The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านทุ่งยาว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thungyao.49, 2021-11-03 02:25:08

แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2564

แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านทุ่งยาว

Keywords: แผน

45

โครงการ นเิ ทศภายในโรงเรยี น

แผนงาน การจดั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน / งานวิชาการ

สนองกลยทุ ธท์ ่ี กลยุทธ์ที่ 2 ดา้ นการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพกระบวนการบริหารและ

การจดั การ

กลยทุ ธ์ที่ 3 ด้านการส่งเสรมิ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ี

เน้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั

ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง

ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ 1. นางงามตา สุจริตธรุ ะการ

2. นางอาริน อภยั พงค์

3. นางสาวจุรีรตั น์ พากเพยี ร

4. นางสาวปรยี าดา เกยี งเอีย

5. นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ

งบประมาณ 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินการ พฤษภาคม 2564 – เมษายน 2565

.............................................................................................. ..............................................................................

1. หลักการและเหตุผล

การจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานตามพระราชบัญญัติการศกึ ษาพุทธราช 2542 ตามมาตรา 22 ทกี่ ำหนดว่า

การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ พัฒนาสร้างสรรค์

นวัตกรรมใหม่ จัดกระบวนการเรียนการสอนที่กระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงออกซึ่งความรู้ความสามารถ เน้นการ

พัฒนานักเรียนเป็นรายบุคคล โดยผ่านกระบวนการแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ ทำให้ผู้เรียนสามารถ

รวบรวมข้อมูล เข้าใจข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล นำไปสู่องค์ความรู้ใหม่ ผู้เรียนสามารถประเมินผล

ความรู้ได้ด้วยตนเองและมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ ที่สอดคล้องกับ

มาตรฐานที่ 2 และ 3

ภารกิจหลักของโรงเรียน คือ การจัดกระบวนการเรียนการสอนให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้เต็มตาม

ศักยภาพเป็นการเรียนรู้ตามความต้องการตามความสนใจของผู้เรียนและเรียนรู้อย่างมีความสุข กระบวนการ

เรียนการสอนต้องยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยครูต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนการสอนใหม่ ซึ่งการ

ดําเนินการดังกล่าวจะสําเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้นั้น โรงเรียนต้องมีกระบวนการนิเทศ ติดตามอย่างต่อเนื่อง

และเป็นระบบ สามารถให้คําแนะนำ คำปรึกษาหารือและช่วยเหลือครูในการแก้ปัญหาการเรียนการสอน

ตลอดจนส่งเสริมให้ครูได้ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และวางแผนการสอนร่วมกัน

จนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเอง

สร้างองค์ความรู้และเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต ซึ่งการนิเทศภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนจัดการเรียนการ

สอน ซึง่ เป็นการบรหิ ารวิชาการทม่ี ีเป้าหมายให้ครูมีความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ เทคนคิ วธิ กี ารจัดการเรียนการ

สอนให้บรรลุเป้าหมายของหลักสตู รเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัย

46

พัฒนากระบวนการเรียนรู้ โดยคำนึงถึงความแตกตา่ งระหว่างบุคคลของผูเ้ รียน และการใช้หลักสูตรการศึกษา

ข้ันพ้ืนฐานใหบ้ รรลุจดุ หมายที่กำหนดไว้ ใหก้ ารพฒั นาคุณภาพการศึกษาเป็นไปอยา่ งต่อเนื่อง จึงจัดทำโครงการ

นี้ข้นึ มา

2. วัตถปุ ระสงค์

2.1 เพอ่ื ให้คำแนะนำในด้านวชิ าการแก่ครูในโรงเรยี นในการจัดการเรยี นการสอนอยา่ งมี

ประสิทธภิ าพ

2.2 เพ่อื กำกับติดตามให้คำปรึกษาแกค่ ณะครใู นการปฏิบตั ิงานการเรยี นการสอน และงาน

โครงการ

2.3 เพ่อื ให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน บรรลุเปา้ หมายทีโ่ รงเรยี นกำหนดไว้

3.เปา้ หมาย

3.1 ด้านปรมิ าณ

1. ครรู อ้ ยละ 75 จดั การเรยี นการสอนได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

2. ผ้บู รหิ ารโรงเรียนเย่ียมชั้นเรียนอย่างน้อยภาคเรยี นละ 1 คร้งั

3. ประชุมทางวชิ าการอย่างน้อยเดอื นละ 1 ครั้ง

3.2 ดา้ นคณุ ภาพ

1. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนทุกระดับชัน้ บรรลเุ ป้าหมาย ร้อยละ 73 และผลการสอบ

ระดบั ชาตขิ อง ป.3 ,ป.6 ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50

2. บรรยากาศในหอ้ งเรียนสอดคล้องกบั การเรยี นการสอน

4. กจิ กรรม

4.1 ภารกจิ ตามโครงการ

1. จดั ทำแผนนิเทศภายในโรงเรยี น ปกี ารศึกษา 2563

2. ประชุมเตรยี มความพร้อมเปิดภาคเรียน

3. บริการให้คำปรกึ ษา

4. ผูบ้ รหิ าร คณะครู ประชมุ วิชาการครูอยา่ งน้อยเดือนละ 1 คร้งั

5. ผบู้ ริหาร/ครทู ไ่ี ด้รับมอบหมาย ออกเย่ียมชัน้ เรียน แนะนำการปฏิบัติงาน อยา่ งน้อย ภาค

