The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ณัฎฐา ศักดิ์ศิลาพร, 2024-06-07 07:52:30

คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2567

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปีการศึกษา 2567 ~ 96 ~ 6. โครงสร้างหลักสูตร แผน ก แบบ ก 1 แผน ก แบบ ก 2 แผน ข (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 1 1 1 (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - - (2) หมวดวิชาเลือก - 15 27 (3) วิทยานิพนธ์ 36 18 6 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 36 36 36 7. รายวิชา (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษา แบบ ก 1 นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบ ไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 4 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วยกิต) (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษา แบบ ก 2 และ แผน 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วยกิต) (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษา แบบ ก 1 แบบ ก 2 และ แผน 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบ ผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 1 หน่วยกิต ดังนี้ *EN 147 891 การสัมมนาทางการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 1(1-3-2) Water Resources Management Seminar (ไม่นับหน่วยกิต) (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) ไม่มี


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 97 ~ (2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษาแบบ ก 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาการจัดการทรัพยากรน้ำไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ สำหรับนักศึกษา แผน 2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 27 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาการจัดการทรัพยากรน้ำ ไม่น้อย กว่า 24 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ EN 127 600 ระบบอุทกวิทยา 3(3-0-6) Hydrologic System EN 127 606 การจัดการลุ่มน้ำเชิงบูรณาการ 3(3-0-6) Integrated River Basin Management EN 127 620 การประยุกต์ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ในวิศวกรรม ทรัพยากรน้ำ 3(3-0-6) Application of Geographic Information System in Water Resources Engineering EN 127 603 การพัฒนาและการจัดการน้ำใต้ดิน 3(3-0-6) Groundwater Development and Management *EN 147 101 ธรรมมาภิบาลน้ำ 3(3-0-6) Water Governance *EN 147 201 การจัดการอุทกภัยและภัยแล้ง 3(3-0-6) Flood and drought management *EN 147 202 ระบบประปาชุมชน 3(3-0-6) Community water supply system *EN 147 301 การพัฒนาพลังงานทางเลือกในการจัดการน้ำ 3(3-0-6) Alternative energy for water management EN 327 304 การวางแผนและการจัดการชลประทาน 3(3-0-6) Irrigation and Drainage System Management EN 627 102 กระบวนการบำบัดน้ำเสียขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Wastewater Treatment Processes EN 627 110 การจัดการคุณภาพน้ำ 3(3-0-6) Water quality and management (3) วิทยานิพนธ์ นักศึกษาแบบ ก 1 *EN 147 898 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต Thesis


ปีการศึกษา 2567 ~ 98 ~ นักศึกษาแบบ ก 2 *EN 147 899 วิทยานิพนธ์ 18 หน่วยกิต Thesis (4) การศึกษาอิสระ นักศึกษาแผน 2 *EN 147 897 การศึกษาอิสระ 6 หน่วยกิต Independent Study หมายเหตุ * รายวิชาใหม่ ** รายวิชาเปลี่ยนแปลง 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และ การจัดการนวัตกรรม 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วย กิต) EN xxx xxx วิชาเลือก - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN xxx xxx วิชาเลือก - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN 147 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 147 899 วิทยานิพนธ์ - 5 - Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 12 14 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 14 9 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN 147 891 การสัมมนาทางการจัดการทรัพยากรน้ำ 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Water Resources Management Engineering Seminar (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN 147 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 147 899 วิทยานิพนธ์ - 5 - Thesis EN xxx xxx วิชาเลือก - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 99 ~ EN xxx xxx วิชาเลือก - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN xxx xxx วิชาเลือก - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course . รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 15 10 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 28 18 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Elective Course EN 147 897 การศึกษาอิสระ - - 3 Independent Study EN 147 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 147 899 วิทยานิพนธ์ - 5 - Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 5 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 33 30 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อวิชา แบบ ก 1 แบบ ก 2 แผน 2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) Elective Course EN 147 897 การศึกษาอิสระ - - 3 Independent Study EN 147 898 วิทยานิพนธ์ 9 - - Thesis EN 147 899 วิทยานิพนธ์ - 3 - Thesis รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 3 6 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 36


ปีการศึกษา 2567 ~ 100 ~ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมโยธา 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) (ภาษาไทย) : ปร.ด. (วิศวกรรมโยธา) (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Civil Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D.. (Civil Engineering) 4. วัตถุประสงค์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตดุษฏีบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ 4.1 เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจเชิงลึกในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชา และสามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อนำมาพัฒนาขยายผลสู่การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่และนำมาประยุกต์ในการแก้ปัญหาทาง วิศวกรรม 4.2 เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการวิจัย บูรณาการแขนงความรู้ และสร้างนวัตกรรมในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ ได้ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการทำงาน วิจัย สร้างนวัตกรรมและแก้ไขปัญหาได้ 4.3 เพื่อให้บัณฑิตมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน ในระดับนานาชาติได้ 4.4 เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.5 เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และ จรรยาบรรณในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ 5. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2565 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2566 หมวดที่ 10 ข้อ 56 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย แผน 1.1 และ แผน 1.2 1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสาร ในวารสารระดับ นานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ หรือ


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 101 ~ 2) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ใน วารสารระดับนานาชาติ ที่ อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ วารสารระดับนานาชาติที่อยู่ ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ ผลงานนวัตกรรม/ผลงานสร้างสรรค์ ที่ เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่นกำหนด จำนวน 1 ผลงาน และ 3) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด แผน 2.1 และ แผน 2.2 1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสาร ในวารสารระดับ นานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ หรือ 2) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ใน วารสารระดับนานาชาติ ที่ อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ วารสารระดับนานาชาติที่อยู่ ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ ผลงานนวัตกรรม/ผลงานสร้างสรรค์ ที่ เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่นกำหนด จำนวน 1 ผลงาน และ 3) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด 6. โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 1 1 1 1 (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - - - (2) หมวดวิชาเลือก - - 9 21 (3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 72 48 72 7. รายวิชา (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 1.1และ แผน 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชาต่อไปนี้ แบบ ไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วยกิต)


ปีการศึกษา 2567 ~ 102 ~ (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 2.1 และ แผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชาต่อไปนี้ แบบ นับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 และแผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 1 หน่วยกิต ดังนี้ *EN 139 991 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธาระดับปริญญาเอก 1(0-3-2) Civil Engineering Seminar for Doctoral Degree (ไม่นับหน่วยกิต) (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) ไม่มี (2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษาแผน 2.1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมโยธา ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วย กิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และเลือกลงทะเบียนรายวิชาที่ไม่เคยศึกษามา ในระดับปริญญาโท ดังนี้ นักศึกษาแผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมโยธา ไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ EN 127 100 การบริหารต้นทุนและความเสี่ยงของโครงการ 3(3-0-6) Project Cost and Risk Management EN 127 101 การวางแผนและควบคุมการก่อสร้างเชิงบูรณาการ 3(3-0-6) Integrated Project Planning and Control EN 127 102 การบริหารคุณภาพงานก่อสร้าง 3(3-0-6) Quality Management in Construction EN 127 103 การวิเคราะห์ผลิตภาพในการก่อสร้าง 3(3-0-6) Construction Productivity Analysis EN 127 104 กฎหมายและสัญญาการก่อสร้าง 3(3-0-6) Legal Concepts and Construction Contract EN 127 105 การบริหารการเงินและการบัญชีในการก่อสร้าง 3(3-0-6) Financial and Accounting in Construction Management


