๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒
๑. เชญิ พระแสงหอกเพชรรัตน์ นายรองพิจติ รสรรพการ (จิตร์ เทพาค�า)
๒. เชิญพระมหาพิชยั มงกฎุ พระยาเทพาภรณ์ (ร่ืน วัชโรทยั ภายหลงั เป็นพระยาวงศาภรณ์ภูษิต)
๓. เชิญพระแสงจกั ร นายขนั หุม้ แพร (ชว่ ง พัลลภ ภายหลงั เปน็ พระยาอนิ ทราภบิ าล)
๔. เชิญพระมณฑป นายโสภณอศั ดร (ล่วม จุลละ)
๕. เชิญพระแสงตรี นายพลพนั ธหมุ้ แพร (อยู่ ยวุ เสวี ภายหลังเป็นพระสมานบริกร)
๖. เชญิ ธารพระกร พระอัศวบดีศรสี รุ พาหน (เทยี บ อัศวรกั ษ์ ภายหลังเป็นพระยาคทาธรบดีสีหราชบาลเมือง)
๗. เชิญพระแส้หางช้างเผอื ก นายจ่าเรศ (โถ สุจริตกลุ ภายหลังเปน็ พระยาอดุ มราชภกั ด)ี
๘. เชญิ พระแสงปนื คาบชดุ ขา้ มแม่น้�าสะโตง นายฉนั หมุ้ แพร (พว่ ง วัชรเสวี ภายหลังเปน็ พระยาดา� รงวธิ ีร�า)
๙. เชิญพระสพุ รรณศรบี วั แฉก นายสุนทรมโนมัย (ม.ล. ฟน้ื พ่ึงบุญ ภายหลงั เปน็ พระยาอนริ ทุ ธเทวา)
๑๐. เชิญพระเต้าทักษิโณทก นายเสน่หห์ ุ้มแพร (จติ ร์ ไกรฤกษ์ ภายหลงั เปน็ หลวงนิกรจ�านง)
๑๑. เชญิ พระธา� มรงค์วเิ ชียรจนิ ดา พระราชโกษา (อ่นุ ไชยาค�า ภายหลังเปน็ พระยาบ�าเรอภักด)ิ์
๑๒. เชญิ พดั โบก นายเสนองานประพาศ์ (เนยี ร สาคริก ภายหลงั เป็นพระยาบรหิ ารราชมานพ)
๑๓. เชญิ พดั โบก นายชติ หุ้มแพร (ฮกั บนุ นาค ภายหลังเป็นพระสุรพันธาทพิ ย)์
๑๔. เชญิ พระแสงเขนมีดาบ นายพินัยราชกิจ (เคลือบ โกสุม ภายหลังเปน็ พระพา� นกั นัจนิกร)
๑๕. เชญิ พัดวาลวิชนี หลวงศกั ดินายเวร (เลก็ โกมารภจั ภายหลังเป็นพระยาอัศวบดศี รสี รุ พาหน)
๑๖. เชญิ พระแสงดาบเชลย นายรองขนั (พราว บุณยรตั พนั ธ์ุ ภายหลังเป็นจม่ืนทรงสุรกจิ )
๑๗. เชิญฉลองพระบาท นายจ่ายง (กุหลาบ โกสมุ ภายหลังเป็นพระราชวรนิ ทร)์
๑๘. เชิญพระแสงของา้ วแสนพลพา่ ย นายรองวิชยั ดุรงค์ฤทธ์ิ (ยม กสกิ ร)
๑๙. เชญิ พระแสงขรรค์ชัยศรี เจา้ หมื่นสรรเพธภกั ดี (ม.ล. เฟือ้ พ่ึงบญุ ภายหลงั เป็นเจ้าพระยารามราฆพ)
๒๐. เชญิ พระมหาเศวตฉัตร จมืน่ จงภักดีองค์ขวา (ม.ร.ว. โปะ๊ มาลากลุ ภายหลังเป็นพระยาชาตเิ ดชอุดม)
๒๑. เชญิ พระแสงศรกา� ลงั ราม นายสดุ จนิ ดา (จา� ลอง สวสั ดชิ ูโต ภายหลังเป็นพระยาจนิ ดารักษ์)
๒๒. คนยนื หลงั หมายเลข ๒๑ เหน็ แตย่ อดหมวก นายพนิ จิ ราชการ (สวา่ ง เทพาคา� ภายหลงั เปน็ พระเสนาพพิ ธิ )
97
พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
98
พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก
พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจ้าอยู่หวั และสมเด็จพระนางเจา้ รา� ไพพรรณี พระบรมราชนิ ี
เสด็จออกมุขเดจ็ พระที่นัง่ จักรีมหาปราสาท ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ ม
ให้ประชาชนเฝา้ ทลู ละอองธลุ ีพระบาทถวายพระพรชยั มงคล
วนั ท่ี ๒๗ กมุ ภาพันธ์ พทุ ธศกั ราช ๒๔๖๘
99
พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
และสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ี ในพระราชพธิ เี ฉลมิ พระราชมณเฑยี ร และสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ี เสดจ็ ออก ณ ทอ้ งพระโรงกลาง
