The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ณัฎฐา ศักดิ์ศิลาพร, 2024-06-07 07:52:30

คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2567

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปีการศึกษา 2567 ~ 146 ~ ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 539 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 539 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 539 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 539 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 39 45 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 539 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 539 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 539 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 539 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 6 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 45 45 45 54 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 539 996 ดุษฎีนิพนธ์ 3 - - - Dissertation EN 539 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 539 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 539 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 3 9 3 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 48 54 48 63


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 147 ~ ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.2 แผน 2.2 EN 539 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 539 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 6 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 63 69 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.2 แผน 2.2 EN 539 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 539 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 72 72


ปีการศึกษา 2567 ~ 148 ~ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) (ภาษาไทย) : ปร.ด. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม) (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Environment Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Environment Engineering) 4. วัตถุประสงค์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตดุษฏีบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ 4.1 เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจเชิงลึกในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชา และสามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อนำมาพัฒนาขยายผลสู่การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่และนำมาประยุกต์ในการแก้ปัญหาทาง วิศวกรรม 4.2 เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการวิจัย บูรณาการแขนงความรู้ และสร้างนวัตกรรมในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ ได้ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการทำงาน วิจัย สร้างนวัตกรรมและแก้ไขปัญหาได้ 4.3 เพื่อให้บัณฑิตมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน ในระดับนานาชาติได้ 4.4 เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.5 เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และ จรรยาบรรณในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ 5. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50.2 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย แผน 1.1 และ แผน 1.2 1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสาร ในวารสารระดับ


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 149 ~ นานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ หรือ 2) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ใน วารสารระดับนานาชาติ ที่ อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ วารสารระดับนานาชาติที่อยู่ ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ ผลงานนวัตกรรม/ผลงานสร้างสรรค์ ที่ เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่นกำหนด จำนวน 1 ผลงาน และ 3) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด แผน 2.1 และ แผน 2.2 1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสาร ในวารสารระดับ นานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ หรือ 2) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ใน วารสารระดับนานาชาติ ที่ อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ วารสารระดับนานาชาติที่อยู่ ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ ผลงานนวัตกรรม/ผลงานสร้างสรรค์ ที่ เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่นกำหนด จำนวน 1 ผลงาน และ 3) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด 6. โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 4 4 4 4 (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - - 9 (2) หมวดวิชาเลือก - - 9 12 (3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 72 48 72 7. รายวิชา (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 1.1และ แผน 1.2ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6)


ปีการศึกษา 2567 ~ 150 ~ Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วยกิต) (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 2.1 และ แผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 1.1แผน 1.2แผน 2.1 และแผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียน และสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 4 หน่วยกิต ดังนี้ EN 639 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 1 1(1-0-2) Environmental Engineering Seminar I (ไม่นับหน่วยกิต) EN 639 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 2 1(1-0-2) Environmental Engineering Seminar II (ไม่นับหน่วยกิต) EN 639 993 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3 1(1-0-2) Environmental Engineering Seminar III (ไม่นับหน่วยกิต) EN 639 994 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 4 1(1-0-2) Environmental Engineering Seminar IV (ไม่นับหน่วยกิต) (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) และต้องมีผลการศึกษาในระดับ C ขึ้นไป จำนวน 9 หน่วยกิต ตามรายวิชา ดังต่อไปนี้ EN 627 000 เคมีของน้ำ 3(3-0-6) Aquatic Chemistry EN 627 001 การแปรสภาพและการเคลื่อนที่ของสารมลพิษ 3(3-0-6) Fate and Transport of Pollutant EN 627 002 จลนพลศาสตร์และการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์สำหรับ วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Kinetics and Reactor Design for Environmental Engineering (2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษาแผน 2.1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน ในรายวิชาต่อไปนี้ แบบ นับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรม


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 151 ~ สิ่งแวดล้อม ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติม ภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และเลือกลงทะเบียน รายวิชาที่ไม่เคยศึกษามาในระดับปริญญาโท ดังนี้ นักศึกษาแผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านในรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ EN 627 101 กระบวนการออกซิเดชันขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Oxidation Processes EN 627 102 กระบวนการบำบัดน้ำเสียขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Wastewater Treatment Processes EN 627 103 กระบวนการผลิตน้ำขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Water Treatment Processes EN 627 104 เทคโนโลยีมลพิษทางอากาศและการจัดการ 3(3-0-6) Air Pollution Technology and Management EN 627 105 กระบวนการแยกสารทางสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Environmental Separation Processes EN 627 106 วิศวกรรมการบำบัดของเสียอันตราย 3(3-0-6) Hazardous Waste Treatment Engineering EN 627 108 การจัดการและการกำจัดมูลฝอย 3(3-0-6) Solid Waste Disposal and Management EN 627 109 กระบวนการทางชีวภาพสำหรับงานวิศวกรรมน้ำและน้ำเสีย 3(3-0-6) Biological Processes for Water and Wastewater Engineering EN 627 110 การจัดการคุณภาพน้ำ 3(3-0-6) Water Quality Management EN 627 111 การบำบัดแบบไม่ใช้อากาศเพื่อการผลิตก๊าซชีวภาพ 3(3-0-6) Anaerobic Treatment for Biogas Production EN 627 112 การจัดการของเสียอุตสาหกรรม 3(3-0-6) Industrial Waste Management EN 627 113 ระบบสุขาภิบาลอาคารขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Building Sanitation System EN 627 114 การควบคุมมลพิษน้ำจากอุตสาหกรรมขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Industrial Water Pollution Control EN 627 501 การวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือสำหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Instrumental Analysis for Environmental Engineering EN 627 502 พิษวิทยาและสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Toxicology and Environment EN 627 503 การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการวางแผน 3(3-0-6)


