The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ณัฎฐา ศักดิ์ศิลาพร, 2023-06-10 03:39:08

คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2566

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 101 ~ 5. เกณฑ์การส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50.2 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการท าดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย (1) บทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Article ที่ไม่ได้เป็นผลงานจากการประชุมวิชาการ) จำนวนอย่างน้อย 2 บทความที่ได้ตีพิมพ์หรือได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) และ/หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus หรือ (2) บทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Article ที่ไม่ได้เป็นผลงานจากการประชุมวิชาการ) จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ ที่ได้ตีพิมพ์หรือได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม ที่ 1 หรือ 2 จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ (3) สิทธิบัตรการประดิษฐ์ ที่ได้รับเลขการยื่นจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา จำนวนอย่างน้อย 1 สิทธิบัตร และ บทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Article ที่ไม่ได้เป็นผลงานจากการประชุมวิชาการ) จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ ที่ได้ตีพิมพ์หรือได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ใน ฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่าง น้อย 1 บทความ และ อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 หรือ 2 จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ (4) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด 6. โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 1 1 1 1 (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - - - (2) หมวดวิชาเลือก - - 9 21 (3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 72 48 72 7. รายวิขา (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 1.1 และ แบบ 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบ ผ่านรายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาใน ระดับ S (Satisfactory) EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (ไม่นับหน่วยกิต)


ปีการศึกษา 2566 ~ 102 ~ (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 2.1 และ แบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบ ผ่านรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 และแบบ 2.2 ให้นักศึกษา ลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 1 หน่วยกิต ดังนี้ **EN 139 991 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธาระดับปริญญาเอก 1(0-3-2) Civil Engineering Seminar for Doctoral Degree (ไม่นับหน่วยกิต) (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) ไม่มี (2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษาแบบ 2.1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วย กิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมโยธา ไม่น้อย กว่า 6 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และเลือกลงทะเบียนรายวิชาที่ไม่ เคยศึกษามาในระดับปริญญาโท ดังนี้ นักศึกษาแบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมโยธา ไม่น้อย กว่า 18 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ EN 127 100 การบริหารต้นทุนและความเสี่ยงของโครงการ 3(3-0-6) Project Cost and Risk Management EN 127 101 การวางแผนและควบคุมการก่อสร้างเชิงบูรณาการ 3(3-0-6) Integrated Project Planning and Control EN 127 102 การบริหารคุณภาพงานก่อสร้าง 3(3-0-6) Quality Management in Construction EN 127 103 การวิเคราะห์ผลิตภาพในการก่อสร้าง 3(3-0-6) Construction Productivity Analysis EN 127 104 กฎหมายและสัญญาการก่อสร้าง 3(3-0-6) Legal Concepts and Construction Contract EN 127 105 การบริหารการเงินและการบัญชีในการก่อสร้าง 3(3-0-6) Financial and Accounting in Construction Management


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 103 ~ EN 127 106 เทคนิคงานก่อสร้าง 3(3-0-6) Construction Techniques EN 127 107 เรื่องคัดสรรทางวิศวกรรมการจัดการการก่อสร้าง 3(3-0-6) Selected Topic in Construction Management Engineering **EN 127 108 การจัดการโครงการ 3(3-0-6) Project Management EN 127 200 ปฐพีกลศาสตร์ขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Soil Mechanics EN 127 201 วิศวกรรมฐานรากขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Foundation Engineering EN 127 202 ปฐพีกลศาสตร์สำหรับดินที่ไม่อิ่มตัวด้วยน้ำ 3(3-0-6) Soil Mechanics for Unsaturated Soils EN 127 203 โครงสร้างดิน 3(3-0-6) Earth Structures EN 127 204 ปฐพีพลศาสตร์ 3(3-0-6) Soil Dynamics EN 127 205 การวิเคราะห์และออกแบบผิวทาง 3(3-0-6) Pavement Analysis and Design EN 127 206 การสำรวจและทดสอบดินในสนาม 3(2-3-6) Field Exploration and Soil Testing EN 127 207 การปรับปรุงคุณสมบัติของดิน 3(3-0-6) Ground Improvement EN 127 208 ธรณีฟิสิกส์ในงานวิศวกรรม 3(3-0-6) Engineering Geophysics EN 127 209 ธรณีวิทยาในงานวิศวกรรมขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Engineering Geology EN 127 300 การวิเคราะห์โครงสร้างขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Structural Analysis EN 127 301 โครงสร้างคอนกรีตขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Concrete Structures EN 127 302 วิธีไฟไนท์เอเลเมนท์ในงานวิศวกรรมโครงสร้าง 3(3-0-6) Finite Element Method in Structural Engineering EN 127 303 พลศาสตร์ของโครงสร้าง 3(3-0-6) Dynamics of Structures EN 127 304 โครงสร้างเหล็กขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Steel Structures EN 127 305 การจำลองพฤติกรรมของโครงสร้างในช่วงไม่ยืดหยุ่น 3(3-0-6) Inelastic Modeling of Structures


ปีการศึกษา 2566 ~ 104 ~ EN 127 306 วิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว 3(3-0-6) Wind and Earthquake Engineering EN 127 307 เสถียรภาพของโครงสร้าง 3(3-0-6) Stability of Structures **EN 127 308 วิธีทดลองปฏิบัติงานในงานวิศวกรรมโครงสร้าง 3(2-3-6) Experimental Methods in Structural Engineering EN 127 309 โครงสร้างจุลภาคและความทนทานของคอนกรีต 3(3-0-6) Microstructures and Durability of Concrete EN 127 310 การซ่อมแซมและการป้องกันโครงสร้างคอนกรีต 3(3-0-6) Repair and Protection of Concrete Structures EN 127 311 คอนกรีตเทคโนโลยีขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Concrete Technology EN 127 312 โครงสร้างและสมบัติของวัสดุวิศวกรรมโยธา 3(3-0-6) Structure and Properties of Civil Engineering Materials EN 127 313 คอนกรีตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Environmentally Friendly Concrete EN 127 314 เรื่องคัดสรรทางวิศวกรรมวัสดุก่อสร้าง 3(3-0-6) Selected Topics in Construction Materials *EN 127 315 กลศาสตร์วัสดุขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Mechanics of Materials **EN 127 400 การคำนวณปรับแก้ 3(2-3-6) Adjustment Computation EN 127 402 ภูมิมาตรศาสตร์ 3(3-0-6) Geodesy EN 127 403 หลักมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 3(3-0-6) Fundamentals of Geographic Information Systems EN 127 406 การวิเคราะห์ภาพถ่ายทางอากาศและภาพดาวเทียม 3(3-0-6) Analysis of Aerial and Satellite Imageries EN 127 407 งานสำรวจดาวเทียมจีพีเอส 3(3-0-6) GPS Satellite Surveying *EN 127 410 วิศวกรรมการสำรวจด้วยภาพถ่าย 3(2-3-6) Photogrammetric Engineering *EN 127 411 การสำรวจด้วยภาพถ่ายและการรับรู้ระยะไกลฐานอากาศยานไร้ คนขับ 3(2-3-6) UAV-based Photogrammetry and Remote Sensing *EN 127 412 การสำรวจบนพื้นระนาบและขั้นสูง 3(3-0-6) Plane and Geodetic Surveying *EN 127 413 เทคโนโลยีเชิงปริภูมิในการพัฒนานครอัจฉริยะ 3(3-0-6) Geospatial Technology for Smart City Development


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 105 ~ *EN 127 414 สารสนเทศภูมิวิศวกรรมฐานเมฆินทร์ 3(3-0-6) Cloud-based Geoinformatics Engineering EN 127 500 การวิเคราะห์ระบบการขนส่ง 3(3-0-6) Transport System Analysis EN 127 501 วิศวกรรมจราจร 3(3-0-6) Traffic Engineering **EN 127 502 การวางแผนการขนส่งในเขตเมืองอย่างยั่งยืน 3(3-0-6) Sustainable Urban Transportation Planning **EN 127 503 การวิเคราะห์ทางสถิติสำหรับวิศวกรรมขนส่ง 3(3-0-6) Statistical Analysis for Transportation Engineering EN 127 504 การออกแบบถนนเชิงเรขาคณิต 3(3-0-6) Geometric Design of Highway EN 127 505 การวางแผนระบบขนส่งสาธารณะ 3(3-0-6) Public Transportation Planning **EN 127 506 วิศวกรรมความปลอดภัยของถนน 3(3-0-6) Road Safety Engineering **EN 127 507 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศจากภาคการขนส่ง 3(3-0-6) An Assessment of Environmental Impacts and Climate Change from Transportation Sectors EN 127 508 เรื่องการคัดสรรทางวิศวกรรมขนส่ง 3(3-0-6) Selected Topics in Transportation Engineering EN 127 509 การวางแผนการขนส่ง การใช้ประโยชน์ที่ดิน และสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Transportation, Land Use and Environment Planning EN 127 510 การจัดทำแบบจำลองด้านการขนส่งและจราจร 3(3-0-6) Transportation and Traffic Modeling EN 127 600 ระบบอุทกวิทยา 3(3-0-6) Hydrologic System EN 127 603 การพัฒนาและการจัดการน้ำใต้ดิน 3(3-0-6) Groundwater Development and Management EN 127 606 การจัดการลุ่มน้ำเชิงบูรณาการ 3(3-0-6) Integrated River Basin Management EN 127 607 การวิเคราะห์ระบบทรัพยากรน้ำ 3(3-0-6) Water Resources System Analysis EN 127 609 การศึกษาพิเศษทางวิศวกรรมทรัพยากรน้ำ 3(3-0-6) Special Study in Water Resources Engineering *EN 127 610 การประยุกต์ใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์สำหรับวิศวกรรมชล ศาสตร์ 3(3-0-6) Application of Mathematical Models for Hydraulic


ปีการศึกษา 2566 ~ 106 ~ Engineering *EN 127 611 กระบวนการเฟ้นสุ่มในด้านอุทกวิทยา 3(3-0-6) Stochastic Processes in Hydrology *EN 127 612 การจัดการภัยพิบัติที่เกี่ยวกับน้ำ 3(3-0-6) Water-related Disaster Management *EN 127 613 เทคนิคการวางแผนและการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 3(3-0-6) Planning and Management Techniques in Water Resources Systems *EN 127 614 การจัดการน้ำท่วมและการระบายน้ำในเมือง 3(3-0-6) Flood Management and Urban Stormwater *EN 127 615 การจัดการน้ำแล้ง 3(3-0-6) Drought Management *EN 127 616 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการจัดการน้ำอย่างมี ประสิทธิภาพ 3(3-0-6) Climate Change and Effective Water Resources Management *EN 127 617 การศึกษาความเหมาะสมสำหรับโครงการทรัพยากรน้ำ 3(3-0-6) Feasibility Study for Water Resources Projects *EN 127 618 การจัดการอ่างเก็บน้ำ 3(3-0-6) Reservoir Management *EN 127 619 การจัดการความเสี่ยงด้านทรัพยากรน้ำ 3(3-0-6) Risk Management in Water Resources (3) ดุษฎีนิพนธ์ นักศึกษา แบบ 1.1 EN 139 996 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 1.2 EN 139 997 ดุษฎีนิพนธ์ 72 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 2.1 EN 139 998 ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 2.2 EN 139 999 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 107 ~ 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 139 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 139 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 139 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 139 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 12 12 12 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 12 12 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 139 991 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธาระดับ ปริญญาเอก 1(0-3-2) 1(0-3-2) 1(0-3-2) 1(0-3-2) Civil Engineering Seminar for Doctoral Degree (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 139 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 139 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 139 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 139 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 10 10


ปีการศึกษา 2566 ~ 108 ~ รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 18 21 21 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 139 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 139 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 139 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 139 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 27 30 33 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 139 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 139 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 139 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 139 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 39 42 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 139 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 139 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 139 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 109 ~ EN 139 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 6 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 45 45 45 51 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 139 996 ดุษฎีนิพนธ์ 3 - - - Dissertation EN 139 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 139 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 139 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 3 9 3 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 48 54 48 60 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.2 แบบ 2.2 EN 139 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 139 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 63 69 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.2 แบบ 2.2 EN139997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN139999 ดุษฎีนิพนธ์ - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 72 72


ปีการศึกษา 2566 ~ 110 ~ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า) (ภาษาไทย) : ปร.ด. (วิศวกรรมไฟฟ้า) (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Electrical Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Electrical Engineering) 4. วัตถุประสงค์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การสื่อสาร เพื่อนำมาพัฒนาขยายผล สู่การพัฒนาองค์ ความรู้ เพื่อสร้างศักยภาพในการผลิตของภาคอุตสาหกรรมและผลงานทางวิชาการในระดับมาตรฐานสากล 2) สามารถใช้ทักษะความรู้และความสามารถพหุสาขาในการพัฒนางานทางวิศวกรรมที่เป็นประโยชน์ในเชิง พาณิชย์ และตอบสนองความเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ รวมไปถึงสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือทาง วิชาการกับสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ 3) มีวุฒิภาวะ คุณธรรม จริยธรรม วินัย รับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว องค์กร สังคม และ ประเทศชาติ ใน การประกอบวิชาชีพด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและมีจรรยาบรรณ 4) มีความรู้เชิงลึกและมีความสามารถในการบูรณาการแขนงความรู้และสร้างนวัตกรรมจากองค์ความรู้ใหม่ ๆ สามารถถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการในระดับชาติและระดับนานาชาติได้ รวมไปถึงการใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5) มีความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการผลิตผลงานทางวิชาการและเผยแพร่ใน ระดับชาติและนานาชาติได้ 6) มีความสนใจใฝ่รู้ สามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ให้ทันต่อความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงของ สถานการณ์


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 111 ~ 5. เกณฑ์การส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50.2 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการท าดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย (1) บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับ นานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ วารสารวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และเป็นไปตามเงื่อนไขของทุนที่ได้รับ ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เรื่อง การตีพิมพ์บทความวิจัยของวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระเพื่อการ สำเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จึงจะสำเร็จการศึกษาได้ (2) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด 6. โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (2) หมวดวิชาเลือก - - 6 18 (3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 72 48 72 7. รายวิขา 3.1.3.2 กลุ่มวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 1.1 และ แบบ 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (ไม่นับหน่วยกิต) (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 2.1 และ แบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้


ปีการศึกษา 2566 ~ 112 ~ EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 1.1 และ แบบ 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ EN 239 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1 1(1-0-2) Dissertation Seminar I (ไม่นับหน่วยกิต) EN 239 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 2 1(1-0-2) Dissertation Seminar II (ไม่นับหน่วยกิต) EN 239 993 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 3 1(1-0-2) Dissertation Seminar III (ไม่นับหน่วยกิต) (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 2.1 และ แบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ EN 239 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1 1(1-0-2) Dissertation Seminar I EN 239 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 2 1(1-0-2) Dissertation Seminar II EN 239 993 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 3 1(1-0-2) Dissertation Seminar III (2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษาแบบ 2.1 ให้ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และเลือกลงทะเบียนรายวิชาที่ไม่เคยศึกษามาในระดับปริญญาโท หรือ รายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ นักศึกษาแบบ 2.2 ให้ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ไม่น้อยกว่า 15 หน่วย กิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดย ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ **EN 227 001 คณิตศาสตร์วิศวกรรมขั้นสูง 3(3-0-6) **EN227701 Advanced Engineering Mathematics **EN 227 002 การสร้างแบบจำลองและการจำลองระบบ 3(3-0-6) **EN227702 System Modelling and Simulation **EN 227 003 ระเบียบวิธีเชิงวิเคราะห์และเชิงตัวเลข 3(3-0-6) **EN227703 Numerical and Analytical Methods **EN 227 004 การหาค่าเหมาะสมที่สุดขั้นแนะนำ 3(3-0-6) **EN227704 Introduction to Optimization **EN 227 005 ระบบไม่เชิงเส้น 3(3-0-6)


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 113 ~ **EN227705 Nonlinear Systems **EN 227 006 ทฤษฎีสารสนเทศ 3(3-0-6) **EN227706 Information Theory **EN 227 100 ทฤษฎีเครื่องจักรกลไฟฟ้า 3(3-0-6) **EN227710 Electric Machine Theory **EN 227 101 การออกแบบหม้อแปลงขั้นสูง 3(3-0-6) **EN227711 Advanced Transformer Design **EN 227 102 เทคโนโลยีฉนวนไฟฟ้าแรงสูง 3(3-0-6) **EN227712 High Voltage Insulation Technology **EN 227 103 การส่งไฟฟ้าแรงสูงกระแสตรง 3(3-0-6) **EN227713 High Voltage Direct Current Transmission **EN 227 104 ระบบพลังงานแสงอาทิตย์โฟโตโวลตาอิก 3(3-0-6) **EN227714 Photovoltaic Solar Energy Systems **EN 227 105 เทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลิง 3(3-0-6) **EN227715 Fuel Cell Technology **EN 227 200 วงจรรวมดิจิทัลแบบซีมอส 3(3-0-6) **EN227720 CMOS Digital Integrated Circuits **EN 227 201 การออกแบบวงจรรวมซีมอสเชิงแอนะล็อก 1 3(3-0-6) **EN227721 Design of Analogue CMOS Integrated Circuits I **EN 227 202 การออกแบบวงจรรวมซีมอสเชิงแอนะล็อก 2 3(3-0-6) **EN227722 Design of Analogue CMOS Integrated Circuits II **EN 227 203 การออกแบบดิจิทัลด้วยเอชดีแอล/เอฟพีจีเอ 3(3-0-6) **EN227723 Digital System Design using HDL/FPGA **EN 227 204 อิเล็กทรอนิกส์กำลังประยุกต์ 3(3-0-6) **EN227724 Applied Power Electronics **EN 227 205 เทคโนโลยีการเชื่อมต่อภายในและการบรรจุภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ 3(3-0-6) **EN227725 Electronics Interconnection and Packaging Technology **EN 227 206 เทคโนโลยีการสร้างอุปกรณ์ไมโครและนาโนอิเล็กทรอนิกส์ 3(3-0-6) **EN227726 Micro- and Nano-Electronic Device Fabrication Technology **EN 227 207 สมบัติทางไฟฟ้าและสมบัติเชิงแสงของวัสดุ 3(3-0-6) *EN227727 Electrical and Optical Properties of Materials **EN 227 208 เทคนิคการอธิบายลักษณะของวัสดุและอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ 3(3-0-6) *EN227728 Semiconductor Material and Device Characterization Techniques **EN 227 209 เคมีไฟฟ้าของสารกึ่งตัวนำและเคมีไฟฟ้าที่เหนี่ยวนำด้วยแสง 3(3-0-6) *EN227729 Semiconductor Electrochemistry and Photoelectrochemistry


ปีการศึกษา 2566 ~ 114 ~ **EN 227 210 วิชาการเครื่องมือทางชีวการแพทย์ 3(3-0-6) **EN227730 Biomedical Instrumentation **EN 227 211 สภาวะแม่เหล็กและวัสดุแม่เหล็ก 3(3-0-6) **EN227731 Magnetism and Magnetic Materials **EN 227 212 เทคโนโลยีหัวบันทึก 3(3-0-6) **EN227732 Recording Head Technology **EN 227 213 เทคโนโลยีสื่อบันทึกข้อมูลแม่เหล็ก 3(3-0-6) **EN227733 Magnetic Media Technology **EN 227 214 ปรากฏการณ์การคายประจุไฟฟ้าสถิตในหัวบันทึก 3(3-0-6) **EN227734 Electrostatic Discharge Effects in Recording Heads *EN 227 215 ความเครียดเกินทางไฟฟ้าและการคายประจุไฟฟ้าสถิตในอุปกรณ์ นาโนเทคโนโลยี 3(3-0-6) *EN227735 Electrical Overstress and Electrostatic Discharge in Nanotechnology Devices *EN 227 216 เทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูล 3(3-0-6) *EN227736 Data Storage Technology **EN 227 300 ระบบควบคุมเชิงดิจิทัล 3(3-0-6) **EN227740 Digital Control Systems **EN 227 301 การควบคุมเหมาะที่สุด 3(3-0-6) **EN227741 Optimal Control **EN 227 302 ระบบชาญฉลาด 3(3-0-6) **EN227742 Intelligent Systems **EN 227 303 การวิเคราะห์และควบคุมหุ่นยนต์ 3(3-0-6) **EN227743 Robot Analysis and Control **EN 227 304 รถยนต์ไฟฟ้า 3(3-0-6) *EN227744 Electric Vehicle **EN 227 305 เครื่องกลวิทัศน์ 3(3-0-6) *EN227745 Machine Vision **EN 227 400 การวิเคราะห์สัญญาณและระบบ 3(3-0-6) **EN227750 Signal and System Analysis **EN 227 401 การประมวลสัญญาณแบบเวลาไม่ต่อเนื่อง 3(3-0-6) **EN227751 Discrete-time Signal Processing **EN 227 402 การประมวลผลภาพดิจิทัล 3(3-0-6) **EN227752 Digital Image Processing **EN 227 403 ระบบสื่อสารเชิงดิจิทัล 3(3-0-6) **EN227752 Digital Communication System **EN 227 404 การเข้ารหัสควบคุมความผิดพลาด 3(3-0-6) **EN227754 Error Control Coding


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 115 ~ **EN 227 405 ทฤษฎีและการออกแบบสายอากาศ 3(3-0-6) **EN227755 Antenna Theory and Design **EN 227 406 การออกแบบวงจรคลื่นความถี่วิทยุ 3(3-0-6) **EN227756 Radio Frequency Circuit Design **EN 227 407 เครือข่ายไร้สาย 3(3-0-6) **EN227757 Wireless Networks **EN 227 408 การหาตำแหน่งท้องถิ่นไร้สาย 3(3-0-6) *EN227758 Wireless Localization **EN 227 500 แม่เหล็กไฟฟ้าเชิงคำนวณ 3(3-0-6) **EN227760 Computational Electromagnetics **EN 227 501 วิศวกรรมแม่เหล็กไฟฟ้าขั้นสูง 3(3-0-6) **EN227761 Advanced Engineering Electromagnetics **EN 227 800 หัวข้อพิเศษทางคณิตศาสตร์สำหรับวิศวกรรมไฟฟ้า 3(3-0-6) **EN227790 Special Topics in Mathematics for Electrical Engineering **EN 227 801 หัวข้อพิเศษทางระบบไฟฟ้ากำลัง 3(3-0-6) **EN227791 Special Topics in Power Systems **EN 227 802 หัวข้อพิเศษทางอิเล็กทรอนิกส์ 3(3-0-6) **EN227792 Special Topics in Electronics **EN 227 803 หัวข้อพิเศษทางระบบควบคุม 3(3-0-6) **EN227793 Special Topics in Control Systems **EN 227 804 หัวข้อพิเศษทางระบบสื่อสาร 3(3-0-6) **EN227794 Special Topics in Communication system **EN 227 805 หัวข้อพิเศษทางแม่เหล็กไฟฟ้าประยุกต์ 3(3-0-6) **EN227795 Special Topics in Electromagnetic Applications **EN 227 806 หัวข้อพิเศษทางการแปรผันพลังงานไฟฟ้า 3(3-0-6) **EN227796 Special Topics in Electrical Power Conversion **EN 227 807 หัวข้อพิเศษทางปัญญาประดิษฐ์ 3(3-0-6) **EN227797 Special Topics in Artificial intelligence (3) ดุษฎีนิพนธ์ นักศึกษา แบบ 1.1 EN 239 996 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 1.2 EN 239 997 ดุษฎีนิพนธ์ 72 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 2.1 EN 239 998 ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต Dissertation


ปีการศึกษา 2566 ~ 116 ~ นักศึกษาแบบ 2.2 EN 239 999 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 239 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 239 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 239 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 239 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 12 12 9 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 9 12 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 239 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 239 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 239 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 239 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 117 ~ Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 18 18 21 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 239 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Dissertation Seminar I (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 239 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 239 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 239 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 8 - Dissertation EN 239 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 9 10 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 27 27 31 ปีที่2 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 239 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 2 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Dissertation Seminar II (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) EN 239 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 239 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 239 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 8 - Dissertation EN 239 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 8 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 36 40


ปีการศึกษา 2566 ~ 118 ~ ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 239 993 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 3 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Dissertation Seminar III (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) EN 239 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 239 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 239 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 8 - Dissertation EN 239 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 8 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 45 45 45 49 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 239 996 ดุษฎีนิพนธ์ 3 - - - Dissertation EN 239 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 239 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 239 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 3 9 3 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 48 54 48 58 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.2 แบบ 2.2 EN 239 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 239 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 63 67


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 119 ~ ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.2 แบบ 2.2 EN 239 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 239 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 5 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 5 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 72 72


ปีการศึกษา 2566 ~ 120 ~ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมเกษตร 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมเกษตร) (ภาษาไทย) : ปร.ด. (วิศวกรรมเกษตร) (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Agriculture Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Agriculture Engineering) 4. วัตถุประสงค์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การสื่อสาร เพื่อนำมาพัฒนาขยายผล สู่การพัฒนาองค์ ความรู้ เพื่อสร้างศักยภาพในการผลิตของภาคอุตสาหกรรมและผลงานทางวิชาการในระดับมาตรฐานสากล 2) สามารถใช้ทักษะความรู้และความสามารถพหุสาขาในการพัฒนางานทางวิศวกรรมที่เป็นประโยชน์ในเชิง พาณิชย์ และตอบสนองความเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ รวมไปถึงสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือทาง วิชาการกับสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ 3) มีวุฒิภาวะ คุณธรรม จริยธรรม วินัย รับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว องค์กร สังคม และ ประเทศชาติ ใน การประกอบวิชาชีพด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและมีจรรยาบรรณ 4) มีความรู้เชิงลึกและมีความสามารถในการบูรณาการแขนงความรู้และสร้างนวัตกรรมจากองค์ความรู้ใหม่ ๆ สามารถถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการในระดับชาติและระดับนานาชาติได้ รวมไปถึงการใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5) มีความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการผลิตผลงานทางวิชาการและเผยแพร่ใน ระดับชาติและนานาชาติได้ 6) มีความสนใจใฝ่รู้ สามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ให้ทันต่อความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงของ สถานการณ์


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 121 ~ 5. เกณฑ์การส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50.2 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการท าดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย (1) บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับ นานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus จ านวนอย่างน้อย 1 บทความ และ วารสารวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพ จ านวนอย่างน้อย 1 บทความ และเป็นไปตามเงื่อนไขของทุนที่ได้รับ ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามประกาศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เรื่อง การตีพิมพ์บทความวิจัยของวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระเพื่อการ ส าเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จึงจะส าเร็จการศึกษาได้ (2) จัดท าโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ก าหนด 6. โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 2 2 2 2 (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - - - (2) หมวดวิชาเลือก - - 9 21 (3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 72 48 72 7. รายวิขา 3.1.3.3 กลุ่มวิชาวิศวกรรมเกษตร (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 1.1 และ แบบ 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (ไม่นับหน่วยกิต)


ปีการศึกษา 2566 ~ 122 ~ (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 2.1 และ แบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 1.1 แบบ 1.2 และแบบ 2.1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและ สอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 2 หน่วยกิต ดังนี้ EN 339 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมเกษตร 1 1(1-0-2) Agricultural Engineering Dissertation Seminar I (ไม่นับหน่วยกิต) EN 339 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมเกษตร 2 1(1-0-2) Agricultural Engineering Dissertation Seminar II (ไม่นับหน่วยกิต) (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ EN 327 891 สัมมนาทางวิศวกรรมเกษตร 1(1-0-2) Agricultural Engineering Seminar EN 339 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมเกษตร 1 1(1-0-2) Agricultural Engineering Dissertation Seminar I EN 339 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมเกษตร 2 1(1-0-2) Agricultural Engineering Dissertation Seminar II (2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษาแบบ 2.1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบ นับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมเกษตร ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และเลือกลงทะเบียนรายวิชา ที่ไม่เคยศึกษามาในระดับปริญญาโท ดังนี้ นักศึกษาแบบ 2.2 ให้ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมเกษตรไม่น้อยกว่า 18 หน่วย กิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดย ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ EN 327 000 การวิเคราะห์และประเมินขั้นสูงในระบบฟาร์มและระบบหลังการ เก็บเกี่ยว 3(3-0-6) Advanced Analysis and Assessment in Farm and Postharvest System EN 327 001 สมบัติทางวิศวกรรมของวัสดุเกษตรและผลิตภัณฑ์ 3(3-0-6)


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 123 ~ Engineering Properties of Agricultural Materials and Products EN 327 002 การประยุกต์ระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ในงานวิศวกรรมเกษตร 3(3-0-6) Applied Finite Element Method in Agricultural Engineering EN 327 003 วิศวกรรมการผลิตอ้อยขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Sugar Cane Production Engineering **EN 327 004 การจัดการทรัพยากรที่ดินและแหล่งน้ำ 3(3-0-6) EN327300 Land and Water Resources Management EN 327 100 เครื่องจักรกลเกษตรและการจัดการ 3(3-0-6) Agricultural Machinery and Management EN 327 101 การออกแบบเครื่องจักรกลเกษตรและเครื่องมือหลังการเก็บเกี่ยว ขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Agricultural Machinery and Postharvest Equipment Design EN 327 102 การทดสอบและประเมินผลเครื่องจักรกลเกษตรและเครื่องมือหลัง การเก็บเกี่ยว 3(3-0-6) Agricultural Machinery and Postharvest Equipment Testing and Evaluation EN 327 103 การใช้เครื่องจักรกลเพื่อการเกษตรขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Agricultural Mechanization EN 327 104 วิศวกรรมรถแทรกเตอร์การเกษตรขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Agricultural Tractor Engineering EN 327 105 เครื่องเก็บเกี่ยวเมล็ดพืช 3(3-0-6) Grain Harvester EN 327 106 การเก็บเกี่ยวพืชและการจัดการ 3(3-0-6) Crop Harvesting and Management EN 327 200 การอบแห้งและการเก็บรักษาเมล็ดพืช 3(3-0-6) Grain Drying and Storage EN 327 201 การประยุกต์ทางวิศวกรรมสำหรับวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว 3(3-0-6) Engineering Application for Postharvest Technology EN 327 202 เทคโนโลยีการแปรรูปข้าวขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Rice Processing Technology **EN 327 203 กำลังและพลังงานหมุนเวียน 3(3-0-6) Power and Renewable Energy EN 327 204 เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ในด้านเกษตรกรรม 3(3-0-6) Solar Energy Technology in Agriculture EN 327 301 การจัดการทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการ 3(3-0-6) Integrated Water Resources Management


ปีการศึกษา 2566 ~ 124 ~ EN 327 302 อุทกวิทยาประยุกต์ 3(3-0-6) Applied Hydrology EN 327 303 ชลศาสตร์ประยุกต์ 3(3-0-6) Applied Hydraulics EN 327 304 การวางแผนและการจัดการชลประทาน 3(3-0-6) Irrigation Planning and Management EN 327 305 การจำลองระบบลุ่มน้ำเกษตร 3(3-0-6) Simulation of Agricultural Watershed Systems *EN 327 306 เทคนิคการหาค่าที่เหมาะสมด้วยอัลกอริทึม 3(3-0-6) Optimization Techniques with Algorithms *EN 327 307 ทษฎีควบคุมสำหรับเมคคาทรอนิกส์เกษตร 3(3-0-6) Control Theory for Agricultural Mechartronics **EN 327 800 หัวข้อเรื่องพิเศษทางวิศวกรรมเกษตร 1 3(3-0-6) EN327400 Special Topics of Agricultural Engineering I **EN 327 801 หัวข้อเรื่องพิเศษทางวิศวกรรมเกษตร 2 3(3-0-6) EN327401 Special Topics of Agricultural Engineering II (3) ดุษฎีนิพนธ์ นักศึกษา แบบ 1.1 EN 339 996 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 1.2 EN 339 997 ดุษฎีนิพนธ์ 72 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 2.1 EN 339 998 ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 2.2 EN 339 999 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 125 ~ EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 339 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 339 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 339 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 339 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 12 12 9 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 9 12 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 327 891 สัมมนาทางวิศวกรรมเกษตร - - - 1(0-3-2) Agricultural Engineering Seminar EN 339 991 การสัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรม เกษตร 1 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) - Agricultural Engineering Dissertation Seminar I (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN 339 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 339 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 339 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 339 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 10 10 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 18 18 22


ปีการศึกษา 2566 ~ 126 ~ ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 339 992 การสัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรม เกษตร 2 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) - Agricultural Engineering Dissertation Seminar II (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 339 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 339 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 339 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 8 - Dissertation EN 339 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 27 26 31 ปีที่2 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 339 991 การสัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรม เกษตร 1 - - - 1(1-0-2) Agricultural Engineering Dissertation Seminar I EN 339 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 339 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 339 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 339 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 10 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 35 41 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 127 ~ แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 339 992 การสัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรม เกษตร 2 - - - 1(1-0-2) Agricultural Engineering Dissertation Seminar II EN 339 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 339 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 339 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 339 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 10 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 45 45 44 51 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 339 996 ดุษฎีนิพนธ์ 3 - - - Dissertation EN 339 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 339 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 4 - Dissertation EN 339 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 3 9 4 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 48 54 48 60 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.2 แบบ 2.2 EN 339 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 339 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 63 69


ปีการศึกษา 2566 ~ 128 ~ ปีที่4 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.2 แบบ 2.2 EN 339 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 339 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 72 72


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 129 ~ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมอุตสาหการ) (ภาษาไทย) : ปร.ด. (วิศวกรรมอุตสาหการ) (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (industrial Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Industrial Engineering) 4. วัตถุประสงค์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้ 1) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การสื่อสาร เพื่อนำมาพัฒนาขยายผล สู่การพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อ สร้างศักยภาพในการผลิตของภาคอุตสาหกรรมและผลงานทางวิชาการในระดับมาตรฐานสากล 2) สามารถใช้ทักษะความรู้และความสามารถพหุสาขาในการพัฒนางานทางวิศวกรรมที่เป็นประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ และตอบสนองความเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ รวมไปถึงสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือทางวิชาการกับ สถาบันการศึกษาในต่างประเทศ 3) มีวุฒิภาวะ คุณธรรม จริยธรรม วินัย รับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว องค์กร สังคม และ ประเทศชาติ ในการ ประกอบวิชาชีพด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและมีจรรยาบรรณ 4) มีความรู้เชิงลึกและมีความสามารถในการบูรณาการแขนงความรู้และสร้างนวัตกรรมจากองค์ความรู้ใหม่ๆ สามารถ ถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการในระดับชาติและระดับนานาชาติได้ รวมไปถึงการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5) มีความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการผลิตผลงานทางวิชาการและเผยแพร่ในระดับชาติ และนานาชาติได้ 6) มีความสนใจใฝ่รู้ สามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ให้ทันต่อความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ 5. เกณฑ์การส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50.2 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการท าดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย


ปีการศึกษา 2566 ~ 130 ~ แบบ 1.1 แบบ 1.2 (3) บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยู่ ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่าง น้อย 1 บทความ และ วารสารวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และเป็นไปตามเงื่อนไขของทุนที่ได้รับ ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น เรื่อง การ ตีพิมพ์บทความวิจัยของวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระเพื่อการสำเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จึง จะสำเร็จการศึกษาได้ (4) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดยบทความ ได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยู่ใน ฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และเป็นไปตามเงื่อนไขของทุนที่ได้รับ ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น เรื่อง การตีพิมพ์บทความวิจัยของวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระเพื่อการสำเร็จการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา จึงจะสำเร็จการศึกษาได้ (2) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด 6. โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 1 1 1 1 (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - - - (2) หมวดวิชาเลือก - - 9 21 (3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 72 48 72 7. รายวิขา 3.1.3.4 กลุ่มวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 1.1 และ แบบ 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชา ต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (ไม่นับหน่วยกิต) (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 2.1 และ แบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชา ต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 131 ~ EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 และแบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียน และสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 1 หน่วยกิต ดังนี้ EN 439 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมอุตสาหการ 1 1(1-0-2) Seminar in Industrial Engineering I (ไม่นับหน่วยกิต) (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) ไม่มี (2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษาแบบ 2.1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรม อุตสาหการไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และเลือกลงทะเบียนรายวิชาที่ไม่ เคยศึกษามาในระดับปริญญาโท ดังนี้ นักศึกษาแบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมอุตสา หการ ไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ **EN 427 101 ทฤษฎีการจัดตารางเวลางาน 3(3-0-6) Scheduling Theory EN 427 105 การจำลองสถานการณ์ด้วยคอมพิวเตอร์ขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Computer Simulation *EN 427 110 การจัดการการดำเนินงานที่ชาญฉลาด 3(3-0-6) Smart Operations Management *EN 427 111 โรงงานดิจิทัล 3(3-0-6) Digital Factory *EN 427 112 เทคนิคและการใช้งานการค้นหาคำตอบที่น่าพึงพอใจขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Optimization: Techniques and Industrial Applications *EN 427 113 การจัดการองค์กรในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 3(3-0-6) Enterprise management in Digital Economy *EN 427 114 การจัดการโครงการสำหรับอุตสาหกรรม 4.0 3(3-0-6) Project Management for Industry 4.0 *EN 427 115 การจัดการคุณภาพสำหรับเครือข่ายกิจการ 3(3-0-6) Quality Management for Extended Enterprise *EN 427 116 การจัดการโซ่อุปทานที่ยั่งยืน 3(3-0-6) Sustainable Supply Chain Management


