The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 62

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nuttanicha Heng Heng, 2023-09-05 23:40:36

รายงานประจำปี 62

รายงานประจำปี 62

137 ภาพกิจกรรม สมาชิกที่ได้รับเงินอุดหนุนน าไปประกอบอาชีพ


138 โครงการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพการผลิตภาคการเกษตรตามแนวทางการพัฒนาสหกรณ์ ให้เป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ” 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1. เพื่อวิเคราะห์ศักยภาพสหกรณ์ตามเกณฑ์การจัดระดับชั้นสหกรณ์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ วิเคราะห์ข้อมูลทางการเงิน ฐานะการเงิน และปัจจัยสภาพแวดล้อม 2. เพื่อจัดท าแผนพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์ และแผนพัฒนาการด าเนินธุรกิจสหกรณ์ เป้าหมาย การจัดท าแผนพัฒนาสหกรณ์แบบมีส่วนร่วม ต้องประกอบด้วยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย คือ สมาชิก คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการสหกรณ์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป้าหมาย สหกรณ์ผลิตผักน้ าดุกใต้ จ ากัด และสหกรณ์ผักปลอดภัยภูทับเบิก จ ากัด สหกรณ์ละ 50 คน เข้าร่วม โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ 2. ผลการด าเนินงาน : กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ จัดเก็บข้อมูลสหกรณ์ โดยใช้แบบจัดเก็บข้อมูลของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ส่งให้กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ วิเคราะห์ข้อมูล ประเมินสหกรณ์ตาม มาตรฐานสหกรณ์ ตามเกณฑ์การจัดชั้นสหกรณ์ วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน ประสิทธิภาพการใช้อุปกรณ์ การตลาด วิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน สถานะทางการเงิน วิเคราะห์ธุรกิจ และจัดประชุมเชิง ปฏิบัติการ เพื่อขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาล และปรับแนวคิดคณะกรรมการ/ฝ่ายจัดการ น าเสนอผล การวิเคราะห์สหกรณ์ตามเกณฑ์ความเข้มแข็งสหกรณ์ จัดท าแผนยกระดับความเข้มแข็งสหกรณ์ น าเสนอผลการวิเคราะห์สถานการณ์สหกรณ์ภาคการเกษตรในพื้นที่ สถานการณ์การผลิต การตลาด ตามผลิตผลหลักของสหกรณ์ในพื้นที่ ศักยภาพประสิทธิภาพอุปกรณ์การตลาด และจัดท าแผนพัฒนาธุรกิจ 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์ผลิตผักทั้งสองแห่ง เข้าร่วมโครงการ จ านวน 100 คน ผลลัพธ์เชิง คุณภาพ 1. สหก รณ์ผลิตผักทั้งสองแห่ง มีแผนพัฒนา ความเข้มแ ข็งสหกรณ์ ที่สอดคล้องกับนโยบายปรับโครงสร้างภาคการเกษตร 2. สหกรณ์มีแผนพัฒนาธุรกิจที่เสริมสร้าง ศักยภาพของสหกรณ์ ตามแนวทางการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ


139 ภาพถ่าย แสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ


140 โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “แก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสหกรณ์” 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์การเกษตรให้มีศักยภาพในการด าเนินธุรกิจให้ครอบคลุมทุกธุรกิจ 2. เพื่อก าหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสมาชิกสหกรณ์ 3. เพื่อให้สหกรณ์ขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระสมาชิกสหกรณ์ สามารถลดจ านวนหนี้ค้าง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย สหกรณ์ที่เป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ จ านวน 11 สหกรณ์ ผู้เข้าประชุมเชิงปฏิบัติการประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัด คณะกรรมการด าเนินการ และฝ่ายจัดการสหกรณ์ ประธานกลุ่มสมาชิก และผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ผู้แทนจากธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ผู้แทนจากส านักงานตรวจบัญชีสหกรณ์จังหวัด) พื้นที่ด าเนินการ สถานที่จัดประชุม ณ ห้องประชุมของสหกรณ์กลุ่มเป้าหมายจ านวน 11 สหกรณ์ ดังนี้ ล าดับ ที่ ชื่อสหกรณ์ วันที่ จ านวน คน 1 สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด 6 – 7 สิงหาคม 2562 40 2 สหกรณ์การเกษตรหล่มสัก จ ากัด 13 – 14 สิงหาคม 2562 40 3 สหกรณ์การเกษตรหล่มเก่า จ ากัด 15 – 16 สิงหาคม 2562 40 4 สหกรณ์การเกษตรเขาค้อพัฒนา จ ากัด 8 – 9 สิงหาคม 2562 40 5 สหกรณ์การเกษตรน้ าหนาว จ ากัด 28 – 29 สิงหาคม 2562 40 6 สหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค.เพชรบูรณ์ จ ากัด 20 – 21 สิงหาคม 2562 40 7 สหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด 22 – 23 สิงหาคม 2562 40 8 สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด 26 – 27 สิงหาคม 2562 40 9 สหกรณ์การเกษตรบึงสามพัน จ ากัด 2 – 3 กันยายน 2562 40 10 สหกรณ์การเกษตรวิเชียรบุรี จ ากัด 4 – 5 กันยายน 2562 40 11 สหกรณ์การเกษตรศรีเทพ จ ากัด 9 – 10 กันยายน 2562 40


141 รวม 440 2. ผลการด าเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ด าเนินงานและระบุผลส าเร็จจากการด าเนินงานโครงการ) ขั้นตอนการด าเนินงาน 2.1 แต่งตั้งทีมแก้ไขปัญหา (ทีมโค้ช) ที่ได้รับการแต่งตั้งหรือมอบหมายจากส านักงานสหกรณ์ จังหวัด ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์จากกลุ่มงานฯ จังหวัด และกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ที่ รับผิดชอบสหกรณ์แต่ละแห่ง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2.2 แต่งตั้งทีมปฏิบัติงาน เพื่อขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาหนี้สินของสหกรณ์เป้าหมายที่จะ แก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสมาชิก ประกอบด้วย คณะกรรมการด าเนินการ ฝ่ายจัดการ ประธานกลุ่ม ที่สมาชิกมีหนี้ค้างช าระ 2.3 การจัดเก็บข้อมูล และวิเคราะห์สถานภาพรายสหกรณ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ 2.4 จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการก าหนดแนวทางแก้ไขปัญหาหนี้สินค้างช าระจัดท าแผนแก้ไข ปัญหาฯ และแผนการป้องกันมิให้เกิดซ้ า 2.5 ปฏิบัติตามแผน สหกรณ์ด าเนินการชี้แจงท าความเข้าใจแก่สมาชิกลูกหนี้เกี่ยวกับแนว ทางการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระและการพัฒนาอาชีพตามแผนที่ก าหนด และน าแผนสู่การปฏิบัติ ตามแผนปฏิบัติการ (Action plan) ที่ก าหนดไว้จากการประชุม 2.6 การติดตามและประเมินผล สหกรณ์จังหวัดติดตามผลจากทีมโค้ช และทีมปฏิบัติ (สหกรณ์) และรายงานกรมส่งเสริมสหกรณ์ 2.7 การปรับปรุง/ตรวจแก้ (Action) เมื่อติดตามผลการด าเนินงานแล้วด าเนินการแก้ไข ปัญหาอุปสรรค ปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์โครงการ สรุปถอดบทเรียน เพื่อให้ ผู้สนใจสามารถน าไปปรับใช้ 3. ผลลัพธ์ : (ระบุทั้งผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจ านวน 11 แห่ง ผู้เข้ารับการอบรมจ านวน 497 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์มีแผนแก้ไขหนี้ค้างและการป้องกันการเกิดซ้ า และก าหนดเป็นแผนปฏิบัติงาน 2. สหกรณ์สามารถด าเนินการแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระของสหกรณ์ 3. สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น 4. สหกรณ์สามารถแก้ไขปัญหาหนี้ค้างช าระ มีหนี้ค้างลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา 5.คณะกรรมการฯ และเจ้าหน้าที่สหกรณ์ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารและจัดการหนี้สิน