วนั ท่ี ๖ พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๓ พระทน่ี ง่ั จกั รมี หาปราสาท พระราชทานพระบรมราชวโรกาสใหค้ ณะทตู านทุ ตู
และกงสลุ เฝา้ ทลู ละอองธลุ พี ระบาท ถวายพระพรชยั มงคล
วนั ท่ี ๗ พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๓
100
พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ี
เสดจ็ ออกสหี บญั ชร พระทน่ี ง่ั พทุ ไธสวรรยป์ ราสาท ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม
ใหป้ ระชาชนเฝา้ ทลู ละอองธลุ พี ระบาทถวายพระพรชยั มงคล
วนั ท่ี ๗ พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๓
101
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจา้ อยูห่ วั ทรงเครอ่ื งบรมขตั ติยราชภษู ิตาภรณ์ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงเครอื่ งบรมขตั ตยิ ราชภษู ติ าภรณ์
และฉลองพระองค์ครยุ ทรงพระมหามาลาเสา้ สงู ถอื พระแสงดาบญปี่ นุ่ และฉลองพระองค์ครยุ ทรงพระมหามาลาเสา้ สงู
ถือพระแสงดาบญ่ปี ุ่น
102
พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร
ทรงเครอื่ งบรมขตั ตยิ ราชภษู ติ าภรณ์ และฉลองพระองคค์ รยุ ทรงพระมหามาลาเสา้ สงู
103
พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก
เจา้ พนกั งานเชญิ พระกรรภริ มย์ หนา้ ขบวนเสดจ็ พระราชดา� เนนิ จากพระมหามณเฑยี ร
ผา่ นพระทน่ี ง่ั จกั รมี หาปราสาทไปยงั พระทน่ี ง่ั ดสุ ติ มหาปราสาท
วนั ท่ี ๕ พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๓
104
พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
ขบวนเสดจ็ พระราชดา� เนนิ เทยี บเกยพระทน่ี ง่ั อาภรณพ์ โิ มกขป์ ราสาท
105
พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก
106
พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร
ประทบั พระทน่ี ง่ั ราชยานพดุ ตานทอง เสดจ็ พระราชดา� เนนิ โดยขบวนราบใหญ่
ผา่ นประตสู นามราชกจิ ไปยงั วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม
107
พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ประทบั พระที่น่ังราชยานพดุ ตานทอง เสดจ็ พระราชดา� เนนิ โดยขบวนพยุหยาตราทางสถลมารค
เลียบพระนคร มาทางถนนพระสุเมรุ วันที่ ๑ มนี าคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๖๘
108
พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก
พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยู่หวั ประทบั พระที่นั่งราชยานพุดตานทอง
เสดจ็ พระราชด�าเนินถึงเกยพลบั พลาเปลื้องเครอื่ ง หนา้ วดั บวรนเิ วศวิหาร
109
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ประทบั พระทน่ี ่ังราชยานถมตะทอง
เสดจ็ พระราชดา� เนินจากท่าเทียบเรือหน้าวัดอรณุ ราชวรารามไปยงั พระอโุ บสถ
วนั ที่ ๓ มีนาคม พทุ ธศักราช ๒๔๖๘
110
พระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก
พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อยูห่ วั
เสด็จออกจากพระอุโบสถวดั อรุณราชวราราม
วันท่ี ๓ มนี าคม พุทธศกั ราช ๒๔๖๘
111
พระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก
พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หวั เสดจ็ พระราชด�าเนนิ ประทบั พระที่น่ังบุษบก
ในเรอื พระท่นี ง่ั อนันตนาคราช ณ ทา่ วัดอรณุ ราชวราม
วันที่ ๓ มนี าคม พุทธศักราช ๒๔๖๘
112
พระราชพิธบี รมราชาภิเษก
พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอย่หู ัว เสด็จข้นึ จากเรือพลับพลาที่ท่าราชวรดฐิ ภายหลงั เสด็จพระราชด�าเนนิ กลับจาก
วัดอรณุ ราชวราราม ในการเสด็จโดยขบวนพยหุ ยาตราทางชลมารคเลียบพระนคร
วนั ท่ี ๓ มีนาคม พุทธศกั ราช ๒๔๖๘
113
พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก
พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั เสด็จพระราชดา� เนนิ จากพลบั พลาเปลอ้ื งเครื่อง
ประทบั พระทนี่ ัง่ ราชยานพุดตานทอง หนา้ วัดบวรนิเวศวหิ าร ในขบวนเสดจ็ พยหุ ยาตราทางสถลมารคเลยี บพระนคร
ในพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกสมโภช วนั ท่ี ๓ ธนั วาคม พทุ ธศักราช ๒๔๕๔
114
พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก
พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว
เสด็จพระราชดา� เนินโดยขบวนพยุหยาตราทางสถลมารคเลียบพระนคร
115
พระราชพธิ บี รมราชาภิเษก
เรอื พระท่นี ง่ั ศรีสพุ รรณหงส์ เรอื พระที่นั่งล�าทรง โดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารคเลียบพระนคร
ในพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษกสมโภช วันที่ ๔ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๕๔
116
พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก
พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยหู่ วั เสด็จพระราชด�าเนนิ โดยขบวนพยุหยาตรา
ทางชลมารคเลยี บพระนคร เสด็จข้นึ ทา่ ฉนวน วัดอรณุ ราชวราราม
117
พระราชพิธบี รมราชาภิเษก
118
พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
ภาคผนวก
119
พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก
120
พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
พระปฐมบรมราชโองการ
หลังจากพิธีถวายสิริราชสมบัติและเครื่องราชกกุธภัณฑ์ท่ีพระท่ีน่ังภัทรบิฐแล้ว
พระครูพราหมณ์ฝ่ายต่าง ๆ ถวายพระพรชัยมงคล จากน้ันพระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์
จะมพี ระปฐมบรมราชโองการ ในสมัยรชั กาลท ่ี ๕ เพมิ่ ภาษามคธ อกี ภาษาหนงึ่ ด้วย
พระปฐมบรมราชโองการ ปรากฏความอยู่ในเอกสารหลายฉบับ มีความแตกต่างกันบ้าง
เล็กน้อย ในหนังสือเล่มน้ียึดตามหนังสือ ประมวลภาพประวัติศาสตร์ไทย พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
สมัยรัตนโกสินทร์ ของคณะอนุกรรมการพิจารณาจัดท�าหนังสือประมวลภาพประวัติศาสตร์ไทย ใน
คณะกรรมการช�าระประวัติศาสตร์ไทย ซงึ่ ปรากฏความดังนี้
121
พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก
พระปฐมบรมราชโองการ
พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช
พทุ ธศักราช ๒๓๒๘
“พรรณพฤกษ ชลธี แลสิง่ ของในแผน่ ดนิ ท่ัวเขตพระนคร ซึง่ หาผู้หวงแหนมิได้นั้น
ตามแตส่ มณชพี ราหมณาจารยร์ าษฎรปรารถนาเถดิ ...”
