The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ณัฎฐา ศักดิ์ศิลาพร, 2023-06-10 03:39:08

คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2566

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 151 ~ 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) - Engineering Research Methodology (ไม่นับหน่วยกิต)(ไม่นับหน่วยกิต) EN 639 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม 1 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Environmental Engineering Seminar I (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN 627 001 การแปรสภาพและการเคลื่อนที่ของสาร มลพิษ - - - 3(3-0-6) Fate and Transport of Pollutant EN 627 002 จลนพลศาสตร์และการออกแบบเครื่อง ปฏิกรณ์สำหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม - - - 3(3-0-6) Kinetics and Reactor Design for Environmental Engineering EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN 639 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 639 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 639 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 13 13 13 10 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 12 9 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ - - - 3(3-0-6) Engineering Research Methodology EN 639 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม 2 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Environmental Engineering Seminar II (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN 627 000 เคมีของน้ำ - - - 3(3-0-6) Aquatic Chemistry EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course


ปีการศึกษา 2566 ~ 152 ~ EN 639 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 639 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 639 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 13 13 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 18 24 21 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 639 993 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม 3 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Environmental Engineering Seminar III (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 639 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 639 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 639 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 639 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 10 13 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 27 33 33 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 639 994 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม 4 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Environmental Engineering Seminar IV (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต) EN 639 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 639 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 639 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 153 ~ EN 639 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 10 10 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 42 42 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 639 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 639 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 639 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 639 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 3 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 45 45 45 51 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 639 996 ดุษฎีนิพนธ์ 3 - - - Dissertation EN 639 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 639 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 639 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 3 9 3 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 48 54 48 60 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.2 แบบ 2.2 EN 639 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 639 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 63 69


ปีการศึกษา 2566 ~ 154 ~ ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.2 แบบ 2.2 EN 639 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 639 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 72 72


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 155 ~ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมเคมี 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) (ภาษาไทย) : ปร.ด. (วิศวกรรมเคมี) (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Chemical Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Chemical Engineering) 4. วัตถุประสงค์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้ 1) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การสื่อสาร เพื่อนำมาพัฒนาขยายผล สู่การพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อ สร้างศักยภาพในการผลิตของภาคอุตสาหกรรมและผลงานทางวิชาการในระดับมาตรฐานสากล 2) สามารถใช้ทักษะความรู้และความสามารถพหุสาขาในการพัฒนางานทางวิศวกรรมที่เป็นประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ และตอบสนองความเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ รวมไปถึงสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือทางวิชาการกับ สถาบันการศึกษาในต่างประเทศ 3) มีวุฒิภาวะ คุณธรรม จริยธรรม วินัย รับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว องค์กร สังคม และ ประเทศชาติ ในการ ประกอบวิชาชีพด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและมีจรรยาบรรณ 4) มีความรู้เชิงลึกและมีความสามารถในการบูรณาการแขนงความรู้และสร้างนวัตกรรมจากองค์ความรู้ใหม่ๆ สามารถ ถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการในระดับชาติและระดับนานาชาติได้ รวมไปถึงการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5) มีความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการผลิตผลงานทางวิชาการและเผยแพร่ในระดับชาติ และนานาชาติได้ 6) มีความสนใจใฝ่รู้ สามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ให้ทันต่อความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ 5. เกณฑ์การส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50.2 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการท าดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย


ปีการศึกษา 2566 ~ 156 ~ (1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดยบทความ ได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded หรือ ฐานข้อมูล Scopus หรือ ฐานข้อมูล TCI จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ (2) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดยบทความ ได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล SCOPUS จำนวน อย่างน้อย 2 บทความ หรือ (3) สิทธิบัตรการประดิษฐ์ ที่ได้รับเลขการยื่นจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา จำนวนอย่างน้อย 1 สิทธิบัตร และ บทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Article) จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ ที่ได้ตีพิมพ์หรือได้รับการตอบรับ ให้ตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ใน ฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 หรือ 2 จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ (4) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Poster เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการรูปแบบตามที่กลุ่มวิชากำหนด จึงจะสำเร็จ การศึกษาได้ 6. โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 2 2 2 2 (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - - 9 (2) หมวดวิชาเลือก - - 9 12 (3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 72 48 72 7. รายวิขา 3.1.3.7 กลุ่มวิชาวิศวกรรมเคมี (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 1.1 และ แบบ 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชา ต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (ไม่นับหน่วยกิต) (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 2.1 และ แบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชา ต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 157 ~ (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 และ แบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียน และสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 2 หน่วยกิต ดังนี้ EN 739 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมเคมี 1 1(1-0-2) Dissertation Seminar in Chemical Engineering I (ไม่นับหน่วยกิต) EN 739 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมเคมี 2 1(1-0-2) Dissertation Seminar in Chemical Engineering II (ไม่นับหน่วยกิต) หมายเหตุ สำหรับนักศึกษา แบบ 2.1 ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาอื่นที่นอกเหนือจากสาขาวิชา วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเคมีต้องศึกษารายวิชาปรับพื้นฐานทางวิศวกรรมเคมี โดยไม่คิดหน่วยกิตและมี ระดับคะแนน S โดยรายวิชาปรับพื้นฐานประกอบด้วย 4 รายวิชา จำนวน 12 หน่วยกิต ดังต่อไปนี้ EN 727 004 หลักการคำนวณสำหรับวิศวกรเคมี 3(3-0-6) Principle of Calculation for Chemical Engineers (ไม่นับหน่วยกิต) EN 727 005 อุณหพลศาสตร์สำหรับวิศวกรเคมี 3(3-0-6) Thermodynamics for Chemical Engineers (ไม่นับหน่วยกิต) EN 727 006 กระบวนการนำพา 3(3-0-6) Transport Processes (ไม่นับหน่วยกิต) EN 727 007 การออกแบบเครื่องปฏิกรณ์เคมี 3(3-0-6) Chemical Reactor Design (ไม่นับหน่วยกิต) (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษา แบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน แบบนับหน่วยกิต (Credit) และต้องมีผลการศึกษาในระดับ C ขึ้นไป จำนวน 9 หน่วยกิต ตามรายวิชาดังต่อไปนี้ EN 727 001 อุณหพลศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมีขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Chemical Engineering Thermodynamics EN 727 002 ปรากฏการณ์การนำพาขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Transport Phenomena EN 727 003 วิศวกรรมปฏิกิริยาเคมีขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Chemical Reaction Engineering (2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษา แบบ 2.1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน ในรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับ หน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมเคมี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดย ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และเลือกลงทะเบียนรายวิชาที่ไม่เคยศึกษามาในระดับ ปริญญาโท ดังนี้ นักศึกษา แบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน ในรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับ หน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมเคมี ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต หรือรายวิชาที่เปิดเพิ่มเติมภายหลัง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ EN 727 100 การป้องกันมลภาวะในกระบวนการเคมี 3(3-0-6) Pollution Prevention in Chemical Processes


ปีการศึกษา 2566 ~ 158 ~ EN 727 200 การออกแบบระบบความร้อน 3(3-0-6) Design of Thermal Systems EN 727 201 พลศาสตร์ของไหลขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Fluid Dynamics EN 727 202 การถ่ายโอนความร้อนขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Heat Transfer EN 727 300 กระบวนการแยกขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Separation Processes EN 727 301 การจำลองกระบวนการเคมี 3(3-0-6) Chemical Process Simulations EN 727 400 วิทยาศาสตร์ตัวเร่งปฏิกิริยา 3(3-0-6) Catalyst Sciences EN 727 401 เครื่องปฏิกรณ์เคมีแบบหลายวัฏภาค 3(3-0-6) Multiphase Chemical Reactors EN 727 402 วัสดุระดับนาโนในกระบวนการเคมี 3(3-0-6) Nanotechnology in Chemical Processes EN 727 403 วิศวกรรมของตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใช้แสงร่วม 3(3-0-6) Photocatalytic Reaction Engineering EN 727 500 วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ขั้นแนะนำ 3(3-0-6) Introduction to Polymer Sciences EN 727 501 วัสดุประกอบขั้นแนะนำ 3(3-0-6) Introduction to Composite Material EN 727 502 เทคโนโลยีการห่อหุ้มสาร 3(3-0-6) Encapsulation Technology EN 727 600 กระบวนการแก๊สธรรมชาติและกระบวนการกลั่นน้ำมัน 3(3-0-6) Natural Gas Processing and Petroleum Refining Processes EN 727 601 พลังงานไฮโดรเจนและเทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลิง 3(3-0-6) Hydrogen Power and Fuel Cell Technologies EN 727 602 เทคโนโลยีการเก็บกักพลังงาน 3(3-0-6) Energy Storage Technology EN 727 700 พลังงาน สิ่งแวดล้อม และเศรษฐศาสตร์ 3(3-0-6) Energy Environmental and Economics EN 727 701 วิศวกรรมชีวเคมี 3(3-0-6) Biochemical Engineering EN 727 702 การเปลี่ยนชีวมวลเพื่อพลังงาน 3(3-0-6) Biomass Conversion for Energy EN 727 703 ชีวมวลสำหรับพลังงานทดแทนและเชื้อเพลิง 3(3-0-6) Biomass for Renewable Energy and Fuel *EN 727 704 กระบวนการดูดซับ 3(3-0-6) Adsorption Processes