ปีการศึกษา 2567 ~ 152 ~ สิ่งแวดล้อม Geographic Information System Application of Environmental Planning EN 627 504 การประเมินการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีสะอาด 3(3-0-6) Production Assessment by Cleaner Technology EN 627 505 เทคโนโลยีชีวภาพสิ่งแวดล้อมขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Environmental Biotechnology EN 627 506 นาโนเทคโนโลยีสำหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Nanotechnology for Environmental Engineering EN 627 507 กระบวนการเพิ่มมูลค่ากากของเสียและการควบคุมมลพิษ 3(3-0-6) Value-adding process of waste and pollution control ทั้งนี้ นักศึกษาแผน 2.1 สามารถเลือกลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน ในรายวิชา ต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) เป็นวิชาเลือก เพิ่มเติมได้ดังนี้ EN 627 000 เคมีของน้ำ 3(3-0-6) Aquatic Chemistry EN 627 001 การแปรสภาพและการเคลื่อนที่ของสารมลพิษ 3(3-0-6) Fate and Transport of Pollutant EN 627 002 จลนพลศาสตร์และการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์สำหรับ วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Kinetics and Reactor Design for Environmental Engineering EN 627 003 หน่วยปฏิบัติการและกระบวนการทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Units Operations and Processes in Environmental Engineering (3) ดุษฎีนิพนธ์ นักศึกษา แผน 1.1 **EN 639 996 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 1.2 **EN 639 997 ดุษฎีนิพนธ์ 72 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 2.1 **EN 639 998 ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 2.2 **EN 639 999 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 153 ~ 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการนวัตกรรม 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) - Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN 639 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม 1 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Environmental Engineering Seminar I (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN 627 001 การแปรสภาพและการเคลื่อนที่ของ สารมลพิษ - - - 3(3-0-6) Fate and Transport of Pollutant EN 627 002 จลนพลศาสตร์และการออกแบบ เครื่องปฏิกรณ์สำหรับวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม - - - 3(3-0-6) Kinetics and Reactor Design for Environmental Engineering EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN 639 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 639 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 639 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 13 13 13 10 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 12 9 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการนวัตกรรม - - - 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management


ปีการศึกษา 2567 ~ 154 ~ EN 639 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม 2 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Environmental Engineering Seminar II (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN 627 000 เคมีของน้ำ - - - 3(3-0-6) Aquatic Chemistry EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN 639 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 639 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 639 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 13 13 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 18 24 21 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 639 993 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม 3 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Environmental Engineering Seminar III (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 639 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 639 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 639 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 639 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 10 13 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 27 33 33


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 155 ~ ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 639 994 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม 4 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Environmental Engineering Seminar IV (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN 639 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 639 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 639 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 639 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 10 10 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 42 42 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 639 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 639 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 639 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 639 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 3 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 45 45 45 51 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 639 996 ดุษฎีนิพนธ์ 3 - - - Dissertation EN 639 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 639 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation


ปีการศึกษา 2567 ~ 156 ~ EN 639 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 3 9 3 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 48 54 48 60 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.2 แผน 2.2 EN 639 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 639 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 63 69 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.2 แผน 2.2 EN 639 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 639 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 72 72


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 157 ~ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมเคมี 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี) (ภาษาไทย) : ปร.ด. (วิศวกรรมเคมี) (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Chemical Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Chemical Engineering) 4. วัตถุประสงค์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตดุษฏีบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ 4.1 เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจเชิงลึกในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชา และสามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อนำมาพัฒนาขยายผลสู่การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่และนำมาประยุกต์ในการแก้ปัญหาทาง วิศวกรรม 4.2 เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการวิจัย บูรณาการแขนงความรู้ และสร้างนวัตกรรมในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ ได้ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการทำงาน วิจัย สร้างนวัตกรรมและแก้ไขปัญหาได้ 4.3 เพื่อให้บัณฑิตมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน ในระดับนานาชาติได้ 4.4 เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.5 เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และ จรรยาบรรณในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ 5. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50.2 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย แผน 1.1 และ แผน 1.2 1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสาร ในวารสารระดับ


ปีการศึกษา 2567 ~ 158 ~ นานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ หรือ 2) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ใน วารสารระดับนานาชาติ ที่ อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ วารสารระดับนานาชาติที่อยู่ ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ ผลงานนวัตกรรม/ผลงานสร้างสรรค์ ที่ เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่นกำหนด จำนวน 1 ผลงาน และ 3) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด แผน 2.1 และ แผน 2.2 1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสาร ในวารสารระดับ นานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ หรือ 2) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ใน วารสารระดับนานาชาติ ที่ อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ วารสารระดับนานาชาติที่อยู่ ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ ผลงานนวัตกรรม/ผลงานสร้างสรรค์ ที่ เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่นกำหนด จำนวน 1 ผลงาน และ 3) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด 6. โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 2 3 2 2 (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - - 9 (2) หมวดวิชาเลือก - - 9 12 (3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 72 48 72 7. รายวิชา (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 1.1และ แผน 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6)


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 159 ~ Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วยกิต) (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 2.1 และ แผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 และ แผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียน เรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 2 หน่วยกิต ดังนี้ EN 739 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมเคมี 1 1(1-0-2) Dissertation Seminar in Chemical Engineering I (ไม่นับหน่วยกิต) EN 739 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมเคมี 2 1(1-0-2) Dissertation Seminar in Chemical Engineering II (ไม่นับหน่วยกิต) หมายเหตุ สำหรับนักศึกษา แผน 2.1 ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาอื่นที่นอกเหนือจาก สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเคมีต้องศึกษารายวิชาปรับพื้นฐานทางวิศวกรรมเคมี โดยไม่คิด หน่วยกิตและมีระดับคะแนน S โดยรายวิชาปรับพื้นฐานประกอบด้วย 4 รายวิชา จำนวน 12 หน่วยกิต ดังต่อไปนี้ EN 727 004 หลักการคำนวณสำหรับวิศวกรเคมี 3(3-0-6) Principle of Calculation for Chemical Engineers (ไม่นับหน่วยกิต) EN 727 005 อุณหพลศาสตร์สำหรับวิศวกรเคมี 3(3-0-6) Thermodynamics for Chemical Engineers (ไม่นับหน่วยกิต) EN 727 006 กระบวนการนำพา 3(3-0-6) Transport Processes (ไม่นับหน่วยกิต) EN 727 007 การออกแบบเครื่องปฏิกรณ์เคมี 3(3-0-6) Chemical Reactor Design (ไม่นับหน่วยกิต) (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษา แผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน แบบนับหน่วยกิต (Credit) และต้องมีผลการศึกษาในระดับ C ขึ้นไป จำนวน 9 หน่วยกิต ตามรายวิชาดังต่อไปนี้ EN 727 001 อุณหพลศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมีขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Chemical Engineering Thermodynamics EN 727 002 ปรากฏการณ์การนำพาขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Transport Phenomena