ปีการศึกษา 2566 ~ 132 ~ *EN 427 117 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจอัจฉริยะ 3(3-0-6) Intelligent Decision Support Systems *EN 427 118 ระบบการผลิตร่วม 3(3-0-6) Collaborative Manufacturing Systems *EN 427 119 การผลิตแบบเพิ่มเนื้อวัสดุสำหรับอุตสาหกรรม 4.0 3(3-0-6) Additive Manufacturing for Industry 4.0 *EN 427 120 การยศาสตร์สำหรับผู้ปฏิบัติงาน 4.0 3(3-0-6) Human-Centric Design for Operator 4.0 EN 427 204 ซิกส์ซิกมา 3(3-0-6) Six Sigma *EN 427 210 การวิเคราะห์ข้อมูลประยุกต์ 3(3-0-6) Applied Data Analytics *EN 427 211 ระบบอุตสาหกรรมไซเบอร์กายภาพ 3(3-0-6) Cyber-Physical Industrial Systems EN 427 300 ระบบการขนถ่ายวัสดุ 3(3-0-6) Material Handling Systems EN 427 301 การวางแผนผังโรงงานและอุปกรณ์การผลิต 3(3-0-6) Plant Layout and Facility Planning *EN 427 311 การออกแบบและบริการจัดการประสบการณ์ 3(3-0-6) Customer Experience-driven Design EN 427 402 การจัดการการตลาดสำหรับวิศวกรรมอุตสาหการ 3(3-0-6) Marketing Management for Industrial Engineer EN 427 403 การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานทางการเกษตรและอาหาร 3(3-0-6) Agricultural and Food Logistics and Supply Chain Management EN 427 404 การจัดการการผลิตสีเขียว 3(3-0-6) Green Manufacturing Management EN 427 405 การวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจ 3(3-0-6) Enterprise Resource Planning EN 427 406 การผลิตแบบลีน 3(3-0-6) Lean Manufacturing *EN 427 510 การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรม 3(3-0-6) Innovative Product Design and Development *EN 427 511 การออกแบบและบริการจัดการประสบการณ์ 3(3-0-6) Customer Experience-Driven Design EN 427 600 การวิเคราะห์ต้นทุนและเศรษฐศาสตร์ของห่วงโซ่อุปทาน 3(3-0-6) Supply Chain Cost and Economics Analysis EN 427 894 หัวข้อปัจจุบันในสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 3(3-0-6) Current Topics in Industrial Engineering


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 133 ~ **EN 447 100 การวิจัยดำเนินการสำหรับการการจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่ อุปทาน 3(3-0-6) Operations Research for Logistics and Supply Chain Management EN 447 101 การจัดการเชิงปฏิบัติการ 3(3-0-6) Operations Management EN 447 102 การคำนวณอัจฉริยะสำหรับอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ 3(3-0-6) Intelligence Computing for Industrial and Logistics EN 447 103 รูปแบบและระบบการขนส่ง 3(3-0-6) Transport Modes and Systems EN 447 104 การวิเคราะห์โปรแกรมเชิงเส้นและการไหลภายในโครงข่าย 3(3-0-6) Analysis of Linear Programming and Network Flows EN 447 105 การจำลองระบบอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ 3(3-0-6) Industrial and Logistics System Simulation EN 447 201 โลจิสติกส์แบบย้อนกลับและห่วงโซ่อุปทานแบบวงปิด 3(3-0-6) Reverse Logistics and Closed-Loop Supply Chain EN 447 202 โลจิสติกส์ระหว่างประเทศ 3(3-0-6) International Logistics EN 447 203 การบริหารสินค้าคงคลังในห่วงโซ่อุปทาน 3(3-0-6 Inventory Management in Supply Chains EN 447 300 ลีนซิกซิกม่า 3(3-0-6) Lean Six Sigm EN 447 301 วิธีการทางสถิติสำหรับการจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน 3(3-0-6) Statistical Methods for Logistics and Supply Chain Management EN 447 400 การวิเคราะห์การตัดสินใจภายใต้หลายเกณฑ์และการวัดสมรรถนะ 3(3-0-6) Multiple Criteria Decision Analysis and Performance Measurement EN 447 401 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สำหรับโลจิสติกส์ 3(3-0-6) Geographic Information Systems for Logistics EN 447 500 การวิเคราะห์ต้นทุนอุตสาหกรรมและเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม 3(3-0-6) Industrial Cost Analysis and Engineering Economy EN 447 501 การวิเคราะห์การตัดสินใจเชิงเศรษฐศาสตร์ขั้นสูง 3(3-0-6) Advance Economic Decision Analysis EN 447 894 หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม และโลจิสติกส์ 3(3-0-6) Current Topics in Industrial and Logistics Engineering Management **EN 457 100 วิศวกรรมวัสดุและเทคโนโลยี 3(3-0-6) *194 850 Materials Engineering and Technology **EN 457 101 การวิเคราะห์โครงสร้างและพื้นผิวของวัสดุ 3(3-0-6) *194 851 Structural and Surface Analysis of Materials


ปีการศึกษา 2566 ~ 134 ~ **EN 457 102 วัสดุชีวภาพและการประยุกต์ใช้ของวัสดุชีวภาพ 3(3-0-6) 194852 Biomaterials and Applications of Biomaterials **EN 457 103 การกัดกร่อนและการวิเคราะห์วัสดุ 3(3-0-6) 194853 Corrosion and Analysis of Materials **EN 457 104 วิทยาการและเทคโนโลยีของวัสดุนาโน 3(3-0-6) 194854 Science and Technology of Nanomaterials **EN 457 105 โลหะวิทยากายภาพขั้นสูง 3(3-0-6) 194855 Advanced Physical Metallurgy **EN 457 106 การใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนและการวิเคราะห์ส่วนประกอบ จุลภาคด้วยรังสีเอ็กซ์ 3(3-0-6) 194856 Electron Microscopy an X-ray Microanalysis **EN 457 107 การวิเคราะห์ความบกพร่องของส่วนประกอบจากการผลิต 3(3-0-6) 194772 Failure Analysis of Manufactured Components **EN 457 200 กระบวนการผลิตขั้นสูง 3(3-0-6) *194 860 Advanced Manufacturing Process **EN 457 201 การผลิตอุปกรณ์ไมโครและนาโนอิเล็กทรอนิกส์ 3(3-0-6) 194741 Micro- and Nano-Electronics Manufacturing **EN 457 202 การขึ้นรูปโลหะ 3(3-0-6) 194773 Metal Forming **EN 457 203 การอบชุบในการผลิต 3(3-0-6) 194776 Heat Treatment in Manufacturing **EN 457 204 วิศวกรรมย้อนรอย 3(3-0-6) 194861 Reverse Engineering **EN 457 205 การออกแบบผลิตภัณฑ์สำหรับการผลิต 3(3-0-6) 194863 Product Design for Manufacturing **EN 457 206 การควบคุมแบบไม่เป็นเชิงเส้นประยุกต์ 3(3-0-6) 194734 Applied Nonlinear Control **EN 457 207 การทำให้เป็นอัตโนมัติขั้นสูง 3(3-0-6) 194862 Advanced Automation **EN 457 208 คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบการผลิตและวิศวกรรมขั้นสูง 3(3-0-6) 194864 Computer Aided in Manufacturing Design and Advance Engineering **EN 457 891 การสัมมนาและการศึกษาดูงานทางวิศวกรรมวัสดุและการผลิต 1(1-0-2) Materials and Manufacturing Engineering Seminar and Field Trip Study **EN 457 894 หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมวัสดุและการผลิต 3(3-0-6) 194895 Current Topics in Materials and Manufacturing Engineering


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 135 ~ (3) ดุษฎีนิพนธ์ นักศึกษา แบบ 1.1 EN 439 996 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 1.2 EN 439 997 ดุษฎีนิพนธ์ 72 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 2.1 EN 439 998 ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 2.2 EN 439 999 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN 439 991 สัมมนาทางวิศวกรรมอุตสาหการ 1 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Seminar in Industrial Engineering I (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต)(ไม่นับหน่วยกิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 439 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 439 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 439 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 439 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 13 13 10 13 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 9 12


ปีการศึกษา 2566 ~ 136 ~ ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN 439 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 439 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 439 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 439 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 12 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 18 21 24 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 439 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 439 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 439 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 439 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 27 30 33


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 137 ~ ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 439 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 439 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 439 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 439 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 39 42 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 439 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 439 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 439 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 439 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 6 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 45 45 45 54 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 439 996 ดุษฎีนิพนธ์ 3 - - - Dissertation EN 439 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 439 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 439 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 3 9 3 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 48 54 48 63


ปีการศึกษา 2566 ~ 138 ~ ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.2 แบบ 2.2 EN 439 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 439 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 6 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 63 69 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.2 แบบ 2.2 EN 439 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 439 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 72 72


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 139 ~ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมเครื่องกล 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมเครื่องกล) (ภาษาไทย) : ปร.ด. (วิศวกรรมเครื่องกล) (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Mechanical Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Mechanical Engineering) 4. วัตถุประสงค์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้ 1) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การสื่อสาร เพื่อนำมาพัฒนาขยายผล สู่การพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อ สร้างศักยภาพในการผลิตของภาคอุตสาหกรรมและผลงานทางวิชาการในระดับมาตรฐานสากล 2) สามารถใช้ทักษะความรู้และความสามารถพหุสาขาในการพัฒนางานทางวิศวกรรมที่เป็นประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ และตอบสนองความเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ รวมไปถึงสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือทางวิชาการกับ สถาบันการศึกษาในต่างประเทศ 3) มีวุฒิภาวะ คุณธรรม จริยธรรม วินัย รับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว องค์กร สังคม และ ประเทศชาติ ในการ ประกอบวิชาชีพด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและมีจรรยาบรรณ 4) มีความรู้เชิงลึกและมีความสามารถในการบูรณาการแขนงความรู้และสร้างนวัตกรรมจากองค์ความรู้ใหม่ๆ สามารถ ถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการในระดับชาติและระดับนานาชาติได้ รวมไปถึงการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5) มีความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการผลิตผลงานทางวิชาการและเผยแพร่ในระดับชาติ และนานาชาติได้ 6) มีความสนใจใฝ่รู้ สามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ให้ทันต่อความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์


ปีการศึกษา 2566 ~ 140 ~ 5. เกณฑ์การส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50.2 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการท าดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย แบบ 1.1 แบบ 1.2 (1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือที่อยู่ในฐานข้อมูล SCOPUS ควอร์ไทล์1 - 3 จำนวนอย่าง น้อย 1 บทความ และ (2) วารสารระดับนานาชาติ หรือชาติจำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และเป็นไปตามเงื่อนไขของทุนที่ได้รับ ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น เรื่อง การตีพิมพ์บทความวิจัยของวิทยานิพนธ์หรือ การศึกษาอิสระเพื่อการสำเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จึงจะสำเร็จการศึกษาได้ (3) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดยบทความ ได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรืออยู่ในฐานข้อมูล SCOPUS ควอร์ไทล์1 - 3 จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ (2) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด 6. โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) - - - - (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - - - (2) หมวดวิชาเลือก - - 9 21 (3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 72 48 72 7. รายวิขา (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 1.1 และ แบบ 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชา ต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (ไม่นับหน่วยกิต)


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 141 ~ (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 2.1 และ แบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชา ต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) ไม่มี (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) ไม่มี (2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษาแบบ 2.1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับ หน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ไม่น้อย กว่า 6 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และเลือกลงทะเบียนรายวิชาที่ไม่เคยศึกษามาในระดับ ปริญญาโท ดังนี้ นักศึกษาแบบ 2.2 ให้ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ EN 527 100 ทฤษฎีสภาพยืดหยุ่น 3(3-0-6) Theory of Elasticity EN 527 101 กลศาสตร์สัมผัส 3(3-0-6) Contact Mechanics EN 527 102 กลศาสตร์ของความล้าและการแตกร้าว 3(3-0-6) Mechanics of Fatigue and Fracture EN 527 103 กลศาสตร์ของกระบวนการเปลี่ยนรูป 3(3-0-6) Mechanics of Deformation Processing *EN 527 104 หัวข้อขั้นสูงในกลศาสตร์เชิงคำนวณ 3(3-0-6) Advanced Topics in Computational Mechanics EN 527 200 พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณ 3(3-0-6) Computation Fluid Dynamics EN 527 201 พลศาสตร์ของของไหลที่มีความหนืด 3(3-0-6) Dynamics of Viscous Fluid EN 527 202 พลศาสตร์ของการไหลวน 3(3-0-6) Dynamics of Vortex Flow *EN 527 300 การออกแบบตามแนวคิดของเครื่องบิน 3(3-0-6) Aircraft Conceptual Design *EN 527 301 หัวข้อขั้นสูงในการออกแบบระบบทางวิศวกรรมเครื่องกล 3(3-0-6) Advanced Topics in Mechanical System Design


ปีการศึกษา 2566 ~ 142 ~ *EN 527 302 หัวข้อขั้นสูงในปัญญาประดิษฐ์สำหรับวิศวกรเครื่องกล 3(3-0-6) Advanced Topics in Artificial Intelligence for Mechanical Engineers *EN 527 303 หัวข้อขั้นสูงในระบบควบคุมทางวิศวกรรม 3(3-0-6) Advanced Topics in Engineering Control Systems *EN 527 304 หัวข้อทางด้านการควบคุมอัติโนมัติขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Topics in Automatic Control EN 527 400 ไตรโบโลยี 3(3-0-6) Tribology EN 527 401 การหาค่าเหมาะที่สุดทางวิศวกรรม 3(3-0-6) Engineering Optimization EN 527 402 ระเบียบวิธีไฟไนท์เอลิเมนต์สำหรับวิศวกร 3(3-0-6) Finite Element Methods for Engineers EN 527 403 แอโรอีลาสติซิตี้เชิงคำนวณ 3(3-0-6) Computation Aeroelasticity *EN 527 404 หัวข้อทางด้านวิศวกรรมขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Topics in Mechanical Engineering *EN 527 405 หัวข้อทางด้านปัญญาประดิษฐ์ขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Topics in Artificial Intellligence *EN 527 406 หัวข้อขั้นสูงทางวิศวกรรมอากาศยาน 3(3-0-6) Advanced Topics in Aerospace Engineering (3) ดุษฎีนิพนธ์ นักศึกษา แบบ 1.1 EN 539 996 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 1.2 EN 539 997 ดุษฎีนิพนธ์ 72 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 2.1 EN 539 998 ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 2.2 EN 539 999 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 143 ~ 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 539 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 539 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 539 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 539 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 12 12 12 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 12 12 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 539 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 539 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 539 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 539 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 18 21 21


ปีการศึกษา 2566 ~ 144 ~ ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 539 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 539 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 539 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 539 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 27 30 33 ปีที่2 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 539 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 539 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 539 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 539 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 39 45 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 539 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 539 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 539 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 539 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 145 ~ รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 6 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 45 45 45 54 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 EN 539 996 ดุษฎีนิพนธ์ 3 - - - Dissertation EN 539 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 539 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 539 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 3 9 3 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 48 54 48 63 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.2 แบบ 2.2 EN 539 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 539 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 6 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 63 69 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.2 แบบ 2.2 EN 539 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 539 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 72 72


ปีการศึกษา 2566 ~ 146 ~ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) (ภาษาไทย) : ปร.ด. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Environment Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Environment Engineering) 4. วัตถุประสงค์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้ 1) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การสื่อสาร เพื่อนำมาพัฒนาขยายผล สู่การพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อ สร้างศักยภาพในการผลิตของภาคอุตสาหกรรมและผลงานทางวิชาการในระดับมาตรฐานสากล 2) สามารถใช้ทักษะความรู้และความสามารถพหุสาขาในการพัฒนางานทางวิศวกรรมที่เป็นประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ และตอบสนองความเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ รวมไปถึงสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือทางวิชาการกับ สถาบันการศึกษาในต่างประเทศ 3) มีวุฒิภาวะ คุณธรรม จริยธรรม วินัย รับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว องค์กร สังคม และ ประเทศชาติ ในการ ประกอบวิชาชีพด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและมีจรรยาบรรณ 4) มีความรู้เชิงลึกและมีความสามารถในการบูรณาการแขนงความรู้และสร้างนวัตกรรมจากองค์ความรู้ใหม่ๆ สามารถ ถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการในระดับชาติและระดับนานาชาติได้ รวมไปถึงการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5) มีความสามารถในการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการผลิตผลงานทางวิชาการและเผยแพร่ในระดับชาติ และนานาชาติได้ 6) มีความสนใจใฝ่รู้ สามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ให้ทันต่อความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 147 ~ 5. เกณฑ์การส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50.2 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการท าดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย แบบ 1.1 แบบ 1.2 (1) บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยู่ ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่าง น้อย 1 บทความ และ วารสารวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และเป็นไปตามเงื่อนไขของทุนที่ได้รับ ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น เรื่อง การ ตีพิมพ์บทความวิจัยของวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระเพื่อการสำเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จึงจะ สำเร็จการศึกษาได้ (2) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดยบทความ ได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยู่ใน ฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และเป็นไปตามเงื่อนไขของทุนที่ได้รับ ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น เรื่อง การตีพิมพ์บทความวิจัยของวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระเพื่อการสำเร็จการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา จึงจะสำเร็จการศึกษาได้ (2) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด 6. โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 4 4 4 4 (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - - 9 (2) หมวดวิชาเลือก - - 9 12 (3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 72 48 72


ปีการศึกษา 2566 ~ 148 ~ 7. รายวิขา 3.1.3.6 กลุ่มวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 1.1 และ แบบ 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชา ต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (ไม่นับหน่วยกิต) (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 2.1 และ แบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชา ต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 และแบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียน และสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 4 หน่วยกิต ดังนี้ **EN 639 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 1 1(1-0-2) Environmental Engineering Seminar I (ไม่นับหน่วยกิต) **EN 639 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 2 1(1-0-2) Environmental Engineering Seminar II (ไม่นับหน่วยกิต) **EN 639 993 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3 1(1-0-2) Environmental Engineering Seminar III (ไม่นับหน่วยกิต) **EN 639 994 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 4 1(1-0-2) Environmental Engineering Seminar IV (ไม่นับหน่วยกิต) (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้แบบ นับหน่วยกิต (Credit) และต้องมีผลการศึกษาในระดับ C ขึ้นไป จำนวน 9 หน่วยกิต ตามรายวิชาดังต่อไปนี้ EN 627 000 เคมีของน้ำ 3(3-0-6) Aquatic Chemistry EN 627 001 การแปรสภาพและการเคลื่อนที่ของสารมลพิษ 3(3-0-6) Fate and Transport of Pollutant EN 627 002 จลนพลศาสตร์และการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์สำหรับวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Kinetics and Reactor Design for Environmental Engineering


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 149 ~ (2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษาแบบ 2.1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน ในรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับ หน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ไม่ น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และเลือกลงทะเบียนรายวิชาที่ไม่เคยศึกษามา ในระดับปริญญาโท ดังนี้ นักศึกษาแบบ 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านในรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับ หน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ไม่ น้อยกว่า 9 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ EN 627 101 กระบวนการออกซิเดชันขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Oxidation Processes **EN 627 102 กระบวนการบำบัดน้ำเสียขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Wastewater Treatment Processes **EN 627 103 กระบวนการผลิตน้ำขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Water Treatment Processes **EN 627 104 เทคโนโลยีมลพิษทางอากาศและการจัดการ 3(3-0-6) Air Pollution Technology and Management **EN 627 105 กระบวนการแยกสารทางสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Environmental Separation Processes EN 627 106 วิศวกรรมการบำบัดของเสียอันตราย 3(3-0-6) Hazardous Waste Treatment Engineering EN 627 108 การจัดการและการกำจัดมูลฝอย 3(3-0-6) Solid Waste Disposal and Management EN 627 109 กระบวนการทางชีวภาพสำหรับงานวิศวกรรมน้ำและน้ำเสีย 3(3-0-6) Biological Processes for Water and Wastewater Engineering **EN 627 110 การจัดการคุณภาพน้ำ 3(3-0-6) EN627203 Water Quality Management **EN 627 111 การบำบัดแบบไม่ใช้อากาศเพื่อการผลิตก๊าซชีวภาพ 3(3-0-6) EN627400 Anaerobic Treatment for Biogas Production **EN 627 112 การจัดการของเสียอุตสาหกรรม 3(3-0-6) EN627201 Industrial Waste Management *EN 627 113 ระบบสุขาภิบาลอาคารขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Building Sanitation System *EN 627 114 การควบคุมมลพิษน้ำจากอุตสาหกรรมขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Industrial Water Pollution Control EN 627 501 การวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือสำหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Instrumental Analysis for Environmental Engineering EN 627 502 พิษวิทยาและสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Toxicology and Environment


ปีการศึกษา 2566 ~ 150 ~ **EN 627 503 การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการวางแผนสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Geographic Information System Application of Environmental Planning **EN 627 504 การประเมินการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีสะอาด 3(3-0-6) **EN627202 Production Assessment by Cleaner Technology **EN 627 505 เทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อมขั้นสูง 3(3-0-6) **EN627100 Advanced Environmental Biotechnology **EN 627 506 นาโนเทคโนโลยีสำหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) **EN627107 Nanotechnology for Environmental Engineering ทั้งนี้ นักศึกษาแบบ 2.1 สามารถเลือกลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน ในรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) เป็นวิชาเลือก เพิ่มเติมได้ดังนี้ EN 627 000 เคมีของน้ำ 3(3-0-6) Aquatic Chemistry EN 627 001 การแปรสภาพและการเคลื่อนที่ของสารมลพิษ 3(3-0-6) Fate and Transport of Pollutant EN 627 002 จลนพลศาสตร์และการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์สำหรับวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Kinetics and Reactor Design for Environmental Engineering **EN 627 003 หน่วยปฏิบัติการและกระบวนการทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Units Operations and Processes in Environmental Engineering (3) ดุษฎีนิพนธ์ นักศึกษา แบบ 1.1 EN 639 996 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 1.2 EN 639 997 ดุษฎีนิพนธ์ 72 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 2.1 EN 639 998 ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแบบ 2.2 EN 639 999 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation


Click to View FlipBook Version