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 103 ~ EN 127 106 เทคนิคงานก่อสร้าง 3(3-0-6) Construction Techniques EN 127 107 เรื่องคัดสรรทางวิศวกรรมการจัดการการก่อสร้าง 3(3-0-6) Selected Topic in Construction Management Engineering EN 127 108 การจัดการโครงการ 3(3-0-6) Project Management EN 127 200 ปฐพีกลศาสตร์ขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Soil Mechanics EN 127 201 วิศวกรรมฐานรากขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Foundation Engineering EN 127 202 ปฐพีกลศาสตร์สำหรับดินที่ไม่อิ่มตัวด้วยน้ำ 3(3-0-6) Soil Mechanics for Unsaturated Soils EN 127 203 โครงสร้างดิน 3(3-0-6) Earth Structures EN 127 204 ปฐพีพลศาสตร์ 3(3-0-6) Soil Dynamics EN 127 205 การวิเคราะห์และออกแบบผิวทาง 3(3-0-6) Pavement Analysis and Design EN 127 206 การสำรวจและทดสอบดินในสนาม 3(3-0-6) Field Exploration and Soil Testing EN 127 207 การปรับปรุงคุณสมบัติของดิน 3(3-0-6) Ground Improvement EN 127 208 ธรณีฟิสิกส์ในงานวิศวกรรม 3(3-0-6) Engineering Geophysics EN 127 209 ธรณีวิทยาในงานวิศวกรรมขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Engineering Geology EN 127 300 การวิเคราะห์โครงสร้างขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Structural Analysis EN 127 301 โครงสร้างคอนกรีตขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Concrete Structures EN 127 302 วิธีไฟไนท์เอเลเมนท์ในงานวิศวกรรมโครงสร้าง 3(3-0-6) Finite Element Method in Structural Engineering EN 127 303 พลศาสตร์ของโครงสร้าง 3(3-0-6) Dynamics of Structures EN 127 304 โครงสร้างเหล็กขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Steel Structures EN 127 305 การจำลองพฤติกรรมของโครงสร้างในช่วงไม่ยืดหยุ่น 3(3-0-6) Inelastic Modeling of Structures


ปีการศึกษา 2567 ~ 104 ~ EN 127 306 วิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว 3(3-0-6) Wind and Earthquake Engineering EN 127 307 เสถียรภาพของโครงสร้าง 3(3-0-6) Stability of Structures EN 127 308 วิธีทดลองในงานวิศวกรรมโครงสร้าง 3(2-3-6) Experimental Methods in Structural Engineering EN 127 309 โครงสร้างจุลภาคและความทนทานของคอนกรีต 3(3-0-6) Microstructures and Durability of Concrete EN 127 310 การซ่อมแซมและการป้องกันโครงสร้างคอนกรีต 3(3-0-6) Repair and Protection of Concrete Structures EN 127 311 คอนกรีตเทคโนโลยีขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Concrete Technology EN 127 312 โครงสร้างและสมบัติของวัสดุวิศวกรรมโยธา 3(3-0-6) Structure and Properties of Civil Engineering Materials EN 127 313 คอนกรีตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Environmentally Friendly Concrete EN 127 314 เรื่องคัดสรรทางวิศวกรรมวัสดุก่อสร้าง 3(3-0-6) Selected Topics in Construction Materials EN 127 315 กลศาสตร์วัสดุขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Mechanics of Materials EN 127 400 การคำนวณปรับแก้ 3(2-3-6) Adjustment Computation EN 127 402 ภูมิมาตรศาสตร์ 3(3-0-6) Geodesy EN 127 403 หลักมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 3(3-0-6) Fundamentals of Geographic Information Systems EN 127 406 การวิเคราะห์ภาพถ่ายทางอากาศและภาพดาวเทียม 3(3-0-6) Analysis of Aerial and Satellite Imageries EN 127 407 งานสำรวจดาวเทียมจีพีเอส 3(3-0-6) GPS Satellite Surveying EN 127 410 วิศวกรรมการสำรวจด้วยภาพถ่าย 3(2-3-6) Photogrammetric Engineering EN 127 411 การสำรวจด้วยภาพถ่ายและการรับรู้ระยะไกลฐานอากาศยานไร้ คนขับ 3(2-3-6) UAV-based Photogrammetry and Remote Sensing EN 127 412 การสำรวจบนพื้นระนาบและขั้นสูง 3(3-0-6) Plane and Geodetic Surveying EN 127 413 เทคโนโลยีเชิงปริภูมิในการพัฒนานครอัจฉริยะ 3(3-0-6) Geospatial Technology for Smart City Development


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 105 ~ EN 127 414 สารสนเทศภูมิวิศวกรรมฐานเมฆินทร์ 3(3-0-6) Cloud-based Geoinformatics Engineering EN 127 500 การวิเคราะห์ระบบการขนส่ง 3(3-0-6) Transport System Analysis EN 127 501 วิศวกรรมจราจร 3(3-0-6) Traffic Engineering EN 127 502 การวางแผนการขนส่งในเขตเมืองอย่างยั่งยืน 3(3-0-6) Sustainable Urban Transportation Planning EN 127 503 การวิเคราะห์ทางสถิติสำหรับวิศวกรรมขนส่ง 3(3-0-6) Statistical Analysis for Transportation Engineering EN 127 504 การออกแบบถนนเชิงเรขาคณิต 3(3-0-6) Geometric Design of Highway EN 127 505 การวางแผนระบบขนส่งสาธารณะ 3(3-0-6) Public Transportation Planning EN 127 506 วิศวกรรมความปลอดภัยของถนน 3(3-0-6) Road Safety Engineering EN 127 507 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศจากภาคการขนส่ง 3(3-0-6) An Assessment of Environmental Impacts and Climate Change from Transportation Sectors EN 127 508 เรื่องการคัดสรรทางวิศวกรรมขนส่ง 3(3-0-6) Selected Topics in Transportation Engineering EN 127 509 การวางแผนการขนส่ง การใช้ประโยชน์ที่ดิน และสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) Transportation, Land Use and Environment Planning EN 127 510 การจัดทำแบบจำลองด้านการขนส่งและจราจร 3(3-0-6) Transportation and Traffic Modeling EN 127 600 ระบบอุทกวิทยา 3(3-0-6) Hydrologic System EN 127 606 การจัดการลุ่มน้ำเชิงบูรณาการ 3(3-0-6) Integrated River Basin Management EN 127 607 การวิเคราะห์ระบบทรัพยากรน้ำ 3(3-0-6) Water Resources System Analysis EN 127 609 การศึกษาพิเศษทางวิศวกรรมทรัพยากรน้ำ 3(3-0-6) Special Study in Water Resources Engineering EN 127 610 การประยุกต์ใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์สำหรับวิศวกรรมชล ศาสตร์ 3(3-0-6) Application of Mathematical Models for Hydraulic Engineering


