The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nuttanicha Heng Heng, 2023-02-14 02:13:17

Report2561

Report2561

ประกอบด้วย สหกรณ์ 3 แห่ง สมาชิก 690 คน กลุ่มเกษตรกร 1 แห่ง สมาชิก 51 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. สมาชิกของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการน าระบบสหกรณ์ใช้ในการประกอบอาชีพ ทางเกษตรกรรมมากขึ้น ทั้งในด้านการรวมตัวกันผลิตและจ าน่ายผลผลิต เพื่อยกระดับมาตรฐานของผลิตที่ จะกว้าไปสู่ตลาดระดับต่าง ๆ 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ด าเนินงานเป็นไปตามแนวทางที่ นายทะเบียนสหกรณ์ และนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกร ก าหนด ทั้งทางด้านกฎหมาย ข้อบังคับและระเบียบต่าง ๆ โดยให้ สอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับแนวทางฯ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหา ข้อบกพร่องต่าง ๆ ใน ระหว่างการด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 3. สหกรณ์ ฯ จัดการประชุมคณะกรรมการด าเนินการเป็นประจ าและการลงมติใดๆ ใน แต่ละระเบียบวาระการประชุม ไม่ขัดกับระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายสหกรณ์ รวมทั้งประกาศและ ค าแนะน าต่าง ๆ ของนายทะเบียนสหกรณ์ 4. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้น าข้อสังเกตและข้อแนะน าจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ส านักงานตรวจบัญชี ส านักงานสหกรณ์จังหวัด มาติดตามและแก้ไขข้อสังเกตดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง เป็นรูปธรรมและชัดเจน จนกว่าการแก้ไขข้อบกพร่องจะแล้วเสร็จ 5. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ด าเนินงานเพื่อให้ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐาน เกณฑ์ ตัวชี้วัดต่าง ๆ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ อาทิเช่น 1. สามารถผ่านมาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 2. ผล การด าเนินงานที่ดีขึ้นจากเดิมโดยดูได้จากงบการเงินประจ าปี 3. ไม่มีข้อบกพร่องหรือข้อบกพร่องลดลง 4. การติดตามการใช้เงินกู้ให้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ 5. การเพิ่มปริมาณธุรกิจ ให้เป็นไปตามตัวชี้วัด 6. การมีส่วนร่วมและ 7.ในกิจกรรมของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของสมาชิก - การปิดบัญชีและประชุมใหญ่ให้ได้ตามที่กฎหมายก าหนด เป็นต้น 6. ส่งเสริมและเข้าร่วมการประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ เพื่อเผยแพร่อุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ รวมทั้งประชาสัมพันธ์งานนโยบายของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ รับฟังปัญหาอุปสรรคในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงานของสหกรณ์ รวมทั้งตอบข้อซักถามต่าง ๆ ของสมาชิกและบุคคลทั่วไปที่สนใจในงานสหกรณ์ 8. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้ก าหนดแผนปฏิบัติงานที่สอดคลองกับระบบสหกรณ์ และใช้วิธีการสหกรณ์อย่างเคร่งครัด เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิก 9. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้รับการสนับสนุนเงินกองทุนต่าง ๆ เช่น กองทุนพัฒนา สหกรณ์ กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ซึ่งสหกรณ์มีการวางแผนการใช้เงิน และ การส่งช าระเงินเป็นไปตามแผนงานและวัตถุประสงค์แห่งการกู้เงินโดยแท้จริง ซึ่งส่งผลต่อสมาชิกให้มีความ กินดีอยู่ดีมากขึ้น อ าเภอน้ าหนาว 91


ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. ปัญหาภายในองค์กร - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรมีข้อจ ากัดในการเพิ่มธุรกิจ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ขาดบุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจในด้านการเงินการบัญชีและ บริหารจัดการอย่างมืออาชีพจึงท าให้บางครั้งการเข้าไปก ากับดูแลแนะน าส่งเสริมจะต้องตรวจสอบและแนะน าอย่าง รอบครอบ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีทุนภายในของตนเองยังไม่เพียงพอต่อการให้บริการแก่สมาชิก ยังคง ต้องพึ่งพาแหล่งเงินทุนจากภายนอก ท าให้สหกรณ์มีต้นทุนจ่ายจากดอกเบี้ยเงินฝากหรือดอกเบี้ยเงินกู้ให้แก่ แหล่งเงินทุนภายนอก - กรรมการด าเนินการผู้เป็นตัวแทนในการบริหารงานส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจในการ บริหารองค์กรและบริหารงานธุรกิจและไม่มีเวลาเพียงพอในการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเนื่องจากมีภารกิจ ส่วนตัวมาก - สหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรจะไม่มีความสามารถในการจ้างพนักงานเจ้าหน้าที่ - ฝ่ายตรวจสอบหรือผู้ตรวจสอบกิจการที่ยังไม่มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบเพียงพอ 2. ปัญหาภายนอกองค์กร - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรในเขตพื้นที่อ าเภอน้ าหนาวซึ่งเป็นในเขตอุทยานแห่งชาติ มีขีดจ ากัดและ ขาดโอกาส ในการขอรับสนับสนุนอุปกรณ์การตลาดต่าง ๆ จากหน่วยงานภาครัฐ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้รับผลกระทบในรูปแบบวิธีการด าเนินงานในด้านสินเชื่อเพราะ สมาชิกมักน าวิธีการขององค์กรอื่นมาใช้ในกระบวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรจะส่งผลการด าเนินงานของ สหกรณ์จะได้รับความส าเร็จขององค์กรเพียงอย่างเดียว จึงท าให้แกนหลักขององค์กรคือสมาชิกไม่เข้มแข็ง จะท าให้เกิดปัญหาต่อเนื่อง ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์และผู้เกี่ยวข้องจะต้องเข้าไปช่วยเหลือการด าเนินงานของสหกรณ์ใน ทุก ๆ ด้านอย่างใกล้ชิด เพื่อให้สหกรณ์สามารถขับเคลื่อนการประกอบอาชีพของสมาชิก ตามหลักการ วิธีการสหกรณ์ และอุดมการณ์สหกรณ์อย่างแท้จริง เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจในองค์กรที่สังกัด - ส่งเสริมให้สมาชิกฯ มีจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ในสหกรณ์ -จัดหาแหล่งเงินทุนอัตราดอกเบี้ยต่ าเพื่อช่วยเหลือสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เช่น เงินกู้กองทุน พัฒนาสหกรณ์เงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร รวมทั้งแจ้งแนวทางในการด าเนินโครงการต่าง ๆ เพื่อ ระดมทุนภายในของตนเองอย่างสม่ าเสมอ ได้แก่ การระดมหุ้น การฝากเงินกับสหกรณ์ โดยให้สมาชิกมีส่วน ร่วมอย่างแท้จริง เพื่อลดปัญหาต้นทุนการเงินจากแหล่งเงินทุนภายนอกของสหกรณ์ 92


- ส่งเสริมให้ความรู้ด้านกฎหมาย การบริหาร การบัญชี และวิธีการตรวจสอบให้แก่ผู้ตรวจสอบ กิจการให้มีความรู้ความสามารถมากขึ้น และเมื่อมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้ตรวจสอบกิจการ เช่น ส านักงานตรวจสอบบัญชี หรือ ส านักงานสหกรณ์จังหวัด ก็ด าเนินการเข้าอบรมตามหลักสูตรที่ก าหนด - ผลักดันวิธีการสหกรณ์ให้เข้าไปสู่ระบบการผลิตกลุ่มย่อย ๆ ต่าง เพื่อยกระดับมาตรฐานของ ฐานะความเป็นอยู่ อาชีพ และรายได้ ซึ่งจะท าให้สมาชิกสามารถเรียนรู้ ปรับเปลี่ยน กับภาวะเศรษฐกิจใน ปัจจุบันได้ - ส่งเสริมการจัดท าอาชีพเสริม เพื่อให้สมาชิกมีทางเลือกในการประกอบอาชีพที่ผูกขาดตลาดใน พื้นที่ จัดท าโครงการต่าง ๆ เพื่อให้สมาชิกมีอาชีพเสริมที่สามารถหารายได้เพิ่มมากขึ้น โดยมีสหกรณ์เป็น ผู้บริหารจัดการให้แก่สมาชิก เพื่อหลีกหนีปัญหาพืชราคาตกต่ า ขายไม่ได้ เนื่องจากเกษตรกรผลิตมากจนเกินไป ท าให้ล้นตลาด - สหกรณ์และกลุ่มเกษตร ต้องเป็นกลไกลกลางในการยกระดับมาตรฐานผลผลิตของสมาชิกให้ผ่าน การรับรองตามระดับชั้น เพื่อเปิดโอกาสและเพิ่มทางเลือกในการจ าหน่ายผลผลิตของสมาชิกให้ได้ราคาที่เป็นธรรม สหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ 1. ชื่อสหกรณ์การเกษตรน้ าหนาว จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ การเกษตร 2. จ านวนสมาชิกสหกรณ์ ณ 31 มีนาคม 2561 จ านวน 295 ราย 3. ผลผลิตการเกษตรหลักของสหกรณ์ ข้าวโพด และไม้ผล 4. ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ 4.1.ธุรกิจ รับฝากเงินจากสมาชิก 4.2.ธุรกิจ ให้เงินกู้แก่สมาชิก 4.3.ธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจ าหน่ายแก่สมาชิก 5. ผลการด าเนินงาน ของสหกรณ์ในรอบปี สหกรณ์ได้ด าเนินการคัดสรรสมาชิกที่ใช้ทุนของ สหกรณ์เพียงอย่างเดียวในการผลิตพืชผลทางการเกษตร เพื่อก าหนดแผนงานในด้านสินเชื่อ การจัดหา ปัจจัยการผลิต และการรวบรวมผลผลิต และโครงการอาชีพทางเลือก เพื่อสหกรณ์จะต้องก าหนดแผนงาน เพื่อสนับสนุนสมาชิกกลุ่มนี้ให้สามารถเปลี่ยนแปลงจากมีหนี้มาก ให้มีหนี้ลดลง และท าการเกษตรที่มี ผลต่างอย่างเป็นธรรม 6. บทบาทของสหกรณ์ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ ดังนี้ 6.1 โครงการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ 6.2 ศูนย์เรียนรู้ด้านการสหกรณ์ 6.3 โครงการยกระดับสหกรณ์ให้เข้มแข็ง 93


