The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ณัฎฐา ศักดิ์ศิลาพร, 2024-06-07 07:52:30

คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2567

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปีการศึกษา 2567 ~ 46 ~ สำหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม Kinetics and Reactor Design for Environmental Engineering EN XXX XXX วิชาเลือก - 3(3-0-6) Electives Course EN 627 898 วิทยานิพนธ์ 9 - Thesis EN 627 899 วิทยานิพนธ์ - - Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 12 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่2 จำนวนหน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการ จัดการนวัตกรรม - 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management EN 627 000 เคมีของน้ำ - 3(3-0-6) Aquatic Chemistry EN 627 891 สัมมนาทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม - 1(1-0-2) Seminar in Environmental Engineering (ไม่นับหน่วยกิต) EN 627 898 วิทยานิพนธ์ 9 - Thesis EN 627 899 วิทยานิพนธ์ - 3 Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 10 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 18 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่1 จำนวนหน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 EN XXX XXX วิชาเลือก - 3(3-0-6) Electives Course EN 627 898 วิทยานิพนธ์ 9 - Thesis EN 627 899 วิทยานิพนธ์ - 6 Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 27


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 47 ~ ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่2 จำนวนหน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 EN 627 898 วิทยานิพนธ์ 9 - Thesis EN 627 899 วิทยานิพนธ์ - 9 Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36


ปีการศึกษา 2567 ~ 48 ~ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Master of Engineering Program 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมเคมี 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) (ภาษาไทย) : วศ.ม. (วิศวกรรมเคมี) (ภาษาอังกฤษ) : Master of Engineering (Chemical Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : M.Eng. (Chemical Engineering) 4. วัตถุประสงค์ สำหรับ แผน 1 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ (1) เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชา และสามารถประยุกต์ใน การศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ (2) เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการวิจัยในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการทำงาน วิจัย และแก้ไขปัญหาได้ รวมถึงมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน (3) เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4) เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และจรรยาบรรณ ในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ สำหรับ แผน 2 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ (1) เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีที่ครอบคลุมประเด็นสำคัญในสาขาของตนเองและ สาขาที่เกี่ยวข้อง และนำมาประยุกต์ในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้ (2) เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการศึกษาค้นคว้าประเด็นหรือปัญหาในภาคอุตสาหกรรมที่ตนเองสนใจได้ และ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อค้นหาคำตอบและวิเคราะห์ข้อมูล รวมถึงมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน (3) เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 49 ~ (4) เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และจรรยาบรรณ ในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ 5. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2565 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2566 หมวดที่ 10 ข้อ 56 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย แผน1 แบบ ก1 1) นักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับชาติที่อยู่ใน ฐานข้อมูล TCI หรือระดับนานาชาติ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 2) นักศึกษามีผลงานนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวิชาการอื่น ซึ่งสามารถสืบค้นได้ตามที่สภา มหาวิทยาลัยกำหนด จำนวนอย่างน้อย 1 ผลงาน และ 3) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Poster เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการรูปแบบตามที่กลุ่มวิชากำหนด จึงจะ สำเร็จการศึกษาได้ แผน 1 แบบ ก2 1) นักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับชาติที่อยู่ใน ฐานข้อมูล TCI หรือระดับนานาชาติ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 2) นักศึกษามีผลงานวิทยานิพนธ์ที่นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 3) นักศึกษามีผลงานนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวิชาการอื่น ซึ่งสามารถสืบค้นได้ตามที่สภา มหาวิทยาลัยกำหนด จำนวนอย่างน้อย 1 ผลงาน และ 4) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Poster เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการรูปแบบตามที่กลุ่มวิชากำหนด จึงจะ สำเร็จการศึกษาได้ แผน 2 แบบวิชาชีพ (1) นักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับชาติหรือระดับ นานาชาติ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ (2) นักศึกษามีผลงานวิจัยที่นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ (3) นักศึกษามีผลงานวิจัยที่นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่สามารถสืบค้นหลักฐานในการนำเสนอ จำนวนอย่าง น้อย 1 บทความ และ (4) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Poster เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการรูปแบบตามที่กลุ่มวิชากำหนด จึงจะ สำเร็จการศึกษาได้


ปีการศึกษา 2567 ~ 50 ~ 6. โครงสร้างหลักสูตร แผน ก แบบ ก 1 แผน ก แบบ ก 2 แผน ข (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 1 1 1 (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - 9 9 (2) หมวดวิชาเลือก - 6 18 (3) วิทยานิพนธ์ 36 18 6 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 36 36 36 7. รายวิขา (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ ก 1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่ นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วยกิต) (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ ก 2 และ แผน 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชา ต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ ก 1 แบบ ก 2 และ แผน 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 1 หน่วยกิต ดังนี้ EN 727 891 สัมมนาวิศวกรรมเคมี 1(1-0-2) Seminar in Chemical Engineering (ไม่นับหน่วยกิต) หมายเหตุ สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากสาขาอื่นนอกเหนือจากสาขาวิชาวิศวกรรมเคมี ต้อง ลงทะเบียนเรียนรายวิชาปรับพื้นฐานทางวิศวกรรมเคมี แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 12หน่วยกิต และต้อง มีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory)


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 51 ~ EN 727 004 หลักการคำนวณสำหรับวิศวกรเคมี 3(3-0-6) Principle of Calculation for Chemical Engineers (ไม่นับหน่วยกิต) EN 727 005 อุณหพลศาสตร์สำหรับวิศวกรเคมี 3(3-0-6) Thermodynamics for Chemical Engineers (ไม่นับหน่วยกิต) EN 727 006 กระบวนการนำพา 3(3-0-6) Transport Processes (ไม่นับหน่วยกิต) EN 727 007 การออกแบบเครื่องปฏิกรณ์เคมี 3(3-0-6) Chemical Reactor Design (ไม่นับหน่วยกิต) (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ ก 2 และ แผน 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชา ต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) และต้องมีผลการศึกษาในระดับ C ขึ้นไป จำนวน 9 หน่วยกิต ตามรายวิชา ดังต่อไปนี้ EN 727 001 อุณหพลศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมีขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Chemical Engineering Thermodynamics EN 727 002 ปรากฏการณ์การนำพาขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Transport Phenomena EN 727 003 วิศวกรรมปฏิกิริยาเคมีขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Chemical Reaction Engineering (2) หมวดวิชาเลือก สำหรับนักศึกษาแบบ ก 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับ หน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ สำหรับนักศึกษาแผน 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมเคมี ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต และ/ หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ EN 727 100 การป้องกันมลภาวะในกระบวนการเคมี 3(3-0-6) Pollution Prevention in Chemical Processes EN 727 200 การออกแบบระบบความร้อน 3(3-0-6) Design of Thermal Systems EN 727 201 พลศาสตร์ของไหลขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Fluid Dynamics EN 727 202 การถ่ายโอนความร้อนขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Heat Transfer EN 727 300 กระบวนการแยกขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Separation Processes