ปีการศึกษา 2567 ~ 106 ~ EN 127 611 กระบวนการเฟ้นสุ่มในด้านอุทกวิทยา 3(3-0-6) Stochastic Processes in Hydrology EN 127 612 การจัดการภัยพิบัติที่เกี่ยวกับน้ำ 3(3-0-6) Water-related Disaster Management EN 127 613 เทคนิคการวางแผนและการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 3(3-0-6) Planning and Management Techniques in Water Resources Systems EN 127 614 การจัดการน้ำท่วมและการระบายน้ำในเมือง 3(3-0-6) Flood Management and Urban Stormwater EN 127 615 การจัดการน้ำแล้ง 3(3-0-6) Drought Management EN 127 616 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการจัดการน้ำอย่างมี ประสิทธิภาพ 3(3-0-6) Climate Change and Effective Water Resources Management EN 127 617 การศึกษาความเหมาะสมสำหรับโครงการทรัพยากรน้ำ 3(3-0-6) Feasibility Study for Water Resources Projects EN 127 618 การจัดการอ่างเก็บน้ำ 3(3-0-6) Reservoir Management EN 127 619 การจัดการความเสี่ยงด้านทรัพยากรน้ำ 3(3-0-6) Risk Management in Water Resources EN 127 620 การประยุกต์ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ในวิศวกรรม ทรัพยากรน้ำ Application of Geographic Information System in Water Resources Engineering 3(3-0-6) (3) ดุษฎีนิพนธ์ นักศึกษา แผน 1.1 **EN 139 996 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 1.2 **EN 139 997 ดุษฎีนิพนธ์ 72 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 2.1 **EN 139 998 ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 2.2 **EN 139 999 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 107 ~ 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการนวัตกรรม 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 139 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 139 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 139 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 139 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 12 12 12 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 12 12 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 139 991 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธาระดับ ปริญญาเอก 1(0-3-2) 1(0-3-2) 1(0-3-2) 1(0-3-2) Civil Engineering Seminar for Doctoral Degree (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 139 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 139 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 139 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation


ปีการศึกษา 2567 ~ 108 ~ EN 139 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 10 10 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 18 21 21 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 139 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 139 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 139 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 139 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 27 30 33 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 139 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 139 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 139 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 139 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 39 42


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 109 ~ ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 139 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 139 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 139 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 139 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 6 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 45 45 45 51 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 139 996 ดุษฎีนิพนธ์ 3 - - - Dissertation EN 139 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 139 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 139 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 3 9 3 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 48 54 48 60 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.2 แผน 2.2 EN 139 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 139 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 63 69


ปีการศึกษา 2567 ~ 110 ~ ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.2 แผน 2.2 EN139997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN139999 ดุษฎีนิพนธ์ - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 72 72


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 111 ~ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า) (ภาษาไทย) : ปร.ด. (วิศวกรรมไฟฟ้า) (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Electrical Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Electrical Engineering) 4. วัตถุประสงค์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตดุษฏีบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ 4.1 เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจเชิงลึกในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชา และสามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อนำมาพัฒนาขยายผลสู่การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่และนำมาประยุกต์ในการแก้ปัญหาทาง วิศวกรรม 4.2 เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการวิจัย บูรณาการแขนงความรู้ และสร้างนวัตกรรมในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ ได้ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการทำงาน วิจัย สร้างนวัตกรรมและแก้ไขปัญหาได้ 4.3 เพื่อให้บัณฑิตมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน ในระดับนานาชาติได้ 4.4 เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.5 เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และ จรรยาบรรณในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ 5. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2565 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2566 หมวดที่ 10 ข้อ 56 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย แผน 1.1 และ แผน 1.2 1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสาร ในวารสารระดับ


ปีการศึกษา 2567 ~ 112 ~ นานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ หรือ 2) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ใน วารสารระดับนานาชาติ ที่ อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ วารสารระดับนานาชาติที่อยู่ ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ ผลงานนวัตกรรม/ผลงานสร้างสรรค์ ที่ เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่นกำหนด จำนวน 1 ผลงาน และ 3) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด แผน 2.1 และ แผน 2.2 1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสาร ในวารสารระดับ นานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ อยู่ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ หรือ 2) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ใน วารสารระดับนานาชาติ ที่ อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ วารสารระดับนานาชาติที่อยู่ ในฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ ผลงานนวัตกรรม/ผลงานสร้างสรรค์ ที่ เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่นกำหนด จำนวน 1 ผลงาน และ 3) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด 6. โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 1 3 - - (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (2) หมวดวิชาเลือก - - 6 18 (3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 72 48 72 7. รายวิชา (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 1.1และ แผน 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน แบบ ไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6)


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 113 ~ Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วยกิต) (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 2.1 และ แผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 1.1และ แผน 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ EN 239 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1 1(1-0-2) Dissertation Seminar I (ไม่นับหน่วยกิต) EN 239 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 2 1(1-0-2) Dissertation Seminar II (ไม่นับหน่วยกิต) EN 239 993 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 3 1(1-0-2) Dissertation Seminar III (ไม่นับหน่วยกิต) (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 2.1 และ แผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ EN 239 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1 1(1-0-2) Dissertation Seminar I EN 239 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 2 1(1-0-2) Dissertation Seminar II EN 239 993 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 3 1(1-0-2) Dissertation Seminar III (2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษาแผน 2.1 ให้ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และเลือกลงทะเบียนรายวิชาที่ไม่เคยศึกษามาในระดับปริญญาโท หรือ รายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ นักศึกษาแผน 2.2 ให้ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้


ปีการศึกษา 2567 ~ 114 ~ EN 227 001 คณิตศาสตร์วิศวกรรมขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Engineering Mathematics EN 227 002 การสร้างแบบจำลองและการจำลองระบบ 3(3-0-6) System Modelling and Simulation EN 227 003 ระเบียบวิธีเชิงวิเคราะห์และเชิงตัวเลข 3(3-0-6) Numerical and Analytical Methods EN 227 004 การหาค่าเหมาะสมที่สุดขั้นแนะนำ 3(3-0-6) Introduction to Optimization EN 227 005 ระบบไม่เชิงเส้น 3(3-0-6) Nonlinear Systems EN 227 006 ทฤษฎีสารสนเทศ 3(3-0-6) Information Theory EN 227 100 ทฤษฎีเครื่องจักรกลไฟฟ้า 3(3-0-6) Electric Machine Theory EN 227 101 การออกแบบหม้อแปลงขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Transformer Design EN 227 102 เทคโนโลยีฉนวนไฟฟ้าแรงสูง 3(3-0-6) High Voltage Insulation Technology EN 227 103 การส่งไฟฟ้าแรงสูงกระแสตรง 3(3-0-6) High Voltage Direct Current Transmission EN 227 104 ระบบพลังงานแสงอาทิตย์โฟโตโวลตาอิก 3(3-0-6) Photovoltaic Solar Energy Systems EN 227 105 เทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลิง 3(3-0-6) Fuel Cell Technology EN 227 200 วงจรรวมดิจิทัลแบบซีมอส 3(3-0-6) CMOS Digital Integrated Circuits EN 227 201 การออกแบบวงจรรวมซีมอสเชิงแอนะล็อก 1 3(3-0-6) Design of Analogue CMOS Integrated Circuits I EN 227 202 การออกแบบวงจรรวมซีมอสเชิงแอนะล็อก 2 3(3-0-6) Design of Analogue CMOS Integrated Circuits II EN 227 203 การออกแบบดิจิทัลด้วยเอชดีแอล/เอฟพีจีเอ 3(3-0-6) Digital System Design using HDL/FPGA EN 227 204 อิเล็กทรอนิกส์กำลังประยุกต์ 3(3-0-6) Applied Power Electronics EN 227 205 เทคโนโลยีการเชื่อมต่อภายในและการบรรจุภัณฑ์ อิเล็กทรอนิกส์ 3(3-0-6) Electronics Interconnection and Packaging Technology