เรยี นละ 1 ครั้ง

6. คณะครู ดำเนนิ การสอนซ่อมเสริมตามปฏิทิน

7. สรุปผลการนิเทศ

4.2 กิจกรรมดำเนินการ

กจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รบั ผดิ ชอบ
ดำเนินการ

1. ประชมุ ช้ีแจงเสนอขออนุมัตโิ ครงการ พ.ค.64 - ผู้บรหิ าร/ครูทุกคน

2. ดำเนนิ งานตามโครงการ

47

- ประชุมวางแผน แต่งตง้ั คณะกรรมการมอบหมาย พ.ค.64 -
งาน
- จัดทำแผนนเิ ทศภายในโรงเรียน พ.ค.64 -
กจิ กรรมท่ี 1 ประชุมเตรยี มความพร้อมเปิดภาค
เรยี น มิ.ย.64 -
ขั้นตอนการดำเนนิ กิจกรรม ม.ิ ย.64 -
1. ประชุมคณะครูทุกคน ชแ้ี จงทำความเขา้ ใจ มิ.ย.64 -
2. แต่งตง้ั ผรู้ ับผิดชอบ มิ.ย.64 -
3. ประชมุ มอบหมายหนา้ ที่ ความรับผดิ ชอบ
4. ตรวจประเมนิ ผลรายงานตามที่ได้รบั มอบหมาย มิ.ย.64 -
กิจกรรมท่ี 2 การให้คำปรึกษา มิ.ย.64 -
ขน้ั ตอนการดำเนินกจิ กรรม มิ.ย.64 – ม.ี ค.65 -
1. ประชุมคณะครทู ุกคน ชแี้ จงทำความเข้าใจ ต.ค.64 , มี.ค.65 -
2. แตง่ ตัง้ ผูร้ บั ผิดชอบ ต.ค.64 , ม.ี ค.65 250
3. บริการใหค้ ำปรึกษา
4. ประเมนิ ผลเมือ่ สิ้นภาคเรยี น พ.ค.64 -
5. สรปุ วเิ คราะหร์ ายงานผล
กิจกรรมท่ี 3 ประชุมวิชาการ พ.ค.64 -
ขน้ั ตอนการดำเนินกิจกรรม
1. ประชมุ คณะครูทุกคน ชี้แจงทำความเขา้ ใจ ทุกเดือน -
แต่งตั้งผู้รบั ผิดชอบ ทกุ เดือน -
2. ผบู้ รหิ าร คณะครู ประชมุ วิชาการครูอย่างนอ้ ย พ.ค.64 , ม.ี ค.65 250
เดือนละ 1 ครั้ง
3. ตรวจประเมนิ ผลทกุ สิ้นเดือน พ.ค.64 ผ้บู ริหาร/ครูทกุ คน
4. ประเมินผลเม่อื ส้นิ ภาคเรยี น -
5. สรุปวเิ คราะหร์ ายงานผล
กิจกรรมที่ 4 เยยี่ มชั้นเรียน
ขน้ั ตอนการดำเนนิ กจิ กรรม
1. ประชุมคณะครทู ุกคน ชี้แจง ทำความเข้าใจ
แต่งตัง้ ผ้รู บั ผิดชอบ

2. ผ้บู รหิ าร/ครทู ไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ออกเยีย่ มชั้น มิ.ย.64 48
เรยี น แนะนำการปฏิบตั ิงาน อย่างน้อยภาคเรยี น
ละ 1 ครงั้ ทกุ ภาคเรยี น - ผบู้ ริหาร/ครูทไี่ ด้รบั
3. ตรวจประเมนิ ผลเม่ือสน้ิ ภาคเรียน ทุกภาคเรียน มอบหมายผู้บริหาร
4. ประเมนิ ผลเม่ือสน้ิ ภาคเรียน ต.ค.64 , ม.ี ค.65
5. สรุปวเิ คราะห์รายงานผล -
กิจกรรมที่ 5 การสอนซ่อมเสริม พ.ค.64 ครูวชิ าการ
ข้ันตอนการดำเนนิ กจิ กรรม ม.ิ ย.64 งามตา
1. ประชมุ คณะครูทุกคน ชแี้ จง ทำความเข้าใจ มิ.ย.64-มี.ค.65
2. แตง่ ตั้งผู้รบั ผดิ ชอบ กำหนดปฏิทินซ่อมเสริม ทุกเดอื น -
3. คณะครู ดำเนนิ การสอนซ่อมเสรมิ ตามปฏทิ นิ ม.ี ค.65 -
4. ตรวจประเมนิ ผลทุกสนิ้ เดือน มี.ค.65 250
5. ประเมินผลเมือ่ สิน้ ภาคเรยี น มี.ค.65
6. สรุปวิเคราะหร์ ายงานผล ผู้บริหาร/ครูทุกคน
7. ติดตามสรปุ ผลรายงาน ครวู ิชาการ
- ครูทุกคน
- ผู้บริหาร
- ครวู ิชาการ
- งามตา
- งามตา
250
-

5. รายละเอียดการใชง้ บประมาณ

ท่ี กจิ กรรม ตอบ จำแนกตามหมวดรายจ่าย เงนิ นอก รวม
แทน งบประมาณ
1. จัดซือ้ กระดาษ ใชส้ อย วัสดุ รวม 500
2. จดั พมิ พ์,เย็บเล่ม - - 500
- - 500 500
500 - 500

รวม 500 500 1,000 - 1,000

6. การประเมินผล วธิ ีการประเมินผล เคร่อื งมือทีใ่ ช้
ตวั ชว้ี ดั ความสำเร็จ 1. สงั เกต 1. แบบบันทกึ การสงั เกต
2. ตรวจแบบบันทึก 2. แบบบนั ทกึ การนิเทศ
1. ความรบั ผิดชอบ
2. การนเิ ทศเป็นไปตามแผนท่ี
วางไว้

49

ตัวชวี้ ดั ความสำเรจ็ วิธกี ารประเมนิ ผล เครื่องมอื ที่ใช้
3. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของ 3. วดั ผลสมั ฤทธ์ิ 3.การทดสอบ
นกั เรียนเปน็ ไปตามเป้าท่วี างไว้
4. ความพอใจของครู 4. สำรวจความพงึ พอใจ 4. แบบสำรวจความพงึ พอใจ

7. ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ บั
7.1 งาน / กิจกรรม /โครงการต่าง ๆ ของโรงเรียน บรรลเุ ปา้ หมายทตี่ ัง้ ไว้
7.2 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นทุกระดับชัน้ สงู ข้นึ
7.3 โรงเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ

ลงช่ือ ........................................... ผเู้ สนอโครงการ ลงชื่อ.........................................ผเู้ หน็ ชอบโครงการ
(นางงามตา สุจรติ ธุระการ) (นางสาวชนัญธิดา ใจสมุทร)
ครูโรงเรยี นบา้ นทงุ่ ยาว
รองผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นทุ่งยาว

ลงช่อื ........................................ผูอ้ นุมตั ิโครงการ
(นางสาวพิมพป์ ระกาย ศรไี ตรรัตน)์

ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งยาว

50

โครงการ โครงการพฒั นาห้องสมุดโรงเรียนและสง่ เสริมนิสยั รักการอา่ น

แผนงาน การจัดการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน / งานวิชาการ

สนองกลยุทธท์ ี่ กลยทุ ธ์ที่ 1 ดา้ นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

กลุยทุ ธ์ที่ 3 ด้านการส่งเสรมิ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียน

เปน็ สำคญั

ลักษณะโครงการ โครงการต่อเน่ือง

ผรู้ ับผิดชอบ 1. นางสาวปรียาดา สธุ ีรพงศ์

2. นางสาวจุรีรตั น์ พากเพียร

3. นางงามตา สุจรติ ธุระการ

4. นางสาวนาถยา แสงเงิน

งบประมาณ 8,660 บาท

ระยะเวลาดำเนนิ การ พฤษภาคม 2564 – มนี าคม 2565

............................................................................................................................. .................................................

1. หลักการและเหตุผล

เนื่องจากตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 มาตรา 54 บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันใน

การรับการศึกษาไม่น้อยกวา่ สบิ สองปี ทร่ี ัฐจะตอ้ งจัดให้อย่างทัว่ ถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ผู้ยากไร้

ผู้พิการหรือทุพพลภาพ หรือผู้อยู่ในสภาวะยากลำบาก ได้รับสิทธิและการสนับสนุนจากรัฐเพื่อให้ได้รับ

การศกึ ษาโดยทัดเทยี มกนั

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 “การศึกษา”หมายความว่ากระบวนการ

เรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึกอบรม การสืบสานทาง

วัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัด

สภาพแวดล้อม สังคมการเรียนรู้และปจั จยั เก้ือหนนุ ใหบ้ ุคคลเรียนรอู้ ย่างต่อเน่ืองตลอดชวี ิต

“การศึกษาตลอดชีวิต” หมายความว่าการศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ

การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เพ่ือให้สามารถพัฒนาคณุ ภาพชีวิตได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต

“มาตรฐานการศึกษา” หมายความว่า ข้อกำหนดที่เกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ และ

มาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง และเพื่อใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสำหรับการส่งเสรมิ

และกำกับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพการศึกษา

มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้

และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม

ธรรมชาติ และเตม็ ศักยภาพ

มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรยี นรู้ ใหส้ ถานศึกษาและหนว่ ยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ ดงั ตอ่ ไปนี้

(1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ และความถนัดของผู้เรียน โดยคำนึงถึง

ความแตกต่างแตล่ ะบคุ คล

51

(2) ฝกึ ทักษะ กระบวนการคิด การจัดการเผชิญสถานการณ์ และการประยกุ ต์ความร้มู าใช้เพื่อป้องกัน
และแกไ้ ขปญั หา

(3) จัดกจิ กรรมใหผ้ ูเ้ รยี น ได้เรยี นจากประสบการณ์จรงิ ฝึกการปฏิบตั ิ ใหท้ ำได้ คดิ เปน็ ทำเปน็ รักการ
อา่ น และเกดิ การใฝ่รู้อยา่ งตอ่ เน่อื ง

(4) จัดการเรียนการสอนผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุล รวมทั้งปลูกฝัง
คณุ ธรรม ค่านิยมที่ดงี าม และคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา

(5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความ
สะดวก เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรยี นรู้และมีความรอบรู้ รวมท้ังสามารถใช้การวิจยั เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ
เรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอน และแหล่งวิทยาการประเภท
ต่างๆ

(6) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่มีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา
ผูป้ กครอง และบคุ คลในชุมชนทกุ ฝา่ ย เพอ่ื รว่ มกันพัฒนาผ้เู รยี นเต็มตามศักยภาพ

จากรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ.2560 และพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542
และที่แกไ้ ขเพ่ิมเติม กำหนดใหบ้ ุคคลยอ่ มมีสทิ ธเิ สมอกนั ในการไดร้ ับการศึกษาไม่น้อยกวา่ สบิ สองปี ท่รี ัฐต้องจัด
ให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เจริญงอกงาม เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ัง
ร่างกาย จิตใจ สติปญั ญา ความรู้ และคุณธรรม อยใู่ นสงั คมอย่างมคี วามสุข

การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่า
ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาตามธรรมชาติ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่าง
บุคคลและเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ เพ่ือให้เกดิ การพฒั นาได้อย่างเต็มศักยภาพ

ห้องสมุดเป็นหัวใจของโรงเรียน เป็นแหล่งรวบรวมความรู้เป็นที่ที่ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียน
การสอนตามหลกั สูตร หนังสือและสอื่ ในหอ้ งสมดุ นำนกั เรยี นไปสปู่ ระสบการณใ์ หม่ ๆ ซงึ่ มีท้งั ความรแู้ ละความ
เพลดิ เพลิน ทงั้ ยังชว่ ยเสริมสรา้ งจนิ ตนาการและสร้างความตระหนักและเข้าใจสังคม วัฒนธรรมท่หี ลากหลาย

โรงเรียนบ้านทุ่งยาว ซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่งที่รับผิดชอบ ด้านการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน และการ
พัฒนาห้องสมุดใหเ้ ป็นแหล่งเรียนรู้ทส่ี ่งเสรมิ สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร และการแสวงหา
ความร้ดู ้วยตนเอง ได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการกิจกรรมส่งเสริมนสิ ัยรักการอ่านและ
พัฒนาห้องสมดุ โรงเรียนนข้ี ึ้น

2. วัตถปุ ระสงค์
2.1 เพอ่ื พัฒนาห้องสมดุ ใหเ้ ปน็ แหลง่ เรียนรู้ สำหรับนักเรยี นบุคลากรและชุมชน
2.2 เพอ่ื สง่ เสริมให้นักเรียน บุคลากร และชมุ ชน มีนิสยั รกั การอ่าน
2.3 เพ่ือจดั กจิ กรรม ส่งเสริมการอ่าน และการเรยี นรู้ 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้ ตามมาตรฐาน ส่งเสริม

การอ่าน และการเรยี นรอู้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
2.5 เพื่อส่งเสริมนักเรยี นได้ฝึกฝนทกั ษะการอา่ นนำไปสู่การคดิ การเขยี นไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ

52

2.6 เพอื่ เพิม่ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นให้สงู ขนึ้

3. เปา้ หมาย
3.1 เป้าหมายเชิงปรมิ าณ

3.1.1 ห้องสมุด มีการจัดระบบบริหารจัดการ ที่มีประสิทธิภาพ สามารถให้บริการ และเป็นแหล่ง
เรียนรแู้ ก่ นักเรยี น บุคลากร ชมุ ชน อยู่ในระดับคณุ ภาพดมี าก

3.1.2 นกั เรยี นร้อยละ 80 มีนสิ ยั รกั การอา่ นและรูจ้ กั ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์
3.1.3 นักเรยี น รอ้ ยละ 100 ไดเ้ ข้าใช้บรกิ ารหอ้ งสมดุ
3.2 เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ
3.2.1 ห้องสมุดมีหนงั สือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ใหบ้ รกิ ารแกน่ ักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนอย่าง
เพยี งพอ
3.2.2 นักเรยี นสามารถคน้ หาข้อมูลได้ดว้ ยตนเอง และเป็นศูนย์การเรยี นรู้ของนักเรียน และบุคลากร
ในโรงเรียน
4. กิจกรรมการดำเนนิ การงาน

กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ งบประมาณ ผรู้ บั ผิดชอบ

1.ขัน้ เตรยี มการ พฤษภาคม 2564 ผอู้ ำนวยการ/คณะครู
1.1 แตง่ ตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน -

1.2 ประชุมช้ีแจง คณะกรรมการดำเนนิ งาน

1.3 กำหนดรายละเอยี ดของกิจกรรมต่างๆ

2. การพัฒนาห้องสมุดโรงเรยี น มิถนุ ายน 2564 – 5,000 นางสาวปรียาดา
2.1 จัดหาทรพั ยากรหอ้ งสมุด กมุ ภาพันธ์ 2565 สุธรี พงศ์/นักเรียนที่
2.2 ลงทะเบียน จัดหมวดหมู่ ไดร้ ับมอบหมาย
2.3 การซ่อมแซมหนังสือ พฤษภาคม 2564 –
2.4 สำรวจ และจำหนา่ ยออก มนี าคม 2665 นางสาวปรียาดา
3. กิจกรรมส่งเสรมิ นิสยั รกั การอ่าน 3,660 สธุ ีรพงศ/์ ครูประจำ
- ทำปา้ ยนเิ ทศความรทู้ วั่ ไป
- จดั นิทรรศการหนงั สือใหม่ ชนั้ ป.4-6
- มมุ อาเซยี นศึกษา
- กิจกรรมบนั ทึกการอ่าน
- กิจกรรมนำเสนอหนา้ เสาธง

กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ งบประมาณ 53
- กจิ กรรมนำเสนอ ภาษาอังกฤษ/ภาษาไทย/ มนี าคม 2565 ผรู้ ับผดิ ชอบ
สำนวนไทย/พทุ ธสุภาษิต หน้าเสาธง
ครูประจำชนั้ ป.1-6
- กิจกรรมมมุ รักการอ่านประจำห้องเรยี น - นางสาวปรยี าดา
รายงานผลการดำเนินโครงการ
สธุ ีรพงศ์

5. รายละเอยี ดการใชง้ บประมาณ

ท่ี กจิ กรรม งบประมาณ เงนิ นอก รวม
ใชส้ อย วสั ดุ รวม งบประมาณ
ตอบแทน 5,000 - 5,000
- 5,000
1. การพัฒนาห้องสมดุ - 3,660 - 3,660
- 3,660
โรงเรยี น

2.1 จัดหา

ทรพั ยากรห้องสมดุ

2.2 ลงทะเบียน จดั

หมวดหมู่

2.3 การซ่อมแซมหนังสอื

2.4 สำรวจ และจำหน่าย

ออก

2. กิจกรรมส่งเสรมิ นิสยั รกั -

การอา่ น

- ทำป้ายนิเทศความรู้

ท่วั ไป

- จดั นทิ รรศการหนังสือ

ใหม่

- มมุ อาเซยี นศึกษา

- กจิ กรรมบนั ทึกการอ่าน

- กจิ กรรมนำเสนอหน้าเสาธง

- กจิ กรรมนำเสนอ

ภาษาอังกฤษ/ภาษาไทย/

สำนวนไทย/พทุ ธสุภาษิต

หน้าเสาธง

ที่ กิจกรรม ตอบแทน งบประมาณ 54
- ใชส้ อย วสั ดุ เงินนอก รวม
- กิจกรรมมุมรักการอา่ น รวม งบประมาณ
ประจำหอ้ งเรียน - 8,660
8,660 - 8,660
รวม

6. การประเมนิ ผล วธิ ีประเมิน เครือ่ งมอื
ตวั ชคี้ วามสำเร็จ สังเกต สมดุ บันทึกการอา่ น

1. ผูเ้ รยี นร้อยละ 100 อ่านหนงั สืออยา่ งนอ้ ย 1 สังเกต แบบบนั ทึกการอ่าน
เลม่ /สปั ดาห์ สงั เกต แบบบนั ทกึ การรว่ มกิจกรรม
2. ผูเ้ รียนร้อยละ 80 มกี ารบันทึกการอ่าน
3. ผ้เู รยี นไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 เข้ารว่ ม
กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน

7. ผลทค่ี าดวา่ จะได้รบั
7.1 นักเรียนเขา้ มาใชบ้ รกิ ารของห้องสมดุ มากขึ้น นักเรยี นมีความรคู้ วามเข้าใจ และสามารถหาความรู้

ดว้ ยตนเองได้
7.2 นกั เรยี นมรี ะเบยี บวนิ ยั มมี ารยาทในการใช้หอ้ งสมดุ
7.3 ห้องสมดุ จะไดร้ บั การปรงั ปรุงเพ่ือเปน็ ศนู ย์กลางการค้นคว้าหาความรู้
7.4 นกั เรยี นมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นสงู ข้ึน สนองนโยบายเรง่ ดว่ นของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

ตรงั เขต 1

ลงช่อื ........................................... ผู้เสนอโครงการ ลงชอ่ื .........................................ผเู้ ห็นชอบโครงการ
(นางสาวปรียาดา สธุ รี พงศ์) (นางสาวชนัญธดิ า ใจสมุทร)
ครูโรงเรียนบ้านทุ่งยาว
รองผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านทุง่ ยาว

ลงชื่อ........................................ผู้อนุมัตโิ ครงการ
(นางสาวพิมพป์ ระกาย ศรีไตรรตั น์)

ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นทงุ่ ยาว

55

โครงการ ประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา

แผนงาน การจดั การศึกษาขั้นพื้นฐาน /งานวิชาการ

สนองกลยุทธ์ กลยทุ ธ์ท่ี 2 ด้านการเพ่มิ ประสิทธภิ าพกระบวนการบรหิ ารและ

การจัดการ

ลกั ษณะโครงการ โครงการตอ่ เน่ือง

หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ โรงเรยี นบ้านทุง่ ยาว

ผู้รับผิดชอบ นางแสงดาว ไพบลู ย์

งบประมาณ 1,500 บาท

ระยะเวลาดำเนนิ การ พฤษภาคม 2564 - มีนาคม 2565

………………………………………………………………………………………………………..........................................................

1. หลักการและเหตุผล

ด้วยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม หมวด 6 มาตรฐานและการ

ประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา ๔๘ บัญญัติไว้ว่า“ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการ

ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ

บริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด

หนว่ ยงานท่เี กย่ี วข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพ่อื นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และ

เพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก”การประกันคุณภาพการศึกษาจึงเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนา

คณุ ภาพการศึกษา เพราะเปน็ ระบบทส่ี ร้างความมั่นใจให้ทั้งผ้บู รหิ าร ครูและบคุ ลากรของสถานศึกษา ตลอดจน

ผู้ปกครอง ชุมชนและสังคมเชื่อมั่นได้ว่าสถานศึกษาสามารถจัดการศึกษา ให้มีคุณภาพมาตรฐานอย่างมี

ประสิทธิภาพ ผูส้ ำเร็จการศกึ ษาต้องมีความรคู้ วามสามารถ มีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ตามทห่ี ลกั สูตรกำหนด

และสังคมต้องการ

ฉะนั้น ทางสถานศึกษาจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและเป็นการสนองนโยบาย

ดังกล่าว ซึ่งโรงเรียนได้พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในได้ดีระดับหนึ่งแล้ว และยังมีบางมาตรฐานที่

โรงเรียนจำเป็นต้องพัฒนาให้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดซึ่งต้องมีการปรับปรุงและพัฒนาให้ได้มาตรฐานในการ

ประเมินครั้งตอ่ ไป

2. วตั ถุประสงค์
2.1 เพ่อื พัฒนาระบบการประกนั คุณภาพภายในให้ไดม้ าตรฐาน
2.2 เพ่ือส่งเสรมิ การพฒั นาคุณภาพของครู นักเรยี นและผู้ท่ีเกย่ี วข้อง
2.3 เพ่ือตรวจสอบคุณภาพและผลการปฏิบตั งิ านของโรงเรียนตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา

ของสถานศึกษา
2.4 เพือ่ รายงานผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนต่อหนว่ ยงานท่เี ก่ยี วข้อง

และสาธารณชน

56

2.1.5 เพอื่ เตรียมความพร้อมในการรบั การประเมินจากองคก์ รภายนอก

3. เปา้ หมาย

3.1 ด้านปรมิ าณ

3.1.1 ผู้บรหิ าร ครู นกั เรยี น รอ้ ยละ 100 ได้รบั การประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา

3.2 ดา้ นคุณภาพ

3.2.1 นกั เรียนไดร้ ับการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาเตม็ ตามศักยภาพ

3.2.2 บุคลากรในโรงเรียนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ สามารถปฏิบัติกจิ กรรมในกระบวนการพัฒนา

การศึกษาได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดและทำงานอย่างเปน็ ระบบ

3.2.3 ครแู ละบุคลากรภายในโรงเรียนทุกคนมคี ุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน

4. กิจกรรมและการดำเนนิ การ

กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผ้รู บั ผิดชอบ

ดำเนนิ งาน

1.ประชมุ ช้ีแจงเสนอขออนุมัติโครงการ พฤษภาคม 64 1,500 บาท นางแสงดาว

2.แตง่ ตั้งคณะทำงานจดั ทำรายงานประจำปี ผู้บรหิ าร

การศกึ ษา 2564

3.ดำเนินงานตามโครงการ

3.1 การตรวจสอบ ทบทวนคุณภาพภายใน ครวู ชิ าการ

สถานศกึ ษา

3.2 ตรวจสอบและทบทวนมาตรฐานคุณภาพ ครวู ิชาการ

ภายในสถานศกึ ษา

3.3 นิเทศ ติดตาม กำกับ ครูวิชาการ

3.4 ประเมนิ ผล ครวู ิชาการ

3.5 จัดทำรายงานประจำปกี ารศึกษา

2564(SAR) นางแสงดาว

4.ประเมินผลโครงการและจัดทำรายงาน มีนาคม 2565 นางแสงดาว

5. รายละเอียดการใชง้ บประมาณ

เงินงบประมาณ

ที่ กิจกรรม ตอบแทน ใช้สอย วัสดุ รวม เงนิ นอก รวม

งบประมาณ

1 คา่ ถ่ายเอกสาร/จดั ทำเลม่ เอกสาร 300 1,200 - 1,500 - 1,500

2 คา่ อาหาร/เคร่อื งดม่ื

รวม 300 1,200 - 1,500 - 1,500

6.การประเมินผล 57

ตวั ชีว้ ัดความสำเร็จ วธิ ีการประเมิน เครอื่ งมอื ท่ใี ช้
- แบบประเมนิ ความพึงพอใจ
1. ความพอใจของบุคลากร - สงั เกต - แบบประเมนิ โครงการ

2. คณะครูในสถานศึกษาร้อยละ 98 - สอบถาม - แบบบันทึกการนิเทศ

สามารถดำเนนิ การประกันคุณภาพ - การตรวจสอบ - แบบรายงาน
- แบบสังเกต
ภายในสถานศกึ ษา ได้อยา่ งมีคุณภาพ - แบบสัมภาษณ์
- ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน
3. สถานศึกษาไดร้ บั การตรวจสอบ - การนิเทศ

คุณภาพภายในโดย วธิ ีการประเมนิ

ตนเอง ปีละ 1 ครงั้ - การตรวจสอบ

4. รายงานการพฒั นาคณุ ภาพภายใน - การสังเกต

สถานศึกษา - การสมั ภาษณ์

5.นักเรียนมคี ณุ ภาพตามเกณฑม์ าตรฐาน - การทดสอบ

การศกึ ษาแหง่ ชาติ

7. ผลทีค่ าดวา่ จะได้รับ
7.1 ผูบ้ ริหาร คณะครู นักเรียน มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน
7.2 โรงเรยี นไดร้ บั การตรวจสอบทบทวนคุณภาพการศึกษาทง้ั โดยวธิ กี ารประเมนิ ตนเองและประเมนิ

ภายนอก
7.3 โรงเรยี นมีความพร้อมในการรบั การประเมินจากองค์กรภายนอก

ลงช่อื ........................................... ผ้เู สนอโครงการ ลงชือ่ .........................................ผ้เู ห็นชอบโครงการ
(นางแสงดาว ไพบลู ย์) (นางสาวชนัญธดิ า ใจสมุทร)
ครูโรงเรียนบา้ นท่งุ ยาว
รองผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านทุง่ ยาว

ลงช่อื ........................................ผู้อนมุ ตั ิโครงการ
(นางสาวพิมพป์ ระกาย ศรไี ตรรตั น)์

ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านท่งุ ยาว

โครงการ 58
แผนงาน
สนองกลยุทธ์ท่ี พัฒนาคุณภาพผเู้ รียน
การจดั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน/งานวชิ าการ
ลักษณะโครงการ กลยุทธ์ที่ 1 ด้านการพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น
ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ กลยุ ทุ ธท์ ี่ 3 ดา้ นการส่งเสริมกระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผูเ้ รียน
เปน็ สำคญั
งบประมาณ โครงการตอ่ เนื่อง
ระยะเวลาดำเนินการ นางอารนิ อภัยพงค,์ นางงามตา สจุ รติ ธุระการ,นางสาวปรียาดา สธุ ีรพงศ์
นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ,นางสาวจุรีรัตน์ พากเพยี ร
43,200 บาท
พฤษภาคม 2564 – เมษายน 2565

1.หลกั การและเหตผุ ล
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้กำหนดให้มีกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษา

แห่งชาติ โดยจัดให้มีการปรับปรุงการปฏิรูปการศึกษาครั้งยิ่งใหญ่ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทาง
เศรษฐกิจและสังคม ซึ่งเป็นฐานที่มาของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไข
เพิ่มเติม มุ่งหวังจะยกระดับคุณภาพการศึกษาของชาติให้ได้มาตรฐานและจัดได้ทั่วถึงมีคุณภาพ โดยการ
ปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ ได้แก่ ปฏิรูปการเรียนรู้ ปฏิรูประบบบริหารจัดการศึกษา ปฏิรูปครู อาจารย์ และ
บุคลากรทางการศึกษา ปฏิรูปทรพั ยากรและการลงทุนเพ่ือการศึกษา ซึ่งการปฏิรูปดังกล่าวจะต้องทำอย่างมี
ระบบและต่อเนื่อง โดยมีเป้าหมายที่สำคัญชัดเจน คือ จัดการศึกษาให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น สามารถพัฒนา
นักเรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้
กำหนดคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้เรียนให้มคี วามรักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอื่ สตั ยส์ ุจรติ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้
อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ คือ เป็นคนดี มีความรู้ ความสามารถ
และอยู่ในสังคมได้อยา่ งมีความสุข และใหผ้ ู้มสี ว่ นเก่ียวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา เพื่อให้
เป็นทีย่ อมรับของชมุ ชนและหนว่ ยงานต้นสงั กดั

ดงั นัน้ โรงเรยี นบ้านทุ่งยาว ได้กำหนดวสิ ัยทัศน์ นโยบาย พนั ธกิจ เปา้ หมายและกลยทุ ธ์ ปีงบประมาณ
2564 เพื่อเป็นแนวทางบริหารจัดการศึกษา ให้มีประสิทธิภาพและคุณภาพตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ.ศ. 2544 และพฒั นาโรงเรยี นในทุก ๆ ดา้ น ตามเกณฑ์มาตรฐาน เพอื่ สนองนโยบายของ สพฐ. สพป.ตรัง เขต
1 และโรงเรียน ในการบริหารจัดการศึกษาครั้งนี้ใช้แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ 2564 เป็น
เครื่องมือในการบริหารในทุกด้านอย่างเป็นระบบ เพื่อให้งานมีประสิทธิภาพ และจากการประเมินคุณภาพ
ภายใน/ภายนอกสถานศึกษาในมาตรฐานที่ 1,3 นักเรียนชั้น ป.6 ยังคงมีคะแนนในการสอบ O-NET ไม่เป็นท่ี
น่าพอใจ จึงจำเป็นต้องพัฒนาการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงช้ัน
ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ให้เกิดประสทิ ธิผลท้งั ในเชงิ ปริมาณและเชงิ คุณภาพตอ่ ไป
2. วัตถุประสงค์

59

2.1. เพือ่ จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยยดึ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ

2.2 เพ่ือส่งเสริมให้นกั เรียนทุกคนได้รับการพฒั นาทุกด้านไดอ้ ยา่ งเต็มศักยภาพ

2.3 เพื่อให้ครูได้ใช้ส่อื ชว่ ยในการจดั การเรยี นการสอน เพอื่ กระตนุ้ ให้นักเรยี นไดเ้ รียนรูอ้ ยา่ ง

หลากหลาย

3. เป้าหมาย

3.1 ดา้ นปรมิ าณ

3.1.1 ครูรอ้ ยละ 75 สามารถปรบั การเรียนเปล่ียนการสอน ตามแนวปฏิรปู การเรยี นรู้

3.1.2 นักเรียนร้อยละ 75 มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้สงู ขน้ึ

3.1.3 นกั เรียนรอ้ ยละ 75 มีการพัฒนาทุกดา้ นสามารถนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้

3.2 ด้านคุณภาพ

3.2.1 ครใู นโรงเรียนทุกคนสามารถใช้กระบวนการเรยี นการสอนตามแนวปฏริ ูปได้

3.2.2 ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนทุกกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งู ขน้ึ

3.2.3 นักเรยี นรูแ้ ละเขา้ ใจในวถิ ีชีวติ ทักษะ กระบวนการดำรงชีวติ ประจำวนั ได้

4. กจิ กรรมและการดำเนินการ

กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินงาน งบประมาณ ผรู้ บั ผิดชอบ

1.เสนอโครงการ 10 พฤษภาคม 64 43,200 ครอู าริน

2.ประชมุ ช้ีแจง/อนุมัติโครงการ 10 พฤษภาคม 64 - ผู้บรหิ าร/ครูอาริน

3.ดำเนินงานตามโครงการ

1. สาระภาษาไทย ตลอดปกี ารศึกษา ครูปรียาดา สุธีรพงศ์/

- ศึกษานกั เรยี นรายบคุ คล ครูประจำวิชา

เพ่ือจัดกลุ่มตามความสามารถ

นักเรยี นเปน็ เด็กเก่ง ปานกลาง

ออ่ น

- สอนซ่อมเสริมกับนักเรียน

ทเ่ี รยี นอ่อน ใหน้ ักเรยี นกลมุ่ เก่ง

ช่วยจัดกิจกรรมซ่อมเสริมกบั

นกั เรยี นกลมุ่ อ่อน โดยใช้เพลง

เกม ทำแบบฝกึ บ่อยๆ

2. สาระคณติ ศาสตร์- การรว่ ม ตลอดปกี ารศึกษา ครทู ิพย์วรรณ ไชยจกั ร/

แข่งขันทกั ษะนานาชาติ ครูทุกคน

- การรว่ มแข่งขันทักษะ

วิชาการ

- การท่องสตู รคูณ

- การคิดเลขเรว็ 60

- การเรยี นการสอน นางสาวปราณี วิกิจรัตนพพิ ฒั น์

โครงงาน /ครทู กุ คน

- การเรยี นการสอนแบบ นางงามตา สุจรติ ธรุ ะการ/
นางสาวจารพุ ัตร ครชาตรี
เพอื่ นชว่ ยเพ่ือน พ่ีช่วยน้อง
นางงามตา สุจริตธรุ ะการ
- การติวเขม้ เพ่อื สอบO- นางงามตา สุจริตธรุ ะการ
นางสาวจรุ ีรตั น์ พากเพียร
net และ NT นางสาวพยอง ตู้ดำ
นางงามตา สจุ ริตธุระการ
3. สาระวิทยาศาสตรแ์ ละ ตลอดปีการศึกษา

เทคโนโลยี

- การแขง่ ขันทกั ษะ

นานาชาติ

- การแข่งขันทักษะวชิ าการ

- การเรยี นการสอน

โครงงาน

- การทดลองทาง

วทิ ยาศาสตร์

- รว่ มโครงการสสวท.

4. สาระสงั คมศึกษา ศาสนา ตลอดปีการศึกษา

และวฒั นธรรม

- ศกึ ษาเน้อื หา และใบงาน

- วเิ คราะหเ์ นือ้ หา ตามตวั ช้ีวัด

ที่ขอ้ สอบออกบ่อย

- ทำแบบทดสอบหลายๆคร้ัง

- สอนซอ่ มเสรมิ

- โครงการโรงเรียนสุจรติ

- โครงการโรงเรียนวถิ พี ุทธ

5. สาระภาษาอังกฤษ ตลอดปกี ารศึกษา

- สง่ เสรมิ การสื่อสาร/การ

สนทนา

- ภาษาอังกฤษวันละคำ

6. สาระศิลปะ ตลอดปีการศกึ ษา

- การแข่งขนั ทกั ษะวชิ าการ

- การเชดิ สงิ โต

- วงโยทวาทติ โรงเรียน 61

- นาฎศลิ ป์สรา้ งสรรค์ วา่ ท่ีร้อยตรธี นากร ฉาวเกยี รติ

(ฝึกซอ้ มรำในการแสดงรว่ มกับ รองชนญั ธิดา ใจสมุทร

ชุมชน) นางสาวพยอง ตูด้ ำ
นางสาวพยอง ตู้ดำ
- กิจกรรมศิลปส์ ร้างสรรค์
นางสาวพชุ นาฏ รันตแกว้
- การสร้างสรรคภ์ าพด้วย นางสาวพุชนาฏ รันตแก้ว
ครทู กุ คน
การปะตดิ นางสาวพุชนาฏ รันตแกว้