ปีการศึกษา 2567 ~ 52 ~ EN 727 301 การจำลองกระบวนการเคมี 3(3-0-6) Chemical Process Simulations EN 727 400 วิทยาศาสตร์ตัวเร่งปฏิกิริยา 3(3-0-6) Catalyst Sciences EN 727 401 เครื่องปฏิกรณ์เคมีแบบหลายวัฏภาค 3(3-0-6) Multiphase Chemical Reactors EN 727 402 วัสดุระดับนาโนในกระบวนการเคมี 3(3-0-6) Nanotechnology in Chemical Processes EN 727 403 วิศวกรรมของตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใช้แสงร่วม 3(3-0-6) Photocatalytic Reaction Engineering EN 727 500 วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ขั้นแนะนำ 3(3-0-6) Introduction to Polymer Sciences EN 727 501 วัสดุประกอบขั้นแนะนำ 3(3-0-6) Introduction to Composite Material EN 727 502 เทคโนโลยีการห่อหุ้มสาร 3(3-0-6) Encapsulation Technology EN 727 600 กระบวนการแก๊สธรรมชาติและกระบวนการกลั่นน้ำมัน 3(3-0-6) Natural Gas Processing and Petroleum Refining Processes EN 727 601 พลังงานไฮโดรเจนและเทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลิง 3(3-0-6) Hydrogen Power and Fuel Cell Technologies EN 727 602 เทคโนโลยีการเก็บกักพลังงาน 3(3-0-6) Energy Storage Technology EN 727 700 พลังงาน สิ่งแวดล้อม และเศรษฐศาสตร์ 3(3-0-6) Energy Environmental and Economics EN 727 701 วิศวกรรมชีวเคมี 3(3-0-6) Biochemical Engineering EN 727 702 การเปลี่ยนชีวมวลเพื่อพลังงาน 3(3-0-6) Biomass Conversion for Energy EN 727 703 ชีวมวลสำหรับพลังงานทดแทนและเชื้อเพลิง 3(3-0-6) Biomass for Renewable Energy and Fuel EN 727 704 กระบวนการดูดซับ 3(3-0-6) Adsorption processes EN 727 894 ปัญหาพิเศษทางวิศวกรรมเคมี 3(3-0-6) Special Problems in Chemical Engineering (3) วิทยานิพนธ์ นักศึกษาแบบ ก 1 **EN 727 898 วิทยานิพนธ์ Thesis 36 หน่วยกิต


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 53 ~ นักศึกษาแบบ ก 2 **EN 727 899 วิทยานิพนธ์ Thesis 18 หน่วยกิต (4) การศึกษาอิสระ นักศึกษาแผน 2 **EN 727 897 การศึกษาอิสระ 6 หน่วยกิต Independent Study 8. แผนการศึกษา (1) สำหรับนักศึกษาที่มีพื้นฐานด้านวิศวกรรมเคมี มาก่อนให้ลงทะเบียนเรียนตามแผนการศึกษา ดังต่อไปนี้ ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการนวัตกรรม 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วย กิต) EN 727 002 ปรากฏการณ์นำพาขั้นสูง 3(3-0-6) 3(3-0-6) Advanced Transport Phenomena EN XXX XXX วิชาเลือก - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Elective Course EN 727 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 727 899 วิทยานิพนธ์ 9 3 - Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 12 12 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 12 12 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN 727 001 อุณหพลศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมีขั้นสูง - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Advanced Chemical Engineering Thermodynamics EN 727 003 วิศวกรรมปฏิกิริยาเคมีขั้นสูง - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Advanced Chemical Reaction Engineering


ปีการศึกษา 2567 ~ 54 ~ EN 727 891 สัมมนาวิศวกรรมเคมี 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Seminar in Chemical Engineering (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต) EN 727 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 727 899 วิทยานิพนธ์ - 3 - Thesis EN XXX XXX วิชาเลือก - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Elective Course รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 13 13 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 24 24 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Elective Course EN 727 897 การศึกษาอิสระ - - 3 Independent Study EN 727 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 727 899 วิทยานิพนธ์ - 6 - Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 6 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 30 33 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN 727 897 การศึกษาอิสระ - - 3 Independent Study EN 727 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 727 899 วิทยานิพนธ์ - 6 - Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 6 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 36


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 55 ~ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Master of Engineering Program 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์) (ภาษาไทย) : วศ.ม. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์) (ภาษาอังกฤษ) : Master of Engineering (Computer Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : M.Eng. (Computer Engineering) 4. วัตถุประสงค์ สำหรับ แผน 1 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ (1) เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชา และสามารถประยุกต์ใน การศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ (2) เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการวิจัยในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการทำงาน วิจัย และแก้ไขปัญหาได้ รวมถึงมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน (3) เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4) เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และจรรยาบรรณ ในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ สำหรับ แผน 2 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ (1) เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีที่ครอบคลุมประเด็นสำคัญในสาขาของตนเองและ สาขาที่เกี่ยวข้อง และนำมาประยุกต์ในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้ (2) เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการศึกษาค้นคว้าประเด็นหรือปัญหาในภาคอุตสาหกรรมที่ตนเองสนใจได้ และ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อค้นหาคำตอบและวิเคราะห์ข้อมูล รวมถึงมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน (3) เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ปีการศึกษา 2567 ~ 56 ~ (4) เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และจรรยาบรรณ ในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ 5. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2565 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2566 หมวดที่ 10 ข้อ 56 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย แผน 1 แบบ ก 1 1) นักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือวารสารระดับ นานาชาติ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 2) นักศึกษามีผลงานนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวิชาการอื่น ซึ่งสามารถสืบค้นได้ตามที่สภา มหาวิทยาลัยกำหนด จำนวนอย่างน้อย 1 ผลงาน และ 3) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Poster เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการรูปแบบตามที่กลุ่มวิชากำหนด จึงจะ สำเร็จการศึกษาได้ แผน 1 แบบ ก 2 1) นักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับชาติหรือระดับ นานาชาติ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 2) นักศึกษามีผลงานวิทยานิพนธ์ที่นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 3) นักศึกษามีผลงานนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวิชาการอื่น ซึ่งสามารถสืบค้นได้ตามที่สภา มหาวิทยาลัยกำหนด จำนวนอย่างน้อย 1 ผลงาน และ 4) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Poster เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการรูปแบบตามที่กลุ่มวิชากำหนด จึงจะ สำเร็จการศึกษาได้ แผน 2 แบบวิชาชีพ 1) นักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับชาติที่อยู่ใน ฐานข้อมูล TCI หรือระดับนานาชาติ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 2) นักศึกษามีผลงานวิจัยที่นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 3) นักศึกษามีผลงานนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวิชาการอื่น ซึ่งสามารถสืบค้นได้ตามที่สภา มหาวิทยาลัยกำหนด จำนวนอย่างน้อย 1 ผลงาน หรือ 4) นักศึกษามีผลงานวิจัยที่นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่สามารถสืบค้นหลักฐานในการนำเสนอ จำนวนอย่าง น้อย 1 บทความ และ 5) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Poster เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการรูปแบบตามที่กลุ่มวิชากำหนด จึงจะ สำเร็จการศึกษาได้


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 57 ~ 6. โครงสร้างหลักสูตร แผน ก แบบ ก 1 แผน ก แบบ ก 2 แผน ข (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 - - (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - 3 3 (2) หมวดวิชาเลือก - 12 24 (3) วิทยานิพนธ์ 36 18 6 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 36 36 36 7. รายวิชา (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ ก 1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับ หน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วยกิต) (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ ก 2 และ แผน 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ ก 1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับ หน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ EN 827 891 สัมมนาทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 1 1(1-0-2) Seminar in Computer Engineering I (ไม่นับหน่วยกิต) EN 827 892 สัมมนาทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2 2(2-0-4) Seminar in Computer Engineering II (ไม่นับหน่วยกิต)


ปีการศึกษา 2567 ~ 58 ~ (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ ก 2 และ แผน 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) และต้องมีผลการศึกษาในระดับ C ขึ้นไป จำนวน 3 หน่วยกิต ตามรายวิชา ดังต่อไปนี้ EN 827 891 สัมมนาทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 1 1(1-0-2) Seminar in Computer Engineering I EN 827 892 สัมมนาทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2 2(2-0-4) Seminar in Computer Engineering II (2) หมวดวิชาเลือก สำหรับนักศึกษาแบบ ก 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วย กิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ไม่ น้อยกว่า 9 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ สำหรับนักศึกษา แผน 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วย กิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ไม่ น้อยกว่า 21 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ EN 827 100 สถิติและจำลองแบบ 3(3-0-6) Statistics and Modeling EN 827 101 ปัญญาเชิงคำนวณ 3(3-0-6) Computational Intelligence EN 827 102 การรู้จำรูปแบบและการตรวจหาวัตถุ 3(3-0-6) Pattern Recognition and Object Detection EN 827 103 การวิเคราะห์ขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Analytics EN 827 104 การหาค่าเหมาะสมที่สุดเชิงคอนเวกซ์ 3(3-0-6) Convex Optimization *EN 827 105 ปัญญาประดิษฐ์แบบยืดหยุ่น 3(3-0-6) Adaptive A.I. *EN 827 106 วิศวกรรมข้อมูล 3(3-0-6) Data Engineering *EN 827 107 วิศวกรรมปฏิบัติการการเรียนรู้ของเครื่อง 3(3-0-6) Machine Learning Operations Engineering *EN 827 108 การคำนวณเชิงควอนตัม 3(3-0-6) Quantum Computing *EN 827 109 ปฏิบัติการสำรวจเชิงปัญญา 3(3-0-6) Intellectual Exploration Practice EN 827 201 สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Computer Architecture