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 159 ~ EN 727 894 ปัญหาพิเศษทางวิศวกรรมเคมี 3(3-0-6) Special Problems in Chemical Engineering (3) ดุษฎีนิพนธ์ นักศึกษา แบบ 1.1 EN 739 996 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 1.2 EN 739 997 ดุษฎีนิพนธ์ 72 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 2.1 EN 739 998 ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 2.2 EN 739 999 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต) EN 727 002 ปรากฏการณ์นำพาขั้นสูง - - - 3(3-0-6) Advanced Transport Phenomena EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN 739 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 739 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 739 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 12 12 12 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 12 12


ปีการศึกษา 2566 ~ 160 ~ ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 727 001 อุณหพลศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมีขั้นสูง - - - 3(3-0-6) Advanced Chemical Engineering Thermodynamics EN 727 003 วิศวกรรมปฏิกิริยาเคมีขั้นสูง - - - 3(3-0-6) Advanced Chemical Reaction Engineering EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 739 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 739 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 739 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 18 21 24 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 739 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 739 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 739 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 739 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 27 30 33 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 739 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมเคมี 1 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Dissertation Seminar in Chemical Engineering I (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต)(ไม่นับหน่วยกิต) EN 739 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 161 ~ EN 739 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 739 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 739 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 10 10 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 39 42 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 739 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมเคมี 2 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Dissertation Seminar in Chemical Engineering II (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต)(ไม่นับหน่วยกิต) EN 739 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 739 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 739 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 739 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 10 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 7 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 45 45 45 51 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 739 996 ดุษฎีนิพนธ์ 3 - - - Dissertation EN 739 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 739 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 739 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 3 9 3 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 48 54 48 60


ปีการศึกษา 2566 ~ 162 ~ ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.2 แบบ 2.2 EN 739 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 739 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 63 69 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.2 แบบ 2.2 EN 739 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 739 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 72 72


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 163 ~ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์) (ภาษาไทย) : ปร.ด. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์) (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Computer Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Computer Engineering) 4. วัตถุประสงค์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้ 1) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การสื่อสาร เพื่อนำมาพัฒนาขยายผล สู่การพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อ สร้างศักยภาพในการผลิตของภาคอุตสาหกรรมและผลงานทางวิชาการในระดับมาตรฐานสากล 2) สามารถใช้ทักษะความรู้และความสามารถพหุสาขาในการพัฒนางานทางวิศวกรรมที่เป็นประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ และตอบสนองความเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ รวมไปถึงสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือทางวิชาการกับ สถาบันการศึกษาในต่างประเทศ 3) มีวุฒิภาวะ คุณธรรม จริยธรรม วินัย รับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว องค์กร สังคม และ ประเทศชาติ ในการ ประกอบวิชาชีพด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและมีจรรยาบรรณ 4) มีความรู้เชิงลึกและมีความสามารถในการบูรณาการแขนงความรู้และสร้างนวัตกรรมจากองค์ความรู้ใหม่ๆ สามารถ ถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการในระดับชาติและระดับนานาชาติได้ รวมไปถึงการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5) มีความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการผลิตผลงานทางวิชาการและเผยแพร่ในระดับชาติ และนานาชาติได้ 6) มีความสนใจใฝ่รู้ สามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ให้ทันต่อความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์


ปีการศึกษา 2566 ~ 164 ~ 5. เกณฑ์การส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50.2 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการท าดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย แบบ 1.1 แบบ 1.2 (1) บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยู่ ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่าง น้อย 1 บทความ และ วารสารวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และเป็นไปตามเงื่อนไขของทุนที่ได้รับ ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น เรื่อง การ ตีพิมพ์บทความวิจัยของวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระเพื่อการสำเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จึงจะ สำเร็จการศึกษาได้ (2) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดยบทความ ได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยู่ใน ฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และเป็นไปตามเงื่อนไขของทุนที่ได้รับ ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น เรื่อง การตีพิมพ์บทความวิจัยของวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระเพื่อการสำเร็จการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา จึงจะสำเร็จการศึกษาได้ (2) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด 6. โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 9 (2) หมวดวิชาเลือก - - 6 12 (3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 72 48 72 7. รายวิขา 3.1.3.8 กลุ่มวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 1.1 และ แบบ 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชา ต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory)


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 165 ~ EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (ไม่นับหน่วยกิต) (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 2.1 และ แบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชา ต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 1.1 และ แบบ 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชา ต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ **EN 839 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1 1(1-0-2) EN838991 Dissertation Seminar I (ไม่นับหน่วยกิต) **EN 839 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 2 1(1-0-2) EN838992 Dissertation Seminar II (ไม่นับหน่วยกิต) **EN 839 993 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 3 1(1-0-2) EN838993 Dissertation Seminar III (ไม่นับหน่วยกิต) (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 2.1 และ แบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชา ต่อไปนี้ จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ **EN 839 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1 1(1-0-2) EN838991 Dissertation Seminar I **EN 839 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 2 1(1-0-2) EN838992 Dissertation Seminar II **EN 839 993 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 3 1(1-0-2) Dissertation Seminar III (2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษาแบบ 2.1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน ในรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับ หน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิด เพิ่มเติมภายหลัง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และเลือกลงทะเบียนรายวิชาที่ไม่เคย ศึกษามาในระดับปริญญาโท ดังนี้ นักศึกษาแบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน ในรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับ หน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ไม่ น้อยกว่า 15 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ **EN 827 100 สถิติและจำลองแบบ 3(3-0-6) *EN827701 Statistics and Modeling **EN 827 101 ปัญญาเชิงคำนวณ 3(3-0-6) *EN827711 Computational Intelligence


ปีการศึกษา 2566 ~ 166 ~ **EN 827 102 การรู้จำรูปแบบและการตรวจหาวัตถุ 3(3-0-6) *EN827712 Pattern Recognition and Object Detection **EN 827 103 การวิเคราะห์ขั้นสูง 3(3-0-6) *EN827713 Advanced Analytics **EN 827 104 การหาค่าเหมาะสมที่สุดเชิงคอนเวกซ์ 3(3-0-6) *EN828714 Convex Optimization **EN 827 201 สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ขั้นสูง 3(3-0-6) *EN828721 Advanced Computer Architecture **EN 827 301 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขั้นสูง 3(3-0-6) *EN828731 Advanced Computer Networks **EN 827 302 อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งขั้นสูง 3(3-0-6) *EN828732 Advanced Internet of Things **EN 827 401 การประมวลผลภาพดิจิทัลขั้นสูง 3(3-0-6) *EN828741 Advanced Digital Image Processing **EN 827 402 การมองเห็นของเครื่องจักรเชิงสามมิติ 3(3-0-6) *EN828742 Three-dimensional Machine Vision **EN 827 501 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการศึกษาปัจจุบัน 3(3-0-6) *EN828771 Current Computer’s Technology in Education **EN 827 601 อิเล็กทรอนิกส์เชิงกลระดับจุลภาค 3(3-0-6) *EN828761 Micro mechatronics **EN 827 602 นาโนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นสูง 3(3-0-6) *EN828762 Advanced Nanoelectronics **EN 827 603 อุปกรณ์และเซนเซอร์ทางชีวการแพทย์ 3(3-0-6) *EN828763 Biomedical Devices and Sensors **EN 827 893 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 1 3(3-0-6) *EN828893 Special Topics in Computer Engineering I **EN 827 894 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2 3(3-0-6) *EN828894 Special Topics in Computer Engineering II **EN 827 895 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 3 3(3-0-6) *EN828895 Special Topics in Computer Engineering III **EN 827 896 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 4 3(3-0-6) *EN828896 Special Topics in Computer Engineering IV (3) ดุษฎีนิพนธ์ นักศึกษา แบบ 1.1 **EN 839 996 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 1.2 **EN 839 997 ดุษฎีนิพนธ์ 72 หน่วยกิต Dissertation


