สหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรไม่มีความสามารถในการจัดจ้างพนักงานเจ้าหน้าที่ - ฝ่ายตรวจสอบหรือผู้ตรวจสอบกิจการที่ยังไม่มีองค์ความรู้ความสามารถในการ ตรวจสอบเพียงพอ 1.2 ปัญหาภายนอกองค์กร -ความชัดเจนในนโยบายสนับสนุนต่างๆ ตลอดถึงในแต่ละยุคสมัยไม่ต่อเนื่องสอดคล้องกัน - การแข่งขันด้านการค้าในระบบธุรกิจและสภาวะเศรษฐกิจของโลก
93 ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - ส่งเสริมให้สมาชิกฯ มีจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ ใน สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรโดยใช้เวทีจากการประชุมกลุ่มสมาชิกและเวทีการประชุมใหญ่สามัญประจ าปี - จัดหาแหล่งเงินทุนอัตราดอกเบี้ยต่ าเพื่อช่วยเหลือสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เช่น เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ เงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร รวมทั้งแจ้งแนวทางในการด าเนินโครงการ ต่าง ๆ เพื่อระดมทุนภายในของตนเองอย่างสม่ าเสมอ ได้แก่ การระดมหุ้น การฝากเงินกับสหกรณ์ โดย ให้สมาชิกมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง เพื่อลดปัญหาต้นทุนการเงินจากแหล่งเงินทุนภายนอกของสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร - ส่งเสริมให้ความรู้แก่คณะกรรมการ เกี่ยวกับการบริหารจัดการภายในองค์กร และ การจัดการด้านธุรกิจของสหกรณ์ ทั้งนี้จะต้องจัดการอยู่ภายใต้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง - ส่งเสริมให้มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่หรือฝ่ายจัดการร่วมกันระหว่างสหกรณ์ขนาดเล็ก หรือกลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีทุนในการจัดจ้างเพียงพอ - ส่งเสริมให้ความรู้ด้านกฎหมาย การบริหาร การบัญชี และวิธีการตรวจสอบให้แก่ผู้ ตรวจสอบกิจการให้มีองค์ความรู้ ความสามารถมากขึ้นและเมื่อมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้ ตรวจสอบกิจการ เช่น ส านักงานตรวจสอบบัญชี หรือ ส านักงานสหกรณ์จังหวัด ด าเนินการเข้าอบรม ตามหลักสูตรที่ก าหนด -สร้างแนวทางการด าเนินงานเพื่อรับมือกับสภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา - ส่งเสริมการจัดท าอาชีพเสริม จัดท าโครงการต่าง ๆ เพื่อให้สมาชิกมีอาชีพเสริมที่ สามารถหารายได้เพิ่มมากขึ้น โดยมีสหกรณ์เป็นผู้บริหารจัดการให้แก่สมาชิก เพื่อหลีกหนีปัญหาราคา ผลผิตตกต่ า ขายไม่ได้ เนื่องจากเกษตรกรผลิตมากจนเกินไปท าให้ล้นตลาด
94 สหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ 1. ชื่อสหกรณ์การเกษตรบึงสามพัน จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ การเกษตร 2. จ านวนสมาชิกสหกรณ์ ณ 31 มีนาคม 2562 จ านวนทั้งสิ้น 1,483 ราย เป็นสมาชิกสามัญ จ านวน 1,055 ราย แยกเป็นชาย 662 ราย หญิง 393 รายและสมาชิกสมทบ จ านวน 428 ราย แยกเป็น ชาย 170 ราย หญิง 258 ราย 3. ผลผลิตการเกษตรหลักของสหกรณ์ ข้าว ข้าวโพด 4. ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ 4.1 ธุรกิจ รับฝากเงินจากสมาชิก 4.2 ธุรกิจ ให้เงินกู้แก่สมาชิก 4.3 ธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจ าหน่ายแก่สมาชิก 4.4 ธุรกิจ รวบรวมผลิตผล โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจ ให้เงินกู้แก่สมาชิก 5. ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ ในพื้นที่แดนด าเนินงานของสหกรณ์ เป็นพื้นที่มีการปลูก พืชหลากหลายชนิด เช่น ข้าว ถั่วเขียว ข้าวโพด อ้อยและมันส าปะหลัง นอกจากนั้นสหกรณ์ได้รับความร่วมมือ ช่วยเหลือจากหลายๆ องค์กร ทั้งในหน่วยงานราชการ และสถาบันการเงินต่าง ๆ รวมทั้งได้เข้าร่วมนโยบาย ส าคัญต่าง ๆ จากทางราชการด้วย เช่น โครงการไทยนิยมยั่งยืนของกรมส่งเสริมสหกรณ์ โครงการพัฒนา สถาบันเกษตรกร จัดเก็บพืชผลทางการเกษตร (โครงการแก้มลิง) เพื่อก่อสร้างเครื่องชั่งระบบดิจิตอลพร้อมชุด ติดตั้งฐานราก ขนาด 40 ตัน และโครงการสานพลังประชารัฐเพื่อสนับสนุนการปลูกข้าวโพดหลังฤดูท านาปี การผลิต 2561/2562 6. บทบาทของสหกรณ์ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ ดังนี้ 6.1 การเข้าร่วมโครงการรวบรวมข้าวเปลือก 6.2 สหกรณ์ได้ให้การสนับสนุนโครงการ ศพก.ในพื้นที่ทั้งในเรื่องสถานที่ ปัจจัยการ ผลิต และองค์ความรู้เรื่องกระบวนการกลุ่มเชิงสหกรณ์ ทุกๆโครงการ 6.3 โครงการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ 6.4 โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ าในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร 6.5 โครงการสานพลังประชารัฐเพื่อสนับสนุนการปลูกข้าวโพดหลังฤดูท านา 6.6 โครงการพัฒนาสถาบันเกษตรกร จัดเก็บพืชผลทางการเกษตร (โครงการแก้มลิง)
95 กิจกรรมผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ กิจกรรมจัดสัมมนาให้แก่คณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ เจ้าหน้าที่สหกรณ์ และผู้น าสมาชิก เกี่ยวกับการจัดท าแผนพัฒนาความเข้มแข็ง และพัฒนาการด าเนินธุรกิจสหกรณ์
96 กิจกรรมการจัดประชุมกลุ่มสมาชิก เพื่อชี้แจงให้เข้าใจถึงสภาพปัญหาในการด าเนินงาน ของสหกรณ์ ตลอดจนการแก้ไขปัญหาหนี้ค้าง
97 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสหกรณ์
98 กิจกรรมการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ โครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวเปลือก ปีการผลิต 2561/62
99 100 โครงการส่งเสริมเกษตรกรผสมผสานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
โครงการสานพลังประชารัฐเพื่อสนับสนุนการปลูกข้าวโพดหลังฤดูท านา
101 โครงการพัฒนาสถาบันเกษตรกร จัดเก็บพืชผลทางการเกษตร (โครงการแก้มลิง) เพื่อก่อสร้างเครื่องชั่งระบบดิจิตอลพร้อมชุดติดตั้งฐานราก ขนาด 40 ตัน
102 ประกอบด้วย สหกรณ์ 5 แห่ง สมาชิก 1,313 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และเกษตรกร 1. ด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ ประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ และกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง 1.1 แนะน า ส่งเสริมให้สหกรณ์ สามารถปิดบัญชีได้ ภายใน 30 วัน 1.2 แนะน า ส่งเสริม สหกรณ์ ให้ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี ได้ภายใน 150 วัน 1.3 การให้ความเห็นชอบการก าหนดวงเงินกู้ยืมหรือการค้ าประกัน ประจ าปีของสหกรณ์ 1.4 การตรวจการสหกรณ์ 1.5 ติดตามแก้ไขตามข้อสังเกต ข้อเสนอแนะของผู้สอบบัญชี 1.6 ส่งเสริมแนะน า สหกรณ์จัดท าระเบียบ เพื่อให้นายทะเบียนสหกรณ์ให้ความ เห็นชอบ/รับทราบระเบียบของสหกรณ์ 1.7 แนะน าการรับจดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ สหกรณ์ 2. ส่งเสริมและพัฒนางานสหกรณ์ทุกประเภท 2.1 เข้าร่วมประชุมประจ าเดือนกับคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ 2.2 เข้าร่วมประขุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ รับฟังความคิดเห็นจากสมาชิก ประชาชน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เกี่ยวกับการด าเนินงาน การประกอบอาชีพ ปัญหาอุปสรรค หรือเรื่องอื่น ๆ ที่ เป็นประโยชน์กับสมาชิก 2.3 การมีส่วนร่วมของสมาชิกสหกรณ์ 2.4 สหกรณ์สามารถจัดท างบการเงินที่ผ่านการรับรองจากผู้สอบบัญชีและจัด ประชุมใหญ่ได้ภายในก าหนด 2.5 ส่งเสริมให้คณะกรรมการด าเนินการมีความรู้เรื่องมาตรฐานและการยกระดับ 2.6 ส่งเสริมให้สมาชิก เข้าร่วมท าธุรกิจและประชุมใหญ่สามัญประจ าปีเพิ่มขึ้น 2.7 ส่งเสริมสหกรณ์ตามหลักเกณฑ์มาตรฐานและการยกระดับ 2.8 ส่งเสริมสหกรณ์ให้เริ่มท าธุรกิจ 2.9 แนะน าส่งเสริมเกี่ยวกับการบริหารเงินทุน 2.10 ส่งเสริม แนะน า และติดตามการใช้อุปกรณ์การตลาด 2.11 การเข้าส่งเสริม แนะน า สนับสนุน และติดตามให้สหกรณ์ ที่หยุดด าเนินธุรกิจ สามารถด าเนินธุรกิจได้ หรือจ าเป็นต้องเข้าสู่กระบวนการช าระบัญชี อ ำเภอเขำค้อ