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 59 ~ *EN 827 202 ความต้องการซอฟต์แวร์และการออกแบบอินเทอร์แอ็คชัน 3(3-0-6) Software Requirements and Interaction Design *EN 827 203 ระบบฝังตัวที่กระจาย 3(3-0-6) Distributed Embedded Systems EN 827 301 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Computer Networks EN 827 302 อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Internet of Things *EN 827 303 เทคโนโลยีบล็อกเชน 3(3-0-6) Blockchain Technology *EN 827 304 ความปลอดภัยทางไซเบอร์ 3(3-0-6) Cyber Security *EN 827 305 คลาวด์แบบกระจายตัว 3(3-0-6) Pervasive Cloud *EN 827 306 ระบบไซเบอร์-ฟิสิกัลที่เชื่อมโยงกัน 3(3-0-6) Pervasive Cloud EN 827 401 การประมวลผลภาพดิจิทัลขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Digital Image Processing EN 827 402 การมองเห็นของเครื่องจักรเชิงสามมิติ 3(3-0-6) Three-dimensional Machine Vision *EN 827 403 เทคโนโลยีโลกเสมือนจริง 3(3-0-6) Immersive Technology *EN 827 404 การคำนวณประสาทสัมผัสทางสายตา 3(3-0-6) Visual Computing EN 827 501 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการศึกษาปัจจุบัน 3(3-0-6) Current Computer’s Technology in Education EN 827 601 อิเล็กทรอนิกส์เชิงกลระดับจุลภาค 3(3-0-6) Micro mechatronics EN 827 602 นาโนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Nanoelectronics EN 827 603 อุปกรณ์และเซนเซอร์ทางชีวการแพทย์ 3(3-0-6) Biomedical Devices and Sensors EN 827 893 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 1 3(3-0-6) Special Topics in Computer Engineering I EN 827 894 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2 3(3-0-6) Special Topics in Computer Engineering II EN 827 895 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 3 3(3-0-6) Special Topics in Computer Engineering III


ปีการศึกษา 2567 ~ 60 ~ EN 827 896 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 4 3(3-0-6) Special Topics in Computer Engineering IV (3) วิทยานิพนธ์ นักศึกษาแบบ ก 1 **EN 827 898 วิทยานิพนธ์ Thesis 36 หน่วยกิต นักศึกษาแบบ ก 2 **EN 827 899 วิทยานิพนธ์ Thesis 18 หน่วยกิต (4) การศึกษาอิสระ นักศึกษาแผน 2 **EN 827 897 การศึกษาอิสระ 6 หน่วยกิต Independent Study 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และ การจัดการนวัตกรรม 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วยกิต) EN 827 891 สัมมนาทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 1 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Seminar in Computer Engineering I (ไม่นับหน่วยกิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Electives Course EN XXX XXX วิชาเลือก - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Electives Course EN XXX XXX วิชาเลือก 3(3-0-6) Electives Course EN 827 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 13 10 13 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 10 13 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN XXX XXX วิชาเลือก - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Electives Course


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 61 ~ EN XXX XXX วิชาเลือก - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Electives Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Electives Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Electives Course EN 827 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 827 899 วิทยานิพนธ์ - 6 - Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 12 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 22 25 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN 827 892 สัมมนาทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2 2(2-0-4) 2(2-0-4) 2(2-0-4) Seminar in Computer Engineering II (ไม่นับหน่วยกิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Electives Course EN 827 897 การศึกษาอิสระ - - 3 Independent Study EN 827 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 827 899 วิทยานิพนธ์ - 6 - Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 8 8 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 30 33 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN 827 897 การศึกษาอิสระ - - 3 Independent Study EN 827 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 827 899 วิทยานิพนธ์ - 6 - Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 6 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 36


ปีการศึกษา 2567 ~ 62 ~ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Master of Engineering Program 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมพลังงาน 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมพลังงาน) (ภาษาไทย) : วศ.ม. (วิศวกรรมพลังงาน) (ภาษาอังกฤษ) : Master of Engineering (Energy Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : M.Eng. (Energy Engineering) 4. วัตถุประสงค์ สำหรับ แผน 1 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ (1) เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชา และสามารถประยุกต์ใน การศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ (2) เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการวิจัยในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการทำงาน วิจัย และแก้ไขปัญหาได้ รวมถึงมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน (3) เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4) เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และจรรยาบรรณ ในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ สำหรับ แผน 2 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ (1) เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีที่ครอบคลุมประเด็นสำคัญในสาขาของตนเองและ สาขาที่เกี่ยวข้อง และนำมาประยุกต์ในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้ (2) เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการศึกษาค้นคว้าประเด็นหรือปัญหาในภาคอุตสาหกรรมที่ตนเองสนใจได้ และ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อค้นหาคำตอบและวิเคราะห์ข้อมูล รวมถึงมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน (3) เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 63 ~ (4) เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และจรรยาบรรณ ในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ 5. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2565 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2566 หมวดที่ 10 ข้อ 56 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย แผน 1 แบบ ก 1 1) นักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับชาติที่อยู่ใน ฐานข้อมูล TCI ในกลุ่มที่ 1 หรือ 2 หรือระดับนานาชาติ ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 2) นักศึกษามีผลงานนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวิชาการอื่น ซึ่งสามารถสืบค้นได้ตามที่สภา มหาวิทยาลัยกำหนด จำนวนอย่างน้อย 1 ผลงาน และ 3) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Poster เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการรูปแบบตามที่กลุ่มวิชากำหนด จึงจะ สำเร็จการศึกษาได้ แผน 1 แบบ ก 2 1) นักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับชาติที่อยู่ใน ฐานข้อมูล TCI ในกลุ่มที่ 1 หรือ 2 หรือระดับนานาชาติ ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 2) นักศึกษามีผลงานวิทยานิพนธ์ที่นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติที่มีรายงานสืบเนื่องจากการ ประชุมวิชาการ (Proceedings) จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 3) นักศึกษามีผลงานนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวิชาการอื่น ซึ่งสามารถสืบค้นได้ตามที่สภา มหาวิทยาลัยกำหนด จำนวนอย่างน้อย 1 ผลงาน และ 4) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Poster เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการรูปแบบตามที่กลุ่มวิชากำหนด จึงจะ สำเร็จการศึกษาได้ แผน 2 แบบวิชาชีพ (1)นักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับชาติที่อยู่ใน ฐานข้อมูล TCI ในกลุ่มที่ 1 หรือ 2 หรือระดับนานาชาติ ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ (2)นักศึกษามีผลงานวิจัยที่นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ (3)นักศึกษามีผลงานนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวิชาการอื่น ซึ่งสามารถสืบค้นได้ตามที่สภา มหาวิทยาลัยกำหนด จำนวนอย่างน้อย 1 ผลงาน และ จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Poster เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการรูปแบบตามที่กลุ่มวิชากำหนด จึงจะ สำเร็จการศึกษาได้


ปีการศึกษา 2567 ~ 64 ~ 6. โครงสร้างหลักสูตร แผน ก แบบ ก 1 แผน ก แบบ ก 2 แผน ข (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) - - - (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - 12 15 (2) หมวดวิชาเลือก - 3 12 (3) วิทยานิพนธ์ 36 18 6 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 36 36 36 7. รายวิชา (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษา แบบ ก 1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วยกิต) (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษา แบบ ก 2 และ แผน 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) ไม่มี (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) (1.4.1) นักศึกษา แบบ ก 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชา ต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) และต้องมีผลการศึกษาในระดับ C ขึ้นไป จำนวน 12 หน่วยกิต ตาม รายวิชาดังต่อไปนี้ EN 547 001 หลักมูลทางวิศวกรรมพลังงาน 3(3-0-6) Fundamentals Energy Engineering