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 167 ~ นักศึกษาแบบ 2.1 **EN 839 998 ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 2.2 **EN 839 999 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต) EN 839 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Dissertation Seminar I (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 839 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 839 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 839 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 839 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 13 13 13 13 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 13 13 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 839 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 839 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 839 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation


ปีการศึกษา 2566 ~ 168 ~ EN 839 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 18 22 22 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 839 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 2 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Dissertation Seminar II (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 839 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 839 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 839 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 839 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 10 13 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 27 32 35 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 839 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 839 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 839 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 839 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 41 44 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 839 993 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 3 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Dissertation Seminar III (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต)


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 169 ~ EN 839 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 839 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 839 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 839 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 4 10 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 45 45 45 54 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 839 996 ดุษฎีนิพนธ์ 3 - - - Dissertation EN 839 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 839 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 839 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 3 9 3 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 48 54 48 63 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.2 แบบ 2.2 EN 839 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 839 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 6 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 63 69 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.2 แบบ 2.2 EN 839 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 839 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 72 72


ปีการศึกษา 2566 ~ 170 ~ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมพลังงาน 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมพลังงาน) (ภาษาไทย) : ปร.ด. (วิศวกรรมพลังงาน) (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Energy Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Energy Engineering) 4. วัตถุประสงค์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้ 1) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การสื่อสาร เพื่อนำมาพัฒนาขยายผล สู่การพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อ สร้างศักยภาพในการผลิตของภาคอุตสาหกรรมและผลงานทางวิชาการในระดับมาตรฐานสากล 2) สามารถใช้ทักษะความรู้และความสามารถพหุสาขาในการพัฒนางานทางวิศวกรรมที่เป็นประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ และตอบสนองความเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ รวมไปถึงสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือทางวิชาการกับ สถาบันการศึกษาในต่างประเทศ 3) มีวุฒิภาวะ คุณธรรม จริยธรรม วินัย รับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว องค์กร สังคม และ ประเทศชาติ ในการ ประกอบวิชาชีพด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและมีจรรยาบรรณ 4) มีความรู้เชิงลึกและมีความสามารถในการบูรณาการแขนงความรู้และสร้างนวัตกรรมจากองค์ความรู้ใหม่ๆ สามารถ ถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการในระดับชาติและระดับนานาชาติได้ รวมไปถึงการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5) มีความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการผลิตผลงานทางวิชาการและเผยแพร่ในระดับชาติ และนานาชาติได้ 6) มีความสนใจใฝ่รู้ สามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ให้ทันต่อความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ 5. เกณฑ์การส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50.2 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการท าดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 171 ~ (1) บทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Article) จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ ที่ได้ตีพิมพ์หรือได้รับการตอบรับให้ ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) จำนวน ย่างน้อย 1 บทความ และ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ (2) บทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Article) ที่ได้ตีพิมพ์หรือได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับ นานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ วารสาร TCI กลุ่ม 1 จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ นำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการระดับ นานาชาติ (Inter Proceeding) จำนวน 1 บทความ หรือ (3) สิทธิบัตรการประดิษฐ์ ที่ได้รับเลขการยื่นจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา จำนวนอย่างน้อย 1 สิทธิบัตร และ บทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Article) จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ ที่ได้ตีพิมพ์หรือได้รับการตอบรับ ให้ตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ใน ฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 หรือ 2 จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ (4) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด 6. โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) - - - - (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - - 9 (2) หมวดวิชาเลือก - - 9 12 (3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 72 48 72 7. รายวิขา 3.1.3.9 กลุ่มวิชาวิศวกรรมพลังงาน (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 1.1 และ แบบ 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชา ต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (ไม่นับหน่วยกิต) (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 2.1 และ แบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชา ต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology


ปีการศึกษา 2566 ~ 172 ~ (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) ไม่มี (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน แบบนับหน่วยกิต (Credit) และต้องมีผลการศึกษาในระดับ C ขึ้นไป จำนวน 9 หน่วยกิต ตามรายวิชาดังต่อไปนี้ **EN 547 000 แหล่งพลังงานและการผลิต 3(3-0-6) Energy Resources and Productions EN 547 001 หลักมูลทางวิศวกรรมพลังงาน 3(3-0-6) Fundamentals Energy Engineering **EN 547 002 การจัดการโครงการด้านพลังงานและประเมินทางเศรษฐศาสตร์ 3(3-0-6) Energy Project Management and Economical Appraisal (2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษาแบบ 2.1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน ในรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับ หน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมพลังงาน ไม่น้อย กว่า 6 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และเลือกลงทะเบียนรายวิชาที่ไม่เคยศึกษามาในระดับ ปริญญาโท ดังนี้ นักศึกษาแบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน ในรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับ หน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมพลังงาน ไม่น้อย กว่า 9 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ **EN 547 500 วิศวกรรมพลังงานแสงอาทิตย์ 3(3-0-6) Solar Energy Engineering **EN 547 501 เทคโนโลยีการแปลงพลังงาน 3(3-0-6) Energy Conversion Technology **EN 547 503 นโยบายและการจัดการสิ่งแวดล้อมของระบบพลังงาน 3(3-0-6) Environmental Policy and Management of Energy Systems **EN 547 504 การออกแบบระบบทางความร้อน 3(3-0-6) Thermal System Design **EN 547 507 การออกแบบอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน 3(3-0-6) Heat Exchanger Design **EN 547 508 การจัดการพลังงานไฟฟ้า 3(3-0-6) Electrical Energy Management EN 547 509 การจัดการพลังงานในอาคาร 3(3-0-6) Energy Management in Buildings **EN 547 510 การอนุรักษ์พลังงานในอุตสาหกรรม 3(3-0-6) Industrial Energy Conservation (3) ดุษฎีนิพนธ์


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 173 ~ นักศึกษา แบบ 1.1 **EN 559 996 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 1.2 **EN 559 997 ดุษฎีนิพนธ์ 72 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 2.1 **EN 559 998 ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 2.2 **EN 559 999 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN 547 000 แหล่งพลังงานและการผลิต - - - 3(3-0-6) Energy Resources and Productions EN 547 001 หลักมูลทางวิศวกรรมพลังงาน - - - 3(3-0-6) Fundamentals Energy Engineering EN 547 002 การจัดการโครงการด้านพลังงานและ ประเมินทางเศรษฐศาสตร์ - - - 3(3-0-6) Energy Project Management and Economical Appraisal EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) - Elective Course EN 559 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 559 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 559 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 12 12 12 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 12 12 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต


ปีการศึกษา 2566 ~ 174 ~ แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN 559 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 559 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 559 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 559 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 12 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 18 24 24 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 559 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 559 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 559 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 559 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 27 33 36 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 559 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 559 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 559 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 559 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 175 ~ Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 42 45 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 559 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 559 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 559 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 559 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 3 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 45 45 45 54 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 559 996 ดุษฎีนิพนธ์ 3 - - - Dissertation EN 559 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 559 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 559 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 3 9 3 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 48 54 48 63 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.2 แบบ 2.2 EN 559 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 559 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 6 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 63 69 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต


ปีการศึกษา 2566 ~ 176 ~ แบบ 1.2 แบบ 2.2 EN 559 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 559 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 72 72


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 177 ~ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2562) 1. รหัสและชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Biomedical Engineering 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ภาษาไทย : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมชีวการแพทย์) : ปร.ด. (วิศวกรรมชีวการแพทย์) ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy (Biomedical Engineering) : Ph.D. (Biomedical Engineering) 3. วัตถุประสงค์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2562) มีวัตถุประสงค์ เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้ (1) มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย รับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว องค์กร สังคม และประเทศชาติ ประกอบวิชาชีพด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและมีจรรยาบรรณ (2) มีวุฒิภาวะความเป็นผู้นำ มีมนุษยสัมพันธ์ และทักษะในการทำงานเป็นหมู่คณะและเครือข่ายสามารถ บริหารจัดการงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีจิตสาธารณะ เสียสละ อุทิศตนเพื่อสังคม ถือเอา ประโยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง ภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ มีทัศนคติที่ดีต่อการ ทำงานและใช้ชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรม (3) เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิต วิศวกร และนักวิชาการ ด้านวิศวกรรมชีวการแพทย์ ที่มีความรู้ความสามารถใน เชิงวิจัยและพัฒนาระดับนานาชาติ และมีทักษะทางภาษาต่างประเทศที่พร้อมทำงานในระดับ นานาชาติ (4) เพื่อสร้างความร่วมมือทางวิชาการในด้านการวิจัยองค์ความรู้ใหม่ที่เป็นพื้นฐานต่อการพัฒนากับ มหาวิทยาลัยในต่างประเทศ (5) เพื่อเป็นการสร้าง และส่งเสริม องค์ความรู้ใหม่ ที่จะเป็นแนวโน้มที่มีความสำคัญต่อการพัฒนา ประเทศให้ เข้าสู่ยุคประเทศไทย 4.0 4. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 4.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 4.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50.3 หรือระเบียบที่จะที่ปรับปรุงใหม่ 4.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย 1) บทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Article ที่ไม่ได้เป็นผลงานจากการประชุมวิชาการ) จำนวนอย่างน้อย 2 บทความที่ได้ตีพิมพ์หรือได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) และ/หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus หรือ