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 115 ~ EN 227 206 เทคโนโลยีการสร้างอุปกรณ์ไมโครและนาโนอิเล็กทรอนิกส์ 3(3-0-6) Micro- and Nano-Electronic Device Fabrication Technology EN 227 207 สมบัติทางไฟฟ้าและสมบัติเชิงแสงของวัสดุ 3(3-0-6) Electrical and Optical Properties of Materials EN 227 208 เทคนิคการอธิบายลักษณะของวัสดุและอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ 3(3-0-6) Semiconductor Material and Device Characterization Techniques EN 227 209 เคมีไฟฟ้าของสารกึ่งตัวนำและเคมีไฟฟ้าที่เหนี่ยวนำด้วยแสง 3(3-0-6) Semiconductor Electrochemistry and Photoelectrochemistry EN 227 210 วิชาการเครื่องมือทางชีวการแพทย์ 3(3-0-6) Biomedical Instrumentation EN 227 211 สภาวะแม่เหล็กและวัสดุแม่เหล็ก 3(3-0-6) Magnetism and Magnetic Materials EN 227 212 เทคโนโลยีหัวบันทึก 3(3-0-6) Recording Head Technology EN 227 213 เทคโนโลยีสื่อบันทึกข้อมูลแม่เหล็ก 3(3-0-6) Magnetic Media Technology EN 227 214 ปรากฏการณ์การคายประจุไฟฟ้าสถิตในหัวบันทึก 3(3-0-6) Electrostatic Discharge Effects in Recording Heads EN 227 215 ความเครียดเกินทางไฟฟ้าและการคายประจุไฟฟ้าสถิตใน อุปกรณ์นาโนเทคโนโลยี 3(3-0-6) Electrical Overstress and Electrostatic Discharge in Nanotechnology Devices EN 227 216 เทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูล 3(3-0-6) Data Storage Technology EN 227 300 ระบบควบคุมเชิงดิจิทัล 3(3-0-6) Digital Control Systems EN 227 301 การควบคุมเหมาะที่สุด 3(3-0-6) Optimal Control EN 227 302 ระบบชาญฉลาด 3(3-0-6) Intelligent Systems EN 227 303 การวิเคราะห์และควบคุมหุ่นยนต์ 3(3-0-6) Robot Analysis and Control EN 227 304 รถยนต์ไฟฟ้า 3(3-0-6) Electric Vehicle EN 227 305 เครื่องกลวิทัศน์ 3(3-0-6) Machine Vision


ปีการศึกษา 2567 ~ 116 ~ EN 227 400 การวิเคราะห์สัญญาณและระบบ 3(3-0-6) Signal and System Analysis EN 227 401 การประมวลสัญญาณแบบเวลาไม่ต่อเนื่อง 3(3-0-6) Discrete-time Signal Processing EN 227 402 การประมวลผลภาพดิจิทัล 3(3-0-6) Digital Image Processing EN 227 403 ระบบสื่อสารเชิงดิจิทัล 3(3-0-6) Digital Communication System EN 227 404 การเข้ารหัสควบคุมความผิดพลาด 3(3-0-6) Error Control Coding EN 227 405 ทฤษฎีและการออกแบบสายอากาศ 3(3-0-6) Antenna Theory and Design EN 227 406 การออกแบบวงจรคลื่นความถี่วิทยุ 3(3-0-6) Radio Frequency Circuit Design EN 227 407 เครือข่ายไร้สาย 3(3-0-6) Wireless Networks EN 227 408 การหาตำแหน่งท้องถิ่นไร้สาย 3(3-0-6) Wireless Localization EN 227 500 แม่เหล็กไฟฟ้าเชิงคำนวณ 3(3-0-6) Computational Electromagnetics EN 227 501 วิศวกรรมแม่เหล็กไฟฟ้าขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Engineering Electromagnetics EN 227 800 หัวข้อพิเศษทางคณิตศาสตร์สำหรับวิศวกรรมไฟฟ้า 3(3-0-6) Special Topics in Mathematics for Electrical Engineering EN 227 801 หัวข้อพิเศษทางระบบไฟฟ้ากำลัง 3(3-0-6) Special Topics in Power Systems EN 227 802 หัวข้อพิเศษทางอิเล็กทรอนิกส์ 3(3-0-6) Special Topics in Electronics EN 227 803 หัวข้อพิเศษทางระบบควบคุม 3(3-0-6) Special Topics in Control Systems EN 227 804 หัวข้อพิเศษทางระบบสื่อสาร 3(3-0-6) Special Topics in Communication system EN 227 805 หัวข้อพิเศษทางแม่เหล็กไฟฟ้าประยุกต์ 3(3-0-6) Special Topics in Electromagnetic Applications EN 227 806 หัวข้อพิเศษทางการแปรผันพลังงานไฟฟ้า 3(3-0-6) Special Topics in Electrical Power Conversion EN 227 807 หัวข้อพิเศษทางปัญญาประดิษฐ์ 3(3-0-6) Special Topics in Artificial intelligence


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 117 ~ (3) ดุษฏีนิพนธ์ นักศึกษา แผน 1.1 **EN 239 996 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 1.2 **EN 239 997 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation 72 หน่วยกิต นักศึกษาแผน 2.1 **EN 239 998 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation 36 หน่วยกิต นักศึกษาแผน 2.2 **EN 239 999 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation 48 หน่วยกิต 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการนวัตกรรม 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 239 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 239 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 239 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 239 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 12 12 9 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 9 12


ปีการศึกษา 2567 ~ 118 ~ ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 239 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 239 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 239 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 239 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 18 18 21 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 239 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Dissertation Seminar I (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 239 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 239 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 239 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 8 - Dissertation EN 239 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 9 10 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 27 27 31


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 119 ~ ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 239 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 2 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Dissertation Seminar II (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) EN 239 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 239 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 239 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 8 - Dissertation EN 239 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 8 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 36 40 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 239 993 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 3 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Dissertation Seminar III (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) EN 239 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 239 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 239 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 8 - Dissertation ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 239 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 8 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 45 45 45 49


ปีการศึกษา 2567 ~ 120 ~ ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 239 996 ดุษฎีนิพนธ์ 3 - - - Dissertation EN 239 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 239 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 239 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 3 9 3 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 48 54 48 58 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.2 แผน 2.2 EN 239 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 239 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 63 67 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.2 แผน 2.2 EN 239 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 239 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 5 รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 63 67


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 121 ~ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมเกษตร 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมเกษตร) (ภาษาไทย) : ปร.ด. (วิศวกรรมเกษตร) (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Agriculture Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Agriculture Engineering) 4. วัตถุประสงค์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตดุษฏีบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ 4.1 เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจเชิงลึกในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชา และสามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อนำมาพัฒนาขยายผลสู่การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่และนำมาประยุกต์ในการแก้ปัญหาทาง วิศวกรรม 4.2 เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการวิจัย บูรณาการแขนงความรู้ และสร้างนวัตกรรมในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ ได้ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการทำงาน วิจัย สร้างนวัตกรรมและแก้ไขปัญหาได้ 4.3 เพื่อให้บัณฑิตมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน ในระดับนานาชาติได้ 4.4 เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.5 เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และ จรรยาบรรณในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ 5. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2565 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2566 หมวดที่ 10 ข้อ 56 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย


ปีการศึกษา 2567 ~ 122 ~ แผน 1.1 และ แผน 1.2 1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ ฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ หรือ 2) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล SCOPUS จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ ผลงานนวัตกรรม/ผลงานสร้างสรรค์ ที่เป็นไปตาม ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น จำนวน 1 ผลงาน และ 3) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด แผน 2.1 และ แผน 2.2 1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือ ฐานข้อมูล Scopus จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือ 2) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์ใน Proceeding ในการประชุมวิชาการในระดับนานาชาติ จำนวนอย่าง น้อย 1 บทความ และ ผลงานนวัตกรรม/ผลงานสร้างสรรค์ ที่เป็นไปตามระเบียบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จำนวน 1 ผลงาน และ 3) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด 6. โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 2 2 2 - (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - - 3 (2) หมวดวิชาเลือก - - 9 18 (3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 72 48 72 7. รายวิชา (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 1.1และ แผน 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6)


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 123 ~ Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วยกิต) (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 2.1 และ แผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 1.1แผน 1.2และแผน 2.1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบ ผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 2 หน่วยกิต ดังนี้ EN 339 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมเกษตร 1 1(1-0-2) Agricultural Engineering Dissertation Seminar I (ไม่นับหน่วยกิต) EN 339 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมเกษตร 2 1(1-0-2) Agricultural Engineering Dissertation Seminar II (ไม่นับหน่วยกิต) (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ EN 327 891 สัมมนาทางวิศวกรรมเกษตร 1(1-0-2) Agricultural Engineering Seminar EN 339 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมเกษตร 1 1(1-0-2) Agricultural Engineering Dissertation Seminar I EN 339 992 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมเกษตร 2 1(1-0-2) Agricultural Engineering Dissertation Seminar II (2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษาแผน 2.1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับ หน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมเกษตรไม่น้อย กว่า 6 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และเลือกลงทะเบียนรายวิชาที่ไม่เคยศึกษา มาในระดับปริญญาโท ดังนี้ นักศึกษาแผน 2.2 ให้ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมเกษตรไม่น้อยกว่า 5 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ EN 327 000 การวิเคราะห์และประเมินขั้นสูงในระบบฟาร์มและระบบหลังการ เก็บเกี่ยว 3(3-0-6) Advanced Analysis and Assessment in Farm and Postharvest System


ปีการศึกษา 2567 ~ 124 ~ EN 327 001 สมบัติทางวิศวกรรมของวัสดุเกษตรและผลิตภัณฑ์ 3(3-0-6) Engineering Properties of Agricultural Materials and Products EN 327 002 การประยุกต์ระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ในงานวิศวกรรมเกษตร 3(3-0-6) Applied Finite Element Method in Agricultural Engineering EN 327 003 วิศวกรรมการผลิตอ้อยขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Sugar Cane Production Engineering EN 327 004 การจัดการทรัพยากรที่ดินและแหล่งน้ำ 3(3-0-6) Land and Water Resources Management EN 327 005 เทคนิคเนียร์อินฟราเรดไฮเปอร์สเปกทรัลอิมเมจและมัลติสเปกทรัล อิมเมจสำหรับผลผลิตทางการเกษตรและอาหาร 3(3-0-6) Near infrared hyperspectral image and multispectral image technique for agricultural product and food EN 327 100 เครื่องจักรกลเกษตรและการจัดการ 3(3-0-6) Agricultural Machinery and Management EN 327 101 การออกแบบเครื่องจักรกลเกษตรและเครื่องมือหลังการเก็บเกี่ยว ขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Agricultural Machinery and Postharvest Equipment Design EN 327 102 การทดสอบและประเมินผลเครื่องจักรกลเกษตรและเครื่องมือหลัง การเก็บเกี่ยว 3(3-0-6) Agricultural Machinery and Postharvest Equipment Testing and Evaluation EN 327 103 การใช้เครื่องจักรกลเพื่อการเกษตรขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Agricultural Mechanization EN 327 104 วิศวกรรมรถแทรกเตอร์การเกษตรขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Agricultural Tractor Engineering EN 327 105 เครื่องเก็บเกี่ยวเมล็ดพืช 3(3-0-6) Grain Harvester EN 327 106 การเก็บเกี่ยวพืชและการจัดการ 3(3-0-6) Crop Harvesting and Management EN 327 200 การอบแห้งและการเก็บรักษาเมล็ดพืช 3(3-0-6) Grain Drying and Storage EN 327 201 การประยุกต์ทางวิศวกรรมสำหรับวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว 3(3-0-6) Engineering Application for Postharvest Technology EN 327 202 เทคโนโลยีการแปรรูปข้าวขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Rice Processing Technology EN 327 203 กำลังและพลังงานหมุนเวียน 3(3-0-6) Power and Renewable Energy


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 125 ~ EN 327 204 เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ในด้านเกษตรกรรม 3(3-0-6) Solar Energy Technology in Agriculture EN 327 301 การจัดการทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการ 3(3-0-6) Integrated Water Resources Management EN 327 302 อุทกวิทยาประยุกต์ 3(3-0-6) Applied Hydrology EN 327 303 ชลศาสตร์ประยุกต์ 3(3-0-6) Applied Hydraulics EN 327 304 การวางแผนและการจัดการชลประทาน 3(3-0-6) Irrigation Planning and Management EN 327 305 การจำลองระบบลุ่มน้ำเกษตร 3(3-0-6) Simulation of Agricultural Watershed Systems EN 327 306 เทคนิคการหาค่าที่เหมาะสมด้วยอัลกอริทึม 3(3-0-6) Optimization Techniques with Algorithms EN 327 307 ทฤษฎีควบคุมสำหรับเมคคาทรอนิกส์เกษตร 3(3-0-6) Control Theory for Agricultural Mechartronics EN 327 800 หัวข้อเรื่องพิเศษทางวิศวกรรมเกษตร 1 3(3-0-6) Special Topics of Agricultural Engineering I EN 327 801 หัวข้อเรื่องพิเศษทางวิศวกรรมเกษตร 2 3(3-0-6) Special Topics of Agricultural Engineering II (3) ดุษฎีนิพนธ์ นักศึกษา แผน 1.1 **EN 339 996 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 1.2 **EN 339 997 ดุษฎีนิพนธ์ 72 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 2.1 **EN 339 998 ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 2.2 **EN 339 999 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation


ปีการศึกษา 2567 ~ 126 ~ 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการนวัตกรรม 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 339 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 339 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 339 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 339 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 12 12 9 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 9 12 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 327 891 สัมมนาทางวิศวกรรมเกษตร - - - 1(0-3-2) Agricultural Engineering Seminar EN 339 991 การสัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทาง วิศวกรรมเกษตร 1 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) - Agricultural Engineering Dissertation Seminar I (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN 339 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 339 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 127 ~ EN 339 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 339 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 10 10 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 18 18 22 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 339 992 การสัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทาง วิศวกรรมเกษตร 2 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) - Agricultural Engineering Dissertation Seminar II (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 339 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 339 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 339 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 8 - Dissertation EN 339 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 10 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 27 26 31 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 339 991 การสัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรม เกษตร 1 - - - 1(1-0-2) Agricultural Engineering Dissertation Seminar I EN 339 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 339 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation


ปีการศึกษา 2567 ~ 128 ~ EN 339 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 339 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 10 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 35 41 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 339 992 การสัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทาง วิศวกรรมเกษตร 2 - - - 1(1-0-2) Agricultural Engineering Dissertation Seminar II EN 339 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 339 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 339 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 339 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 10 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 45 45 44 51 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 339 996 ดุษฎีนิพนธ์ 3 - - - Dissertation EN 339 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 339 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 4 - Dissertation EN 339 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 3 9 4 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 48 54 48 60