142 6.สมาชิกมีรายได้เพิ่ม ส่งผลให้มีศักยภาพหรือความสามารถในการช าระหนี้ให้กับสหกรณ์ได้มาก 7. เกิดทีมงาน และกระบวนการท างานแบบมีส่วนร่วมระหว่างสหกรณ์กับเจ้าหน้าที่ส่งเสริม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1) สมาชิกยังขาดความรู้ความเข้าใจในระบบของสหกรณ์ และระบบการช าระหนี้ 2) ผลผลิตทางการเกษตรไม่ได้ผลเท่าที่ควร ราคาผลผลิตตกต่ า 3) รายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่าย จึงไม่สามารถช าระหนี้ได้ 4) ผลกระทบจากภัยธรรมชาติ 5) สมาชิกที่มีหนี้ค้างบางรายไม่ให้ความร่วมมือในการแก้ปัญหาหนี้ค้าง แนวทางแก้ไข 1) ปรับปรุงโครงสร้างหนี้รายบุคคลของสหกรณ์ และมีการติดตามการช าระหนี้ของสมาชิก หลักจากมีการปรับปรุงโครงสร้างหนี้แล้วให้ต่อเนื่อง ส่งเสริมอาชีพให้กับสมาชิก ให้ความรู้ในด้าน การเกษตรเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร หาตลาดรองรับผลผลิตทางการเกษตร 2) เร่งรัดติดตามและขยายผลไปถึงสมาชิกที่มีหนี้ค้างรายอื่น ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาหนี้และเยี่ยม เยือนสมาชิกแต่ละรายในเขตรับผิดชอบอย่างสม่ าเสมอ 3) ลงพื้นที่ติดตามหนี้ค้างของสมาชิก พร้อมชี้แจงหาวิธีแก้ไขปัญหาหนี้ค้างร่วมกัน 5. ข้อเสนอแนะ 1) ควรมีกิจกรรมที่หลากหลาย มีการแนะน าอาชีพใหม่ ๆ ให้กับสมาชิก และต้องเป็นอาชีพ ที่สมาชิกสามารถท าได้จริง แนะน าอาชีพเสริมหลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้วให้กับสมาชิกเพื่อให้เกิด รายได้หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตหลัก 2) ต้องการให้มีการจัดโครงการแก้ไขปัญหาหนี้เพื่อเพิ่มหรือขยายไปถึงสมาชิกที่มีหนี้ค้างรายอื่นๆ


143 ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ


144 กิจกรรมวงเงินการกู้ยืมเงินหรือการค้ าประกันของสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินโครงการ วัตถุประสงค์ ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 มาตรา 47 ก าหนดอ านาจหน้าที่นายทะเบียนให้เห็นชอบ การกู้ยืมเงินหรือการค้ าประกันของสหกรณ์ ซึ่งจะต้องจ ากัดอยู่ภายในวงเงินที่นายทะเบียนเห็นชอบ กลุ่มเป้าหมาย ส าหรับสหกรณ์ทุกประเภท ซึ่งจ าแนกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1. ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์ 2. ประเภทสหกรณ์ร้านค้า 3. ประเภทสหกรณ์การเกษตร สหกรณ์ประมง สหกรณ์นิคม สหกรณ์บริการ และสหกรณ์ ประเภทอื่นที่กฎหมายก าหนดขึ้นใหม่ 2. ผลการด าเนินงาน ส าหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีผลการด าเนินงานคือ นายทะเบียนสหกรณ์ตรวจสอบ และพิจารณาให้ความเห็นชอบวงเงินฯ ตามหลักเกณฑ์แก่สหกรณ์ทั้ง 3 กลุ่ม ในรอบปีงบประมาณ 2562 จ านวน 48 สหกรณ์ 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ นายทะเบียนสหกรณ์แจ้งผลการพิจารณาให้ ความเห็นชอบวงเงินฯ แก่สหกรณ์ทั้ง 3 กลุ่ม ภายใน 3 วันท าการ ในรอบปีงบประมาณ 2562จ านวน 48 สหกรณ์ จ านวนวงเงินฯ รวม 12,692,823,134 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์ทั้ง 3กลุ่ม อาจกู้ยืมเงินหรือออกตั๋วสัญญา ใช้เงินหรือตราสารการเงินหรือโดยวิธีอื่นใด ส าหรับใช้เป็นทุนด าเนินงานตามวัตถุประสงค์ได้ภายในวงเงินฯ ที่ได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์


145 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ในการด าเนินงานมีปัญหา อุปสรรคเกี่ยวกับสหกรณ์ทั้ง 3 กลุ่ม บางแห่งส่งเอกสารขอความเห็นชอบฯ โดยมีข้อความไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง และหรือขาดเอกสารประกอบตามประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ แนวทางการแก้ไข การประสานงานด้วยเอกสารและการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคล เพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคมีความส าคัญ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ระหว่างสหกรณ์ผู้ยื่นขอความเห็นชอบ และนายทะเบียนสหกรณ์ที่พิจารณาให้ความเห็นชอบ กิจกรรมวงเงินด าเนินกิจการประจ าปีของกลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินโครงการ วัตถุประสงค์ ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยกลุ่มเกษตรกร พ.ศ.2547การด าเนินกิจการตามมาตรา 10 (5) (7) และ (8) จะต้องจ ากัดอยู่ในวงเงินที่นายทะเบียน กลุ่มเกษตรกรประจ าจังหวัดเห็นชอบ กลุ่มเป้าหมาย คือ กลุ่มเกษตรทุกประเภทภายในจังหวัด พื้นที่ด าเนินงานโครงการ นายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจ าจังหวัดเพชรบูรณ์ พิจารณา ให้ความเห็นชอบวงเงินฯ แก่กลุ่มเกษตรกร ในรอบปีงบประมาณ 2562 จ านวน 40 กลุ่ม 2. ผลการด าเนินงาน ส าหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีผลการด าเนินงานคือ นายทะเบียนกลุ่มเกษตรกร ประจ าจังหวัดเพชรบูรณ์พิจารณาให้ความเห็นชอบวงเงินฯ แก่กลุ่มเกษตรกร ในรอบปีงบประมาณ 2562 จ านวน 40 กลุ่ม จ านวนวงเงินฯ รวม 23,400,000 บาท 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ นายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจ าจังหวัดเพชรบูรณ์พิจารณาให้ความเห็นชอบวงเงินฯ แก่กลุ่มเกษตรกร ในรอบปีงบประมาณ 2562 จ านวน 40 กลุ่ม จ านวนวงเงินฯ รวม 23,400,000 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ กลุ่มเกษตร อาจร่วมทุนในการประกอบกิจการกับกลุ่มเกษตรกรอื่น ให้กู้ให้สินเชื่อ ให้ยืม ให้เช่า ให้เช่าซื้อ โอน รับจ านองหรือรับจ าน าซึ่งทรัพย์สินแก่สมาชิกหรือของสมาชิก จัดให้ได้มาซื้อถือ กรรมสิทธิ์ หรือทรัพยสิทธิ ครอบครอง กู้ ยืม เช่า เช่าซื้อ รับโอนสิทธิการเช่าหรือสิทธิการเช่าซื้อ จ านองหรือ จ าน า ขายหรือจ าหน่ายด้วยวิธีอื่นใดซึ่งทรัพย์สิน ตามวัตถุประสงค์ได้ ภายในวงเงินที่ได้รับความเห็นชอบ


146 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ในการด าเนินงานมีปัญหา อุปสรรคเกี่ยวกับกลุ่มเกษตรกร บางแห่งส่งเอกสารขอความเห็นชอบ โดยมีข้อความไม่ครบถ้วน ถูกต้อง หรือขาดเอกสารประกอบตามหลักเกณฑ์ที่อนุโลม ตามประกาศนายทะเบียน แนวทางการแก้ไข การประสานงานด้วยเอกสารและการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคล เพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคมีความส าคัญ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ระหว่างกลุ่มเกษตรกรผู้ยื่นขอความเห็นชอบ และนายทะเบียนฯ ที่ให้ความเห็นชอบ กิจกรรมสหกรณ์สีขาวด้วยธรรมาภิบาล 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้การด าเนินการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ และเป็นไปตามนโยบายของกรมส่งเสริมสหกรณ์สู่ความเข้มแข็ง 2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ให้มีการบริหารจัดการด้วยการน าหลักธรรมาภิบาลมา ปฏิบัติถือใช้อย่างเคร่งครัด และด าเนินงานโดยยึดหลักความเป็นสหกรณ์ 3. เพื่อให้สหกรณ์ตระหนักถึงคุณค่าและคุณประโยชน์ของธรรมาภิบาล และมีการปฏิบัติใน ทุกระดับทั้งสมาชิกกรรมการและเจ้าหน้าที่สหกรณ์ 4. เพื่อให้สหกรณ์ตะหนักถึงจรรยาบรรณในการปฏิบัติงานของกรรมการ เจ้าหน้าที่สหกรณ์ และสมาชิก กลุ่มเป้าหมาย ส าหรับสหกรณ์ทุกประเภท ซึ่งจ าแนกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์ 2. ประเภทสหกรณ์การเกษตร 2. ผลการด าเนินงาน ส าหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีผลการด าเนินงานคือ มีสหกรณ์เข้าร่วมกิจกรรมจ านวน 15 แห่ง ผ่านเกณฑ์ประเมิน 2 แห่ง คือ สหกรณ์ออมทรัพย์ครูเพชรบูรณ์ จ ากัด และสหกรณ์ออม ทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเพชรบูรณ์ จ ากัด 3. ผลลัพธ์