122
พระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก
123
พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
พระปฐมบรมราชโองการ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย
วันท่ี ๑๗ กนั ยายน พทุ ธศักราช ๒๓๕๒
“แต่บรรดาพฤกษาและแม่น้า� ใหญ่ นอ้ ย และส่งิ ของทั้งปวง ซึ่งมีในแผน่ ดิน
ทวั่ ขอบเขตแดนพระนคร ซึ่งหาเจา้ ของหวงแหนมไิ ด้
ใหพ้ ระราชทานแก่ สมณะ พราหมณ อณาประชาราษฎร์ทงั้ ปวง ตามแต่ปรารถนาเถดิ ”
124
พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก
125
พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
พระราชโองการปฏสิ ันถาร*
พระบาทสมเด็จพระน่งั เกล้าเจา้ อยู่หวั
วันท่ี ๑ สิงหาคม พุทธศกั ราช ๒๓๖๗
“เจา้ พระยา และพระยา ของซ่ึงถวายทั้งน้ี
จงจดั แจงบ�ารงุ ไว้ให้ดี จะได้รักษาแผ่นดนิ ”
* ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่พบหลักฐานพระปฐมบรม
ราชโองการหลงั จากพธิ ถี วายสริ ริ าชสมบตั แิ ละเครอ่ื งสริ ริ าชกกธุ ภณั ฑท์ พี่ ระทนี่ งั่ ภทั รบฐิ พบแต่ “พระราชโองการปฏสิ นั ถาร”
ในการเสด็จออกมหาสมาคม ซงึ่ โปรดใหพ้ ระบรมวงศานวุ งศ์ และขุนนางทัง้ ฝา่ ยทหารและพลเรือนเขา้ เฝา้ เพื่อรบั การถวาย
ราชสมบตั ิ จากนน้ั จงึ มพี ระราชโองการตรสั ปฏสิ นั ถารกบั เจา้ พระยาและพระยาทง้ั ปวง ซงึ่ มเี นอ้ื ความเดยี วกนั ทกุ รชั กาล ตอ่ มา
ภายหลังพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้ยกเลิกพิธีส่วนน้ี มีแต่เพียงการถวายพระพรชัยมงคลจากขุนนาง
ฝา่ ยหนา้ และขา้ ทูลละอองธุลีพระบาทฝา่ ยในเท่านนั้
126
พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
127
พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
พระปฐมบรมราชโองการ
พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว
วันท่ี ๑๕ พฤษภาคม พทุ ธศักราช ๒๓๙๔
“พรรณพฤกษ ชลธีแลส่ิงของในแผ่นดินทั่วเขตพระนคร
ซ่ึงหาผหู้ ว่ งแหนมิได้นนั้ ตามแต่สมณชีพราหมณาจารย์ราษฎรจะปรารถนาเถดิ ”
128
พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก
129
พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
พระปฐมบรมราชโองการ (ครัง้ แรก)
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั
วนั ท่ี ๑๒ พฤศจิกายน พทุ ธศกั ราช ๒๔๑๑
“แตบ่ รรดาท่ีไม่มีเจ้าของผลไมท้ ั้งนา้� ในหว้ ยละหารตรท่ากด็ ี
ตามแต่สมณพราหมณาจารยอาณาประชาราษฎร จะมาแตจ่ ตุระทศิ ต่างๆ ตามแต่จะปรารถนา”