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 129 ~ ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.2 แผน 2.2 EN 339 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 339 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 63 69 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.2 แผน 2.2 EN 339 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 339 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 72 72


ปีการศึกษา 2567 ~ 130 ~ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมอุตสาหการ) (ภาษาไทย) : ปร.ด. (วิศวกรรมอุตสาหการ) (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (industrial Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Industrial Engineering) 4. วัตถุประสงค์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตดุษฏีบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ 2.6.1 เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจเชิงลึกในหลักกา รและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชา และสามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อนำมาพัฒนาขยายผลสู่การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่และนำมาประยุกต์ในการแก้ปัญหาทาง วิศวกรรม 2.6.2 เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการวิจัย บูรณาการแขนงความรู้ และสร้างนวัตกรรมในสาขาวิชาการหรือ วิชาชีพได้ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการทำงาน วิจัย สร้างนวัตกรรมและแก้ไขปัญหาได้ 2.6.3 เพื่อให้บัณฑิตมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่าง ชัดเจนในระดับนานาชาติได้ 2.6.4 เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงาน ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.6.5 เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และ จรรยาบรรณในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ 5. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50.2 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย แผน 1.1 และ แผน 1.2 1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับ


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 131 ~ นานาชาติที่ จำนวนอย่างน้อย 2 บทความ ทั้งนี้ วารสารระดับนานาชาติต้องเป็นไปตามประกาศ คณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษากำหนด หรือ 2) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับ นานาชาติที่ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ ทั้งนี้ วารสารระดับนานาชาติ ต้องเป็นไปตามประกาศ คณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษากำหนด และ ผลงานนวัตกรรม/ผลงานสร้างสรรค์ ที่เป็นไป ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น จำนวน 1 ผลงาน และ 3) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด แผน 2.1 และ แผน 2.2 1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารวิชาการระดับ นานาชาติที่ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ ทั้งนี้ วารสารระดับนานาชาติต้องเป็นไปตามประกาศ คณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษากำหนด หรือ 2) นักศึกษามีผลงานนวัตกรรม/ผลงานสร้างสรรค์ ที่เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น จำนวน 1 ผลงาน และ 3) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด 6. โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 1 1 1 1 (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - - - (2) หมวดวิชาเลือก - - 9 21 (3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 72 48 72 7. รายวิชา (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 1.1และ แผน 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วยกิต)


ปีการศึกษา 2567 ~ 132 ~ (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 2.1 และ แผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 และ แผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียน เรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 1 หน่วยกิต ดังนี้ EN 439 991 สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ทางวิศวกรรมอุตสาหการ 1 1(1-0-2) Seminar in Industrial Engineering I (ไม่นับหน่วยกิต) (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) ไม่มี (2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษาแผน 2.1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรม อุตสาหการไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติม ภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และเลือก ลงทะเบียนรายวิชาที่ไม่เคยศึกษามาในระดับปริญญาโท ดังนี้ นักศึกษาแผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรม อุตสาหการ ไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิด เพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ EN 427 101 ทฤษฎีการจัดตารางเวลางาน 3(3-0-6) Scheduling Theory EN 427 105 การจำลองสถานการณ์ด้วยคอมพิวเตอร์ขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Computer Simulation EN 427 110 การจัดการการดำเนินงานที่ชาญฉลาด 3(3-0-6) Smart Operations Management EN 427 111 โรงงานดิจิทัล 3(3-0-6) Digital Factory EN 427 112 เทคนิคและการใช้งานการค้นหาคำตอบที่น่าพึงพอใจขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Optimization: Techniques and Industrial Applications EN 427 113 การจัดการองค์กรในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 3(3-0-6) Enterprise management in Digital Economy


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 133 ~ EN 427 114 การจัดการโครงการสำหรับอุตสาหกรรม 4.0 3(3-0-6) Project Management for Industry 4.0 EN 427 115 การจัดการคุณภาพสำหรับเครือข่ายกิจการ 3(3-0-6) Quality Management for Extended Enterprise EN 427 116 การจัดการโซ่อุปทานที่ยั่งยืน 3(3-0-6) Sustainable Supply Chain Management EN 427 117 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจอัจฉริยะ 3(3-0-6) Intelligent Decision Support Systems EN 427 118 ระบบการผลิตร่วม 3(3-0-6) Collaborative Manufacturing Systems EN 427 119 การผลิตแบบเพิ่มเนื้อวัสดุสำหรับอุตสาหกรรม 4.0 3(3-0-6) Additive Manufacturing for Industry 4.0 EN 427 120 การยศาสตร์สำหรับผู้ปฏิบัติงาน 4.0 3(3-0-6) Human-Centric Design for Operator 4.0 EN 427 204 ซิกส์ซิกมา 3(3-0-6) Six Sigma EN 427 210 การวิเคราะห์ข้อมูลประยุกต์ 3(3-0-6) Applied Data Analytics EN 427 211 ระบบอุตสาหกรรมไซเบอร์กายภาพ 3(3-0-6) Cyber-Physical Industrial Systems EN 427 300 ระบบการขนถ่ายวัสดุ 3(3-0-6) Material Handling Systems EN 427 301 การวางแผนผังโรงงานและอุปกรณ์การผลิต 3(3-0-6) Plant Layout and Facility Planning EN 427 311 การออกแบบและบริการจัดการประสบการณ์ 3(3-0-6) Customer Experience-driven Design EN 427 402 การจัดการการตลาดสำหรับวิศวกรรมอุตสาหการ 3(3-0-6) Marketing Management for Industrial Engineer EN 427 403 การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานทางการเกษตรและอาหาร 3(3-0-6) Agricultural and Food Logistics and Supply Chain Management EN 427 404 การจัดการการผลิตสีเขียว 3(3-0-6) Green Manufacturing Management EN 427 405 การวางแผนทรัพยากรวิสาหกิจ 3(3-0-6) Enterprise Resource Planning EN 427 406 การผลิตแบบลีน 3(3-0-6) Lean Manufacturing EN 427 510 การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรม 3(3-0-6) Innovative Product Design and Development


ปีการศึกษา 2567 ~ 134 ~ EN 427 511 การออกแบบและบริการจัดการประสบการณ์ 3(3-0-6) Customer Experience-Driven Design EN 427 600 การวิเคราะห์ต้นทุนและเศรษฐศาสตร์ของห่วงโซ่อุปทาน 3(3-0-6) Supply Chain Cost and Economics Analysis EN 427 894 หัวข้อปัจจุบันในสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 3(3-0-6) Current Topics in Industrial Engineering EN 447 100 การวิจัยดำเนินการสำหรับการประยุกต์อุตสาหกรรมและ โลจิสติกส์ 3(3-0-6) Operations Research for Industrial and Logistics Applications EN 447 101 การจัดการเชิงปฏิบัติการ 3(3-0-6) Operations Management EN 447 102 การคำนวณอัจฉริยะสำหรับอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ 3(3-0-6) Intelligence Computing for Industrial and Logistics EN 447 103 รูปแบบและระบบการขนส่ง 3(3-0-6) Transport Modes and Systems EN 447 104 การวิเคราะห์โปรแกรมเชิงเส้นและการไหลภายในโครงข่าย 3(3-0-6) Analysis of Linear Programming and Network Flows EN 447 105 การจำลองระบบอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ 3(3-0-6) Industrial and Logistics System Simulation EN 447 200 การจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน 3(3-0-6) Logistics and Supply Chain Management EN 447 201 โลจิสติกส์แบบย้อนกลับและห่วงโซ่อุปทานแบบวงปิด 3(3-0-6) Reverse Logistics and Closed-Loop Supply Chain EN 447 202 โลจิสติกส์ระหว่างประเทศ 3(3-0-6) International Logistics EN 447 203 หลักการการบริหารสินค้าคงคลังและวัสดุ 3(3-0-6) Principles of Inventory and Materials Management *EN 447 204 การจัดการคลังสินค้า 3(3-0-6) Warehouse Management *EN 447 205 การจัดการโลจิสติกส์ควบคุมอุณหภูมิ 3(3-0-6) Cold Chain Logistics Management EN 447 300 ลีนซิกซิกม่า 3(3-0-6) Lean Six Sigma EN 447 301 วิธีการทางสถิติสำหรับการจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน 3(3-0-6) Statistical Methods for Logistics and Supply Chain Management *EN 447 302 โลจิสติกส์สำหรับการบริการสุขภาพ 3(3-0-6) Healthcare Logistics


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 135 ~ EN 447 400 การวิเคราะห์การตัดสินใจภายใต้หลายเกณฑ์และการวัด สมรรถนะ 3(3-0-6) Multiple Criteria Decision Analysis and Performance Measurement EN 447 401 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สำหรับโลจิสติกส์ 3(3-0-6) Geographic Information Systems for Logistics EN 447 500 การวิเคราะห์ต้นทุนอุตสาหกรรมและเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม 3(3-0-6) Industrial Cost Analysis and Engineering Economy EN 447 501 การวิเคราะห์การตัดสินใจเชิงเศรษฐศาสตร์ขั้นสูง 3(3-0-6) Advance Economic Decision Analysis EN 447 894 หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม และโลจิสติกส์ 3(3-0-6) Current Topics in Industrial and Logistics Engineering Management EN 457 100 วิศวกรรมวัสดุและเทคโนโลยี 3(3-0-6) Materials Engineering and Technology EN 457 101 การวิเคราะห์โครงสร้างและพื้นผิวของวัสดุ 3(3-0-6) Structural and Surface Analysis of Materials EN 457 102 วัสดุชีวภาพและการประยุกต์ใช้ของวัสดุชีวภาพ 3(3-0-6) Biomaterials and Applications of Biomaterials EN 457 103 การกัดกร่อนและการวิเคราะห์วัสดุ 3(3-0-6) Corrosion and Analysis of Materials EN 457 104 วิทยาการและเทคโนโลยีของวัสดุนาโน 3(3-0-6) Science and Technology of Nanomaterials EN 457 105 โลหะวิทยากายภาพขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Physical Metallurgy EN 457 106 การใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนและการวิเคราะห์ ส่วนประกอบจุลภาคด้วยรังสีเอ็กซ์ 3(3-0-6) Electron Microscopy an X-ray Microanalysis EN 457 107 การวิเคราะห์ความบกพร่องของส่วนประกอบจากการผลิต 3(3-0-6) Failure Analysis of Manufactured Components EN 457 200 กระบวนการผลิตขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Manufacturing Process EN 457 201 การผลิตอุปกรณ์ไมโครและนาโนอิเล็กทรอนิกส์ 3(3-0-6) Micro- and Nano-Electronics Manufacturing EN 457 202 การขึ้นรูปโลหะ 3(3-0-6) Metal Forming EN 457 203 การอบชุบในการผลิต 3(3-0-6) Heat Treatment in Manufacturing


ปีการศึกษา 2567 ~ 136 ~ EN 457 204 วิศวกรรมย้อนรอย 3(3-0-6) Reverse Engineering EN 457 205 การออกแบบผลิตภัณฑ์สำหรับการผลิต 3(3-0-6) Product Design for Manufacturing EN 457 206 การควบคุมแบบไม่เป็นเชิงเส้นประยุกต์ 3(3-0-6) Applied Nonlinear Control EN 457 207 การทำให้เป็นอัตโนมัติขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Automation EN 457 208 คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบการผลิตและวิศวกรรมขั้นสูง 3(3-0-6) Computer Aided in Manufacturing Design and Advance Engineering EN 457 894 หัวข้อปัจจุบันทางวิศวกรรมวัสดุและการผลิต 3(3-0-6) (3) ดุษฎีนิพนธ์ นักศึกษา แผน 1.1 **EN 439 996 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 1.2 **EN 439 997 ดุษฎีนิพนธ์ 72 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 2.1 **EN 439 998 ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต Dissertation นักศึกษาแผน 2.2 **EN 439 999 ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต Dissertation 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทาง วิศวกรรมศาสตร์ และการ จัดการนวัตกรรม 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วย กิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN 439 991 สัมมนาทางวิศวกรรมอุตสา หการ 1 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) 1(1-0-2) Seminar in Industrial Engineering I (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับหน่วย กิต)


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 137 ~ EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 439 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 439 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 439 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 439 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 13 13 10 13 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 9 12 ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN 439 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 439 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 439 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 439 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 12 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 18 21 24


ปีการศึกษา 2567 ~ 138 ~ ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 439 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 439 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 439 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 439 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 27 30 33 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 439 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 439 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 439 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 9 - Dissertation EN 439 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 36 36 39 42 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 439 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 439 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 439 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 439 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 139 ~ รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 6 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 45 45 45 54 ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN 439 996 ดุษฎีนิพนธ์ 3 - - - Dissertation EN 439 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 439 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 3 - Dissertation EN 439 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 9 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 3 9 3 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 48 54 48 63 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.2 แผน 2.2 EN 439 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 439 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 6 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 63 69 ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.2 แผน 2.2 EN 439 997 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - Dissertation EN 439 999 ดุษฎีนิพนธ์ - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 3 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 72 72


ปีการศึกษา 2567 ~ 140 ~ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy 2. ความเชี่ยวชาญในกลุ่มวิชา กลุ่มวิชาวิศวกรรมเครื่องกล 3. ชื่อปริญญา (ภาษาไทย) : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมเครื่องกล) (ภาษาไทย) : ปร.ด. (วิศวกรรมเครื่องกล) (ภาษาอังกฤษ) : Doctor of Philosophy (Mechanical Engineering) (ภาษาอังกฤษ) : Ph.D. (Mechanical Engineering) 4. วัตถุประสงค์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตดุษฏีบัณฑิตที่มี คุณสมบัติดังนี้ 4.1 เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ความเข้าใจเชิงลึกในหลักการและทฤษฎีสำคัญในสาขาวิชา และสามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อนำมาพัฒนาขยายผลสู่การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่และนำมาประยุกต์ในการแก้ปัญหาทาง วิศวกรรม 4.2 เพื่อให้บัณฑิตสามารถทำการวิจัย บูรณาการแขนงความรู้ และสร้างนวัตกรรมในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ ได้ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการทำงาน วิจัย สร้างนวัตกรรมและแก้ไขปัญหาได้ 4.3 เพื่อให้บัณฑิตมีความสามารถในการสื่อสาร นำเสนอความคิดเห็นหรือข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างชัดเจน ในระดับนานาชาติได้ 4.4 เพื่อให้บัณฑิตมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต และสามารถทำงานร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.5 เพื่อให้บัณฑิตมีคุณธรรม จริยธรรม ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และ จรรยาบรรณในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ 5. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 5.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 5.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50.2 หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่ 5.3 นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำดุษฎีนิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ โดย แผน 1.1 และ แผน 1.2 1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือที่อยู่ในฐานข้อมูล SCOPUS ควอร์ไทล์1 – 4