ปีการศึกษา 2567 ~ 160 ~ EN 727 003 วิศวกรรมปฏิกิริยาเคมีขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Chemical Reaction Engineering (2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษา แผน 2.1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน ในรายวิชาต่อไปนี้ แบบ นับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมเคมี ไม่ น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และเลือกลงทะเบียนรายวิชาที่ไม่เคยศึกษา มาในระดับปริญญาโท ดังนี้ นักศึกษา แผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน ในรายวิชาต่อไปนี้ แบบ นับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมเคมี ไม่ น้อยกว่า 9 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต หรือรายวิชาที่เปิดเพิ่มเติมภายหลัง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ EN 727 100 การป้องกันมลภาวะในกระบวนการเคมี 3(3-0-6) Pollution Prevention in Chemical Processes EN 727 200 การออกแบบระบบความร้อน 3(3-0-6) Design of Thermal Systems EN 727 201 พลศาสตร์ของไหลขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Fluid Dynamics EN 727 202 การถ่ายโอนความร้อนขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Heat Transfer EN 727 300 กระบวนการแยกขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Separation Processes EN 727 301 การจำลองกระบวนการเคมี 3(3-0-6) Chemical Process Simulations EN 727 400 วิทยาศาสตร์ตัวเร่งปฏิกิริยา 3(3-0-6) Catalyst Sciences EN 727 401 เครื่องปฏิกรณ์เคมีแบบหลายวัฏภาค 3(3-0-6) Multiphase Chemical Reactors EN 727 402 วัสดุระดับนาโนในกระบวนการเคมี 3(3-0-6) Nanotechnology in Chemical Processes EN 727 403 วิศวกรรมของตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใช้แสงร่วม 3(3-0-6) Photocatalytic Reaction Engineering EN 727 500 วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ขั้นแนะนำ 3(3-0-6) Introduction to Polymer Sciences EN 727 501 วัสดุประกอบขั้นแนะนำ 3(3-0-6) Introduction to Composite Material EN 727 502 เทคโนโลยีการห่อหุ้มสาร 3(3-0-6) Encapsulation Technology


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 161 ~ EN 727 600 กระบวนการแก๊สธรรมชาติและกระบวนการกลั่นน้ำมัน 3(3-0-6) Natural Gas Processing and Petroleum Refining Processes EN 727 601 พลังงานไฮโดรเจนและเทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลิง 3(3-0-6) Hydrogen Power and Fuel Cell Technologies EN 727 602 เทคโนโลยีการเก็บกักพลังงาน 3(3-0-6) Energy Storage Technology EN 727 700 พลังงาน สิ่งแวดล้อม และเศรษฐศาสตร์ 3(3-0-6) Energy Environmental and Economics EN 727 701 วิศวกรรมชีวเคมี 3(3-0-6) Biochemical Engineering EN 727 702 การเปลี่ยนชีวมวลเพื่อพลังงาน 3(3-0-6) Biomass Conversion for Energy EN 727 703 ชีวมวลสำหรับพลังงานทดแทนและเชื้อเพลิง 3(3-0-6) Biomass for Renewable Energy and Fuel EN 727 704 กระบวนการดูดซับ 3(3-0-6) Adsorption processes EN 727 894 ปัญหาพิเศษทางวิศวกรรมเคมี 3(3-0-6) Special Problems in Chemical Engineering (3) ดุษฎีนิพนธ์ นักศึกษา แผน 1.1 **EN 739 996 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 1.2 **EN 739 997 ดุษฎีนิพนธ์ 72 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 2.1 **EN 739 998 ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 2.2 **EN 739 999 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation


ปีการศึกษา 2567 ~ 162 ~ 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการนวัตกรรม 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN 727 002 ปรากฏการณ์นำพาขั้นสูง - - - 3(3-0-6) Advanced Transport Phenomena EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN 739 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 739 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 739 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 12 12 12 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 12 12 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 727 001 อุณหพลศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมีขั้น สูง - - - 3(3-0-6) Advanced Chemical Engineering Thermodynamics EN 727 003 วิศวกรรมปฏิกิริยาเคมีขั้นสูง - - - 3(3-0-6) Advanced Chemical Reaction Engineering EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 739 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 163 ~ EN 739 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 739 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 18 21 24 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 739 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 739 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 739 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 739 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 27 30 33 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 739 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมเคมี 1 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Dissertation Seminar in Chemical Engineering I (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN 739 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 739 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 739 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 739 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 10 10 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 39 42


ปีการศึกษา 2567 ~ 164 ~ ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 739 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมเคมี 2 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Dissertation Seminar in Chemical Engineering II (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN 739 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 739 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 739 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 739 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 10 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 7 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 45 45 45 51 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 739 996 ดุษฎีนิพนธ์ 3 - - - Dissertation EN 739 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 739 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 739 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 3 9 3 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 48 54 48 60 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.2 แผน 2.2 EN 739 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 739 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 63 69


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 165 ~ ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.2 แผน 2.2 EN 739 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 739 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 72 72


ปีการศึกษา 2567 ~ 166 ~ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์) (ภาษาไทย) : ปร.ด. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์) (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Computer Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Computer Engineering) 4. วัตถุประสงค์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตดุษฏีบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ 4.1 เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจเชิงลึกในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชา และสามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อนำมาพัฒนาขยายผลสู่การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่และนำมาประยุกต์ในการแก้ปัญหาทาง วิศวกรรม 4.2 เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการวิจัย บูรณาการแขนงความรู้ และสร้างนวัตกรรมในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ ได้ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการทำงาน วิจัย สร้างนวัตกรรมและแก้ไขปัญหาได้ 4.3 เพื่อให้บัณฑิตมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน ในระดับนานาชาติได้ 4.4 เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.5 เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และ จรรยาบรรณในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ 5. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50.2 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย แผน 1.1 และ แผน 1.2 1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับ


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 167 ~ นานาชาติที่ จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ ทั้งนี้ วารสารระดับนานาชาติต้องเป็นไปตามประกาศ คณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษากำหนด หรือ 2) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับ นานาชาติที่ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ ทั้งนี้ วารสารระดับนานาชาติ ต้องเป็นไปตามประกาศ คณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษากำหนด และ ผลงานนวัตกรรม/ผลงานสร้างสรรค์ ที่เป็นไป ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น จำนวน 1 ผลงาน และ 3) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด แผน 2.1 และ แผน 2.2 1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับ นานาชาติที่ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ ทั้งนี้ วารสารระดับนานาชาติต้องเป็นไปตามประกาศ คณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษากำหนด หรือ 2) นักศึกษามีผลงานนวัตกรรม/ผลงานสร้างสรรค์ ที่เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น จำนวน 1 ผลงาน และ 3) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด 6. โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (2) หมวดวิชาเลือก - - 6 18 (3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 72 48 72 7. รายวิชา (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 1.1และ แผน 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วยกิต)


ปีการศึกษา 2567 ~ 168 ~ (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 2.1 และ แผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 1.1และ แผน 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ EN 839 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1 1(1-0-2) Dissertation Seminar I (ไม่นับหน่วยกิต) EN 839 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 2 1(1-0-2) Dissertation Seminar II (ไม่นับหน่วยกิต) EN 839 993 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 3 1(1-0-2) Dissertation Seminar III (ไม่นับหน่วยกิต) (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 2.1 และ แผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ EN 839 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1 1(1-0-2) Dissertation Seminar I EN 839 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 2 1(1-0-2) Dissertation Seminar II EN 839 993 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 3 1(1-0-2) Dissertation Seminar III (2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษาแผน 2.1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน ในรายวิชาต่อไปนี้ แบบ นับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่ จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และเลือกลงทะเบียนรายวิชา ที่ไม่เคยศึกษามาในระดับปริญญาโท ดังนี้ นักศึกษาแผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน ในรายวิชาต่อไปนี้ แบบ นับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติม ภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ EN 827 100 สถิติและจำลองแบบ 3(3-0-6) Statistics and Modeling


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 169 ~ EN 827 101 ปัญญาเชิงคำนวณ 3(3-0-6) Computational Intelligence EN 827 102 การรู้จำรูปแบบและการตรวจหาวัตถุ 3(3-0-6) Pattern Recognition and Object Detection EN 827 103 การวิเคราะห์ขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Analytics EN 827 104 การหาค่าเหมาะสมที่สุดเชิงคอนเวกซ์ 3(3-0-6) Convex Optimization *EN 827 105 ปัญญาประดิษฐ์แบบยืดหยุ่น 3(3-0-6) Adaptive A.I. *EN 827 106 วิศวกรรมข้อมูล 3(3-0-6) Data Engineering *EN 827 107 วิศวกรรมปฏิบัติการการเรียนรู้ของเครื่อง 3(3-0-6) Machine Learning Operations Engineering *EN 827 108 การคำนวณเชิงควอนตัม 3(3-0-6) Quantum Computing *EN 827 109 ปฏิบัติการสำรวจเชิงปัญญา 3(3-0-6) Intellectual Exploration Practice EN 827 201 สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Computer Architecture *EN 827 202 ความต้องการซอฟต์แวร์และการออกแบบอินเทอร์แอ็คชัน 3(3-0-6) Software Requirements and Interaction Design *EN 827 203 ระบบฝังตัวที่กระจาย 3(3-0-6) Distributed Embedded Systems EN 827 301 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Computer Networks EN 827 302 อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Internet of Things *EN 827 303 เทคโนโลยีบล็อกเชน 3(3-0-6) Blockchain Technology *EN 827 304 ความปลอดภัยทางไซเบอร์ 3(3-0-6) Cyber Security *EN 827 305 คลาวด์แบบกระจายตัว 3(3-0-6) Pervasive Cloud *EN 827 306 ระบบไซเบอร์-ฟิสิกัลที่เชื่อมโยงกัน 3(3-0-6) Pervasive Cloud EN 827 401 การประมวลผลภาพดิจิทัลขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Digital Image Processing


ปีการศึกษา 2567 ~ 170 ~ EN 827 402 การมองเห็นของเครื่องจักรเชิงสามมิติ 3(3-0-6) Three-dimensional Machine Vision *EN 827 403 เทคโนโลยีโลกเสมือนจริง 3(3-0-6) Immersive Technology *EN 827 404 การคำนวณประสาทสัมผัสทางสายตา 3(3-0-6) Visual Computing EN 827 501 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการศึกษาปัจจุบัน 3(3-0-6) Current Computer’s Technology in Education EN 827 601 อิเล็กทรอนิกส์เชิงกลระดับจุลภาค 3(3-0-6) Micro mechatronics EN 827 602 นาโนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Nanoelectronics EN 827 603 อุปกรณ์และเซนเซอร์ทางชีวการแพทย์ 3(3-0-6) Biomedical Devices and Sensors EN 827 893 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 1 3(3-0-6) Special Topics in Computer Engineering I EN 827 894 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2 3(3-0-6) Special Topics in Computer Engineering II EN 827 895 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 3 3(3-0-6) Special Topics in Computer Engineering III EN 827 896 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 4 3(3-0-6) Special Topics in Computer Engineering IV (3) ดุษฎีนิพนธ์ นักศึกษา แผน 1.1 **EN 839 996 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 1.2 **EN 839 997 ดุษฎีนิพนธ์ 72 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 2.1 **EN 839 998 ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 2.2 **EN 839 999 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 171 ~ 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการนวัตกรรม 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN 839 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Dissertation Seminar I (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 839 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 839 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 839 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 839 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 13 13 13 13 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 13 13 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 839 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 839 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 839 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation


ปีการศึกษา 2567 ~ 172 ~ EN 839 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 18 22 22 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 839 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 2 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Dissertation Seminar II (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 839 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 839 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 839 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 839 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 10 13 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 27 32 35 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 839 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 839 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 839 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 839 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 41 44


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 173 ~ ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 839 993 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 3 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Dissertation Seminar III (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) EN 839 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 839 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 839 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 839 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 4 10 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 45 45 45 54 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 839 996 ดุษฎีนิพนธ์ 3 - - - Dissertation EN 839 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 839 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 839 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 3 9 3 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 48 54 48 63 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.2 แผน 2.2 EN 839 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 839 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 6 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 63 69


ปีการศึกษา 2567 ~ 174 ~ ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.2 แผน 2.2 EN 839 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 839 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 72 72


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 175 ~ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมพลังงาน 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมพลังงาน) (ภาษาไทย) : ปร.ด. (วิศวกรรมพลังงาน) (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Energy Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Energy Engineering) 4. วัตถุประสงค์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตดุษฏีบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ 4.1 เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจเชิงลึกในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชา และสามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อนำมาพัฒนาขยายผลสู่การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่และนำมาประยุกต์ในการแก้ปัญหาทาง วิศวกรรม 4.2 เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการวิจัย บูรณาการแขนงความรู้ และสร้างนวัตกรรมในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ ได้ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการทำงาน วิจัย สร้างนวัตกรรมและแก้ไขปัญหาได้ 4.3 เพื่อให้บัณฑิตมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน ในระดับนานาชาติได้ 4.4 เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.5 เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และ จรรยาบรรณในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ 5. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50.2 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย


ปีการศึกษา 2567 ~ 176 ~ แผน 1.1 และ แผน 1.2 1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ ฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ หรือ 2) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล SCOPUS จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ ผลงานนวัตกรรม/ผลงานสร้างสรรค์ ที่เป็นไปตามระเบียบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จำนวน 1 ผลงาน และ 3) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด แผน 2.1 และ แผน 2.2 1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ ฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 2) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์ใน Proceeding ในการประชุมวิชาการในระดับนานาชาติ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ ผลงานนวัตกรรม/ผลงานสร้างสรรค์ ที่เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น จำนวน 1 ผลงาน และ 3) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด 6. โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) - - - - (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - - 9 (2) หมวดวิชาเลือก - - 9 12 (3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 72 48 72 7. รายวิชา (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 1.1และ แผน 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบ ไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วยกิต)


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 177 ~ (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 2.1 และ แผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชาต่อไปนี้ แบบ นับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) ไม่มี (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน แบบนับหน่วยกิต (Credit) และ ต้องมีผลการศึกษาในระดับ C ขึ้นไป จำนวน 9 หน่วยกิต ตามรายวิชาดังต่อไปนี้ EN 547 000 แหล่งพลังงานและการผลิต 3(3-0-6) Energy Resources and Productions EN 547 001 หลักมูลทางวิศวกรรมพลังงาน 3(3-0-6) Fundamentals Energy Engineering EN 547 002 การจัดการโครงการด้านพลังงานและประเมินทาง เศรษฐศาสตร์ 3(3-0-6) Energy Project Management and Economical Appraisal (2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษาแผน 2.1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน ในรายวิชาต่อไปนี้ แบบ นับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมพลังงาน ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และเลือกลงทะเบียนรายวิชาที่ไม่เคย ศึกษามาในระดับปริญญาโท ดังนี้ นักศึกษาแผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน ในรายวิชาต่อไปนี้ แบบ นับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมพลังงาน ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ EN 547 500 วิศวกรรมพลังงานแสงอาทิตย์ 3(3-0-6) Solar Energy Engineering EN 547 501 เทคโนโลยีการแปลงพลังงานหมุนเวียน 3(3-0-6) Renewable Energy Conversion Technologies EN 547 503 นโยบายและการจัดการสิ่งแวดล้อมของระบบพลังงาน 3(3-0-6) Environmental Policy and Management of Energy


ปีการศึกษา 2567 ~ 178 ~ Systems EN 547 504 การออกแบบระบบทางความร้อน 3(3-0-6) Thermal System Design EN 547 507 การออกแบบอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน 3(3-0-6) Heat Exchanger Design EN 547 508 การจัดการพลังงานไฟฟ้า 3(3-0-6) Electrical Energy Management EN 547 509 การจัดการพลังงานในอาคาร 3(3-0-6) Energy Management in Buildings EN 547 510 การอนุรักษ์พลังงานในอุตสาหกรรม 3(3-0-6) Industrial Energy Conservation (3) ดุษฎีนิพนธ์ นักศึกษา แผน 1.1 **EN 559 996 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 1.2 **EN 559 997 ดุษฎีนิพนธ์ 72 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 2.1 **EN 559 998 ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 2.2 **EN 559 999 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการนวัตกรรม 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN 547 000 แหล่งพลังงานและการผลิต - - - 3(3-0-6) Energy Resources and Productions EN 547 001 หลักมูลทางวิศวกรรมพลังงาน - - - 3(3-0-6) Fundamentals Energy Engineering


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 179 ~ EN 547 002 การจัดการโครงการด้านพลังงาน และประเมินทางเศรษฐศาสตร์ - - - 3(3-0-6) Energy Project Management and Economical Appraisal EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) - Elective Course EN 559 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 559 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 559 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 12 12 12 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 12 12 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN 559 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 559 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 559 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 559 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 12 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 18 24 24 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course


ปีการศึกษา 2567 ~ 180 ~ EN 559 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 559 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 559 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 559 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 27 33 36 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 559 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 559 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 559 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 559 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 42 45 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 559 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 559 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 559 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 559 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 3 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 45 45 45 54


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 181 ~ ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 559 996 ดุษฎีนิพนธ์ 3 - - - Dissertation EN 559 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 559 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 559 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 3 9 3 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 48 54 48 63 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.2 แผน 2.2 EN 559 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 559 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 6 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 63 69 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.2 แผน 2.2 EN 559 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 559 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 72 72


ปีการศึกษา 2567 ~ 182 ~ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมชีวการแพทย์) (ภาษาไทย) : ปร.ด. (วิศวกรรมชีวการแพทย์) (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Biomedical Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Biomedical Engineering) 4. วัตถุประสงค์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตดุษฏีบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ 4.1 เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจเชิงลึกในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชา และสามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อนำมาพัฒนาขยายผลสู่การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่และนำมาประยุกต์ในการแก้ปัญหาทาง วิศวกรรม 4.2 เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการวิจัย บูรณาการแขนงความรู้ และสร้างนวัตกรรมในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ ได้ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการทำงาน วิจัย สร้างนวัตกรรมและแก้ไขปัญหาได้ 4.3 เพื่อให้บัณฑิตมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน ในระดับนานาชาติได้ 4.4 เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.5 เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และ จรรยาบรรณในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ 5. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50.2 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย แผน 1.1 และ แผน 1.2 1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสาร ในวารสารระดับ