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 65 ~ EN 547 002 การจัดการโครงการด้านพลังงานและประเมินทาง เศรษฐศาสตร์ 3(3-0-6) Energy Project Management and Economical Appraisal EN 547 003 ฝึกปฏิบัติงานการตรวจวัดการใช้พลังงาน 3(3-0-6) Practice in Energy Audits EN 547 004 การจัดการและวางแผนพลังงาน 3(3-0-6) Energy Management and Planning (1.4.2) นักศึกษา แผน 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) และต้องมีผลการศึกษาในระดับ C ขึ้นไป จำนวน 15 หน่วยกิต ตามรายวิชา ดังต่อไปนี้ EN 547 000 แหล่งพลังงานและการผลิต 3(3-0-6) Energy Resources and Productions EN 547 001 หลักมูลทางวิศวกรรมพลังงาน 3(3-0-6) Fundamentals Energy Engineering EN 547 002 การจัดการโครงการด้านพลังงานและประเมินทาง เศรษฐศาสตร์ 3(3-0-6) Energy Project Management and Economical Appraisal EN 547 003 ฝึกปฏิบัติงานการตรวจวัดการใช้พลังงาน 3(3-0-6) Practice in Energy Audits EN 547 004 การจัดการและวางแผนพลังงาน 3(3-0-6) Energy Management and Planning (2) หมวดวิชาเลือก (2.1) นักศึกษา แบบ ก 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังต่อไปนี้ หรือสามารถเลือกลงทะเบียนเรียนจากวิชาเลือก แผน 2 หรือรายวิชาอื่นที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร EN 547 000 แหล่งพลังงานและการผลิต 3(3-0-6) Energy Resources and Productions (2.2) นักศึกษา แผน 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบ นับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 12 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมพลังงาน ไม่น้อย กว่า 9 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ EN 547 500 วิศวกรรมพลังงานแสงอาทิตย์ 3(3-0-6) Solar Energy Engineering EN 547 501 เทคโนโลยีการแปลงพลังงานหมุนเวียน 3(3-0-6) Renewable Energy Conversion Technologies


ปีการศึกษา 2567 ~ 66 ~ EN 547 503 นโยบายและการจัดการสิ่งแวดล้อมของระบบพลังงาน 3(3-0-6) Environmental Policy and Management of Energy Systems EN 547 504 การออกแบบระบบทางความร้อน 3(3-0-6) Thermal System Design EN 547 507 การออกแบบอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน 3(3-0-6) Heat Exchanger Design EN 547 508 การจัดการพลังงานไฟฟ้า 3(3-0-6) Electrical Energy Management EN 547 509 การจัดการพลังงานในอาคาร 3(3-0-6) Energy Management in Buildings EN 547 510 การอนุรักษ์พลังงานในอุตสาหกรรม 3(3-0-6) Industrial Energy Conservation (3) วิทยานิพนธ์ นักศึกษาแบบ ก 1 **EN 547 898 วิทยานิพนธ์ Thesis 36 หน่วยกิต นักศึกษาแบบ ก 2 **EN 547 899 วิทยานิพนธ์ Thesis 18 หน่วยกิต (4) การศึกษาอิสระ นักศึกษาแผน 2 **EN 547 897 การศึกษาอิสระ 6 หน่วยกิต Independent Study 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และ การจัดการนวัตกรรม 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วย กิต) EN 547 000 แหล่งพลังงานและการผลิต - - 3(3-0-6) Energy Resources and Productions EN 547 001 หลักมูลทางวิศวกรรมพลังงาน - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Fundamentals Energy Engineering


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 67 ~ EN 547 002 การจัดการโครงการด้านพลังงานและ ประเมินทางเศรษฐศาสตร์ - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Energy Project Management and Economical Appraisal EN 547 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 547 899 วิทยานิพนธ์ - 3 - Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 12 12 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 12 12 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN 547 003 ฝึกปฏิบัติงานการตรวจวัดการใช้พลังงาน - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Practice in Energy Audits EN 547 004 การจัดการและวางแผนพลังงาน - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Energy Management and Planning EN XXX XXX วิชาเลือก - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Elective Course EN 547 897 การศึกษาอิสระ - - 2 Independent Study EN 547 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 547 899 วิทยานิพนธ์ - 5 - Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 14 14 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 26 26 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Elective Course EN 547 897 การศึกษาอิสระ - - 4 Independent Study


ปีการศึกษา 2567 ~ 68 ~ EN 547 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 547 899 วิทยานิพนธ์ - 5 - Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 5 10 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 31 36 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN 547 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 547 899 วิทยานิพนธ์ - 3 - Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 5 - รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 -


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 69 ~ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Master of Engineering Program 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์) (ภาษาไทย) : วศ.ม. (วิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์) (ภาษาอังกฤษ) : Master of Engineering (Industrial and Logistics Engineering Management) (ภาษาอังกฤษ) : M.Eng. (Industrial and Logistics Engineering Management) 4. วัตถุประสงค์ สำหรับ แผน 1 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ (1) เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชา และสามารถประยุกต์ใน การศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ (2) เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการวิจัยในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการทำงาน วิจัย และแก้ไขปัญหาได้ รวมถึงมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน (3) เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4) เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และจรรยาบรรณ ในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ สำหรับ แผน 2 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ (1) เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีที่ครอบคลุมประเด็นสำคัญในสาขาของตนเองและ สาขาที่เกี่ยวข้อง และนำมาประยุกต์ในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้ (2) เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการศึกษาค้นคว้าประเด็นหรือปัญหาในภาคอุตสาหกรรมที่ตนเองสนใจได้ และ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อค้นหาคำตอบและวิเคราะห์ข้อมูล รวมถึงมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน (3) เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ปีการศึกษา 2567 ~ 70 ~ (4) เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และจรรยาบรรณ ในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ 5. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2565 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2566 หมวดที่ 10 ข้อ 56 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย แผน 1 แบบ ก1 1) นักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI หรือระดับนานาชาติ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 2) นักศึกษามีผลงานนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวิชาการอื่น ซึ่งสามารถสืบค้นได้ตามที่สภา มหาวิทยาลัยกำหนด จำนวนอย่างน้อย 1 ผลงาน และ 3) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Poster เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการรูปแบบตามที่กลุ่มวิชากำหนด จึงจะสำเร็จ การศึกษาได้ แผน 1 แบบ ก2 1) นักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI หรือระดับนานาชาติ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 2) นักศึกษามีผลงานวิทยานิพนธ์ที่นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 3) นักศึกษามีผลงานนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวิชาการอื่น ซึ่งสามารถสืบค้นได้ตามที่สภา มหาวิทยาลัยกำหนด จำนวนอย่างน้อย 1 ผลงาน และ 4) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Poster เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการรูปแบบตามที่กลุ่มวิชากำหนด จึงจะสำเร็จ การศึกษาได้ แผน 2 แบบวิชาชีพ (1) นักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับชาติหรือระดับ นานาชาติ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ (2) นักศึกษามีผลงานวิจัยที่นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ (3) นักศึกษามีผลงานวิจัยที่นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่สามารถสืบค้นหลักฐานในการนำเสนอ จำนวนอย่าง น้อย 1 บทความ และ (4) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Poster เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการรูปแบบตามที่กลุ่มวิชากำหนด จึงจะสำเร็จ การศึกษาได้


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 71 ~ 6. โครงสร้างหลักสูตร แผน ก แบบ ก 1 แผน ก แบบ ก 2 แผน ข (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 1 1 1 (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - 9 9 (2) หมวดวิชาเลือก - 6 18 (3) วิทยานิพนธ์ 36 18 6 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 36 36 36 7. รายวิชา (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษา แบบ ก 1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับ หน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วยกิต) (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษา แบบ ก 2 และ แผน 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบ นับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษา แบบ ก 1 แบบ ก 2 และ แผน 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 1 หน่วยกิต ดังนี้ EN 447 891 การสัมมนาทางวิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม และโลจิสติกส์ 1(1-0-2) Industrial and Logistics Engineering Management Seminar (ไม่นับหน่วยกิต)