147 ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ได้แนะน าประชาสัมพันธ์สหกรณ์เข้าร่วมปฏิบัติตามหลักแก่ สหกรณ์ทั้ง 2 กลุ่ม มีสหกรณ์เข้าร่วมโครงการ 15 แห่ง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์เข้าร่วมกิจกรรมจ านวน 15 แห่ง ผ่านเกณฑ์ประเมิน 2 แห่ง คือ สหกรณ์ออม ทรัพย์ครูเพชรบูรณ์ จ ากัด และสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเพชรบูรณ์ จ ากัด 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ในการด าเนินงานมีปัญหา อุปสรรคเกี่ยวกับสหกรณ์ทั้ง 2 กลุ่ม เกณฑ์การประเมินสหกรณ์สีขาวด้วย ธรรมาภิบาลยุ่งยากส าหรับสหกรณ์ภาคการเกษตร และไม่สามารถน ามาปรับใช้ได้ยาก แนวทางการแก้ไข ควรปรับหลักเกณฑ์การประเมินให้สอดคล้องกับรูปสหกรณ์ภาคการเกษตร ธุรกิจสหกรณ์ การบริหารเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินโครงการ วัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนเงินทุนในการส่งเสริมกิจการของสหกรณ์ในจังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นกองทุนที่มี การบริหารจัดการอย่างมืออาชีพ สนับสนุน พัฒนาสหกรณ์ เพื่อขับเคลื่อนระบบสหกรณ์ให้มี ขีดความสามารถในการแข่งขัน มั่นคง และยั่งยืน กลุ่มเป้าหมาย สหกรณ์ จ านวน 17 สหกรณ์ สัญญา จ านวน 29 สัญญา จ านวนเงิน 68.79 ล้านบาท 2. ผลการด าเนินงาน ส าหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้ด าเนินการ ตามแผนปฏิบัติงาน ตามรายละเอียดดังนี้ 1. ส ารวจและจัดท าข้อมูลความต้องการเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ 2. ให้ค าแนะน าสหกรณ์ในการจัดท าค าขอกู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ 3. รับค าขอกู้เงินจากสหกรณ์/ตรวจสอบเอกสารประกอบค าขอกู้/วิเคราะห์ค าขอกู้


148 4. เตรียมเอกสารการประชุม/จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาเงินกู้ กพส. ระดับจังหวัด 5. จัดท ารายงานผลการประชุมเสนอผู้มีอ านาจพิจารณาอนุญาต/ไม่อนุญาต 6. แจ้งผลการอนุญาตให้สหกรณ์ทราบ/รายงานขอเบิกเงินจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ 7. รับหนังสือขอเบิกรับเงินกู้จากสหกรณ์/ตรวจสอบเอกสาร/เบิกจ่ายเงินกู้ให้สหกรณ์ 8. ตรวจสอบติดตามการใช้เงินกู้ 9. เร่งรัดการช าระหนี้ก่อนและหลังครบก าหนดช าระ 10. ยืนยันยอดเงินกู้คงเหลือ 11. จัดชั้นลูกหนี้ของสหกรณ์เสนอกรมส่งเสริมสหกรณ์/แจ้งผลการจัดชั้นให้สหกรณ์ทราบ 12. ตรวจสอบหลักประกันเงินกู้/เรียกให้สหกรณ์จัดท าหลักประกันเงินกู้เพิ่มเติม 13. จัดท ารายงานผลการปฏิบัติงานประจ าเดือน/ประจ าไตรมาส/ประจ าปี 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. สหกรณ์ได้รับเงินกู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในการด าเนินธุรกิจ จ านวน 17 สหกรณ์ 29 สัญญา จ านวนเงิน 68.79 ล้านบาท 2. สหกรณ์สามารถส่งช าระหนี้ได้ร้อยละ 97.14 ของหนี้ถึงก าหนดช าระ 3. ปฏิบัติงานแล้วเสร็จภายในก าหนดระยะเวลาตาม cycle time ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์มีโอกาสเข้าถึงแหล่งเงินทุนมากขึ้น และช่วยลดปัญหาการขาดสภาพคล่องทาง การเงินของสหกรณ์ ท าให้สหกรณ์สามารถขยายปริมาณธุรกิจและให้บริการสมาชิกได้ครอบคลุมมากขึ้น 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ในการด าเนินงานมีปัญหา อุปสรรคเกี่ยวกับเรื่องของสหกรณ์จัดท าค าขอกู้เงินและเอกสาร ประกอบไม่ครบถ้วนถูกต้อง แนวทางการแก้ไข เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ต้องประสานงานอย่างใกล้ชิดกับสหกรณ์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ และกรมส่งเสริมสหกรณ์


149 ภาพกิจกรรม การจัดประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ น าโดย นายสาคร รุ่งเรือง รองผู้ว่าราชการจังหวัด เพชรบูรณ์ เป็นประธานในที่ประชุม พร้อมด้วยคณะอนุกรรมการ เจ้าหน้าที่ของส านักงานสหกรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2562 ณ ห้องประชุมราชพฤกษ์ส านักงานสหกรณ์จังหวัด เพชรบูรณ์


150 โครงการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ : เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับสหกรณ์ด้านการมีส่วนร่วมกับสมาชิกและ การเพิ่มเสถียรภาพทางการเงินของสหกรณ์ เพื่อส่งเสริมการบริหารงานของสหกรณ์ให้เป็นไป ตามอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ และเพื่อจัดท าแผนพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์ในพื้นที่ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ ให้สามารถน าไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม เป้าหมาย : สหกรณ์การเกษตรเขาค้อพัฒนา จ ากัด ต.เขาค้อ อ.เขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ 2. ผลการด าเนินงาน : โดยการจัดประชุมคณะกรรมการด าเนินการ/ ฝ่ายจัดการ และสมาชิกของสหกรณ์ การเกษตรเขาค้อพัฒนา จ ากัด เจ้าหน้าที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มวิชาการจากส านักงานสหกรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ และเจ้าหน้าที่จาก ภาครัฐ และเอกชนที่เกี่ยวข้อง รวมจ านวน 30 ราย เพื่อให้ สหกรณ์สามารถด าเนินกิจกรรมทั้งด้านการประกอบอาชีพและด้านสังคม รวมทั้งให้สหกรณ์มีแผน ในการด าเนินงาน สามารถสร้างและด าเนินกิจกรรมเพื่อช่วยเหลือสมาชิก มีผลการด าเนินงานประสบ ความเจริญรุ่งเรือง สร้างความยั่งยืนให้กับสมาชิก รวมถึงสมาชิกสหกรณ์เกิดความรัก และศรัทธา ในระบบของสหกรณ์ 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ รวมจ านวน 30 ราย 2. สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น ปี 61=442,583.06 บาท,ปี 62 =2,127,617.73 บาท (มี.ค.61-มี.ค.62) ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1.สมาชิกสหกรณ์มีการน้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการประกอบ อาชีพและในชีวิตประจ าวัน มีอาชีพที่มั่นคงยั่งยืน 2.สหกรณ์มีส่วนร่วมในการท าธุรกิจกับสมาชิกเพิ่มมากขึ้น 3.สมาชิกสหกรณ์มีส่วนร่วมในการจัดท าแผนพัฒนาธุรกิจ/แผนฟื้นฟูกิจการของสหกรณ์ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข สหกรณ์ประสบปัญหาการด าเนินงานโดยมีผลประกอบการขาดทุนอย่างต่อเนื่องอยู่ระหว่างการ ฟื้นฟูสหกรณ์และสมาชิกขาดความรักและศรัทธาในสหกรณ์ และไม่สามารถลาออกจากการเป็น สมาชิกได้เนื่องจากติดภาระค้ าประกันและเงินกู้กับสหกรณ์ จึงแนะน าให้ฝ่ายจัดการติดตามหนี้ค้าง


151 ช าระกับสหกรณ์ และมีมติจากที่ประชุมใหญ่ให้ลดดอกเบี้ย ค่าปรับ หากสมาชิกมาช าระเงินต้น ครบถ้วน ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ


152 โครงการประยุกต์ใช้แนวพระราชด าริเป็นแนวทางในการขับเคลื่อน เพื่อพัฒนาสหกรณ์อย่างยั่งยืน (บันได 7 ขั้น) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ : เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์มีความรู้และความเข้าใจพร้อมประยุกต์ใช้แนวพระราชด าริเป็น แนวทางขับเคลื่อนการประกอบอาชีพและใช้ในชีวิตประจ าวัน และเพื่อให้สหกรณ์มีแผนพัฒนาความ เข้มแข็งตามศักยภาพโดยการประยุกต์ใช้แนวพระราชด าริเป็นแนวทางขับเคลื่อนเพื่อพัฒนาสหกรณ์ เป้าหมาย : สหกรณ์การเกษตรเขาค้อพัฒนา จ ากัด พื้นที่ด าเนินโครงการ : ต าบลเขาค้อ อ าเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ 2. ผลการด าเนินงาน : กิจกรรมที่ 1การจัดท าแผนพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด าริ กิจกรรมที่ 2 การติดตามผลการด าเนินงานตามแผนพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์ ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ โดยการจัดประชุมคณะกรรมการด าเนินการ/ ฝ่ายจัดการ และสมาชิกของสหกรณ์ การเกษตรเขาค้อพัฒนา จ ากัด เจ้าหน้าที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มวิชาการจากส านักงานสหกรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ และเจ้าหน้าที่จาก ภาครัฐ และเอกชนที่เกี่ยวข้อง รวมจ านวน 30 เพื่อให้สหกรณ์ ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริในจังหวัดเพชรบูรณ์ สามารถด าเนินกิจกรรมทั้งด้านการ ประกอบอาชีพ และด้านสังคม สามารถประยุกต์ใช้แนวพระราชด าริเป็นแนวการขับเคลื่อนเพื่อพัฒนา สหกรณ์ได้อย่างยั่งยืน เกิดความเข้มแข็ง 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ รวมจ านวน 30 ราย 2.สหกรณ์สามารถยกระดับตามขั้นตอนบันได 7 ขั้นได้อย่างน้อย 1 ระดับ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สมาชิกสหกรณ์ได้รับความรู้และน าความรู้มาปรับใช้ในการประกอบอาชีพและ ในชีวิตประจ าวัน 2. สมาชิกสหกรณ์มีส่วนร่วมในการจัดท าแผนพัฒนาธุรกิจ/แผนฟื้นฟูกิจการของสหกรณ์


