The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nuttanicha Heng Heng, 2023-02-14 02:13:17

Report2561

Report2561

วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : เพื่อสร้างเครือข่ายการผลิตสินค้าเกษตรให้ เข้มแข็งระหว่างสหกรณ์ เป้าหมายสหกรณ์ภาคการเกษตร 9 สหกรณ์ ผลการด าเนินงาน : กิจกรรมการสร้าง Cluster กลุ่มสินค้าข้าว สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด สหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด กิจกรรมการสร้าง Cluster กลุ่มสินค้าข้าวโพด สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด สหกรณ์การเกษตรหล่มเก่า จ ากัด สกต.ธ.ก.ส.เพชรบูรณ์ จ ากัด สหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด สหกรณ์การเกษตรกรป.กลาง นพค.เพชรบูรณ์ จ ากัด สหกรณ์การเกษตรกรป.กลาง นพค.เพชรบูรณ์(สอง) จ ากัด กิจกรรมการสร้าง Cluster กลุ่มสินค้ามันส าปะหลัง สหกรณ์การเกษตรศรีเทพ จ ากัด สหกรณ์การเกษตรวิเชียรบุรี จ ากัด ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : สหกรณ์เข้าร่วมโครงการ จ านวน 9 สหกรณ์สมาชิกสหกรณ์จ านวน 200 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : เกิดการรวมกลุ่มผู้ผลิตส้นค้าเกษตร 3 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ข้าว ข้าวโพด มันส าปะหลัง สหกรณ์ภาคการเกษตรร่วมการประชุม Cluster สหกรณ์ภาคการเกษตรร่วมการประชุม Cluster ระดับจังหวัด ณ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ระดับจังหวัด ณ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ 4. โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 41


ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้ขับเคลื่อนผลการด าเนินงานโครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้การผลิตสินค้าเกษตรที่ถูกต้องและเหมาะสมส า กรับชุมชน ศูนย์กลางบริการ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ข้อมูลข่าวสารต่างๆ โดยใช้สถานที่ของเกษตรต้นแบบเป็น ที่ตั้ง ศพก. มีเครือข่ายสนับสนุนด้านวิชาการและการบริการเฉพาะด้านในแต่ละอ าเภอ ปัจจุบันมี ศพก. จ านวน 11 ศูนย์ และเครือข่าย จ านวน 11 ศูนย์ โดยองค์ประกอบของ ศพก. ประกอบด้วย เกษตรต้นแบบ (เป็น Smart Farmer ที่ประสบความส าเร็จเป็นที่ยอมรับ/เป็นแบบอย่าง) หลักสูตรการเรียนรู้วิชา... แนวคิดหลักในการพัฒนายกระดับ ศพก.. โดยแบ่งตามระดับชั้นต่างๆ ดังนี้ 1) การพัฒนา ศพก. เกรด A ( ศูนย์) ให้มีความสมบูรณ์และพัฒนาเครือข่ายให้สามารถรองรับการ พัฒนา จ านวน 3 ศูนย์ 1) การพัฒนา ศพก. เกรด B ( ศูนย์) ให้สามารถยกระดับขึ้นมาเป็น ศพก. เกรด B และ เกรด A และสามารถขยายเครือข่ายได้เพิ่มมากขึ้นได้จ านวน 8 ศูนย์ แนวทางที่ 4 : พัฒนาคน 1. โครงการประชุมคณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกรระดับอ าเภอและระดับจังหวัด คณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกรเป็นผู้น าเครือข่ายองค์กรกลุ่มเกษตรกร ผ่านการเลือกตั้งจาก กลุ่มเกษตรกรสมาชิก ตามระเบียบกรมส่งเสริมสหกรณ์ว่าด้วยคณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกร พ.ศ. 2548 วัตถุประสงค์เพื่อให้คณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกรท าหน้าที่ประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ น าปัญหา/ความต้องการ/ข้อเสนอแนะ ของสมาชิกกลุ่มเกษตรกรไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อหาแนว ทางแก้ไขและด าเนินการให้ส าเร็จลุล่วงด้วยดี ซึ่งบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกร มีดังนี้คือ ๑) รวบรวมปัญหาและด าเนินการแก้ปัญหาต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวกับการบริหารการจัดการหรือการประกอบอาชีพของ สมาชิกกลุ่มเกษตรกร เสนอภาครัฐบาลเพื่อแก้ปัญหา ๒) ช่วยในการประสานงานนโยบายของรัฐเพื่อน าไปสู่การ ปฏิบัติ ๓) ส่งเสริมงานด้านวิชาการโดยให้การสนับสนุนและช่วยเหลือแก่คณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกร คณะอื่นอย่างเต็มความสามารถ และ ๔) เพื่อให้เกิดผลดีแก่การประกอบอาชีพเกษตรกรรมของสมาชิกกลุ่ม เกษตรกรและการด าเนินงานกลุ่มเกษตรกร ดังนั้น ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ มีความตระหนักและให้ความส าคัญต่อบทบาทหน้าที่ ของคณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกร จึงก าหนดจัดโครงการประชุมคณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกรขึ้น เพื่อ เพิ่มศักยภาพเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกร วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้คณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกรเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการกลาง กลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อเพิ่มศักยภาพเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกร 42


กลุ่มเป้าหมาย วิธีด าเนินงาน 1. อ านวยการและประสานงานกับประธาน และคณะกรรม การกลางกลุ่มเกษตรกรระดับภาค/ ระดับประเทศ ตามรายชื่อประกาศ เพื่อจัดประชุม - จัดท าหนังสือถึงประธานฯ ระดับอ าเภอ/จังหวัด/ภาค/ประเทศ แจ้งแผนงาน/โครงการ - แจ้งประธาน ก าหนดแผนการจัดประชุม/วางแผนการจัดประชุม 2. ด าเนินการจัดประชุม - จัดท าหนังสือจัดประชุม - ประสานกับเจ้าหน้าที่ที่เป็นสถานที่จัดประชุม พร้อมหนังสือแจ้ง และติดต่อเรื่องสถานที่ อาหารและ เครื่องดื่ม - จัดท าหนังสือถึงคณะกรรมการกลาง ด าเนินการจัดประชุม ตามวาระการประชุม - ชี้แจงกรณีมีข้อซักถามที่เกี่ยวข้องกับกรม สรุปผลการจัดประชุม และรายงานผลกรณีที่มีเรื่องที่ เกี่ยวข้องกับกรมฯ ตัวชี้วัด 1.ร้อยละ 80 ได้รับทราบแนวนโยบายของภาครัฐที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มเกษตรกร 2.ร้อยละ 80 คณะกรรมการทุกระดับ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวคิด ความรู้และประสบการณ์ต่อกัน ผลสัมฤทธิ์ 1. กรรมการกลางกลุ่มเกษตรกรได้แลกเปลี่ยนแนวความคิดในการส่งเสริมและพัฒนาและร่วมกันแก้ไข ปัญหากลุ่มเกษตรกรได้รับ 2. กรรมการกลางกลุ่มเกษตรกรได้น าความรู้ไปใช้ในการพัฒนาการประกอบอาชีพและสร้างเครือข่าย ให้กลุ่มเกษตรกรท้องถิ่น คณะกรรมการ กลางกลุ่มเกษตรกร ระดับอ าเภอ ระดับจังหวัด ระดับภาค ระดับประเทศ 43


2. โครงการด าเนินการขับเคลื่อนการจัดการเรียนการสอนภายในหน่วยงาน CPD Unit School การจัดการเรียนการสอนภายรูปแบบ Unit School ของส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้ ด าเนินการจัดท า ดังนี้ (1) ระดมความคิดเห็นของคนในส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์เพื่อก าหนดเรื่องที่ต้องรู้ และ จัดท าแผนการเรียนการสอน (2) ค้นหาบุคลากรในส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ ที่มีความรู้ความสามารถและทักษะที่จ าเป็น ในเรื่องนั้นๆ เพื่อเป็นการถ่ายทอดความรู้แก่บุคลากรในหน่วยงานในส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ (3) เป็นการถ่ายทอดความรู้และซักซ้อมการปฏิบัติ (4) ไม่กระทบกับเวลาท างานและใช้เวลาในการเรียนการสอนไม่มาก (5) ไม่ใช่งบประมาณหรือใช้โดยประหยัด (6) สามารถด าเนินการได้ทุกระดับ (7) มีขั้นตอนการด าเนินการ ได้แก่ วัตถุประสงค์ 1. จัดการเรียนการสอนในส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถและ เตรียมความพร้อมบุคลากรทุกระดับให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. สร้างเครือข่ายและวัฒนธรรมการเรียนรู้แก่บุคลากรส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ในทุกระดับ 1. ก าหนด เรื่อง 2. แบ่ง ความ รับผิดชอบ 3. จัดท า แผนการ เรียนการ สอน 4. ด าเนินการ เรียนการ สอน 5. ติดตาม ประเมินผล 6. ทบทวน& ปรับปรุง Feedback 44


ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ด าเนินการขับเคลื่อนนโยบายการจัดการสอนภายในหน่วยงาน CPD Unit School จ านวน 7 เรื่อง วัน เดือน ปี เรื่อง ผู้สอนแนะ 29 มกราคม 2561 - การวิเคราะห์งบการเงินตามเกณฑ์ ความเข้มแข็ง จ านวน 24 ราย นายน าโชค ศิลกุล นักวิชาการสหกรณ์ช านายการพิเศษ - การวิเคราะห์ค าขอกู้เงินกองทุน กรมส่งเสริมสหกรณ์(การลงทุนใน ทรัพย์สิน) จ านวน 24 ราย นายน าโชค ศิลกุล นักวิชาการสหกรณ์ช านายการพิเศษ - งานขับเคลื่อนนโยบายรัฐ/ยก กระดาษ A4 จ านวน 24 ราย นายเสรี ฉิมพลี นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 28 กุมภาพันธ์ 2561 การใช้อ านาจนายทะเบียนสหกรณ์ ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 นายพิสิษฐ์ ธรรมโวหาร เจ้าพนักงานส่งเสริมสหกรณ์อาวุโส 29 มีนาคม 2561 - การวิเคราะห์งบการเงินตามเกณฑ์ ความเข้มแข็ง จ านวน 25 ราย นายน าโชค ศิลกุล นักวิชาการสหกรณ์ช านายการพิเศษ - การวิเคราะห์ค าขอกู้เงินกองทุน กรมส่งเสริมสหกรณ์จ านวน 25 ราย) นายน าโชค ศิลกุล นักวิชาการสหกรณ์ช านายการพิเศษ - การจัดตั้งสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จ านวน 25 ราย) นางสาวชนัดดา กลมกลิ้ง นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ - การช าระบัญชีสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร จ านวน 25 ราย) นางนิตยา มัจฉากล่ า นักวิชาการสหกรณ์ช านาญการ 23 พฤษภาคม 2561 - การวิเคราะห์งบการเงินตามเกณฑ์ ความเข้มแข็ง จ านวน 26 ราย นายน าโชค ศิลกุล นักวิชาการสหกรณ์ช านายการพิเศษ - การวิเคราะห์ค าขอกู้เงินกองทุน กรมส่งเสริมสหกรณ์จ านวน 26 ราย) นายน าโชค ศิลกุล นักวิชาการสหกรณ์ช านายการพิเศษ 31 กรกฎาคม 2561 การวิเคราะห์งบการเงินตามเกณฑ์ ความเข้มแข็งเรื่อง การประเมินความ เสี่ยงตามแนวทางBASEL I และ BASEL II จ านวน 30 ราย น.ส.สร้อยศิรินทร์ ตะกรุดแก้ว นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ 45


ผลส าเร็จ 1. สามารถน าความรู้ที่ได้รับไปใช้เป็นแนวทางในการแนะน าส่งเสริม เพื่อให้สหกรณ์สามารถ ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง\ 2. สามารถน าไปแนะน าส่งเสริมสหกรณ์ลักลุ่มเกษตรกรในการวิเคราะห์การด าเนินธุรกิจของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรรู้ถึงความเข้มแข้งในการด าเนินงานการวิเคราะห์งบการเงินจะแสดงให้เห็นว่าความเข้มแข็ง ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป็นอย่างไร สามารถด าเนินธุรกิจต่อไปได้หรือไม่ 3. สามารถวิเคราะห์งบการเงินได้ และสามารถแนะน าส่งเสริมสหกรณ์ได้ 4. สามารถแนะน าบุคคลผู้ที่สนใจในการจัดตั้งสหกรณ์เบื้องต้นได้ 5. ท าให้ทราบขั้นตอนของการช าระบัญชีและน ามาปรับใช้นากรช าระบัญชีได้ กิจกรรม CPD Unit School ให้ความรู้แก่บุคลากรให้มีองค์ความรู้ในการเข้าไปส่งเสริมและให้บริการแก่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้มีการบริหารงานที่ดีจนสามารถพัฒนาสหกรณ์สู่ระดับชั้นที่ดีขึ้นในอนาคต 46


ประกอบด้วย สหกรณ์ 26 แห่ง สมาชิก 117,532 คน กลุ่มเกษตรกร 5 แห่ง สมาชิก 527 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) 1. สหกรณ์ ฯ ด าเนินงานเป็นไปตามแนวทางที่นายทะเบียนสหกรณ์ก าหนด ทั้งทางด้าน กฎหมาย ข้อบังคับและระเบียบต่าง ๆ โดยให้สอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับแนวทางฯ เพื่อ ป้องกันไม่ให้เกิดปัญหา ข้อบกพร่องต่าง ๆ ในระหว่างการด าเนินงานของสหกรณ์ 2. สหกรณ์ ฯ จัดการประชุมคณะกรรมการด าเนินการเป็นประจ าทุกเดือน มีการแจ้ง หนังสือเชิญประชุมพร้อมทั้งระเบียบวาระให้ทางส านักงานสหกรณ์จังหวัดเป็นประจ า และการลงมติใด ๆ ใน แต่ละระเบียบวาระการประชุม ไม่ขัดกับระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายสหกรณ์ รวมทั้งประกาศและ ค าแนะน าต่าง ๆ ของนายทะเบียนสหกรณ์ 3. สหกรณ์ ฯ ได้น าข้อสังเกตและข้อแนะน าจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ส านักงาน ตรวจบัญชี ส านักงานสหกรณ์จังหวัด ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร มาติดตามและแก้ไข ข้อสังเกตดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง เป็นรูปธรรมและชัดเจน จนกว่าการแก้ไขข้อบกพร่องจะแล้วเสร็จ 4. สหกรณ์ฯ มีการน าแผนปฏิบัติงาน รวมทั้งแผนงบประมาณการรายรับ-รายจ่ายประจ าปี ที่ได้รับอนุมัติจากสมาชิกในที่ประชุมใหญ่ มาแตกย่อยเป็นแผนงานประจ าเดือน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ ติดตามงานจากคณะกรรมการด าเนินการและฝ่ายจัดการ รวมทั้งเพื่อให้มีการควบคุมค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ของ สหกรณ์ ไม่ให้เกินกว่างบประมาณที่ก าหนดไว้ด้วย 5. สหกรณ์ ฯ ได้รับการสนับสนุนเงินกองทุนต่าง ๆ เช่น กองทุนพัฒนาสหกรณ์ กองทุน สงเคราะห์เกษตรกร ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ซึ่งสหกรณ์มีการวางแผนการใช้เงิน และการส่งช าระเงินเป็นไป ตามแผนงานและวัตถุประสงค์แห่งการกู้เงินโดยแท้จริง ซึ่งส่งผลต่อสมาชิกให้มีความกินดีอยู่ดีมากขึ้น 6. คณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์ฯ น าธรรมาภิบาลและการควบคุมภายใน มาปรับใช้ เป็นแนวทางในการบริหารจัดการสหกรณ์ ในที่ดี มีกระบวนการจัดการภายในดีขึ้น เป็นระบบมากขึ้น โดยใช้ หลักการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลในสหกรณ์ เป็นแนวทางในการด าเนินงานได้เป็นอย่างดี โดยมีการ ควบคุมและตรวจสอบกันเองตามหลักธรรมาภิบาล การบริหารงานอย่างโปร่งใสสามารถตรวจสอบได้จาก สมาชิกและบุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้อง อ าเภอเมืองเพชรบูรณ์ ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 47 ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561


7 สหกรณ์ฯมีการน าหลักเกณฑ์ในการส่งเสริมมาตรฐานสหกรณ์ ทั้ง 7 ข้อ มาใช้เป็น แนวทางในการด าเนินงานของสหกรณ์ เพื่อให้มีการรักษามาตรฐานไว้ให้ได้อย่างต่อเนื่อง และผลักดันให้ สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ให้ได้ ในกรณีที่สหกรณ์ยังไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของ สหกรณ์ 8 ส่งเสริมให้สหกรณ์ในความแนะน าส่งเสริม ผ่านการยกระดับชั้นสู่ชั้นที่ดีขึ้น เช่น จาก ระดับชั้นที่ 2 เข้าสู่ระดับชั้นที่ 1 หรือ ระดับชั้นที่ 3 ไปสู่ชั้นที่ 2 และให้รักษาระดับชั้นที่ 1 ไว้ให้ได้ โดยให้ ผ่านเกณฑ์การประเมินทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการมีส่วนร่วม ด้านอัตราส่วนทางการเงิน ด้านการควบคุม ภายใน และด้านการแก้ไขข้อบกพร่อง ซึ่งในแต่ละด้านเกณฑ์การประเมินนั้น สหกรณ์สามารถน าไปเป็น เครื่องมือในการบริหารงานให้ประสบผลส าเร็จอย่างดีเยี่ยม 9 สหกรณ์มีการน างบทดลองในแต่ละเดือนมาวิเคราะห์เพื่อใช้เป็นคู่มือในการวิเคราะห์ฐานะ ของสหกรณ์เพื่อหาแนวทางการด าเนินงานและติดตามงานกับฝ่ายจัดการของคณะกรรมการด าเนินงานสหกรณ์ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. สมาชิกของสหกรณ์ออมทรัพย์บางคนมีหนี้หลายทาง อาจท าให้เกิดปัญหาในการช าระหนี้ คืนแก่สหกรณ์ เนื่องจากสหกรณ์มักจะได้รับการช าระหนี้เป็นอันดับสุดท้ายเมื่อเปรียบเทียบกับเจ้าหนี้รายอื่น ซึ่งจะส่งผลต่อสหกรณ์ในด้านผลการด าเนินงาน 2. สมาชิกสหกรณ์ภาคการเกษตร ประสบภัยจากธรรมชาติ เช่น ภัยแล้ง น้ าท่วม ปัญหา ศัตรูพืชตามธรรมชาติ และสภาวะเศรษฐกิจ ส่งผลให้ไม่สามารถส่งช าระหนี้ได้ตามระยะเวลาที่ก าหนด มีผล โดยตรงต่อการด าเนินงานของสหกรณ์ 3. สหกรณ์มีทุนภายในของตนเองยังไม่เพียงพอต่อการให้บริการแก่สมาชิก ยังคงต้องพึ่งพา แหล่งเงินทุนจากภายนอก เช่น กู้เงินจากธนาคาร รับเงินฝากจากสหกรณ์อื่น ท าให้สหกรณ์มีต้นทุนจ่ายจาก ดอกเบี้ยเงินฝากหรือดอกเบี้ยเงินกู้ให้แก่แหล่งเงินทุนภายนอก 4. คณะกรรมการด าเนินการบางคนของสหกรณ์ ขาดความเข้าใจในอุดมการณ์หลักการ และ วิธีการสหกรณ์อย่างถ่องแท้ ขาดความสามัคคีและความเสียสละต่อองค์กร ส่งผลให้การด าเนินงานของสหกรณ์ หยุดชะงักและไม่ประสบผลส าเร็จ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1.จัดหาแหล่งเงินทุนอัตราดอกเบี้ยต่ าเพื่อช่วยเหลือสหกรณ์ เช่น เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ รวมทั้งแจ้งแนวทางในการด าเนินโครงการต่าง ๆ เพื่อระดมทุนภายในของตนเองอย่างสม่ าเสมอ ได้แก่ การฝาก เงินกับสหกรณ์ โดยให้สมาชิกมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง เพื่อลดปัญหาต้นทุนการเงินจากแหล่งเงินทุนภายนอกของ สหกรณ์ 48