103 3. ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ให้แก่ บุคลากรสหกรณ์กลุ่มเกษตรกรและประชาชนทั่วไป 4. ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรและสหกรณ์ 4.1 ส่งเสริมการเพิ่มปริมาณธุรกิจสหกรณ์ 4.2 แนะน า ส่งเสริมให้สมาชิกของสหกรณ์มีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจกับสหกรณ์ 4.3 แนะน า ส่งเสริมสหกรณ์ที่จัดตั้งใหม่ให้ด าเนินงานได้ 5. ปฏิบัติตามคู่มือการปฏิบัติงานระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (Cooperatives Promotion System : CPS) 5.1 วิเคราะห์สหกรณ์ที่ด าเนินการโดยใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรอย่างน้อย 2 เครื่องมือ ตามหลักวิชาการ 5.2 ค้นหาสาเหตุที่สหกรณ์หยุดด าเนินการ 5.3 จัดท าแบบสรุปประเด็นการส่งเสริม ตามผลการวิเคราะห์ มีกิจกรรม/แผนงาน/ โครงการ ครบถ้วน 5.4 น าเสนอผลการวิเคราะห์ต่อที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์ 1.1 ปัญหาภายในองค์กร -สหกรณ์บางแห่งมีปริมาณธุรกิจต่ าไม่คุ้มค่าใช้จ่ายและมีลูกหนี้ค้างนาน ไม่สามารถติดตามให้ ช าระได้และสหกรณ์มีค่าใช้จ่ายสูง ส่งผลให้ขาดทุน -สมาชิกมีหนี้สินหลายทางและมีรายได้ลดลงจากสภาวะราคาสินค้าเกษตรต่ าลงและได้รับ ผลกระทบจากภัยธรรมชาติ -สมาชิกขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องอุดมการณ์ หลักการวิธีการสหกรณ์ ขาดความร่วมมือ อัตราการมีส่วนร่วมกับสหกรณ์ต่ า ส่งผลท าให้การพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ท าได้ยาก - เกี่ยวกับสมาชิกผู้เป็นเจ้าของสหกรณ์ขาดจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและ หน้าที่ที่พึงกระท า - กรรมการผู้เป็นผู้แทนในการบริหารงานส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจในการบริหาร องค์กรและบริหารงานธุรกิจ - สหกรณ์ขนาดเล็กจะไม่มีความสามารถในการจ้างพนักงานเจ้าหน้าที่ -ฝ่ายตรวจสอบหรือผู้ตรวจสอบกิจการที่ยังไม่มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบเพียงพอ - ทุน (ที่ดิน เงินทุน แรงงาน ฯลฯ) ไม่เพียงพอ
104 1.2 ปัญหาภายนอกองค์กร - ความชัดเจนในนโยบายสนับสนุนต่างๆ ตลอดถึงในแต่ละยุคสมัยไม่ต่อเนื่องสอดคล้องกัน - การแข่งขันด้านการค้าในระบบธุรกิจ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - ส่งเสริมให้สมาชิกฯ มีจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ในสหกรณ์ - ส่งเสริมให้ความรู้แก่คณะกรรมการเกี่ยวกับเทคนิคในการบริหารงานองค์กรและบริหารงาน ธุรกิจ - ส่งเสริมให้มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ร่วมกันระหว่างสหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรที่ไม่มี ทุนในการจัดจ้างเพียงพอ - ส่งเสริมให้ความรู้ด้านกฎหมาย การบริหาร การบัญชี และเทคนิคการตรวจสอบให้แก่ผู้ ตรวจสอบกิจการให้มีความรู้ความสามารถมากขึ้น - ส่งเสริมการระดมทุนจากสมาชิก หรือจัดหาทุนจากแหล่งต้นทุนต่ าและคุ้มทุน การประชุมใหญ่สามัญประจ าปี สหกรณ์การเกษตรเขาค้อพัฒนา จ ากัด วันที่ 9 สิงหาคม 2562 สถานที่ ห้องประชุมสหกรณ์เขาค้อพัฒนา จ ากัด อ าเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
105 การประชุมใหญ่สามัญครั้งแรก สหกรณ์ทุ่งกังหันลม จ ากัด วันที่ 27 กันยายน 2562 สถานที่ อบต.เขาค้อ อ าเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ การประชุมใหญ่สามัญประจ าปี สหกรณ์การเกษตรต าบลหนองแม่นา จ ากัด วันที่ 22 ตุลาคม 2562 สถานที่ ศาลาอเนกประสงค์บ้านหนองแม่นา ต าบลหนองแม่นา อ าเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
106 107 ประกอบด้วย สหกรณ์ 9 แห่ง สมาชิก 3,900 คน กลุ่มเกษตรกร 8 แห่ง สมาชิก 493 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1.สมาชิกของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับหลักการ วิธีการและอุดมการณ์สหกรณ์ รวมทั้งตระหนักถึงสิทธิ และแสดงบทบาทและหน้าที่ของสมาชิกได้ อย่างถูกต้องมากขึ้นกว่าเดิม ซึ่งพิจารณาได้จากการเข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปีหรือการเข้า ร่วมประชุมกลุ่มสมาชิก ซึ่งในปัจจุบันสมาชิกมีความกล่าแสดงออก มีส่วนร่วมในการซักถา ม การแสดงความคิดเห็น การลงมติต่างๆ เพิ่มมากขึ้นจากเดิม ทั้งนี้สืบเนื่องจากใน ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้ด าเนินโครงการสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในการพัฒนาความเข้มแข็งและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจถึงแผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ แก่สมาชิกชั้นน ารวมทั้ง หาวิธีการหรือข้อสรุปการในการขับเคลื่อนตามแผนที่จะท าให้สมาชิกมีส่วน ร่วมในการแสดงความคิดเห็น หรือเสนอแนะข้อคิดเห็นเพื่อด าเนินการตามแผนพัฒนาความเข้มแข็ง และแผนพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์ โดยในโครงการฯ มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าร่วม ประชุมกลุ่มสมาชิก เพื่อไปเป็นวิทยากรให้ความรู้ ความเข้าใจ ในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสริมพัฒนาด้านการด าเนินธุรกิจ ตลอดจนตอบข้อซักถามต่าง ๆ ของ สมาชิกได้อย่างละเอียดจนเข้าใจ ส่งผลให้สมาชิกมีความสนใจ ใส่ใจ และด าเนินกิจกรรมกับสหกรณ์ได้ เพิ่มมากขึ้นอีกด้วย 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรด าเนินงานเป็นไปตามแนวทางที่นายทะเบียนสหกรณ์ และนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรก าหนด ทั้งทางด้านกฎหมาย ข้อบังคับและระเบียบต่างๆ โดย ส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ก าหนดข้อบังคับ ระเบียบต่าง ๆ ให้สอดคล้องและเป็นไปใน ทิศทางเดียวกันกับแนวทางฯ ของกรมฯ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหา ข้อบกพร่องต่าง ๆ ในระหว่าง การด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรและหากคณะกรรมการด าเนินการ เกิดข้อสงสัยหรือ เกิดข้อหารือในการด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ก็สามารถให้ค าแนะน าได้อย่างถูกต้อง 3. สหกรณ์ ฯ จัดการประชุมคณะกรรมการด าเนินการเป็นประจ าอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง มีการแจ้งหนังสือเชิญประชุมพร้อมทั้งระเบียบวาระให้ทางส านักงานสหกรณ์จังหวัดเป็นประจ า และการลงมติใดๆ ในแต่ละระเบียบวาระการประชุมไม่ขัดกับกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบต่างๆ รวมทั้งประกาศและค าแนะน าต่าง ๆ ของนายทะเบียนสหกรณ์ ซึ่งหากสหกรณ์ใด พบว่ามีกรรมการ ด าเนินการในที่ประชุมไม่เห็นด้วยกับการลงมติใด ๆ ได้แนะน าให้ด าเนินการตามมาตรา 51/3 แห่ง พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 และฉบับปรับปรุง พ.ศ.2562 อ าเภอหล่มเก่า
107 4. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ได้ติดตามให้คณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร น าข้อสังเกตและข้อแนะน าจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ส านักงานตรวจบัญชีส านักงาน สหกรณ์จังหวัดมาติดตามและแก้ไขข้อสังเกตดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง เป็นรูปธรรมและชัดเจนจนกว่า การแก้ไขข้อบกพร่องจะแล้วเสร็จ 5.สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ด าเนินงานเพื่อให้ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดต่างๆ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ อาทิเช่น - สามารถผลักดันให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ หากสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรใดที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมฯ อยู่แล้วให้สามารถรักษาเกณฑ์มาตรฐานไว้ให้ได้ -ผลการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ดีขึ้นจากเดิมซึ่งสามารถตรวจสอบและ เปรียบเทียบได้จากงบการเงินประจ าปีหรือหากสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีภาวะขาดทุน ก็พบว่าขาดทุนลดลง - ไม่มีข้อบกพร่องหรือข้อบกพร่องลดลง - การติดตามการใช้เงินกู้ให้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ และการติดตามเร่งรัดให้สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร สามารถส่งช าระหนี้ได้ตามระยะเวลาที่ก าหนด - การบันทึกบัญชีที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน - การเพิ่มปริมาณธุรกิจ ให้เป็นไปตามตัวชี้วัด -การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของสมาชิก ที่มีเพิ่มมากขึ้นจากเดิม -การยกระดับชั้นของสหกรณ์ ให้ดีขึ้น เช่น จากชั้น 3เข้าสู่ชั้น 2 หรือ จากชั้น 2 เข้าสู่ชั้น 1 - การปิดบัญชีและสามารถประชุมใหญ่สามัญประจ าปีให้ได้ตามที่กฎหมายก าหนด - การช าระบัญชีให้อยู่ในชั้นตอนที่ดีขึ้น 6. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าร่วมการประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ เพื่อเผยแพร่อุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ รวมทั้งประชาสัมพันธ์งานนโยบายของกรมส่งเสริมสหกรณ์ของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ รับฟังปัญหาอุปสรรคในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงานของสหกรณ์ รวมทั้งตอบข้อ ซักถามต่างๆ ของสมาชิกและบุคคลทั่วไปที่สนใจในงานสหกรณ์ 7. ส่งเสริมและช่วยเหลือสหกรณ์จัดตั้งใหม่ ให้ด าเนินงานได้อย่างถูกต้องตามระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายสหกรณ์ โดยได้วางแนวทางการด าเนินงานให้สอดคล้องกับแนวทางของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ให้ความรู้แก่คณะกรรมการด าเนินการและฝ่ายจัดการอย่างสม่ าเสมอ เข้าร่วมประชุมประจ าเดือน เพื่อให้ ค าแนะน า แล ะข้อเสนอแน ะในการด าเนินงาน ติดตา มการด าเนินง านของสหกรณ์อย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันมิให้เกิดข้อบกพร่องของสหกรณ์ได้รวมทั้งส่งเสริมทางด้านการพัฒนาธุรกิจ การเพิ่มปริมาณธุรกิจ การบันทึกบัญชีและส่งเสริมให้สหกรณ์จัดตั้งใหม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานทั้ง 7 ข้อ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ได้ 8.สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้น าแผนปฏิบัติงาน รวมทั้งแผนงบประมาณการรายรับ-รายจ่าย ประจ าปี ที่ได้รับอนุมัติจากสมาชิกในที่ประชุมใหญ่สามัญประจ าปีมาท ารายละเอียดเป็นแผนงาน