พระปฐมบรมราชโองการ (ครัง้ หลงั )
วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน พุทธศกั ราช ๒๔๑๖
ค�าภาษามคธ
“อทิ านาห� สพฺเพส� อนมุ ติยา ราชา มุทธฺ าวสติ โฺ ต สยฺ าเมสุ อสิ ฺสราธิปจจฺ �
รชฺช� กาเรมิธ ธมมฺ กิ ราชปเวณิยา อนุชานามิ ยนฺติ สยฺ ามวิชิเต อปรปรคิ คฺ หติ �
ตณิ กฏโฺ จทก� สมณพรฺ าหฺมณาทโย สพเฺ พสฺยามรฏฐฺ ิกา ยถาสุข� ปรภิ ุญฺชนตฺ ุฯ”
ค�าแปล
“ครัง้ น้ีท่านทงั้ ปวงพร้อมใจกัน ยอมใหเ้ ราเปนเจ้าครองราชสมบัติได้รับมรุ ธาภิเษก
เปนใหญ่ในสยามราษฎร์วราณาจักรน้แี ลว้ เราอนุญาตยอมให้ โดยธรรมกิ ราชประเพณี
พรรณพฤกษชลธีในสยามราษฎรว์ ราณาจกั รนี้ ซงึ่ ไม่มีเจา้ ของหวงแหนนน้ั ตามแต่สมณ
พราหมณาจารย์ ประชาราษฎรทงั้ ปวงจะปรารถนาใช้สอยเทอญ ฯ”
130
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
131
พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
พระปฐมบรมราชโองการ
พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอย่หู วั
วนั ที่ ๑๑ พฤศจิกายน พุทธศกั ราช ๒๔๕๓
ค�าภาษามคธ
“อิทานาห� พรฺ าหฺมณา ราชภาร� วหนโฺ ต พหโุ น ชนสฺส อตถฺ าย หิตาย สขุ าย
ธมเฺ มน สเมน รชชฺ � กาเรมิ ตุมฺหาก� สปริคคฺ หติ าน� อุปริ ราชก� อาณ� ปสาเรตวฺ า
นาโถ หตุ ฺวา ธมฺมกิ � รกฺขาวรณคตุ ตฺ ี ส�วทิ หามิ วสิ ฺสฎฐฺ า หุตวฺ า ยถาสุข� วหิ รถ ฯ
ค�าแปล
“ดกู รพราหมณ์ บดั นี้เราทรงราชภาระครองแผน่ ดนิ โดยธรรมสม่�าเสมอ เพ่ือประโยชน์
เกื้อกูลและสุขแห่งมหาชน เราแผร่ าชอาณาเหนือทา่ นทั้งหลายกับโภคสมบัติ เปนท่พี ่ึง
จัดการปกครองรักษาปอ้ งกัน อันเปนธรรมสบื ไป ท่านทั้งหลายจงวางใจอย่ตู ามสบาย เทอญ ฯ”
132
พระราชพิธบี รมราชาภิเษก
133
พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
พระปฐมบรมราชโองการ
พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว
วนั ที่ ๒๕ กมุ ภาพนั ธ์ พทุ ธศักราช ๒๔๖๘
ค�าภาษามคธ
“อิทานาห� พรฺ าหมฺ ณ ราชภาร� วหนฺโต พหุโน ชนสสฺ อตถฺ าย หติ าย สขุ าย
ธมเฺ มน สเมน รชชฺ � กาเรมิ ตุมหฺ าก� สปริคคฺ หติ าน� อปุ ริ ราชก� อาณ� ปสาเรตฺวา
นาโถ หุตวฺ า ธมมฺ ิก� รกขฺ าวรณคตุ ฺตี สว� ิทหามิ วิสสฺ ฎฺฐา หตุ ฺวา ยถาสขุ � วหิ รถ ฯ
คา� แปล
“ดูกรพราหมณ์ บดั นีเ้ ราทรงราชภาระครองแผ่นดนิ โดยธรรมสมา่� เสมอ เพอื่ ประโยชน์
เก้อื กลู และสขุ แห่งมหาชน เราแผร่ าชอาณาเหนอื ทา่ นท้ังหลายกับโภคสมบตั ิ เปนท่ีพ่งึ
จดั การปกครองรักษาปอ้ งกัน อันเปนธรรมสืบไป ทา่ นทั้งหลายจงวางใจอยู่ตามสบาย เทอญ ฯ”
134
พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก
135
พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล พระอฐั มรามาธบิ ดนิ ทร
เสดจ็ สวรรคตกอ่ นทรงรับพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
136
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
137
พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
พระปฐมบรมราชโองการ
พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร
วันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓
“เราจะครองแผน่ ดินโดยธรรม เพ่อื ประโยชนส์ ขุ แห่งมหาชนชาวสยาม”
138
พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก
139
พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
140
พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
ที่ ๑๑/๒๔๙๓ ก�าหนดการ
พระราชพิธบี รมราชาภิเษก
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช สยามนิ ทราธริ าช
และพระราชพธิ เี ฉลมิ พระราชมนเทียร พ.ศ. ๒๔๙๓*
วนั เวลา รายการ ที่ แต่งกาย
เต็มยศ
มีน. ๑. พธิ ที า� น�้าอภเิ ษก
ปกติ
๒๔๙๓ ปกติ
๑๘ ๑๖.๐๐ น. ประธานสงฆ์ ประกาศเทวดาในการพธิ ที า� นา้�
อภเิ ษก
พทุ ธเจดยี ์
๑๕.๐๖ - จุดเทียนชยั สถานสา� คญั ตามภมู ภิ าค ๑๘ แหง่
๑๗.๑๔ น. ในราชอาณาจกั รไทย
๑๙ ๑๐.๐๐ น. ดบั เทียนชัย เลี้ยงพระ
๑๒.๐๐ น. เวียนเทียนสมโภชนา�้ อภเิ ษก
เมษ. ๒. การจารึกพระสุพรรณบฏั วดั พระศรรี ตั น
๒๔๙๓ ดวงพระบรมราชสมภพ
และพระราชลญั ฉกร
๒๐ ๑๖.๓๐ น. พระสงฆ์ ๑๐ รูปเจริญพระพทุ ธมนต์
๒๑ ๙.๒๖ - จารึกพระสุพรรณบฏั
๑๐.๓๘ น. ดวงพระบรมราชสมภพ
และพระราชลัญฉกร
เล้ียงพระ
เวียนเทยี น
พฤษภ. ๓. การทรงถวายราชสกั การะ หอพระธาตุมนเทยี ร
๒๔๙๓ สมเด็จพระบรมราชบพุ การี
๓ ๑๙.๐๐ น. ถวายบังคมพระบรมอฐั ิ และพระอัฐิ
* ตอนท ่ี ๒๗ เลม่ ๖๗ ราชกิจจานเุ บกษา ๙ พฤษภาคม ๒๔๙๓ หนา้ ๑๙๓๗ - ๑๙๔๑ (อกั ขรวธิ ีตรงตามตน้ ฉบบั )
141
พระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก
วัน เวลา รายการ ที่ แต่งกาย
๔ ๔. การพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก จากวัดพระศรรี ตั น เต็มยศจุลจอมเกลา้
๑๐.๐๐ น. เชิญพระสพุ รรณบัฏ มายงั พระราชมนเทยี ร เตม็ ยศ
ดวงพระบรมราชสมภพ พระที่น่งั ไพศาล
๑๘.๐๐ น. พระราชลัญฉกร พระทน่ี ั่งอมรนิ ทร นพรัตน สายสรอ้ ย
๑๘.๕๐ - เรม่ิ การพระราชพิธี พระที่นง่ั ไพศาล จุลจอมเกลา้
๑๙.๔๐ น. ในพระท่ี ณ พระท่ีนั่ง เต็มยศจกั รี
จุดเทียนชัย จักรพรรดิ สายสร้อย