153 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1.สหกรณ์ประสบปัญหาการด าเนินงานโดยมีผลประกอบการขาดทุนอย่างต่อเนื่อง อยู่ระหว่างการ ฟื้นฟูสหกรณ์ 2.สมาชิกขาดความรักและศรัทธาในสหกรณ์ เมื่อพิจารณาตามขั้นบันไดแล้วสหกรณ์จะผ่าน การประเมินแบบข้ามขั้น มีความพร้อมและอุปกรณ์ที่จะด าเนินธุรกิจแต่ฝ่ายจัดการไม่สามารถบริหาร จัดการให้เกิดผลดีได้ ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ


154 โครงการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในชุมชนในพื้นที่ โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ความรู้เรื่องอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ เพื่อห า แนวทางการจัดท าแผนการผลิต/แผนการด าเนินกิจกรรมของประชาชนในพื้นที่ และเพื่อส่งเสริมให้ ประชาชนได้เรียนรู้การด าเนินงานตามแนวพระราชด าริเป็นแนวทางการขับเคลื่อนเพื่อพัฒนาชุมชน เป้าหมาย : บ้านห้วยน้ าขาว อ าเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ พื้นที่ด าเนินโค รงก าร : หมู่ที่ 1 (บ้ านห้วยน้ า ขาว) ต าบลเข็กน้อย อ า เภ อเข าค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ 2. ผลการด าเนินงาน : 1. แนะน าส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ให้เกิด การรวมกลุ่มและน ารูปแบบของการสหกรณ์ไปใช้ในการบริหารจัดการกลุ่ม 1 แห่ง 2. จัดกิจกรรม/เวทีชุมชนเพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมกับชุมชนเพื่อจัดท า “แผนการด าเนิน กิจกรรม” 1 ครั้ง 30 คน 3. ติดตามประเมินผล 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย ข้าราชการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประชาชนจากหมู่บ้าน ห้วยน้ าขาว เจ้าหน้าที่จากสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง ร่วมโครงการ จ านวน 40 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ กลุ่มหมู่บ้านประยุกต์ใช้วิธีการสหกรณ์ในกิจกรรมของชุมชนและได้รับความรู้พร้อมน า ความรู้มาปรับใช้ในการประกอบอาชีพและในชีวิตประจ าวัน ซึ่งในพื้นที่พัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการ หลวงห้วยน้ าขาวมีการรวมตัวกันและตั้งกลุ่มขึ้นมา เพื่อประกอบอาชีพทางการเกษตรโดยมีเจ้าหน้าที่ จากสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูงเป็นพี่เลี้ยงและที่ปรึกษา 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ในพื้นที่โครงการประชาชนส่วนใหญ่เป็นชาวเขาเผ่าม้ง พูดภาษาท้องถิ่น การเข้าไปในพื้นที่ ต้องอาศัยล่ามหรือผู้ที่สามารถพูดได้สองภาษาเพื่อท าความเข้าใจในการแนะน าและส่งเสริม


155 โครงการน านักเรียนโรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนทัศนศึกษา 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ : - เพื่อสนองพระราชด าริในการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์ให้เป็นแหล่งความรู้ในวิธีการ สหกรณ์และการฝึกการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง - เพื่อเสริมสร้างให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้ และมีประสบการณ์นอกเหนือจากในโรงเรียน ชุมชน และสังคมที่ตนอาศัยอยู่ - เพื่อเป็นการปลูกฝังนิสัยการช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตามหลักการ สหกรณ์ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ - เพื่อเป็นการปลูกฝังนิสัยการรักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ เกิดภาคภูมิใจในความเป็นไทย เป้าหมาย : โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนบ้านโป่งตะแบก พื้นที่ด าเนินโครงการ : ต าบลพุทธบาท อ าเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ 2. ผลการด าเนินงาน : - จัดกิจกรรมแนะน าการจัดกิจกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้เรื่องการสหกรณ์ - ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ร่วมกับสหกรณ์ในพื้นที่ (สหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด และสหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค.เพชรบูรณ์ จ ากัด) ด าเนินการเลี้ยงอาหารกลางวันนักเรียน (CSR) - น าคณะนักเรียนและครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน ตชด.บ้านโป่งตะแบก อ าเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ ทัศนศึกษา ณ กองพลทหารม้าที่ 1 ค่ายพ่อขุนผาเมือง เพื่อศึกษา ศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด เพื่อศึกษา อุปกรณ์การผลิตและการตลาดของสหกรณ์ และสหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด เพื่อศึกษาศูนย์ เรียนรู้เรื่องการสหกรณ์ของจังหวัดเพชรบูรณ์ 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ นักเรียนโรงเรียน ตชด.บ้านโป่งตะแบก และครูที่รับผิดชอบกิจกรรม สหกรณ์นักเรียน จ านวน 21ราย และเจ้าหน้าที่จากส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ จ านวน 4ราย รวมจ านวน 25 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สามารถสนองพระราชด าริในการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์โดยนักเรียน ได้เรียนรู้ด้านวิชาการและจากประสบการณ์จริง ให้เด็กนักเรียนมีความเข้าใจวิธีการสหกรณ์จาก


156 ประสบการณ์จริงและน าไปใช้ในชีวิตประจ าวัน และสามารถเผยแพร่กิจกรรมสหกรณ์ไปสู่ผู้ปกครอง นักเรียนและญาติพี่น้องต่อไปได้ ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ทัศนศึกษา ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี และกิจกรรม CSR


157 โครงการพัฒนาศักยภาพการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ : เพื่อสร้างความเข้มแข็งแก่กลุ่มเกษตรกรโดยเน้นการมีส่วนร่วมของสมาชิก การท าแผนธุรกิจ แผนพัฒนาการด าเนินงาน การด าเนินกิจกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการด าเนิน ธุรกิจ พัฒนาให้กลุ่มเกษตรกรมีการบริหารจัดการกลุ่มที่เข้มแข็ง เป้าหมาย : คณะกรรมการด าเนินงาน/สมาชิกกลุ่มเกษตรกร และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง พื้นที่ด าเนินโครงการ : กลุ่มเกษตรกรท านาเพชรละคร อ าเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ 2. ผลการด าเนินงาน : ด าเนินการจัดประชุมตามโครงการจ านวน 3 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความเข้มแข็งการด าเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ครั้งที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนแผนพัฒนาธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร และสร้างการ มีส่วนร่วมของสมาชิก ครั้งที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดท าแผนพัฒนาและเชื่อมโยงธุรกิจ 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการจากกลุ่มเกษตรกรท านาเพชรละคร จ านวน 30 ราย และสหกรณ์ การเกษตรเพชรละคร จ ากัด จ านวน 30 ราย กลุ่มเกษตรกรเป้าหมายมีปริมาณธุรกิจ เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ กลุ่มเกษตรกรสามารถสร้างความเข้มแข็งการด าเนินธุรกิจ ตามแผนพัฒนาธุรกิจ/โครงการ/ แผนงาน/กิจกรรมของกลุ่มเกษตรกร สมาชิกมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่มเกษตรกร และตระหนักใน บทบาทหน้าที่และความเป็นเจ้าของกลุ่มเกษตรกร และกลุ่มเกษตรกรสามารถเพิ่มปริมาณธุรกิจ สมาชิกให้ความร่วมมือในการท าธุรกิจมากขึ้น


158 ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ


159 โครงการการพัฒนาการบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกรภายใต้ โครงการประชุมคณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ : เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง เป็นองค์การที่มีส่วนในการขับเคลื่อน การพัฒนาสถาบันเกษตรกร ส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของสมาชิกกลุ่มเกษตรกร และให้กลุ่ม เกษตรกรมีแนวทางในการพัฒนากลุ่มให้ผ่านมาตรฐานและมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น เป้าหมาย : ประธานคณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกรระดับจังหวัด, คณะกรรมการกลาง กลุ่มเกษตรกรระดับอ าเภอ, สมาชิกกลุ่มเกษตรกร และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง รวมจ านวน 63 ราย พื้นที่ด าเนินโครงการ : กลุ่มเกษตรกรทุกกลุ่มในพื้นที่ดูแล และรับผิดชอบของส านักงาน สหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 2. ผลการด าเนินงาน : ด าเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ โดยเนื้อหาวิชาที่ใช้ในการด าเนินโครงการจะเป็นเรื่อง ของการบริหารจัดการและการมีส่วนร่วมของสมาชิกกลุ่มเกษตรกร หลักธรรมาภิบาลกับการด าเนิน ธุรกิจกลุ่มเกษตรกร การสร้างเครือข่ายและการเชื่อมโยงการตลาดองค์กรหลักระดับอ าเภอ และการ ส่งเสริมพัฒนาสินค้าเกษตรกรให้ได้มาตรฐาน 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการจ านวน 56 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดเพชรบูรณ์มีความเข้มแข็ง เป็นองค์การที่มีส่วน ในการขับเคลื่อนงานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ สมาชิกกลุ่มเกษตรกรมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และมี แนวทางในการพัฒนากลุ่มให้ผ่านามาตรฐานและมีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. การด าเนินธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรจะด าเนินธุรกิจเพียงด้านเดียว คือ ธุรกิจสินเชื่อ 2. คณะกรรมการด าเนินการของกลุ่มเกษตรกรจะเป็นคนเดิม หน้าเดิม เนื่องจากไม่มีผู้ใด ประสงค์จะมาเป็นกรรมการ 3. กลุ่มเกษตรกรที่พิจารณาแล้วว่าไม่มีศักยภาพในการด าเนินงาน ไม่สามารถเลิเ กกิจการ ได้เนื่องจากมีหนี้ค้างช าระกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง การด าเนินธุรกิจระหว่างนี้คือการเก็บหนี้ค้าง ช าระจากสมาชิก


160 ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ


161 โครงการพัฒนาอาชีพของเกษตรกร ในศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ : เพื่อส่งเสริมการด าเนินกิจกรรมพัฒนาอาชีพของเกษตรกรในศูนย์เรียนรู้การ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) เป้าหมาย : เกษตรกรในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) ที่ได้รับการสนับสนุนการด าเนินกิจกรรมกลุ่มในปี 2560 และ ปี 2561 พื้นที่ด าเนินโครงการ : ศพก.อ าเภอหล่มสัก อ าเภอวังโป่ง อ าเภอน้ าหนาว และอ าเภอเขาค้อ 2. ผลการด าเนินงาน : - ทบทวนข้อมูลการรวมกลุ่มและจัดท าแผนการด าเนินกิจกรรมกลุ่ม - ประสานงานส านักงานเกษตรจังหวัด/ส านักงานอ าเภอและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อบูรณาการงานและงบประมาณ - คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย - จัดท าแผนปฏิบัติการบูรณาการ - ประสานงานกลุ่มเป้าหมายเพื่อก าหนดวัน เวลา และสถานที่ด าเนินโครงการ - ด าเนินการอบรมอาชีพตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการจ านวน 4 รุ่น ๆ ละ 8 ราย รวมจ านวน 32 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผู้เข้ารับการอบรมสามารถน าความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปปรับ ใช้ในการพัฒนาการบริหารจัดกลุ่มให้มีความเข้มแข็ง เพื่อเป็นฐานรากของการพัฒนาชุมชนได้อย่าง มั่นคงและยั่งยืน


162 ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ การฝึกอบรมอาชีพ ศพก.อ าเภอน้ าหนาว (การท ากาแฟดริฟ) การฝึกอบรมอาชีพ ศพก.อ าเภอวังโป่ง (การเลี้ยงหนูนาและการท าปุ๋ยหมักเติมอากาศ)


163 การฝึกอบรมอาชีพ ศพก.อ าเภอหล่มสัก (การท าเลี้ยงแพะและการท าอาหารเพื่อลดต้นทุน) การฝึกอบรมอาชีพ ศพก.อ าเภอเขาค้อ (การท าเลี้ยงไก่พื้นเมืองและการลดต้นทุนอาหารสัตว์)


164 โครงการพัฒนาเกษตรกรสู่เกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ : เพื่อพัฒนาเกษตรกรของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการศักยภาพ ทั้งทางด้านการผลิต การแปรรูปและการตลาด ในการประกอบอาชีพด้านการเกษตร และให้เกษตรกร สมาชิกกลุ่มเป้าหมา ยมีรา ยได้เพิ่มขึ้น พร้อมที่จะพัฒนาให้มีคุณสมบัติของเกษตรกร สมาชิก ปราดเปรื่อง (Smart Farmer) เป้าหมาย : สหกรณ์หลักระดับอ าเภอในจังหวัดเพชรบูรณ์ จ านวน 85 ราย พื้นที่ด าเนินโครงการ : สหกรณ์หลักระดับอ าเภอ ประกอบด้วย - สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด - สหกรณ์การเกษตรหล่มสัก จ ากัด - สหกรณ์การเกษตรหล่มเก่า จ ากัด - สหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด - สหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค.เพชรบูรณ์ จ ากัด - สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด - สหกรณ์การเกษตรบึงสามพัน จ ากัด - สหกรณ์การเกษตรวิเชียรบุรี จ ากัด - สหกรณ์การเกษตรศรีเทพ จ ากัด - สหกรณ์การเกษตรเขาค้อพัฒนา จ ากัด ไม่ใช่สหกรณ์หลักระดับอ าเภอ ประกอบด้วย - สหกรณ์การเกษตรต าบลบ้านเนิน จ ากัด - สหกรณ์การเกษตรท่าแดง จ ากัด - สหกรณ์การเกษตรเพชรละคร จ ากัด - สหกรณ์เกษตรอินทรีย์เพชรบูรณ์ จ ากัด - สหกรณ์รักษ์ศรีเทพ จ ากัด - สหกรณ์การเกษตรท้ายดง จ ากัด - สหกรณ์ผลิตผักน้ าดุกใต้ จ ากัด - สหกรณ์ประมงบ้านระหาร จ ากัด


165 2. ผลการด าเนินงาน : 1. ด าเนินการประสานงานสหกรณ์ละ 4-5 ราย เพื่อเปิดโอกาสให้สหกรณ์อื่นได้รับการ อบรมบ้าง และไม่ได้ประสานงานอ าเภอน้ าหนาวเนื่องจากอยู่บนเขาและห่างไกลเดินทางมาเพื่อเข้ารับ การอบรมตามระยะเวลาที่ก าหนดไม่ทัน 2. ด าเนินการจัดอบรมผู้เข้าร่วมโครงการ ณ ศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง กองพลทหารม้าที่ 1 ค่ายพ่อขุนผาเมือง 3. ติดตามผลการด าเนินงานและรับสมัครผู้สนใจเข้ารับการอบรมต่อยอด จ านวน 6 ราย 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการอบรมและได้รับความรู้จากศูนย์เรียนรู้ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จ านวน 65 ราย และมีผู้สนใจเข้ารับการอบรมต่อยอด จ านวน 6 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผู้เข้ารับการอบรมสามารถน าความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปปรับใช้ใน การพัฒนาการบริหารจัดการกลุ่มให้มีความเข้มแข็ง เพื่อเป็นฐานรากของการพัฒนาชุมชนได้อย่าง มั่นคงและยั่งยืน 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ผลการด าเนินงานไม่เป็นไปตามแผนที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ก าหนดเนื่องจาก ปัจจุบัน เกษตรกรรุ่นใหม่ที่เป็นบุตรหลานสมาชิกสหกรณ์มีน้อยราย สหกรณ์ใหญ่ระดับอ าเภอมีศักยภาพใน การบริหารจัดการคน แต่ผู้จัดโครงการพิจารณาแล้ว สหกรณ์การเกษตรในจังหวัดเพชรบูรณ์มีหลาย แห่งควรจะให้สหกรณ์นั้น ๆ มีส่วนร่วมในโครงการดังกล่าวด้วย


166 ภาพถ่ายแสดงการด าเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ


167 การช าระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 1. การด าเนินการช าระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร : นายทะเบียนออกประกาศและเผยแพร่การเลิกและตั้งผู้ช าระบัญชีผู้ช าระบัญชีรับมอบ ทรัพย์สินและจัดท างบดุล ส่งงบดุลให้ผู้สอบบัญชีรับรอง เมื่อผู้สอบบัญชีรับรองงบดุลแล้ว ผู้ช าระบัญชี เสนอที่ประชุมใหญ่หรือนายทะเบียนอนุมัติงบดุล เพื่อด าเนินการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินแล้ว ส่งรายงานการช าระบัญชีให้ผู้สอบบัญชีรับรอง หลังจากนั้นเสนอนายทะเบียนสหกรณ์ถอนชื่อและส่ง มอบบรรดาสมุดต่างๆ โดยส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้ติดตามความก้าวหน้าการช าระบัญชี ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในทุกเดือนตลอดปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 2. รายชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างการช าระบัญชี ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 : สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ขั้นตอนการช าระบัญชี ณ วันที่ 1 ต.ค. 2561 ความก้าวหน้า/ขั้นตอน ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 1. สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดิน ชนแดนหนึ่ง จ ากัด ขั้นที่ 10 ขั้นที่ 10 2. สหกรณ์ต ารวจภูธรเขาค้อ จ ากัด ขั้นที่ 3 ขั้นที่ ๘ 3. สหกรณ์การเกษตรเกษตรอินทรีย์ กกเดื่อพัฒนา จ ากัด ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 3 4. สหกรณ์ออมทรัพย์กองพล ทหารม้าที่ 1 จ ากัด ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 4 5. สหกรณ์การเกษตรห้วยงาช้าง จ ากัด ขั้นที่ 6 ขั้นที่ 6 6. สหกรณ์ปลูกผักและไม้ผลเขาค้อ จ ากัด ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 5 7. กลุ่มเกษตรกรท านาห้วยสะแก ขั้นที่ 5 ขั้นที่ 5 8. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์บ่อรัง ขั้นที่ 10 ขั้นที่ 10 3. รายชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สามารถถอนชื่อได้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 : 1) สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินชนแดนหนึ่ง จ ากัด ถอนชื่อออกจากทะเบียนวันที่ 22 สิงหาคม 2561 2) กลุ่มเกษตรกรท านาบ่อรัง ถอนชื่อออกจากทะเบียนวันที่ 17 กันยายน 2561