ประจ าเดือน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการติดตามงานจากคณะกรรมการด าเนินการและฝ่ายจัดการ รวมทั้งเพื่อให้ มีการควบคุมค่าใช้จ่ายต่างๆ ของสหกรณ์ ไม่ให้เกินกว่างบประมาณที่ก าหนดไว้ด้วย 9.สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้รับการสนับสนุนเงินกองทุนต่าง ๆ เช่น กองทุนพัฒนาสหกรณ์ กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ซึ่งสหกรณ์มีการวางแผนการใช้เงิน และการ ส่งช าระเงินเป็นไปตามแผนงานและวัตถุประสงค์แห่งการกู้เงินโดยแท้จริง ส่งผลต่อสมาชิกให้มีความกินดีอยู่ดี มีอาชีพและรายได้ที่มั่นคงยั่งยืนมากขึ้น 10. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สหกรณ์ขนาดใหญ่ระดับอ าเภอยังไม่สามารถเป็นตัวอย่างใน ด้านการบริหารจัดการของสหกรณ์และตัวสมาชิกได้ตามวัตถุประสงค์ เนื่องด้วยเกษตรกรส่วนหนึ่งที่เป็น สมาชิกสหกรณ์และยังมีเงินกู้ค้างช าระกับทางสหกรณ์อยู่ จึงเป็นข้อจ ากัดในการขยายงานและเพิ่มปริมาณ ธุรกิจสหกรณ์จะต้องแก้ไขปัญหาภายในของสหกรณ์ให้เสร็จสิ้น และต้องควบคุมคุณภาพสมาชิกหรือ จัดกลุ่มสมาชิกเพื่อด าเนินงานสหกรณ์ 108
109 ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.1 ปัญหาภายในองค์กร - ในกรณีสหกรณ์ขนาดเล็ก เมื่อได้รับการจัดตั้งแล้วยังไม่มีความพร้อมที่จะเข้าสู่ ระบบสหกรณ์อย่างเต็มตัว เช่น ขาดองค์ความรู้ในด้านการจัดการบริหารคนในองค์กร และเรื่องการ จัดการด้านธุรกิจ ขาดอุปกรณ์การตลาด ขาดเจ้าหน้าที่ในการท างานในด้านต่าง ๆ ขาดเงินทุน หมุนเวียนที่จะน ามาให้บริการแก่สมาชิก และที่ส าคัญขาดการรวมตัวของคณะกรรมการด าเนินการซึ่ง ส่งผลให้การด าเนินงานของสหกรณ์ ขาดประสิทธิผลตั้งแต่ปีแรกๆของการตั้งสหกรณ์ - สมาชิกผู้เป็นเจ้าของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ขาดจิตส านึกในการเป็นเจ้าของ ตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ที่พึงกระท า ไม่ให้ความร่วมมือในกิจกรรมของสหกรณ์ การเชิญสมาชิกเข้า ร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปี เต็มไปด้วยความยากล าบาก เนื่องจากสมาชิกสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรไม่เห็นความส าคัญของสหกรณ์ -สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีทุนภายในของตนเองน้อย ไม่เพียงพอต่อการให้บริการแก่ สมาชิก เมื่อเปรียบเทียบอัตราส่วนทุนภายในและทุนภายนอก พบว่าสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีทุน ตนเองน้อยมากกว่าทุนภายนอกหลายเท่า จึงยังมีความจ าเป็นที่จะต้องพึ่งพาแหล่งเงินทุนจาก ภายนอกเป็นหลัก เช่น กู้เงินจากธนาคาร รับเงินฝากจากสหกรณ์อื่น จึงท าให้สหกรณ์มีต้นทุนจ่าย จากดอกเบี้ยเงินฝากหรือดอกเบี้ยเงินกู้ให้แก่แหล่งเงินทุนภายนอกเป็นจ านวนมาก - กรรมการด าเนินการผู้เป็นตัวแทนในการบริหารงาน และฝ่ายจัดการ ส่วนใหญ่ขาด ความรู้ความเข้าใจในการบริหารองค์กรและบริหารงานธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจบางธุรกิจ เช่น ธุรกิจ รวบรวมผลผลิตทางการเกษตร พบว่าในแต่ละปีผลการด าเนินงานของสหกรณ์ขนาดใหญ่ จะประสบ ภาวะขาดทุนเฉพาะธุรกิจ สืบเนื่องมาจาก ขาดองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญในด้านการด าเนินธุรกิจ รวบรวม - สหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรจะไม่มีความสามารถในการจ้างพนักงาน เจ้าหน้าที่ หรือมีไม่เพียงพอ ส่งผลให้ตกชั้นการควบคุมภายใน ซึ่งเป็นตัวชี้วัดในเรื่องการยกระดับชั้น ของสหกรณ์ - ฝ่ายตรวจสอบหรือผู้ตรวจสอบกิจการที่ยังไม่มีความรู้ความสามารถในการ ตรวจสอบเพียงพอ หรือไม่เท่าทันต่อข้อบกพร่องที่จะเกิดขึ้น 1.2 ปัญหาภายนอกองค์กร - ความชัดเจนในนโยบายสนับสนุนต่างๆ เมื่อมีการเปลี่ยนรัฐบาลส่งผลให้นโยบายไม่ ต่อเนื่องและสอดคล้องกัน - การแข่งขันด้านการค้าในระบบธุรกิจและสภาวะเศรษฐกิจของโลก
110 - ปัญหาภัยธรรมชาติ ที่ไม่เป็นไปตามฤดูกาล ส่งผลต่อการส่งช าระหนี้ของสมาชิกที่มีต่อ สหกรณ์ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - กรณีเป็นสหกรณ์จัดตั้งใหม่ ในระยะสามปีแรก เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์และ ผู้เกี่ยวข้องจะต้องเข้าไปช่วยเหลือการด าเนินงานของสหกรณ์ในทุก ๆ ด้านอย่างใกล้ชิด เพื่อให้ สหกรณ์สามารถด าเนินงานต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง เช่น การให้องค์ความรู้ ความเข้าใจในอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ การวางระบบโครงสร้างภายในของสหกรณ์ ด้านการด าเนินธุรกิจ ด้าน การบริหารจัดการภายใน และที่ส าคัญคือต้องก ากับไม่ให้สหกรณ์มีข้อบกพร่องหรือข้อสังเกตต่าง ๆ ตั้งแต่เริ่มต้นของการเข้าสู่ระบบสหกรณ์ - ส่งเสริมให้สมาชิกฯ มีจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ โดย น าเสนอองค์ความรู้ต่าง ๆ เพื่อให้โอกาสสมาชิกได้ซักถามหรือให้ข้อเสนอแนะ ในการด าเนินงานของ สหกรณ์ โดยใช้เวทีจากการประชุมกลุ่มสมาชิก และเวทีการประชุมใหญ่สามัญประจ าปีและกระท า เช่นนี้อย่างต่อเนื่องเป็นประจ าทุกปี - จัดหาแหล่งเงินทุนอัตราดอกเบี้ยต่ าเพื่อช่วยเหลือสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เช่น เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ เงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร รวมทั้งแจ้งแนวทางในการด าเนิน โครงการต่าง ๆ เพื่อระดมทุนภายในของตนเองอย่างสม่ าเสมอ ได้แก่ การระดมทุน โดยจัดกิจกรรม/ โครงการถือหุ้นลุ้นโชคประจ าปี การฝากเงินกับสหกรณ์ โดยให้สมาชิกมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง เพื่อลด ปัญหาต้นทุนการเงินจากแหล่งเงินทุนภายนอกของสหกรณ์ - ส่งเสริมให้ความรู้แก่คณะกรรมการด าเนินการ และเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ เกี่ยวกับ การบริหารจัดการภายในองค์กร และการจัดการด้านธุรกิจของสหกรณ์ ทั้งนี้จะต้องจัดการอยู่ภายใต้ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง - ส่งเสริมให้มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่หรือฝ่ายจัดการร่วมกันระหว่างสหกรณ์ขนาดเล็ก หรือกลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีทุนในการจัดจ้างเพียงพอ - ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้มีการเชื่องโยงเครือข่ายธุรกิจซึ่งกันและกัน - ส่งเสริมให้ความรู้ด้านกฎหมาย การบริหาร การบัญชี และวิธีการตรวจสอบให้แก่ ผู้ตรวจสอบกิจการให้มีความรู้ความสามารถมากขึ้นและเมื่อมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้ ตรวจสอบกิจการ เช่น ส านักงานตรวจสอบบัญชี หรือ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดด าเนินการเข้าอบรม ตามหลักสูตรที่ก าหนด พร้อมทั้งให้ผู้ตรวจสอบกิจการได้มีบทบาท หน้าที่ รายงานข้อเสนอแนะต่อที่