ปีการศึกษา 2567 ~ 72 ~ (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษา แบบ ก 2 และ แผน 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน แบบนับหน่วยกิต (Credit) และต้องมีผลการศึกษาในระดับ C ขึ้นไป จำนวน 9 หน่วยกิต ตามรายวิชาดังต่อไปนี้ **EN 447 100 การวิจัยดำเนินการสำหรับการประยุกต์อุตสาหกรรมและ โลจิสติกส์ 3(3-0-6) Operations Research for Industrial and Logistics Applications EN 447 101 การจัดการเชิงปฏิบัติการ 3(3-0-6) Operations Management EN 447 500 การวิเคราะห์ต้นทุนอุตสาหกรรมและเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม 3(3-0-6) Industrial Cost Analysis and Engineering Economy (2) หมวดวิชาเลือก สำหรับนักศึกษาแบบ ก 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วย กิต (Credit) หรือรายวิชาจากกลุ่มวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ หมวดวิชาเลือก จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วย กิต หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ สำหรับนักศึกษา แผน 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วย กิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมการจัดการ อุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ หรือรายวิชาจากกลุ่มวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ EN 427 405 การวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจ 3(3-0-6) Enterprise Resource Planning EN 427 510 การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรม 3(3-0-6) Innovative Product Design and Development EN 447 102 การคำนวณอัจฉริยะสำหรับอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ 3(3-0-6) Intelligence Computing for Industrial and Logistics EN 447 103 รูปแบบและระบบการขนส่ง 3(3-0-6) Transport Modes and Systems EN 447 104 การวิเคราะห์โปรแกรมเชิงเส้นและการไหลภายในโครงข่าย 3(3-0-6) Analysis of Linear Programming and Network Flows EN 447 105 การจำลองระบบอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ 3(3-0-6) Industrial and Logistics System Simulation EN 447 200 การจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน 3(3-0-6) Logistics and Supply Chain Management EN 447 201 โลจิสติกส์แบบย้อนกลับและห่วงโซ่อุปทานแบบวงปิด 3(3-0-6) Reverse Logistics and Closed-Loop Supply Chain EN 447 202 โลจิสติกส์ระหว่างประเทศ 3(3-0-6) International Logistics


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 73 ~ EN 447 203 หลักการการบริหารสินค้าคงคลังและวัสดุ 3(3-0-6) Principles of Inventory and Materials Management *EN 447 204 การจัดการคลังสินค้า 3(3-0-6) Warehouse Management *EN 447 205 การจัดการโลจิสติกส์ควบคุมอุณหภูมิ 3(3-0-6) Cold Chain Logistics Management EN 447 300 ลีนซิกซิกม่า 3(3-0-6) Lean Six Sigma EN 447 301 วิธีการทางสถิติสำหรับการจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่ อุปทาน 3(3-0-6) Statistical Methods for Logistics and Supply Chain Management *EN 447 302 โลจิสติกส์สำหรับการบริการสุขภาพ 3(3-0-6) Healthcare Logistics EN 447 400 การวิเคราะห์การตัดสินใจภายใต้หลายเกณฑ์และการวัด สมรรถนะ 3(3-0-6) Multiple Criteria Decision Analysis and Performance Measurement EN 447 401 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สำหรับโลจิสติกส์ 3(3-0-6) Geographic Information Systems for Logistics EN 447 501 การวิเคราะห์การตัดสินใจเชิงเศรษฐศาสตร์ขั้นสูง 3(3-0-6) Advance Economic Decision Analysis EN 447 894 หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม และโลจิสติกส์ 3(3-0-6) Current Topics in Industrial and Logistics Engineering Management (3) วิทยานิพนธ์ นักศึกษาแบบ ก 1 **EN 447 898 วิทยานิพนธ์ Thesis 36 หน่วยกิต นักศึกษาแบบ ก 2 **EN 447 899 วิทยานิพนธ์ Thesis 18 หน่วยกิต (4) การศึกษาอิสระ นักศึกษาแผน 2 **EN 447 897 การศึกษาอิสระ 6 หน่วยกิต Independent Study


ปีการศึกษา 2567 ~ 74 ~ 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และ การจัดการนวัตกรรม 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วย กิต) EN 447 200 การจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Logistics and Supply Chain Management EN 447 500 การวิเคราะห์ต้นทุนอุตสาหกรรมและ เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Industrial Cost Analysis and Engineering Economy EN 447 891 การสัมมนาทางวิศวกรรมการจัดการ อุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Industrial and Logistics Management Seminar (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN 447 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 447 899 วิทยานิพนธ์ - - - Thesis EN XXX XXX วิชาเลือก - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 13 13 13 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 12 12 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN 447 100 การวิจัยดำเนินการสำหรับการประยุกต์ อุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Operations Research for Industrial and Logistics Applications EN 447 101 การจัดการเชิงปฎิบัติการ - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Operations Management EN 447 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 447 899 วิทยานิพนธ์ - 6 - Thesis


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 75 ~ EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Elective Course รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 12 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 24 24 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Elective Course EN 447 897 การศึกษาอิสระ - - 3 Independent Study EN 427 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 447 899 วิทยานิพนธ์ - 9 - Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 33 33 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN 447 897 การศึกษาอิสระ - - 3 Independent Study EN 447 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 447 899 วิทยานิพนธ์ - 3 - Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 3 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 36


ปีการศึกษา 2567 ~ 76 ~ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Master of Engineering Program 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมวัสดุและการผลิต 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมวัสดุและการผลิต) (ภาษาไทย) : วศ.ม. (วิศวกรรมวัสดุและการผลิต) (ภาษาอังกฤษ) : Master of Engineering (Materials and Manufacturing Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : M.Eng. (Materials and Manufacturing Engineering) 4. วัตถุประสงค์ สำหรับ แผน 1 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ (1) เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชา และสามารถประยุกต์ใน การศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ (2) เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการวิจัยในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการทำงาน วิจัย และแก้ไขปัญหาได้ รวมถึงมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน (3) เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4) เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และจรรยาบรรณ ในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ สำหรับ แผน 2 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ (1) เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีที่ครอบคลุมประเด็นสำคัญในสาขาของตนเองและ สาขาที่เกี่ยวข้อง และนำมาประยุกต์ในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้ (2) เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการศึกษาค้นคว้าประเด็นหรือปัญหาในภาคอุตสาหกรรมที่ตนเองสนใจได้ และ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อค้นหาคำตอบและวิเคราะห์ข้อมูล รวมถึงมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน (3) เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 77 ~ (4) เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และจรรยาบรรณ ในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ 5. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2565 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2566 หมวดที่ 10 ข้อ 56 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย แผน1 แบบ ก1 1) นักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับชาติที่อยู่ใน ฐานข้อมูล TCI หรือระดับนานาชาติ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 2) นักศึกษามีผลงานนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวิชาการอื่น ซึ่งสามารถสืบค้นได้ตามที่สภา มหาวิทยาลัยกำหนด จำนวนอย่างน้อย 1 ผลงาน และ 3) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Poster เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการรูปแบบตามที่กลุ่มวิชากำหนด จึงจะ สำเร็จการศึกษาได้ แผน1ก แบบ ก2 1) นักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับชาติที่อยู่ใน ฐานข้อมูล TCI หรือระดับนานาชาติ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 2) นักศึกษามีผลงานวิทยานิพนธ์ที่นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 3) นักศึกษามีผลงานนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวิชาการอื่น ซึ่งสามารถสืบค้นได้ตามที่สภา มหาวิทยาลัยกำหนด จำนวนอย่างน้อย 1 ผลงาน และ 4) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Poster เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการรูปแบบตามที่กลุ่มวิชากำหนด จึงจะ สำเร็จการศึกษาได้ แผน 2 แบบวิชาชีพ (1) นักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับชาติหรือระดับ นานาชาติ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ (2) นักศึกษามีผลงานวิจัยที่นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ (3) นักศึกษามีผลงานวิจัยที่นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่สามารถสืบค้นหลักฐานในการนำเสนอ จำนวนอย่าง น้อย 1 บทความ และ (4) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Poster เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการรูปแบบตามที่กลุ่มวิชากำหนด จึงจะ สำเร็จการศึกษาได้