2.สหกรณ์ให้การช่วยเหลือสมาชิก โดยได้มีการปรับเปลี่ยนข้อบังคับ ระเบียบต่าง ๆ ให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่สมาชิกที่ประสบภัยพิบัติต่าง ๆ โดยไม่กระทบต่อ กฎหมายหรือค าแนะน าต่าง ๆ ของนายทะเบียนสหกรณ์ 3.เข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิกและคณะกรรมการด าเนินการ เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่อง หลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับสหกรณ์ และเสริมสร้างความเข้าใจในบทบาทหน้าที่และอ านาจกระท าการให้แก่ คณะกรรมการด าเนินการของสหกรณ์ 4.สหกรณ์ควรวางแผนการติดตามลูกหนี้ และใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อไม่ให้เกิดปัญหา ลูกหนี้ค้างช าระ สหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ 1. ชื่อสหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ การเกษตร 2. จ านวนสมาชิกสหกรณ์ ณ 31 มีนาคม 256๑ จ านวน 2,971 ราย 3. ผลผลิตการเกษตรหลักของสหกรณ์ ข้าว ข้าวโพด 4. ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ 4.1.ธุรกิจ รับฝากเงินจากสมาชิก 4.2.ธุรกิจ ให้เงินกู้แก่สมาชิก 4.3.ธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจ าหน่ายแก่สมาชิก 4.๔.ธุรกิจ รวบรวมผลิตผล 4.5.ธุรกิจ แปรรูป โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจ ให้เงินกู้แก่สมาชิก 5. ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ ในพื้นที่แดนด าเนินงานของสหกรณ์ เป็นพื้นที่มีการปลูก พืชหลากหลายชนิด เช่น ข้าว ข้าวโพด นอกจากนั้นสหกรณ์ได้รับความร่วมมือช่วยเหลือจากหลายๆ องค์กร ทั้งในหน่วยงานราชการ และสถาบันการเงินต่าง ๆ 6. บทบาทของสหกรณ์ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ ดังนี้ 6.1 สหกรณ์ฯได้เข้าร่วมโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบัน เกษตรกร ปี ๒๕๖0/๖1 โดยได้รับวงเงินกู้จาก ธกส. จ านวน 108 ล้านบาท ผลการรวบรวมข้าวเปลือกเพื่อ จ าหน่าย จ านวน 6,812 ตัน มูลค่า 94,018,565.50 บาท และผลการรวบรวมข้าวเปลือกเพื่อแปรรูป จ านวน 5,226.43 ตัน มูลค่า 52,514,659.11 ตัน รวมปริมาณข้าวเปลือกที่รวบรวมตามโครงการฯ จ านวน 12,038.43 ตัน มูลค่า 146,533,224.61 บาท 6.2 สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด ได้รับคัดเลือกตามโครงการพัฒนาสหกรณ์ การเกษตรให้เป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ และเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านการสหกรณ์ระดับอ าเภอ 49


6.3 สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด ได้เข้าร่วมโครงการไทยนิยมยั่งยืน เพื่อสนับสนุน การสร้างปัจจัยพื้นฐานรวบรวมและจัดเก็บข้าวคุณภาพ(งบกลาง) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยได้รับ การสนับสนุนงบประมาณในการก่อสร้าง ดังนี้ - เครื่องอบลดความชื้นข้าวเปลือก ขนาด ๕๐๐ ตัน พร้อมโรงคลุม จ านวน ๑ แห่ง - โกดังเก็บข้าวเปลือก ขนาดความจุ 5,0๐๐ ตัน จ านวน ๑ หลัง - ลานตาก ขนาด 4,000 ตารางเมตร จ านวน 1 แห่ง ๖.4 โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ สหกรณ์ฯได้รับสมัคร สมาชิกที่ปลูกข้าวเพื่อรวบรวมจัดตั้งเป็นแปลงใหญ่ข้าว จ านวน 1 แปลง สมาชิก 58 ราย พื้นที่ 1,376 ไร่ 6.5 โครงการธนาคารสินค้าเกษตร (ธนาคารข้าว) มีสมาชิกสหกรณ์สมัครเข้าร่วมโครงการฯ จ านวน 58 ราย สหกรณ์ฯได้ให้สมาชิกยืมเมล็ดพันธุ์ข้าว ปริมาณ 4.975 ตัน มูลค่า 35,600 บาท 6.6 โครงการตลาดเกษตรกร (Farmer Market) หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ในจังหวัดเพชรบูรณ์ ได้ร่วมกันจัดตั้งตลาดเกษตรกร จังหวัดเพชรบูรณ์ ณ บริเวณด้านหน้าส านักงาน สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด พร้อมกับมอบหมายให้สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด เป็นผู้จัดการ ตลาดฯ โดยเปิดจ าหน่ายสินค้าอาทิตย์ละ 2 วัน คือ ทุกวันพุธ กับวันพฤหัสบดี สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีผลการด าเนินงานเด่น โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวเปลือก ปีการผลิต 2560/2561 50


โครงการไทยนิยมยั่งยืนเพื่อสนับสนุนการสร้างปัจจัยพื้นฐานรวบรวมและจัดเก็บข้าวคุณภาพ (งบกลาง) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 (เครื่องอบลดความชื้นข้าว, โกดังเก็บข้าวเปลือก, ลานตาก) 51


โครงการยกระดับ ความเข้มแข็งพัฒนาสหกรณ์การเกษตร ให้เป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ 52


โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ (แปลงใหญ่ข้าว) ปี พ.ศ. 2561 (กลุ่มแปลงใหญ่ข้าวต าบลบ้านโตก) 53


โครงการตลาดเกษตรกร (Farmer Market) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2561 54


ประกอบด้วยสหกรณ์ 8 แห่ง สมาชิก 5,240 คน กลุ่มเกษตรกร 8 แห่ง สมาชิก 1,275 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร รายการ สหกรณ์(บาท) กลุ่มเกษตรกร (บาท) ทุนด าเนินงาน 200,604,747.60 4,003,191.49 หนี้สิน 108,079,119.05 1,190,701.05 ทุนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 92,738,974.87 2,812,490.44 ก าไร(ขาดทุน)สุทธิ 6,055,002.35 81,196.26 ปริมาณธุรกิจสินเชื่อ 22,717,826.00 2,407,650.00 ปริมาณธุรกิจจัดหาสินค้าจ าหน่าย 18,527,871.50 2,373,410.00 ปริมาณธุรกิจรวบรวมผลิตผลจ าหน่าย 37,271,901.51 - รับฝากเงิน 58,482,228.89 7,995.37 การแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในภาพรวมของอ าเภอ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ส่วนใหญ่ได้ถือปฏิบัติเป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบและมติที่ประชุม และเป็นไปตามระบบการเงิน การบัญชีที่ก าหนดไว้ มีผลการด าเนินงานดีพอใช้ซึ่งไม่ได้ด าเนินธุรกิจบริการแก่สมาชิกอย่างครบวงจร เช่น ไม่ด าเนินธุรกิจรวบรวมผลิตผลจากสมาชิกจ าหน่าย และมีสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกรขนาดเล็กที่ไม่มีเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติงาน จากการเข้าตรวจสอบแนะน าส่งเสริมบางครั้งพบการบันทึกบัญชีไม่เป็นปัจจุบันเก็บเงินสดในมือ เกินระเบียบ เนื่องจากคณะกรรมการขาดความรู้ความสามารถด้านบัญชี ไม่สามารถจัดท าบัญชีได้ด้วยตนเอง โดยได้รับการช่วยเหลือแนะน าแก้ไขจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์และผู้สอบบัญชี และพบว่าผู้ตรวจสอบ กิจการไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่และไม่มีการรายงานผลการตรวจสอบต่อที่ประชุมแต่อย่างใด ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. ขาดบุคาลากรที่มีความรู้ความเข้าใจด้านการเงินการบัญชีและการบริหารจัดการอย่างมืออาชีพ บางสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรไม่มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน คณะกรรมการด าเนินการไม่มีเวลาเพียงพอส าหรับปฏิบัติ ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เนืองจากมีภารกิจส่วนตัวมาก 2. สมาชิกมีหนี้ค้างช าระจ านวนมาก ส่งผลท าให้การหมุนเวียนเงินทุนส าหรับด าเนินธุรกิจต่างๆ ไม่เพียงพอและธุรกิจหยุดชะงักหรือชะลอตัว 3. สมาชิกขาดอุดมการณ์สหกรณ์หรือขาดจิตรส านึกความเป็นเจ้าของ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. จัดอบรมคณะกรรมการด าเนินการ เจ้าหน้าทีหรือผู้ปฏิบัติงานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อเพิ่มพูน ความรู้และทักษะการปฏิบัติงาน และการเข้าแนะน า สอนแนะจนสามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเอง 2. ให้การศึกษาอบรมสมาชิกให้เข้าใจหลักการ อุดมการณ์สหกรณ์จนเข้าใจอย่างลึกซึ้ง มองเห็น ประโยชน์และคุณค่าของสหกรณ์ อ าเภอหล่มสัก 55


สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลส าเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ. ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ปัจจัยแห่งความส าเร็จ (เพื่อเป็นกรณีศึกษาตัวอย่างที่ดีหรือแนวทางในการส่งเสริม) สหกรณ์ผลิตผักน้ าดุกใต้ จ ากัด 1. สหกรณ์มีระบบการรวบรวมผักปลอดภัยที่ได้มาตรฐาน โดยมีคณะกรรมการด าเนินการและ เจ้าหน้าที่ คนงาน ที่มีความรู้ความสามารถในการตัดแต่ง บรรจุหีบห่อ และมีมาตรฐานการตรวจสอบสารเคมี หรือความปลอดภัยในการบริโภค โดยเจ้าหน้าที่ของทางราชการและสามารถจัดส่งผักปลอดภัยได้ตามเป้าหมาย ที่วางไว้ ปีบัญชีสิ้นสุด 31 พฤษภาคม 2561 มียอดการจ าหน่ายทั้งสิ้น 287,817.97 กิโลกรัม เป็นเงิน 12,499,419 บาท 2. สามารถแก้ไขปัญหาให้กับสมาชิกกรณีมีปัญหาราคาพืชผักตกต่ าได้ โดยสหกรณ์จัดซื้อผัก จากสมาชิกตามค าสั่งซื้อจากบริษัทเซ็นทรันฯ ในราคาที่สูงกว่าตลาดท้องถิ่นประมาณร้อยละ 200 ของราคา ท้องถิ่น หรือไม่น้อยกว่า 2 เท่าของราคาท้องถิ่น ท าให้สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้นและฐานะทางเศรษฐกิจดีขึ้น 3. สหกรณ์ได้มีการจ้างแรงงานเพื่อคัดแยกผัก ตัดแต่งผัก ท าให้คนในชุมชนมีงานท าและ มีรายได้เสริมให้กับครอบครัว 4. สหกรณ์ได้มีการส่งเสริมให้สมาชิกผลิตพืชผักให้ได้รับมาตรฐาน GAP เพิ่มมากขึ้นหันมา ปลูกพืชผักอินทรีย์มากขึ้น ได้รับการรับรองการผลิตอาหารจากกระทรวงสาธารณะสุข และมีแผนการปรับปรุง ศูนย์รวบรวมผักให้ได้รับมาตรฐาน GMP 5. ผู้บริหารงานของสหกรณ์ มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ วิธีการและอุดมการณ์สหกรณ์ บริหารงานโดยยึดหลักความโปร่งใส ยึดผลประโยชน์ของสมาชิกและสหกรณ์เป็นหลัก 6. มีหน่วยงานภาครัฐและเอกชนให้การส่งเสริม สนับสนุน ท าให้ธุรกิจสหกรณ์สามารถ ขับเคลื่อนไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7. ชุมชนให้ความร่วมมือ สนับสนุนสหกรณ์และมองเห็นคุณค่าของสหกรณ์ เป็นช่องทาง การตลาดอีกทางหนึ่ง ภาพกิจกรรมการตักแต่งผักและบรรจุหีบห่อ - 56


ประกอบด้วย สหกรณ์ 5 แห่ง สมาชิก 6,871 คน กลุ่มเกษตรกร 8 แห่ง สมาชิก 750 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. สมาชิกของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจเพิ่มมากขึ้นในเรื่องเกี่ยวกับ หลักการ วิธีการ และ อุดมการณ์สหกรณ์รวมทั้งตระหนักถึงสิทธิ และแสดงบทบาทและหน้าที่ของสมาชิกได้ อย่างถูกต้อง สังเกตได้จากการเข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปี หรือการเข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิก ซึ่งใน ปัจจุบันสมาชิกมีความกล้าแสดงออก มีส่วนร่วมในการซักถาม การแสดงความคิดเห็น การลงมติต่างๆ เพิ่ม มากขึ้นจากเดิม 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ด าเนินงานเป็นไปตามแนวทางที่นายทะเบียนสหกรณ์และ นายทะเบียนกลุ่มเกษตรกร ก าหนด ทั้งทางด้านกฎหมาย ข้อบังคับและระเบียบต่าง ๆ โดยให้สอดคล้องและ เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับแนวทางฯ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหา ข้อบกพร่องต่างๆ ในระหว่างการด าเนินงาน ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 3. สหกรณ์ฯ จัดการประชุมคณะกรรมการด าเนินการเป็นประจ าทุกเดือน มีการแจ้งหนังสือ เชิญประชุมพร้อมทั้งระเบียบวาระให้ทางส านักงานสหกรณ์จังหวัดเป็นประจ าและการลงมติใดๆในแต่ละ ระเบียบวาระการประชุมไม่ขัดกับระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายสหกรณ์ รวมทั้งประกาศและค าแนะน าต่างๆ ของนายทะเบียนสหกรณ์ 4. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้น าข้อสังเกตและข้อแนะน าจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ส านักงานตรวจบัญชี ส านักงานสหกรณ์จังหวัด มาติดตามและแก้ไขข้อสังเกตดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง เป็นรูปธรรม และชัดเจน จนกว่าการแก้ไขข้อบกพร่องจะแล้วเสร็จ 5. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ด าเนินงานเพื่อให้ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานเกณฑ์ ตัวชี้วัดต่าง ๆ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ อาทิเช่น - สามารถผ่านมาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ - ผลการด าเนินงานที่ดีขึ้นจากเดิมโดยดูได้จากงบการเงินประจ าปี - ไม่มีข้อบกพร่องหรือข้อบกพร่องลดลง - การติดตามการใช้เงินกู้ให้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ - การบันทึกบัญชีที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน - การเพิ่มปริมาณธุรกิจ ให้เป็นไปตามตัวชี้วัด - การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของสมาชิก - การยกระดับชั้นของสหกรณ์ ให้ดีขึ้น เช่น จากชั้น 3 เข้าสู่ชั้น 2 - การปิดบัญชีและประชุมใหญ่ให้ได้ตามที่กฎหมายก าหนด อ าเภอหนองไผ่ 57


6. ส่งเสริมและเข้าร่วมการประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ เพื่อเผยแพร่อุดมการณ์ หลักการ และ วิธีการสหกรณ์ รวมทั้งประชาสัมพันธ์งานนโยบายของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รับฟังปัญหาอุปสรรคในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงานของสหกรณ์ รวมทั้งตอบข้อซักถามต่าง ๆ ของสมาชิก และบุคคลทั่วไปที่สนใจในงานสหกรณ์ 7. ส่งเสริมและช่วยเหลือสหกรณ์จัดตั้งใหม่ ให้ด าเนินงานได้อย่างถูกต้องตามระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายสหกรณ์ ให้ความรู้แก่คณะกรรมการด าเนินการและฝ่ายจัดการอย่างสม่ าเสมอ เข้าร่วม ประชุมประจ าเดือน เพื่อให้ค าแนะน า และข้อเสนอแนะในการด าเนินงาน ติดตามการด าเนินงานของสหกรณ์ อย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันมิให้เกิดข้อบกพร่องของสหกรณ์ได้ 8. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้น าแผนปฏิบัติงาน รวมทั้งแผนงบประมาณการรายรับรายจ่ายประจ าปี ที่ได้รับอนุมัติจากสมาชิกในที่ประชุมใหญ่ มาแตกย่อยเป็นแผนงานประจ าเดือน เพื่อใช้เป็น แนวทางในการติดตามงานจากคณะกรรมการด าเนินการและฝ่ายจัดการ รวมทั้งเพื่อให้มีการควบคุมค่าใช้จ่าย ต่าง ๆ ของสหกรณ์ ไม่ให้เกินกว่างบประมาณที่ก าหนดไว้ด้วย 9. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้รับการสนับสนุนเงินกองทุนต่าง ๆ เช่น กองทุนพัฒนา สหกรณ์ กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ซึ่งสหกรณ์มีการวางแผนการใช้เงิน และการส่ง ช าระเงินเป็นไปตามแผนงานและวัตถุประสงค์แห่งการกู้เงินโดยแท้จริง ซึ่งส่งผลต่อสมาชิกให้มีความกินดีอยู่ดี มากขึ้น ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.1 ปัญหาภายในองค์กร - ในกรณีสหกรณ์ขนาดเล็ก เมื่อได้รับการจัดตั้งแล้วยังไม่มีความพร้อมที่จะเข้าสู่ระบบสหกรณ์ เช่น ขาดองค์ความรู้ ขาดการรวมตัวของคณะกรรมการด าเนินการ ขาดเงินทุนหมุนเวียนที่จะน ามาให้บริการแก่ สมาชิก สมาชิกขาดการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ส่งผลให้การด าเนินงานขาดประสิทธิผลตั้งแต่แรกตั้ง - สมาชิกผู้เป็นเจ้าของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขาดจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและ หน้าที่ที่พึงกระท า - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีทุนภายในของตนเองยังไม่เพียงพอต่อการให้บริการแก่สมาชิก ยังคง ต้องพึ่งพาแหล่งเงินทุนจากภายนอก เช่น กู้เงินจากธนาคาร รับเงินฝากจากสหกรณ์อื่น ท าให้สหกรณ์มีต้นทุน จ่ายจากดอกเบี้ยเงินฝากหรือดอกเบี้ยเงินกู้ให้แก่แหล่งเงินทุนภายนอก - กรรมการด าเนินการผู้เป็นตัวแทนในการบริหารงานส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจในการบริหาร องค์กรและบริหารงานธุรกิจ - สหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรจะไม่มีความสามารถในการจ้างพนักงานเจ้าหน้าที่ - ฝ่ายตรวจสอบหรือผู้ตรวจสอบกิจการที่ยังไม่มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบเพียงพอ 1.2 ปัญหาภายนอกองค์กร - ความชัดเจนในนโยบายสนับสนุนต่างๆ ตลอดถึงในแต่ละยุคสมัยไม่ต่อเนื่องสอดคล้องกัน - การแข่งขันด้านการค้าในระบบธุรกิจและสภาวะเศรษฐกิจของโลก 58


ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - กรณีเป็นสหกรณ์จัดตั้งใหม่ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์และผู้เกี่ยวข้องจะต้องเข้าไป ช่วยเหลือการด าเนินงานของสหกรณ์ในทุก ๆ ด้านอย่างใกล้ชิด เพื่อให้สหกรณ์สามารถยืนได้ด้วยขาของตนเอง ในโอกาสต่อไปได้เช่น การให้ความรู้ ความเข้าใจในอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ การวางระบบ โครงสร้างภายในของสหกรณ์ ด้านการด าเนินธุรกิจ ด้านการบริหารจัดการภายใน และที่ส าคัญคือต้องก ากับ ไม่ให้สหกรณ์มีข้อบกพร่องหรือข้อสังเกตต่าง ๆ ตั้งแต่เริ่มต้น - ส่งเสริมให้สมาชิกฯ มีจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ในสหกรณ์ โดยใช้เวที จากการประชุมกลุ่มสมาชิกและเวทีการประชุมใหญ่สามัญประจ าปี - จัดหาแหล่งเงินทุนอัตราดอกเบี้ยต่ าเพื่อช่วยเหลือสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เช่น เงินกู้กองทุนพัฒนา สหกรณ์เงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร รวมทั้งแจ้งแนวทางในการด าเนินโครงการต่าง ๆ เพื่อระดมทุน ภายในของตนเองอย่างสม่ าเสมอ ได้แก่ การระดมหุ้น การฝากเงินกับสหกรณ์ โดยให้สมาชิกมีส่วนร่วมอย่าง แท้จริง เพื่อลดปัญหาต้นทุนการเงินจากแหล่งเงินทุนภายนอกของสหกรณ์ - ส่งเสริมให้ความรู้แก่คณะกรรมการ เกี่ยวกับการบริหารจัดการภายในองค์กร และการจัดการด้าน ธุรกิจของสหกรณ์ ทั้งนี้จะต้องจัดการอยู่ภายใต้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง - ส่งเสริมให้มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่หรือฝ่ายจัดการร่วมกัน ระหว่างสหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่ม เกษตรกรที่ไม่มีทุนในการจัดจ้างเพียงพอ - ส่งเสริมให้ความรู้ด้านกฎหมาย การบริหาร การบัญชี และวิธีการตรวจสอบให้แก่ผู้ตรวจสอบกิจการ ให้มีความรู้ความสามารถมากขึ้น และเมื่อมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้ตรวจสอบกิจการ เช่น ส านักงาน ตรวจสอบบัญชี หรือ ส านักงานสหกรณ์จังหวัด ก็ด าเนินการเข้าอบรมตามหลักสูตรที่ก าหนด - สร้างแนวทางการด าเนินงานเพื่อรับมือกับสภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา - ส่งเสริมการจัดท าอาชีพเสริม จัดท าโครงการต่าง ๆ เพื่อให้สมาชิกมีอาชีพเสริมที่สามารถหารายได้ เพิ่มมากขึ้น โดยมีสหกรณ์เป็นผู้บริหารจัดการให้แก่สมาชิก เพื่อหลีกหนีปัญหาพืชราคาตกต่ า ขายไม่ได้ เนื่องจากเกษตรกรผลิตมากจนเกินไปท าให้ล้นตลาด 59


สหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ 1. ชื่อสหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ การเกษตร 2. จ านวนสมาชิกสหกรณ์ ณ 31 มีนาคม 2561 จ านวน 2,121 ราย 3. ผลผลิตการเกษตรหลักของสหกรณ์ ข้าว ถั่วเขียว ข้าวโพด 4. ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ 4.1.ธุรกิจ รับฝากเงินจากสมาชิก 4.2.ธุรกิจ ให้เงินกู้แก่สมาชิก 4.3.ธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจ าหน่ายแก่สมาชิก 4.๔.ธุรกิจรวบรวมผลิตผล 4.5 ธุรกิจแปรรูปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสินค้า โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจ ให้เงินกู้แก่สมาชิก 5. ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ ในพื้นที่แดนด าเนินงานของสหกรณ์ เป็นพื้นที่มีการปลูก พืชหลากหลายชนิด เช่น ข้าว ถั่วเขียว ข้าวโพด นอกจากนั้นสหกรณ์ได้รับความร่วมมือช่วยเหลือจาก หลายๆองค์กร ทั้งในหน่วยงานราชการ และสถาบันการเงินต่าง ๆ รวมทั้งได้เข้าร่วมนโยบายส าคัญต่าง ๆ จากทางราชการด้วย เช่น โครงการไทยนิยมยั่งยืนของกรมส่งเสริมสหกรณ์ โครงการพัฒนาสถาบันเกษตรกร จัดเก็บพืชผลทางการเกษตร (โครงการแก้มลิง) เพื่อก่อสร้าง ฉางขนาด 2.000 ตัน ลานตาก ขนาด 6,500 ตารางเมตร และเครื่องชั่งระบบดิจิตอล พร้อมห้องควบคุม ขนาด 80 ตัน 6. บทบาทของสหกรณ์ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ ดังนี้ 6.1 การเข้าร่วมโครงการรวบรวมและชลอข้าวเปลือก 6.2 เข้าร่วมโครงการร้านจ าหน่ายสินค้า ธงฟ้า ประชารัฐ ลดค่าครองชีพประชาชน 6.3 สหกรณ์ได้ให้การสนับสนุนโครงการ ศพก.ในพื้นที่ทั้งในเรื่องสถานที่ ปัจจัยการ ผลิต และองค์ความรู้เรื่องกระบวนการกลุ่มเชิงสหกรณ์ ทุกๆโครงการ 6.4 โครงการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ 6.5 ศูนย์เรียนรู้ด้านการสหกรณ์ 6.6 โครงการยกระดับสหกรณ์ให้เข้มแข็ง 6.7 โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ าในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร 6.8 ระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ 6.9 โครงการพัฒนาสถาบันเกษตรกร จัดเก็บพืชผลทางการเกษตร (โครงการแก้มลิง) 60


เข้าร่วมประชุมประจ าเดือนคณะกรรมการด าเนินการ สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด โครงการตลาดนัดข้าวเปลือก 61


โครงการแก้มลิง รัฐบาลสนับสนุนเงินอุดหนุน ก่อสร้าง ฉาง ลานตาก และเครื่องชั่งพร้อมห้องควบคุม รวบรวมผลผลิตทางการเกษตรจากสมาชิก 62


ประกอบด้วย สหกรณ์ 5 แห่ง สมาชิก 1,760 คน กลุ่มเกษตรกร 5 แห่ง สมาชิก 256 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) 1. ด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1.1 แนะน า ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถปิดบัญชีได้ ภายใน 30 วัน 1.2 แนะน า ส่งเสริม สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี ได้ภายใน 150 วัน 1.3 การให้ความเห็นชอบการก าหนดวงเงินกู้ยืมหรือการค้ าประกัน ประจ าปีของสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร 1.4 การตรวจการสหกรณ์ 1.5 ติดตามการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.6 ติดตามแก้ไขตามข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี 1.7 ส่งเสริมแนะน า สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดท าระเบียบ เพื่อให้นายทะเบียนสหกรณ์ให้ ความเห็นชอบ/รับทราบระเบียบของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.8 การรับจดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. ส่งเสริมและพัฒนางานสหกรณ์ทุกประเภท และกลุ่มเกษตรกร 2.1 เข้าร่วมประชุมประจ าเดือนกับคณะกรรมการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2.2 เข้าร่วมประขุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์และร่วมเวที (หรือเวทีชาวบ้าน) รับฟังความคิดเห็น จากสมาชิก ประชาชนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เกี่ยวกับการด าเนินงาน การประกอบอาชีพ ปัญหาอุปสรรค หรือ เรื่องอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์กับสมาชิก 2.3 เสวนาแบบมีส่วนร่วมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2.4 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีผลการด าเนินงานตามงบการเงินที่ผ่านการรับรองจากผู้สอบ บัญชีแล้ว ไม่ขาดทุน เช่นเดียวกับปีบัญชีที่ผ่านมา 2.5 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีผลการด าเนินงานตามงบการเงินที่ผ่านการรับรองจากผู้สอบ บัญชีแล้ว ขาดทุนลดลง เช่นเดียวกับปีบัญชีที่ผ่านมา 2.6 ส่งเสริมให้สมาชิก/ผู้แทนสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเข้าร่วม ประชุมใหญ่เพิ่มขึ้น 2.7 ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ผ่านมาตรฐานปี ๖1 รักษามาตรฐาน 2.8 ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ไม่ผ่านมาตรฐานปี ๖1 ให้ผ่านมาตรฐาน 2.9 แนะน าส่งเสริมเกี่ยวกับการบริหารเงินทุน 2.10 ส่งเสริม แนะน า และติดตามการใช้อุปกรณ์การตลาด 2.11 การเข้าส่งเสริม แนะน า สนับสนุน และติดตามให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่หยุดด าเนิน ธุรกิจ หรือไม่พบที่อยู่ สามารถด าเนินธุรกิจได้ หรือจ าเป็นต้องเข้าสู่กระบวนการช าระบัญชี อ าเภอชนแดน 63


3. ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ให้แก่บุคลากร สหกรณ์กลุ่มเกษตรกรและประชาชนทั่วไป 4. ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรและสหกรณ์ 4.1 ส่งเสริมการเพิ่มปริมาณธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 4.2 แนะน า ส่งเสริมให้สมาชิกของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจกับ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 4.3 แนะน า ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่จัดตั้งใหม่ให้ด าเนินงานได้ 5. ปฏิบัติตามคู่มือการปฏิบัติงานระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (Cooperatives Promotion System : CPS) 5.1 วิเคราะห์สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ด าเนินการโดยใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรอย่างน้อย 2 เครื่องมือ ตามหลักวิชาการ 5.2 ค้นหาสาเหตุที่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรหยุดด าเนินการ 5.3 จัดท าแบบสรุปประเด็นการส่งเสริม ตามผลการวิเคราะห์ มีกิจกรรม/แผนงาน/โครงการ ครบถ้วน 5.4 น าเสนอผลการวิเคราะห์ต่อที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปัญหาภายในองค์กร 1. เกี่ยวกับสมาชิกผู้เป็นเจ้าของสหกรณ์ยังไม่รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองเท่าที่ควร ในการเป็น เจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ที่พึงกระท า 2. กรรมการผู้เป็นผู้แทนในการบริหารงานส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจ ในการบริหาร องค์กรและบริหารงานธุรกิจ 3. สหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรจะไม่มีความสามารถในการจ้างพนักงานเจ้าหน้าที่ 4. ฝ่ายตรวจสอบหรือผู้ตรวจสอบกิจการที่ยังไม่มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบเพียงพอ 5. ทุน (ที่ดิน เงินทุน แรงงาน ฯลฯ) ไม่เพียงพอ ปัญหาภายนอกองค์กร 1. ความชัดเจนในนโยบายสนับสนุนต่างๆ ตลอดถึงในแต่ละยุคสมัยไม่ต่อเนื่องสอดคล้องกัน 2. การแข่งขันด้านการค้าในระบบธุรกิจ 3. สภาวะเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในปัจจุบันไม่สามารถควบคุมได้ 64


ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. ส่งเสริมให้สมาชิกฯ ปลูกจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ในสหกรณ์ 2. ส่งเสริมให้ความรู้แก่คณะกรรมการเกี่ยวกับเทคนิคในการบริหารงานองค์กรและบริหารงานธุรกิจ 3. ส่งเสริมให้มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ร่วมกันระหว่างสหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีทุนใน การจัดจ้างเพียงพอ 4. ส่งเสริมให้ความรู้ด้านกฎหมาย การบริหาร การบัญชี และเทคนิคการตรวจสอบให้แก่ผู้ตรวจสอบ กิจการให้มีความรู้ความสามารถมากขึ้น 5. ส่งเสริมการระดมทุนจากสมาชิก หรือจัดหาทุนจากแหล่งต้นทุนต่ าและคุ้มทุน 6. การสร้างความมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจกับสหกรณ์ให้เพิ่มมากขึ้น 7. แนะน าให้สหกรณ์ปลูกพืช ให้เหมาะสมกับพื้นที่เพราะปลูก (Zoning) สหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ 1. ชื่อสหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ การเกษตร 2. จ านวนสมาชิกสหกรณ์ ณ 31 มีนาคม 2561 จ านวน 839 ราย 3. ผลผลิตการเกษตรหลักของสหกรณ์ข้าว , ข้าวโพด 4. ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ 4.1.ธุรกิจ รับฝากเงินจากสมาชิก 4.2.ธุรกิจ ให้เงินกู้แก่สมาชิก 4.3.ธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจ าหน่ายแก่สมาชิก 4.๔.ธุรกิจรวบรวมผลิตผล 4.5 ธุรกิจแปรรูปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสินค้า โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจสินเชื่อให้เงินกู้แก่สมาชิก รองลงมาจะเป็นธุรกิจรวบรวมผลผลิต ทางการเกษตร ธุรกิจแปรรูป ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่ายและธุรกิจเงินรับฝาก ตามล าดับ 5. ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ ในพื้นที่แดนด าเนินงานของสหกรณ์ เป็นพื้นที่มีการปลูก พืชหลากหลายชนิด เช่น ข้าว ข้าวโพด ถั่วเขียว มันส าปะหลัง นอกจากนั้นสหกรณ์ได้รับความร่วมมือช่วยเหลือ จากหลายๆองค์กร ทั้งในหน่วยงานราชการ ภาคเอกชนและสถาบันการเงินต่าง ๆ 5.1 สหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด ได้เข้าร่วมโครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปีปีการ ผลิต 2560/61 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้าวเปลือกจากสมาชิกสหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด ซึ่ง สหกรณ์สามารถรวบรวมผลผลิตจากสมาชิกสหกรณ์ได้จ านวน 2,715 ตัน คิดเป็นเงินทั้งสิ้น 16,827,841.45 บาท โดยสหกรณ์มีก าไรในธุรกิจนี้จ านวน 1,212,296.24 บาท ถือว่าเป็นธุรกิจที่สมาชิก ได้รับประโยชน์เป็นอย่างดี 5.2 สหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด ได้ด าเนินธุรกิจแปรรูปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสินค้า โดยทางสหกรณ์มี โรงสี1โรง การด าเนินธุรกิจแปรรูปข้าวสารเพื่อมาจ าหน่ายให้กับสมาชิก,จ าหน่ายให้กับคู่ค้า และตลาดทั่วไป โดยมีการจ าหน่าย จากการแปรรูปผลผลิต คิดเป็นรายได้จ านวน 3,750,721.- บาท 65


5.3 สหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด ได้ด าเนินโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โดยได้เก็บ ค่าเช่าที่ดิน เนื้อที่ประมาณ 31 ไร่ 3 งาน 47 ตารางวา ให้บริษัทบีกริม โซลาร์เพาเวอร์ (ชนแดน) จ ากัด คิด เป็นปีละ 352,137.50 บาท โดยได้รับค่าเช่าล่วงหน้า จ านวน 28 ปีรวมเป็นเงินทั้งสิ้น 9,560,250 บาท ซึ่งทางโครงการจะสามารถด าเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จ และขายไฟฟ้าให้การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ในเดือน ธันวาคม 2561 5.4 สหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด ได้รับงบประมาณ สนับสนุน โครงการสนับสนุนการสร้าง ปัจจัยพื้นฐานรวบรวมและจัดเก็บข้าวเปลือกคุณภาพเพื่อก่อสร้าง ฉางขนาดความจุ 500 ตัน จ านวนเงิน 1,584,200.- บาท และเครื่องชั่งระบบอิเลคทรอนิคส์ขนาด 50 ตัน พร้อมโรงคุม จ านวนเงิน 594,800.- บาท เป็นเงินทั้งสิ้น 2,179,000.- บาท ซึ่งการด าเนินการก่อสร้างเสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้วตามก าหนด สหกรณ์ ได้ใช้อุปกรณ์การตลาดดังกล่าว ในการรวบรวมผลผลิตจากสมาชิกสหกรณ์ได้เต็มศักยภาพ และทันต่อฤดูการ ผลิตทางการเกษตร รองรับและให้บริการในการด าเนินธุรกิจแก่สมาชิกได้เป็นอย่างดี 5.5 สหกรณ์ด าเนินกิจกรรมเพื่อเอื้ออาทรต่อชุมชน โดยด าเนินกิจกรรมสาธารณประโยชน์ต่าง ๆ ร่วมกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ชุมชน โรงเรียน ฯ 6. บทบาทของสหกรณ์ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ ดังนี้ 6.1 การเข้าร่วมโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าว ปี 60/61 6.2 โครงการสนับสนุนการสร้างปัจจัยพื้นฐานรวบรวมและจัดเก็บข้าวเปลือกคุณภาพ งบกลาง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 6.3 โครงการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ 6.4 ศูนย์เรียนรู้ด้านการสหกรณ์ 6.5 โครงการยกระดับสหกรณ์ให้เข้มแข็ง 6.6 โครงการระบบส่งเสริมเกษตรกรแบบแปลงใหญ่ 6.7 โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2560/61 66


ประชุมคณะกรรมการสหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัด ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี สิ้นสุดปีบัญชี31 มีนาคม 2561 ในวันที่ 23 สิงหาคม 2561 การเข้าร่วมโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าว ปี 60/61 67


โครงการสนับสนุนการสร้างปัจจัยพื้นฐานรวบรวมและจัดเก็บข้าวเปลือกคุณภาพ งบกลาง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ฉางขนาด 500 ตัน 68


ลานตาก 1,600 ตรม. เครื่องชั่งระบบอิเลคทรอนิคส์ขนาด 50 ตัน พร้อมโรงคุม 69


โครงการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ โครงการยกระดับสหกรณ์ให้เข้มแข็ง 70


โครงการระบบส่งเสริมเกษตรกรแบบแปลงใหญ่ โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2560/61 71


ด าเนินธุรกิจและกิจกรรมอื่นๆ แปรรูปข้าวสารจ าหน่าย รวบรวมข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 72


ร่วมกับส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์เลี้ยงอาหารกลางวันเด็กนักเรียน โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดน บ้านโป่งตะแบก (กิจกรรมสาธารณประโยชน์) 73


ประกอบด้วย สหกรณ์ 4 แห่ง สมาชิก ๒,๒๑๑ คน กลุ่มเกษตรกร ๗ แห่ง สมาชิก ๕๕๖ คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) 1. ด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ ประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ และกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง 1.1 แนะน า ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถปิดบัญชีได้ ภายใน 30 วัน 1.2 แนะน า ส่งเสริม สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี ได้ภายใน 150 วัน 1.3 การให้ความเห็นชอบการก าหนดวงเงินกู้ยืมหรือการค้ าประกัน ประจ าปีของ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.4 การตรวจการสหกรณ์ 1.5 ติดตามการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.6 ติดตามแก้ไขตามข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี 1.7 ส่งเสริมแนะน า สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดท าระเบียบ เพื่อให้นายทะเบียนสหกรณ์ ให้ความเห็นชอบ/รับทราบระเบียบของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.8 การรับจดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. ส่งเสริมและพัฒนางานสหกรณ์ทุกประเภท และกลุ่มเกษตรกร 2.1 เข้าร่วมประชุมประจ าเดือนกับคณะกรรมการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2.2 เข้าร่วมประขุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์และร่วมเวที(หรือเวทีชาวบ้าน) รับฟังความ คิดเห็นจากสมาชิก ประชาชนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เกี่ยวกับการด าเนินงาน การประกอบอาชีพ ปัญหา อุปสรรค หรือเรื่องอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์กับสมาชิก 2.3 เสวนาแบบมีส่วนร่วมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2.4 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีผลการด าเนินงานตามงบการเงินที่ผ่านการรับรองจาก ผู้สอบบัญชีแล้ว ไม่ขาดทุน เช่นเดียวกับปีบัญชีที่ผ่านมา 2.5 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีผลการด าเนินงานตามงบการเงินที่ผ่านการรับรองจาก ผู้สอบบัญชีแล้ว ขาดทุนลดลง เช่นเดียวกับปีบัญชีที่ผ่านมา 2.6 ส่งเสริมให้สมาชิก/ผู้แทนสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเข้าร่วม ประชุมใหญ่เพิ่มขึ้น 2.7 ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ผ่านมาตรฐานปี ๖๑ รักษามาตรฐาน 2.8 ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ไม่ผ่านมาตรฐานปี ๖๑ ให้ผ่านมาตรฐาน 2.9 แนะน าส่งเสริมเกี่ยวกับการบริหารเงินทุน 2.10 ส่งเสริม แนะน า และติดตามการใช้อุปกรณ์การตลาด 2.11 การเข้าส่งเสริม แนะน า สนับสนุน และติดตามให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่หยุด ด าเนินธุรกิจ หรือไม่พบที่อยู่ สามารถด าเนินธุรกิจได้ หรือจ าเป็นต้องเข้าสู่กระบวนการช าระบัญชี อ าเภอศรีเทพ 74


3. ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ให้แก่ บุคลากรสหกรณ์กลุ่มเกษตรกรและประชาชนทั่วไป 4. ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรและสหกรณ์ 4.1 ส่งเสริมการเพิ่มปริมาณธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 4.2 แนะน า ส่งเสริมให้สมาชิกของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจ กับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 4.3 แนะน า ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่จัดตั้งใหม่ให้ด าเนินงานได้ 5. ปฏิบัติตามคู่มือการปฏิบัติงานระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (Cooperatives PromotionSystem : CPS) 5.1 วิเคราะห์สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ด าเนินการโดยใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอย่างน้อย 2 เครื่องมือ ตามหลักวิชาการ 5.2 ค้นหาสาเหตุที่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรหยุดด าเนินการ 5.3 จัดท าแบบสรุปประเด็นการส่งเสริม ตามผลการวิเคราะห์ มีกิจกรรม/แผนงาน/ โครงการครบถ้วน 5.4 น าเสนอผลการวิเคราะห์ต่อที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.1 ปัญหาภายในองค์กร - เกี่ยวกับสมาชิกผู้เป็นเจ้าของสหกรณ์ขาดจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ ที่พึงกระท า - กรรมการผู้เป็นผู้แทนในการบริหารงานส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจในการบริหารองค์กรและ บริหารงานธุรกิจ - สหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรจะไม่มีความสามารถในการจ้างพนักงานเจ้าหน้าที่ - ฝ่ายตรวจสอบหรือผู้ตรวจสอบกิจการที่ยังไม่มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบเพียงพอ - ทุน (ที่ดิน เงินทุน แรงงาน ฯลฯ) ไม่เพียงพอ 1.2 ปัญหาภายนอกองค์กร - ความชัดเจนในนโยบายสนับสนุนต่างๆ ตลอดถึงในแต่ละยุคสมัยไม่ต่อเนื่องสอดคล้องกัน - การแข่งขันด้านการค้าในระบบธุรกิจ 75


ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - ส่งเสริมให้สมาชิกฯ มีจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ในสหกรณ์ - ส่งเสริมให้ความรู้แก่คณะกรรมการเกี่ยวกับเทคนิคในการบริหารงานองค์กรและบริหารงานธุรกิจ - ส่งเสริมให้มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ร่วมกันระหว่างสหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีทุนใน การจัดจ้างเพียงพอ - ส่งเสริมให้ความรู้ด้านกฎหมาย การบริหาร การบัญชี และเทคนิคการตรวจสอบให้แก่ผู้ตรวจ สอบกิจการให้มีความรู้ความสามารถมากขึ้น - ส่งเสริมการระดมทุนจากสมาชิก หรือจัดหาทุนจากแหล่งต้นทุนต่ าและคุ้มทุน สหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ 1. ชื่อสหกรณ์การเกษตรศรีเทพ จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ การเกษตร 2. จ านวนสมาชิกสหกรณ์ ณ 31 มีนาคม 256๑ จ านวน ๑,๓๘๓ ราย 3. ผลผลิตการเกษตรหลักของสหกรณ์ ข้าว ข้าวโพด อ้อย 4. ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ 4.1.ธุรกิจ รับฝากเงินจากสมาชิก 4.2.ธุรกิจ ให้เงินกู้แก่สมาชิก 4.3.ธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจ าหน่ายแก่สมาชิก 4.๔.ธุรกิจรวบรวมผลิตผล โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจ ให้เงินกู้แก่สมาชิก 5. ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ ในพื้นที่แดนด าเนินงานของสหกรณ์ เป็นพื้นที่มีการ ปลูกพืชหลากหลายชนิด เช่น ข้าว ข้าวโพด อ้อย นอกจากนั้นสหกรณ์ได้รับความร่วมมือช่วยเหลือจาก หลายๆองค์กร ทั้งในหน่วยงานราชการ และสถาบันการเงินต่าง ๆ 6. บทบาทของสหกรณ์ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ ดังนี้ 6.1 สหกรณ์การเกษตรศรีเทพ จ ากัด ได้เข้าร่วมโครงการสินเชื่อชลอการขายข้าวเปลือก นาปี ปีการผลิต ๒๕๖๐/๖๑ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้าวเปลือกจากสมาชิกเป็นหลัก รวมทั้ง เกษตรกรทั่วไป ซึ่งโครงการฯดังกล่าว ในปีที่ผ่านมา สหกรณ์ฯสามารถรวบรวมข้าวเปลือกจากสมาชิกและ เกษตรกรทั่วไป ได้จ านวน ๑,๕๔๔ ราย ปริมาณผลผลิตที่รวบรวม ๑,๖๒๘ ตัน คิดเป็นเงินทั้งสิ้น จ านวน ๑๕,๙๖๒,๒๘๖.๗๕ บาท 6.๒ สหกรณ์ได้เข้าร่วมโครงการรวบรวมข้าวเปลือก ๒๕๖๑/๖๒ โดยได้รับวงเงินกู้จาก ธกส. จ านวน ๓๐ ล้านบาท ผลการรวบรวม ณ วันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๑ สหกรณ์ฯได้เบิกเงินกู้โครงการ ดังกล่าว จาก ธกส. มาแล้ว จ านวน ๑๘ ล้านบาท สามารถรวบรวมผลผลิตข้าวเปลือกหอมมะลิได้ทั้งสิ้น จ านวน ๙๖๔.๖๘ ตัน คิดเป็นเงินทั้งสิ้น ๑๒,๖๔๘,๔๓๗.๓๐ บาท 6.๓ สหกรณ์การเกษตรศรีเทพ จ ากัด ได้รับคัดเลือกตามโครงการพัฒนาสหกรณ์ การเกษตรให้เป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ และเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านการสหกรณ์ระดับอ าเภอ 76


6.๔ สหกรณ์การเกษตรศรีเทพ จ ากัด ได้เข้าร่วมโครงการสนับสนุนการสร้าง ปัจจัยพื้นฐานรวบรวมและจัดเก็บข้าวคุณภาพ(งบกลาง) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ โดย ได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการก่อสร้าง ดังนี้ - ฉาง ขนาดความจุ ๕๐๐ เกวียน จ านวน ๑ ฉาง - ลานตาก ขนาด ๑,๖๐๐ ตรม. จ านวน ๑ แห่ง - เครื่องชั่งระบบอิเลคทรอนิค ขนาด ๕๐ ตัน พร้อมโรงคลุม จ านวน ๑ เครื่อง ๖.๕ โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ (แปลงใหญ่ข้าว) ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ 6.๖ โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ าในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐/๖๑ กิจกรรมประชุมคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์และการประชุมใหญ่สามัญประจ าปี สิ้นสุด 31 มีนาคม 2561 77


ประชุมคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์การเกษตรศรีเทพ จ ากัด และประชุมใหญ่สามัญประจ าปีสิ้นสุด 31 มีนาคม 2561 ของสหกรณ์การเกษตรศรีเทพ จ ากัด โครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวเปลือก ปีการผลิต 2561/2562 78


โครงการสนับสนุนการสร้างปัจจัยพื้นฐานรวบรวมและจัดเก็บข้าวคุณภาพ (งบกลาง) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ( ฉาง, เครื่องชั่ง, ลานตาก ) 79


โครงการยกระดับ ความเข้มแข็งพัฒนาสหกรณ์การเกษตร ให้เป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ 80


โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ (แปลงใหญ่ข้าว) ปี พ.ศ. 2561 (กลุ่มแปลงใหญ่ข้าว กลุ่มเกษตรกรท านานาสนุ่น) 81 73


โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ าในไร่นา ของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560/2561 82


โครงการบ าบัดทุกข์บ ารุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน 83


ประกอบด้วย สหกรณ์ 2 แห่ง สมาชิก 1,492 คน กลุ่มเกษตรกร 2 แห่ง สมาชิก 127 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) 1. ด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ และกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง 1.1 แนะน า ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถปิดบัญชีได้ ภายใน 30 วัน 1.2 แนะน า ส่งเสริม สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี ได้ภายใน 150 วัน 1.3 การให้ความเห็นชอบการก าหนดวงเงินกู้ยืมหรือการค้ าประกัน ประจ าปีของ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.4 การตรวจการสหกรณ์ 1.5 ติดตามการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.6 ติดตามแก้ไขตามข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี 1.7 ส่งเสริมแนะน า สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดท าระเบียบ เพื่อให้นายทะเบียนสหกรณ์ ให้ความเห็นชอบ/รับทราบระเบียบของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.8 การรับจดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. ส่งเสริมและพัฒนางานสหกรณ์ทุกประเภท และกลุ่มเกษตรกร 2.1 เข้าร่วมประชุมประจ าเดือนกับคณะกรรมการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2.2 เข้าร่วมประขุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์และร่วมเวที(หรือเวทีชาวบ้าน) รับฟังความ คิดเห็นจากสมาชิก ประชาชนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เกี่ยวกับการด าเนินงาน การประกอบอาชีพ ปัญหา อุปสรรค หรือเรื่องอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์กับสมาชิก 2.3 เสวนาแบบมีส่วนร่วมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2.4 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีผลการด าเนินงานตามงบการเงินที่ผ่านการรับรองจาก ผู้สอบบัญชีแล้ว ไม่ขาดทุน 2.5 ส่งเสริมให้สมาชิก/ผู้แทนสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเข้าร่วม ประชุมใหญ่เพิ่มขึ้น 2.6 ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ผ่านมาตรฐานปี ๖1 รักษามาตรฐาน 2.7 ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ไม่ผ่านมาตรฐานปี ๖1 ให้ผ่านมาตรฐาน 2.8 แนะน าส่งเสริมเกี่ยวกับการบริหารเงินทุน 2.9 ส่งเสริม แนะน า และติดตามการใช้อุปกรณ์การตลาด 2.10 การเข้าส่งเสริม แนะน า สนับสนุน และติดตามให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่หยุด ด าเนินธุรกิจ หรือไม่พบที่อยู่ สามารถด าเนินธุรกิจได้ หรือจ าเป็นต้องเข้าสู่กระบวนการช าระบัญชี 3. ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ให้แก่บุคลากร สหกรณ์กลุ่มเกษตรกรและประชาชนทั่วไป อ าเภอวังโป่ง 84


4. ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรและสหกรณ์ 4.1 ส่งเสริมการเพิ่มปริมาณธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 4.2 แนะน า ส่งเสริมให้สมาชิกของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจ กับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 4.3 แนะน า ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่จัดตั้งใหม่ให้ด าเนินงานได้ 5. ปฏิบัติตามคู่มือการปฏิบัติงานระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (Cooperatives Promotion System : CPS) 5.1 วิเคราะห์สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ด าเนินการโดยใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอย่างน้อย 2 เครื่องมือ ตามหลักวิชาการ 5.2 ค้นหาสาเหตุที่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรหยุดด าเนินการ 5.3 จัดท าแบบสรุปประเด็นการส่งเสริม ตามผลการวิเคราะห์ มีกิจกรรม/แผนงาน/โครงการ ครบถ้วน 5.4 น าเสนอผลการวิเคราะห์ต่อที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.1 ปัญหาภายในองค์กร - เกี่ยวกับสมาชิกผู้เป็นเจ้าของสหกรณ์ยังไม่รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองเท่าที่ควร ในการเป็น เจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ที่พึงกระท า - กรรมการผู้เป็นผู้แทนในการบริหารงานส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจ ในการบริหารองค์กร และบริหารงานธุรกิจ - สหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรจะไม่มีความสามารถในการจ้างพนักงานเจ้าหน้าที่ - ฝ่ายตรวจสอบหรือผู้ตรวจสอบกิจการที่ยังไม่มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบเพียงพอ - ทุน (ที่ดิน เงินทุน แรงงาน ฯลฯ) ไม่เพียงพอ 1.2 ปัญหาภายนอกองค์กร - ความชัดเจนในนโยบายสนับสนุนต่างๆ ตลอดถึงในแต่ละยุคสมัยไม่ต่อเนื่องสอดคล้องกัน - การแข่งขันด้านการค้าในระบบธุรกิจ - สภาวะเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในปัจจุบันไม่สามารถควบคุมได้ 85


ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - ส่งเสริมให้สมาชิกฯ ปลูกจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ในสหกรณ์ - ส่งเสริมให้ความรู้แก่คณะกรรมการเกี่ยวกับเทคนิคในการบริหารงานองค์กรและบริหารงานธุรกิจ - ส่งเสริมให้มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ร่วมกันระหว่างสหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีทุนใน การจัดจ้างเพียงพอ - ส่งเสริมให้ความรู้ด้านกฎหมาย การบริหาร การบัญชี และเทคนิคการตรวจสอบให้แก่ผู้ตรวจ สอบกิจการให้มีความรู้ความสามารถมากขึ้น - ส่งเสริมการระดมทุนจากสมาชิก หรือจัดหาทุนจากแหล่งต้นทุนต่ าและคุ้มทุน - การสร้างความมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจกับสหกรณ์ให้เพิ่มมากขึ้น - แนะน าให้สหกรณ์ปลูกพืช ให้เหมาะสมกับพื้นที่เพราะปลูก (Zoning) สหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ 1. ชื่อสหกรณ์การเกษตรกรป.กลาง นพค. เพชรบูรณ์ จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ การเกษตร 2. จ านวนสมาชิกสหกรณ์ ณ 31 มีนาคม 2561 จ านวน 1,337 ราย 3. ผลผลิตการเกษตรหลักของสหกรณ์ ข้าว , ข้าวโพด 4. ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ 4.1 ธุรกิจ รับฝากเงินจากสมาชิก 4.2 ธุรกิจ ให้เงินกู้แก่สมาชิก 4.3 ธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจ าหน่ายแก่สมาชิก 4.๔ ธุรกิจรวบรวมผลิตผล 4.5 ธุรกิจแปรรูปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสินค้า 4.6 ธุรกิจบริการและส่งเสริมการเกษตร โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจสินเชื่อให้เงินกู้แก่สมาชิก รองลงมาจะเป็นธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย ธุรกิจแปรรูปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสินค้า ธุรกิจรวบรวมผลผลิตทางการ เกษตร ธุรกิจเงินรับฝาก และธุรกิจบริการและส่งเสริมการเกษตร ตามล าดับ 86


5. ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ ในพื้นที่แดนด าเนินงานของสหกรณ์ เป็นพื้นที่มีการ ปลูกพืชหลากหลายชนิด เช่น ข้าว ข้าวโพด ข่า ปาล์ม นอกจากนั้นสหกรณ์ได้รับความร่วมมือ ช่วยเหลือจากหลายๆองค์กร ทั้งในหน่วยงานราชการ ภาคเอกชนและสถาบันการเงินต่าง ๆ - สหกรณ์การเกษตรกรป.กลาง นพค. เพชรบูรณ์ จ ากัด ได้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการผลิต และกระจายเมล็ดพันธุ์ดีแก่สหกรณ์ในสถาบันเกษตรกร ปีการผลิต 2560/2561 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ดีให้แก่สมาชิกและเกษตรกรทั่วไป - สหกรณ์การเกษตรกรป.กลาง นพค. เพชรบูรณ์ จ ากัด ได้ด าเนินธุรกิจแปรรูปผลิตผล การเกษตรและการผลิตสินค้า โดยทางสหกรณ์มี โรงคัดพร้อมเครื่องคัดเมล็ดพันธุ์ขนาด 10 ตัน การ ด าเนินธุรกิจแปรรูปผลผลิตเพื่อมาจ าหน่ายเมล็ดพันธุ์ให้กับสมาชิก,จ าหน่ายให้กับคู่ค้าและตลาดทั่วไป ซึ่ง สหกรณ์สามารถผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวได้ จ านวน 240 ตัน คิดเป็นเงินทั้งสิ้น 3,840,000 บาท - สหกรณ์ด าเนินกิจกรรมเพื่อเอื้ออาทรต่อชุมชน โดยด าเนินกิจกรรมสาธารณประโยชน์ต่าง ๆ ร่วมกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ชุมชน โรงเรียน ฯ 6. บทบาทของสหกรณ์ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ ดังนี้ 6.1 โครงการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ 6.2 ศูนย์เรียนรู้ด้านการสหกรณ์ 6.3 โครงการยกระดับสหกรณ์ให้เข้มแข็ง 6.4 โครงการระบบส่งเสริมเกษตรกรแบบแปลงใหญ่ 87


ประชุมคณะกรรมการสหกรณ์การเกษตรกรป.กลาง นพค. เพชรบูรณ์ จ ากัด ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี สิ้นสุดปีบัญชี 31 มีนาคม 2561 ในวันที่ 26 กรกฎาคม2561 88


โครงการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ โครงการยกระดับสหกรณ์ให้เข้มแข็ง 89


โครงการส่งเสริมการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ดีแก่สหกรณ์ในสถาบันเกษตรกร กิจกรรมอื่น ๆ โครงการหน่วยบ าบัดทุกข์ บ ารุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน 90


Click to View FlipBook Version