111 ประชุมคณะกรรมการ และที่ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี เพื่อให้คณะกรรมการด าเนินการและสมาชิก ได้เห็นความส าคัญของผู้ตรวจสอบกิจการ - สร้างแนวทางการด าเนินงานเพื่อรับมือกับสภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา เช่น ส่งเสริมการจัดท าอาชีพเสริม จัดท าโครงการต่าง ๆ เพื่อให้สมาชิกมีอาชีพเสริมที่ สามารถหารายได้เพิ่มมากขึ้น โดยมีสหกรณ์เป็นผู้บริหารจัดการให้แก่สมาชิก เพื่อหลีกหนีปัญหาพืช ราคาตกต่ า ขายไม่ได้การถูกเอารัดเอาเปรียบจากพ่อค้า เนื่องจากเกษตรกรผลิตมากจนเกินไปท าให้ ล้นตลาด สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ. ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 1. การเข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิก ตามโครงการสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในการ พัฒนาความเข้มแข็งและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตรหล่มเก่า จ ากัด มีสมาชิกสามัญ 1,678 ราย แบ่งเป็นกลุ่ม สมาชิกแยกตามพื้นที่ต่าง ๆ ครอบคลุมทั้งอ าเภอหล่มเก่า 9 ต าบล 99 หมู่บ้าน รวมทั้งสิ้น 107 กลุ่ม ซึ่งในแต่ละกลุ่มประกอบไปด้วย ประธานกลุ่ม เลขานุการกลุ่ม และสมาชิก ซึ่งมีจ านวนที่แตกต่างกัน ไปตามพื้นที่แต่ละต าบล ในแต่ละปี สหกรณ์การเกษตรหล่มเก่า จ ากัด ซึ่งเป็นสหกรณ์ขนาดใหญ่มากจาก การจัดชั้นของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จะด าเนินการจัดประชุมกลุ่มสมาชิก ปีละ 2 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ 1 ในระหว่างเดือนพฤษภาคม และครั้งที่ 2 ในระหว่างเดือน พฤศจิกายน ถึงธันวาคม ส าหรับใน ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ทางส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้จัดท าโครงการสร้างการมีส่วน ร่วมของสมาชิกในการพัฒนาความเข้มแข็งและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ โดยมีวัตถุประสงค์ในการให้ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าไปร่วมประชุมกลุ่มสมาชิกร่วมกับคณะกรรมการและฝ่ายจัดการของ สหกรณ์ เพื่อ 1. สร้างความรู้ความเข้าใจถึงแผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ แก่สมาชิกชั้นน า 2. ได้ข้อสรุปวิธีการด าเนินงานขับเคลื่อนตามแผนที่จะท าให้สมาชิกมีส่วนร่วมตาม แผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ซึ่งการจัดท าแผนพัฒนาความเข้มแข็ง และแผนพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์ สหกรณ์ฯ ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อยกระดับสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ ด าเนินการมาในระหว่างวันที่ 16-17กันยายน 2562 เป็นการระดมสมอง แนวทางการแก้ไขปัญหา เรื่องต่าง ๆ และข้อคิดเห็นจากหลายฝ่าย ประกอบไปด้วย คณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ ฝ่าย
112 จัดการ สมาชิกชั้นน า ผู้แทนธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และส านักงานสหกรณ์ จังหวัด ส่งผลให้สหกรณ์จัดท าแผนงานโครงการต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางการส่งเสริมอาชีพ และ แนวทางในการด าเนินงานของสหกรณ์ให้มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล อาทิเช่น 1. โครงการถือหุ้นลุ้นโชคประจ าปี เพื่อส่งเสริมการออมทรัพย์อย่างมีระบบและ ระดมทุนจากปัจจัยภายใน เป้าหมายลดการยืมเงินทุนจากแหล่งเงินทุนภายนอก 2. โครงการรวบรวมข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และถั่วเขียว 3. โครงการยกระดับการบริการธุรกิจรวบรวมผลิตผล 4. แผนงานพัฒนาองค์ความรู้ของบุคลากร 5. โครงการสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกภายใต้หลักธรรมาภิบาล 6. โครงการส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงแพะเพื่อลดพื้นที่การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 7. โครงการส่งเสริมการปลูกพืชปลอดภัย ภายใต้ยุทธศาสตร์จังหวัดและกรีนมาร์เก็ต เพชรบูรณ์ 8. โครงการส่งเสริมเกษตรผสมผสาน (ศาสตร์พระราชา) และโครงการต่าง ๆ เหล่านี้ เพื่อให้เกิดประโยชน์และครบถ้วนสูงสุด ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ จึงได้จัดท าโครงการสร้าง การมีส่วนร่วมของสมาชิกในการพัฒนาความเข้มแข็งและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ เพื่อให้ใช้การประชุม กลุ่มสมาชิกของสหกรณ์เป็นเวทีในการน าแผนงาน/โครงการต่าง ๆ ลงไปสู่สมาชิกของสหกรณ์ ให้ได้ รับทราบ รับฟัง และมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น แนวทางเพิ่มเติม ในการที่จะน าโครงการ/แผนงาน ต่าง ๆ ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมและเข้าใจตรงกันในทุกส่วนของสหกรณ์และนอกเหนือจาก สมาชิกของสหกรณ์จะได้รับทราบ รับรู้ และเสนอแนะในเรื่องแผนงาน/โครงการ ต่าง ๆ ของสหกรณ์ แล้ว เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ได้ให้ความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่อง หลักการ อุดมการณ์ และวิธีการ สหกรณ์ ให้แก่สมาชิก รวมทั้งทางด้านกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบต่าง ๆ ของสหกรณ์ ตลอดจน ตอบข้อซักถามจนสมาชิกเข้าใจ สนใจ และมีจิตส านึกที่จะเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของสหกรณ์ ซึ่งใน การประชุมกลุ่มสหกรณ์ฯ ยังได้น าโครงการต่าง ๆ ที่จะช่วยเหลือสมาชิก เช่น โครงการลดค่าปรับเงินกู้ โครงการช าระดีมีคืน โครงการส่งเสริมอาชีพสมาชิก ผลลัพธ์ที่ตามมาหลังจากการประชุมกลุ่มสมาชิก และด าเนินโครงการสร้างการมี ส่วนร่วมของสมาชิกในการพัฒนาความเข้มแข็งและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ พบว่าสหกรณ์การเกษตร หล่มเก่า จ ากัด มีผลลัพธ์ดังนี้ 1. สหกรณ์สามารถด าเนินธุรกิจรวบรวมได้ตามแผนงานหรือเป้าหมายที่ก าหนด 2. สมาชิกมีส่วนร่วมในกิจกรรมของสหกรณ์มากขึ้นจากเดิม 3. สามารถติดตามเร่งรัดลูกหนี้ได้เพิ่มมากขึ้น ดอกเบี้ยค้างลดลง
113 4. อัตราส่วนทางการเงินของสหกรณ์ดีขึ้นกว่าที่ผ่านมาโดยพบว่าทุนภายในของสหกรณ์ มีมากขึ้น 5. สหกรณ์น าโครงการต่าง ๆ ไปปรับใช้เพื่อติดตามหนี้ค้างจากสมาชิก เช่น โครงการส่งเสริม อาชีพเลี้ยงแพะ โดยสหกรณ์เป็นผู้บริหารจัดการเงินทุน และส านักงานปศุสัตว์จังหวัดเพชรบูรณ์ ร่วมกับศูนย์วิจัยพืชอาหารสัตว์เพชรบูรณ์ เป็นผู้ให้ค าแนะน าต่าง ๆ จนกระทั่งสมาชิกขายได้ และน าเงินมา ส่งช าระคืนแก่สหกรณ์ ซึ่งบางส่วนจะน าไปส่งช าระหนี้ค้างเดิม กำรรวบรวมข้ำวโพดเลี้ยงสัตว์และถั่วเขียว
114 กำรส่งเสริมอำชีพกำรเลี้ยงแพะ เพื่อลดพื้นที่กำรปลูกข้ำวโพดเลี้ยงสัตว์
115 กำรส่งเสริมกำรปลูกพืชปลอดภัย ภำยใต้ยุทธศำสตร์จังหวัดและกรีนมำร์เก็ตเพชรบูรณ์
116 กำรส่งเสริมเกษตรผสมผสำน (ศำสตร์พระรำชำ)
117 พัฒนำองค์ควำมรู้ของบุคลำกร
118 ประกอบด้วย สหกรณ์ 3 แห่ง สมาชิก 642 คน กลุ่มเกษตรกร 1 แห่ง สมาชิก 48 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริม และแก้ไขปัญหาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1.สมาชิกของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับหลักการ วิธีการ และอุดมการณ์สหกรณ์ รวมทั้งตระหนักถึงสิทธิ และแสดงบทบาทและหน้าที่ของสมาชิกได้ อย่างถูกต้องมากขึ้น และให้ใช้วิธีสหกรณ์ที่แท้จริงในการแก้ไขปัญหาการประกอบอาชีพและการ จัดการหนี้สินต่างๆ อย่างคุ้มค่าลดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพทางการเกษตรของตัวเอง ปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้ด าเนินโครงการ สร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในการพัฒนาความเข้มแข็งและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจถึงแผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์แก่สมาชิกชั้นน า รวมทั้งหาวิธีการหรือข้อสรุปการในการขับเคลื่อนตามแผนที่จะท าให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็น หรือเสนอแนะข้อคิดเห็นเพื่อด าเนินการตามแผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนา ธุรกิจของสหกรณ์ โดยในโครงการฯ มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าร่วมประชุมกลุ่ม สมาชิก เพื่อไปเป็นวิทยากรให้ความรู้ ความเข้าใจ ในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านกฎหมาย ข้อบังคับ และ ระเบียบต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสริมพัฒนาด้านการด าเนินธุรกิจ ตลอดจนตอบข้อซักถามต่าง ๆ ของสมาชิก ได้อย่างละเอียดจนเข้าใจ ส่งผลให้สมาชิกมีความสนใจ ใส่ใจ และด าเนินกิจกรรมกับสหกรณ์ได้เพิ่ม มากขึ้นอีกด้วย ซึ่งสหกรณ์ได้ด าเนินการจัดกลุ่มคุณภาพสมาชิกสหกรณ์และก าหนดแผนงานส่งเสริม ดังนี้ กลุ่มคุณภาพสมาชิกสหกรณ์ คุณลักษณะสมาชิก แผ่นงานส่งเสริม 1.เกษตรกรจริงพร้อมพัฒนา 2.เคยเป็นไม่มีที่ดินของตนเอง 3.คนที่อยากเป็นเกษตรกร - มีที่ดินของตนเอง ท าการเกษตรจริง - เคยเป็นเกษตรกรแต่ที่ดินถูก คนอื่นครอบครอง หรือเช่าที่ดิน - ไม่รู้จะท าอะไร ไม่มีที่ดินเช่าที่ ไม่มีทุน เพื่อเข้ามาใช้สิทฺธิ ที่ควรมี -แผนส่งเสริมสวนสหกรณ์สุขใจ -แผนงานจัดการรายจ่ายไม่เกิน รายได้ 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรด าเนินงานเป็นไปตามแนวทางที่นายทะเบียนสหกรณ์ และนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรก าหนทั้งทางด้านกฎหมาย ข้อบังคับและระเบียบต่าง ๆ โดยส่งเสริม อ าเภอน้ าหนาว