168 โครงการส่งเสริมการผลิตและการกระจายเมล็ดพันธุ์ดีแก่เกษตรกร ในสถาบันเกษตรกร วัตถุประสงค์ เพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ดีให้เพียงพอและสอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกร เพื่อกระจาย เมล็ดพันธุ์ดีและส่งเสริมเกษตรกรสมาชิกใช้เมล็ดพันธุ์ดีของสหกรณ์อย่างทั่วถึง เพื่อส่งเสริมการพัฒนา คุณภาพสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ (ข้าว) ของสหกรณ์อย่างบูรณาการครบวงจร เป้าหมาย สหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค.เพชรบูรณ์ จ ากัด ต าบลวังโป่ง อ าเภอวังโป่ง จังหวัดเพชรบูรณ์ ผลการด าเนินงาน 1. กิจกรรมการจัดประชุมท าแผนธุรกิจเมล็ดพันธุ์ จ านวน 1 ครั้ง 20 ราย 2. กิจกรรมจัดประชุมสร้างเครือข่ายการตลาดเมล็ดพันธุ์ จ านวน 1 ครั้ง 20 ราย 3. การติดตามผลการด าเนินงาน ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ การรวบรวมเมล็ดพันธุ์ข้าว พันธุ์พิษณุโลก 2 จ านวนสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ 14 ราย พื้นที่ปลูก 245 ไร่ จัดอบรมสมาชิกผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ 40 ราย จ านวน 2 ครั้ง เมล็ดพันธุ์ที่ผ่านมาตรฐาน การรับซื้อคืนจากแปลงสมาชิก จ านวน 137.16 ตัน มูลค่า 892,382 มูลค่า เมล็ดพันธุ์ที่ผ่านมาตรฐาน การรับซื้อคืนไปปรับปรุงสภาพในโรงงาน 137.16 ตัน จ านวนเมล็ดพันธุ์ที่ผ่านมาตรฐานหลังการ ปรับปรุงสภาพแล้วเสร็จ จ านวน 109.02 ตัน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการฯ มีความรู้ด้านการผลิตเมล็ดพันธุ์คุณภาพ สามารถผลิต เมล็ดพันธุ์ผ่านมาตรฐาน และจ าหน่ายเป็นเมล็ดพันธุ์ได้ สมาชิกสหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค. เพชรบูรณ์ จ ากัด เข้าร่วมโครงการประชุม พัฒนาศักยภาพกระบวนการผลิตและการสร้าง เครือข่ายการตลาดเมล็ดพันธุ์ ณ สหกรณ์การเกษตรพรหมพิราม จ ากัด


169 สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการร่วมดูแปลงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว และกระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์คุณภาพ กระสอบเมล็ดพันธุ์ข้าว พันธุ์พิษณุโลก 2 ของสหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค.เพชรบูรณ์ จ ากัด โครงการพัฒนาตลาดสินค้าเกษตร


170 วัตถุประสงค์ เพื่อจัดตั้งตลาดสินค้าเกษตรในสหกรณ์ เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์และเกษตรกรมีช่องทางการ จ าหน่ายสินค้าเกษตร เป้าหมาย สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด อ าเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ ผลการด าเนินงาน 1.กิจกรรมการจ าหน่ายสินค้า ณ บริเวณตลาดสินค้าเกษตร สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด จ าหน่ายทุกวัน ทุกวันพุธ และวันพฤหัสบดี 2. กิจกรรมการจัดอบรมวางแผนบริหารจัดการตลาดสินค้าเกษตร จ านวน 1 ครั้ง 33 ราย 3. ติดตามการด าเนินงานก่อสร้างอาคารตลาดสินค้าเกษตร ขนาดไม่น้อยกว่า 715 ตรม. 1 แห่ง ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. ด าเนินงานก่อสร้างอาคารตลาดสินค้าเกษตร ขนาดไม่น้อยกว่า 715 ตรม. 1 แห่ง งบประมาณ 2,618,000 บาท 2. จัดอบรมวางแผนบริหารจัดการตลาดสินค้าเกษตร จ านวน 1 ครั้ง 33 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกสหกรณ์ เกษตรกรผู้ผลิต มีตลาดส าหรับจ าหน่ายสินค้าเกษตร อาหารแปรรูป พืชผัก อินทรีย์ ปลอดภัย สินค้าเกษตรแปลงใหญ่ ทุกวันพุธ และวันพฤหัสบดี สามารถสร้างรายได้ให้แก่ สมาชิกสหกรณ์ เกษตรกรผู้ผลิต ให้พึ่งพาตนเองได้


171 รูปแบบอาคารตลาดสินค้าเกษตร สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด


172 การจ าหน่ายสินค้าของสมาชิกสหกรณ์ เกษตรกร เกษตรแปลงใหญ่ ในอาคารตลาดสินค้าเกษตร ประชาชนทั่วไปเลือกซื้อสินค้าในตลาดสินค้าเกษตร โดยมีสินค้าอาหารแปรรูป พืชผักปลอดภัย การจัดงานมหกรรมสินค้าสินค้าสหกรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ ณ ตลาดเกษตรกร สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด


173 โครงการสนับสนุนการด าเนินงานในรูปแบบธนาคารสินค้าเกษตรในสหกรณ์ วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและจัดตั้งธนาคารข้าวในสถาบันเกษตรกร เพื่อส่งเสริมให้สหกรณ์มีการ ด าเนินการบริหารจัดการในรูปแบบธนาคารข้าวในสถาบันเกษตรกร เพื่อลดต้นทุนการผลิตให้แก่ สมาชิก เป้าหมาย สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด อ าเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ ผลการด าเนินงาน 1. กิจกรรมการประชาสัมพันธ์การด าเนินงานของธนาคารสินค้าเกษตรให้สมาชิกได้มาใช้ บริการธนาคารข้าว เช่น การยืม รับฝาก เมล็ดพันธุ์ข้าวและปัจจัยการผลิต 2. ติดตามการด าเนินงาน ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. จัดตั้ง ธนาคารสินค้าเกษตร จ านวน 1 แห่ง จ านวนสมาชิก 58 ราย 2. มีมติการจัดตั้งธนาคารสินค้าเกษตร(ข้าว) จ านวน 1 มติ 3. มีระเบียบธนาคารสินค้าเกษตร(ข้าว) จ านวน 1 ระเบียบ 4. มีคณะกรรมการธนาคารสินค้าเกษตร(ข้าว) จ านวน 1 คณะ 5. จ านวนสมาชิกใช้บริการ 25 ราย ยืมเมล็ดพันธุ์ข้าว ปริมาณ 6.52 ตัน มูลค่า 46,944 บาท 6. ลดรายจ่ายในครัวเรือนได้ 12,000 บาท ลดต้นทุนได้ 46,000 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกธนาคารสินค้าเกษตร(ข้าว) ลดต้นทุนจากการใช้เมล็ดพันธุ์ดี


174 ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการธนาคารสินค้าเกษตร(ธนาคารข้าว) สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด


175 โครงการพัฒนาศักยภาพการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตร วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพสหกรณ์ภาคการเกษตรระดับอ าเภอให้มีความเข้มแข็ง เป็นที่พึ่งของ สมาชิกสหกรณ์ เกษตรกร และชุมชนในอ าเภอ 2. เพื่อเสริมสร้างสหกรณ์ภาคการเกษตรระดับอ าเภอให้เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก เป้าหมาย สหกรณ์ระดับอ าเภอ จ านวน 13 แห่ง ในจังหวัดเพชรบูรณ์ ผลการด าเนินงาน 1 กิจกรรมชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนคลัสเตอร์ข้าว ระดับจังหวัด จ านวน 1 ครั้ง 13 แห่ง 2. กิจกรรมจัดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดท าแผนขับเคลื่อนคลัสเตอร์ข้าว จ านวน 1 ครั้ง 50 ราย 3. กิจกรรมจัดประชุมเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการบริหารจัดการผักของสหกรณ์ จ านวน 1 ครั้ง 40 ราย 4. ประชุมสรุปผลและถอดบทเรียน จ านวน 1 ครั้ง 30 ราย 5. ติดตามการด าเนินงานสหกรณ์ที่ได้รับเงินอุดหนุนอุปกรณ์การตลาดโครงการพัฒนาศักยภาพการ 6. ด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตร จ านวน 5 สหกรณ์ - สหกรณ์โคนมหล่มสัก จ ากัด รายการที่ได้รับการอุดหนุน ไอซ์แบงค์พร้อมอุปกรณ์ ขนาด 10 ตัน และ ถังสแตนเลสชุด CIP วันที่ด าเนินการแล้วเสร็จตามสัญญา/ส่งมอบงาน 9 เมษายน 2562 -สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด รายการที่ได้รับการอุดหนุน รถโฟล์คลิฟท์ ขนาด 3 ตัน จ านวน 1 คัน วันที่ด าเนินการแล้วเสร็จตามสัญญา/ส่งมอบงาน 9 มกราคม 2562 - สหกรณ์ผักปลอดภัยภูทับเบิก จ ากัด รายการที่ได้รับการอุดหนุน รถบรรทุกห้อง เย็น 6 ล้อ ขนาดไม่น้อยกว่า 210 แรงม้า วันที่ด าเนินการแล้วเสร็จตามสัญญา/ส่งมอบงาน 1 มีนาคม/ 7 มีนาคม 2562 - สหกรณ์การเกษตรท่าแดง จ ากัด รายการที่ได้รับการอุดหนุน รถโฟล์คลิฟท์ขนาด 3 ตัน จ านวน 1 คัน วันที่ด าเนินการแล้วเสร็จตามสัญญา/ส่งมอบงาน 16 มกราคม 2562 - สหกรณ์การเกษตรหล่มเก่า จ ากัด รายการที่ได้รับการอุดหนุน อาคารรวบรวม ผลผลิตขนาดไม่น้อยกว่า 450 ตรม. วันที่ด าเนินการแล้วเสร็จตามสัญญา/ส่งมอบงาน 9 มกราคม 2562


176 ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ผลการด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตร จ านวน 5 สหกรณ์ ปริมาณ ธุรกิจรวม 528,276,235.61 บาท ลดต้นทุนการผลิตของสมาชิกสหกรณ์ 119,600 บาท สมาชิกได้รับ ประโยชน์ จ านวน 1,658 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์มีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่าง ๆให้สมาชิกรับทราบและมีความเข้าใจ เห็นถึง ประโยชน์ของกิจกรรมที่สหกรณ์ส่งเสริม ท าให้สมาชิกให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมกับสหกรณ์ มากขึ้น สมาชิกมีส่วนร่วมและท าธุรกิจกับสหกรณ์มากขึ้น


177 การจัดประชุมจัดท าแผนขับเคลื่อนคลัสเตอร์ข้าวและจัดประชุมสรุปผลและถอดบทเรียน อาคารรวบรวมผลผลิตสหกรณ์การเกษตรหล่มเก่า จ ากัด และ รถโฟล์คลิฟท์ ขนาด 3 ตัน สหกรณ์การเกษตรท่าแดง จ ากัด ไอซ์แบงค์พร้อมอุปกรณ์ขนาด 10 ตัน และ ถังสแตนเลสชุด CIP สหกรณ์โคนมหล่มสัก จ ากัด และ รถโฟล์คลิฟท์ ขนาด 3 ตัน สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด


178 โครงการส่งเสริมการใช้เครื่องจักรกลการเกษตร วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสนับสนุนเครื่องจักรกลทางการเกษตรให้กับสถาบันเกษตรกรเพื่อให้บริการแก่สมาชิก 2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการของสถาบันเกษตรกรในการบริหารจัดการและ อ านวยความสะดวกในการให้บริการเครื่องจักรกลทางการเกษตรแก่สมาชิก เป้าหมาย สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด อ าเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ ผลการด าเนินงาน 1. พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการเครื่องจักรกลทางการเกษตร สหกรณ์การเกษตร เพชรบูรณ์ จ ากัด อุปกรณ์ รถตักล้อยาง ขนาดไม่น้อยกว่า 189 แรงม้า จ านวน 1 คัน งบประมาณ 5,040,000 บาท 2. กิจกรรมจัดอบรมวางแผนเครื่องจักรกลทางการเกษตร จ านวน 35 ราย 3. กิจกรรมจัดอบรมดูแลรักษาเครื่องจักรกลทางการเกษตร จ านวน 10 ราย ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ กรรมการ เจ้าหน้าที่สหกรณ์ สมาชิกสหกรณ์ และผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้ในการบริหาร จัดการด้านเครื่องจักรกลและการบ ารุงดูแลรักษาเครื่องจักรกล จ านวน 45 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์ที่ได้รับการส่งเสริมการบริหารจัดการด้านเครื่องจักรกลทางการเกษตรเพื่อบริการ สมาชิกเกษตรกรในพื้นที่โครงการได้รับการส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาในการลดต้นทุนการผลิต โดย การใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตรร่วมกัน ท าให้มีรายได้เพิ่มขึ้นและลดค่าใช้จ่ายในการท าการเกษตร ในพื้นที่


179 การใช้ประโยชน์เครื่องจักรกลการเกษตรรถตักล้อยางเพื่อรวบรวมข้าวจากสมาชิกสหกรณ์ ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ให้มีตลาดรองรับ โดยการเชื่อมโยงตลาดร่วมกันระหว่าง ผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อ เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มการผลิต การจ าหน่าย และการ บริหารจัดการร่วมกัน เป้าหมาย แปลงใหญ่ในจังหวัดเพชรบูรณ์แปลงใหญ่ ปี 59, ปี 60 และ ปี 61 พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : จังหวัดเพชรบูรณ์ ผลการด าเนินงาน 1. กิจกรรมทบทวนแผนการตลาด แปลง ปี 59 2. กิจกรรมทบทวนแผนการตลาด แปลง ปี 60 3. กิจกรรมจัดท าแผนการตลาด แปลง ปี 61 ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. ทบทวนแผนการตลาด แปลง ปี 59 จ านวน 5 แปลง 50 ราย 2. ทบทวนแผนการตลาด แปลง ปี 60 จ านวน 23 แปลง 460 ราย 3. จัดท าแผนการตลาด แปลง ปี 61 จ านวน 18 แปลง 540 ราย 4. สินค้าเกษตรจากพื้นที่แปลงใหญ่มีตลาดรองรับ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ แปลงใหญ่มีการบริหารจัดการในรูปแบบสหกรณ์ เกษตรกร สมาชิกสหกรณ์ เกิดการรวมกลุ่ม เพื่อการผลิตการตลาดในรูปแบบแปลงใหญ่สหกรณ์มีบทบาททางการตลาดให้กับแปลงใหญ่เพิ่มราคา ผลผลิตให้กับเกษตรกรการจัดประชุมทบทวนแผนการตลาดและทบทวน แผนการตลาดแก่สมาชิกแปลงใหญ่


180 โครงการสานพลังประชารัฐเพื่อสนับสนุนการปลูกข้าวโพดหลังฤดูท านา จังหวัดเพชรบูรณ์ วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : เพื่อปรับสมดุลของปริมาณการผลิต การตลาดข้าวและข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เพื่อให้เกษตรกรมี รายได้และอาชีพที่มั่นคง ยั่งยืนจากกิจกรรมปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในช่วงฤดูนาปรัง เพื่อให้อุตสาหกรรม ต่อเนื่องของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีเสถียรภาพในการผลิตสินค้า ลดการพึ่งพาจากภายนอกประเทศ เป้าหมาย : ด าเนินการในพื้นที่เหมาะสมมาก และเหมาะสมปานกลางข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในฤดูแล้ง ทดแทนพื้นที่นา ปรังในเขตชลประท าน และพื้นที่น าอื่น ๆ ที่มีแหล่งน้ าตลอดฤดูเพา ะป ลูก (พฤศจิกายน 61 – เมษายน 62) 8 อ าเภอ 11 จุด ได้แก่ อ าเภอเมืองเพชรบูรณ์ จุดรวบรวม 2 จุด อ าเภอวิเชียรบุรี จุดรวบรวม 2 จุด อ าเภอบึงสามพัน จุดรวบรวม 1 จุด อ าเภอหนองไผ่ จุดรวบรวม 2 จุด อ าเภอชนแดน จุดรวบรวม 1 จุดอ าเภอหล่มสักจุดรวบรวม 1 จุด และอ าเภอหล่มเก่า จุดรวบรวม 1 จุด พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : จังหวัดเพชรบูรณ์ ผลการด าเนินงาน : สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการ 11 สหกรณ์ ดังนี้ 1. สหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค.เพชรบูรณ์ จ ากัด 2. สหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด 3. สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด 4. สหกรณ์การเกษตรวิเชียรบุรี จ ากัด 5. สหกรณ์การเกษตรบึงสามพัน จ ากัด 6. สหกรณ์การเกษตรหล่มสัก จ ากัด 7. สหกรณ์การเกษตรหล่มเก่า จ ากัด 9. สหกรณ์การเกษตรหล่มเก่า จ ากัด 10. สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.เพชรบูรณ์ จ ากัด 11. สหกรณ์การเกษตรลาดแค จ ากัด 12. สหกรณ์การเกษตรท่าแดง จ ากัด โครงการตามนโยบายส าคัญ


181 ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการ 6,024 ราย พื้นที่ปลูก 57,670 ไร่ ผลการรวบรวม 1,285 ตัน มูลค่า 8,306,095 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกษตรกร สมาชิกสหกรณ์มีความพึงพอใจในราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เอกชนในพื้นที่รับซื้อข้าวโพดจากสหกรณ์โดยสหกรณ์รวบรวมและปรับปรุงคุณภาพ ท าให้สหกรณ์ มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น การรวบรวมข้าวโพดของสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการ การตากข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แบบเมล็ดและการจัดเก็บข้าวเลี้ยงแบบโพดฝัก เกษตรกรน าผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มาจ าหน่าย ณ จุดรวบรวมข้าวโพดของสหกรณ์


182 โครงการพัฒนาสถาบันเกษตรกรรูปแบบประชารัฐ วัตถุประสงค์ : เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาความเข้มแข็งของสถาบันเกษตรกรด้วยกลไกประชารัฐ โดยความ ร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และสหกรณ์ เป้าหมาย : พัฒนาสหกรณ์ภาคเกษตรในรูปแบบประชารัฐ พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : สหกรณ์ การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด จังหวัดเพชรบูรณ์ ผลการด าเนินงาน : กิจกรรมประชุมการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาสหกรณ์รูปแบบประชารัฐ (1 หอการค้า 1 สหกรณ์) ส่งเสริมช่องทางการตลาด เพิ่มช่องทางการจ าหน่าย กับสหกรณ์ สร้าง เครือข่ายความร่วมมือรูปแบบประชารัฐกับหน่วยงานที่ร่วมบูรณาการในจังหวัด พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มี คุณภาพ วางแผนการผลิตสินค้า เพิ่มยอดจ าหน่าย จัดท าแผนผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ สร้างเครือข่าย ความร่วมมือกับหน่ ายง าน ส านักงานพาณิชย์จังหวัดให้ค าแน ะน าในก ารพัฒนา ผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมจังหวัดเพิ่มส่งเสริมช่องทางการจ าหน่ายสินค้า การบูรณาการข้อมูล การตลาดร่วมกัน ระหว่างหน่วยงานภาครัฐ เชื่อมโยงด้านการตลาดร่วมกันเพิ่มช่องทางการจ าหน่ายสินค้าของสหกรณ์ ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. เพิ่มช่องทางการตลาดให้กับสินค้าสหกรณ์ ในประเทศ จ านวน 1 แห่ง ได้แก่ งานมหกรรม 2. การพัฒนาผลิตภัณฑ์/สินค้าของสหกรณ์ 3. สินค้าจังหวัดนครปฐม ยอดจ าหน่ายสินค้าคิดเป็นมูลค่า 85,750 บาท 4. ด้านการยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ / สินค้า จ านวน 2 ชนิด ได้แก่ ข้าวกล้อง ข้าวไรซ์เบอรี่ ยอดจ าหน่ายสินค้าคิดเป็นมูลค่า 55,200 บาท 5. ด้านการยกระดับบรรจุภัณฑ์ของสินค้า จ านวน 3 ชนิด ได้แก่ ข้าวหอมมะลิ ข้าวขาว ข้าวเหนียว ยอดจ าหน่ายสินค้าคิดเป็นมูลค่า 265,449 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์มีช่องทางการจ าหน่ายสินค้า และพัฒนาผลิตภัณฑ์


183 สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด น าข้าวสารของสหกรณ์ จัดแสดงและจ าหน่ายในงานมหกรรม สินค้าจังหวัดนครปฐม ได้แก่ข้าวหอมมะลิ ข้าวขาว ข้าวเหนียว ซึ่งสินค้าที่น าไปจ าหน่ายนั้นผู้บริโภค ให้ความสนใจจ านวนมาก เป็นการขยายตลาดสู่ผู้บริโภคในต่างจังหวัด สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด น าข้าวสารของสหกรณ์ จัดแสดงและจ าหน่ายในงานมหกรรม สินค้าจังหวัดนครปฐม สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด มอบข้าวสารแก่ นายสาคร รุ่งเรือง รองผู้ว่าราชการ จังหวัดเพชรบูรณ์ ในงานจัดแสดงและจ าหน่ายในงานมหกรรมสินค้าจังหวัดนครปฐม


184 โครงการพัฒนาสถาบันเกษตรกรจัดเก็บพืชผลทางการเกษตร วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : 1. เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานแก่สถาบันเกษตรกรจัดเก็บพืชผลทางการเกษตร 2. เพื่อสนับสนุนอุปกรณ์แปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ผลการด าเนินงาน : สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด รายการเงินอุดหนุน ผลการจัดซื้อ จัดจ้าง วงเงินรวมตามสัญญาจ้าง จ านวนเงิน เหลือจ่าย ส่งคืน รัฐบาล อุดหนุน สหกรณ์ สมทบ วงเงินรวม (บาท) 90% 10% (บาท) (บาท) เครื่องอบลดความชื้น พร้อมโรงคลุม ขนาด 500 ตัน 36,990,000 33,291,000 3,699,000 36,990,000 9,000 โกดัง ขนาด5,000 ตัน 9,557,000 6,755,300 2,801,700 9,557,000 - ลานตาก ขนาด4,000 ตรม. 2,528,000 40,046,301 669,700 2,528,000 - สหกรณ์การเกษตรบึงสามพันจ ากัด รายการเงินอุดหนุน ผลกาจัดซื้อ จัดจ้าง วงเงินรวมตามสัญญาจ้าง จ านวนเงิน เหลือจ่าย ส่งคืน รัฐบาอุดหนุน สหกรณ์สมทบ วงเงินรวม (บาท) 90% 10% (บาท) (บาท) เครื่องชั่งพร้อมชุด ติดตั้งฐานราก ขนาด 40 ตัน 399,500 359,550 39,950 399,500 450 โครงกำรไทยนิยม ยั่งยืน ของกรมส่งเสริมสหกรณ์


185 สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด รายการเงินอุดหนุน ผลการจัดซื้อ จัดจ้าง วงเงินรวมตามสัญญาจ้าง จ านวนเงิน เหลือจ่าย ส่งคืน รัฐบาล อุดหนุน สหกรณ์ สมทบ วงเงินรวม (บาท) 90% 10% (บาท) (บาท) ฉาง ขนาด 2,000 ตัน 9,500,000 8,550,000 950,000 9,500,000 450,000 ลานตาก ขนาด 6,500 ตร.ม. 3,190,000 2,871,000 319,000 3,190,000 639,000 เครื่องชั่ง พร้อมห้องควบคุม ขนาด 80 ตัน 1,190,000 1,071,000 119,000 1,190,000 279,000 โครงการสนับสนุนอุปกรณ์แปรรูปผลผลิตทางการเกษตร สหกรณ์ผลิตผักน้ าดุกใต้ จ ากัด รายการเงินอุดหนุน ผลการจัดซื้อ จัดจ้าง วงเงินรวมตามสัญญาจ้าง จ านวนเงิน เหลือจ่าย ส่งคืน รัฐบาลอุดหนุน สหกรณ์สมทบ วงเงินรวม (บาท) 90% 10% (บาท) (บาท) รถบรรทุก 10 ล้อ พร้อมตู้ท าความเย็น 3,688,290 2,781,000 907,290 3,688,290 - ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรมต่อเกษตรกรสมาชิกและชุมชน : 1. สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด ปริมาณธุรกิจรวบรวม มูลค่า 571,692,796.31 บาท 2. สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด จ ากัด ปริมาณธุรกิจรวบรวม มูลค่า 356,997,681.44 บาท 3. สหกรณ์การเกษตรบึงสามพัน จ ากัด ปริมาณธุรกิจรวบรวม มูลค่า 88,383,921.50 บาท 4. สหกรณ์ผลิตผักน้ าดุกใต้ จ ากัด ปริมาณธุรกิจรวบรวม มูลค่า 9,300,440.80 บาท


186 ฉางขนาด 2,000 ตัน และ ลานตากขนาด 6,500 ตรม. สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด เครื่องชั่งพร้อมห้องควบคุม ขนาด 80 ตัน และ เครื่องอบลดความชื้นพร้อมโรงคลุม ขนาด 500 ตัน โกดังขนาด 5,000 ตัน และลานตาก ขนาด 4,000 ตรม. สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด เครื่องชั่งพร้อมชุดติดตั้งฐานราก ขนาด 40 ตัน และรถบรรทุก 10 ล้อ พร้อมตู้ท าความเย็น


Click to View FlipBook Version