พระท่ีน่ังไพศาล จุลจอมเกลา้
พระภกิ ษทุ รงสมณศกั ดิป์ ระกาศการ พระทนี่ ั่งอมรนิ ทร
พระราชพิธบี รมราชาภิเษก
เจริญพระพทุ ธมนต์ พระ ๕ รปู ชาลาพระท่นี ่ังจกั รพรรดิ
พระที่นั่งไพศาล
๕ เจริญพระพุทธมนต์ พระ ๓๐ รปู
๑๐.๐๐ - เจรญิ พระพุทธมนต์ พระ ๔๕ รปู พระท่นี ่งั อมรินทร
๑๑.๔๖ น. พระท่ีนั่งอมรนิ ทร
๕. บรมราชาภิเษก
๑๔.๐๐ น. สรงพระมุรธาภิเษก พระท่นี ่ังไพศาล
รบั นา้� อภิเษก ราชกกธุ ภัณฑ์
ขัตติยราชวราภรณ์ และพระแสง
เลย้ี งพระ
พระสงฆด์ บั เทยี นชยั
เสดจ็ ออกมหาสมาคม
รับคา� ถวายพระพรชัยมงคล
เสด็จประทับพระท่นี ่งั ภทั รบิฐ
สถาปนาสมเดจ็ พระบรมราชินี
ฝา่ ยในถวายพระพร
142
พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก
วนั เวลา รายการ ที่ แต่งกาย
เตม็ ยศจกั รี
๑๖.๐๐ น. เสด็จฯ กระบวนราบใหญไ่ ปทรงมนัสการ พระอุโบสถ สายสรอ้ ย
พระศรีรตั นตรัย ประกาศ วัดพระศรีรตั น จลุ จอมเกล้า
๑๘.๐๐ น. พระองคเ์ ป็นอัครสาสนปู ถมั ภก
๖ พระท่ีนัง่ ดุสติ ปกติ
พระสงฆ์ ๘๐ รูป ถวายพระพร ปกติ
๑๙.๕๔ - ถวายบังคมพระบรมอฐั ิ และพระอัฐิ สดบั ปกรณ์ เต็มยศ จักรี
๒๒.๐๒ น. สุภาพ ตามธรรมนิยม
๗ ๑๑.๐๐ น. เจา้ พนักงานเวยี นเทียนสมโภชพระราชมนเทียร พระราชมนเทยี ร
เตม็ ยศชา้ งเผือก
๖. เฉลมิ พระราชมนเทยี ร
เต็มยศ นพรัตน
เถลิงพระแทน่ พระบรรทม พระทนี่ ัง่ จักรพรรดิ
คณะทูตเฝ้าฯ ถวายพระพรชยั มงคล พระทนี่ ั่งจกั รี
๑๖.๓๐ น. ประชาชนเฝา้ ฯ ถวายพระพรชยั มงคล หน้าพระท่ีนัง่ สุทไธสวรรย์
๑๗.๐๐ น. ฝา่ ยในถวายดอกไม้ธปู เทียน พระทนี่ งั่ ไพศาล
๘ ๑๖.๓๐ น.
เฉลมิ พระนามสมเด็จพระสังฆราช และตัง้
สมณศักด์ิ พระท่นี ัง่ อมรินทร
ฝ่ายหนา้ ถวายดอกไมธ้ ูปเทียน เทศน์ มงคลสตู ร
รตั นสูตร เมตตสูตร รวม ๑ กัณฑ์
ฝา่ ยในถวายดอกไม้ธปู เทียน พระที่น่งั ไพศาล
สถาปนาพระฐานันดรศักด์ิ พระบรมราชวงศ์ พระท่นี งั่ อมรนิ ทร
ฝา่ ยหน้าถวายดอกไมธ้ ปู เทียน เทศน์
ทศพธิ ราชธรรม
จักรวรรดิวัตร
เทวตาทิสนกถา
รวม ๑ กัณฑ์
143
พระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก
144
พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
เครอื่ งราชกกธุ ภัณฑ์
การถวายเครื่องราชกกุธภัณฑ์ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เป็นประเพณีสืบเนื่องมาจากลัทธิพราหมณ์ซ่ึงมี
พระมหาราชครูพราหมณ์ เป็นผู้กล่าวค�าถวายเคร่ืองราชกกุธภัณฑ์ ถือเป็นส่ิงส�าคัญยิ่งเพราะเป็นเคร่ืองหมายแห่งความเป็น
พระราชาธิบด ี จงึ ต้องน�าขึน้ ทลู เกลา้ ฯ ถวายในพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