119 ให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ก าหนดข้อบังคับ ระเบียบต่าง ๆ ให้สอดคล้องและเป็นไปในทิศทาง เดียวกันกับแนวทางฯ ของกรมฯ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหา ข้อบกพร่องต่าง ๆ ในระหว่างการด าเนินงาน ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร และหากคณะกรรมการด าเนินการ เกิดข้อสงสัยหรือเกิดข้อหารือใน การด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ก็สามารถให้ค าแนะน าได้อย่างถูกต้อง 3. สหกรณ์ ฯ จัดการประชุมคณะกรรมการด าเนินการเป็นประจ าอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง มีการแจ้งหนังสือเชิญประชุมพร้อมทั้งระเบียบวาระให้ทางส านักงานสหกรณ์จังหวัดเป็นประจ า และ การลงมติใดๆ ในแต่ละระเบียบวาระการประชุมไม่ขัดกับกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบต่างๆ รวมทั้งประกาศและค าแนะน าต่าง ๆ ของนายทะเบียนสหกรณ์ ซึ่งหากสหกรณ์ใด พบว่ามีกรรมการ ด าเนินการในที่ประชุมไม่เห็นด้วยกับการลงมติใด ๆ ได้แนะน าให้ด าเนินการตามมาตรา 51/3 แห่ง พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 และฉบับปรับปรุง พ.ศ.2562 4. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ได้ติดตามให้คณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรน าข้อสังเกตและข้อแนะน าจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ส านักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดมาติดตามและแก้ไขข้อสังเกตดังกล่าวอย่างต่อเนื่องเป็นรูปธรรมและชัดเจน จนกว่าการแก้ไขข้อบกพร่องจะแล้วเสร็จ 5.สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ด าเนินงานเพื่อให้ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดต่าง ๆ ของกรมส่งเสริม สหกรณ์ อาทิเช่น - สามารถผลักดันให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ หากสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรใดที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมฯ อยู่แล้วให้สามารถรักษาเกณฑ์มาตรฐานไว้ให้ได้ -ผลการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ดีขึ้นจากเดิม โดยดูได้จากงบการเงิน ประจ าปีหรือหากสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีภาวะขาดทุน ก็พบว่าขาดทุนลดลง - ไม่มีข้อบกพร่องหรือข้อบกพร่องลดลง - การติดตามการใช้เงินกู้ให้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ และการติดตามเร่งรัดให้ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถส่งช าระหนี้ได้ตามระยะเวลาที่ก าหนด - การบันทึกบัญชีที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน - การเพิ่มปริมาณธุรกิจ ให้เป็นไปตามตัวชี้วัด -การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของสมาชิก ที่มีเพิ่มมากขึ้นจากเดิม -การยกระดับชั้นของสหกรณ์ ให้ดีขึ้น เช่น จากชั้น 3เข้าสู่ชั้น 2 หรือ จากชั้น 2 เข้าสู่ชั้น 1 - การปิดบัญชีและสามารถประชุมใหญ่สามัญประจ าปีให้ได้ตามที่กฎหมายก าหนด - การช าระบัญชีให้อยู่ในขั้นตอนที่ดีขึ้น
120 6. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้าร่วมการประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ เพื่อเผยแพร่ อุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ รวมทั้งประชาสัมพันธ์งานนโยบายของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รับฟังปัญหาอุปสรรคในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงานของ สหกรณ์ รวมทั้งตอบข้อซักถามต่าง ๆ ของสมาชิกและบุคคลทั่วไปที่สนใจในงานสหกรณ์ 7. ส่งเสริมและช่วยเหลือสหกรณ์จัดตั้งใหม่ ให้ด าเนินงานได้อย่างถูกต้องตาม ระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายสหกรณ์ โดยได้วางแนวทางการด าเนินงานให้สอดคล้องกับแนวทาง ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ให้ความรู้แก่คณะกรรมการด าเนินการและฝ่ายจัดการอย่างสม่ าเสมอ เข้าร่วมประชุมประจ า เดือน เพื่อให้ค าแนะน า และข้อเสนอแนะใน การด าเนินงาน ติดตา ม การด าเนินงานของสหกรณ์อย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันมิให้เกิดข้อบกพร่องของสหกรณ์ได้รวมทั้ง ส่งเสริมทางด้านการพัฒนาธุรกิจ การเพิ่มปริมาณธุรกิจ การบันทึกบัญชีและส่งเสริมให้สหกรณ์จัดตั้ง ใหม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานทั้ง 7 ข้อ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ได้ 8.สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้น าแผนปฏิบัติงาน รวมทั้งแผนงบประมาณการรายรับ-รายจ่าย ประจ าปี ที่ได้รับอนุมัติจากสมาชิกในที่ประชุมใหญ่ มาท ารายละเอียดเป็นแผนงานประจ าเดือน เพื่อใช้เป็น แนวทางในการติดตามงานจากคณะกรรมการด าเนินการและฝ่ายจัดการ รวมทั้งเพื่อให้มีการควบคุม ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ของสหกรณ์ ไม่ให้เกินกว่างบประมาณที่ก าหนดไว้ด้วย 9. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้รับการสนับสนุนเงินกองทุนต่าง ๆ เช่น กองทุนพัฒนา สหกรณ์ กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ซึ่งสหกรณ์มีการวางแผนการใช้เงิน และการส่ง ช าระเงินเป็นไปตามแผนงานและวัตถุประสงค์แห่งการกู้เงินโดยแท้จริง ส่งผลต่อสมาชิกให้มีความกินดีอยู่ดี มากขึ้น 10. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สหกรณ์ขนาดใหญ่ระดับอ าเภอยังไม่สามารถเป็น ตัวอย่างในด้านการบริหารจัดการของสหกรณ์และตัวสมาชิกได้ตามวัตถุประสงค์ เนื่องด้วยเกษตรกรส่วน หนึ่งที่เป็นสมาชิกสหกรณ์และยังมีเงินกู้ค้างช าระกับทางสหกรณ์อยู่ จึงเป็นข้อจ ากัดในการขยายงานและ เพิ่มปริมาณธุรกิจ สหกรณ์จะต้องแก้ไขปัญหาภายในของสหกรณ์ให้เสร็จสิ้น และต้องควบคุมคุณภาพ สมาชิกหรือจัดกลุ่มสมาชิกเพื่อด าเนินงานสหกรณ์ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.1 ปัญหาภายในองค์กร - ในอ าเภอน้ าหนาวสหกรณ์ส่วนใหญ่เป็นสหกรณ์ขนาดเล็ก ไม่มีเจ้าหน้าที่ไม่มีส านักงาน ซึ่งตั้งอยู่ในเขตอุทยานไม่สามารถขอรับสนับสนุนอุปกรณ์หรือโครงการสนับสนุนต่าง ๆ ของทางภาครัฐได้ จึงท าให้สหกรณ์มีขีดจ ากัด ประกอบกับเกษตรกรหรือสมาชิกในพื้นที่มีหนี้สินกับหลายสถาบัน รายได้
121 ไม่สามารถแก้ไขปัญหาหนี้ของเกษตรกรเองได้ หนี้ส่วนใหญ่ถูกแก้ไขโดยหาเงินมาแก้ไข จึงท าให้เกษตรกร มีหนี้สินทวีมากขึ้นทุก ๆ ปี อีกประเด็น เกษตรกรในพื้นที่น้ าหนาวส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตรได้ ขึ้นอยู่กับพ่อค้าคนกลาง ที่ให้เงินทุน ปัจจัยการผลิต พื้นที่เพาะปลูก รวมทั้งรับซื้อผลผลิตของเกษตรกร จึงท าให้สหกรณ์มีข้อจ ากัดในการด าเนินงาน สหกรณ์เพียงแต่ยกมาตรฐานสมาชิกเดิมในกลุ่มที่สามารถ พัฒนาได้ - สมาชิกผู้เป็นเจ้าของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ขาดจิตส านึกในการเป็นเจ้าของ ตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ที่พึงกระท า ไม่ให้ความร่วมมือในกิจกรรมของสหกรณ์ การเชิญสมาชิกเข้าร่วม ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี เต็มไปด้วยความยากล าบาก เนื่องจากสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรไม่สามารถ ช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาของสมาชิกได้ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีทุนภายในของตนเองน้อย ไม่เพียงพอต่อการให้บริการแก่ สมาชิก เมื่อเปรียบเทียบอัตราส่วนทุนภายในและทุนภายนอก พบว่าสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีทุนตนเอง น้อยมากกว่าทุนภายนอกหลายเท่า จึงยังมีความจ าเป็นที่จะต้องพึ่งพาแหล่งเงินทุนจากภายนอกเป็นหลัก เช่น กู้เงินจากธนาคาร รับเงินฝากจากสหกรณ์อื่น จึงท าให้สหกรณ์ มีต้นทุนจ่ายจากดอกเบี้ยเงินฝากหรือดอกเบี้ยเงินกู้ให้แก่แหล่งเงินทุนภายนอกเป็นจ านวนมาก - สหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรจะไม่มีความสามารถในการจ้างพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือมีไม่เพียงพอ ส่งผลให้ตกชั้นการควบคุมภายใน ซึ่งเป็นตัวชี้วัดในเรื่องการยกระดับชั้นของสหกรณ์ - ฝ่ายตรวจสอบหรือผู้ตรวจสอบกิจการที่ยังไม่มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบ เพียงพอหรือไม่เท่าทันต่อข้อบกพร่องที่จะเกิดขึ้น 1.2 ปัญหาภายนอกองค์กร - ความชัดเจนในนโยบายสนับสนุนต่างๆ เมื่อมีการเปลี่ยนรัฐบาลส่งผลให้นโยบายไม่ ต่อเนื่องและสอดคล้องกัน - การแข่งขันด้านการค้าในระบบธุรกิจและสภาวะเศรษฐกิจของโลก - ปัญหาภัยธรรมชาติ ที่ไม่เป็นไปตามฤดูกาล ส่งผลต่อการส่งช าระหนี้ของสมาชิกที่มีต่อสหกรณ์ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - การพัฒนากระบวนการสหกรณ์ในพื้นที่อ าเภอน้ าหนาว ซึ่งจะต้องการได้รับการ สนับสนุน ในด้านการแก้ไขปัญหาหนี้สินของเกษตรกรอย่างถูกต้อง คือต้องเอารายได้มาแก้ไขปัญหา หนี้และลดความเสี่ยงเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ และสหกรณ์จะต้องมีพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายในการ ด าเนินงานและแผนงานที่ชัดเจน (สวนสหกรณ์สุขใจ) แบ่งท าสวนสุขใจบางส่วนควบคู่กับท าอาชีพเดิม เพื่อลดความเสี่ยงในดารประกอบอาชีพ