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 183 ~ นานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ หรือ 2) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ใน วารสารระดับนานาชาติ ที่ อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ วารสารระดับนานาชาติที่อยู่ ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ ผลงานนวัตกรรม/ผลงานสร้างสรรค์ ที่ เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่นกำหนด จำนวน 1 ผลงาน และ 3) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด แผน 2.1 และ แผน 2.2 1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสาร ในวารสารระดับ นานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ หรือ 2) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ใน วารสารระดับนานาชาติ ที่ อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ วารสารระดับนานาชาติที่อยู่ ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ ผลงานนวัตกรรม/ผลงานสร้างสรรค์ ที่ เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่นกำหนด จำนวน 1 ผลงาน และ 3) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด 6. โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 2 3 2 2 (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - - 9 (2) หมวดวิชาเลือก - - 9 12 (3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 72 48 72 7. รายวิชา (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 1.1 และ แผน 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับ หน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการนวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management


ปีการศึกษา 2567 ~ 184 ~ (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษา แผน 2.1 และ แผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับ หน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการนวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 1.1และ แผน 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับ หน่วยกิต (Audit) จำนวน 2 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) **EN 029 991 สัมมนาดุษฏีนิพนธ์ทางวิศวกรรมชีวการแพทย์1 1 (1-0-2) Dissertation Seminar in Biomedical Engineering I **EN 029 992 สัมมนาดุษฏีนิพนธ์ทางวิศวกรรมชีวการแพทย์2 1 (1-0-2) Dissertation Seminar in Biomedical Engineering II (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 2.1 และ แผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับ หน่วยกิต (Audit) จำนวน 6 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) สำหรับผู้สำเร็จปริญญาบัณฑิตด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือด้านเทคโนโลยี EN 017 003 กายวิภาคและสรีรวิทยาของมนุษย์สำหรับวิศวกรรมชีวการแพทย์ Human Anatomy and Physiology for Biomedical Engineering 4(4-0-8) **EN 029 991 สัมมนาดุษฏีนิพนธ์ทางวิศวกรรมชีวการแพทย์1 1 (1-0-2) Dissertation Seminar in Biomedical Engineering I **EN 029 992 สัมมนาดุษฏีนิพนธ์ทางวิศวกรรมชีวการแพทย์2 1 (1-0-2) Dissertation Seminar in Biomedical Engineering II สำหรับผู้สำเร็จปริญญาบัณฑิตด้านแพทยศาสตร ทันตแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์ สุขภาพ EN 017 004 หลักมูลวิศวกรรมสำหรับวิศวกรรมชีวการแพทย์ 4(4-0-8) Fundamental Engineering for Biomedical Engineering **EN 029 991 สัมมนาดุษฏีนิพนธ์ทางวิศวกรรมชีวการแพทย์1 1 (1-0-2) Dissertation Seminar in Biomedical Engineering I **EN 029 992 สัมมนาดุษฏีนิพนธ์ทางวิศวกรรมชีวการแพทย์2 1 (1-0-2) Dissertation Seminar in Biomedical Engineering II


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 185 ~ (2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษาแผน 2.1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต นักศึกษาแผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดย ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ EN 017 100 ชีวกลศาสตร์ Biomechanics 3(3-0-6) EN 017 101 แบบจำลองทางคอมพิวเตอร์ในงานชีววิศวกรรม Computer Modeling in Bioengineering 3(3-0-6) EN 017 200 หุ่นยนต์จุลภาคและนาโนสำหรับวิศกรรมชีวการแพทย์ Micro-nanorobotics for Biomedical Engineering 3(3-0-6) EN 017 201 นาโนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นสูงสำหรับวิศวกรรมชีวการแพทย์ Advanced Nanoelectronics for Biomedical Engineering 3(3-0-6) EN 017 202 การเรียนรู้ของเครื่องในงานชีวการแพทย์ Biomedical Machine Learning 3(3-0-6) EN 017 300 การประมวลผลภาพถ่ายทางการแพทย์ Medical Image Processing 3(3-0-6) EN 017 301 การมองเห็นของเครื่องจักเชิงสามมิติสำหรับวิศวกรรมชีว การแพทย์ Three-dimensional Machine Vision for Biomedical Engineering 3(3-0-6) EN 017 302 ส่วนต่อประสานสมองและเครื่องจักร Brain-Machine Interfaces 3(3-0-6) EN 017 400 ปัจจัยมนุษย์ในการออกแบบระบบ Human Factors in Systems Design 3(3-0-6) EN 017 401 การประมวลผลข้อมูลของมนุษย์ Human Information Processing 3(3-0-6) EN 017 402 การประเมินสมรรถนะทางการยศาสตร์ Ergonomics assessment 3(3-0-6) EN 017 403 การยศาสตร์สำหรับผู้สูงอายุและผู้พิการ Ergonomics for elderly and disabled persons 3(3-0-6) EN 017 404 ชีวกลศาสตร์ของการทำงาน Occupational Biomechanics 3(3-0-6) EN 017 405 สรีรวิทยาของการทำงาน Physiology of work 3(3-0-6)


ปีการศึกษา 2567 ~ 186 ~ *EN 017 801 หัวข้อพิเศษทางชีวการแพทย์ 1(1-0-2) Special Topics in Biomedical EN 227 730 วิชาการเครื่องมือทางชีวการแพทย์ Biomedical Instrumentation 3(3-0-6) EN 457 102 วัสดุชีวภาพและการประยุกต์ใช้ของวัสดุชีวภาพ Biomaterials and Applications of Biomaterials 3(3-0-6) EN 537 000 คณิตศาสตร์วิศวกรรมขั้นสูง Advanced Engineering Mathematics 3 (3-0-6) EN 828 763 อุปกรณ์และเซนเซอร์ทางชีวการแพทย์ Biomedical Devices and Sensors 3(3-0-6) MD 627 710 ชีวสารสนเทศศาสตร์และการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ Bioinfomatics 2(1-3-4) (3) ดุษฎีนิพนธ์ นักศึกษา แผน 1.1 *EN 029 996 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 1.2 **EN 029 997 ดุษฎีนิพนธ์ 72 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 2.1 *EN 029 998 ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 2.2 **EN 029 999 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทาง วิศวกรรมศาสตร์ และการ จัดการนวัตกรรม 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วย กิต) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษา ด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือด้านเทคโนโลยี EN 017 003 กายวิภาคและสรีรวิทยาของ มนุษย์สำหรับวิศวกรรมชีว - - 4(4-0-8) 4(4-0-8)


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 187 ~ การแพทย์ Human Anatomy and Physiology for Biomedical Engineering สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาด้านแพทยศาสตร์ ทันต แพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์ สุขภาพ EN 017 004 หลักมูลวิศวกรรมสำหรับ วิศวกรรมชีวการแพทย์ - - 4(4-0-8) 4(4-0-8) Fundamental Engineering for Biomedical Engineering **EN 029 991 สัมมนาดุษฏีนิพนธ์ทางวิศวกรรม ชีวการแพทย์ 1 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Dissertation Seminar in Biomedical Engineering I (ไม่นับหน่วยกิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective EN 029 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 029 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 029 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - - - Dissertation EN 029 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - - Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 13 13 11 14 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 11 14 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 **EN 029 992 สัมมนาดุษฏีนิพนธ์ทาง วิศวกรรมชีวการแพทย์ 2 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Dissertation Seminar in Biomedical Engineering II (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) Elective EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective


ปีการศึกษา 2567 ~ 188 ~ EN 029 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 029 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 029 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 10 - Dissertation EN 029 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 11 16 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 19 19 22 30 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective EN 029 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 029 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 029998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 029 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 12 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 15 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 28 28 31 45 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 029 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 029 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 029 998 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 029 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 37 37 40 54


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 189 ~ ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 029 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 029 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 029 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 029 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 6 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 46 46 46 60 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 029 996 ดุษฎีนิพนธ์ 2 - - - Dissertation EN 029 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 029 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 2 - Dissertation EN 029 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 2 9 2 6 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 48 54 48 66 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต แผน 1.2 แผน 2.2 EN 029 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 029 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 63 69


ปีการศึกษา 2567 ~ 190 ~ ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต แผน 1.2 แผน 2.2 EN 029 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 029 999 ดุษฎีนิพนธ์ -- 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 72 72


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 191 ~ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมนวัตกรรม ภาษาอังกฤษ : Doctor of Engineering Program in Innovation Engineering 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา (ภาษาไทย) : วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมนวัตกรรม) (ภาษาไทย) : วศ.ด. (วิศวกรรมนวัตกรรม) (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Engineering (Innovation Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : D.Eng. (Innovation Engineering) 3. วัตถุประสงค์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563) มี วัตถุประสงค์เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ (1) มีความพร้อมและความสามารถตอบสนองต่อความต้องการขององค์กรเพื่อสร้างสรรค์แนวทางในการสร้าง และพัฒนานวัตกรรมอย่างแท้จริงที่ (2) มีทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงวิศวกรรม สามารถต่อยอดและสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ยั่งยืน สามารถถ่ายทอด ไปสู่แนวความคิดใหม่ที่ทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคมให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาประเทศไทย 4.0 (3) สามารถใช้ทักษะความรู้และความคิดสร้างสรรค์ในด้านนวัตกรรมอย่างบูรณาการสามารถนำไปใช้ประโยชน์ ในเชิงพาณิชย์และเพิ่มมูลค่าทางการเงินให้กับธุรกิจโดยเป็นที่ยอมรับต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมภายใต้หลักของ ศีลธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ (4) มีความพร้อมในการทำงานเพื่อสร้างนวัตกรรมเชิงวิศวกรรมที่สามารถต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ที่สร้าง มูลค่าเพิ่มให้กับองค์กรและประเทศไทยได้ 4. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 4.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 4.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50.2 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 4.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย (1) บทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Article ที่ไม่ได้เป็นผลงานจากการประชุมวิชาการ) จำนวนอย่างน้อย 2 บทความที่ได้ตีพิมพ์หรือได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) และ/หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus หรือ (2) บทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Article ที่ไม่ได้เป็นผลงานจากการประชุมวิชาการ) จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ ที่ได้ตีพิมพ์หรือได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE


ปีการศึกษา 2567 ~ 192 ~ (Science Citation Index Expanded) จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 หรือ 2 จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ (3) สิทธิบัตรการประดิษฐ์ ที่ได้รับเลขการยื่นจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา จำนวนอย่างน้อย 1 สิทธิบัตร และ บทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Article ที่ไม่ได้เป็นผลงานจากการประชุมวิชาการ) จำนวนอย่าง น้อย 2 บทความ ที่ได้ตีพิมพ์หรือได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่ใน ฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่าง น้อย 1 บทความ และ อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 หรือ 2 จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ 5. โครงสร้างหลักสูตร จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร จำนวนหน่วยกิต แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 48 72 48 72 1) หมวดวิชาบังคับ 1.1 วิชาบังคับ (ไม่นับหน่วยกิต) 2 8 2 2 1.2 วิชาบังคับ (นับหน่วยกิต) - - 6 6 2) หมวดวิชาเลือก - - 6 18 3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 6. รายวิขา 6.1) หมวดวิชาบังคับ วิชาบังคับ (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 1.1 และแบบ 2.1 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต จำนวน 2 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 049 991 การสัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมนวัตกรรม 1 1(0-3-2) Innovation Engineering Seminar I (ไม่นับหน่วยกิต) *EN 049 992 การสัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมนวัตกรรม 2 1(0-3-2) Innovation Engineering Seminar II (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 1.2 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 8 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) EN 007 000 การนำงานวิจัยสู่ธุรกิจสำหรับการเป็นผู้ประกอบการด้าน วิศวกรรม 3(3-0-6) (ไม่นับหน่วยกิต) Research to Business for Engineering Entrepreneurship EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology (ไม่นับหน่วยกิต) *EN 037 891 การสัมมนาทางวิศวกรรมนวัตกรรม 1 1(0-3-2) Innovation Engineering Seminar I (ไม่นับหน่วยกิต) *EN 037 892 การสัมมนาทางวิศวกรรมนวัตกรรม 2 1(0-3-2) Innovation Engineering Seminar II (ไม่นับหน่วยกิต)