ต�าราปัญจราชาภิเษก กล่าวถึงเคร่ืองส�าหรับราชาภิเษกของสมเด็จพระมหากษัตริย์ประกอบด้วย พระมหามงกุฎ
พระภูษาผา้ รตั กมั พล พระขรรค ์ พระเศวตฉัตร และเกอื กทอง ซงึ่ มีความหมายคอื พระมหามงกุฎ หมายถงึ ยอดวิมานของพระอินทร์
เคร่อื งประดับผ้ารัตกัมพล หมายถึง เขาคันธมาทนอ์ นั ประดบั เขาพระสเุ มรรุ าช พระขรรค์ หมายถึง พระปัญญาอนั จะตัดมลทินถ้อย
ความไพรฟ่ า้ ขา้ แผน่ ดิน เศวตฉตั ร ๖ ชั้น หมายถึง สวรรค์ ๖ ชัน้ และเกือกทอง หมายถงึ แผ่นดนิ อนั เป็นท่ีรองรับเขาพระสุเมรรุ าช
และเปน็ ทอี่ าศยั แก่อาณาประชาราษฎรท์ ง้ั หลายท่วั แว่นแควน้ ขอบขณั ฑสมี า
เดิมเจ้าพนักงานที่รักษาเครื่องราชูปโภคได้จัดพิธีสมโภชเคร่ืองราชูปโภคและเคร่ืองราชกกุธภัณฑ์เป็นประจ�าทุกป ี
โดยเลอื กท�าในเดอื น ๖ เพราะมพี ระราชพธิ ีนอ้ ย จนถึงรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยู่หัว มพี ระราชดา� รวิ า่ วันพระบรม
ราชาภเิ ษกเปน็ วนั มงคล ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหบ้ า� เพญ็ พระราชกศุ ลสมโภชพระมหาเศวตฉตั รและเครอ่ื งราชกกธุ ภณั ฑข์ นึ้ เปน็
ครัง้ แรกใน พ.ศ. ๒๓๙๔ พระราชทานช่ือว่า พระราชพธิ ฉี ัตรมงคล ตอ่ มาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อย่หู วั ทรงพระกรณุ าโปรด
เกลา้ ฯ ใหเ้ พม่ิ การบา� เพญ็ พระราชกศุ ลถวายสมเดจ็ พระบรู พมหากษตั รยิ าธริ าชเจา้ แหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร ์ เปลย่ี นเรยี กชอื่ พระราชพธิ วี า่
พระราชกุศลทักษณิ านปุ ทาน และพระราชพิธฉี ัตรมงคล สบื มาจนปัจจบุ นั
เคร่ืองราชกกุธภัณฑ์ที่พระมหาราชครูถวายในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในสมัยรัตนโกสินทร์ ประกอบด้วยพระมหา
เศวตฉัตร พระมหาพชิ ยั มงกุฎ พระแสงขรรค์ชัยศร ี ธารพระกร วาลวชิ นี และฉลองพระบาทเชิงงอน
145
พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก
พระมหาเศวตฉตั รหรอื นพปฎลมหาเศวตฉัตร
เป็นฉัตร ๙ ชั้น หุ้มผ้าขาวมีระบาย ๓ ช้ัน ขลิบทองแผ่ลวด มียอด พระมหาเศวตฉัตรนี้ พระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรับสั่งให้หุ้มด้วยผ้าขาวแทนผ้าตาด ถือเป็นเคร่ืองราชกกุธภัณฑ์ที่ส�าคัญยิ่งกว่าราชกกุธภัณฑ์อื่นๆ
และในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้น�าข้ึนถวาย
ณ พระท่นี ่ังอัฐทศิ อุทุมพรราชอาสน์หลังจากทรงรับน�้าอภเิ ษกแล้ว
146
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก