The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านทุ่งยาว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thungyao.49, 2021-11-03 02:25:08

แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2564

แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านทุ่งยาว

Keywords: แผน

1



คำนำ

การวางแผนเป็นหน้าที่อันสำคัญยิ่งอันดับแรกของผู้บริหารทุกระดับ ที่สะท้อนให้เห็น
ความสามารถในการริเริ่มสร้างสรรค์ การบริหารจัดการในเชิงรุก เป็นงานที่มีลักษณะของการชี้นำเป็น
กรอบและแนวทางสำหรับการทำงานที่เปน็ กระบวนการ ส่งผลให้การทำงานได้สำเร็จลลุ ่วงตามเปา้ หมาย
ได้ดียิ่งขึ้น งานไม่ซ้ำซ้อนไม่แย่งงานกันทำ งานทุกอย่าง ทุกขั้นตอนจะประสานสอดคล้องกันโดยตลอด
ยิ่งกว่านั้น ยังช่วยให้ผู้ร่วมงาน มีขวัญ กำลังใจและเกิดความมั่นใจในการทำงานให้ได้ผลตามปรารถนา
ร่วมกนั ดว้ ย

แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนบ้านทุ่งยาวเล่มนี้ ได้จัดทำขึ้นโดยยึดหลัก
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ.2560 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไข
เพิ่มเติม นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2564 และนโยบายสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 – 2565 นโยบายของสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 4 ปี
และนโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อย่างมีคณุ ภาพของรัฐบาล พรอ้ มท้งั ให้โอกาสครูและบุคลากรภายในโรงเรียน
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีส่วนร่วมในการวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา กิจกรรม และ
ขอ้ คดิ เหน็ ในการจัดทำโครงการตา่ ง ๆ

โรงเรยี นขอขอบคุณ คณะครู นกั เรยี น ผปู้ กครอง คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานและผู้ท่ีมี
ส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านทีไ่ ด้ร่วมมือกันเป็นอย่างดี จนแผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2564 สำเร็จลุลว่ ง
ไปด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนปฏิบัติการเล่มนี้จะเป็นคู่มือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
โรงเรยี นบา้ นทงุ่ ยาว ไดเ้ ปน็ อย่างดี

(นางสาวพมิ พป์ ระกาย ศรีไตรรัตน)์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นท่งุ ยาว

มถิ ุนายน 2564

สารบญั ข

สว่ นที่ 1 บทนำ หน้า
ความเปน็ มา
ภาระงาน/ปริมาณงาน 1
ผลงานที่ประสบความสำเรจ็ ในปกี ารศกึ ษาทผ่ี ่านมา 9
รายรับสถานศึกษา 12
14
สว่ นท่ี 2 สภาพปจั จบุ ัน 15
สว่ นที่ 3 ทศิ ทางการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 21
สว่ นที่ 4 โครงการ
23
รายละเอียดของแผนงาน โครงการ/กจิ กรรม และประมาณ
การงบประมาณ 30
โครงการการบริหารวชิ าการ 34
โครงการบา้ นวิทยาศาสตร์นอ้ ยประเทศไทย 45
โครงการพฒั นาคณุ ภาพเดก็ ปฐมวัยส่มู าตรฐานการศกึ ษา 50
โครงการนเิ ทศภายในโรงเรยี น 55
โครงการพฒั นาห้องสมุดโรงเรียนและสง่ เสรมิ นสิ ยั รักการอ่าน 58
โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 64
โครงการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน 67
โครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 71
โครงการนักเรยี นพิเศษเรยี นร่วม 74
โครงการปัจฉมิ นเิ ทศ 78
โครงการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาเศรษฐของกิจพอเพียง
โครงการพัฒนาทกั ษะดา้ นดนตรแี ละนาฏศลิ ป์ 82
โครงการการบรหิ ารงบประมาณ 85
โครงการสนบั สนนุ การจัดการศึกษาโดยไม่เสียค่าใชจ้ า่ ย 15 ปี
โครงการพัฒนาระบบงานการเงิน บญั ชี และพสั ดุ 91
โครงการบรหิ ารทว่ั ไป
โครงการอาหารกลางวนั สำหรับนักเรยี น

สารบญั (ต่อ) ค

โครงการโรงเรียนสง่ เสรมิ สุขภาพ 94
โครงการกิจกรรมสภานักเรียน 100
โครงการพัฒนาสภาพแวดล้อมโรงเรียน 103
โครงการสาธารณปู โภค 106
โครงการสหกรณ์โรงเรยี น 109
โครงการโรงเรียนวิถพี ุทธ 112
โครงการระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น 115
โครงการการบริหารงานบุคลากร
โครงการพฒั นาบุคลากร 121
โครงการจัดจ้างบุคลากร 125
กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น
โครงการทศั นศึกษาแหล่งเรียนรู้ 129
โครงการลูกเสือ – ยุวกาชาด 132
โครงการสง่ เสริมศักยภาพทักษะพนื้ ฐานผูเ้ รยี นระดบั ปฐมวัย 140
โครงการคา่ ยคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องนักเรียน 139
โครงการคา่ ยอนุรกั ษ์ พิทักษ์สิ่งแวดลอ้ ม 143
โครงการพฒั นาการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดโรคติดเชื้อไวรัส 146
โคโรนา 2019
สว่ นที่ 5 แผนกำกับติดตาม ประเมินผลและรายงานผล 150
การบรหิ ารแผน 151
การกำกับตดิ ตาม 151
ระบบการตดิ ตามประเมิน
ภาคผนวก 153
คำส่ังโรงเรยี นบา้ นทงุ่ ยาว 155
บันทกึ ข้อความ ขออนมุ ัติเหน็ ชอบการใชแ้ ผน

1

ส่วนท่ี 1

บทนำ
1. ความเปน็ มา

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ.2560 พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และ
ทแ่ี ก้ไขเพม่ิ เติม นโยบายและจดุ เน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปงี บประมาณ 2564 และนโยบายสำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 – 2565 ตา่ งมเี ปา้ หมายใหผ้ ูเ้ รียนทกุ กลุ่มวัย
ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะที่จำเป็นของโลกอนาคต สามารถแก้ปัญหา ปรับตัว
สื่อสารและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผล มีวินัย มีนิสัยใฝ่เรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
รวมทง้ั เป็นพลเมอื งท่รี ้สู ิทธแิ ละหนา้ ท่ี มคี วามรบั ผดิ ชอบและมีจติ สาธารณะ

อุดมการณ์สำคัญของการจัดการศึกษา คือ การจัดให้มีการศึกษาตลอดชีวิตและการสร้าง
สังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ การศึกษาที่สร้างคุณภาพชีวิตและสังคมบูรณาการอย่างสมดุล
ระหวา่ งปัญญาธรรมและวัฒนธรรม เปน็ การศึกษาตลอดชีวติ ของคนไทยเพ่ือคนไทยท้ังปวงมงุ่ สรา้ งพ้ืนฐาน
ที่ดีในวัยเด็ก ปลูกฝังความเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมตั้งแต่วัยการศึกษาขั้นพื้นฐานและพัฒนาความรู้
ความสามารถ เพื่อการทำงานที่มีคุณภาพ โดยให้สังคมทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาได้ตรง
ตามความต้องการของผู้เรียนและสามารถตรวจสอบได้อย่างมั่นใจว่าการศึกษาเป็นกระบวน การของการ
พฒั นาชวี ติ และสังคม เปน็ ปจั จยั สำคัญในการพัฒนาประเทศอยา่ งยัง่ ยืน สามารถพึง่ ตนเองได้ และสามารถ
แข่งขันได้ในระดับนานาชาติ

โรงเรยี นบา้ นทุง่ ยาว ไดก้ ำหนด วิสัยทศั น์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ เอกลักษณ์และอัตลักษณ์
ของโรงเรียน โดยสนองนโยบายของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสนองความต้องการของโรงเรียน
เพื่อปรับปรุงพัฒนาศักยภาพของนักเรียนทุกคน ให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข รักการเรียนรู้
พ่ึงตนเองได้ มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืนเพื่อความมั่นคง พร้อมก้าวทันโลกและเหตกุ ารณ์
และยืนอยู่บนพื้นฐานการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในการ
บริหารจัดการศึกษาได้ใช้แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2564 เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานเพื่อส่ง
มอบผลผลิตการให้บริการการศึกษาที่เชื่อมโยงสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ และ
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ในทุก ๆ ด้านอย่างมีระบบเพื่อใหเ้ กิดประสิทธภิ าพ
และประสิทธผิ ล ท้ังในเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ ในปีการศกึ ษา 2564 ตอ่ ไป

ประวตั โิ รงเรยี นบ้านทงุ่ ยาว
เมื่อ พ.ศ. 2478 นายฮ่อเฉ้ง แซ่โค้ว ได้บริจาคที่ดินแปลงนี้ให้ก่อสร้างโรงเรียนชื่อ “โรงเรียน
ประชาบาลตำบลทุ่งยาว” เป็นอาคารเรียนชั่วคราว ต่อมาปี พ.ศ.2480 อาคารเรียนหักพังต้องไปอาศัย
เรียน ในศาลาวัดใกล้ หัวสะพานทุ่งยาวจนถึง พ.ศ.2482 จึงได้กลับมาสร้างอาคารเรียนชั่วคราวขึ้น ณ ที่
เดมิ

2

พ.ศ. 2485 อาคารเรียนชำรดุ อีก ประจวบกบั ขณะนน้ั อยู่ในภาวะสงครามโลก ครง้ั ที่ 2 ประชาชน
ไดอ้ พยพไปประกอบอาชพี ณ ท้องถ่นิ อ่ืนเสียจำนวนมาก ทางราชการจงึ ได้ยุบโรงเรยี นน้ี ไปเปิดสอน ณ ที่
แห่งใหม่แล้วตั้งชื่อว่า “โรงเรียนประชาบาลตำบลทุ่งยาว” (บ้านหนองหว้า) ปัจจุบันคือโรงเรียนบ้านทุ่ง
มะขามป้อม

พ.ศ. 2493 ประชาชนไดร้ ว่ มใจกันสร้างอาคารเรียนขึน้ ใหม่ ช่อื ว่า “โรงเรียนประชาบาลตำบลทุ่ง
ยาว 2” เปิดทำการสอนอยู่ไม่ก่ีเดือนก็ถูกพายพุ ัดพังอีกจนถึงปี 2495 ประชาชนตำบลทุ่งยาว โดยการนำ
ของ นายลขิ ติ ชัยเกษตรสนิ กำนันตำบลทุ่งยาวได้ก่อสร้างอาคารเรยี นก่ึงถาวรข้ึน 1 หลัง เปลี่ยนช่อื เปน็
“โรงเรยี นบา้ นทุ่งยาว” ได้ต่อเตมิ อาคารเรียนหลายคร้งั ในเวลาต่อมา

พ.ศ. 2514 ทางราชการได้ให้งบประมาณ สร้างอาคารเรียน แบบ ป.1 ก ขนาด 4 ห้องเรียน
จำนวน 1 หลัง จำนวนเงนิ 140,000 บาท

พ.ศ. 2518 องค์การบริหารส่วนจังหวัดตรังได้จัดสรรงบประมาณ จำนวน 290,000 บาท โดย
ประชาชนสมทบ 5,000 บาท กอ่ สร้างอาคารเรียน แบบ 017 ขนาด 3 ห้องเรียน 1 หลงั

พ.ศ. 2520 อาคารเรียนเก่าชำรุดทรุดโทรมมาก องค์การบริหารส่วนจังหวัดตรัง ได้อนุมัติให้รื้อ
ถอน และได้จัดสรรงบประมาณให้ก่อสร้างอาคารเรียน แบบ 017 ขนาด 5 ห้องเรียน 1 หลัง จำนวนเงิน
550,000 บาท

พ.ศ. 2523 สร้างรั้วลวดหนาม โดยเงินบริจาคของนายพิชิต จันทรรังสิกุล กำนันตำบลทุ่งยาว
จำนวนเงนิ 15,000 บาท

พ.ศ. 2526 สำนักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ ได้จัดสรรงบประมาณให้ก่อสร้าง
อาคารอเนกประสงคแ์ บบ สปช.203 (2546) จำนวน 1 หลงั จำนวนเงิน 278,000 บาท

พ.ศ. 2536 นายพิรุณ อนันตธนวิทย์ เข้ามารับตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ที่โรงเรียนนี้เมื่อวันที่ 7
มิถุนายน พ.ศ. 2536 โดยสบั เปลีย่ นกับนายจำลอง ใจสมุทร อาจารยใ์ หญค่ นเดมิ ปนี ้ไี ดต้ ่อเติมอาคารเรียน
3 ชั้น ล่าง 1 ห้อง เพื่อใช้ดำเนินการกิจการอาหารกลางวันและกิจการสหกรณ์ ด้วยเงินบริจาคของครู
ผปู้ กครองนกั เรียน จำนวน 9,443.50 บาท และเงนิ อื่น ๆ จำนวนหนง่ึ สนิ้ คา่ ก่อสร้างจำนวน 22,541 บาท
เมื่อวันท่ี 9 ตุลาคม พ.ศ. 2536 และได้สร้างรั้วคอนกรีตเสริมเหล็กฝาซีเมนต์บล็อก ยาว 107 เมตร สูง
1.55 เมตร จำนวน 47 ช่อง โดยมีผศู้ รทั ธาบริจาคเงินช่องละ 1,550 เปน็ เงนิ 71,350 บาท สร้างเสร็จเม่ือ
วนั ที่ 27 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2536

พ.ศ. 2537 จัดซื้อปูนอิฐ ทำกระบะซ่อมต้นโกสนด้านหน้าอาคารเรียน จำนวน 27 ต้น เป็นเงิน
1,550 บาท เดิมรั้วด้านหน้าโรงเรียนความสูงของเดิมจำนวน 32 ช่อง ยาว 70.00 เมตร เป็นเงิน 56,000
บาท โดยมีผบู้ รจิ าค จำนวน 17 ราย เสรจ็ เม่ือวันท่ี 19 มกรคม พ.ศ. 2538 ต่อเติมฝากอ่ อิฐปนู อาคารเรียน
3 ชั้น ล่าง จำนวน 2 ด้าน ด้วยเงินการจัดกิจกรรมของครู 4,940 บาท ปรับปรุงระบบไฟฟ้าอาคาร
อเนกประสงค์พร้อมพัดลม 1 ตัว เป็นเงิน 1,550 บาท ปรับปรุงอาคารชั่วคราวหลังอาคารอเนกประสงค์
โดยเปลีย่ นสงั กะสแี ละฝาผนังคอนกรตี

3

พ.ศ. 2538 ปีนโ้ี รงเรยี นได้เข้าโครงการปฏิรูปการศึกษา พ.ศ. 2537 ได้ต่อเติมทั้งสามห้องชั้นล่าง
3 ห้อง ด้วยเงินบริจาคของผู้ปกครอง จำนวน 30,810 บาท ครูบริจาค 7,250 บาท รวมเงินบริจาค
38,010 บาท ส้นิ คา่ ก่อสร้าง 50,941 บาท

พ.ศ. 2541 นายนิพนธ์ จิตเที่ยง ผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่โรงเรียนนี้ ย้ายไปดำรงตำแหน่งที่โรงเรียน
บ้าน ลิพัง สาขาบ้านเขาติง นายประเสริฐ รักแก้ว ผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่โรงเรียนหาดทรายทอง มาดำรง
ตำแหนง่ แทน และ ขอแตง่ ต้งั เปน็ ผชู้ ว่ ยผ้อู ำนวยการโรงเรยี นในเวลาต่อมา

พ.ศ. 2542 นายพิรุณ อนันตธนวิทย์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งยาว เกษียณอายุราชการ
ประจำปีงบประมาณ 2542 นายประเสริฐ รักแก้ว ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งยาว รักษาการใน
ตำแหน่ง ตอ่ มานายประทปี ยอดศรี อาจารยใ์ หญโ่ รงเรยี นบา้ นหยงสตาร์ย้ายมารับตำแหน่งแทน

พ.ศ. 2549 นายประทีป ยอดศรี ผู้อำนวยการโรงเรยี น ยา้ ยไปดำรงตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน
บา้ น ลิพัง นายพิเชฐ เอกอดุ มพงษ์ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านทงุ่ มะขามป้อม เดนิ ทางมารับตำแหน่งแทน
ปัจจุบันโรงเรียนบ้านทุ่งยาวเปดิ สอน ระดับประถมศึกษาแบ่งออกเป็น2 ช่วงชั้น คือช่วงชัน้ ที่ 1(ป.1-3)และช่วง
ชั้นที่ 2 (ป.4-6)

พ.ศ. 2551 นายพิเชฐ เอกอุดมพงษ์ ได้เกษียณอายุราชการ นายจักรี จิตเที่ยง ผู้อำนวยการ
โรงเรียนบ้านห้วยม่วงมาดำรงตำแหน่งแทน และในปีเดียวกันนี้มีข้าราชการครูขอลาออกตามโครงการ
เกษียณอายุราชการก่อนกำหนด จำนวน 4 ราย คือ นางเกสร วิเศษสิงห์ นายบุญธรรม ศรีเทพ นาย
ประจัน เสียมไหม นางดุษฏี เสียมไหม ปัจจุบันมีข้าราชการครู 12 คน นักการภารโรง 1 คน นักเรียน
261 คน จัดการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ช่วงชั้นคือ ช่วงชั้นที่ 1(ป.1-3) และ ช่วงชั้นที่ 2 (ป.4-6) ไม่มีนักเรียน
ระดบั กอ่ นประถมศึกษาเนื่องจากนักเรยี นระดบั ก่อนประถมศึกษาขอย้ายไปเข้าเรยี นศูนย์เด็กเล็กเทศบาล
ตำบลทุ่งยาว และไม่มีนักเรียนมาสมัครเข้าเรียนในระดับก่อนประถมศึกษาอีกเลย จึงไม่สามารถเปิดช้ัน
เรียนได้

พ.ศ. 2551 ถึง 30 กันยายน พ.ศ.2555 นายจักรี จิตเที่ยง เป็นผู้อำนวยการโรงเรียนและได้
เกษียณอายุราชการ เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2555 นายศรศักดิ์ สีนา ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านวังศิลา
มาดำรงตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบ้านทงุ่ ยาว

พ.ศ. 2555 นายศรศักดิ์ สีนา ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านวังศิลามาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ
โรงเรยี นบ้านท่งุ ยาว และเกษียณอายุราชการเมอื่ วันที่ 30 กันยายน 2563

พ.ศ. 2555 โรงเรียนไดผ้ า่ นการประเมนิ โรงเรียนโครงการเศษฐกิจพอเพยี ง
พ.ศ. 2556 ไดร้ บั จดั สรรงบประมาณในการปรับปรุงซอ่ มแซมห้องประชมุ
พ.ศ. 2556 โรงเรียนได้ผา่ นการประเมินเปน็ โรงเรียนดปี ระจำตำบล
พ.ศ. 2556 ไดร้ บั จัดสรรงบประมาณปรับปรุงซอ่ มอาคารเรยี น 1
พ.ศ. 2556 ไดร้ ับจดั สรรหอ้ งเรียน Ipad
พ.ศ. 2557 ได้รับจัดสรรงบประมาณ จำนวน 3,873,100 บาท ตามโครงการโรงเรียนดีศรีตำบล
ในการก่อสร้างอาคารเรียน แบบ สปช.105/29 2 ชั้น 7 ห้องเรียน จำนวน 1 หลัง ก่อสร้างแล้วเสร็จ

4

พฤศจิกายน 2558 และกำลังขอขยายชั้นเรยี นระดับกอ่ นประถมศกึ ษา ระดับอนุบาล 1 และ 2 ในปีการศึกษา
2559

พ.ศ. 2559 โรงเรียนได้เปิดชน้ั เรยี นในระดับช้นั อนุบาล 1 และ 2
พ.ศ. 2559 โรงเรียนไดส้ มคั รเปน็ โรงเรยี นในโครงการโรงเรยี นประชารัฐ
พ.ศ. 2559 โรงเรยี นไดร้ บั งบประมาณกอ่ สรา้ งสนามบาสเกตบอล
พ.ศ. 2560 โรงเรียนได้เปิดเรียนในระดับชั้นอนุบาล 3 โดยได้รับนักเรียนอนุบาล 3 ขวบ เป็น
อนบุ าล 1
พ.ศ. 2560 โรงเรยี นได้จดั สรา้ งศนู ย์การเรียนรู้จำนวน 1 หลัง
พ.ศ. 2561 โรงเรียนได้รบั คดั เลอื กเป็นโรงเรยี นคณุ ภาพประจำตำบล
พ.ศ. 2561 โรงเรยี นได้สมัครเป็นโรงเรยี นในโครงการโรงเรียนคุณภาพ สสวท.
พ.ศ. 2562 โรงเรียนได้รับจัดสรรงบประมาณ จำนวน 298,000 บาท รายการปรับปรุงซ่อมแซม
อาคารเรียนอาคารประกอบและสิ่งก่อสร้างอื่นของโครงการโรงเรียนประชารัฐและได้รับจัดสรร
งบประมาณ จำนวน 8,300 บาท รายการถงั เกบ็ น้ำ ขนาด 2,000 ลติ ร ของโครงการโรงเรยี นประชารัฐ
พ.ศ. 2563 นายศรศักดิ์ สีนา ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งยาว ได้เกษียณอายุราชการเมื่อวันท่ี
30 กนั ยายน 2563 และในปเี ดียวกันก็มีข้าราชการครูเกษียณอายุราชการ จำนวน 2 ราย คือ นางวันทนีย์
จิตรหลัง และนางสาวกนกวรรณ หยงสตาร์ เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2563 นางสาวชนัญธิดา ใจสมุทร มา
ดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งยาว และวันที่ 5 พฤศจิกายน 2563 นางสาวพิมพ์ประกาย
ศรีไตรรตั น์ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านหนองเจด็ บาทมาดำรงตำแหน่งผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านทงุ่ ยาว
พ.ศ. 2563 นางสาวชนัญธิดา ใจสมุทร มาดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งยาว
นางสาวพิมพ์ประกาย ศรีไตรรัตน์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นหนองเจ็ดบาทมาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ
โรงเรียนบ้านทุ่งยาว จนถงึ ปจั จุบัน

ขอ้ มลู เกี่ยวกับนกั เรียน
ในปกี ารศึกษา 2564 เปดิ ทำการสอนตั้งแตช่ ัน้ อนบุ าล 1 ถึงชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 จำนวน 15
ห้องเรยี น ดังนี้
การจดั ชน้ั เรยี นปีการศึกษา 2564

ช้นั จำนวนนักเรียน รวม หมายเหตุ
ชาย หญงิ 12
อนุบาล 1 (อนุบาล 3 ขวบ) 57 12 ขอ้ มลู 10
อนุบาล 2 57 26 มถิ นุ ายน 2564
อนบุ าล 3 14 12 49
รวม 24 25

ชัน้ จำนวนนกั เรยี น รวม 5
ชาย หญงิ 56 หมายเหตุ
ประถมศึกษาปีท่ี 1 27 29 62
ประถมศึกษาปที ี่ 2 26 36 54
ประถมศกึ ษาปีที่ 3 26 29 47
ประถมศึกษาปีที่ 4 18 29 62
ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 35 27 59
ประถมศึกษาปีที่ 6 22 37 340
รวม 153 187 390
รวมทง้ั ส้ิน 177 213

จำนวนนกั เรยี นทตี่ กซ้ำช้ัน ชาย หญิง รวม รอ้ ยละ หมายเหตุ
ชั้น จำนวนนกั เรยี น 2 1 3 8.82 ข้อมูล
ป1/1 34 3 1 4 11.43 นกั เรียน
ป1/2 35 1 - 1 3.57 ทีเ่ ข้าสอบ
ป2/1 28 - - - - ณ วนั ที่
ป2/1 27 - - - - 9 เม.ย.64
ป2/2 25 ----
ป3/1 26 ----
ป3/2 32 ----
ป4/1 32 ----
ป4/2 30 ----
ป5/1 29 ----
ป5/2 22 ----
ป6/1 23 6 2 8 2.33
ป6/2 343 2 1 3 8.82
รวม 34

6

ตารางแสดงผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 - 6
ทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ปกี ารศึกษา 2563

นักเรยี น สาระการเรยี นรู้

ชนั้ เข้า ท ค ว ส พ ศ ง อ เฉล่ีย

สอบ

ป.1 /1 34 75.24 73.71 75.76 74.68 79.88 80.88 69.79 73.82 75.47

ป.1 /2 35 72.77 74.86 75.37 76.69 78.14 78.74 77.17 72.80 75.82

ป.2 /1 28 69.41 70.73 71.29 77.75 76.45 77.36 76.91 73.52 74.18

ป.2 /2 27 68.90 69.38 70 66.75 78.07 79.88 71.48 67.92 71.55

ป.3 /1 25 78.92 73.40 79.16 77.24 78.32 88.16 78.64 71 78.11

ป.3 /2 26 64.92 69.96 67.08 73.27 75.50 86.23 76.69 66.31 72.50

ป.4 /1 32 75.47 75.20 71.36 74.10 79.70 83 82 75 77.26

ป.4 /2 32 66.31 69.43 65.03 67.09 75.81 73.43 77.06 70.65 70.60

ป.5 /1 30 68.63 70.00 66.17 66.33 77.90 74.27 72.37 65.43 70.14

ป.5 /2 29 69.31 71.76 65.10 71 77.86 77.07 74.59 67.48 71.77

ป.6 /1 22 74 73.36 70.82 78.14 81.45 82.18 79.82 76.27 77.05

ป.6 /2 23 68.43 67.43 62.35 70.37 77.24 69.80 70.23 66.39 69.03

เฉล่ยี 71.03 71.60 69.96 72.78 78.03 79.25 75.56 70.55 73.62

เปา้ หมาย 75 75 75 75 75 75 75 75 75

จำนวนนักเรียน เรียนจบช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา 2563

ศกึ ษาต่อแยกตามสงั กดั ดังนี้

จบชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 ทั้งหมด 45 คน

เรียนตอ่ โรงเรียนกรมสามญั 43 คน

เรียนตอ่ โรงเรียนเอกชน 1 คน

เรยี นตอ่ กศน. 1 คน

ไมเ่ รียนต่อ - คน

ข้อมลู ครบู คุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2478 – 2479
ทำเนยี บผบู้ รหิ ารโรงเรยี นบา้ นทุ่งยาว พ.ศ. 2479 – 2480
พ.ศ. 2480 – 2484
1. นายเอียด ไมท่ ราบนามสกุล
2. นายฉวี เจรญิ ฤทธิ์
3. นายเสริม เบญจกลุ

7

4. นายจำเนยี ร ทองคงแกว้ พ.ศ. 2484 – 2485
5. นายพร้อม สุพรรณพงศ์ พ.ศ. 2486 – 2495
6. นายสามารถ ใจสมทุ ร พ.ศ. 2495 – 2499
7. นายบวร คณุ าธรรม พ.ศ. 2499 – 2505
8. นายสนุ ิต รสจันทร์ พ.ศ. 2505 – 2515
9. นายไพสิฐ ตั้งใจเรียน พ.ศ. 2515 – 2518
10. นายสนอง หวังชยั พ.ศ. 2518 – 2527
11. นายจำลอง ใจสมทุ ร พ.ศ. 2527 – 2536
12. นายพริ ุณ อนันตธนวิทย์ พ.ศ. 2536 – 2542
13. นายประทีป ยอดศรี พ.ศ. 2542 – 2549
14. นายพเิ ชฐ เอกอดุ มพงษ์ พ.ศ. 2549 – 2551
15. นายจกั รี จติ เท่ียง พ.ศ. 2551 – 2555
16. นายศรศักด์ิ สีนา พ.ศ. 2555 - 2563
17. นางสาวพมิ พ์ประกาย ศรีไตรรัตน์ พ.ศ. 2563 -ปัจจุบัน

ข้อมูลครูและบคุ ลากรทางการศึกษาโรงเรียนบา้ นทงุ่ ยาว ปกี ารศกึ ษา 2564
สังกัดสำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1

ท่ี ชื่อ -สกุล วุฒทิ างการศึกษา ตำแหน่ง วันเดือนปี
ที่มารับตำแหนง่
1 นางสาวพมิ พป์ ระกาย ศรีไตรรตั น์ ศษ.ม. ประถมศกึ ษา ผู้อำนวยการ 5 พฤศจิกายน 2563
โรงเรียน
2 นางสาวชนัญธดิ า ใจสมทุ ร ศษ.ม. การบรหิ ารการศกึ ษา 26 ตลุ าคม 2563
รองผอู้ ำนวยการ
3 นางสมญา เกา้ เอ้ียน ค.บ. ปฐมวัย โรงเรียน 9 พฤษภาคม 2560
ครู ค.ศ.3 8 มกราคม 2561
4 นางสาวเบญจวรรณ สีดำ กศ.บ. การศึกษาปฐมวัย ครู ค.ศ.1 1 พฤศจิกายน 2561
ครู ค.ศ.1
5 วา่ ท่ี รอ้ ยตรีหญิงสชุ าดา พลหลา ค.บ. ปฐมวยั ครู ค.ศ.1 8 เม.ย.64
ครู ค.ศ.1 28 ธนั วาคม 2560
6 นางแสงดาว ไพบลู ย์ กศ.บ.การประถมศึกษา ครู ค.ศ.3 20 มีนาคม 2552
ครู ค.ศ.2 27 กมุ ภาพันธ์ 2560
7 นางสาวจารพุ ตั ร ครชาตรี ศษ.ม. หลักสตู รและการสอน ครูผู้ชว่ ย 26 สงิ หาคม 2562
16 พฤษภาคม 2561
8 นางสาวพยอง ตูด้ ำ ศษ.ม. หลักสตู รและการสอน ครู อตั ราจา้ ง

9 นายชาญกิจ ชุติเดโช ศษ.ม. การบรหิ ารการศกึ ษา

10 นางสาวทพิ วรรณ ไชยจักร คศ.บ. คณติ ศาสตร์

11 นายธนากร ฉาวเกยี รติ ศษ.บ. เศรษฐศาสตร์

8

ที่ ช่ือ -สกุล วุฒทิ างการศกึ ษา ตำแหนง่ วันเดอื นปี
ที่มารบั ตำแหนง่
12 นางสาวนาถยา แสงเงิน วศ.บ.วิศวกรรมคอมพวิ เตอร์ ครู ผชู้ ว่ ย
13 นางสาวจุรีรตั น์ พากเพยี ร ค.บ. ภาษาองั กฤษ ครู ค.ศ.2 5 เม.ย.64
14 นางสาวปรยี าดา สุธรี พงศ์ ค.บ. ภาษาไทย ครู ค.ศ.2 27 สิงหาคม 2558
15 นางงามตา สจุ ริตธรุ ะการ ศษ.ม. การบรหิ ารการศึกษา ครู ค.ศ.3 12 ธนั วาคม 2556
16 นายภูรภิ ทั ร์ หยงสตาร์ วท.บ.การประมง ครู ค.ศ.2 6 มกราคม 2556
17 นางสาวพชุ นาฏ รตั นแก้ว ค.บ. สขุ ศึกษาพลศกึ ษา ครู ค.ศ.1
18 นางอาริน อภัยพงค์ ศษ.บ. คณิตศาสตร์ ครู ค.ศ.3 5 เม.ย.64
19 นางสาวปราณี วกิ จิ รตั นพิพฒั น์ ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา ครู ค.ศ.3 8 มกราคม 2561
20 นางสาวอัษฎาภรณ์ ไชยการ ศษ.บ. นาฏศิลป์ไทยศึกษา ครูอตั ราจ้าง 20 มีนาคม 2552
21 นางสาวจันทรส์ ุดา ธรี ะกุลพสิ ทุ ธ์ิ วท.บ. วิทยาศาสตร์บัณฑติ ครธู รุ การ 1 พฤษภาคม 2555
22 นายศภุ ชยั ช่วยสง ม.ศ.3 นักการภารโรง 9 กรกฎาคม 2564
1 ตลุ าคม 2561
12 ธันวาคม 2562

ข้อมลู เก่ยี วกบั ทรัพยากร

จำนวนอาคารเรยี นและอาคารประกอบ ดังนี้

1. อาคารเรียน แบบ ป.1 ก 1 หลัง ขนาด 4 หอ้ งเรยี น

2. อาคารเรยี น แบบ 017 1 หลัง ขนาด 3 หอ้ งเรียน

3. อาคารเรียน แบบ 017 1 หลัง ขนาด 5 หอ้ งเรยี น

4. อาคารอเนกประสงค์ แบบ สปช. 203 (2526) 1 หลงั

5. อาคารเรียน แบบ สปช.105/29 (2557) 1 หลัง ขนาด 7 หอ้ งเรยี น

5. บา้ นพักครู 2 หลงั

6. สว้ ม 3 หลงั

7. ทดี่ นิ 2 แปลง เน้อื ที่ 12 ไร่ 3 งาน และ 6 ไร่ (โคกแต้ว)

ขอ้ มูลเกย่ี วกบั ชมุ ชน
โรงเรียนบ้านทุ่งยาว ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตำบลทุ่งยาว เลขที่ 49/75 หมู่ที่ 1 ถนนตรัง – สตูล

ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง ห่างจากสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาตรัง เขต 142 กิโลเมตร
พน้ื ที่ของโรงเรียน เปน็ ดนิ เหนยี วปนทราย ในฤดูฝนน้ำท่วมขัง สถานท่ใี กล้เคยี ง ได้แก่ สถานีอนามัย ป้อม
ตำรวจ องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งยาว ตลาด วดั ที่ทำการไปรษณยี ์ ธนาคาร โรงงานเคร่อื งป้นั ดนิ เผา

อาชีพหลักของประชาชนส่วนใหญ่ คือ อาชีพค้าขาย การทำสวนยาง การทำสวนปาล์ม อาชีพ
บรกิ ารประเภทชา่ ง สภาพทางเศรษฐกิจส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง

9

ศาสนา ชุมชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 98 ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 2 มีสถานที่ให้
ปฏิบัตศิ ีลทางศาสนา คอื วดั ทงุ่ ยาว

สภาพทางสังคม เป็นสังคมกึ่งเมอื ง กึ่งชนบท มีความสัมพันธก์ ับสถานศึกษาในระดับดี และได้รบั
ความชว่ ยเหลือดา้ นบริการตา่ ง ๆ มากพอสมควร
ภาระงาน/ปรมิ าณงาน

2. ภาระงาน/ปรมิ าณงาน



10



11

12

3. ผลงานที่ประสบผลสำเรจ็ ในปีการศกึ ษาทผี่ า่ นมา

รางวลั ทโ่ี รงเรยี นไดร้ บั ปกี ารศึกษา 2563 ดงั นี้

1. สอบเข้าเรยี นต่อ ม.1 โรงเรียนวทิ ยาศาสตร์จุฬาภรณราชวทิ ยาลยั ตรงั

เด็กหญิงชนดิ าภา แซโ่ ค้ว

2. สอบเขา้ เรียนต่อ ม.1 โรงเรยี นบรู ณะรำลกึ

เดก็ หญิงชนดิ าภา แซ่โค้ว

3. สอบเขา้ เรียนต่อ ม.1 หอ้ งเรียนวทิ ย์ –คณติ โรงเรียนวัดกะพังสรุ นิ ทร์

เดก็ หญงิ วรรณกร แก้วมณี

4. สอบเขา้ เรยี นต่อ ม.1 หอ้ งเรียนพเิ ศษสสวท.โรงเรยี นวิเชียรมาตุ

1.เด็กหญิงนงนภสั ขาวดี

2.เดก็ หญิงสพุ ัตรา ธรี ะกุลพิศุทธ์ิ

5. สอบเข้าเรียนต่อ ม.1 ห้องเรียนพเิ ศษวิทย์ –คณิต โรงเรยี นวิเชยี รมาตุ

1.เด็กหญิงกฤตพร แก้วละมุล

2.เดก็ ชายพรี พัฒน์ เพช็ รประเสริฐ

6. สอบเข้าเรียนต่อ ม.1 หอ้ งเรียนพเิ ศษ คณติ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน

1.เด็กหญงิ สุวพร แซล่ ิ่ม

2.เดก็ ชายอชิระ สรรเพชร

7. สอบเข้าเรยี นต่อ ม.1 ห้องเรยี นพิเศษดนตรี – นาฏศลิ ป์ โรงเรยี นสภาราชินี

1.เด็กชายศภุ สนิ พันธุศกั ด์ิ

2.เด็กชายวรี ภทั ร ขาวดี

8. สอบเขา้ เรียนต่อ ม.1 ห้องเรยี นพิเศษวทิ ย์-คณติ โรงเรียนปะเหลยี นผดงุ ศิษย์

1.เด็กหญงิ นอ้ ยหน่า ศรีเมฆ

2.เด็กหญงิ บุญญานุช สรรเพชร

3.เด็กหญงิ บุญยาภรณ์ แซ่เตียว

4.เดก็ หญงิ สะกีนะฮ์ ชอู ่อน

9. สอบเข้าเรียนต่อ ม.1 ห้องเรยี นพิเศษวทิ ย์ -คณิตโรงเรียนทุงยาวผดุงศษิ ย์

1.เดก็ หญิงเยาวภา ช่วยนกุ ูล

2.เดก็ หญงิ โศภศิ า บุญเมือง

การพฒั นาวิชาชีพของครู

1. นางสาวจารพุ ัตร ครชาตรี ครู คศ.1

2.นางสาวพชุ นาฏ รัตนแก้ว ครู คศ.1

3.นางสาวเบญจวรรณ สีดำ ครู คศ.1

13

ดา้ นผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ปีการศกึ ษา 2563
1. ในปีการศึกษา 2563 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยเฉลี่ยทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ต่ำ

กวา่ เกณฑท์ ก่ี ำหนด
2. นกั เรียนมีความรู้ความสามารถมีทกั ษะทางวิชาการที่ก้าวไกล ทนั สมยั วสิ ยั ทศั นด์ ี
3. นกั เรยี นมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการวทิ ยาศาสตร์ ร้จู กั นำความรู้ไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน

ไดเ้ ป็นอยา่ งดีรู้จกั การคดิ และแก้ปัญหาดว้ ยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
4. นกั เรียนอ่านคล่อง เขยี นคลอ่ ง ลายมอื สวยงาม เหมาะสมกบั วัยและชั้นเรยี น
5. นักเรยี นใช้หลักภาษาได้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ รูจ้ ักพูด ร้จู กั เรียน รูจ้ กั ฟัง รู้จักอ่าน โดยใช้

ปฏิบัติการทางภาษา ห้องคอมพิวเตอร์ หอ้ งสมุด เปน็ ศูนยก์ ลางในการเรียน
6. นกั เรียนมีทักษะในการคดิ คำนวณ ร้จู กั การแกป้ ัญหาทางคณติ ศาสตร์
7. นักเรียนสามารถนำหลักสูตรทอ้ งถ่นิ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ดี
ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู
1. ครทู ุกคนมีความตั้งใจในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนอยู่ในเกณฑ์ทน่ี ่าพอใจ
2. นักเรียนยังขาดการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนและไม่กล้าแสดงออกในทางความ

คดิ เหน็
3. ครูทุกคนมกี ารพฒั นาตนเองอยู่เสมอเป็นท่ีนา่ พอใจ
4. ครทู กุ คนอทุ ศิ เวลาใหก้ บั ผเู้ รียนมากเป็นพิเศษ/ทั้งวันหยุดราชการและหลังเลิกเรียน
5. ครมู คี วามรับผิดชอบสูงในภาระหน้าท่คี รปู ระจำชั้น/ประจำวิชาและงานที่รบั มอบหมาย
ดา้ นผลสัมฤทธิ์ท่เี กิดจากผลผลติ
1. นกั เรียนสว่ นใหญม่ ีความใฝร่ ใู้ ฝเ่ รยี น สนใจการเรียนและรว่ มกจิ กรรมท่ีครูจดั ให้
2. นกั เรยี นไดร้ ับการพฒั นาอยา่ งครบถ้วนท้ังการเรียนรใู้ นโรงเรยี นนอกโรงเรยี น
3. นกั เรยี นส่วนใหญ่ขาดความรับผิดชอบ
4. นักเรียนโดยรวมมีความรู้คู่คณุ ธรรมตามเกณฑข์ องช้ันเรียน

14

รายรบั สถานศึกษา

1. งบเงินอุดหนนุ โครงการสนับสนนุ ค่าใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษาตั้งแต่ระดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาข้ัน

พ้ืนฐาน

ปงี บประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2564 ปงี บประมาณ 2565 ปงี บประมาณ 2565

รายการ ภาค จำนวน ภาค จำนวน ภาค จำนวน ภาค จำนวน รวม หมาย
เรยี นท่ี 70% เรียนที่ 30% เรียนท่ี 70% เรียนที่ 30% เหตุ

2/2563 1/2564 2/2564 1/2565

1.1 คา่ จัดการ - 273,350 - 101,800 - 273,350 - - 648,500

เรียนการสอน

(อดุ หนนุ รายหวั )

- ค่าจัดการเรียน - - - - - - - - -

การสอน

(ปัจจยั พืน้ ฐาน

นกั เรียนยากจน)

1.2 ค่าหนงั สอื - 195,261 - 65,990 - 195,261 - - 456,512

เรยี น

1.3 ค่าอุปกรณ์ - 53,800 - 18,885 - 53,800 - - 126,485

การเรยี น

1.4 คา่ เครอื่ งแบบ - 102,900 - 37,980 - 102,900 - - 243,780

นกั เรียน

1.5 คา่ กจิ กรรม - 69,065 - 45,645 - 69,065 - - 183,775

พัฒนาผูเ้ รียน

รวม - 694,376 - 270,300 - 694,376 - - 1,248,192

2. เงนิ รายไดส้ ถานศกึ ษาอืน่ ๆ

รายการ ภาคเรียนท่ี ภาคเรยี นที่ ภาคเรียนท่ี ภาคเรยี นท่ี หมายเหตุ
1/2564 2/2564 1/2565 2/2565
2.1 เงนิ อดุ หนนุ จากองคก์ รปกครอง 842,100 842,100
สว่ นท้องถิ่น - -
2.2 เงินบริจาค 54,000 54,000
2.3 อื่นๆ ระบุ กองทุนหลักประกนั 19,800 - - -
สขุ ภาพเทศบาลตำบลทุง่ ยาว

15

สว่ นที่ 2
สภาพปัจจุบัน ปัญหา

การศึกษาสถานภาพของโรงเรยี นบ้านทงุ่ ยาว ได้ดำเนนิ การใน 2 ประการ คือ 1) ให้ความสำคญั กับผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) เพื่อการกำหนดกลยุทธ์ ได้ตรงตามความต้องการตามภารกิจ บทบาทและมี
ผลต่อความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ 2) ให้ความสำคัญต่อความสัมพันธ์ระหว่าง
สภาพแวดล้อมในเชิงโอกาสและอุปสรรคที่เปลี่ยนแปลงไปกับศักยภาพที่เป็นจุดแข็งและจุดอ่อนของโรงเรียน
เพื่อกำหนดกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับบทบาทภารกิจ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลการวิเคราะห์สถานภาพของ
โรงเรยี น แสดงรายละเอยี ดได้ดงั นี้

การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน (Internal Factors Analysis: IFA)

จุดแขง็ (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses)

S 1 ด้านโครงสร้างและนโยบาย • บุคลากรในโรงเรยี นขาดความเข้าใจนโยบาย
ของสถานศกึ ษา
• โรงเรียนกำหนดวิสัยทัศน์ และพันธกจิ ชดั เจน
ทำให้การทำงานบรรลเุ ปา้ หมายอย่างมี • ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรยี นระดับชาติ
ประสทิ ธภิ าพ ตำ่ (RT NT O-net)

• โรงเรียนกำหนดนโยบายโดยการมีสว่ นรว่ มของ • ครไู มเ่ พียงพอต่อจำนวนนักเรียน
บคุ ลากรทุกฝา่ ย ทำให้ไดร้ ับความรว่ มมือด้วยดี

S 2 ดา้ นผลผลิตและการบริการ

• มุ่งยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของ
นกั เรยี นอย่างตอ่ เนื่อง

• นกั เรยี นมสี ขุ ภาพร่างกายท่สี มบูรณ์แข็งแรง
• นักเรยี นมอี ัตราการศกึ ษาต่อและประกอบ

อาชีพสูง

• นักเรยี นมีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

M 1 ด้านบุคลากร

• ครมู ีจรรยาบรรณ ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานวชิ าชพี
• ครไู ดร้ ับการพฒั นาทางวชิ าชีพอยา่ งต่อเนื่อง

จุดแขง็ (Strengths) 16

• ครมู ีความรู้ความสามารถในการจดั การเรยี น จุดออ่ น (Weaknesses)
การสอนอยา่ งเปน็ ระบบ
• ครจู ัดการเรียนการสอนไมต่ รงกับวิชาเอกใน
• ครอู ทุ ิศเวลาการทำงานใหร้ าชการอย่าง บางรายวชิ า
ตอ่ เนอื่ งและสม่ำเสมอ
• ครูยงั ขาดทักษะในด้าน ICT
• บคุ ลากรบางทา่ นมีภาระงานมากจนมเี วลา

ใหก้ ับการจัดการเรยี นการสอนนอ้ ยลง

• M 2 ดา้ นงบประมาณ • การจัดสรรงบประมาณจากส่วนกลางลา่ ช้าไม่
เหมาะสมกบั ระยะเวลาในการดำเนินงาน
• ได้รับงบประมาณสนบั สนนุ จากรัฐ
• ไดร้ บั การสนับสนุนงบประมาณจากหนว่ ยงาน • ใชง้ บประมาณ ไม่ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ของ
แผนงานกจิ กรรม/โครงการ
ภายนอก ผปู้ กครอง ชมุ ชนและคณะกรรมการ
สถานศกึ ษา • การเบกิ จา่ ยงบประมาณไม่คล่องตวั มีการ
สำรองจา่ ยในการจัดซ้ือวสั ดบุ างรายการท่ี
• M 3 ด้านวัสดอุ ปุ กรณ์ จำเปน็ เรง่ ดว่ น

• มีวสั ดุเพียงพอตอ่ การจดั การเรียนการสอน • ขาดแคลนอาคารเพ่ือเป็นหอ้ งปฏบิ ตั ิการบาง
• ได้รบั การสนบั สนนุ ด้าน วัสดุ อปุ กรณ์ จาก ห้อง เช่น หอ้ งเก็บเอกสารงาน 4 ฝ่าย ห้อง
ลูกเสอื ห้องนาฏศิลป์ หอ้ งพยาบาล ฯลฯ
หน่วยงานภายนอก ผปู้ กครอง ชุมชนและ
คณะกรรมการสถานศึกษา • สือ่ เทคโนโลยี วสั ดอุ ุปกรณ์ ครภุ ัณฑ์มไี ม่
เพยี งพอต่อการจัดการเรียนการสอน เชน่ โต๊ะ-
เกา้ อ้นี ักเรียน อปุ กรณ์และเคร่อื งมือทาง
วทิ ยาศาสตร์ คอมพวิ เตอร์ ฯลฯ

• การจัดเกบ็ วสั ดไุ ม่เปน็ ระบบ
• ขาดการดูแล วัสดุ อปุ กรณ์และแหล่งเรยี นรู้

17

จุดแข็ง (Strengths) จดุ ออ่ น (Weaknesses)
• M 4 การบริหารจดั การ
• มีนโยบายงานเรง่ ด่วนบ่อย สง่ ผลกระทบกับการ
• มีการกระจายอำนาจลงสูร่ ะดับสายงาน โดยใช้ จดั การเรียนการสอน
หลกั การบริหารจัดการตามพระราชกฤษฎีกาว่า
ด้วยหลักเกณฑ์และวธิ กี ารบริหารกิจการ • ขาดความชัดเจนในการสือ่ สาร
บ้านเมอื งทดี่ ี พ.ศ. 2546 หลกั ธรรมาภบิ าล
โปรง่ ใส เป็นธรรม (good governance) ซง่ึ มี
หลักการทีส่ ำคัญ 7 ประการ คอื หลกั
ประสทิ ธภิ าพ หลกั ความคมุ้ ค่า หลัก
ประสทิ ธผิ ล หลักความรบั ผิดชอบทตี่ รวจสอบ
ได้ หลกั คุณภาพ หลกั การ มีส่วนรว่ มของ
บคุ ลากรในโรงเรยี นและผมู้ สี ว่ นเกย่ี วข้องทุก
ภาคส่วน

• ผ้บู รหิ ารมีความรคู้ วามสามารถในการ
บรหิ ารงานทง้ั 4 ฝา่ ย วิเคราะห์บคุ ลากร
ประชุม วางแผนก่อนมอบหมายงาน มกี าร
สร้างขวัญ กำลงั ใจ ให้กับบคุ ลากรในโรงเรียน
ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรภายใน
โรงเรยี นมีความรู้ และพฒั นาตนเองอยู่เสมอ

18

สภาพแวดล้อมภายนอก (External Factors Analysis: EFA)

โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats)

S:ดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม • ผปู้ กครอง ร้อยละ 30 มฐี านะยากจน
• นกั เรยี นร้อยละ 40 มสี ภาพปัญหา
• ชมุ ชนร่วมอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมประเพณใี น
ทอ้ งถิ่นส่งผลแก่นักเรียนมีแบบอย่างท่ดี ี ครอบครวั แตกแยก

• ผูป้ กครองและชุมชน ให้ความรว่ มมอื ใน • ผปู้ กครองขาดทักษะทจ่ี ำเปน็ ในการใช้
การพฒั นานักเรยี น เทคโนโลยีทท่ี นั สมัย

• มคี วามหลากหลายทางวฒั นธรรม • ผ้ปู กครองขาดการควบคุมนกั เรยี นในการ
T:ดา้ นเทคโนโลยี ใชเ้ ทคโนโลยที ่เี หมาะสม เชน่ การเลน่
เกมส์และเล่นโทรศัพท์
• มีการใช้เทคโนโลยีในการสอื่ สารได้
สะดวกรวดเรว็

• เทคโนโลยมี คี วามกา้ วหนา้ ทำใหก้ ารจัด
กจิ กรรมการเรยี นการสอนตรงตามความ
ตอ้ งการของผู้เรียน

E:ด้านเศรษฐกจิ • ประชาชนมรี ายไดต้ ่อครวั เรือนไม่เพียงพอ
ตอ่ การดำรงชีวติ
• มแี หล่งเรียนรใู้ นชุมชน
• ประชาชนขาดความมั่นใจและความ
• ประชาชนนอ้ มนำหลกั ปรชั ญาของ ปลอดภัยในการแสดงความคิดเหน็
เศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิต ทางการเมือง

• ประชากรประกอบอาชีพสจุ รติ • การเมืองทุกระดับมีอิทธพิ ลต่อการ
• การคมนาคมสะดวก ดำรงชวี ติ และความขัดแย้งทางการเมือง
P:การเมืองและกฎหมาย ทำใหข้ าดเสถยี รภาพในการอยรู่ ว่ มกัน

• องค์กรส่วนท้องถิน่ เขา้ มามสี ่วนร่วม
สนบั สนนุ ทางการศึกษา

• ประชาชนมสี ่วนรว่ มในการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยโดยมีการใชส้ ทิ ธิ์
อยา่ งกว้างขวาง

19

กราฟแสดงผลการประเมนิ สถานภาพของโรงเรียนบา้ นทงุ่ ยาว จ.ตรัง
บนแกนความสมั พันธ์ของ SWOT

เอ้อื และแข็ง เป็นตำแหนง่ ที่บ่งบอกว่า โรงเรียนมีปัจจยั ภายนอกที่เป็นโอกาส หรือพร้อมให้การสนับสนุน เอื้อต่อการ
ดำเนินกิจกรรม และปัจจัยภายในมีความเข้มแข็ง จึงเป็นภาวะที่เหมาะสมในการที่จะกำหนดกลยุทธ์เพื่อการพัฒนา
คุณภาพผูเ้ รยี น และพฒั นาสคู่ วามเปน็ เลิศ
ปัจจัยภายในสถานศกึ ษา
จุดเด่น
ดา้ นผลการจดั การศึกษา

- ผเู้ รียนมีสุขภาพกายสขุ ภาพจติ ท่ีดี
- ผเู้ รียนมีคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านยิ มทพ่ี ึงประสงค์
- ผเู้ รยี นมคี วามใฝ่รแู้ ละเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเนอื่ ง
- ผลการดำเนินงานโครงการพเิ ศษเพื่อส่งเสรมิ บทบาทของสถานศึกษาดา้ นการประกันคณุ ภาพภายใน
- พฒั นาการของการประกนั คณุ ภาพภายในโดยบทบาทของสถานศกึ ษา
จุดควรพฒั นา
ด้านผลการจัดการศกึ ษา

20

- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเ้ รียน
ปจั จยั ภายนอกของสถานศึกษา
โอกาส

โรงเรียนตั้งอยู่บนถนนตรัง – สตูล ซึ่งเป็นถนนสายหลัก ทำให้ชุมชนเป็นศูนย์กลางในการ
คมนาคม สะดวกง่ายตอ่ การสง่ บุตรหลานมาเรียน ชมุ ชนเป็นสงั คมเมืองผ้ปู กครองมีฐานะเศรษฐกิจดี กรรมการ
สถานศึกษาองค์การปกครองท้องถิ่นและชุมชนให้ความร่วมมือเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนเป็นอย่างดี
ชุมชนมีแหล่งเรียนรู้และภูมปัญญาท้องถิ่นต่างๆที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียน และนโยบายของรัฐส่งเสริม
การศกึ ษาตลอดชวี ิตสง่ ผลให้นักเรียนไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาเท่าเทียมกนั
อปุ สรรค

ชมุ ชนมฐี านะทางเศรษฐกิจไม่เทา่ เทยี มกนั การรวมกลมุ่ ไม่เขม้ แข็งพอทจี่ ะพัฒนาอาชพี เสรมิ อยา่ ง
ย่งั ยืนมีการกระจายรายไดไ้ ม่ทั่วถึง ผูป้ กครองขาดการมสี ว่ นรว่ มกับโรงเรียน เพราะมภี ารกิจทางเศรษฐกจิ และ
สถานศึกษาต้องรบั นักเรยี นนอกเขตบรกิ าร(โรงเรียนยุบ)จงึ ทำใหม้ าตรฐานการจดั การศึกษาลดลง

21

สว่ นท่ี 3
ทิศทางการพฒั นาคุณภาพสถานศึกษา

วสิ ยั ทศั น์โรงเรียนบ้านทุ่งยาว

“ภายในปีการศึกษา 2566 โรงเรยี นบ้านทงุ่ ยาว จดั การศึกษาได้มาตรฐาน มงุ่ เนน้ ใหผ้ ู้เรียนเกิดทักษะ
ในศตวรรษท่ี 21 โดยครมู ืออาชพี ภายใตร้ ะบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมมาภิบาล”

พนั ธกิจ
1. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ครอบคลุมหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ.2551 (ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) โดยใหส้ อดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาและตามมาตรฐาน สสวท.
เพอื่ มุ่งพัฒนาส่หู ลักสตู รฐานสมรรถนะ (Competency Based Curriculum)

2. พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา มีสมรรถนะตามหลักสูตรที่เน้นทักษะวิชาการ
ทักษะชีวติ และอาชพี สำหรับการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม รักความเป็นไทย ดำรงชวี ติ ตาม
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

3. ส่งเสริม พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีสมรรถนะตรงตามสายงาน มีคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาและมวี ฒั นธรรมการทำงานทม่ี ่งุ เน้นผลสัมฤทธ์ิอย่างครูมืออาชพี ดว้ ยวิธีการทห่ี ลากหลาย

4. บริหารจดั การโรงเรียนโดยใช้โรงเรยี นเปน็ ฐาน ตามหลักธรรมาภิบาลและหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งโดยการมีสว่ นรว่ มจากทุกฝา่ ย

เปา้ ประสงค์
1. โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา มาตรฐาน สสวท. และเป็น

โรงเรยี นตน้ แบบนำรอ่ งการใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ
2. ผู้เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา มีทักษะในศตวรรษที่ 21 และมีวิถีชีวิตตามหลัก

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
3. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และเป็นครูมอื อาชีพ
4. โรงเรียนมีระบบการบรหิ ารจดั การท่มี ีคณุ ภาพ มาตรฐานเป็นทีย่ อมรับและเชือ่ มน่ั ของสังคม

อตั ลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา
“แต่งกายดี มีรอยยิ้ม”

เอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา
“ส่งเสรมิ วชิ าการ สืบสานเชดิ สงิ โต วงโยธวาทิตงามเดน่ ”

กลยุทธ์การพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา
กลยุทธท์ ่ี 1 ด้านการพฒั นาคุณภาพผู้เรียน

22

กลยทุ ธท์ ่ี 2 ด้านการเพิ่มประสทิ ธภิ าพกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
กลยุทธท์ ่ี 3 ดา้ นการสง่ เสริมกระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ

23

สว่ นท่ี 4

ส่วนที่ 4.1 รายละเอยี ดของแผนงาน โครงการ/กจิ กรรม และประมาณการงบประมาณ จำแนกตามโครงสร้าง

การบรหิ ารของสถานศกึ ษา

การบรหิ ารงานของสถานศึกษา งบประมาณ หมายเหตุ

1. ดา้ นการบรหิ ารวชิ าการ เป็นโครงการที่ปรากฏในแผนพัฒนา

1.1 โครงการบา้ นวิทยาศาสตร์นอ้ ย การศึกษาฯ สอดคลอ้ งกับแผนระดบั

1) กิจกรรมทดลองวิทยาศาสตร์ 1,000 1,2,3 ตามมติครม. เมอ่ื วนั ท่ี 4

2) โครงงานหอ้ งละ 1 โครงงาน 500 ธนั วาคม 2560 สนองนโยบาย กลยุทธ์

3) คา่ เขา้ เลม่ โครงการ 500 จดุ เน้นของหนว่ ยงานต้นสังกดั

มาตรฐานดา้ นการศกึ ษา และอตั

1.2 โครงการพัฒนาคณุ ภาพเดก็ ปฐมวัยส่มู าตรฐาน ลักษณข์ องสถานศกึ ษา

การศึกษา

1) กจิ กรรมหนูน้อยคคู่ ณุ ธรรม 1,000

2) กจิ กรรมโลกสวยด้วยมือเรา 1,500

3) กจิ กรรมหนูน้อยคนเกง่ 2,000

4) กจิ กรรมหนูนอ้ ยคนเกง่ 1,000

5) กจิ กรรมหนูนอ้ ยคนเกง่ 1,000

6) กจิ กรรมสุขภาพดีมสี ขุ 1,500

7) กจิ กรรมหนูน้อยฟนั สวย 1,500

8) สรปุ ผลและรายงานผล 500

1.3 โครงการส่งเสริมพัฒนาการทงั้ 4 ด้าน อย่างมี 3,000
คุณภาพ
500
1) กิจกรรมการผลติ ส่อื สรา้ งสรรคส์ ำหรบั เดก็ ปฐมวยั 1,500
2) กิจกรรมจัดนิทรรศการ / ปา้ ยนิเทศ
1,500
3) กิจกรรมการประกอบอาหาร (cooking) สำหรบั 1,000
เด็กปฐมวยั 2,000

4) กิจกรรมปลูกฝังและสง่ เสริมการออม 6,000
5) กจิ กรรมการละเล่นพนื้ บา้ นไทย 1,000

6) กิจกรรมสง่ เสรมิ การจดั การเรยี นรู้ตามหลัก -
เศรษฐกิจพอเพยี ง 500

7) กิจกรรมหอ้ งเรียนในฝนั
8) กิจกรรมศลิ ปะ ดนตรี กฬี า พาสนุก

9) กจิ กรรมวันสำคญั ต่างๆ
10) คา่ เขา้ เล่ม

24

การบริหารงานของสถานศึกษา งบประมาณ หมายเหตุ

1.4 โครงการนเิ ทศภายในโรงเรียน 250
1) กจิ กรรมประชมุ เตรยี มความพร้อมเปดิ 250
250
ภาคเรยี น 250
2) กิจกรรมการให้คำปรกึ ษา
3) กิจกรรมประชุมวชิ าการ 5,000
4) กจิ กรรมเยยี่ มชน้ั เรยี น 3,660
5) กจิ กรรมสอนซ่อมเสรมิ
1,500
1.5 โครงการพฒั นาห้องสมุดโรงเรียนและสง่ เสรมิ
นสิ ยั รักการอ่าน 1,000
2,700
1) การพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน 1,000
2) กิจกรรมส่งเสรมิ นสิ ัยรกั การอ่าน 1,000
7,500
1.6 โครงการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา 10,000
1) คา่ จัดทำเลม่ เอกสาร 10,000
10,000
1.7 โครงการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน
1) การเชดิ สิงโต 107,500
2) การสรา้ งภาพดว้ ยการปะตดิ
3) ศลิ ป์สร้างสรรค์ 25,074
4) นาฎศิลป์ สรา้ งสรรค์ 10,756
5) นำนกั เรียนสอบแข่งขัน/ทักษะวชิ าการ 20,000
6) คา่ พาหนะ
7) คา่ อาหาร 1,200
8) คา่ วสั ดุฝึกซ้อมทักษะวิชาการ

1.8 โครงการพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน
1) คา่ ใช้จ่ายในการดำเนนิ งาน

หอ้ งธุรการ/งานธรุ การชั้นเรียน
2) วัสดุ อุปกรณ์หอ้ งเรยี น/ห้องพเิ ศษ
3) วสั ดุผลติ สื่อ
4) ค่าจา้ งซ่อมเคร่อื งถา่ ยเอกสาร/

คอมพวิ เตอรส์ ำนกั งาน/เครอ่ื งพมิ พ์
5) คา่ จา้ งเขา้ เลม่ เอกสาร

1.9 โครงการนกั เรียนพิเศษเรียนรวม
1) จัดทำแผนการศกึ ษาเฉพาะบคุ คล (IEP)

25

การบริหารงานของสถานศกึ ษา งบประมาณ หมายเหตุ

2) จดั ทำแบบฝึกหดั /จดั หาสอ่ื การเรียน 1,000
การสอนสำหรับนกั เรยี นพิเศษเรยี นรว่ ม 6,000
14,000
1.10 โครงการปัจฉิมนิเทศ
1) ดำเนินการตามโครงการ 3,000
2,000
1.11 โครงการเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของ 1,000
เศรษฐกจิ พอเพียง
-
1) อิฐบลอ็ กทำแปลงผกั -
2) ทำโรงเรอื นปุ๋ยหมกั 1,000
3) การปลูกผักต่างๆ
4) ทำโรงเรอื นเพาะชำผกั ต่างๆ 10,000
5) การทำปุย๋ ชวี ภาพ 30,000
6) การทำนำ้ ยาลา้ งจาน
259,975
1.12 โครงการพัฒนาทักษะทางด้านดนตรแี ละ 140,880
นาฏศลิ ป์ 145,370

1) จัดซื้ออุปกรณเ์ พิ่มเตมิ 9,000
2) ซอ่ มแซมวสั ดุ 8,700
4,000
2. ดา้ นการบริหารงบประมาณ
2.1 โครงการสนับสนุนคณุ ภาพการศกึ ษาโดยไม่ 1,000
2,000
เสียคา่ ใช้จา่ ย 15 ปี
1) ค่าหนังสอื เรียน
2) คา่ เครื่องแบบนกั เรียน
3) ค่าอุปกรณ์การเรยี น

2.2 โครงการพัฒนาระบบ งานการเงนิ บัญชี และ
พสั ดุ

1) การทำบัญชกี ารเงินพัสดุ
2) การจัดซ้อื จัดจ้าง
3) การลงทะเบยี นพสั ดุ ครุภณั ฑ์

2.3 โครงการระดมทรัพยากรเพือ่ การศกึ ษา
1) จัดหาทนุ การศกึ ษา

26

การบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา งบประมาณ หมายเหตุ

2) ระดมทรัพยากรจากชมุ ชน -
1,640,000
3. ดา้ นการบรหิ ารทว่ั ไป
3.1 โครงการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน 9,000
1) จัดซื้อวัสดุ 1,000

3.2 โครงการโรงเรยี นสง่ เสรมิ สขุ ภาพ 2,000
1) กิจกรรมบริการอนามยั โรงเรยี น
2) กิจกรรมโภชนาการและความปลอดภยั

ด้านอาหาร(อย.น้อย)/อบุ ตั ิเหตุ

3.3 โครงการกิจกรรมสภานักเรยี น 7,000
1) กจิ กรรมเลือกตง้ั ประธานสภานกั เรยี น
2) ปลอกแขนสำหรับสภานักเรยี น 3,000
8,000
3.4 โครงการพฒั นาสภาพแวดลอ้ มโรงเรยี น 10,470
1) ค่าวสั ดทุ ่ีจัดทำท่ีปสั สาวะนกั เรยี นชาย – 5,000
1,000
ค่าจ้าง
2) ค่านำ้ มันเชื้อเพลิง 10,000
3) คา่ วัสดุไฟฟา้ -ค่าจ้าง 4,500
4) คา่ วสั ดซุ อ่ มแซมอาคาร-ค่าจ้าง 1,500
5) คา่ พันธ์ุไมจ้ ดั สวนหยอ่ ม
6) ปลกู ตน้ บานบุรีขา้ งถนนหน้าอาคารเรียน 2,000

3 ตลอดแนว 146,400
7) ที่ลา้ งจาน /อ่างลา้ งมือของนกั เรียนระดับ 2,400
1,200
ปฐมวยั
8) ดนิ 1รถใชใ้ นการเพาะเมลด็ พันธพุ ืช/ไม้ 2,000

ดอก/ไมป้ ระดับ/พชื ผักสวนครวั
9) กระถางพลาสติก

3.5 โครงการสาธารณปู โภค
1) คา่ กระแสไฟฟา้
2) ค่านำ้ ประปา

27

การบริหารงานของสถานศึกษา งบประมาณ หมายเหตุ

3) ค่าโทรศพั ท์ 7,000

3.6 โครงการสหกรณโ์ รงเรยี น 3,000
1) กจิ กรรมปรบั ภูมทิ ศั น์ สหกรณโ์ รงเรียน
1,000
3.7 โครงการโรงเรียนวิถีพทุ ธ 3,000
1) กิจกรรมปรบั ปรงุ โตะ๊ หมู่บูชาหนา้ พระ 2,000

กระถางธูป เชงิ เทียน แจกนั ดอกไม้และโตะ๊ สำหรับวาง -
ของไหว้หน้าศาลพระภมู ิ 1,000

2) จัดซอื้ เครื่องเซน่ ไหว้ 3,114
5,000
3.8 โครงการระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น 10,000
1) การรจู้ ักนักเรียนเป็นรายบคุ คล
2) การคัดกรองนกั เรยี น โดยใชแ้ บบประเมิน 108,000

นักเรียน (SDQ) และแบบประเมิน EQ 73,280
3) การป้องกันและแก้ไขปญั หา
4) เชิญวทิ ยากรใหค้ วามรู้ ความเขา้ ใจในเรอ่ื ง 40,000

พฤติกรรมตา่ งๆ และการตรวจสุขภาพ
5) การส่งเสรมิ และพัฒนานกั เรียน

4. ดา้ นการบรหิ ารงานบคุ คล
4.1 โครงการพฒั นาบคุ ลากร
1) กิจกรรม หลกั สตู รการอบรมออนไลน์
2) กจิ กรรมอบรมการบันทกึ วีดีทศั นแ์ ละ

การตัดต่อคลปิ วดิ ีโอ
3) กจิ กรรมศึกษาดูงาน ของขา้ ราชการครู

และบุคลากรทางการศึกษา

4.2 โครงการจดั จา้ งบคุ ลากร
1) ครูอตั ราจ้าง วิชาสังคมศึกษา

5. กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น
5.1 โครงการทัศนศึกษาแหลง่ เรยี นรู้
1) การศึกษาแหลง่ เรียนรู้

5.2 โครงการลกู เสือ-ยวุ กาชาด

28

การบริหารงานของสถานศึกษา งบประมาณ หมายเหตุ

1) กจิ กรรมลกู เสือ-ยุวกาชาด 15,000
5,000
5.3 โครงการสง่ เสริมศกั ยภาพทกั ษะพนื้ ฐาน
ผ้เู รยี นระดับปฐมวัย 20,000

1) กจิ กรรมลกู เสอื สำรอง ระดับปฐมวัย 20,000
2) กิจกรรมค่ายวิชาการ สำหรับหนนู ้อย
ปฐมวยั 100,000

5.4 โครงการค่ายคณุ ธรรม จริยธรรมและ
คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องนกั เรียน

1) กิจกรรมอบรมพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม
และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของนกั เรยี น

5.5 โครงการค่ายอนุรักษ์ พทิ ักษ์สิ่งแวดลอ้ ม
1) กจิ กรรมค่ายมจี ิตสำนกึ ด้านการอนุรกั ษ์

สงิ่ แวดล้อม

5.6 โครงการโครงการพัฒนาการจัดการเรยี น
การสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือ
ไวรัสโคโรนาโควดิ - 19

1) กิจกรรมการตรวจคดั กรองและเฝ้าระวงั
โรคโควดิ -19 (COVID-19) ในโรงเรยี น โดยคณะครู
และบุคลากรของ โรงเรยี น รวมถึงผมู้ าตดิ ตอ่ ราชการ

2) กิจกรรมให้ความรแู้ กน่ ักเรยี นเร่อื งโรคไวรสั
โคโรนา 2019 ( COVID-19 ) และการปอ้ งกันการ
แพร่ระบาดของโรคไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

3) กิจกรรมการทำความสะอาดบริเวณภายใน
โรงเรยี น โตะ๊ เกา้ อี้ พื้นผิวสมั ผสั ห้องเรยี น หอ้ งนำ้
โรงอาหาร และอ่างล้างมอื ตามจดุ ต่างๆของโรงเรยี น

4) กิจกรรมจดั จดุ ลา้ งมือด้วยสบบู่ รเิ วณหนา้
หอ้ งน้ำ หอ้ งส้วมอย่างเพียงพอ
หมายเหตุ : โครงการ/กจิ กรรมทส่ี นองอตั ลกั ษณข์ อง
สถานศกึ ษาสนองนโยบายพิเศษ จดุ เน้นของหน่วยงาน
ต้นสงั กัดอาจจดั เรยี งไว้ในกลมุ่ การบรหิ ารงานของ
สถานศึกษาที่เกีย่ วข้องหรอื จดั เรยี งเป็นลำดับท่ี 5 และ
6 กไ็ ด้

29

สว่ นที่ 4.2 รายละเอยี ดโครงการ/กจิ กรรม
โครงการการบรหิ ารวิชาการ

30

โครงการ บา้ นวิทยาศาสตรน์ อ้ ย

แผนงาน บริหารวชิ าการ ปฐมวยั

สนองกลยทุ ธ์ท่ี กลยุทธ์ท่ี 1 ด้านการพฒั นาคุณภาพผู้เรียน

กลุยุทธท์ ี่ 3 ด้านการสง่ เสรมิ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผ้เู รยี น

เปน็ สำคญั

ผู้รับผดิ ชอบโครงการ 1. วา่ ที่ ร.ต.หญิงสุชาดา พลหลา

2. นางเบญจวรรณ สดี ำ

3. นางสมญา เกา้ เอี้ยน

ลกั ษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง

งบประมาณ 2,000 บาท

ระยะเวลาดำเนนิ งาน 17 พฤษภาคม 2564 – 30 เมษายน 2565

............................................................................................................................. ...................................

1. หลักการและเหตุผล

พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มุ่งเน้นใหส้ ถานศึกษาทกุ แห่งมีระบบการประกัน

คุณภาพภายในสถานศึกษา และระบบการประกันคุณภาพภายในก็เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเพื่อพัฒนา

ผู้เรียนให้มีคุณภาพ และตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการ

ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านทุ่งยาว ได้เข้าร่วมโครงการ “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย

ประเทศไทย” เป็นโครงการที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาพระราชทาน

พระราชดำริ ให้คณะกรรมการนำไปพิจารณาริเริ่มดำเนินการนำร่องในประเทศ เด็กตั้งแต่ระดับปฐมวัย (อายุ

๓-๖ ปี) เป็นชว่ งอายุทีม่ ีความสามารถในการเรยี นรูแ้ ละจดจำมากท่ีสุด

จากการจัดโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ปีงบประมาณ 2563 ที่ผ่านมา พบว่า

นกั เรียนระดบั ปฐมวัย ไดเ้ รยี นรแู้ ละมีประสบการณ์ในการเรียนรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์น้อยและได้มีการทดลอง

กิจกรรม และจัดทำโครงงาน 1 โครงงาน ทำให้โรงเรียนผ่านการประเมิน เพื่อเข้ารับตราพระราชทาน

วทิ ยาศาสตรน์ ้อย ท้ังน้ีเด็กมที ศั นคติที่ดดี ้านการเรียนรู้ ทกั ษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มากยิ่งขึ้น ซ่ึง

โครงการได้รับการสนับสนุนเปน็ อย่างดีจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์

และเทคโนโลยี และเป็นแนวทางการพัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ดังนั้น โรงเรียน

บ้านทงุ่ ยาว จงึ จำเปน็ ทจี่ ะต้องดำเนินแผนงานตามโครงการนี้ตอ่ ไป

2. วัตถปุ ระสงค์
2.1 เพื่อให้เดก็ ปฐมวัยได้ฝึกการสงั เกต รจู้ กั คิด ตั้งคำถามและคน้ หาคำตอบด้วยตนเอง
2.2 เพอ่ื เป็นวางรากฐานระยะยาวในการสรา้ งนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร และทรัพยากรมนุษยท์ ม่ี คี ุณภาพ
2.3 เพอ่ื สร้างผู้นำเครือขา่ ยท้องถิน่ ท่ชี ว่ ยผลักดันให้โรงเรียนตนื่ ตัวและพฒั นาคุณภาพการเรยี นการ

สอนวิทยาศาสตรต์ ลอดเวลา
2.4 เพ่ือพฒั นาคุณภาพครดู ้านเทคนิคการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรส์ ำหรบั เดก็ ปฐมวยั

31

3. เปา้ หมาย
3.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ
1. นกั เรียนร้อยละ 80 มีทกั ษะในการใชภ้ าษาที่เหมาะสมตามวัย
2. นักเรียนรอ้ ยละ 80 มที กั ษะการสังเกต รูจ้ ักคดิ ตัง้ คำถามและคน้ หาคำตอบดว้ ยตนเอง
3. นกั เรยี นรอ้ ยละ 80 ใชจ้ นิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรคใ์ นทางที่เหมาะสม
4. นักเรยี นรอ้ ยละ 80 ใชก้ ระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์ในการแก้ปัญหาและคดิ สรา้ งสรรค์

3.2 เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ

1. สถานศึกษาจัดโครงการ กิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนตามนโยบายเกี่ยวกับการจัดการศึกษา

ปฐมวยั

2. สถานศึกษาดำเนนิ งานบรรลตุ ามเป้าหมาย

3. ผู้เรียนมีทักษะวิทยาศาสตร์ผ่านการทดลองอย่างง่ายและมีความสนใจในการเรียน

วิทยาศาสตร์ อยูใ่ นระดับดี

4. ผู้เรียนไดร้ ับการถา่ ยทอดทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทถ่ี ูกตอ้ ง อยใู่ นระดบั ดี

5. ครูผู้สอนมที ักษะด้านเทคนิคการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวยั อยู่ในระดับ

ดี

4. กจิ กรรมและการดำเนินการ

กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผูร้ บั ผดิ ชอบ

ดำเนินงาน

1. สำรวจสภาพปจั จบุ นั ปัญหา พฤษภาคม - นางสาวเบญจวรรณ สีดำ

และความต้องการ 2564 นางสมญา เก้าเอี้ยน

วา่ ท่ี ร.ต.หญิง สชุ าดา พลหลา

2. จดั ทำโครงการเสนอต่อ พฤษภาคม - นางสาวเบญจวรรณ สีดำ

ผบู้ ริหาร 2564 นางสมญา เกา้ เอี้ยน

วา่ ที่ ร.ต.หญงิ สุชาดา พลหลา

3. ประชุมชีแ้ จงโครงการเพอ่ื ขอ พฤษภาคม - นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ
อนมุ ตั ิ 2564 นางสมญา เก้าเอย้ี น
วา่ ที่ ร.ต.หญงิ สชุ าดา พลหลา

4. แต่งตงั้ คณะกรรมการ พฤษภาคม - นางสาวเบญจวรรณ สีดำ
2564 นางสมญา เกา้ เอย้ี น
วา่ ที่ ร.ต.หญงิ สชุ าดา พลหลา

5. วางแผนดำเนินการ พฤษภาคม - นางสาวเบญจวรรณ สีดำ
2564 นางสมญา เกา้ เอย้ี น

32

กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รบั ผิดชอบ
ดำเนนิ งาน
6. ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตามโครงการ วา่ ท่ี ร.ต.หญิง สชุ าดา พลหลา
ซ่งึ มีกจิ กรรมดังน้ี ตลอดปี นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ
การศึกษา นางสมญา เกา้ เอย้ี น
1. กิจกรรมทดลอง 1,000 ว่าท่ี ร.ต.หญิง สุชาดา พลหลา
วทิ ยาศาสตร์ 20 กิจกรรม 2564

2. โครงงานหอ้ งละ 1 500
โครงงาน
7. ครทู ำเกณฑ์การประเมิน มนี าคม 2565 - นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ
พฤติกรรมเดก็ ระหว่าง
ดำเนินการจัดกิจกรรม นางสมญา เกา้ เอี้ยน
8. ประเมินพฤติกรรมเด็ก
ระหวา่ งดำเนินกิจกรรม ว่าท่ี ร.ต.หญิง สุชาดา พลหลา

9. จดั ทำแบบประเมนิ โครงการ มนี าคม 2565 - นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ

10. ประเมนิ ความพงึ พอใจของ นางสมญา เกา้ เอี้ยน
ผ้เู กย่ี วข้อง
วา่ ท่ี ร.ต.หญงิ สุชาดา พลหลา
11. สรปุ ผลและรายงานผล
มีนาคม 2564 - นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ

นางสมญา เก้าเอ้ียน

ว่าที่ ร.ต.หญงิ สชุ าดา พลหลา

เมษายน - นางสาวเบญจวรรณ สีดำ

2565 นางสมญา เก้าเอี้ยน

ว่าท่ี ร.ต.หญงิ สชุ าดา พลหลา

เมษายน 500 นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ

2565 นางสมญา เกา้ เอยี้ น

วา่ ที่ ร.ต.หญงิ สชุ าดา พลหลา

5. รายละเอียดการใช้งบประมาณ เงินงบประมาณ รวม เงินนอก รวม
ใช้สอย วัสดุ
ท่ี กิจกรรม ตอบแทน งบประมาณ
1,000
1. กิจกรรมบา้ นนักวิทยาศาสตร์นอ้ ย 1,000 - -
20 กจิ กรรม 500
500
2. โครงงานหอ้ งละ 1 โครงงาน

33

ท่ี กจิ กรรม เงนิ งบประมาณ รวม เงนิ นอก รวม
3. ค่าเข้าเล่มโครงการ ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ งบประมาณ

500 500

รวม 500 1,500 2,000

6. การประเมนิ วิธีการประเมิน เครื่องมือ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ การปฏบิ ัตจิ ริง แบบบันทกึ การทดลอง

เดก็ ปฐมวยั ร้อยละ 80 ได้เรียนรู้ การสงั เกต แบบบนั ทกึ การสงั เกต
เกยี่ วกับการทดลองวทิ ยาศาสตร์ ท้ัง การสงั เกต แบบบันทกึ การสังเกต
20 กจิ กรรม
เดก็ ปฐมวัยฝกึ การสังเกต รูจ้ กั คดิ ตง้ั
คำถามและค้นหาคำตอบด้วยตนเอง

เดก็ ปฐมวยั รอ้ ยละ 80 มีทักษะ
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์เพิม่ ขึน้

7. ผลท่คี าดวา่ จะได้รบั
นักเรยี นโรงเรียนบ้านทุ่งยาว รอ้ ยละ 80 เขา้ ร่วมกิจกรรม รู้จกั วิทยาศาสตร์ผ่านการทดลองอยา่ งง่ายและ

มคี วามสนใจในการเรียนวิทยาศาสตร์ และได้รบั การถา่ ยทอดทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรท์ ถี่ ูกต้อง มี
พัฒนาทกั ษะการเรียนรตู้ า่ ง ๆ ส่งผลใหบ้ รรลุจุดหมายในการพฒั นาเด็ก

ลงช่อื ......................................ผู้เสนอโครงการ ลงชอ่ื .....................................ผเู้ หน็ ชอบโครงการ
( วา่ ท่ี รอ้ ยตรีหญิง สุชาดา พลหลา ) (นางสาวชนญั ธดิ า ใจสมทุ ร)

ครูโรงเรียนบา้ นทงุ่ ยาว รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านท่งุ ยาว

ลงชอื่ ........................................ผอู้ นุมตั ิโครงการ
(นางสาวพิมพ์ประกาย ศรีไตรรตั น์)
ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบา้ นท่งุ ยาว

34

โครงการ พัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยสู่มาตรฐานการศึกษา
แผนงาน บรหิ ารวิชาการ ระดบั ปฐมวยั
สนองกลยุทธท์ ่ี กลยทุ ธท์ ี่ 1 ด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น
กลยุ ทุ ธ์ท่ี 3 ด้านการส่งเสริมกระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ี
ลกั ษณะโครงการ เน้นผ้เู รยี นเป็นสำคัญ
ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ โครงการใหม่
1. นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ
งบประมาณ 2. นางสมญา เกา้ เอีย้ น
ระยะเวลาดำเนนิ การ 3. ว่าที่ ร.ต.หญงิ สชุ าดา พลหลา
10,000 บาท
17 พฤษภาคม 2564 – 30 เมษายน 2565

1. หลักการและเหตุผล
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มาตราที่ 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า

ผเู้ รยี นทกุ คนมีความสามารถในการเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองได้และถือว่าผูเ้ รียนมีความสำคัญท่สี ุด กระบวนการ
จัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ หลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัย พุทธศักราช 2560 กำหนดหลักการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย เพื่อพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
อย่างต่อเนื่อง ในรูปแบบบูรณาการไม่สอนเป็นรายวชิ า ยึดหลักบรู ณาการที่ว่า หนึ่งแนวคดิ เด็กสามารถเรยี นรู้
ได้หลายกิจกรรม หนึ่งกิจกรรมเด็กสามารถเรียนรู้ได้หลายทักษะหลายประสบการณ์สำคัญ เด็กปฐมวัยจึง
จำเป็นต้องใช้ส่ือนวัตกรรม ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนเพื่อให้เกิดความกระตือรือร้นในการเรียนมาก
ยิ่งขึ้นโดยครูเปน็ ผู้ผลิตสื่อ แล้วนำมาใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน เด็กจะได้รับประสบการณ์และมีนวัตกรรม
ใหม่ ๆ ในการเรียนเพิ่มมากขึ้นและครูได้พัฒนาตนเอง เพื่อให้บรรลุตามจุดประสงค์ของโครงการซึ่งเป็นการ
ปฏิบัตทิ เ่ี ป็นจริงตามมาตรฐานคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์

ดังนน้ั โรงเรยี นจงึ มีการจัดทำโครงการนี้ข้ึนมา เพ่ือพัฒนาผู้เรยี นให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ปฐมวัยสอดคล้องกับเกณฑ์การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เป็นการเตรียมเด็กให้มีความพร้อม
พัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลทั้งทางด้านร่างกาย ด้านอารมณ์จิตใจ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา และคุณธรรม
จริยธรรม ให้เป็นคนดี คนเก่งและมีความสุขในชวี ติ เติบโตเป็นสมาชิกทดี่ ขี องสังคมตอ่ ไป
2. วตั ถปุ ระสงค์

2.1 เพ่อื ให้นักเรียนระดับปฐมวัย มวี นิ ัย ขยัน ประหยดั สภุ าพ ซอื่ สตั ย์ สามคั คี มีน้ำใจ มารยาทงาม
2.2 เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นระดับปฐมวัย มีส่วนร่วม ในการดแู ลรักษาสง่ิ แวดลอ้ ม
2.3 เพ่ือให้นักเรียนระดบั ปฐมวยั มที ักษะในการคิดแก้ปัญหา ทำกิจกรรม เกิดการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง
2.4 เพ่ือให้สร้างเสริมให้นักเรียนมีความสนใจใฝร่ ู้ รักการอ่าน การใชภ้ าษาไทยอย่างถูกตอ้ ง

35

2.5 เพ่อื ใหน้ ักเรียนมีสขุ นสิ ยั สขุ ภาพกาย และสขุ ภาพจติ ทดี่ ี

2.6 เพอ่ื ใหส้ ่งเสริมนักเรียนท่มี ีความสามารถพเิ ศษไดพ้ ัฒนาเตม็ ตามศกั ยภาพ

3. เปา้ หมาย

3.1 เปา้ หมายเชิงปริมาณ

1. นักเรยี นระดบั ชัน้ อนุบาลร้อยละ 80 มีร่างกายที่แข็งแรง และมจี ิตใจท่ีแจ่มใส

2. นกั เรียนระดบั ชน้ั อนบุ าลร้อยละ 80 มนี สิ ัยรักการออกกำลังกายเดก็ ปฐมวยั

3. นกั เรยี นระดับช้นั อนบุ าลร้อยละ 80 มีผลประเมินพฒั นาการด้านอารมณ์-จติ ใจ อย่ใู

ระดบั ดี

4. นกั เรียนระดับชน้ั อนบุ าลรอ้ ยละ 80 มผี ลประเมินพฒั นาการด้านสงั คม อยใู่ น

ระดับ ดี

5. นักเรียนระดับชั้นอนุบาล ร้อยละ 80 มีความคิดรวบยอดเกีย่ วกับสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดจากการ

เรยี นรู้

6. นักเรียนระดับชน้ั อนบุ าล รอ้ ยละ 80 แก้ปญั หาได้เหมาะสมกับวัย

7. นักเรยี นระดบั ชนั้ อนุบาล ร้อยละ 80 มจี ินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์

3.2 เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ

1. นักเรียนระดับชั้นอนบุ าล มรี า่ งกายท่ีแขง็ แรง จติ ใจแจ่มใส เหน็ ประโยชนข์ องการออก

กำลงั กาย และมีนิสัยรกั การออกกำลงั กายเพิ่มมากขนึ้

2. นกั เรียนระดบั ชั้นอนบุ าล มีพฒั นาการดา้ นอารมณ์-จิตใจ ทดี่ ี และพรอ้ มทจ่ี ะเรยี นรูใ้ น

เรอ่ื งใหม่ ๆ อยเู่ สมอ

3. นักเรยี นระดับชั้นอนุบาล มีพฒั นาการด้านสงั คมทีด่ ีขนึ้ สามารถเล่นและทำกจิ กรรม

รว่ มกับผูอ้ ื่นได้ดขี น้ึ

4. นักเรยี นระดับชน้ั อนุบาล มีทักษะด้านความคดิ รวบยอดเกยี่ วกบั สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดจากการ

เรียนรู้

4. กิจกรรมและการดำเนินการ

กจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผูร้ ับผดิ ชอบ

ดำเนนิ งาน

1. สำรวจสภาพปัจจุบนั ปัญหา พฤษภาคม - นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ

และความต้องการ 2564 นางสมญา เกา้ เอี้ยน

ว่าท่ี ร.ต.หญงิ สชุ าดา พลหลา

2. จัดทำโครงการเสนอต่อ พฤษภาคม - นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ

ผูบ้ รหิ าร 2564 นางสมญา เก้าเอี้ยน

วา่ ที่ ร.ต.หญงิ สุชาดา พลหลา

36

กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผ้รู ับผดิ ชอบ
ดำเนินงาน
3. ประชมุ ชแ้ี จงโครงการเพื่อขอ - นางสาวเบญจวรรณ สีดำ
อนุมตั ิ พฤษภาคม นางสมญา เก้าเอ้ียน
2564 ว่าท่ี ร.ต.หญิง สชุ าดา พลหลา
4. แต่งตั้งคณะกรรมการ
พฤษภาคม - นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ
5. วางแผนดำเนินการ 2564 นางสมญา เกา้ เอี้ยน
วา่ ท่ี ร.ต.หญงิ สุชาดา พลหลา
6. ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตามโครงการ พฤษภาคม
ซึ่งมีกิจกรรมดังน้ี 2564 - นางสาวเบญจวรรณ สีดำ
1. กจิ กรรมหนูน้อยคคู่ ุณธรรม นางสมญา เก้าเอย้ี น
2. กจิ กรรมโลกสวยด้วยมอื เรา ตลอดปี วา่ ท่ี ร.ต.หญงิ สชุ าดา พลหลา
3. กิจกรรมหนูน้อยคนเกง่ การศึกษา
4. กจิ กรรมหนูรกั ภาษาไทย 1,000 นางสาวเบญจวรรณ สีดำ
5. กิจกรรมหนูรกั ภาษาอังกฤษ 2564 1,500 นางสมญา เก้าเอย้ี น
6. กจิ กรรมสขุ ภาพดีมสี ขุ 2,000 ว่าที่ ร.ต.หญิง สุชาดา พลหลา
7. กิจกรรมหนูนอ้ ยฟันสวย 1,000
1,000
1,500
1,500

7. ครทู ำเกณฑก์ ารประเมนิ มีนาคม 2565 - นางสาวเบญจวรรณ สีดำ

พฤติกรรมเด็กระหวา่ ง นางสมญา เกา้ เอยี้ น

ดำเนินการจดั กิจกรรม วา่ ที่ ร.ต.หญิง สุชาดา พลหลา

8. ประเมินพฤตกิ รรมเด็ก มีนาคม 2565 - นางสาวเบญจวรรณ สีดำ

ระหว่างดำเนินกิจกรรม นางสมญา เกา้ เอี้ยน

วา่ ที่ ร.ต.หญงิ สชุ าดา พลหลา

9. จัดทำแบบประเมนิ โครงการ มีนาคม 2565 - นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ

นางสมญา เก้าเอี้ยน

ว่าที่ ร.ต.หญงิ สุชาดา พลหลา

10. ประเมนิ ความพงึ พอใจของ เมษายน - นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ

ผ้เู กี่ยวขอ้ ง 2565 นางสมญา เกา้ เอี้ยน

วา่ ท่ี ร.ต.หญิง สุชาดา พลหลา

37

กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ ับผดิ ชอบ
11. สรุปผลและรายงานผล ดำเนินงาน
เมษายน 500 นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ
นางสมญา เก้าเอี้ยน
2565 วา่ ที่ ร.ต.หญิง สุชาดา พลหลา

5. รายละเอียดการใช้งบประมาณ ตอบแทน เงินงบประมาณ รวม เงินนอก รวม
ใชส้ อย วัสดุ งบประมาณ
ท่ี กิจกรรม
1,000 1,000
1. กจิ กรรมหนูน้อยคคู่ ุณธรรม 1,500 1,500
2. กิจกรรมโลกสวยด้วยมือเรา 2,000 2,000
3. กิจกรรมหนูน้อยคนเกง่ 1,000 1,000
4. กิจกรรมหนูรักภาษาไทย 1,000 1,000
5. กิจกรรมหนูรกั ภาษาอังกฤษ 1,500 1,500
6. กิจกรรมสขุ ภาพดีมสี ขุ 1,500 1,500
7. กจิ กรรมหนนู ้อยฟันสวย 500 500
8. ค่าเข้าเล่มโครงการ 500 9,500 10,000

รวม

6. การประเมนิ ผล

ตวั ชี้วดั ความสำเรจ็ วิธกี ารประเมิน เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้
การสงั เกต
ร้อยละของนักเรยี นระดบั ช้ันอนบุ าล มี สงั เกต แบบสอบถามความพงึ พอใจ
แบบประเมิน
รา่ งกายท่แี ข็งแรง และจติ ใจที่แขง็ แรง
แบบประเมิน
ร้อยละของนักเรียนระดบั ชั้นอนบุ าลมี แบบสอบถามความพึงพอใจ

นิสัยรักการออกกำลังกาย

รอ้ ยละของนักเรียนระดับชัน้ อนบุ าล มี สังเกต

ผลประเมนิ พัฒนาการดา้ นอารมณ์-จติ ใจ

อย่ใู นระดบั ดี

รอ้ ยละของนักเรียนระดับชน้ั อนบุ าล มี สงั เกต

ผลประเมินพัฒนาการด้านสงั คม อยู่ใน

ระดับ ดี

ตวั ชี้วดั ความสำเร็จ วิธีการประเมิน 38
ร้อยละของผูเ้ รยี นมีความคดิ รวบยอด สงั เกตพฤติกรรม เคร่ืองมือทีใ่ ช้
เกย่ี วกับสิง่ ตา่ งๆทเ่ี กดิ จากการเรียนรู้ แบบสงั เกตพฤติกรรม
ร้อยละของผเู้ รยี นแก้ปญั หาได้เหมาะสม สงั เกตพฤติกรรม
กับวัย แบบสงั เกตพฤติกรรม
รอ้ ยละของผูเ้ รยี นมจี ิตนาการและ สังเกตพฤติกรรม
ความคดิ สรา้ งสรรค์ แบบสงั เกตพฤติกรรม

7. ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั
7.1 นกั เรียนมรี ่างกายและจิตใจทแ่ี ข็งแรงและเห็นประโยชน์ของการออกกำลงั กาย
7.2. นักเรยี นมนี ิสยั รักการออกกำลงั กายมากข้ึน
7.3 นกั เรยี นรู้จักการปฏิบตั ิกจิ กรรมส่งเสรมิ พัฒนาการดา้ นอารมณ์ – จติ ใจมากข้ึน
7.4 นักเรียนรจู้ กั การปฏิบัติกจิ กรรมส่งเสรมิ พฒั นาการดา้ นสงั คม มากขน้ึ
7.5 นักเรียนมคี วามคดิ รวบยอดเกย่ี วกับสง่ิ ต่างๆทีเ่ กิดจากการเรียนรู้
7.6 นกั เรยี นร้จู กั แกป้ ญั หาได้เหมาะสมกบั วยั
7.7 นักเรยี นมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์

ลงช่อื ......................................ผู้เสนอโครงการ ลงชือ่ .....................................ผู้เหน็ ชอบโครงการ
( นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ ) (นางสาวชนัญธิดา ใจสมทุ ร)
ครูโรงเรียนบ้านทุ่งยาว
รองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านทงุ่ ยาว

ลงชื่อ........................................ผู้อนมุ ตั ิโครงการ
(นางสาวพิมพป์ ระกาย ศรีไตรรตั น์)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นทุง่ ยาว

39

โครงการ ส่งเสริมพฒั นาการทั้ง 4 ดา้ น อยา่ งมีคณุ ภาพ
แผนงาน บริหารวชิ าการ ระดับปฐมวัย
สนองกลยทุ ธ์ท่ี กลยทุ ธท์ ่ี 1 ด้านการพฒั นาคุณภาพผู้เรียน
กลุยุทธ์ที่ 3 ด้านการสง่ เสริมกระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่
ลกั ษณะโครงการ เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ
ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ โครงการต่อเนื่อง
1. นางสาวเบญจวรรณ สีดำ
งบประมาณ 2. นางสมญา เกา้ เอ้ยี น
ระยะเวลาดำเนินการ 3. วา่ ที่ ร.ต.หญงิ สชุ าดา พลหลา
17,000 บาท
17 พฤษภาคม 2564 – 30 เมษายน 2565

1. หลกั การและเหตุผล
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มาตราที่ 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า

ผู้เรยี นทกุ คนมีความสามารถในการเรียนรแู้ ละพฒั นาตนเองไดแ้ ละถือว่าผูเ้ รยี นมีความสำคัญทสี่ ุด กระบวนการ
จัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ หลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัย พุทธศักราช 2560 กำหนดหลักการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย เพื่อพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
อย่างต่อเนื่อง ในรูปแบบบูรณาการไม่สอนเป็นรายวชิ า ยึดหลักบูรณาการท่ีว่า หนึ่งแนวคิดเด็กสามารถเรยี นรู้
ได้หลายกิจกรรม หนึ่งกิจกรรมเด็กสามารถเรียนรู้ได้หลายทักษะหลายประสบการณ์สำคัญ เด็กปฐมวัยจึง
จำเป็นต้องใชส้ ่ือนวัตกรรม ในการจัดกระบวนการเรยี นการสอนเพื่อให้เกิดความกระตือรือร้นในการเรยี นมาก
ยิ่งขึ้นโดยครเู ปน็ ผู้ผลิตส่ือ แล้วนำมาใช้ในการจดั การเรียนการสอน เด็กจะได้รับประสบการณ์และมนี วัตกรรม
ใหม่ ๆ ในการเรียนเพิ่มมากขึ้นและครูได้พัฒนาตนเอง เพื่อให้บรรลุตามจุดประสงค์ของโครงการซึ่งเป็นการ
ปฏิบัติทีเ่ ปน็ จริงตามมาตรฐานคุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์

ดังนั้น การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กในระดับปฐมวัยเป็นการจัดประสบการณ์ที่ยึดผู้เรียน
เป็นสำคัญจึงจำเป็นต้องมีสื่อการเรียนการสอนเพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ รับรู้และเข้าใจเนื้อหา สาระ ใน
แผนการจดั ประสบการณ์ โดยทคี่ รเู ปน็ ผ้เู อื้ออำนวยในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
2. วัตถปุ ระสงค์

2.1 เพือ่ นักเรยี นระดับปฐมวยั ในระดับชนั้ อนบุ าลปีท่ี 1 – 3 เห็นประโยชน์ของการออกกำลงั กาย
และมีสุขกายรา่ งกายทีแ่ ข็งแรง

2.2 เพอ่ื ให้นักเรยี นระดับปฐมวัย มีเจตคติที่ดีต่อกิจกรรมพัฒนาการด้านอารมณ์ – จติ ใจ
2.3 เพือ่ ใหเ้ ด็กปฐมวัยมีเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ กจิ กรรมพัฒนาการด้านสงั คม
2.4 เพอ่ื ให้เด็กสนใจเรียนรสู้ ิง่ รอบตัวซกั ถามอย่างต้ังใจและรักการเรียนรู้

40

2.5 เพ่อื ใหเ้ ดก็ มีความคดิ รวบยอดเก่ียวกับส่ิงตา่ งๆทีเ่ กดิ จากประสบการณก์ ารเรียนรู้

2.6 เพอ่ื ใหเ้ ด็กมีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกบั วยั

2.5 เพอ่ื ใหเ้ ดก็ มีทกั ษะทางวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์

2.6 เพื่อให้เด็กมจี ิตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์

3. เปา้ หมาย

3.1 เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ

1. นกั เรยี นระดับชัน้ อนุบาลร้อยละ 80 มรี า่ งกายท่ีแขง็ แรง และมีจติ ใจทแ่ี จม่ ใส

2. นกั เรียนระดับช้นั อนบุ าลรอ้ ยละ 80 มีนสิ ัยรกั การออกกำลงั กายเด็กปฐมวยั

3. นักเรียนระดบั ชน้ั อนบุ าลรอ้ ยละ 80 มีผลประเมินพฒั นาการดา้ นอารมณ์-จติ ใจ อยใู่ นระดบั ดี

4. นกั เรียนระดับชั้นอนบุ าลร้อยละ 80 มีผลประเมินพฒั นาการด้านสังคม อยู่ใน

ระดับ ดี

5. นกั เรียนระดบั ช้ันอนบุ าล ร้อยละ 80 มีความคิดรวบยอดเกยี่ วกบั สงิ่ ต่างๆ ทีเ่ กิดจากการเรียนรู้

6. นักเรยี นระดับช้ันอนบุ าล รอ้ ยละ 80 แก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย

7. นกั เรียนระดับชนั้ อนบุ าล รอ้ ยละ 80 มีจนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์

3.2 เปา้ หมายเชงิ คุณภาพ

1. นักเรียนระดับชั้นอนุบาล มีร่างกายที่แข็งแรง จิตใจแจ่มใส เห็นประโยชน์ของการออกกำลัง

กาย และมีนิสยั รกั การออกกำลงั กายเพ่ิมมากข้นึ

2. นักเรียนระดับชั้นอนุบาล มีพัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจ ที่ดี และพร้อมที่จะเรียนรู้ในเรื่อง

ใหม่ ๆ อยเู่ สมอ

3. นักเรียนระดับชั้นอนุบาล มีพัฒนาการด้านสังคมที่ดีขึ้น สามารถเล่นและทำกิจกรรมร่วมกับ

ผู้อน่ื ไดด้ ขี ้นึ

4. นกั เรยี นระดับชั้นอนุบาล มที ักษะดา้ นความคดิ รวบยอดเกย่ี วกบั สิง่ ต่าง ๆ ที่เกดิ จากการเรียนรู้

4. กจิ กรรมและการดำเนินการ

กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ ับผดิ ชอบ

ดำเนินงาน

1. สำรวจสภาพปจั จบุ ันปัญหา พฤษภาคม - นางสาวเบญจวรรณ สีดำ

และความต้องการ 2564 นางสมญา เก้าเอยี้ น

ว่าท่ี ร.ต.หญิง สุชาดา พลหลา

2. จดั ทำโครงการเสนอต่อ พฤษภาคม - นางสาวเบญจวรรณ สีดำ

ผบู้ ริหาร 2564 นางสมญา เกา้ เอยี้ น

41

กจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รบั ผิดชอบ
ดำเนินงาน
3. ประชมุ ชี้แจงโครงการเพอื่ ว่าที่ ร.ต.หญงิ สุชาดา พลหลา
ขออนมุ ตั ิ พฤษภาคม - นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ
2564
4. แต่งตง้ั คณะกรรมการ นางสมญา เก้าเอ้ยี น
พฤษภาคม วา่ ท่ี ร.ต.หญงิ สุชาดา พลหลา
5. วางแผนดำเนินการ 2564 - นางสาวเบญจวรรณ สีดำ
นางสมญา เก้าเอยี้ น
6. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามโครงการ พฤษภาคม ว่าท่ี ร.ต.หญิง สชุ าดา พลหลา
ซง่ึ มีกิจกรรมดังนี้ 2564 - นางสาวเบญจวรรณ สีดำ
1. กิจกรรมการผลิตสือ่ ตลอดปี นางสมญา เก้าเอี้ยน
สร้างสรรคส์ ำหรบั เดก็ ปฐมวัย ว่าท่ี ร.ต.หญงิ สชุ าดา พลหลา
2. กิจกรรมจดั นทิ รรศการ / การศึกษา
ปา้ ยนเิ ทศ 2564 3,000 นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ
3. กิจกรรมการประกอบอาหาร นางสมญา เกา้ เอ้ียน
(cooking) สำหรับเด็กปฐมวัย
4. กิจกรรมปลกู ฝังและส่งเสรมิ 500 วา่ ท่ี ร.ต.หญิง สุชาดา พลหลา
การออม
5. กจิ กรรมการละเลน่ พื้นบ้าน 1,500
ไทย
6. กิจกรรมส่งเสริมการจัดการ 1,500
เรยี นรู้ตามหลักเศรษฐกิจ 1,000
พอเพียง 2,000
7. กิจกรรมห้องเรยี นในฝนั
8. กิจกรรมศลิ ปะ ดนตรี กีฬา 6,000
พาสนุก 1,000
9. กจิ กรรมวันสำคญั ต่างๆ
1,000

42

กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ

7. ครูทำเกณฑก์ ารประเมนิ ดำเนนิ งาน
พฤติกรรมเด็กระหวา่ ง
ดำเนินการจดั กิจกรรม มนี าคม 2565 - นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ
8. ประเมนิ พฤติกรรมเด็ก
ระหวา่ งดำเนินกจิ กรรม นางสมญา เกา้ เอ้ยี น

9. จัดทำแบบประเมินโครงการ ว่าที่ ร.ต.หญิง สุชาดา พลหลา

10. ประเมนิ ความพึงพอใจของ มีนาคม 2565 - นางสาวเบญจวรรณ สีดำ
ผเู้ ก่ียวขอ้ ง
นางสมญา เกา้ เอ้ียน
11. สรุปผลและรายงานผล
ว่าที่ ร.ต.หญงิ สุชาดา พลหลา

มีนาคม 2565 - นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ

นางสมญา เก้าเอย้ี น

ว่าที่ ร.ต.หญงิ สุชาดา พลหลา

เมษายน - นางสาวเบญจวรรณ สีดำ

2565 นางสมญา เก้าเอย้ี น

วา่ ท่ี ร.ต.หญิง สชุ าดา พลหลา

เมษายน 500 นางสาวเบญจวรรณ สีดำ

2565 นางสมญา เก้าเอยี้ น

วา่ ท่ี ร.ต.หญิง สชุ าดา พลหลา

5. รายละเอียดการใชง้ บประมาณ เงนิ งบประมาณ รวม เงินนอก รวม
ใช้สอย วสั ดุ งบประมาณ
ท่ี กจิ กรรม ตอบแทน
3,000 3,000
1. กิจกรรมการผลติ สื่อสรา้ งสรรค์
สำหรับเด็กปฐมวัย 500 500

2. กิจกรรมจดั นิทรรศการ / ป้าย 1,500 1,500
นิเทศ
1,500 1,500
3. กิจกรรมการประกอบอาหาร 1,000 1,000
(cooking) สำหรบั เดก็ ปฐมวัย

4. กจิ กรรมปลกู ฝังและสง่ เสริมการ
ออม

5. กจิ กรรมการละเลน่ พื้นบ้านไทย

43

ที่ กิจกรรม ตอบแทน เงินงบประมาณ รวม เงนิ นอก รวม
ใชส้ อย วัสดุ งบประมาณ
6. กิจกรรมส่งเสรมิ การจดั การ
เรยี นรู้ตามหลกั เศรษฐกิจ 2,000 2,000
พอเพยี ง
6,000 6,000
7. กิจกรรมห้องเรียนในฝัน 1,000 1,000
8. กิจกรรมศลิ ปะ ดนตรี กีฬา พา
500 500
สนกุ 500 16,500 17,000
9. กจิ กรรมวันสำคัญต่างๆ
10. คา่ เขา้ เล่ม

รวม

6. การประเมินผล

ตวั ชวี้ ัดความสำเร็จ วิธีการประเมนิ เคร่ืองมอื ท่ใี ช้
การสังเกต
ร้อยละของนักเรียนระดบั ชั้นอนบุ าล มี สงั เกต แบบสอบถามความพงึ พอใจ
แบบประเมิน
ร่างกายทแ่ี ข็งแรง และจิตใจที่แขง็ แรง
แบบประเมนิ
รอ้ ยละของนักเรียนระดบั ชัน้ อนุบาลมี แบบสอบถามความพงึ พอใจ
แบบสังเกตพฤติกรรม
นิสัยรกั การออกกำลังกาย แบบสงั เกตพฤติกรรม
แบบสงั เกตพฤติกรรม
ร้อยละของนักเรียนระดบั ชัน้ อนุบาล มี สงั เกต

ผลประเมินพัฒนาการดา้ นอารมณ์-จิตใจ

อยใู่ นระดบั ดี

รอ้ ยละของนักเรียนระดบั ชั้นอนุบาล มี สงั เกต

ผลประเมินพฒั นาการด้านสังคม อยู่ใน

ระดบั ดี

ร้อยละของผ้เู รยี นมีความคิดรวบยอด สังเกตพฤติกรรม

เก่ยี วกับส่งิ ตา่ งๆทเ่ี กดิ จากการเรียนรู้

รอ้ ยละของผเู้ รยี นแก้ปญั หาได้เหมาะสม สงั เกตพฤติกรรม

กบั วัย

รอ้ ยละของผ้เู รียนมีจิตนาการและ สังเกตพฤตกิ รรม

ความคดิ สรา้ งสรรค์

44

7. ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ
7.1 นกั เรียนมรี ่างกายและจิตใจท่แี ข็งแรงและเห็นประโยชน์ของการออกกำลังกาย
7.2 นักเรยี นมีนิสยั รักการออกกำลังกายมากขึน้
7.3 นักเรยี นรจู้ ักการปฏบิ ัติกิจกรรมส่งเสริมพฒั นาการด้านอารมณ์ – จติ ใจมากข้ึน
7.4 นักเรียนรจู้ ักการปฏิบัติกิจกรรมสง่ เสรมิ พัฒนาการด้านสังคม มากขน้ึ
7.5 นักเรยี นมคี วามคดิ รวบยอดเก่ียวกับสิง่ ต่างๆทีเ่ กิดจากการเรยี นรู้
7.6 นักเรยี นรจู้ กั แกป้ ญั หาไดเ้ หมาะสมกบั วยั
7.7 นักเรียนมีจินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์

ลงช่อื ......................................ผเู้ สนอโครงการ ลงชื่อ.....................................ผู้เห็นชอบโครงการ
( นางสาวเบญจวรรณ สีดำ ) (นางสาวชนญั ธดิ า ใจสมทุ ร)
ครูโรงเรียนบา้ นทุ่งยาว
รองผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นท่งุ ยาว

ลงช่อื ........................................ผู้อนุมัตโิ ครงการ
(นางสาวพิมพป์ ระกาย ศรีไตรรัตน์)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านทงุ่ ยาว


Click to View FlipBook Version