122 - ส่งเสริมให้สมาชิกฯ มีจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ โดยน าเสนอองค์ความรู้ต่าง ๆ เพื่อให้โอกาสสมาชิกได้ซักถามหรือให้ข้อเสนอแนะ ในการด าเนินงาน ของสหกรณ์ โดยใช้เวทีจากการประชุมกลุ่มสมาชิก และเวทีการประชุมใหญ่สามัญประจ าปีและ กระท าเช่นนี้อย่างต่อเนื่องเป็นประจ าทุกปี - จัดหาแหล่งเงินทุนอัตราดอกเบี้ยต่ าเพื่อช่วยเหลือสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เช่น เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ เงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร รวมทั้งแจ้งแนวทางในการด าเนิน โครงการต่าง ๆ เพื่อระดมทุนภายในของตนเองอย่างสม่ าเสมอ ได้แก่ การระดมหุ้น การฝากเงินกับ สหกรณ์ โดยให้สมาชิกมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง เพื่อลดปัญหาต้นทุนการเงินจากแหล่งเงินทุนภายนอก ของสหกรณ์ - ส่งเสริมให้ความรู้แก่คณะกรรมการด าเนินการ และเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ เกี่ยวกับ การบริหารจัดการภายในองค์กร และการจัดการด้านธุรกิจของสหกรณ์ ทั้งนี้จะต้องจัดการอยู่ภายใต้ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง - ส่งเสริมให้มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่หรือฝ่ายจัดการร่วมกันระหว่างสหกรณ์ขนาดเล็ก หรือกลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีทุนในการจัดจ้างเพียงพอ - ส่งเสริมให้ความรู้ด้านกฎหมาย การบริหาร การบัญชี และวิธีการตรวจสอบให้แก่ผู้ ตรวจสอบกิจการให้มีความรู้ความสามารถมากขึ้นและเมื่อมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ ผู้ ตรวจสอบกิจการ เช่น ส านักงานตรวจสอบบัญชีสหกรณ์หรือ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดด าเนินการ เข้าอบรมตามหลักสูตรที่ก าหนด พร้อมทั้งให้ผู้ตรวจสอบกิจการได้มีบทบาท หน้าที่ รายงา น ข้อเสนอแนะต่อที่ประชุมคณะกรรมการ และที่ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี เพื่อให้คณะกรรมการ ด าเนินการและสมาชิกได้เห็นความส าคัญของผู้ตรวจสอบกิจการ - สร้างแนวทางก ารด าเนินงาน เพื่อรับมือกับสภาวะเศรษฐกิ จที่เปลี่ยนแปลง อยู่ตลอดเวลา เช่น ส่งเสริมการจัดท าอาชีพเสริม จัดท าโครงการต่าง ๆ เพื่อให้สมาชิกมีอาชีพเสริม ที่สามารถหารายได้เพิ่มมากขึ้น โดยมีสหกรณ์เป็นผู้บริหารจัดการให้แก่สมาชิก เพื่อหลีกหนีปัญหา พืชราคาตกต่ า ขายไม่ได้ เนื่องจากเกษตรกรผลิตมากจนเกินไปท าให้ล้นตลาด สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ. ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 1. การเข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิก ตามโครงการสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกในการ พัฒนาความเข้มแข็งและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
123 สหกรณ์การเกษตรน้ าหนาว จ ากัด มีสมาชิกสามัญ 321 ราย แบ่งเป็นกลุ่มสมาชิก แยก ตามพื้นที่ต่าง ๆ ครอบคลุมทั้งอ าเภอน้ าหนาว รวมทั้งสิ้น 3 กลุ่ม ซึ่งในแต่ละกลุ่มประกอบไป ด้วย ประธานกลุ่ม เลขานุการกลุ่ม และสมาชิก ซึ่งมีจ านวนที่แตกต่างกันไปตามพื้นที่แต่ละต าบล 1. สร้างความรู้ความเข้าใจถึงแผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์แก่ สมาชิก 2. ได้ข้อสรุปวิธีการด าเนินงานขับเคลื่อนตามแผนที่จะท าให้สมาชิกมีส่วนร่วมตาม แผนพัฒนาความเข้มแข็งและแผนพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ 3. สหกรณ์น าโครงการต่าง ๆ ไปปรับใช้เพื่อติดตามหนี้ค้างจากสมาชิก เช่น โครงการส่งเสริมอาชีพเลี้ยงวัว โดยสหกรณ์เป็นผู้บริหารจัดการเงินทุน และเป็นผู้ให้ค าแนะน าต่าง ๆ จนกระทั่งสมาชิกขายได้ และน าเงินมาส่งช าระคืนแก่สหกรณ์ ซึ่งบางส่วนจะน าไปส่งช าระหนี้ค้างเดิม การเข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิก
124 การเข้าร่วมประชุมแนะน าส่งเสริมสหกรณ์ ติดตามผลการด าเนินงานโครงการสวนสหกรณ์สุขใจ
125 อ าเภอหล่มสัก ประกอบด้วยสหกรณ์ 8 แห่ง สมาชิก 4,728 คน กลุ่มเกษตรกร 8 แห่ง สมาชิก 1,138 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร รายการ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร บาท บาท - ทุนด าเนินงานรวมทั้งสิ้น 226,952,308.63 4,003,191.49 - หนี้สิน 127,322,536.56 1,190,701.05 - ทุนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 99,645,597.07 2,812,490.44 - ก าไร(ขาดทุน)สุทธิ 8,541,635.74 81,196.26 - ปริมาณธุรกิจสินเชื่อ 116,455,100.00 2,407,650.00 - ปริมาณธุรกิจจัดหาสินค้าจ าหน่าย 18,760,333.79 2,373,410.00 - ปริมาณธุรกิจรวบรวมผลิตผลจ าหน่าย 42,168,381.96 - - รับฝากเงิน 23,596,570.75 7,995.37 การแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในภาพรวมของอ าเภอ สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรส่วนใหญ่ได้ถือปฏิบัติเป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบและมติที่ประชุม และเป็นไป ตามระบบการเงิน การบัญชีที่ก าหนดไว้ มีผลการด าเนินงานดีพอใช้ซึ่งไม่สามารถด าเนินธุรกิจบริการ แก่สมาชิกอย่างครบวงจร เช่น ไม่ด าเนินธุรกิจรวบรวมผลิตผลจากสมาชิกจ าหน่าย และมีสหกรณ์หรือ กลุ่มเกษตรกรขนาดเล็กที่ไม่มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน จากการเข้าตรวจสอบแนะน าส่งเสริมบางครั้งพบ การบันทึกบัญชีไม่เป็นปัจจุบัน เก็บเงินสดในมือเกินระเบียบ เนื่องจากคณะกรรมการขาดความรู้ ความสามารถด้านบัญชี ไม่สามารถจัดท าบัญชีได้ด้วยตนเอง โดยได้รับการช่วยเหลือแนะน าแก้ไขจาก เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์และผู้สอบบัญชีจนเกิดความเรียบร้อยถูกต้องมาโดยตลอด และพบว่าผู้ ตรวจสอบกิจการไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่และไม่มีการรายงานผลการตรวจสอบ ต่อที่ประชุมแต่อย่างใด ซึ่งได้ให้ข้อแนะน าแล้ว ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
126 1. ขาดบุคาลากรที่มีความรู้ความเข้าใจด้านการเงินการบัญชีและการบริหารจัดการอย่างมือ อาชีพบางสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรไม่มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน คณะกรรมการด าเนินการไม่มีเวลาเพียงพอ ส าหรับปฏิบัติงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เนื่องจากมีภารกิจส่วนตัวมาก 2. สมาชิกมีหนี้ค้างช าระจ านวนมาก ส่งผลท าให้การหมุนเวียนเงินทุนส าหรับด าเนินธุรกิจต่างๆ ไม่เพียงพอและธุรกิจหยุดชะงักหรือชะลอตัว 3. สมาชิกขาดอุดมการณ์สหกรณ์หรือขาดจิตส านึกความเป็นเจ้าของ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1.จัดอบรมคณะกรรมการด าเนินการ เจ้าหน้าทีหรือผู้ปฏิบัติงานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อ เพิ่มพูนความรู้และทักษะการปฏิบัติงาน และการเข้าแนะน า สอนแนะจนสามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเอง 2.ให้การศึกษาอบรมสมาชิกให้เข้าใจหลักการ อุดมการณ์สหกรณ์จนเข้าใจอย่างลึกซึ้ง มองเห็นประโยชน์และคุณค่าของสหกรณ์ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ. ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 1. สหกรณ์มีระบบการรวบรวมผักปลอดภัยที่ได้มาตรฐาน โดยมีคณะกรรมการ ด าเนินการและเจ้าหน้าที่ คนงาน ที่มีความรู้ความสามารถในการตัดแต่ง บรรจุหีบห่อ และมีมาตรฐาน การตรวจสอบสารเคมีหรือความปลอดภัยในการบริโภค โดยเจ้าหน้าที่ของทางราชการ และสามารถ จัดส่งผักปลอดภัยได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ปีบัญชีสิ้นสุด 31 พฤษภาคม 2562 มียอดการจ าหน่ายทั้งสิ้น 412,931.57 กิโลกรัม เป็นเงิน 17,932,879 บาท 2. สามารถแก้ไขปัญหาให้กับสมาชิกกรณีมีปัญหาราคาพืชผักตกต่ าได้ โดยสหกรณ์ จัดซื้อผักจากสมาชิกตามค าสั่งซื้อจากบริษัทเซ็นทรัล ในราคาที่สูงกว่าตลาดท้องถิ่นประมาณร้อยละ 200 ของราคาท้องถิ่น หรือไม่น้อยกว่า 2 เท่าของราคาท้องถิ่น ท าให้สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้นและฐานะ ทางเศรษฐกิจดีขึ้น 3. สหกรณ์ได้มีการจ้างแรงงานเพื่อคัดแยกผัก ตัดแต่งผัก ท าให้คนในชุมชนมีงานท า และมีรายได้เสริมให้กับครอบครัว 4. สหกรณ์ได้มีการส่งเสริมให้สมาชิกผลิตพืชผักให้ได้รับมาตรฐาน GAP เพิ่มมากขึ้น หันมาปลูกพืชผักอินทรีย์มากขึ้น ได้รับการรับรองการผลิตอาหารจากกระทรวงสาธารณะสุขและ มีแผนการปรับปรุงศูนย์รวบรวมผักให้ได้รับมาตรฐาน GMP