ปีการศึกษา 2567 ~ 78 ~ 6. โครงสร้างหลักสูตร แผน ก แบบ ก 1 แผน ก แบบ ก 2 แผน ข (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 1 1 1 (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - 9 9 (2) หมวดวิชาเลือก - 6 18 (3) วิทยานิพนธ์ 36 18 6 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 36 36 36 7. 8. รายวิชา (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษา แบบ ก 1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่ นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วยกิต) (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษา แบบ ก 2 และ แผน 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชา ต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษา แบบ ก 1 แบบ ก 2 และ แผน 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 1 หน่วยกิต ดังนี้ EN 457 891 การสัมมนาและการศึกษาดูงานทางวิศวกรรมวัสดุและการ ผลิต 1(1-0-2) Materials and Manufacturing Engineering Seminar and Field Trip Study (ไม่นับหน่วยกิต)


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 79 ~ (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษา แบบ ก 2 และ แผน 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชา ต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) และต้องมีผลการศึกษาในระดับ C ขึ้นไป จำนวน 9 หน่วยกิต ตามรายวิชา ดังต่อไปนี้ EN 457 100 วิศวกรรมวัสดุและเทคโนโลยี 3(3-0-6) Materials Engineering and Technology EN 457 101 การวิเคราะห์โครงสร้างและพื้นผิวของวัสดุ 3(3-0-6) Structural and Surface Analysis of Materials EN 457 200 กระบวนการผลิตขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Manufacturing Process (2) หมวดวิชาเลือก สำหรับนักศึกษาแบบ ก 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับ หน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ สำหรับนักศึกษา แผน 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับ หน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมวัสดุและการผลิต ไม่ น้อยกว่า 15 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วย กิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ EN 457 102 วัสดุชีวภาพและการประยุกต์ใช้ของวัสดุชีวภาพ 3(3-0-6) Biomaterials and Applications of Biomaterials EN 457 103 การกัดกร่อนและการวิเคราะห์วัสดุ 3(3-0-6) Corrosion and Analysis of Materials EN 457 104 วิทยาการและเทคโนโลยีของวัสดุนาโน 3(3-0-6) Science and Technology of Nanomaterials EN 457 105 โลหะวิทยากายภาพขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Physical Metallurgy EN 457 106 การใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนและการวิเคราะห์ ส่วนประกอบจุลภาคด้วยรังสีเอ็กซ์ 3(3-0-6) Electron Microscopy an X-ray Microanalysis EN 457 107 การวิเคราะห์ความบกพร่องของส่วนประกอบจากการผลิต 3(3-0-6) Failure Analysis of Manufactured Components EN 457 201 การผลิตอุปกรณ์ไมโครและนาโนอิเล็กทรอนิกส์ 3(3-0-6) Micro- and Nano-Electronics Manufacturing EN 457 202 การขึ้นรูปโลหะ 3(3-0-6) Metal Forming EN 457 203 การอบชุบในการผลิต 3(3-0-6) Heat Treatment in Manufacturing


ปีการศึกษา 2567 ~ 80 ~ EN 457 204 วิศวกรรมย้อนรอย 3(3-0-6) Reverse Engineering EN 457 205 การออกแบบผลิตภัณฑ์สำหรับการผลิต 3(3-0-6) Product Design for Manufacturing EN 457 206 การควบคุมแบบไม่เป็นเชิงเส้นประยุกต์ 3(3-0-6) Applied Nonlinear Control EN 457 207 การทำให้เป็นอัตโนมัติขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Automation EN 457 208 คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบการผลิตและวิศวกรรมขั้นสูง 3(3-0-6) Computer Aided in Manufacturing Design and Advance Engineering Current Topics in Materials and Manufacturing Engineering (3) วิทยานิพนธ์ นักศึกษาแบบ ก 1 **EN 457 898 วิทยานิพนธ์ Thesis 36 หน่วยกิต นักศึกษาแบบ ก 2 **EN 457 899 วิทยานิพนธ์ Thesis 18 หน่วยกิต (4) การศึกษาอิสระ นักศึกษาแผน 2 **EN 457 897 การศึกษาอิสระ 6 หน่วยกิต Independent Study 9. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และ การจัดการนวัตกรรม 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วย กิต) EN 457 100 วิศวกรรมวัสดุและเทคโนโลยี - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Materials Engineering and Technology


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 81 ~ EN 457 101 การวิเคราะห์โครงสร้างและพื้นผิวของวัสดุ - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Structural and Surface Analysis of Materials EN 447 500 กระบวนการผลิตขั้นสูง - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Advanced Manufacturing Process EN 457 891 การสัมมนาและการศึกษาดูงานทาง วิศวกรรมวัสดุและการผลิต 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Materials and Manufacturing Engineering Seminar and Field Trip Study (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต) EN 457 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 13 13 13 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 12 12 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN 457 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 457 899 วิทยานิพนธ์ - 6 - Thesis EN XXX XXX วิชาเลือก - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Elective Course รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 12 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 24 24 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Elective Course


ปีการศึกษา 2567 ~ 82 ~ EN 457 897 การศึกษาอิสระ - - 3 Independent Study EN 457 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 457 899 วิทยานิพนธ์ - 9 - Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 33 33 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN 457 897 การศึกษาอิสระ - - 3 Independent Study EN 457 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 457 899 วิทยานิพนธ์ - 3 - Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 3 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 36


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 83 ~ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Master of Engineering Program 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ 3. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ภาษาไทย : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมชีวการแพทย์) : วศ.ม. (วิศวกรรมชีวการแพทย์) ภาษาอังกฤษ : Master of Engineering (Biomedical Engineering) : M.Eng. (Biomedical Engineering) 4. วัตถุประสงค์ สำหรับ แผน 1 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ (1) เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชา และสามารถประยุกต์ใน การศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ (2) เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการวิจัยในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการทำงาน วิจัย และแก้ไขปัญหาได้ รวมถึงมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน (3) เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4) เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และจรรยาบรรณ ในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ สำหรับ แผน 2 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ (1) เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีที่ครอบคลุมประเด็นสำคัญในสาขาของตนเองและ สาขาที่เกี่ยวข้อง และนำมาประยุกต์ในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้ (2) เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการศึกษาค้นคว้าประเด็นหรือปัญหาในภาคอุตสาหกรรมที่ตนเองสนใจได้ และ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อค้นหาคำตอบและวิเคราะห์ข้อมูล รวมถึงมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน (3) เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ปีการศึกษา 2567 ~ 84 ~ (4) เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และจรรยาบรรณ ในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ 5. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2565 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2566 หมวดที่ 10 ข้อ 56 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย แผน 1 แบบ ก1 1) นักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับชาติที่อยู่ใน ฐานข้อมูล TCI หรือระดับนานาชาติ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 2) นักศึกษามีผลงานนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวิชาการอื่น ซึ่งสามารถสืบค้นได้ตามที่สภา มหาวิทยาลัยกำหนด จำนวนอย่างน้อย 1 ผลงาน และ 3) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Poster เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการรูปแบบตามที่กลุ่มวิชากำหนด จึงจะ สำเร็จการศึกษาได้ แผน 1 แบบ ก2 1) นักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับชาติที่อยู่ใน ฐานข้อมูล TCI หรือระดับนานาชาติ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 2) นักศึกษามีผลงานวิทยานิพนธ์ที่นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 3) นักศึกษามีผลงานนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวิชาการอื่น ซึ่งสามารถสืบค้นได้ตามที่สภา มหาวิทยาลัยกำหนด จำนวนอย่างน้อย 1 ผลงาน และ 4) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Poster เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการรูปแบบตามที่กลุ่มวิชากำหนด จึงจะ สำเร็จการศึกษาได้ 6. โครงสร้างหลักสูตร แผน ก แบบ ก 1 แผน ก แบบ ก 2 (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 1 1 (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - 9 (2) หมวดวิชาเลือก - 6 (3) วิทยานิพนธ์ 36 18 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 36 36


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 85 ~ 7. รายวิขา (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษา แบบ ก 1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วยกิต) (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษา แบบ ก 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษา แบบ ก 1 และ ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชา ต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 1 หน่วยกิต ดังนี้ EN 017 891 สัมมนาทางวิศวกรรมชีวการแพทย์ 1 Biomedical Engineering Seminar I 1(1-0-2) (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษา แบบ ก 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) และต้องมีผลการศึกษาในระดับ C ขึ้นไป จำนวน 12 หน่วยกิต ตามรายวิชาดังต่อไปนี้ EN 017 000 วิศวกรรมชีวการแพทย์ขั้นแนะนำ Introduction to Biomedical Engineering 3(3-0-6) EN 017 001 หลักของวิศวกรรมชีวการแพทย์ Principal of Biomedical Engineering 3(3-0-6) EN 017 002 การทดลองทางวิศวกรรมชีวการแพทย์ Biomedical Engineering Experiment 1(1-0-2) EN 017 003 กายวิภาคและสรีรวิทยาของมนุษย์สำหรับวิศวกรรม ชีวการแพทย์ Human Anatomy and Physiology for Biomedical Engineering สำหรับผู้สำเร็จปริญญาบัณฑิตด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือด้านเทคโนโลยี 4(4-0-8)


ปีการศึกษา 2567 ~ 86 ~ EN 017 004 หลักมูลวิศวกรรมสำหรับวิศวกรรมชีวการแพทย์ Fundamental Engineering for Biomedical Engineering สำหรับผู้สำเร็จปริญญาบัณฑิตด้านแพทยศาสตร ทันต แพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์สุขภาพ 4(4-0-8) EN 017 891 สัมมนาทางวิศวกรรมชีวการแพทย์ 1 Biomedical Engineering Seminar I 1(1-0-2) (2) หมวดวิชาเลือก สำหรับนักศึกษาแบบ ก 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมชีว การแพทย์ ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติม ภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ EN 017 100 ชีวกลศาสตร์ Biomechanics 3(3-0-6) EN 017 101 แบบจำลองทางคอมพิวเตอร์ในงานชีววิศวกรรม Computer Modeling in Bioengineering 3(3-0-6) EN 017 200 หุ่นยนต์จุลภาคและนาโนสำหรับวิศกรรมชีวการแพทย์ Micro-nanorobotics for Biomedical Engineering 3(3-0-6) EN 017 201 นาโนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นสูงสำหรับวิศวกรรมชีวการแพทย์ Advanced Nanoelectronics for Biomedical Engineering 3(3-0-6) EN 017 202 การเรียนรู้ของเครื่องในงานชีวการแพทย์ Biomedical Machine Learning 3(3-0-6) EN 017 300 การประมวลผลภาพถ่ายทางการแพทย์ Medical Image Processing 3(3-0-6) EN 017 301 การมองเห็นของเครื่องจักเชิงสามมิติสำหรับวิศวกรรม ชีวการแพทย์ Three-dimensional Machine Vision for Biomedical Engineering 3(3-0-6) EN 017 302 ส่วนต่อประสานสมองและเครื่องจักร Brain-Machine Interfaces 3(3-0-6) EN 017 400 ปัจจัยมนุษย์ในการออกแบบระบบ Human Factors in Systems Design 3(3-0-6) EN 017 401 การประมวลผลข้อมูลของมนุษย์ Human Information Processing 3(3-0-6) EN 017 402 การประเมินสมรรถนะทางการยศาสตร์ Ergonomics assessment 3(3-0-6)


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 87 ~ EN 017 403 การยศาสตร์สำหรับผู้สูงอายุและผู้พิการ Ergonomics for elderly and disabled persons 3(3-0-6) EN 017 404 ชีวกลศาสตร์ของการทำงาน Occupational Biomechanics 3(3-0-6) EN 017 405 สรีรวิทยาของการทำงาน Physiology of work 3(3-0-6) *EN 017 801 หัวข้อพิเศษทางชีวการแพทย์ 1(1-0-2) Special Topics in Biomedical EN 227 730 วิชาการเครื่องมือทางชีวการแพทย์ Biomedical Instrumentation 3(3-0-6) EN 457 102 วัสดุชีวภาพและการประยุกต์ใช้ของวัสดุชีวภาพ Biomaterials and Applications of Biomaterials 3(3-0-6) EN 537 000 คณิตศาสตร์วิศวกรรมขั้นสูง Advanced Engineering Mathematics 3 (3-0-6) EN 828 763 อุปกรณ์และเซนเซอร์ทางชีวการแพทย์ Biomedical Devices and Sensors 3(3-0-6) MD 627 710 ชีวสารสนเทศศาสตร์และการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ Bioinfomatics 2(1-3-4) (3) วิทยานิพนธ์ นักศึกษาแบบ ก 1 **EN 017 898 วิทยานิพนธ์ Thesis 36 หน่วยกิต นักศึกษาแบบ ก 2 **EN 017 899 วิทยานิพนธ์ Thesis 18 หน่วยกิต หมายเหตุ * รายวิชาใหม่ ** รายวิชาเปลี่ยนแปลง 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต แบบ ก 1 แบบ ก 2 EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และ การจัดการนวัตกรรม 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วยกิต) EN 017 000 วิศวกรรมชีวการแพทย์ขั้นแนะนำ - 3(3-0-6) Introduction to Biomedical Engineering


ปีการศึกษา 2567 ~ 88 ~ EN 017 002 การทดลองทางวิศวกรรมชีวการแพทย์ - 1(0-3-2) Biomedical Engineering Experiment EN 017 891 สัมมนาทางวิศวกรรมชีวการแพทย์ 1 1(1-0-2) 1(1-0-2) Biomedical Engineering Seminar I ไม่นับหน่วยกิต กายวิภาคและสรีรวิทยาของมนุษย์ สำหรับวิศวกรรมชีวการแพทย์ Human Anatomy and Physiology for Biomedical Engineering สำหรับผู้สำเร็จปริญญาบัณฑิตด้าน วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือด้าน เทคโนโลยี - 4(4-0-8) EN 017 004 หลักมูลวิศวกรรมสำหรับวิศวกรรมชีว การแพทย์ Fundamental Engineering for Biomedical Engineering สำหรับผู้สำเร็จปริญญาบัณฑิตด้าน แพทยศาสตร ทันตแพทยศาสตร์ เภสัช ศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์ สุขภาพ - 4(4-0-8) EN 017 898 วิทยานิพนธ์ 9 - Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 13 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต แบบ ก 1 แบบ ก 2 EN 017 001 หลักของวิศวกรรมชีวการแพทย์ - 3(3-0-6) Principle of Biomedical Engineering EN xxx xxx วิชาเลือก - 3 Elective EN xxx xxx วิชาเลือก - 3 Elective EN 017 898 วิทยานิพนธ์ 9 - Thesis EN 017 899 วิทยานิพนธ์ - 6 Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 15 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 22 24


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 89 ~ ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต แบบ ก 1 แบบ ก 2 EN 017 898 วิทยานิพนธ์ 9 - Thesis EN 017 899 วิทยานิพนธ์ - 6 Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 6 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 31 30 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต แบบ ก 1 แบบ ก 2 EN 017 898 วิทยานิพนธ์ 6 - Thesis EN 017 899 วิทยานิพนธ์ - 6 Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 6 6 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36