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 141 ~ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ วารสารระดับนานาชาติ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ ทั้งนี้ วารสารระดับนานาชาติต้องเป็นไปตามประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษากำหนด หรือ 2) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือที่อยู่ในฐานข้อมูล SCOPUS ควอร์ไทล์1 – 3 จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ วารสารระดับนานาชาติ จำนวนอย่างน้อย 1 บาทความ ทั้งนี้ วารสารระดับนานาชาติ ต้องเป็นไปตามประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษากำหนด และ ผลงานนวัตกรรม/ผลงานสร้างสรรค์ ที่เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น จำนวน 1 ผลงาน และ 3) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด แผน 2.1 และ แผน 2.2 1) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือที่อยู่ในฐานข้อมูล SCOPUS ควอร์ไทล์1 – 4 จำนวน อย่างน้อย 1 บทความ และ วารสารระดับนานาชาติ จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ ทั้งนี้ วารสารระดับ นานาชาติต้องเป็นไปตามประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษากำหนด หรือ 2) นักศึกษาต้องตีพิมพ์ผลงานที่ได้มาจากการทำวิทยานิพนธ์ หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ โดย บทความได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ ในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล SCIE (Science Citation Index Expanded) หรือที่อยู่ในฐานข้อมูล SCOPUS ควอร์ไทล์1 – 3 จำนวนอย่างน้อย 1 บทความ และ ผลงานนวัตกรรม/ผลงานสร้างสรรค์ ที่เป็นไปตามระเบียบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จำนวน 1 ผลงาน และ 3) จัดทำโปสเตอร์ผลงานวิทยานิพนธ์ โดยใช้รูปแบบที่คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด 6. โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2 (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) 3 3 - - (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - 3 3 (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) - - - - (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) - - - - (2) หมวดวิชาเลือก - - 9 21 (3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 72 48 72


ปีการศึกษา 2567 ~ 142 ~ 7. รายวิชา (1) หมวดวิชาบังคับ (1.1) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 1.1และ แผน 1.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory) *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับหน่วยกิต) (1.2) วิชาพื้นฐานวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) นักศึกษาแผน 2.1 และ แผน 2.2 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวน 3 หน่วยกิต ดังนี้ *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการ นวัตกรรม 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (1.3) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (ไม่นับหน่วยกิต) ไม่มี (1.4) วิชาเฉพาะวิศวกรรม (นับหน่วยกิต) ไม่มี (2) หมวดวิชาเลือก นักศึกษาแผน 2.1 ให้นักศึกษาลงทะเบียนเรียนและสอบผ่าน รายวิชาต่อไปนี้ แบบนับ หน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ไม่ น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และเลือกลงทะเบียนรายวิชาที่ไม่เคยศึกษา มาในระดับปริญญาโท ดังนี้ นักศึกษาแผน 2.2 ให้ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จำนวนไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต โดยต้องเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ไม่น้อยกว่า 15 หน่วย กิต และ/หรือจากรายวิชากลุ่มวิชาอื่น ๆ หรือรายวิชาที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง จำนวน 3 หน่วยกิต โดย ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้ EN 527 000 คณิตศาสตร์วิศวกรรมขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Engineering Mathematics *EN 527 002 ปัญหาผกผันสำหรับวิศวกรรมเครื่องกล 3(3-0-6) Inverse problems for mechanical engineers


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 143 ~ *EN 527 003 การออกแบบและการบูรณาการระบบทางกล 3(3-0-6) Mechanical System Design and Integration EN 527 100 ทฤษฎีสภาพยืดหยุ่น 3(3-0-6) Theory of Elasticity EN 527 101 กลศาสตร์สัมผัส 3(3-0-6) Contact Mechanics EN 527 102 กลศาสตร์ของความล้าและการแตกร้าว 3(3-0-6) Mechanics of Fatigue and Fracture EN 527 103 กลศาสตร์ของกระบวนการเปลี่ยนรูป 3(3-0-6) Mechanics of Deformation Processing EN 527 200 พลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณ 3(3-0-6) Computation Fluid Dynamics EN 527 201 พลศาสตร์ของของไหลที่มีความหนืด 3(3-0-6) Dynamics of Viscous Fluid EN 527 202 พลศาสตร์ของการไหลวน 3(3-0-6) Dynamics of Vortex Flow EN 527 300 การออกแบบตามแนวคิดของเครื่องบิน 3(3-0-6) Aircraft Conceptual Design EN 527 304 หัวข้อทางด้านการควบคุมอัตโนมัติขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Topics in Automatic Control *EN 527 305 กลศาสตร์และการควบคุมการบิน 3(3-0-6) Flight mechanics and control EN 527 400 ไตรโบโลยี 3(3-0-6) Tribology EN 527 401 การหาค่าเหมาะที่สุดทางวิศวกรรม 3(3-0-6) Engineering Optimization EN 527 402 ระเบียบวิธีไฟไนท์เอลิเมนต์สำหรับวิศวกร 3(3-0-6) Finite Element Methods for Engineers EN 527 403 แอโรอีลาสติซิตี้เชิงคำนวณ 3(3-0-6) Computation Aeroelasticity EN 527 404 หัวข้อทางด้านวิศวกรรมเครื่องกลขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Topics in Mechanical Engineering EN 527 405 หัวข้อทางปัญญาประดิษฐ์ขั้นสูง 3(3-0-6) Advanced Topics in Artificial Intelligence EN 527 406 หัวข้อขั้นสูงทางวิศวกรรมอากาศยาน 3(3-0-6) Advanced Topics in Aerospace Engineering *EN 527 407 การวิเคราะห์โมดัล 3(3-0-6) Modal Analysis


ปีการศึกษา 2567 ~ 144 ~ (3) ดุษฎีนิพนธ์ นักศึกษา แผน 1.1 **EN 539 996 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation 48 หน่วยกิต นักศึกษาแผน 1.2 **EN 539 997 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation 72 หน่วยกิต นักศึกษาแผน 2.1 **EN 539 998 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation 36 หน่วยกิต นักศึกษาแผน 2.2 **EN 539 999 ดุษฎีนิพนธ์ Dissertation 48 หน่วยกิต 8. แผนการศึกษา ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 *EN 007 002 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ และการจัดการนวัตกรรม 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) Engineering Research Methodology and Innovation Management (ไม่นับ หน่วยกิต) (ไม่นับหน่วย กิต) EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 539 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 539 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 539 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 539 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 12 12 12 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 9 9 12 12


คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ~ 145 ~ ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 539 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 539 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 539 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 539 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 3 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 9 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 18 18 21 21 ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวนหน่วยกิต แผน 1.1 แผน 1.2 แผน 2.1 แผน 2.2 EN XXX XXX วิชาเลือก - - 3(3-0-6) 3(3-0-6) Elective Course EN XXX XXX วิชาเลือก - - - 3(3-0-6) Elective Course EN 539 996 ดุษฎีนิพนธ์ 9 - - - Dissertation EN 539 997 ดุษฎีนิพนธ์ - 9 - - Dissertation EN 539 998 ดุษฎีนิพนธ์ - - 6 - Dissertation EN 539 999 ดุษฎีนิพนธ์ - - - 6 Dissertation รวมจำนวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 9 9 12 รวมจำนวนหน่วยกิตสะสม 27 27 30 33


Click to View FlipBook Version