ปีการศึกษา 2566 ~ 178 ~ 2) บทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Article ที่ไม่ได้เป็นผลงานจากการประชุมวิชาการ) จำนวนอย่างน้อย 2 บทความที่ได้ตีพิมพ์หรือได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 หรือ 2 จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 3) สิทธิบัตรการประดิษฐ์ ที่ได้รับเลขการยื่นจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา จำนวนอย่างน้อย 1 สิทธิบัตร และ บทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Article ที่ไม่ได้เป็นผลงานจากการประชุมวิชาการ) จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ ที่ได้ตีพิมพ์หรือได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ใน ฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 หรือ 2 จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ 5. โครงสร้างหลักสูตร จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 1) หมวดวิชาบังคับ 1.1 วิชาบังคับ (ไม่นับหน่วยกิต) 8 8 - - 1.2 วิชาบังคับ (นับหน่วยกิต) - - 12 12 2) หมวดวิชาเลือก - - - 12 3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 72 48 72 6. รายวิชา 6.1 หมวดวิชาบังคับ 6.1.1 หมวดวิชาบังคับ (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 2.1 และแบบ 2.2 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อไปนี้ จำนวน 12 หน่วยกิต *EN 017 003 กายวิภาคและสรีรวิทยาของมนุษย์สำหรับวิศวกรรมชีวการแพทย์ Human Anatomy and Physiology for Biomedical Engineering 4(4-0-8) สำหรับผู้สำเร็จปริญญาบัณฑิตด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือด้านเทคโนโลยี *EN 017 004 หลักมูลวิศวกรรมสำหรับวิศวกรรมชีวการแพทย์ 4(4-0-8) Fundamental Engineering for Biomedical Engineering สำหรับผู้สำเร็จปริญญาบัณฑิตด้านแพทยศาสตร ทันตแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์สุขภาพ *EN 007 000 การนำงานวิจัยสู่ธุรกิจสำหรับการประกอบการด้านวิศวกรรม 3 (3-0-6) Research to Business for Engineering Entrepreneurship *EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3 (3-0-6) Engineering Research Methodology


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 179 ~ *EN 017 891 สัมมนาทางวิศวกรรมชีวการแพทย์1 1 (1-0-2) Biomedical Engineering Seminar I *EN 017 892 สัมมนาทางวิศวกรรมชีวการแพทย์2 1 (1-0-2) Biomedical Engineering Seminar II 6.1.2 หมวดวิชาบังคับ (นับหน่วยกิต) เป็นรายวิชาที่จ าเป็นต้องศึกษาในหลักสูตร แบบ 1.1 และแบบ 1.2 จ านวน 8 หน่วยกิต โดย นักศึกษาจะต้องลงทะเบียนแบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 007 000 การนำงานวิจัยสู่ธุรกิจสำหรับการประกอบการด้านวิศวกรรม 3 (3-0-6) Research to Business for Engineering Entrepreneurship *EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ Engineering Research Methodology 3 (3-0-6) *EN 017 891 สัมมนาทางวิศวกรรมชีวการแพทย์1 1 (1-0-2) Biomedical Engineering Seminar I *EN 017 892 สัมมนาทางวิศวกรรมชีวการแพทย์2 1 (1-0-2) Biomedical Engineering Seminar II 6.2 หมวดวิชาเลือก เป็นรายวิชาที่นักศึกษาในหลักสูตร แบบ 2.2 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่างๆเหล่านี้ จำนวนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต หรือรายวิชาอื่นๆที่หลักสูตรเปิดเพิ่มเติมในภายหลัง โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหาร หลักสูตร และคณะกรรมการประจำคณะ 194 852 วัสดุชีวภาพและการประยุกต์ใช้ของวัสดุชีวภาพ Biomaterials and Applications of Biomaterials 3(3-0-6) MD 627732 ชีวสารสนเทศศาสตร์ Bioinfomatics 2(1-3-4) *EN017100 ชีวกลศาสตร์ Biomechanics 3(3-0-6) *EN017101 แบบจำลองทางคอมพิวเตอร์ในงานชีววิศวกรรม Computer Modeling in Bioengineering 3(3-0-6) *EN017200 หุ่นยนต์จุลภาคและนาโนสำหรับวิศกรรมชีวการแพทย์ Micro-nanorobotics for Biomedical Engineering 3(3-0-6) *EN017201 นาโนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นสูงสำหรับวิศวกรรมชีวการแพทย์ Advanced Nanoelectronics for Biomedical Engineering 3(3-0-6) *EN017202 การเรียนรู้ของเครื่องในงานชีวการแพทย์ Biomedical Machine Learning 3(3-0-6)


ปีการศึกษา 2566 ~ 180 ~ *EN017300 การประมวลผลภาพถ่ายทางการแพทย์ Medical Image Processing 3(3-0-6) *EN017301 การมองเห็นของเครื่องจักเชิงสามมิติสำหรับวิศวกรรมชีว การแพทย์ Three-dimensional Machine Vision for Biomedical Engineering 3(3-0-6) *EN017302 ส่วนต่อประสานสมองและเครื่องจักร Brain-Machine Interfaces 3(3-0-6) *EN017400 ปัจจัยมนุษย์ในการออกแบบระบบ Human Factors in Systems Design 3(3-0-6) *EN017401 การประมวลผลข้อมูลของมนุษย์ Human Information Processing 3(3-0-6) *EN 017402 การประเมินสมรรถนะทางการยศาสตร์ Ergonomics assessment 3(3-0-6) *EN017403 การยศาสตร์สำหรับผู้สูงอายุและผู้พิการ Ergonomics for elderly and disabled persons 3(3-0-6) *EN017404 ชีวกลศาสตร์ของการทำงาน Occupational Biomechanics 3(3-0-6) *EN017405 สรีรวิทยาของการทำงาน Physiology of work 3(3-0-6) EN227730 วิชาการเครื่องมือทางชีวการแพทย์ Biomedical Instrumentation 3(3-0-6) EN537000 คณิตศาสตร์วิศวกรรมขั้นสูง Advanced Engineering Mathematics 3 (3-0-6) EN828763 อุปกรณ์และเซนเซอร์ทางชีวการแพทย์ Biomedical Devices and Sensors 3(3-0-6) 6.3 ดุษฎีนิพนธ์ *EN029996 ดุษฎีนิพนธ์ (แบบ 1.1) 48 หน่วยกิต Dissertation *EN029997 ดุษฎีนิพนธ์ (แบบ 1.2) 72 หน่วยกิต Dissertation *EN029998 ดุษฎีนิพนธ์ (แบบ 2.1) 36 หน่วยกิต Dissertation *EN029999 ดุษฎีนิพนธ์ (แบบ 2.2) 48 หน่วยกิต Dissertation หมายเหตุ * รายวิชาใหม่ ** รายวิชาเปลี่ยนแปลง