ร่วมประชุมเกี่ยวกับการขับเคลื่อน การปลูกผักและผลไม้ในอ าเภอน้ าหนาว 94


กระบวนการผลิตก่อนที่สหกรณ์จะมีส่วนรวมในการผลิต 95


กระบวนการผลิตในปัจจุบันที่สหกรณ์มีส่วนรวมในการผลิต 96


ผลผลิตและรูปแบบการจ าหน่าย 97


การร่วมมือกับหน่วยงานระดับพื้นที่ 98


ประกอบด้วย สหกรณ์ 3 แห่ง สมาชิก 1,863 คน กลุ่มเกษตรกร 5 แห่งสมาชิก 353 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. สมาชิกของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจเพิ่มมากขึ้นในเรื่อง เกี่ยวกับหลักการ วิธีการ และ อุดมการณ์สหกรณ์รวมทั้งตระหนักถึงสิทธิ และแสดงบทบาทและหน้าที่ ของสมาชิกได้อย่างถูกต้อง สังเกตได้จากการเข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจ าปี หรือการเข้าร่วมประชุม กลุ่มสมาชิก ซึ่งในปัจจุบันสมาชิกมีความกล้าแสดงออก มีส่วนร่วมในการซักถาม การแสดงความคิดเห็น การลงมติต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้นจากเดิม 2.สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรด าเนินงานเป็นไปตามแนวทางที่นายทะเบียนสหกรณ์และ นายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรก าหนด ทั้งทางด้านกฎหมาย ข้อบังคับและระเบียบต่าง ๆ โดยให้สอดคล้อง และเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับแนวทางฯ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหา ข้อบกพร่องต่าง ๆ ในระหว่างการ ด าเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 3. สหกรณ์ ฯจัดการประชุมคณะกรรมการด าเนินการเป็นประจ าทุกเดือน มีการแจ้ง หนังสือเชิญประชุมพร้อมทั้งระเบียบวาระให้ทางส านักงานสหกรณ์จังหวัดเป็นประจ า และการลงมติใด ๆ ในแต่ละระเบียบวาระการประชุม ไม่ขัดกับระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายสหกรณ์ รวมทั้งประกาศและ ค าแนะน าต่าง ๆ ของนายทะเบียนสหกรณ์ 4. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้น าข้อสังเกตและข้อแนะน าจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ส านักงานตรวจบัญชี ส านักงานสหกรณ์จังหวัด มาติดตามและแก้ไขข้อสังเกตดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง เป็นรูปธรรมและชัดเจนจนกว่าการแก้ไขข้อบกพร่องจะแล้วเสร็จ 5. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ด าเนินงานเพื่อให้ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐาน เกณฑ์ ตัวชี้วัดต่าง ๆ ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ อาทิเช่น - สามารถผ่านมาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ - ผลการด าเนินงานที่ดีขึ้นจากเดิมโดยดูได้จากงบการเงินประจ าปี - ไม่มีข้อบกพร่องหรือข้อบกพร่องลดลง - การติดตามการใช้เงินกู้ให้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ - การบันทึกบัญชีที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน - การเพิ่มปริมาณธุรกิจ ให้เป็นไปตามตัวชี้วัด - การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของสมาชิก - การยกระดับชั้นของสหกรณ์ ให้ดีขึ้นเช่น จากชั้น 3 เข้าสู่ชั้น 2 - การปิดบัญชีและประชุมใหญ่ให้ได้ตามที่กฎหมายก าหนด เป็นต้น อ าเภอบึงสามพัน 99


6. ส่งเสริมและเข้าร่วมการประชุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์ เพื่อเผยแพร่อุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ รวมทั้งประชาสัมพันธ์งานนโยบายของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ รับฟังปัญหาอุปสรรคในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงานของสหกรณ์รวมทั้งตอบข้อซักถามต่างๆ ของสมาชิกและบุคคลทั่วไปที่สนใจในงานสหกรณ์ 7. ส่งเสริมและช่วยเหลือสหกรณ์จัดตั้งใหม่ ให้ด าเนินงานได้อย่างถูกต้องตามระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายสหกรณ์ ให้ความรู้แก่คณะกรรมการด าเนินการและฝ่ายจัดการอย่างสม่ าเสมอ เข้า ร่วมประชุมประจ าเดือน เพื่อให้ค าแนะน า และข้อเสนอแนะในการด าเนินงาน ติดตามการด าเนินงานของ สหกรณ์อย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันมิให้เกิดข้อบกพร่องของสหกรณ์ได้ 8. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้น าแผนปฏิบัติงาน รวมทั้งแผนงบประมาณรายรับรายจ่ายประจ าปี ที่ได้รับอนุมัติจากสมาชิกในที่ประชุมใหญ่ มาแตกย่อยเป็นแผนงานประจ าเดือน เพื่อใช้ เป็นแนวทางในการติดตามงานจากคณะกรรมการด าเนินการและฝ่ายจัดการ รวมทั้งเพื่อให้มีการควบคุม ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ของสหกรณ์ ไม่ให้เกินกว่างบประมาณที่ก าหนดไว้ด้วย 9. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการสนับสนุนเงินกองทุนต่าง ๆ เช่น กองทุนพัฒนา สหกรณ์ กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ซึ่งสหกรณ์มีการวางแผนการใช้เงิน และ การส่งช าระเงินเป็นไปตามแผนงานและวัตถุประสงค์แห่งการกู้เงินโดยแท้จริง ซึ่งส่งผลต่อสมาชิกให้มีความ กินดีอยู่ดีมากขึ้น ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.1 ปัญหาภายในองค์กร - ในกรณีสหกรณ์ขนาดเล็ก เมื่อได้รับการจัดตั้งแล้วยังไม่มีความพร้อมที่จะเข้าสู่ระบบสหกรณ์เช่น ขาดองค์ความรู้ ขาดการรวมตัวของคณะกรรมการด าเนินการ ขาดเงินทุนหมุนเวียนที่จะน ามาให้บริการ แก่สมาชิก สมาชิกขาดการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ส่งผลให้การด าเนินงานขาดประสิทธิผลตั้งแต่แรกตั้ง - สมาชิกผู้เป็นเจ้าของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขาดจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิ และหน้าที่ที่พึงกระท า - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีทุนภายในของตนเองยังไม่เพียงพอต่อการให้บริการแก่สมาชิกยังคง ต้องพึ่งพาแหล่งเงินทุนจากภายนอกเช่น กู้เงินจากธนาคาร รับเงินฝากจากสหกรณ์อื่น ท าให้สหกรณ์มี ต้นทุนจ่ายจากดอกเบี้ยเงินฝากหรือดอกเบี้ยเงินกู้ให้แก่แหล่งเงินทุนภายนอก - กรรมการด าเนินการผู้เป็นตัวแทนในการบริหารงานส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจในการ บริหารองค์กรและบริหารงานธุรกิจ - สหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรจะไม่มีความสามารถในการจัดจ้างพนักงานเจ้าหน้าที่ - ฝ่ายตรวจสอบหรือผู้ตรวจสอบกิจการที่ยังไม่มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบเพียงพอ 1.2 ปัญหาภายนอกองค์กร - ความชัดเจนในนโยบายสนับสนุนต่างๆ ตลอดถึงในแต่ละยุคสมัยไม่ต่อเนื่องสอดคล้องกัน - การแข่งขันด้านการค้าในระบบธุรกิจและสภาวะเศรษฐกิจของโลก 100


ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา - กรณีเป็นสหกรณ์จัดตั้งใหม่ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์และผู้เกี่ยวข้องจะต้องเข้าไป ช่วยเหลือการด าเนินงานของสหกรณ์ในทุก ๆ ด้านอย่างใกล้ชิด เพื่อให้สหกรณ์สามารถยืนได้ด้วยขาของ ตนเองในโอกาสต่อไปได้เช่นการให้ความรู้ ความเข้าใจในอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ การวาง ระบบโครงสร้างภายในของสหกรณ์ ด้านการด าเนินธุรกิจ ด้านการบริหารจัดการภายใน และที่ส าคัญคือ ต้องก ากับไม่ให้สหกรณ์มีข้อบกพร่องหรือข้อสังเกตต่าง ๆ ตั้งแต่เริ่มต้น - ส่งเสริมให้สมาชิกฯ มีจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ในสหกรณ์โดยใช้ เวทีจากการประชุมกลุ่มสมาชิกและเวทีการประชุมใหญ่สามัญประจ าปี - จัดหาแหล่งเงินทุนอัตราดอกเบี้ยต่ าเพื่อช่วยเหลือสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เช่น เงินกู้กองทุน พัฒนาสหกรณ์เงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร รวมทั้งแจ้งแนวทางในการด าเนินโครงการต่าง ๆ เพื่อ ระดมทุนภายในของตนเองอย่างสม่ าเสมอ ได้แก่ การระดมหุ้น การฝากเงินกับสหกรณ์ โดยให้สมาชิกมีส่วน ร่วมอย่างแท้จริง เพื่อลดปัญหาต้นทุนการเงินจากแหล่งเงินทุนภายนอกของสหกรณ์ - ส่งเสริมให้ความรู้แก่คณะกรรมการ เกี่ยวกับการบริหารจัดการภายในองค์กร และการจัดการ ด้านธุรกิจของสหกรณ์ ทั้งนี้จะต้องจัดการอยู่ภายใต้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง - ส่งเสริมให้มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่หรือฝ่ายจัดการร่วมกันระหว่างสหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่ม เกษตรกรที่ไม่มีทุนในการจัดจ้างเพียงพอ - ส่งเสริมให้ความรู้ด้านกฎหมาย การบริหาร การบัญชี และวิธีการตรวจสอบให้แก่ผู้ตรวจสอบ กิจการให้มีความรู้ความสามารถมากขึ้นและเมื่อมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับผู้ตรวจสอบกิจการ เช่น ส านักงานตรวจสอบบัญชี หรือ ส านักงานสหกรณ์จังหวัด ก็ด าเนินการเข้าอบรมตามหลักสูตรที่ก าหนด - สร้างแนวทางการด าเนินงานเพื่อรับมือกับสภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา - ส่งเสริมการจัดท าอาชีพเสริม จัดท าโครงการต่าง ๆ เพื่อให้สมาชิกมีอาชีพเสริมที่สามารถหา รายได้เพิ่มมากขึ้น โดยมีสหกรณ์เป็นผู้บริหารจัดการให้แก่สมาชิก เพื่อหลีกหนีปัญหาพืชราคาตกต่ า ขาย ไม่ได้ เนื่องจากเกษตรกรผลิตมากจนเกินไปท าให้ล้นตลาด 101


สหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ 1. ชื่อสหกรณ์การเกษตรบึงสามพัน จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ การเกษตร 2. จ านวนสมาชิกสหกรณ์ ณ 31 มีนาคม 2561 จ านวน 2,121 ราย 3. ผลผลิตการเกษตรหลักของสหกรณ์ ข้าว ถั่วเขียว ข้าวโพด อ้อย มันส าปะหลัง และปาล์มน้ ามัน 4. ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ 4.1. ธุรกิจ รับฝากเงินจากสมาชิก 4.2. ธุรกิจ ให้เงินกู้แก่สมาชิก 4.3. ธุรกิจ จัดหาสินค้ามาจ าหน่ายแก่สมาชิก 4.๔. ธุรกิจรวบรวมผลิตผล 4.5 ธุรกิจแปรรูปผลิตผลการเกษตรและการผลิตสินค้า โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจ ให้เงินกู้แก่สมาชิก 5. ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ ในพื้นที่แดนด าเนินงานของสหกรณ์ เป็นพื้นที่มีการ ปลูกพืชหลากหลายชนิด เช่น ข้าว ถั่วเขียว ข้าวโพด อ้อย มันส าปะหลัง และปาล์มน้ ามัน นอกจากนั้น สหกรณ์ได้รับความร่วมมือช่วยเหลือจากหลายๆองค์กร ทั้งในหน่วยงานราชการ และสถาบันการเงินต่าง ๆ รวมทั้งได้เข้าร่วมนโยบายส าคัญต่าง ๆ จากทางราชการด้วย เช่น โครงการไทยนิยมยั่งยืนของกรม ส่งเสริมสหกรณ์ โครงการพัฒนาสถาบันเกษตรกร จัดเก็บพืชผลทางการเกษตร (โครงการแก้มลิง) เพื่อ ก่อสร้าง เครื่องชั่งระบบดิจิตอลพร้อมชุดติดตั้งฐานราก ขนาด 40 ตัน 6. บทบาทของสหกรณ์ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ ดังนี้ 6.1 เข้าร่วมโครงการรวบรวมและชลอข้าวเปลือก 6.2 โครงการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ 6.3 โครงการได้ให้การสนับสนุนโครงการ ศพก.ในพื้นที่ทั้งในเรื่องสถานที่ ปัจจัยการผลิต และองค์ความรู้เรื่องกระบวนการกลุ่มเชิงสหกรณ์ ทุก ๆ โครงการ 6.4 โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ าในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร 6.5 โครงการพัฒนาสถาบันเกษตรกร จัดเก็บพืชผลทางการเกษตร (โครงการแก้มลิง) 6.6 โครงการสานพลังประชารัฐเพื่อสนับสนุนการปลูกข้าวโพดหลังฤดูท านา 102


เข้าร่วมประชุมประจ าเดือนคณะกรรมการด าเนินการ สหกรณ์การเกษตรบึงสามพัน จ ากัด โครงการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ 103


โครงการสานพลังประชารัฐเพื่อสนับสนุนการปลูกข้าวโพดหลังฤดูท านา กิจกรรมการจัดเวทีชุมชน และรับสมัครเกษตรกร โครงการได้ให้การสนับสนุนโครงการ ศพก.ในพื้นที่ทั้งในเรื่องสถานที่ ปัจจัยการผลิต และองค์ความรู้ เรื่องกระบวนการกลุ่มเชิงสหกรณ์ทุกโครงการ 104


เข้าร่วมประชุมหัวหน้าส่วน หัวหน้าหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปลัดอ าเภอ และก านัน อ าเภอบึงสามพัน ประชุมใหญ่สามัญประจ าปีสิ้นสุดทางบัญชี 31 มีนาคม 2561 105


โครงการรวบรวมและชะลอข้าวเปลือก 106


ประกอบด้วย สหกรณ์ 2 แห่ง สมาชิก 3,735 คน กลุ่มเกษตรกร 7 แห่ง สมาชิก 713 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) 1. ด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ ประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1.1 แนะน า ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถปิดบัญชีได้ ภายใน 30 วัน 1.2 แนะน า ส่งเสริม สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี ได้ภายใน 150 วัน 1.3 การให้ความเห็นชอบการก าหนดวงเงินกู้ยืมหรือการค้ าประกัน ประจ าปีของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.4 การตรวจการสหกรณ์ 1.5 ติดตามการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.6 ติดตามแก้ไขตามข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี 1.7 ส่งเสริมแนะน า สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดท าระเบียบ เพื่อให้นายทะเบียนสหกรณ์ ให้ความเห็นชอบ/รับทราบระเบียบของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.8 การรับจดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. ส่งเสริมและพัฒนางานสหกรณ์ทุกประเภท และกลุ่มเกษตรกร 2.1 เข้าร่วมประชุมประจ าเดือนกับคณะกรรมการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2.2 เข้าร่วมประขุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์และร่วมเวที(หรือเวทีชาวบ้าน) รับฟังความ คิดเห็นจากสมาชิก ประชาชนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เกี่ยวกับการด าเนินงาน การประกอบอาชีพ ปัญหา อุปสรรค หรือเรื่องอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์กับสมาชิก 2.3 เสวนาแบบมีส่วนร่วมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2.4 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีผลการด าเนินงานตามงบการเงินที่ผ่านการรับรองจาก ผู้สอบบัญชีแล้ว ไม่ขาดทุน เช่นเดียวกับปีบัญชีที่ผ่านมา 2.5 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีผลการด าเนินงานตามงบการเงินที่ผ่านการรับรองจาก ผู้สอบบัญชีแล้ว ขาดทุนลดลง เช่นเดียวกับปีบัญชีที่ผ่านมา 2.6 ส่งเสริมให้สมาชิก/ผู้แทนสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเข้าร่วม ประชุมใหญ่เพิ่มขึ้น 2.7 ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ผ่านมาตรฐานปี ๖1 รักษามาตรฐาน 2.8 ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ไม่ผ่านมาตรฐานปี ๖1 ให้ผ่านมาตรฐาน 2.9 แนะน าส่งเสริมเกี่ยวกับการบริหารเงินทุน 2.10 ส่งเสริม แนะน า และติดตามการใช้อุปกรณ์การตลาด 2.11 การเข้าส่งเสริม แนะน า สนับสนุน และติดตามให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่หยุด ด าเนินธุรกิจ หรือไม่พบที่อยู่ สามารถด าเนินธุรกิจได้หรือจ าเป็นต้องเข้าสู่กระบวนการช าระบัญชี 3. ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ให้แก่ บุคลากรสหกรณ์กลุ่มเกษตรกรและประชาชนทั่วไป อ าเภอวิเชียรบุรี 107


4. ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรและสหกรณ์ 4.1 ส่งเสริมการเพิ่มปริมาณธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 4.2 แนะน า ส่งเสริมให้สมาชิกของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจ กับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 4.3 แนะน า ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่จัดตั้งใหม่ให้ด าเนินงานได้ 5. ปฏิบัติตามคู่มือการปฏิบัติงานระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (Cooperatives Promotion System : CPS) 5.1 วิเคราะห์สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ด าเนินการโดยใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอย่างน้อย 2 เครื่องมือ ตามหลักวิชาการ 5.2 ค้นหาสาเหตุที่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรหยุดด าเนินการ 5.3 จัดท าแบบสรุปประเด็นการส่งเสริม ตามผลการวิเคราะห์ มีกิจกรรม/แผนงาน/โครงการครบถ้วน 5.4 น าเสนอผลการวิเคราะห์ต่อที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปัญหาภายในองค์กร - เกี่ยวกับสมาชิกผู้เป็นเจ้าของสหกรณ์ยังไม่รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองเท่าที่ควร ในการ เป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ที่พึงกระท า - กรรมการผู้เป็นผู้แทนในการบริหารงานส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจ ในการบริหาร องค์กรและบริหารงานธุรกิจ - สหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรจะไม่มีความสามารถในการจ้างพนักงานเจ้าหน้าที่ -ฝ่ายตรวจสอบหรือผู้ตรวจสอบกิจการที่ยังไม่มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบเพียงพอ - ทุน (ที่ดิน เงินทุน แรงงาน ฯลฯ) ไม่เพียงพอ ปัญหาภายนอกองค์กร -ความชัดเจนในนโยบายสนับสนุนต่างๆ ตลอดถึงในแต่ละยุคสมัยไม่ต่อเนื่องสอดคล้องกัน - การแข่งขันด้านการค้าในระบบธุรกิจ - สภาวะเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในปัจจุบันไม่สามารถควบคุมได้ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา -ส่งเสริมให้สมาชิกฯ ปลูกจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ในสหกรณ์ - ส่งเสริมให้ความรู้แก่คณะกรรมการเกี่ยวกับเทคนิคในการบริหารงานองค์กรและบริหารงานธุรกิจ - ส่งเสริมให้มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ร่วมกันระหว่างสหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรที่ ไม่มีทุนในการจัดจ้างเพียงพอ - ส่งเสริมให้ความรู้ด้านกฎหมาย การบริหาร การบัญชี และเทคนิคการตรวจสอบให้แก่ ผู้ตรวจสอบกิจการให้มีความรู้ความสามารถมากขึ้น - ส่งเสริมการระดมทุนจากสมาชิก หรือจัดหาทุนจากแหล่งต้นทุนต่ าและคุ้มทุน - การสร้างความมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจกับสหกรณ์ให้เพิ่มมากขึ้น - แนะน าให้สหกรณ์ปลูกพืช ให้เหมาะสมกับพื้นที่เพราะปลูก (Zoning) 108


สหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ 1. ชื่อสหกรณ์การเกษตรวิเชียรบุรี จ ากัด ประเภทของสหกรณ์ การเกษตร 2. จ านวนสมาชิกสหกรณ์ ณ 31 มีนาคม 2561 จ านวน 3,429 ราย 3. ผลผลิตการเกษตรหลักของสหกรณ์ ข้าว , ข้าวโพด 4. ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ 4.1. ธุรกิจ รับฝากเงินจากสมาชิก 4.2. ธุรกิจ ให้เงินกู้แก่สมาชิก 4.3. ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่ายแก่สมาชิก 4.๔. ธุรกิจรวบรวมผลิตผล 4.5 ธุรกิจแปรรูปผลิตผลการเกษตรและผลิตสินค้า 4.6 ธุรกิจให้บริการและส่งเสริมการเกษตร โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจสินเชื่อให้เงินกู้แก่สมาชิก รองลงมาจะเป็นธุรกิจ รวบรวมผลผลิตทางการเกษตร ธุรกิจเงินรับฝาก ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย ธุรกิจแปรรูปและธุรกิจ ให้บริการและส่งเสริมการเกษตร ตามล าดับ 5. ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ ในพื้นที่แดนด าเนินงานของสหกรณ์ เป็นพื้นที่มีการ ปลูกพืชหลากหลายชนิด เช่น ข้าว ข้าวโพด ถั่วเขียว มันส าปะหลัง นอกจากนั้นสหกรณ์ได้รับความ ร่วมมือช่วยเหลือจากหลายๆองค์กร ทั้งในหน่วยงานราชการ ภาคเอกชนและสถาบันการเงินต่าง ๆ - สหกรณ์การเกษตรวิเชียรบุรีจ ากัด เข้าร่วมมาตรการลดดอกเบี้ยเงินกู้เพื่อการผลิตแก่ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2557/2558 และ 2558/2559 ของสมาชิกสหกรณ์ ระยะเวลา ด าเนินการสิ้นสุดวันที่ 30 มิถุนายน 2558 และวันที่ 30 มิถุนายน 2559 โดยมีสมาชิกเข้าร่วมโครงการ มาตรการ จ านวน 15 ราย รัฐบาลชดเชยดอกเบี้ยให้กับสมาชิกในอัตราไม่เกินร้อยละ 3 ต่อปี สหกรณ์ได้รับ ดอกเบี้ยชดเชยจากรัฐบาลแล้ว จ านวน 7,314.46 บาท - สหกรณ์ท าสัญญาให้สนับสนุนโครงการด าเนินการโครงการผลิตไฟฟ้าจากพังงานไฟฟ้า แสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดินส าหรับหน่วยงานราชการและสหกรณ์การเกษตร พ.ศ. 2560 ใช้ ประโยชน์ในที่ดินและใช้สิทธิ์ของเจ้าของโครงการ กับ บริษัท พาราโบลิก โซลาร์ พาวเวอร์ จ ากัด โดยใน สัญญาระบุว่า ผู้สนับสนุนโครงการ ตกลงว่าจะจัดซื้อที่ดิน และมอบให้เจ้าของโครงการเพื่อใช้ในโครงการ เนื้อที่ 23 ไร่ 1 งาน 66 ตารางวา เป็นระยะเวลา 26 ปี3 เดือน - สหกรณ์เข้าร่วมโครงการสินเชื่อชะละการขายข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2560/2561 ได้รับเงินกู้เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในการด าเนินงานรอขายผลผลิต โดยน าข้าวเปลือกเป็นหลักประกัน จ านวน 1,615,800.00 กิโลกรัม และเจ้าหนี้เงินกู้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร คงเหลือวันสิ้นปีจ านวน 11,633,760.00 บาท 109


-สหกรณ์ได้รับเงินสนับสนุนจากกรมสงเสริมสหกรณ์ จ านวน 1,195,943.00 บาท เพื่อสร้างฉางโดยสหกรณ์ต้องสมทบเงินจ านวน 554,057.00 บาท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 ซึ่งอยู่ระหว่างด าเนินการก่อสร้าง -สหกรณ์ด าเนินกิจกรรมเพื่อเอื้ออาทรต่อชุมชน โดยด าเนินกิจกรรมสาธารณประโยชน์ต่างๆ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ชุมชน โรงเรียน ฯ 6. บทบาทของสหกรณ์ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ ดังนี้ 6.1 การเข้าร่วมโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าว ปี 60/61 6.2 โครงการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ 6.3 ศูนย์เรียนรู้ด้านการสหกรณ์ 6.4 โครงการยกระดับสหกรณ์ให้เข้มแข็ง 6.5 โครงการมาตรการลอดอกเบี้ยเงินกู้เพื่อการผลิตแก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปี ปีการผลิต 2557/2558 และ 2558/2559 ของสมาชิกสหกรณ์ 6.6 โครงการชะลอขายข้าวเปลือกนาปีปีการผลิต 2560/2561 ปลอดดอกเบี้ย ประชุมคณะกรรกรมการและประชุมใหญ่ประใหญ่สามัญประจ าปี สิ้นสุดปีบัญชี 31 มีนาคม 110


โครงการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ 111


โครงการยกระดับสหกรณ์ให้เข้มแข็ง 112


โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2560/61 113


อ าเภอเขาค้อ ประกอบด้วยสหกรณ์ 4 แห่ง สมาชิก 1,585 คน กลุ่มเกษตรกร 0 แห่ง สมาชิก 0 คน ผลการเข้าแนะน าส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร(ผลของการแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร รายการ สหกรณ์ (บาท) กลุ่มเกษตรกร (บาท) ทุนด าเนินงาน 2,429,034.64 หนี้สิน 10,196,640.25 ทุนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 7,750801.95 ก าไร(ขาดทุน)สุทธิ (845,910.88) ปริมาณธุรกิจสินเชื่อ 1,109,998.48 ปริมาณธุรกิจจัดหาสินค้าจ าหน่าย 123,619.00 ปริมาณธุรกิจรวบรวมผลิตผลจ าหน่าย 585,404.50 รับฝากเงิน 7528,707.63 แปรรูป 75,920.00 บริการ 163,500 การแนะน าส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในภาพรวมของอ าเภอ สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรส่วนใหญ่ได้ถือปฏิบัติเป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบและมติที่ประชุม และเป็นไปตาม ระบบการเงินการบัญชีที่ก าหนดไว้ มีผลการด าเนินงานดีพอใช้ซึ่งไม่ได้ด าเนินธุรกิจบริการแก่สมาชิกอย่าง ครบวงจร เช่น ไม่ด าเนินธุรกิจรวบรวมผลิตผลจากสมาชิกจ าหน่าย และมีสหกรณ์ที่ไม่มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน จากการเข้าตรวจสอบแนะน าส่งเสริมบางครั้งพบการบันทึกบัญชีไม่เป็นปัจจุบัน เก็บเงินสดในมือเกิน ระเบียบ เนื่องจากคณะกรรมการขาดความรู้ความสามารถด้านบัญชี ไม่สามารถจัดท าบัญชีได้ด้วยตนเอง โดยได้รับการช่วยเหลือแนะน าแก้ไขจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์และผู้สอบบัญชี และพบว่าผู้ตรวจสอบ กิจการไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่และไม่มีการรายงานผลการตรวจสอบต่อที่ประชุมแต่อย่างใด 114


ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. ขาดบุคาลากรที่มีความรู้ความเข้าใจด้านการเงินการบัญชีและการบริหารจัดการอย่างมือ อาชีพ บางสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรไม่มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน คณะกรรมการด าเนินการไม่มีเวลาเพียงพอ ส าหรับปฏิบัติของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เนืองจากมีภารกิจส่วนตัวมาก 2. สมาชิกมีหนี้ค้างช าระจ านวนมาก ส่งผลท าให้การหมุนเวียนเงินทุนส าหรับด าเนินธุรกิจต่างๆ ไม่เพียงพอและธุรกิจหยุดชะงักหรือชะลอตัว 3. สมาชิกขาดอุดมการณ์สหกรณ์หรือขาดจิตรส านึกความเป็นเจ้าของ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. จัดอบรมคณะกรรมการด าเนินการ เจ้าหน้าที่หรือผู้ปฏิบัติงานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะการปฏิบัติงาน และการเข้าแนะน า สอนแนะจนสามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเอง 2. ให้การศึกษาอบรมสมาชิกให้เข้าใจหลักการ อุดมการณ์สหกรณ์จนเข้าใจอย่างลึกซึ้ง มองเห็นประโยชน์และคุณค่าของสหกรณ์ 115 111


ประกอบด้วย 9 ต าบล 99 หมู่บ้าน สมาชิก 3,985 คน กลุ่มเกษตรกร 8 แห่ง สมาชิก 698 คน ผลการเข้าแนะน า ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (CPS) 1. ด าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ ประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 1.1 แนะน า ส่งเสริมให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถปิดบัญชีได้ ภายใน 30 วัน 1.2 แนะน า ส่งเสริม สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ให้ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี ได้ภายใน 150 วัน 1.3 การให้ความเห็นชอบการก าหนดวงเงินกู้ยืมหรือการค้ าประกัน ประจ าปีของ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.4 การตรวจการสหกรณ์ 1.5 ติดตามการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.6 ติดตามแก้ไขตามข้อสังเกตของผู้สอบบัญชี 1.7 ส่งเสริมแนะน า สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดท าระเบียบ เพื่อให้นายทะเบียนสหกรณ์ ให้ความเห็นชอบ/รับทราบระเบียบของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.8 การรับจดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. ส่งเสริมและพัฒนางานสหกรณ์ทุกประเภท และกลุ่มเกษตรกร 2.1 เข้าร่วมประชุมประจ าเดือนกับคณะกรรมการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2.2 เข้าร่วมประขุมกลุ่มสมาชิกสหกรณ์และร่วมเวที(หรือเวทีชาวบ้าน) รับฟังความ คิดเห็นจากสมาชิก ประชาชนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เกี่ยวกับการด าเนินงาน การประกอบอาชีพ ปัญหา อุปสรรค หรือเรื่องอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์กับสมาชิก 2.3 เสวนาแบบมีส่วนร่วมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2.4 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีผลการด าเนินงานตามงบการเงินที่ผ่านการรับรองจาก ผู้สอบบัญชีแล้ว ไม่ขาดทุน เช่นเดียวกับปีบัญชีที่ผ่านมา 2.5 สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีผลการด าเนินงานตามงบการเงินที่ผ่านการรับรองจาก ผู้สอบบัญชีแล้ว ขาดทุนลดลง เช่นเดียวกับปีบัญชีที่ผ่านมา 2.6 ส่งเสริมให้สมาชิก/ผู้แทนสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเข้าร่วม ประชุมใหญ่เพิ่มขึ้น 2.7 ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ผ่านมาตรฐานปี ๖1 รักษามาตรฐาน 2.8 ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ไม่ผ่านมาตรฐานปี ๖1 ให้ผ่านมาตรฐาน 2.9 แนะน าส่งเสริมเกี่ยวกับการบริหารเงินทุน 2.10 ส่งเสริม แนะน า และติดตามการใช้อุปกรณ์การตลาด 2.11 การเข้าส่งเสริม แนะน า สนับสนุน และติดตามให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่หยุด ด าเนินธุรกิจ หรือไม่พบที่อยู่ สามารถด าเนินธุรกิจได้ หรือจ าเป็นต้องเข้าสู่กระบวนการช าระบัญชี 3. ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ให้แก่ บุคลากรสหกรณ์กลุ่มเกษตรกรและประชาชนทั่วไป อ าเภอ หล่มเก่า 116


4. ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรและสหกรณ์ 4.1 ส่งเสริมการเพิ่มปริมาณธุรกิจสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 4.2 แนะน า ส่งเสริมให้สมาชิกของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจ กับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 4.3 แนะน า ส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่จัดตั้งใหม่ให้ด าเนินงานได้ 5. ปฏิบัติตามคู่มือการปฏิบัติงานระบบการส่งเสริมสหกรณ์ (Cooperatives Promotion System : CPS) 5.1 วิเคราะห์สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ด าเนินการโดยใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอย่างน้อย 2 เครื่องมือ ตามหลักวิชาการ 5.2 ค้นหาสาเหตุที่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรหยุดด าเนินการ 5.3 จัดท าแบบสรุปประเด็นการส่งเสริม ตามผลการวิเคราะห์ มีกิจกรรม/แผนงาน/ โครงการ ครบถ้วน 5.4 น าเสนอผลการวิเคราะห์ต่อที่ประชุมคณะกรรมการด าเนินการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปัญหาภายในองค์กร 1. เกี่ยวกับสมาชิกผู้เป็นเจ้าของสหกรณ์ยังไม่รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองเท่าที่ควร ในการ เป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ที่พึงกระท า 2. กรรมการผู้เป็นผู้แทนในการบริหารงานส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจ ในการบริหาร องค์กรและบริหารงานธุรกิจ 3. สหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกรจะไม่มีความสามารถในการจ้างพนักงานเจ้าหน้าที่ 4. ฝ่ายตรวจสอบหรือผู้ตรวจสอบกิจการที่ยังไม่มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบเพียงพอ 5. ทุน (ที่ดิน เงินทุน แรงงาน ฯลฯ) ไม่เพียงพอ ปัญหาภายนอกองค์กร 1.ความชัดเจนในนโยบายสนับสนุนต่างๆ ตลอดถึงในแต่ละยุคสมัยไม่ต่อเนื่องสอดคล้องกัน 2. การแข่งขันด้านการค้าในระบบธุรกิจ 3. สภาวะเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในปัจจุบันไม่สามารถควบคุมได้ 117


ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. ส่งเสริมให้สมาชิกฯ ปลูกจิตส านึกในการเป็นเจ้าของตามบทบาทสิทธิและหน้าที่ ในสหกรณ์ 2. ส่งเสริมให้ความรู้แก่คณะกรรมการเกี่ยวกับเทคนิคในการบริหารงานองค์กรและ บริหารงานธุรกิจ 3. ส่งเสริมให้มีการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ร่วมกันระหว่างสหกรณ์ขนาดเล็กหรือกลุ่มเกษตรกร ที่ไม่มีทุนในการจัดจ้างเพียงพอ 4. ส่งเสริมให้ความรู้ด้านกฎหมาย การบริหาร การบัญชี และเทคนิคการตรวจสอบ ให้แก่ผู้ตรวจสอบกิจการให้มีความรู้ความสามารถมากขึ้น 5. ส่งเสริมการระดมทุนจากสมาชิก หรือจัดหาทุนจากแหล่งต้นทุนต่ าและคุ้มทุน 6. การสร้างความมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจกับสหกรณ์ให้เพิ่มมากขึ้น 7. แนะน าให้สหกรณ์ปลูกพืช ให้เหมาะสมกับพื้นที่เพราะปลูก (Zoning) สหกรณ์การเกษตรระดับอ าเภอ 1. ชื่อสหกรณ์การเกษตรหล่มเก่า จ ากัด ประเภทสหกรณ์ การเกษตร 2. จ านวนสมาชิกสหกรณ์ ณ 31 มีนาคม 2561 จ านวน 1,721 ราย 3. ผลผลิตการเกษตรหลักของสหกรณ์ ข้าวโพด ข้าว มะขามหวาน ใบยาสูบ 4. ธุรกิจที่สหกรณ์ด าเนินการ 4.1. ธุรกิจ รับฝากเงินจากสมาชิก 4.2. ธุรกิจ ให้เงินกู้แก่สมาชิก 4.3. ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจ าหน่ายแก่สมาชิก 4.๔. ธุรกิจรวบรวมผลิตผล 4.5 ธุรกิจให้บริการและส่งเสริมการเกษตร โดยธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจสินเชื่อให้เงินกู้แก่สมาชิก รองลงมาจะเป็นธุรกิจจัดหาสินค้า มาจ าหน่าย ธุรกิจเงินฝาก ธุรกิจรวบรวมผลผลิตทางการเกษตร และธุรกิจส่งเสริมการเกษตร ตามล าดับ 5. ผลการด าเนินงานที่โดดเด่นของสหกรณ์ ในพื้นที่แดนด าเนินงานของสหกรณ์ เป็นพื้นที่มีการ ปลูกพืชหลากหลายชนิด เช่น ข้าวโพด ข้าว มะขามหวาน ใบยาสูบ นอกจากนั้นสหกรณ์ได้รับความ ร่วมมือช่วยเหลือจากหลายๆองค์กร ทั้งในหน่วยงานราชการ ภาคเอกชนและสถาบันการเงินต่าง ๆ - สหกรณ์การเกษตรหล่มเก่า จ ากัด เป็นสหกรณ์ที่ใช้โปรแกรมจากกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ใน การบันทึกบัญชี สามารถปิดบัญชีและส่งงบการเงินและประชุมใหญ่สามัยประจ าปีภายใน 30 วัน หลัง ปิดบัญชี ซึ่งได้รับโล่เกียรติยศจากกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2554 - สหกรณ์การเกษตรหล่มเก่า จ ากัด เป็นสหกรณ์ดีเด่นด้านการบริการสินเชื่อเมื่อปี 2559 โดยได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณจากจังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2559 118


- สหกรณ์การเกษตรหล่มเก่า จ ากัด ได้ด าเนินธุรกิจเชื่อมโยงเครือข่ายธุรกิจกับสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรในพื้นที่อ าเภอหล่มเก่า - สหกรณ์ด าเนินกิจกรรมเพื่อเอื้ออาทรต่อชุมชน โดยด าเนินกิจกรรมสาธารณประโยชน์ต่าง ๆ ร่วมกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ชุมชน โรงเรียน วัด ฯ 6. บทบาทของสหกรณ์ในการขับเคลื่อนงานตามนโยบายของรัฐ ดังนี้ 6.1 การเข้าร่วมโครงการเชื่อมโยงเครือข่ายธุรกิจกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ อ าเภอหล่มเก่า 6.2 โครงการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ 6.3 ศูนย์เรียนรู้ด้านการสหกรณ์ 6.4 โครงการยกระดับสหกรณ์ให้เข้มแข็ง 6.5 โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พื้นที่ต าบลศิลา อ าเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ 6.6 โครงการส่งเสริมการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หลังฤดูท านาปี 2561/62 119


สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีผลการด าเนินงานเด่น ประชุมคณะกรรมการสหกรณ์การเกษตรหล่มเก่า จ ากัด ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี สิ้นสุดปีบัญชี 31 มีนาคม 2561 ในวันที่ 11 เมษายน 2561 120


โครงการพัฒนาสหกรณ์การเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ ส่งเสริมการออมทรัพย์อย่างมีระบบ โดยการถือหุ้นลุ้นโชคเพื่อระดมทุนจากปัจจัยภายใน ลดการกู้ยืมจากภายนอกปีละไม่น้อยกว่า 5 % โครงการยกระดับสหกรณ์ให้เข้มแข็ง 121


โครงการส่งเสริมและรวบรวมผลผลิตทางการเกษตร - โครงการส่งเสริมการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หลัวฤดูท านาปี 61/6 122


ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 123


การช าระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ๑. การด าเนินการช าระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ได้ก าหนดแผนช าระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ทั้งหมด จ านวน ๘ แห่ง ช าระบัญชีเสร็จสิ้นถึงขั้นที่ ๑๐ มีจ านวน ๒ แห่ง โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.๑ สหกรณ์การเกษตรอินทรีย์กกเดื่อ จ ากัด มีนายคมสัน ซอนจ าปา เจ้าพนักงาน ส่งเสริมสหกรณ์ช านาญงาน เป็นผู้ช าระบัญชี ขั้นที่ ๑ ประกาศ/เผยแพร่การเลิกและตั้งผู้ช าระบัญชี เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ๒๕58 ขั้นที่ ๒ รับมอบทรัพย์สินและจัดท างบดุลเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน ๒๕58 ขั้นที่ ๓ ส่งงบดุลให้ผู้สอบบัญชีเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม ๒๕59 ปัจจุบันการช าระบัญชีอยู่ในขั้น ที่ ๔ อยู่ระหว่างรอผู้สอบบัญชีรับรองงบ ๑.2 สหกรณ์ต ารวจภูธรเขาค้อ จ ากัด มีนายคมสัน ซอนจ าปา เจ้าพนักงานส่งเสริม สหกรณ์ช านาญงาน เป็นผู้ช าระบัญชีขั้นที่ ๑ ประกาศ/เผยแพร่การเลิกและตั้งผู้ช าระบัญชีเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ๒๕58 ขั้นที่ ๒ รับมอบทรัพย์สินและจัดท างบดุลเมื่อวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ ขั้น ที่ ๓ ส่งงบดุลให้ผู้สอบบัญชีเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม ๒๕60 ปัจจุบันการช าระบัญชีอยู่ในขั้นที่ ๔ อยู่ ระหว่างผู้ช าระบัญชีติดตามเอกสารประกอบการคืนค่าหุ้น ๑.3 สหกรณ์ออมทรัพย์กองพลทหารม้าที่ 1 จ ากัด มีนายจิรวิทย์ แก้วก าพล เจ้าพนักงาน ส่งเสริมสหกรณ์ช านาญงาน เป็นผู้ช าระบัญชี ขั้นที่ ๑ ประกาศ/เผยแพร่การเลิกและตั้งผู้ช าระบัญชี เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน ๒๕60 ปัจจุบันการช าระบัญชีอยู่ในขั้นที่ ๒ อยู่ระหว่างคณะกรรมการ รวบรวมทรัพย์สินส่งมอบให้ผู้ช าระบัญชี ๑.๔ สหกรณ์การเกษตรห้วยงาช้าง จ ากัด มีนางสาวไพรรินทร์ แก้วดวงดีนักวิชาการ สหกรณ์ปฏิบัติการเป็นผู้ช าระบัญชี ขั้นที่ ๑ ประกาศ/เผยแพร่การเลิกและตั้งผู้ช าระบัญชีเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน ๒๕56 ขั้นที่ ๒ รับมอบทรัพย์สินและจัดท างบดุลเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ๒๕56 ขั้นที่ ๓ ส่งงบดุลให้ผู้สอบบัญชีเมื่อวันที่ 3 มกราคม ๒๕57 ขั้นที่ ๔ ผู้สอบบัญชีรับรองงบดุลเมื่อวันที่ 12 มีนาคม ๒๕57 ขั้นที่ ๕ อนุมัติงบดุลจากที่ประชุมใหญ่/นายทะเบียนสหกรณ์ เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม ๒๕57 ขั้นที่ ๖ ด าเนินการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ๒๕57 ปัจจุบัน การช าระบัญชีอยู่ในขั้นที่ ๗ อยู่ระหว่างผู้ช าระบัญชีเตรียมเอกสารเพื่อยื่นค าร้องขอล้มละลาย งาน/โครงการตามภารกิจ ผลการปฏิบัติงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2561 ผลการปฏิบัติงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 122


๑.๕ สหกรณ์ปลูกผักและไม้ผลเขาค้อ จ ากัด มีนางสาวสุวภางค์ แสงลา นักวิชาการ สหกรณ์ช านาญการ เป็นผู้ช าระบัญชี ขั้นที่ ๑ ประกาศ/เผยแพร่การเลิกและตั้งผู้ช าระบัญชีเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน ๒๕61 ขั้นที่ ๒ รับมอบทรัพย์สินและจัดท างบดุลเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม ๒๕61 ขั้นที่ ๓ ส่งงบดุลให้ผู้สอบบัญชีเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม ๒๕61 ขั้นที่ ๔ ผู้สอบบัญชีรับรองงบดุลเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม ๒๕61 ปัจจุบันการช าระบัญชีอยู่ในขั้นที่ ๕ อยู่ระหว่างรออนุมัติงบดุลจากที่ประชุมใหญ่/ นายทะเบียนสหกรณ์ ๑.๖ กลุ่มเกษตรกรท านาห้วยสะแก มีนางสาวปานทิพย์ พ่อค้าช้าง เจ้าพนักงานส่งเสริม สหกรณ์อาวุโส เป็นผู้ช าระบัญชีขั้นที่ ๑ ประกาศ/เผยแพร่การเลิกและตั้งผู้ช าระบัญชีเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม ๒๕59 ขั้นที่ ๒ รับมอบทรัพย์สินและจัดท างบดุลเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม ๒๕59 ขั้นที่ ๓ ส่ง งบดุลให้ผู้สอบบัญชีเมื่อวันที่ 9 มกราคม ๒๕60 ขั้นที่ ๔ ผู้สอบบัญชีรับรองงบดุลเมื่อวันที่ 27 มกราคม ๒๕60 ขั้นที่ ๔ ผู้สอบบัญชีรับรองงบดุลเมื่อวันที่ 15 มีนาคม ๒๕60 ปัจจุบันการช าระ บัญชีอยู่ในขั้นที่ ๖ อยู่ระหว่างผู้ช าระบัญชีจัดการทรัพย์สิน ๑.๗ สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินชนแดน หนึ่ง จ ากัด มีนางสาวไพรรินทร์แก้วดวงดี นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ เป็นผู้ช าระบัญชีขั้นที่ ๑ ประกาศ/เผยแพร่การเลิกและตั้งผู้ช าระบัญชี เมื่อวันที่ 7 มีนาคม ๒๕57 ขั้นที่ ๒ รับมอบทรัพย์สินและจัดท างบดุลเมื่อวันที่ 21 มีนาคม ๒๕57 ขั้นที่ ๓ ส่งงบดุลให้ผู้สอบบัญชีเมื่อวันที่ 30 กันยายน ๒๕57 ขั้นที่ ๔ ผู้สอบบัญชีรับรองงบดุลเมื่อ วันที่ 5 สิงหาคม ๒๕59 ขั้นที่ ๕ อนุมัติงบดุลจากที่ประชุมใหญ่/นายทะเบียนสหกรณ์ เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม ๒๕61 ขั้นที่ ๖ ด าเนินการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม ๒๕ 61 ขั้นที่ ๗ ส่งรายงานการช าระบัญชีเมื่อวันที่ 21 มีนาคม ๒๕57 ขั้นที่ ๘ ผู้สอบบัญชีรับรองเมื่อ วันที่ 6 สิงหาคม ๒๕61 ขั้นที่ ๙ ถอนชื่อออกจากทะเบียนเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม ๒๕61 ขั้นที่ ๑๐ ส่งมอบบรรดาสมุด เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม ๒๕61 ๑.8 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์บ่อรัง มีนางนิตยา มัจฉากล่ า นักวิชาการสหกรณ์ ช านาญการ เป็นผู้ช าระบัญชี ขั้นที่ ๑ ประกาศ/เผยแพร่การเลิกและตั้งผู้ช าระบัญชีเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม ๒๕61 ขั้นที่ ๒ รับมอบทรัพย์สินและจัดท างบดุลเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน ๒๕61 ขั้นที่ ๓ ส่งงบดุลให้ผู้สอบบัญชีเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม ๒๕61 ขั้นที่ ๔ ผู้สอบบัญชีรับรองงบดุลเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม ๒๕61 ขั้นที่ ๕ อนุมัติงบดุลจากที่ประชุมใหญ่/นายทะเบียนสหกรณ์ เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม ๒๕61 ขั้นที่ ๖ ด าเนินการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม ๒๕61 ขั้นที่ ๗ ส่งรายงานการช าระบัญชีเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม ๒๕61 ขั้นที่ ๘ ผู้สอบบัญชีรับรองเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม ๒๕61 ขั้นที่ ๙ ถอนชื่อออกจากทะเบียนเมื่อวันที่ 13 กันยายน ๒๕61 ขั้นที่ ๑๐ ส่ง มอบบรรดาสมุด เมื่อวันที่ 17 กันยายน ๒๕61 123


๒. รายชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สามารถถอนชื่อได้ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ มีจ านวน ๒ แห่ง ดังนี้ ๒.๑ สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินชนแดน หนึ่ง จ ากัด ถอนชื่อออกกจากทะเบียนวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๖๑ ๒.๒ กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์บ่อรัง ถอนชื่อออกจากทะเบียนเมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๖๑ ภาพประกอบการช าระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 124


โครงการพัฒนาสถาบันเกษตรกรรูปแบบประชารัฐ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ 1.1 วัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาความเข้มแข็งของสถาบันเกษตรกรด้วยกลไกประชารัฐ โดยความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และสหกรณ์ 1.2 เป้าหมาย เพื่อให้สหกรณ์เป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ มีความเข้มแข็งและพัฒนาสร้างมูลค่าเพิ่ม สินค้าสหกรณ์ได้ 1.3 พื้นที่ด าเนินการ จ านวน 4 สหกรณ์ ได้แก่ 1. สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด อ าเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ 2. สหกรณ์การเกษตรชนแดน จ ากัดอ าเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ 3. สหกรณ์การเกษตรกรป.กลาง นพค.เพชรบูรณ์ จ ากัด อ าเภอวังโป่ง จังหวัดเพชรบูรณ์ 4. สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัดอ าเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ 2. ผลการด าเนินงาน พัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ ส่งเสริมสหกรณ์ให้มีการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ ขยายช่องทางการตลาดและสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าสหกรณ์ 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ การให้บริการปัจจัยการผลิตคุณภาพ มูลค่า 188,295,717.13 บาท มูลค่าการรวบรวม ผลผลิตทางการเกษตร มูลค่า 589,063,207 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์ได้รับการพัฒนาโดยความร่วมมือประชารัฐมีช่องทางการตลาดเพิ่มขึ้น จ านวน 4 แห่ง ผลิตภัณฑ์ของสหกรณ์ได้รับการแปรรูป/สร้างมูลค่าเพิ่ม 7 ผลิตภัณฑ์ได้แก่ 1. น้ าดื่มตราสหกรณ์ 2. เมล็ดพันธุ์ข้าวพิษณุโลก 2 3. ข้าวลืมผัวบรรจุถุง 4. ข้าวไรซ์เบอรี่บรรจุถุง 5. ข้าวหอมมะลิ 6. ข้าว ข้าวธรรมดา 7.ถั่วเขียวบรรจุถุงสินค้าสหกรณ์ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานสินค้าสหกรณ์(สมส.) ดังนี้ 1.ข้าวหอมมะลิ สกก.เพชรบูรณ์ จ ากัด 2.ข้าวขาว สกก.เพชรบูรณ์ จ ากัด 3.ข้าวเหนียว สกก.เพชรบูรณ์ จ ากัด 4.น้ าดื่มตราสหกรณ์ สกก.หนองไผ่ จ ากัด 5.ข้าวไรซ์เบอร์รี่ สกก.หนองไผ่ จ ากัด 6.ข้าวเหนียวลืมผัว สกก.หนองไผ่ จ ากัด โครงการตามนโยบายส าคัญ (Agenda) โครงการตามนโยบายส าคัญ (Agenda) 125


4. ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงาน งบประมาณในการสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์มีน้อย และการประสานงาน ระหว่างหน่วยงานภาคีภายในจังหวัดให้ความส าคัญกับโครงการน้อย แนวทางแก้ไข โดยการประสานงานและขอความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หอการค้าจังหวัด สถาบันการศึกษาในพื้นที่ ให้ความรู้ และส่งเสริมช่องทางการตลาดให้กับสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการ รูปแบบผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ถั่วเขียว ของสหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด กิจกรรมการรวบถั่วเขียวของสมาชิกสหกรณ์และน าเข้าปรับปรุง คุณภาพเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าสหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด ผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ข้าวสารบรรจุถุงตราสหกรณ์ ข้าวหอมมะลิ และข้าวข้าวธรรมดาของสหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด กิจกรรมการรวบรวมข้าวเปลือกจากสมาชิกสหกรณ์และน าเข้าสู่ กระบวนการแปรรูปเป็นข้าวสารเพื่อเพิ่มมูลค้าสินค้าของ สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด 126


โครงการส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าสินค้าและการใช้เครื่องจักรกลการเกษตรทดแทนแรงงาน 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ ลดต้นทุนการผลิตและแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานในพื้นที่ สนับสนุนเครื่องจักรกล ทางการเกษตรให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อให้บริการและอ านวยความสะดวกเครื่องจักรกล ทางการเกษตรกร เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงาน คือ สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด 2. ผลการด าเนินงาน สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด ได้รับการสนับสนุนเครื่องสีข้าวโพดขนาด 40 ตัน/วัน จ านวน 3 เครื่อง งบประมาณ 2,190,000 บาท จากกรมส่งเสริมสหกรณ์ ปี พ.ศ. 2558 ด าเนินการรวบรวมข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จากสมาชิกสหกรณ์และเกษตรกรทั่วไป โดยการให้บริการ สีข้าวโพดฟรี ไม่คิดค่าใช้จ่าย และรวมรวมข้าวโพดปรับปรุงคุณภาพเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ การให้บริการเครื่องสีข้าวโพดแก่สมาชิกและเกษตรกร มูลค่า1,733 ราย ปริมาณผลผลิต 5,616 ตัน สามารถลดต้นทุนการผลิตของสมาชิกและเกษตรกร 2,305,372.80 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์ได้รับการพัฒนาโดยความร่วมมือประชารัฐ ผลิตภัณฑ์ของสหกรณ์ได้รับการแปรรูป/ สร้างมูลค่าเพิ่ม 1 ผลิตภัณฑ์ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กิจกรรมการรวบรวมข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จากสมาชิกสหกรณ์และ เกษตรกรทั่วไปของสหกรณ์เกษตรกรหนองไผ่ จ ากัด การให้บริการสีข้าวโพดฟรีกับสมาชิกและเกษตรกรทั่วไป ของสหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด 127


โครงการธนาคารสินค้าเกษตร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : เพิ่มขีดความสามารถและพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการธนาคารสินค้าเกษตรเดิม เป้าหมาย สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด 2. ผลการด าเนินงาน : สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด ได้รับสมัครสมาชิกเข้าร่วมโครงการธนาคารสินค้าเกษตร (ธนาคารข้าว) โดยมีการประชาสัมพันธ์โครงการและชี้แจงการด าเนินงานเพื่อให้สมาชิกและเกษตรกร ผู้สนใจได้มาบริการธนาคารข้าว เช่น การรับฝาก การยืมปัจจัยการผลิต และได้ให้บริการกับสมาชิกยืม เมล็ดพันธุ์ข้าวโดยไม่คิดดอกเบี้ย 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกที่สมัครเข้าร่วมโครงการ 58 ราย สมาชิกยืมเมล็ดพันธุ์เพื่อเพาะปลูก 12 ราย ปริมาณ 5,975 กิโลกรัม มูลค่า 35,600 บาท สามารถลดต้นทุนการผลิตของสมาชิก ลดต้นทุนได้ 34,600 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์ได้รับการพัฒนาโดยความร่วมมือรูปแบบประชารัฐผลิตภัณฑ์ของสหกรณ์ได้รับการ แปรรูป/สร้างมูลค่าเพิ่ม 1 ผลิตภัณฑ์ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข สมาชิกที่สมัครเข้าร่วมโครงการมายืมปัจจัยการผลิตจากธนาคารน้อย แนวทางแก้ไข สหกรณ์ควร ชี้แจงให้สมาชิกรับทราบกิจกรรมโครงการธนาคารสินค้าเกษตร(ธนาคารข้าว) ให้มากขึ้น และเชิญชวน สมาชิกมายืมปัจจัยการผลิต เพื่อลดต้นทุน กิจกรรมการประชาสัมพันธ์โครงการธนาคารสินค้าเกษตร(ธนาคารข้าว) สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด 128


การช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร รัฐบาลนอกจากจะมีนโยบายในการดูแลเกษตรกรให้มีรายได้ที่เหมาะสมด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อยในเรื่องปัจจัยการผลิตเพื่อลดต้นทุนการผลิตให้เกษตรกร ตลอดจนถึง การใช้กลไกตลาดดูแลราคาสินค้าเกษตรแล้ว ยังให้ความส าคัญในการแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตรกร ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ให้ความส าคัญในการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาล จึงได้มีนโยบาย ในการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เพื่อพัฒนาเกษตรกรให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ขึ้น และสามารถพึ่งพาตนเองได้โดยแบ่งแนวทางการช่วยเหลือเป็น 2 ประเด็นหลัก ดังนี้ 1. การช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรตามโครงการในแผนปฏิบัติงาน งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 1.1 โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ประสบอุทกภัย ปี 2559/60 ความเป็นมาของโครงการ โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ประสบอุทกภัย ปี 2559/60 ได้รับความเห็นชอบให้ดาเนินโครงการตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2559 และเพิ่มเติมเมื่อวันที่ 31 มกราคม 2560 ดังนี้ (1.1) คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2559 มีมติเห็นชอบในมาตรการ ช่วยเหลือเยียวยาเกษตรกรผู้ประสบอุทกภัย ปี2559/60 ซึ่งในส่วนของกรมส่งเสริมสหกรณ์ได้รับ อนุมัติงบประมาณ เพื่อดาเนินการตามมาตรการให้ความช่วยเหลือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ ประสบอุทกภัย ปี2559/60 กรอบวงเงินงบประมาณ 102 ล้านบาท เพื่อชดเชยดอกเบี้ยให้กับ สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในมูลหนี้ที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย จานวน 41 จังหวัด (1.2) คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 31 มกราคม 2560 เห็นชอบกรอบแนวทางและ แผนการช่วยเหลือฟื้นฟูเกษตรกรที่ประสบอุทกภัยภาคใต้ปี2559/60 ซึ่งกรมส่งเสริมสหกรณ์ได้รับ ความเห็นชอบ ในการดาเนินมาตรการให้ความช่วยเหลือสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ประสบ อุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ ปี2559/60 ในกรอบวงเงินงบประมาณ 451.350 ล้านบาท จานวน 12 จังหวัด (1.3) กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้รับอนุมัติงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จานวน 110.000 ล้านบาท ในการขอรับการชดเชยดอกเบี้ยให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร (จากการส ารวจครั้งหลังสุด) เพื่อดาเนินมาตรการในภาพรวมตามโครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ประสบอุทกภัย ปี 2559/60 เพื่อชดเชยดอกเบี้ยให้สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรแทนสมาชิกในสัญญาเงินกู้ที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยในอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3 ต่อปี ระยะเวลา 6 เดือน 129


วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการช่วยเหลือบรรเทาภาระหนี้สิน และลดต้นทุนของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ประสบอุทกภัย ผลการด าเนินงาน 1.2. โครงการพักชาระหนี้ต้นเงินและลดดอกเบี้ยให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ปลูกข้าว ปีการผลิต 2559/60 ความเป็นมาของโครงการ 1. คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2559 มีมติเห็นชอบในหลักการและกรอบวงเงิน งบประมาณของมาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปีการผลิต 2559 ด้านการเงินของธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร โครงการพักชาระหนี้ต้นเงินและลดดอกเบี้ยเกษตรกรผู้ปลูก ข้าว ปี2559/60 กลุ่มเป้าหมายให้การช่วยเหลือเกษตรกรลูกค้า ธ.ก.ส. ที่มีหนี้เงินกู้เพื่อการผลิต ข้าวกับ ธ.ก.ส. ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2559 จานวนไม่เกิน 500,000 บาท ระยะเวลา 2 ปี 2. คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2560 ลงมติเห็นชอบสนับสนุนงบประมาณรายจ่าย ประจาปีให้กรมส่งเสริมสหกรณ์เพื่อด าเนินโครงการพักหนี้ต้นเงินและลดดอกเบี้ยให้สมาชิกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรที่ปลูกข้าว ปีการผลิต 2559/60 130


วัตถุประสงค์ 1. เพื่อบรรเทาภาระหนี้สินและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพทานาของสมาชิกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ประกอบอาชีพทานามีโอกาสนาเงินที่ต้องส่งชาระ หนี้ไปฟื้นฟูตนเองในการประกอบอาชีพ ตลอดจนมีเงินทุนไว้เป็นค่าใช้จ่ายในครัวเรือน 3. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเอง มีรายได้เพียงพอในการชาระหนี้ได้ภายหลังได้รับการพักชาระหนี้ ผลการด าเนินงาน สกก.เพชรบูรณ์ จก. มีซ้ าซ้อน 2 ราย แจ้งให้สหกรณ์จ่ายเงินชดเชยดอกเบี้ยแก่สมาชิกแล้ว 1.3 เงินอุดหนุนเพื่อชดเชยดอกเบี้ย ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ประสบอุทกภัยปี 2560 (พายุตาลัส/เซินกา) งบประมาณคงเหลือ 872,168.29 – 368,714.06 = 503,454.23 บาท 131


โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่ม มีการบริหารจัดการร่วมกัน เพื่อให้เกิดการรวมกัน ผลิตและร่วมกันจ าหน่ายโดยมีตลาดรองรับที่แน่นอน เพื่อให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตและ มีผลผลิตต่อหน่วยเพิ่มขึ้น รวมทั้งผลผลิตมีคุณภาพได้มาตรฐาน เป้าหมาย แปลงใหญ่ ปี 59 จ านวน 5 แปลง เป้าหมาย แปลงใหญ่ ปี 60 จ านวน 23 แปลง เป้าหมาย แปลงใหญ่ ปี 61 จ านวน 15 แปลง 2. ผลการด าเนินงาน : ส่งเสริมการรวมกลุ่มและการจัดท าแผนการตลาดสินค้าเกษตรแปลงใหญ่ จัดประชุมส่งเสริม การรวมกลุ่มและจัดท าแผนการตลาด แปลงใหญ่ในจังหวัดเพชรบูรณ์ จ านวน 43 แปลง สมาชิก แปลงใหญ่จ านวน 1,823 ราย จัดท าท าบันทึกข้อตกลง (MOU) ระหว่างแปลงใหญ่กับผู้ประกอบการ รับซื้อผลผลิต 3. ผลลัพธ์ : (ระบุทั้งผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ส่งเสริมการรวมกลุ่มและการจัดท าแผนการตลาดสินค้าเกษตรแปลงใหญ่ จ านวน 43 แปลง จัดท าบันทึกข้อตกลง (MOU) ระหว่างแปลงใหญ่กับผู้ประกอบการรับซื้อ ผลผลิต จ านวน 16 แปลง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์ได้รับการพัฒนาโดยความร่วมมือประชารัฐ ผลิตภัณฑ์ของสหกรณ์ได้รับการแปรรูป/สร้างมูลค่าเพิ่ม 1 ผลิตภัณฑ์ กิจกรรมการรวมกลุ่มและการจัดท าแผนการตลาด สินค้าเกษตรแปลงใหญ่ แปลงใหญ่ข้าวสหกรณ์การเกษตรวิเชียรบุรี จ ากัด กิจกรรมการรวมกลุ่มและการจัดท าแผนการตลาด สินค้าเกษตรแปลงใหญ่ แปลงใหญ่ข้าวสหกรณ์โคนมศรีเทพ จ ากัด 132


การพัฒนาเกษตรกรสู่ Smart Farmer หลักการและเหตุผล ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ก าหนดนโยบายการพัฒนาเกษตรกรให้เป็น Smart Farmer โดยมี Smart Officer เป็นเพื่อนคู่คิด เพื่อให้เกษตรกรไทย มีความพร้อม มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในการประกอบอาชีพด้านการเกษตร สอดคล้องกับวิถีชีวิต และลักษณะการ ประกอบการของแต่ละบุคคล มีการให้ความส าคัญในการใช้องค์ความรู้ และข้อมูลในการตัดสินใจ มี การน าเทคโนโลยี ภูมิปัญญา และวิธีการปฏิบัติที่ดีมาใช้ หรือพัฒนา โดยตระหนักถึงคุณภาพและ ปริมาณ ความต้องการของตลาด รวมถึงความปลอดภัยต่อผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริม สหกรณ์ ได้เล็งเห็นว่า การที่จะให้เกษตรกรเกิดความเข้มแข็งมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากจะมีความรู้ ด้านการสหกรณ์ เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกันตามวิธีการ สหกรณ์แล้ว ควรจะมีความรู้ในด้านต่าง ๆ ที่เหมาะสม ได้แก่ ความรู้ในเรื่องการเกษตรที่ตนท าอยู่ มี ข้อมูลที่จะใช้ในการประกอบการตัดสินใจในการผลิตและการตลาด รวมทั้งมีความตระหนักถึงคุณภาพ ของสินค้าเกษตรที่ตนผลิตและความปลอดภัยต่อผู้บริโภคที่จะซื้อสินค้าของตน มีความรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อมและสังคมที่ตนอาศัยอยู่ และท้ายสุดมีความภาคภูมิใจในอาชีพเกษตรของตน สามารถ ถ่ายทอดประสบการณ์ความรู้ไปยังเกษตรกรรายอื่นได้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ กรมส่งเสริมสหกรณ์เล็งเห็นความส าคัญของเกษตรกรรุ่น ใหม่ (Young Smart Farmer) ที่ประกอบอาชีพและมีความสามารถด้านการเกษตร สามารถทดแทน เกษตรกรรุ่นสูงอายุ เป็นผู้ที่สามารถน าเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิต การบริหารการจัดการ และการตลาดสินค้าเกษตร โดยไม่จ ากัดเพศ มีอายุระหว่าง ๑๗-๔๕ ปี จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ขึ้นไป ซึ่งต้องเป็นผู้ผ่านการคัดกรองสามารถผ่านคุณสมบัติ เบื้องต้นคือ มีรายได้ไม่ต่ ากว่า ๑๘๐,๐๐๐ บาท/ครัวเรือน/ปี และผ่านคุณสมบัติพื้นฐานครบทั้ง ๖ ข้อ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบูรณ์ในฐานะหน่วยงานสนองนโยบายของผู้เกี่ยวข้องได้รับงบประมาณ จากกรมส่งเสริมสหกรณ์ให้ด าเนินการร่วมกับสหกรณ์ในพื้นที่มีความต้องการให้เกษตรกรผู้สนใจเข้า ร่วมโครงการมีความรู้ที่เหมาะสมกับสถานการณ์และที่เป็นที่น่าสนใจในปัจจุบันและในอนาคต จึงได้ ก าหนดให้มีโครงการ “การพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ (Young Smart Farmer)” ขึ้น วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาเกษตรกรของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีศักยภาพทั้งทางด้าน การผลิต การแปรรูปและการตลาด ในการประกอบอาชีพด้านการเกษตร และให้เกษตรกรสมาชิก กลุ่มเป้าหมายมีรายได้เพิ่มขึ้น พร้อมที่จะพัฒนาให้มีคุณสมบัติของเกษตรกรสมาชิกปราดเปรื่อง (Smart Farmer) 133


กลุ่มเป้าหมาย เยาวชนทายาทของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ไม่จ ากัดเพศ อายุไม่เกิน ๔๕ ปี หรือ สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เป็นคนรุ่นใหม่อยู่ในวัยท างาน มีความพร้อมสามารถที่จะพัฒนาเป็น Smart Farmer จ านวน ๖๕ ราย ตัวชี้วัด 1. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีรายได้ไม่ต่ ากว่า ๑๘๐,๐๐๐ บาทครัวเรือน/ปี 2. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีคุณสมบัติด้านรายได้ และคุณสมบัติพื้นฐานของเกษตรกร ปราดเปรื่องครบทั้ง ๖ ข้อ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๐ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีรายได้/ชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น 2. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถบริหารจัดการและพัฒนาอาชีพตนเองได้ 3. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถให้ค าแนะน า/ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกรรายอื่นได้ 4. เกิดเกษตรกรรุ่นใหม่ (Young Smart Farmer) 134


ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร [ศพก.] วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อทราบผลการเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่าง ศรร. ศพก. สหกรณ์ภาคการเกษตร ๒. เพื่อเป็นแนวทางน าไปใช้พัฒนางานให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ๓. เพื่อขยายผล ศรร. สู่สารธารณะให้ผู้สนใจสามารถน าไปประยุกต์ใช้ ผลการด าเนินงาน 1. สนับสนุนวิทยากรถ่ายทอดความรู้เรื่องการสหกรณ์ การรวมกลุ่ม การบริหารจัดการกลุ่ม ในรูปแบบสหกรณ์จ านวน 11 ศูนย์ 2. สนับสนุนสื่อการเรียนรู้ด้านการสหกรณ์จ าวน 11 ศูนย์ 135


โครงการพัฒนาสถาบันเกษตรกรจัดเก็บพืชผลทางการเกษตร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินงานโครงการ : พัฒนาสถาบันเกษตรกรจัดเก็บพืชผลทางการเกษตร สนับสนุนอุปกรณ์แปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เป้าหมาย เพื่อก่อสร้างอุปกรณ์เพื่อจัดเก็บพืชผลผลิตทางการเกษตรและอุปกรณ์การตลาด เพื่อใช้ในกระบวนการรวบรวมผลผลิตจากสมาชิกและเกษตรกรในพื้นที่ พื้นที่ด าเนินการ 1. สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด อ าเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ 2. สหกรณ์การเกษตรบึงสามพัน จ ากัด อ าเภอบึงสามพัน จังหวัดเพชรบูรณ์ 3. สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด อ าเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ 4. สหกรณ์ผลิตผักน้ าดุกใต้ จ ากัด อ าเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ 2. ผลการด าเนินงาน : 1. สหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด - เครื่องอบลดความชื้น ผลการจัดซื้อจัดจ้าง 36,990,000 บาท รัฐอุดหนุน 33,291,000 บาท สมทบ 3,699,000 บาท อยู่ระหว่างด าเนินการก่อสร้าง - โกดังขนาด 5,000 ตัน ผลการจัดซื้อจัดจ้าง 9,557,000 บาท รัฐอุดหนุน 6,755,300 บาท สมทบ 2,801,000 บาท อยู่ระหว่างด าเนินการก่อสร้าง -ลานตากขนาด 4,000 ตรม. ผลการจัดซื้อจัดจ้าง 2,528,000 บาท รัฐอุดหนุน 1,858,300 บาท สมทบ 669,700 บาท อยู่ระหว่างด าเนินการก่อสร้าง 2. สหกรณ์การเกษตรบึงสามพัน จ ากัด - เครื่องชั่งพร้อมชุดติดตั้งฐานราก ขนาด 40 ตัน ผลการจัดซื้อจัดจ้าง 399,500 บาท รัฐอุดหนุน 359,550 บาท สมทบ 39,950 บาท ด าเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จ 3. สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด -ฉาง ขนาด 2,000 ตัน ผลการจัดซื้อจัดจ้าง 9,500,000 บาท รัฐอุดหนุน 8,550,000 บาท สมทบ 950,000 บาท อยู่ระหว่างด าเนินการก่อสร้าง -ลานตาก ขนาด 6,500 ตัน ผลการจัดซื้อจัดจ้าง 3,190,000 บาท รัฐอุดหนุน 2,871,000 บาท สมทบ 319,000 บาท อยู่ระหว่างด าเนินการก่อสร้าง - เครื่องชั่งพร้อมห้องควบคุม ขนาด 80 ตัน ผลการจัดซื้อจัดจ้าง 1,190,000 บาท รัฐอุดหนุน 1,071,000 บาท สมทบ 119,000 บาท อยู่ระหว่างด าเนินการก่อสร้าง โครงการไทยนิยม ยั่งยืน ของกรมส่งเสริมสหกรณ์(งบประมาณเพิ่มเติม ปี 2561) 136


3. ผลสัมฤทธิ์ที่เป็นรูปธรรมต่อเกษตรกรสมาชิกและชุมชน : สหกรณ์การเกษตรบึงสามพัน จ ากัด ที่ด าเนินการก่อสร้างเครื่องชั่งพร้อมชุดติดตั้งฐานราก ขนาด 40 ตัน แล้วเสร็จ สามารถใช้ประโยชน์ในการชั่งผลผลิตข้าวเปลือกของเกษตรกร โดยสหกรณ์ รวบรวมข้าว จ านวน 450 ตัน ผู้มาใช้บริการ แบ่งเป็นสมาชิก 200 ราย และเกษตรกรทั่วไป 80 ราย 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข การด าเนินการก่อสร้างมีการเปลี่ยนแปลงตามพื้นที่หน้างาน และในช่วงเวลาการก่อสร้างเป็น ฤดูฝนท าให้ด าเนินการก่อสร้างไม่ตามเป้าหมาย แนวทางแก้ไข โดยการแนะน าให้สหกรณ์แจ้งผู้ รับจ้างท าหนังสือชี้แจงและแนวทางปรับแบบและแนวทางการแก้ไขที่ชัดเจน ภาพกิจกรรม การก่อสร้างเครื่องชั่งพร้อมชุดติดตั้งฐานราก ขนาด 40 ตัน ด าเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จ ณ สหกรณ์การเกษตรบึงสามพัน จ ากัด 137


การก่อสร้างลานตาก ขนาด 6,500 ตรม. และฉาง ขนาด 2,000 ตัน ก าลังด าเนินการก่อสร้าง โครงสร้างหลังคา ณ สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด การก่อสร้างเครื่องชั่งพร้อมห้องควบคุม ขนาด 80 ตัน ณ สหกรณ์การเกษตรหนองไผ่ จ ากัด การก่อสร้างเครื่องอบลดความชื้นพร้อมโรงคลุม ขนาด 500 ตัน ของสหกรณ์การเกษตรเพชรบูรณ์ จ ากัด ก าลังด าเนินการก่อสร้าง 138


Click to View FlipBook Version