ปีการศึกษา 2567 ~ 90 ~ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2567) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมนวัตกรรม ภาษาอังกฤษ : Master of Engineering Program in Innovation Engineering 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา (ภาษาไทย) : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมนวัตกรรม) (ภาษาไทย) : วศ.ม. (วิศวกรรมนวัตกรรม) (ภาษาอังกฤษ) : Master of Engineering (Innovation Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : M.Eng. (Innovation Engineering) 3. วัตถุประสงค์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้ (1) สามารถสร้างและพัฒนานวัตกรรมและนำมาพัฒนาขยายผล สร้างศักยภาพในการผลิตของ ภาคอุตสาหกรรม ทำให้ประเทศไทยมีความพร้อมด้านบุคลากรเพื่อสนองยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเทศไทย 4.0 (2) สามารถใช้ทักษะความรู้และความสามารถพหุสาขาในการพัฒนางานนวัตกรรมเชิงวิศวกรรมที่เป็น ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ และตอบสนองต่อความต้องการขององค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม (3) มีวุฒิภาวะ คุณธรรม จริยธรรม วินัย รับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว องค์กร สังคม และ ประเทศชาติ ในการประกอบวิชาชีพด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและมีจรรยาบรรณ 4. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 4.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 4.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50.2 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ แผน ก แบบ ก 1 1) ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับ ให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการ อุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ แผน ก แบบ ก 2 1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ตีพิมพ์ หรือ


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 91 ~ 2) ได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ หรือนานาชาติ หรือ เสนอต่อที่ประชุมวิชาการ ที่นำเสนอบทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Paper) ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุม วิชาการ (Proceedings) ที่ได้มาตรฐาน จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 3) ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาด้านสิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร หรือลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ จำนวน อย่างน้อย 1 ผลงาน และ ได้รับการตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) ที่ได้มาตรฐาน จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ 4) 5. โครงสร้างหลักสูตร จำนวนหน่วยกิต แผน ก แบบ ก 1 แผน ก แบบ ก 2 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 36 36 1) หมวดวิชาบังคับ - 12 2) วิทยานิพนธ์ 36 24 หมายเหตุ สำหรับนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาอื่นที่นอกเหนือจากสาขาวิชา วิศวกรรมศาสตร์ ต้องศึกษารายวิชาปรับพื้นฐานทางวิศวกรรม โดยไม่คิดหน่วยกิต (Audit) และมีระดับคะแนน S หรือตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกำหนดเป็นกรณีไป 6. รายวิขา 1) หมวดวิชาบังคับ นักศึกษาแผน ก แบบ ก 2 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 12 หน่วย กิต ดังนี้ *EN 037 000 กระบวนการในอุตสาหกรรมขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Industrial Process *EN 037 001 ระเบียบวิธีวิจัยและการพัฒนานวัตกรรม 3(3-0-6) Innovation Development and Research Methodology *EN 037 002 การศึกษานวัตกรรมขั้นสูงสำหรับอุตสาหกรรม 3(0-9-5) Advanced Innovation Study for industry *EN 037 003 โครงงานย่อยเชิงสร้างสรรค์และนวัตกรรม 3(0-9-5) Creative and Innovation Mini Project 2) วิทยานิพนธ์ แผน ก แบบ ก 1 *EN 037 898 วิทยานิพนธ์ Thesis 36 หน่วยกิต แผน ก แบบ ก 2 *EN 037 899 วิทยานิพนธ์ Thesis 24 หน่วยกิต หมายเหตุ * รายวิชาใหม่ ** รายวิชาเปลี่ยนแปลง


ปีการศึกษา 2567 ~ 92 ~ 7. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต แผน ก แบบ ก 1 แผน ก แบบ ก 2 EN 037 000 กระบวนการในอุตสาหกรรมขั้นสูง - 3(3-0-6) Advanced Industrial Process EN 037 001 ระเบียบวิธีวิจัยและการพัฒนานวัตกรรม - 3(3-0-6) Innovation Development and Research Methodology EN 037 002 การศึกษาปัญหาอุตสาหกรรม - 3(0-9-5) Advanced Innovation Study for industry EN 037 898 วิทยานิพนธ์ Thesis 9 - รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต แผน ก แบบ ก 1 แผน ก แบบ ก 2 EN 037 003 โครงงานย่อยเชิงสร้างสรรค์และนวัตกรรม - 3(0-9-5) Creative and Innovation Mini Project EN 037 898 วิทยานิพนธ์ Thesis 9 - EN 037 899 วิทยานิพนธ์ Thesis - 6 รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 18 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต แผน ก แบบ ก 1 แผน ก แบบ ก 2 EN 037 898 วิทยานิพนธ์ Thesis 9 - EN 037 899 วิทยานิพนธ์ Thesis - 9 รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 27


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 93 ~ ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต แผน ก แบบ ก 1 แผน ก แบบ ก 2 EN 037 898 วิทยานิพนธ์ Thesis 9 - EN 037 899 วิทยานิพนธ์ Thesis - 9 รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36


ปีการศึกษา 2567 ~ 94 ~ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Master of Engineering Program 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาการจัดการทรัพยากรน้ำ 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรน้ำ) (ภาษาไทย) : วศ.ม. (การจัดการทรัพยากรน้ำ) (ภาษาอังกฤษ) : Master of Engineering (Water Resource Management) (ภาษาอังกฤษ) : M.Eng. (Water Resource Management) 4. วัตถุประสงค์ สำหรับ แผน 1 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ (1) เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชา และสามารถประยุกต์ใน การศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ (2) เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการวิจัยในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการทำงาน วิจัย และแก้ไขปัญหาได้ รวมถึงมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน (3) เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4) เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และจรรยาบรรณ ในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ สำหรับ แผน 2 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ (1) เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจในหลักการและทฤษฎีที่ครอบคลุมประเด็นสำคัญในสาขาของตนเองและ สาขาที่เกี่ยวข้อง และนำมาประยุกต์ในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้ (2) เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการศึกษาค้นคว้าประเด็นหรือปัญหาในภาคอุตสาหกรรมที่ตนเองสนใจได้ และ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อค้นหาคำตอบและวิเคราะห์ข้อมูล รวมถึงมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน (3) เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 95 ~ (4) เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และจรรยาบรรณ ในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ 5. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2565 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2566 หมวดที่ 10 ข้อ 56 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย แผน 1 แบบ ก 1 1) นักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือวารสาร ระดับนานาชาติ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 2) นักศึกษามีผลงานนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวิชาการอื่น ซึ่งสามารถสืบค้นได้ ตามที่สภามหาวิทยาลัยกำหนด จำนวนอย่างน้อย 1 ผลงาน และ 3) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Poster เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการรูปแบบตามที่กลุ่มวิชา กำหนด จึงจะสำเร็จการศึกษาได้ แผน 1 แบบ ก 2 1) นักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 2) นักศึกษามีผลงานวิทยานิพนธ์ที่นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานสืบเนื่องจากการ ประชุมวิชาการ (Proceedings) จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 3) นักศึกษามีผลงานนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวิชาการอื่น ซึ่งสามารถสืบค้นได้ ตามที่สภามหาวิทยาลัยกำหนด จำนวนอย่างน้อย 1 ผลงาน และ 4) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Poster เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการรูปแบบตามที่กลุ่มวิชา กำหนด จึงจะสำเร็จการศึกษาได้ แผน 2 แบบวิชาชีพ 1) นักศึกษาต้องได้รับการตีพิมพ์หรือได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับชาติที่อยู่ ในฐานข้อมูล TCI หรือระดับนานาชาติ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 2) นักศึกษามีผลงานวิจัยที่นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานสืบเนื่องจากการประชุม วิชาการ (Proceedings) จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 3) นักศึกษามีผลงานนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์หรือผลงานทางวิชาการอื่น ซึ่งสามารถสืบค้นได้ ตามที่สภามหาวิทยาลัยกำหนด จำนวนอย่างน้อย 1 ผลงาน หรือ 4) นักศึกษามีผลงานวิจัยที่นำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่สามารถสืบค้นหลักฐานในการนำเสนอ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ 5) จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Poster เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการรูปแบบตามที่กลุ่มวิชา กำหนด จึงจะสำเร็จการศึกษาได้


Click to View FlipBook Version