127 ปัจจัยแห่งความส าเร็จ(เพื่อเป็นกรณีศึกษาตัวอย่างที่ดีหรือแนวทางในการส่งเสริม) 1.ผู้บริหารงานของสหกรณ์ มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ วิธีการและอุดมการณ์สหกรณ์ บริหารงานโดยยึดหลักความโปร่งใส ยึดผลประโยชน์ของสมาชิกและสหกรณ์เป็นหลัก 2.มีหน่วยงานภาครัฐและเอกชนให้การส่งเสริม สนับสนุน ท าให้ธุรกิจสหกรณ์สามารถ ขับเคลื่อนไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภาพกิจกรรม การตัดแต่งผักและบรรจุหีบห่อ
128 ผลการปฏิบัติงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 การจัดตั้งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 1. การด าเนินการจัดตั้งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร : ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์มีการด าเนินงานเพื่อจัดตั้ง สหกรณ์ โดยการด าเนินงานตามขั้นตอน ดังนี้ (1) เตรียมการเบื้องต้น โดยรวบรวมกลุ่มบุคคลที่ประสงค์จะจัดตั้งสหกรณ์ เป็นบุคคลธรรมดา และบรรลุนิติภาวะ มีปัญหาความเดือดร้อนทางเศรษฐกิจและสังคม มีความสมัครใจ เสียสละ มีวินัย และซื่อสัตย์สุจริต (2) ประสานงานและฝึกอบรม - ผู้แทนกลุ่มบุคคลประสานงานกับกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ ส านักงานสหกรณ์ จังหวัดเพื่อขอค าแนะน า พร้อมนัดหมายวันด าเนินการให้การศึกษาอบรมเรื่อง อุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง และก าหนดวันประชุมในขั้นตอนต่อไป (3) ประชุมผู้ซึ่งประสงค์จะเป็นสมาชิกสหกรณ์ เพื่อก าหนดชื่อสหกรณ์ อย่างน้อย 3 ชื่อ คัดเลือกคณะผู้จัดตั้งสหกรณ์ ไม่น้อยกว่า 10 คน เสนอความเห็นเกี่ยวกับการก าหนดประเภท วัตถุประสงค์ แผนด าเนินการ และร่างข้อบังคับสหกรณ์ (4) ประชุมคณะผู้จัดตั้งสหกรณ์ เพื่อจองชื่อสหกรณ์ผ่าน Website กรมส่งเสริมสหกรณ์ (www.cpd.go.th) หรือหน่วยงานในพื้นที่ เลือกประเภทสหกรณ์ และก าหนดวัตถุประสงค์ของ สหกรณ์ที่จะขอจัดตั้ง จัดท าร่างข้อบังคับสหกรณ์ จัดท าแผนด าเนินการเกี่ยวกับธุรกิจ หรือกิจกรรม ของสหกรณ์อย่างน้อย 3 ปี และจัดท าบัญชีรายชื่อผู้ซึ่งจะเป็นสมาชิกสหกรณ์ (5) ประชุมผู้ซึ่งจะเป็นสมาชิกสหกรณ์ เพื่อรับทราบชื่อสหกรณ์ ประเภท วัตถุประสงค์ และ แผนด าเนินการ ของสหกรณ์ พิจารณาร่างข้อบังคับ เพื่อก าหนดให้เป็นข้อบังคับสหกรณ์ (6) ยื่นเอกสารขอจดทะเบียนสหกรณ์ คณะผู้จัดตั้งสหกรณ์ด าเนินการยื่นเอกสารขอจดทะเบียนสหกรณ์ประกอบด้วย - ค าขอจดทะเบียนสหกรณ์ จ านวน 2 ชุด - ส าเนารายงานการประชุมผู้ซึ่งประสงค์จะเป็นสมาชิกสหกรณ์ จ านวน 2 ชุด - ส าเนารายงานการประชุมคณะผู้จัดตั้งสหกรณ์ จ านวน 2 ชุด - ส าเนารายงานการประชุมผู้ซึ่งจะเป็นสมาชิกสหกรณ์ จ านวน 2 ชุด - บัญชีรายชื่อผู้ซึ่งจะเป็นสมาชิกสหกรณ์ จ านวน 2 ชุด
129 - แผนด าเนินการเกี่ยวกับธุรกิจหรือกิจกรรมของสหกรณ์ จ านวน 2 ชุด - กรณีสหกรณ์ไม่มีส านักงานเป็นของสหกรณ์เอง ต้องมีหนังสือ ยินยอมให้ใช้สถานที่เป็นที่ตั้งส านักงานสหกรณ์ จ านวน 2 ชุด - ข้อบังคับสหกรณ์ จ านวน 4 ฉบับ (7) พิจารณารับจดทะเบียนสหกรณ์ - เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานในพื้นที่ตรวจสอบเอกสาร และวิเคราะห์ข้อมูลประกอบการ ขอจดทะเบียนสหกรณ์ เพื่อเสนอความเห็นต่อนายทะเบียนสหกรณ์ - นายทะเบียนสหกรณ์ พิจารณารับจดทะเบียนสหกรณ์ นายทะเบียนสหกรณ์ลงนามใน ใบส าคัญรับจดทะเบียนสหกรณ์ และแจ้งให้สหกรณ์ทราบ เหตุผลของการตั้งสหกรณ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (1) เป็นการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล เพื่อแก้ไขปัญหาการรุกล้ าพื้นที่ป่าท าการเกษตร โดยมีมติจากคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ จังหวัดเพชรบูรณ์ให้สามารถด าเนินการได้ (2) เพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งกันในการใช้พื้นที่การประกอบอาชีพและการด าเนินธุรกิจ ของวิสาหกิจในเขตพื้นที่ทุ่งกังหันลม (บ้านเพชรด า, เพชรช่วย, ทุ่งสมอ และเขาค้อ) อ าเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยการรวมกลุ่มวิสาหกิจในพื้นที่ 9 แห่ง เป็นสหกรณ์เพียงแห่งเดียว ไม่ให้มีการ แบ่งแยกการด าเนินงานเป็นวิสาหกิจชุมชนอีก 2. รายชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ด าเนินการจัดตั้งใหม่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จ านวน 2 แห่ง ดังนี้ 2.1 สหกรณ์การเกษตร คทช.จังหวัดเพชรบูรณ์ จ ากัด อ าเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ จัดตั้งเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2562 สมาชิกแรกตั้งจ านวน 88ราย ถือหุ้นแรกตั้งจ านวน 2,600 หุ้นๆ ละ 10 บาท รวมเป็นเงินค่าหุ้น 26,000 บาท (สองหมื่นหกพันบาทถ้วน) 2.2 สหกรณ์ทุ่งกังหันลมเขาค้อ จ ากัด อ าเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ จัดตั้งเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2562 สมาชิกแรกตั้งจ านวน 83 ราย ถือหุ้นแรกตั้งจ านวน 31,700 หุ้น เป็นเงินค่าหุ้น 317,000.- บาท (สามแสนหนึ่งหมื่นเจ็ดพันบาทถ้วน)
130 ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรม สหกรณ์การเกษตร คทช.จังหวัดเพชรบูรณ์ จ ากัด สหกรณ์ทุ่งกังหันลมเขาค้อ จ ากัด
131 โครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้แก่เกษตรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : 1.1 เพื่อลดภาระดอกเบี้ยและต้นทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรแก่สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.2 เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ประกอบอาชีพการเกษตรมีโอกาสน าเงินส่วนที่ ได้รับการช่วยเหลือไปฟื้นฟูประกอบอาชีพ ตลอดจนมีเงินทุนไว้ใช้จ่ายในครอบครัว 2. ผลการด าเนินงาน : สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้เงินกู้ในวัตถุประสงค์เพื่อการเกษตร ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2561 ต้นเงินกู้ขอรับการชดเชยไม่เกิน 300,000 บาทแรก จ านวน 8,164 ราย ต้นเงินกู้ รวม 770,213,234.90 บาท ระยะเวลาชดเชยดอกเบี้ยตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2562 3. งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรประจ าปี 2562 จ านวน 860 ราย ต้นเงินกู้รวม 76,196,720.95 บาท ดอกเบี้ยที่ได้รับชดเชย จ านวน 1,380,858.91 บาท (ระยะเวลาชดเชยดอกเบี้ยตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2562) 4. ผลลัพธ์ : (ระบุทั้งผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) ผลลัพธ์เชิงปริมาณ เบิกจ่ายเงินชดเชยดอกเบี้ยตามโครงการให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จ านวน 860 ราย ต้นเงินกู้รวม 76,196,720.95 บาท ดอกเบี้ยที่ได้รับชดเชย จ านวน 1,380,858.91 บาท (ระยะเวลา ชดเชยดอกเบี้ยตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2561 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2562) ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้รับความช่วยเหลือการบรรเทาความเดอดร้อนด้านภาระหนี้สิน 2. สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีเงินเหลือไว้ใช้จ่ายในครัวเรือน รวมถึงสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรไม่ขาดสภาพคล่องทางการเงิน 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข งบประมาณที่ได้รับเพื่อด าเนินการให้ความช่วยเหลือไม่ทันต่อสถานการณ์ได้ทันท่วงที ท าให้ สมาชิกขาดสภาพคล่องและขาดเงินทุนไว้ใช้จ่ายในครอบครัว แนวทางการแก้ไขหรือข้อเสนอแนะ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดท าระบบฐานข้อมูลสมาชิกที่ถูกต้องเพื่อให้ได้รับการช่วยเหลือ ทันท่วงที