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 193 ~ นักศึกษาแบบ 2.2 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 2 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 037 891 การสัมมนาทางวิศวกรรมนวัตกรรม 1 1(0-3-2) Innovation Engineering Seminar I (ไม่นับหน่วยกิต) *EN 037 892 การสัมมนาทางวิศวกรรมนวัตกรรม 2 1(0-3-2) Innovation Engineering Seminar II (ไม่นับหน่วยกิต) วิชาบังคับ (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแบบ 2.1 และแบบ 2.2 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อไปนี้ โดยลงทะเบียนแบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 6 หน่วยกิต EN 007 000 การนำงานวิจัยสู่ธุรกิจสำหรับการเป็นผู้ประกอบการด้าน วิศวกรรม 3(3-0-6) Research to Business for Engineering Entrepreneurship EN 007 001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Engineering Research Methodology 5.2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษา แบบ 2.1 ลงทะเบียนเรียน จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และนักศึกษาแบบ 2.2 ลงทะเบียนเรียน จำนวนไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต โดยนักศึกษาต้องเลือกลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ หรือรายวิชาที่เปิดเพิ่มเติมภายหลัง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ กลุ่มวิชาวิศวกรรมชีวภาพ *EN 037 100 วิศวกรรมทรัพยากรชีวภาพ 3(3-0-6) Bioresource Engineering *EN 037 101 วัสดุพอลิเมอร์ขั้นสูงสำหรับวิศวกรรมชีวภาพ Advanced Polymer Materials for Bioengineering 3(3-0-6) *EN 037 102 หลักสูตรขั้นสูงของเทคโนโลยีการประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ Advanced Course of Applied Microbial Technology 3(3-0-6) *EN 037 103 การพัฒนาพลังงานและเคมีชีวภาพ Biorefinery Development 3(3-0-6) *EN 037 104 เทคโนโลยีชีวมวลและพลังงานชีวภาพ Biomass and Bioenergy Technology 3(3-0-6) กลุ่มวิชาวิศวกรรมโยธา EN 127 502 การวางแผนการขนส่งในเมือง 3(3-0-6) Urban Transportation Planning EN 127 602 อุทกพลศาสตร์ 3(3-0-6) Hydrodynamics


ปีการศึกษา 2567 ~ 194 ~ กลุ่มวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า EN 227 715 เทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลิง 3(3-0-6) Fuel Cell Technology EN 227 724 อิเล็กทรอนิกส์กำลังประยุกต์ 3(3-0-6) Applied Power Electronics EN 227 730 วิชาการเครื่องมือทางชีวการแพทย์ 3(3-0-6) Biomedical Instrumentation EN 227 737 เทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูลขั้นสูง 3(3-0-6) Advance Data Storage Technology EN 227 740 ระบบควบคุมเชิงดิจิทัล 3(3-0-6) Digital Control Systems EN 227 741 การควบคุมเหมาะที่สุด 3(3-0-6) Optimal Control EN 227 742 ระบบชาญฉลาด 3(3-0-6) Intelligent Systems EN 227 743 การวิเคราะห์และควบคุมหุ่นยนต์ 3(3-0-6) Robot Analysis and Control EN 227 744 รถยนต์ไฟฟ้า 3(3-0-6) Electric Vehicle EN 227 753 ระบบสื่อสารเชิงดิจิทัล 3(3-0-6) Digital Communication Systems กลุ่มวิชาวิศวกรรมเกษตร EN 327 000 การวิเคราะห์และประเมินขั้นสูง ในระบบฟาร์มและระบบหลัง การเก็บเกี่ยว 3(3-0-6) Advanced Analysis and Assessment in Farm and Postharvest System EN 327 103 การใช้เครื่องจักรกลเพื่อการเกษตรขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Agricultural Mechanization EN 327 201 การประยุกต์ทางวิศวกรรมสำหรับวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว 3(3-0-6) Engineering Application for Postharvest Technology EN 327 202 เทคโนโลยีการแปรรูปข้าวขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Rice Processing Technology EN 327 203 กำลังและพลังงานหมุนเวียน 3(3-0-6) Power and Renewable Energy EN 327 301 การจัดการทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการ 3(3-0-6) Integrated Water Resources Management


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 195 ~ กลุ่มวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ EN 427 104 วิศวกรรมความปลอดภัยเชิงระบบ System Safety Engineering 3(3-0-6) EN 427 105 การจำลองสถานการณ์ด้วยคอมพิวเตอร์ขั้นสูง Advanced Computer Simulation 3(3-0-6) EN 427 106 การออกแบบระบบวิศวกรรม Engineering Systems Design 3(3-0-6) EN 427 107 การคำนวณอัจฉริยะสำหรับการประยุกต์ในทางอุตสาหกรรม Intelligent Computing for Industrial Applications 3(3-0-6) EN 427 202 วิศวกรรมคุณภาพ Quality Engineering 3(3-0-6) EN 427 402 การจัดการการตลาดสำหรับวิศวกรรมอุตสาหการ Marketing Management for Industrial Engineer 3(3-0-6) EN 427 403 การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานทางการเกษตรและอาหาร Agricultural and Food Logistics and Supply Chain Management 3(3-0-6) กลุ่มวิชาวิศวกรรมวัสดุ EN 457 100 วิศวกรรมวัสดุและเทคโนโลยี 3(3-0-6) Materials Engineering and Technology EN 457 101 การวิเคราะห์โครงสร้างและพื้นผิวของวัสดุ 3(3-0-6) Structural and Surface Analysis of Materials EN 457 102 วัสดุชีวภาพและการประยุกต์ใช้ของวัสดุชีวภาพ 3(3-0-6) Biomaterials and Applications of Biomaterials EN 457 104 วิทยาการและเทคโนโลยีของวัสดุนาโน 3(3-0-6) Science and Technology of Nanomaterials EN 457 201 การวิเคราะห์ความบกพร่องของส่วนประกอบจากการผลิต 3(3-0-6) Failure Analysis of Manufactured Components EN 457 203 การอบชุบในการผลิต 3(3-0-6) Heat Treatment in Manufacturing กลุ่มวิชาวิศวกรรมเครื่องกล EN 527 401 การหาค่าเหมาะที่สุดทางวิศวกรรม 3(3-0-6) Engineering Optimization กลุ่มวิชาวิศวกรรมพลังงาน EN 547 000 แหล่งพลังงานและการผลิต 3(3-0-6) Energy Resources and Production


Click to View FlipBook Version