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 181 ~ 7. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 007 000 การนำงานวิจัยสู่ธุรกิจ สำหรับการประกอบการ ด้านวิศวกรรม 3 (3-0-6) (ไม่นับหน่วยกิต) 3 (3-0-6) (ไม่นับหน่วยกิต) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) Research to Business for Engineering Entrepreneurship EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทาง วิศวกรรมศาสตร์ 3 (3-0-6) (ไม่นับหน่วยกิต) 3 (3-0-6) (ไม่นับหน่วยกิต) 3 (3-0-6) 3 (3-0-6) Engineering Research Methodology *EN 017 003 กายวิภาคและสรีรวิทยาของ มนุษย์สำหรับวิศวกรรมชีว การแพทย์ 4(4-0-8) 4(4-0-8) Human Anatomy and Physiology for Biomedical Engineering สำหรับผู้สำเร็จการศึกษา ด้าน วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือด้าน เทคโนโลยี *EN 017 004 หลักมูลวิศวกรรมสำหรับ วิศวกรรมชีวการแพทย์ 4(4-0-8) 4(4-0-8) Fundamental Engineering for Biomedical Engineering สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาด้าน แพทยศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ เภสัช ศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์สุขภาพ *EN 017 891 สัมมนาทางวิศวกรรม ชีวการแพทย์ 1(1-0-2) (ไม่นับหน่วยกิต) 1(1-0-2) (ไม่นับหน่วยกิต) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Biomedical Engineering Seminar I XXX XXX วิชาเลือก 3(3-0-6) Elective *EN 029 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation *EN 029 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 12 - - Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 15 19 11 14


ปีการศึกษา 2566 ~ 182 ~ รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 8 12 11 14 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 *EN 017 892 สัมมนาทางวิศวกรรม ชีวการแพทย์ 2 1 (1-0-2) (ไม่นับหน่วยกิต 1 (1-0-2) (ไม่นับหน่วยกิต 1 (1-0-2) 1 (1-0-2) Dissertation Seminar II xxx XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective xxx XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective *EN 029 996 ดุษฎีนิพนธ์ 10 - - - Dissertation *EN 029 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 12 - - Dissertation *EN 029 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation *EN 029 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 11 13 10 16 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 24 21 30 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 xxx XXX วิชาเลือก 3(3-0-6) Elective *EN 029 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation *EN 029 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 12 - - Dissertation *EN 029998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation *EN 029 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 12 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 12 9 15 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 36 30 45


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 183 ~ ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่2 หน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 *EN 029 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation *EN 029 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 12 - - Dissertation *EN 029 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation *EN 029 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 12 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 48 39 54 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 **EN 029 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation **EN 029 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation **EN 029 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation **EN 029 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 6 Dissertation - รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 6 6 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 45 57 45 60 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 **EN 029 996 ดุษฎีนิพนธ์ 3 Dissertation **EN 029 997 ดุษฎีนิพนธ์ 6 - - Dissertation **EN 029 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation **EN 029 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 3 6 3 6 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 48 63 48 66


ปีการศึกษา 2566 ~ 184 ~ ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต แบบ 1.2 แบบ 2.2 *EN 029 997 ดุษฎีนิพนธ์ 6 Dissertation *EN 029 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 6 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 69 69 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต แบบ 1.2 แบบ 2.2 *EN 029 997 ดุษฎีนิพนธ์ 3 Dissertation *EN 029 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 3 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 72 72


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 185 ~ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมนวัตกรรม ภาษาอังกฤษ : Doctor of Engineering Program in Innovation Engineering 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา (ภาษาไทย) : วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมนวัตกรรม) (ภาษาไทย) : วศ.ด. (วิศวกรรมนวัตกรรม) (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Engineering (Innovation Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : D.Eng. (Innovation Engineering) 3. วัตถุประสงค์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563) มี วัตถุประสงค์เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ (1) มีความพร้อมและความสามารถตอบสนองต่อความต้องการขององค์กรเพื่อสร้างสรรค์แนวทางในการสร้าง และพัฒนานวัตกรรมอย่างแท้จริงที่ (2) มีทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงวิศวกรรม สามารถต่อยอดและสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ยั่งยืน สามารถถ่ายทอด ไปสู่แนวความคิดใหม่ที่ทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคมให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาประเทศไทย 4.0 (3) สามารถใช้ทักษะความรู้และความคิดสร้างสรรค์ในด้านนวัตกรรมอย่างบูรณาการสามารถนำไปใช้ประโยชน์ ในเชิงพาณิชย์และเพิ่มมูลค่าทางการเงินให้กับธุรกิจโดยเป็นที่ยอมรับต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมภายใต้หลักของ ศีลธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ (4) มีความพร้อมในการทำงานเพื่อสร้างนวัตกรรมเชิงวิศวกรรมที่สามารถต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ที่สร้าง มูลค่าเพิ่มให้กับองค์กรและประเทศไทยได้ 4. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 4.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 4.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50.2 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 4.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย (1) บทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Article ที่ไม่ได้เป็นผลงานจากการประชุมวิชาการ) จำนวนอย่างน้อย 2 บทความที่ได้ตีพิมพ์หรือได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) และ/หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus หรือ (2) บทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Article ที่ไม่ได้เป็นผลงานจากการประชุมวิชาการ) จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ ที่ได้ตีพิมพ์หรือได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE


ปีการศึกษา 2566 ~ 186 ~ (Science Citation Index Expanded) จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 หรือ 2 จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ (3) สิทธิบัตรการประดิษฐ์ ที่ได้รับเลขการยื่นจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา จำนวนอย่างน้อย 1 สิทธิบัตร และ บทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Article ที่ไม่ได้เป็นผลงานจากการประชุมวิชาการ) จำนวนอย่าง น้อย 2 บทความ ที่ได้ตีพิมพ์หรือได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ใน ฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่าง น้อย 1 บทความ และ อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 หรือ 2 จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ 5. โครงสร้างหลักสูตร จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 48 72 48 72 1) หมวดวิชาบังคับ 1.1 วิชาบังคับ (ไม่นับหน่วยกิต) 2 8 2 2 1.2 วิชาบังคับ (นับหน่วยกิต) - - 6 6 2) หมวดวิชาเลือก - - 6 18 3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 6. รายวิขา 6.1) หมวดวิชาบังคับ วิชาบังคับ (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 1.1 และแบบ 2.1 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต จำนวน 2 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 049 991 การสัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมนวัตกรรม 1 1(0-3-2) Innovation Engineering Seminar I (ไม่นับหน่วยกิต) *EN 049 992 การสัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมนวัตกรรม 2 1(0-3-2) Innovation Engineering Seminar II (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 1.2 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 8 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) EN 007 000 การนำงานวิจัยสู่ธุรกิจสำหรับการเป็นผู้ประกอบการด้าน วิศวกรรม 3(3-0-6) (ไม่นับหน่วยกิต) Research to Business for Engineering Entrepreneurship EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (ไม่นับหน่วยกิต) *EN 037 891 การสัมมนาทางวิศวกรรมนวัตกรรม 1 1(0-3-2) Innovation Engineering Seminar I (ไม่นับหน่วยกิต) *EN 037 892 การสัมมนาทางวิศวกรรมนวัตกรรม 2 1(0-3-2) Innovation Engineering Seminar II (ไม่นับหน่วยกิต)


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 187 ~ นักศึกษาแบบ 2.2 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 2 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 037 891 การสัมมนาทางวิศวกรรมนวัตกรรม 1 1(0-3-2) Innovation Engineering Seminar I (ไม่นับหน่วยกิต) *EN 037 892 การสัมมนาทางวิศวกรรมนวัตกรรม 2 1(0-3-2) Innovation Engineering Seminar II (ไม่นับหน่วยกิต) วิชาบังคับ (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 2.1 และแบบ 2.2 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อไปนี้ โดยลงทะเบียนแบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 6 หน่วยกิต EN 007 000 การนำงานวิจัยสู่ธุรกิจสำหรับการเป็นผู้ประกอบการด้าน วิศวกรรม 3(3-0-6) Research to Business for Engineering Entrepreneurship EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology 5.2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษา แบบ 2.1 ลงทะเบียนเรียน จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และนักศึกษาแบบ 2.2 ลงทะเบียนเรียน จำนวนไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต โดยนักศึกษาต้องเลือกลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ หรือรายวิชาที่เปิดเพิ่มเติมภายหลัง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ กลุ่มวิชาวิศวกรรมชีวภาพ *EN 037 100 วิศวกรรมทรัพยากรชีวภาพ 3(3-0-6) Bioresource Engineering *EN 037 101 วัสดุพอลิเมอร์ขั้นสูงสำหรับวิศวกรรมชีวภาพ Advanced Polymer Materials for Bioengineering 3(3-0-6) *EN 037 102 หลักสูตรขั้นสูงของเทคโนโลยีการประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ Advanced Course of Applied Microbial Technology 3(3-0-6) *EN 037 103 การพัฒนาพลังงานและเคมีชีวภาพ Biorefinery Development 3(3-0-6) *EN 037 104 เทคโนโลยีชีวมวลและพลังงานชีวภาพ Biomass and Bioenergy Technology 3(3-0-6) กลุ่มวิชาวิศวกรรมโยธา EN 127 502 การวางแผนการขนส่งในเมือง 3(3-0-6) Urban Transportation Planning EN 127 602 อุทกพลศาสตร์ 3(3-0-6) Hydrodynamics


ปีการศึกษา 2566 ~ 188 ~ กลุ่มวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า EN 227 715 เทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลิง 3(3-0-6) Fuel Cell Technology EN 227 724 อิเล็กทรอนิกส์กำลังประยุกต์ 3(3-0-6) Applied Power Electronics EN 227 730 วิชาการเครื่องมือทางชีวการแพทย์ 3(3-0-6) Biomedical Instrumentation EN 227 737 เทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูลขั้นสูง 3(3-0-6) Advance Data Storage Technology EN 227 740 ระบบควบคุมเชิงดิจิทัล 3(3-0-6) Digital Control Systems EN 227 741 การควบคุมเหมาะที่สุด 3(3-0-6) Optimal Control EN 227 742 ระบบชาญฉลาด 3(3-0-6) Intelligent Systems EN 227 743 การวิเคราะห์และควบคุมหุ่นยนต์ 3(3-0-6) Robot Analysis and Control EN 227 744 รถยนต์ไฟฟ้า 3(3-0-6) Electric Vehicle EN 227 753 ระบบสื่อสารเชิงดิจิทัล 3(3-0-6) Digital Communication Systems กลุ่มวิชาวิศวกรรมเกษตร EN 327 000 การวิเคราะห์และประเมินขั้นสูง ในระบบฟาร์มและระบบหลัง การเก็บเกี่ยว 3(3-0-6) Advanced Analysis and Assessment in Farm and Postharvest System EN 327 103 การใช้เครื่องจักรกลเพื่อการเกษตรขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Agricultural Mechanization EN 327 201 การประยุกต์ทางวิศวกรรมสำหรับวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว 3(3-0-6) Engineering Application for Postharvest Technology EN 327 202 เทคโนโลยีการแปรรูปข้าวขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Rice Processing Technology EN 327 203 กำลังและพลังงานหมุนเวียน 3(3-0-6) Power and Renewable Energy EN 327 301 การจัดการทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการ 3(3-0-6) Integrated Water Resources Management


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 189 ~ กลุ่มวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ EN 427 104 วิศวกรรมความปลอดภัยเชิงระบบ System Safety Engineering 3(3-0-6) EN 427 105 การจำลองสถานการณ์ด้วยคอมพิวเตอร์ขั้นสูง Advanced Computer Simulation 3(3-0-6) EN 427 106 การออกแบบระบบวิศวกรรม Engineering Systems Design 3(3-0-6) EN 427 107 การคำนวณอัจฉริยะสำหรับการประยุกต์ในทางอุตสาหกรรม Intelligent Computing for Industrial Applications 3(3-0-6) EN 427 202 วิศวกรรมคุณภาพ Quality Engineering 3(3-0-6) EN 427 402 การจัดการการตลาดสำหรับวิศวกรรมอุตสาหการ Marketing Management for Industrial Engineer 3(3-0-6) EN 427 403 การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานทางการเกษตรและอาหาร Agricultural and Food Logistics and Supply Chain Management 3(3-0-6) กลุ่มวิชาวิศวกรรมวัสดุ EN 457 100 วิศวกรรมวัสดุและเทคโนโลยี 3(3-0-6) Materials Engineering and Technology EN 457 101 การวิเคราะห์โครงสร้างและพื้นผิวของวัสดุ 3(3-0-6) Structural and Surface Analysis of Materials EN 457 102 วัสดุชีวภาพและการประยุกต์ใช้ของวัสดุชีวภาพ 3(3-0-6) Biomaterials and Applications of Biomaterials EN 457 104 วิทยาการและเทคโนโลยีของวัสดุนาโน 3(3-0-6) Science and Technology of Nanomaterials EN 457 201 การวิเคราะห์ความบกพร่องของส่วนประกอบจากการผลิต 3(3-0-6) Failure Analysis of Manufactured Components EN 457 203 การอบชุบในการผลิต 3(3-0-6) Heat Treatment in Manufacturing กลุ่มวิชาวิศวกรรมเครื่องกล EN 527 401 การหาค่าเหมาะที่สุดทางวิศวกรรม 3(3-0-6) Engineering Optimization กลุ่มวิชาวิศวกรรมพลังงาน EN 547 000 แหล่งพลังงานและการผลิต 3(3-0-6) Energy Resources and Production


ปีการศึกษา 2566 ~ 190 ~ กลุ่มวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม EN 627 000 เคมีของน้ำ 3(3-0-6) Aquatic Chemistry EN 627 103 กระบวนการผลิตน้ำขั้นสูง Advanced Water Treatment Processes 3(3-0-6) EN 627 104 เทคโนโลยีมลพิษทางอากาศและการจัดการ Air Pollution Technology and Management 3(3-0-6) EN 627 108 การจัดการและการกำจัดมูลฝอย Solid Waste Disposal and Management 3(3-0-6) EN 627 203 การจัดการคุณภาพน้ำ Water Quality Management 3(3-0-6) EN 627 400 การบำบัดแบบไม่ใช้อากาศเพื่อการผลิตก๊าซชีวภาพ Anaerobic Treatment for Biogas Production 3(3-0-6) กลุ่มวิชาวิศวกรรมเคมี EN 739 600 พลังงานทางเลือกในรูปของชีวมวล 3(3-0-6) Biomass for Renewable Energy EN 739 700 วิศวกรรมชีวเคมี 3(3-0-6) Biochemical Engineering กลุ่มวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ EN 828 712 การรู้จำรูปแบบและการตรวจหาวัตถุ 3(3-0-6) Pattern Recognition and Object Detection EN 828 713 การวิเคราะห์ขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Analytics EN 828 741 การประมวลผลภาพดิจิทัลขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Digital Image Processing EN 828 771 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการศึกษาปัจจุบัน 3(3-0-6) Current Computer’s Technology in Education 6.3) ดุษฎีนิพนธ์ *EN 049 996 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation *EN 049 997 ดุษฎีนิพนธ์ 72 หน่วยกิต Dissertation *EN 049 998 ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต Dissertation *EN 049 999 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 191 ~ หมายเหตุ * รายวิชาใหม่ ** รายวิชาเปลี่ยนแปลง 7. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทาง วิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) (ไม่นับหน่วยกิต) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology EN 049 991 การสัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทาง วิศวกรรมนวัตกรรม 1 1(0-3-2) (ไม่นับหน่วยกิต) - 1(0-3-2) (ไม่นับหน่วยกิต) - Innovation Engineering Seminar I EN 037 891 การสัมมนาทางวิศวกรรม นวัตกรรม 1 - 1(0-3-2) (ไม่นับหน่วยกิต) - 1(0-3-2) (ไม่นับหน่วยกิต) Innovation Engineering Seminar I EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Technical Elective EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Technical Elective EN 049 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 049 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 049 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 13 10 10 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 9 9


ปีการศึกษา 2566 ~ 192 ~ ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 007 000 การนำงานวิจัยสู่ธุรกิจสำหรับการ เป็นผู้ประกอบการด้านวิศวกรรม 3(3-0-6) (ไม่นับหน่วยกิต) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Research to Business for Engineering Entrepreneurship EN 049 992 การสัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทาง วิศวกรรมนวัตกรรม 2 1(0-3-2) (ไม่นับหน่วยกิต) - 1(0-3-2) (ไม่นับหน่วยกิต) - Innovation Engineering Seminar II EN 037 892 การสัมมนาทางวิศวกรรม นวัตกรรม 2 - 1(0-3-2) (ไม่นับหน่วยกิต) - 1(0-3-2) (ไม่นับหน่วยกิต) Innovation Engineering Seminar II EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Technical Elective EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Technical Elective EN 049 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 049 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 049 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 049 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 13 13 13 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 18 21 21


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 193 ~ ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Technical Elective EN 049 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 049 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 049 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 049 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 27 30 33 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Technical Elective EN 049 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 049 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 049 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 049 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 6 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 36 45 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 049 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 049 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 049 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation


ปีการศึกษา 2566 ~ 194 ~ EN 049 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 6 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 45 45 42 54 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 049 996 ดุษฎีนิพนธ์ 3 - - - Dissertation EN 049 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 049 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 049 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 3 9 6 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 48 54 48 63 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 049 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 049 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน - 9 - 6 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม - 63 - 69 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่2 หน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 049 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 049 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน - 9 - 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม - 72 - 72


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 195 ~ ภาคผนวก ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศเกี่ยวกับ การทำวิทยานิพนธ์ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา


ปีการศึกษา 2566 ~ 196 ~ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 โดยที่เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 ได้ประกาศใช้มาเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว จึงมีความ จำเป็นต้องมีการปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานดังกล่าวสำหรับการผลิตบัณฑิตระดับอุดมศึกษาที่เหมาะสมกับพลวัตของโลกที่ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยมีเจตนารมณ์ให้เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 รองรับการ บริหารจัดการหลักสูตรให้ได้คุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติและตามจุดเน้นของแต่ละ สาขาวิชา ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยคำแนะนำของคณะกรรมการการอุดมศึกษา ใน คราวประชุมครั้งที่ 8/2558 เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 จึงออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง “เกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558” ดังต่อไปนี้ 1. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการนี้เรียกว่า “เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558” 2. ให้ใช้ประกาศกระทรวงนี้สาหรับหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต (การศึกษาหลังปริญญาตรี) ระดับ ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง (การศึกษาหลังประกาศนียบัตรบัณฑิต หรือปริญญาโท) ระดับปริญญาโท และระดับปริญญา เอกทุกสาขาวิชา สำหรับหลักสูตรที่จะเปิดใหม่และหลักสูตรเก่าที่จะปรับปรุงใหม่ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน และให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป 3. ให้ยกเลิก ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง “เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548” ลงวันที่ 21 กุมภาพันธ์พ.ศ. 2548 4. ในประกาศกระทรวงนี้ “อาจารย์ประจำ” หมายถึงบุคคลที่ดำรงตำแหน่งอาจารย์ผู้ช่วยศาสตราจารย์รองศาสตราจารย์และ ศาสตราจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาที่เปิดสอนหลักสูตรนั้น ที่มีหน้าที่รับผิดชอบตามพันธกิจของการอุดมศึกษา และปฏิบัติ หน้าที่เต็มเวลา สำหรับอาจารย์ประจาที่สถาบันอุดมศึกษารับเข้าใหม่ตั้งแต่เกณฑ์มาตรฐานนี้เริ่มบังคับใช้ต้องมี คะแนนทดสอบความสามารถภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง มาตรฐานความสามารถภาษาอังกฤษของอาจารย์ประจำ “อาจารย์ประจำหลักสูตร” หมายถึง อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา ของหลักสูตรที่เปิดสอน ซึ่งมีหน้าที่สอนและค้นคว้าวิจัยในสาขาวิชาดังกล่าว ทั้งนี้สามารถเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตร หลายหลักสูตรได้ในเวลาเดียวกัน แต่ต้องเป็นหลักสูตรที่อาจารย์ผู้นั้นมีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาของหลักสูตร “อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร” หมายถึง อาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีภาระหน้าที่ในการ บริหารและพัฒนา หลักสูตรและการเรียนการสอน ตั้งแต่การวางแผน การควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผลและการ พัฒนาหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องอยู่ประจำหลักสูตรนั้นตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา โดยจะเป็นอาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่า 1 หลักสูตรในเวลาเดียวกันไม่ได้ยกเว้นพหุวิทยาการหรือ สหวิทยาการ ให้เป็นอาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้อีกหนึ่งหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรสามารถซ้ำได้ไม่เกิน 2 คน “อาจารย์พิเศษ” หมายถึง ผู้สอนที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำ 5. ปรัชญา และวัตถุประสงค์ 5.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง มุ่งให้มีความสัมพันธ์


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 197 ~ สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาของชาติปรัชญาของการอุดมศึกษา ปรัชญาของสถาบัน อุดมศึกษา และมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ เน้นการพัฒนานักวิชาการและนักวิชาชีพให้มีความชำนาญในสาขาวิชาเฉพาะ เพื่อให้มี ความรู้ความเชี่ยวชาญ สามารถปฏิบัติงานได้ดียิ่งขึ้น โดยเป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีลักษณะเบ็ดเสร็จในตัวเอง 5.2 หลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก มุ่งให้มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับแผนพัฒนา การศึกษาระดับอุดมศึกษาของชาติปรัชญาของการอุดมศึกษา ปรัชญาของสถาบันอุดมศึกษา และมาตรฐานวิชาการและ วิชาชีพที่เป็นสากล เน้นการพัฒนานักวิชาการและนักวิชาชีพ ที่มีความรู้ความสามารถระดับสูง ในสาขาวิชาต่าง ๆ โดย กระบวนการวิจัยเพื่อให้สามารถบุกเบิกแสวงหาความรู้ใหม่ได้อย่างมีอิสระ รวมทั้ง มีความสามารถในการสร้างสรรค์จรรโลง ความก้าวหน้าทางวิชาการ เชื่อมโยงและบูรณาการศาสตร์ที่ตนเชี่ยวชาญกับศาสตร์อื่นได้อย่างต่อเนื่อง มีคุณธรรมและ จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ ทั้งนี้ในระดับปริญญาโท มุ่งให้มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการสร้างและ ประยุกต์ใช้ความรู้ใหม่เพื่อการพัฒนางานและสังคม ในขณะที่ระดับปริญญาเอก มุ่งให้มีความสามารถในการค้นคว้าวิจัยเพื่อ สรรค์สร้างองค์ความรู้ใหม่หรือนวัตกรรม ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางาน สังคม และประเทศ 6.ระบบการจัดการศึกษา ใช้ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ1 ภาค การศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์สถาบันอุดมศึกษาที่เปิดการศึกษาภาคฤดูร้อน ให้กำหนด ระยะเวลาและจำนวนหน่วยกิต โดยมีสัดส่วนเทียบเคียงกันได้กับการศึกษาภาคปกติ สถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาในระบบไตรภาค หรือระบบจตุรภาค ให้ถือแนวทาง ดังนี้ ระบบไตรภาค 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ภาคการศึกษาปกติ1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลา ศึกษาไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์โดย 1 หน่วยกิตระบบไตรภาค เทียบได้กับ 12/15 หน่วยกิตระบบทวิภาค หรือ 4 หน่วยกิต ระบบทวิภาค เทียบได้กับ 5 หน่วยกิตระบบไตรภาค ระบบจตุรภาค 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 4 ภาคการศึกษาปกติ1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลา ศึกษา ไม่น้อยกว่า 10 สัปดาห์ โดย 1 หน่วยกิตระบบจตุรภาค เทียบได้กับ 10/15 หน่วยกิตระบบทวิภาค หรือ 2 หน่วยกิต ระบบทวิภาค เทียบได้กับ 3 หน่วยกิตระบบจตุรภาค สถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาระบบอื่น ให้แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับระบบการศึกษานั้น รวมทั้ง รายละเอียดการเทียบเคียงหน่วยกิตกับระบบทวิภาคไว้ในหลักสูตรให้ชัดเจนด้วย 7. การคิดหน่วยกิต 7.1 รายวิชาภาคทฤษฎีที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อภาค การศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค 7.2 รายวิชาภาคปฏิบัติที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่า เท่ากับ 1 หน่วยกิต ระบบทวิภาค 7.3 การฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่า เท่ากับ 1 หน่วยกิต ระบบทวิภาค 7.4 การทำโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมาย ที่ใช้เวลาทำโครงงาน หรือ กิจกรรมนั้นไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต ระบบทวิภาค 7.5 การค้นคว้าอิสระ ที่ใช้เวลาศึกษาค้นคว้าไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่า เท่ากับ 1 หน่วยกิต ระบบทวิภาค 7.6 วิทยานิพนธ์ที่ใช้เวลาศึกษาค้นคว้าไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่า เท่ากับ 1 หน่วยกิต ระบบทวิภาค 8. โครงสร้างหลักสูตร 8.1 ประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ให้มีจำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต


ปีการศึกษา 2566 ~ 198 ~ 8.2 ปริญญาโท ให้มีจำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต โดยแบ่ง การศึกษาเป็น 2 แผน คือ แผน ก เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัยโดยมีการทำวิทยานิพนธ์ดังนี้ แบบ ก 1 ทำเฉพาะวิทยานิพนธ์ซึ่งมีค่าเทียบได้ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต สถาบัน อุดมศึกษา อาจกำหนด ให้เรียนรายวิชาเพิ่มเติมหรือทำกิจกรรมทางวิชาการอื่นเพิ่มขึ้นก็ได้โดยไม่นับหน่วยกิต แต่จะต้องมีผลสัมฤทธิ์ ตามที่สถาบันอุดมศึกษากำหนด แบบ ก 2 ทำวิทยานิพนธ์ซึ่งมีค่าเทียบได้ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และศึกษางานรายวิชาอีก ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต แผน ข เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการศึกษางานรายวิชา โดยไม่ต้องทำวิทยานิพนธ์แต่ต้องมี การค้นคว้าอิสระไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต และไม่เกิน 6 หน่วยกิต 8.3 ปริญญาเอก แบ่งการศึกษาเป็น 2 แบบ โดยเน้นการวิจัยเพื่อพัฒนานักวิชาการและนักวิชาชีพชั้นสูง คือ แบบ 1 เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัยโดยมีการทำวิทยานิพนธ์ที่ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ สถาบันอุดมศึกษาอาจ กำหนดให้เรียนรายวิชาเพิ่มเติมหรือทำกิจกรรมทางวิชาการอื่นเพิ่มขึ้นก็ได้โดยไม่นับหน่วยกิต แต่จะต้องมีผลสัมฤทธิ์ตามที่ สถาบันอุดมศึกษากำหนด ดังนี้ แบบ 1.1 ผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท จะต้องทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต แบบ 1.2 ผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรีจะต้องทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต ทั้งนี้วิทยานิพนธ์ตาม แบบ 1.1 และแบบ 1.2 จะต้องมีมาตรฐานและคุณภาพเดียวกัน แบบ 2 เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัยโดยมีการทำวิทยานิพนธ์ที่มีคุณภาพสูงและก่อให้เกิด ความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ และศึกษางานรายวิชาเพิ่มเติม ดังนี้ แบบ 2.1 ผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาโท จะต้องทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต และศึกษางาน รายวิชาอีกไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต แบบ 2.2 ผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรีจะต้องทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต และศึกษางาน รายวิชาอีกไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต ทั้งนี้วิทยานิพนธ์ตามแบบ 2.1 และ แบบ 2.2 จะต้องมีมาตรฐานและคุณภาพเดียวกัน 9. การรับและเทียบโอนหน่วยกิต สถาบันอุดมศึกษาอาจยกเว้นหรือเทียบโอนหน่วยกิตรายวิชา หรือวิทยานิพนธ์ จากหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต และหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ให้กับนักศึกษาที่มีความรู้ความสามารถ ที่ สามารถวัดมาตรฐานได้ทั้งนี้นักศึกษาต้องศึกษาให้ครบตามจำนวนหน่วยกิตที่กำหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร และ เป็นไปตามหลักเกณฑ์การเทียบโอนผลการเรียนระดับปริญญาเข้าสู่การศึกษาในระบบ และแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการเทียบ โอนของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา อนึ่ง ผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต หากเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาโท ในสาขาวิชาเดียวกันหรือ สาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน ให้เทียบโอนหน่วยกิตได้ไม่เกินร้อยละ 40 ของหลักสูตร ที่จะเข้าศึกษา 10. จำนวน คุณวุฒิและคุณสมบัติของอาจารย์ 10.1 ประกาศนียบัตรบัณฑิต 10.1.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมี ผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ ตาม หลักเกณฑ์ที่กำหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดำรงตำแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย สำหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิชาชีพ อาจารย์ประจำหลักสูตรต้องมี คุณสมบัติเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 199 ~ 10.1.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวนอย่างน้อย 5 คน มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ เทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์และมีผลงานทางวิชาการ ที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของ การศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในการพิจารณาแต่งตั้ง ให้บุคคลดารงตำแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย กรณีที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับสาขาวิชาที่ไม่สามารถสรรหาอาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบตามจำนวน หรือมีจำนวนนักศึกษาน้อยกว่า 10 คน ทางสถาบันอุดมศึกษาต้องเสนอจำนวนและ คุณวุฒิของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีนั้นให้คณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเป็นรายกรณี 10.1.3 อาจารย์ผู้สอน ต้องเป็นอาจารย์ประจำหรืออาจารย์พิเศษ ที่มีคุณวุฒิขั้นต่ำ ปริญญาโทหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และต้องมี ประสบการณ์ด้านการสอนและมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทาง วิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดำรงตำแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ในกรณีของอาจารย์พิเศษ อาจได้รับการยกเว้นคุณวุฒิปริญญาโท แต่ทั้งนี้ต้องมีคุณวุฒิขั้นต่ำ ปริญญาตรีหรือเทียบเท่าและมีประสบการณ์การทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอนมาแล้วไม่น้อยกว่า6 ปีทั้งนี้อาจารย์พิเศษต้องมี ชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ50ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ประจำเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น สำหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิชาชีพ อาจารย์ผู้สอนต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตาม มาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ 10.2 ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง 10.2.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโท หรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในการพิจารณาแต่งตั้ง ให้บุคคลดำรงตำแหน่งทาง วิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย สำหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิชาชีพ อาจารย์ประจำหลักสูตรต้องมี คุณสมบัติเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพนั้นๆ 10.2.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวนอย่างน้อย 5 คน มีคุณวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งศาสตราจารย์และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ ส่วนหนึ่งของ การศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้ บุคคลดารงตำแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย กรณีที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งสาหรับสาขาวิชาที่ไม่สามารถสรรหาอาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบตามจำนวนหรือมีจำนวนนักศึกษาน้อยกว่า 10 คน ทางสถาบันอุดมศึกษาต้องเสนอจำนวนและ คุณวุฒิของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีนั้นให้คณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเป็นรายกรณี 10.2.3 อาจารย์ผู้สอน ต้องเป็นอาจารย์ประจำหรืออาจารย์พิเศษ ที่มีคุณวุฒิปริญญา เอกหรือเทียบเท่าหรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์ กัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน และต้องมีประสบการณ์ด้านการสอนและมีผลงานทางวิชาการ ที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของ การศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในการพิจารณาแต่งตั้ง ให้บุคคลดำรงตำแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ในกรณีของอาจารย์พิเศษ อาจได้รับการยกเว้นคุณวุฒิปริญญาเอกแต่ทั้งนี้ต้องมี คุณวุฒิขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าและมีประสบการณ์การทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่สอนมาแล้วไม่น้อยกว่า4 ปีทั้งนี้อาจารย์ พิเศษต้องมีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ50ของรายวิชา โดยมีอาจารย์ประจำเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น


ปีการศึกษา 2566 ~ 200 ~ สำหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิชาชีพ อาจารย์ผู้สอนต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามมาตรฐาน วิชาชีพนั้นๆ 10.3 ปริญญาโท 10.3.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมี ผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ ตาม หลักเกณฑ์ที่กำหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดำรงตำแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย 10.3.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวนอย่างน้อย 3 คน มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ เทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ ส่วนหนึ่งของ การศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้ บุคคลดำรงตำแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย กรณีที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับสาขาวิชาที่ไม่สามารถสรรหาอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตรครบตามจำนวน หรือมีจำนวนนักศึกษาน้อยกว่า 10 คน ทางสถาบันอุดมศึกษาต้องเสนอจำนวนและคุณวุฒิของ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีนั้นให้คณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณาเป็นรายกรณี 10.3.3อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและการค้นคว้าอิสระ ต้องเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์และมีผลงานทาง วิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่ กำหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดำรงตำแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย 2) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี) ต้องมีคุณวุฒิและคุณสมบัติดังนี้ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมที่เป็นอาจารย์ประจำ ต้องมีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการเช่นเดียวกับอาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์หลัก สำหรับอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ต้องมีคุณวุฒิปริญญา เอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับใน ระดับชาติซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ ไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไม่มีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการตามที่กำหนดข้างต้น ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกจะต้องเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อ วิทยานิพนธ์หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบจากสภาสถาบันอุดมศึกษาแห่งนั้น และแจ้งคณะกรรมการการ อุดมศึกษารับทราบ 10.3.4 อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องประกอบด้วยอาจารย์ประจำหลักสูตรและ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน รวมไม่น้อยกว่า 3 คน ทั้งนี้ประธานกรรมการสอบต้องไม่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หลักหรืออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม โดยอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องมีคุณวุฒิคุณสมบัติและผลงานทางวิชาการ ดังนี้ 1) กรณีอาจารย์ประจำหลักสูตร ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ำปริญญา โทหรือเทียบเท่าที่มีตำแหน่งรองศาสตราจารย์และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดำรงตำแหน่งทาง วิชาการอย่างน้อย 3 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง โดยอย่างน้อย 1 รายการต้องเป็นผลงานวิจัย


Click to View FlipBook Version