132 โครงการ มาตรการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปีการผลิต 2559/60 ของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : 1. เพื่อบรรเทาภาระหนี้สินและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพท านาของสมาชิกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ประกอบอาชีพท านามีโอกาสน าเงินที่ต้องส่งช าระ หนี้ไปฟื้นฟูตนเองในการประกอบอาชีพ ตลอดจนมีเงินทุนไว้เป็นค่าใช้จ่ายในครัวเรือน 3. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถพึ่งพา ตนเอง มีรายได้เพียงพอในการช าระหนี้ได้ 2. ผลการด าเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ด าเนินงานและระบุผลส าเร็จจากการด าเนินงานโครงการ) สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้เงินกู้ในวัตถุประสงค์เพื่อการเกษตร เข้าร่วมโครงการ จ านวน 12 แห่งและได้รับชดเชยจ านวน 518 ราย เป็นเงินดอกเบี้ยชดเชยจ านวน 445,617.15 บาท 3. งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรประจ าปี 2562 จ านวน 518 ราย ดอกเบี้ยที่ได้รับชดเชย จ านวน 445,617.15 บาท 4. ผลลัพธ์ : (ระบุทั้งผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) ผลลัพธ์เชิงปริมาณ เบิกจ่ายเงินชดเชยดอกเบี้ยตามโครงการให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จ านวน 518 ราย ดอกเบี้ยที่ได้รับชดเชย จ านวน 445,617.15 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้รับความช่วยเหลือการบรรเทาความเดือดร้อนด้านภาระหนี้สิน 2. สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีเงินเหลือไว้ใช้จ่ายในครัวเรือน รวมถึงสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรไม่ขาดสภาพคล่องทางการเงิน 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข งบประมาณที่ได้รับเพื่อด าเนินการให้ความช่วยเหลือไม่ทันต่อสถานการณ์ได้ทันท่วงที ท าให้ สมาชิกขาดสภาพคล่องและขาดเงินทุนไว้ใช้จ่ายในครอบครัว แนวทางการแก้ไขหรือข้อเสนอแนะ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดท าระบบฐานข้อมูลสมาชิกที่ถูกต้องเพื่อให้ได้รับการช่วยเหลือ ทันท่วงที
133 โครงการ มาตรการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกมันส าปะหลัง ปีการผลิต 2559/60 ของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : 1. เพื่อบรรเทาภาระหนี้สินและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรของสมาชิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ประกอบอาชีพการเกษตรมีโอกาสน าเงินที่ต้อง ส่งช าระหนี้ไปฟื้นฟูตนเองในการประกอบอาชีพ ตลอดจนมีเงินทุนไว้เป็นค่าใช้จ่ายในครัวเรือน 3. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถพึ่งพา ตนเอง มีรายได้เพียงพอในการช าระหนี้ได้ 2. ผลการด าเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ด าเนินงานและระบุผลส าเร็จจากการด าเนินงานโครงการ) สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้เงินกู้ในวัตถุประสงค์เพื่อการเกษตร เข้าร่วมโครงการ จ านวน 2 แห่งและได้รับชดเชยจ านวน 51 ราย เป็นเงินดอกเบี้ยชดเชยจ านวน 46,000.84 บาท 3. งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรประจ าปี 2562 จ านวน 51 ราย ดอกเบี้ยที่ได้รับชดเชย จ านวน 46,000.84 บาท 4. ผลลัพธ์ : (ระบุทั้งผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) ผลลัพธ์เชิงปริมาณ เบิกจ่ายเงินชดเชยดอกเบี้ยตามโครงการให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จ านวน 51 ราย ดอกเบี้ยที่ได้รับชดเชย จ านวน 46,000.84 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้รับความช่วยเหลือการบรรเทาความเดอดร้อนด้านภาระหนี้สิน 2. สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีเงินเหลือไว้ใช้จ่ายในครัวเรือน รวมถึงสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรไม่ขาดสภาพคล่องทางการเงิน 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข งบประมาณที่ได้รับเพื่อด าเนินการให้ความช่วยเหลือไม่ทันต่อสถานการณ์ได้ทันท่วงที ท าให้สมาชิกขาดสภาพคล่องและขาดเงินทุนไว้ใช้จ่ายในครอบครัว แนวทางการแก้ไขหรือข้อเสนอแนะ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดท าระบบฐานข้อมูลสมาชิกที่ถูกต้องเพื่อให้ได้รับการช่วยเหลือ ทันท่วงที
134 โครงการส่งเสริมเกษตรผสมผสานในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ใช้รูปแบบเกษตรผสมผสานเป็นทางเลือก หนึ่งในการด ารงชีพตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร 2. เพื่อจัดท าแผนการผลิตของสมาชิกให้สอดคล้องกับแผนการผลิตของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร กลุ่มเป้าหมาย สมาชิกสหกรณ์ 5 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 1 แห่ง รวม 110 คน จัดอบรมแบ่งเป็น 2 รุ่น รุ่นแรก จ านวน 56 คน รุ่นที่ 2 จ านวน 54 คน ประกอบด้วย สหกรณ์การเกษตรวิเชียรบุรีจ ากัด 53 คน สหกรณ์การเกษตรศรีเทพ จ ากัด 14 คน สหกรณ์การเกษตรบึงสามพัน จ ากัด 17 คน สหกรณ์โคนมศรีเทพ จ ากัด 4 คน สหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค.เพชรบูรณ์ จ ากัด 19 คน กลุ่มเกษตรกรท านาสระกรวด 3 คน ระยะเวลาและสถานที่ สถานที่อบรม โรงแรมบูรพา โฮเต็ล เพชรบูรณ์ สถานที่ดูงาน ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง กองพลทหารม้าที่ 1 ค่ายพ่อขุนผาเมือง อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ แบ่งการจัดอบรมเป็น 2 รุ่น ดังนี้ รุ่นที่ 1 ผู้เข้าอบรม 56 คน ในวันที่ 13-15 กุมภาพันธ์ 2562 ประกอบด้วยสมาชิก สหกรณ์การเกษตรวิเชียรบุรี จ ากัด 53 คน และสมาชิกกลุ่มเกษตรกรท านาสระกรวด 3 คน รุ่นที่ 2 ผู้เข้าอบรม 54 คน ในวันที่ 20-22 กุมภาพันธ์ 2562 ประกอบด้วยสมาชิก สหกรณ์การเกษตรศรีเทพ จ ากัด 14 คน สหกรณ์การเกษตรบึงสามพัน จ ากัด 17 คน สหกรณ์โคนม ศรีเทพ จ ากัด 4 คน สหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค.เพชรบูรณ์ จ ากัด 19 คน 2. ผลการด าเนินงาน : 1. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่ได้รับการสนับสนุนเงินกู้เพื่อสร้างระบบน้ าใน ไร่นา เข้ารับการอบรมตามเป้าหมายจ านวน 110 ราย ได้รับการแนะน าส่งเสริมเกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่
135 เกษตรผสมผสาน และได้ศึกษาดูงานศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการเกษตร ณ ค่ายพ่อขุนผาเมืองอ าเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ 2. เบิกจ่ายเงินอุดหนุนให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อจัดหาปัจจัยการผลิตให้กับ สมาชิกรายละ 6,000 บาท จ านวน 110 ราย เป็นเงิน 660,000 บาท 3. สมาชิกที่ผ่านการอบรม เข้าร่วมโครงการเกษตรผสมผสาน และน าปัจจัยการผลิต ที่ได้รับการสนับสนุนไปด าเนินการตามรูปแบบเกษตรผสมผสาน 4. สหกรณ์สามารถวางแผนการด าเนินธุรกิจ แผนการผลิตแผนการจัดหาสินค้ามา จ าหน่าย และแผนการรวบรวม ให้สอดคล้องกับแผนการผลิตของสมาชิก 5. สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการมีการจัดท าบัญชีรายรับ-รายจ่าย สามารถลดค่าใช้จ่ายใน ครัวเรือนค่าใช้จ่ายปัจจัยการผลิตทางการเกษตร และมีรายได้เพิ่ม 6. ติดตามผลและรายงานผลรายได้ของสมาชิกทุกเดือน 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่ได้รับการสนับสนุนเงินกู้เพื่อสร้างระบบน้ าในไร่นา เข้ารับการอบรมตามเป้าหมาย 110 ราย เบิกจ่ายเงินอุดหนุนตามโครงการ จ านวน 110 ราย ๆ ละ 6,000 บาท เป็นเงิน 660,000 บาท เพื่อประกอบอาชีพด้านเกษตรผสมผสาน ช่วยให้สมาชิก ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนและมีรายได้เพิ่มขึ้น ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สมาชิกสหกรณ์ปรับเปลี่ยนการท าการเกษตรแบบผสมผสาน สามารถลดค่าใช้จ่าย ในครัวเรือน ค่าใช้จ่ายปัจจัยการผลิตทางการเกษตร และมีรายได้เพิ่ม 2. สหกรณ์สามารถวางแผนการผลิต การจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย และแผนการรวบรวม ที่สอดคล้องกับแผนการผลิตของสมาชิก 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข สหกรณ์ส่งเสริมให้สมาชิกประกอบอาชีพเสริม โดยการจัดหาลูกไก่พันธุ์ประดู่หางด ามาให้ สมาชิกเลี้ยงแต่ประสบปัญหาในการเลี้ยง สาเหตุเนื่องมาจากโรคระบาด และส่วนหนึ่งเนื่องจากระยะทาง ในการขนส่งลูกไก่ ท าให้ไก่ตายไปบางส่วน แนวทางแก้ไข คือ ให้ความรู้สมาชิกเกี่ยวกับวิธีเลี้ยงไก่และ โรคระบาด เพื่อหาวิธีป้องกัน และส่งเสริมให้มีการขยายพันธุ์ไก่ประดู่หางด าจากสมาชิกผู้เลี้ยง เพื่อจ าหน่ายให้สมาชิกที่สนใจ
136 ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ โครงการส่งเสริมเกษตรผสมผสานในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร นายอนุรัตน์ เลื่อนลอย สหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการส่งเสริมเกษตรผสมผสานในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ณ โรงแรมบูรพาโฮเตล เพชรบูรณ์อ าเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ ศึกษาดูงาน ศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการเกษตร ณ ค่ายพ่อขุนผาเมือง อ าเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์