7. สาระสขุ ศึกษาและพลศึกษา ตลอดปกี ารศกึ ษา นางสาวปราณ๊ รตั นพิพัฒน์

- การออกกำลังกายหน้า นางสาวนาถยา แสงเงิน/

เสาธง ครูทกุ คน

- การรับประทานอาหาร นางแสงดาว ไพบลู ย์
ครปู ระจำวชิ า
กลางวนั ครทู กุ คน

- การแข่งขันกีฬากรีฑา ครปู ระจำวิชา

กลุ่มโรงเรยี น นางงามตา สุจริตธรุ ะการ

- การดแู ลรกั ษาสขุ ภาพ

อนามยั ตนเอง

8. สาระการงานอาชพี ตลอดปีการศกึ ษา

- พัฒนาส่งเสริมการใช้

เทคโนโลยี

- การแขง่ ขนั ทกั ษะวิชาการ

- ส่งเสรมิ ทักษะพ้ืนฐาน

ทางอาชีพ

- กิจกรรมชมุ นมุ ตา่ งๆ

9. กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ตลอดปีการศกึ ษา

10. วิเคราะหศ์ ักยภาพผู้เรียน 17-18 พ.ค.64

เป็นรายบคุ คล

11. การสอนเรง่ รดั ในตอนเย็น ธ.ค.64 - ก.พ.65

หลงั เลิกเรยี น/วันเสาร์/ชว่ งปิด

ภาคเรียน

12. ประเมนิ ผลการเรียนรู้ มี.ค. 65

สอดคลอ้ งกับพฒั นาการของ

ผู้เรียน

13. รว่ มกจิ กรรมกับชมุ ชน ตามช่วงเวลาทก่ี ำหนด

62

14. การทำวจิ ัยในชน้ั เรยี น ตลอดปีการศกึ ษา ครูทกุ คน
15. กจิ กรรมวนั สำคญั ตามปฏทิ ิน
- ยาเสพติดโลก พ.ค.64 นางสาวพุชนาฏ รัตนแก้ว
- วันภาษาไทย ก.ค.64 นางสาวปรยี าดา สธุ ีรพงศ์
- วันครู ม.ค.65 นางสาวทพิ ย์วรรณ ไชยจักร
- วันเด็ก ม.ค.65 นางแสงดาว ไพบูลย์
- วันส่งทา้ ยปีเก่า-ข้ึนปีใหม่ ธ.ค.64 นางสาวพุชนาฏ/แสงดาว
- วนั ครสิ ตม์ าส ธ.ค.64 นางสาวจุรรี ัตน์ พากเพยี ร
- วันวิทยาศาสตร์ ส.ค.64 นายภรู ภิ ทั ร์ หยงสตาร์
- วนั ไหว้ครู มิ.ย.64 นางแสงดาว ไพบูลย์
- วันพ่อ,วันแม,่ วนั ชาติ ตามปฏิทิน นางสาวจารุพตั ร ครชาตรี
- วนั สำคัญทางศาสนา ตามปฏิทิน นางงามตา สุจรติ ธรุ ะการ
- วนั วาเลนไทน์ ก.พ.65 นางสาวจรุ รี ัตน์ พากพียร
- วันสงการนต์ เม.ย.65 นางสาวทิพยว์ รรณ ไชยจกั ร
- วันพืชมงคล พ.ค.64 นางสาวนาถยา แสงเงิน
-วันปิยมหาราช ต.ค.64 นางงามตา สุจรติ ธรุ ะการ
- วันคลา้ ยวนั สวรรคต ร.9 ต.ค.64 นางสาวจารพุ ัตร ครชาตรี
- วนั ลอยกระทง พ.ย.64 นางสาวนาถยา แสงเงิน
- วนั รัฐธรรมนูญ ธ.ค.64 นางงามตา สจุ ริตธุระการ
- วันฉตั รมงคล พ.ค.64 นางสาวจารุพัตร ครชาตรี
16. นำนกั เรยี นสอบเรียนต่อ ม.ค.65 –มี.ค.65 นางงามตา สจุ รติ ธรุ ะการ
17. แนะแนวการศกึ ษาตอ่ ม.ค.65 –ม.ี ค.65 นางงามตา สุจรติ ธุระการ
18. กจิ กรรมการเยี่ยมบ้าน พ.ค.64,พ.ย.64 ครูประจำชั้น
19. ประเมนิ ผล/สรุปรายงาน เม.ย.65 นางงามตา สจุ รติ ธุระการ

5. รายละเอียดการใช้งบประมาณ เงินงบประมาณ รวม เงนิ นอก รวม
ตอบแทน ใชส้ อย วสั ดุ งบประมาณ
ที่ กจิ กรรม
1,000 1,000 1,000
1.คา่ วสั ดอุ ุปกรณ์ 2,700 2,700 2,700
-การเชิดสิงโต
-การสร้างภาพดว้ ยการปะตดิ

63

ที่ กจิ กรรม ตอบแทน เงนิ งบประมาณ รวม เงินนอก รวม
ใชส้ อย วสั ดุ งบประมาณ
-ศิลป์สรา้ งสรรค์ 1,000
-นาฎศลิ ป์ สรา้ งสรรค์ 1,000 1,000 1,000
2.ค่านำนกั เรยี นสอบแขง่ ขัน/ร่วม 1,000 1,000
ทกั ษะวิชาการ/
-ค่าพาหนะ 7,500
-ค่าอาหาร
-คา่ วัสดฝุ กึ ซอ้ มทกั ษะวชิ าการ 20,000 7,500 7,500

รวม 20,000 20,000

10,000 10,000 10,000

27,500 15,700 43,200 - 43,200

6. การประเมินผล

ตัวชี้วัดความสำเร็จ วธิ กี ารประเมิน เครื่องมอื ที่ใช้
แบบทดสอบ
1.ผลการประเมินระดับชาตทิ ุกกลมุ่ สาระ สังเกตผลการผล แบบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น

2.ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรยี น สังเกตผลสัมฤทธิ์ทางการ

เรยี น

7. ผลทีค่ าดวา่ จะได้รบั
7.1 ผลการเรยี นของนักเรยี นทุกกลุม่ สาระดีขนึ้
7.2 โรงเรียนมชี อ่ื เสียง ผู้ปกครองอยากสง่ บุตรหลานเขา้ มาเรียนทโ่ี รงเรียนมากข้ึน
7.3 โรงเรียนผา่ นการประเมินคุณภาพการศึกษา

ลงช่อื ........................................... ผเู้ สนอโครงการ ลงชอ่ื .........................................ผเู้ ห็นชอบโครงการ
(นางอารนิ อภยั พงค์) (นางสาวชนัญธิดา ใจสมทุ ร)
ครูโรงเรียนบ้านทุ่งยาว รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งยาว

ลงช่ือ........................................ผู้อนมุ ัตโิ ครงการ
(นางสาวพมิ พ์ประกาย ศรไี ตรรตั น์)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านท่งุ ยาว

64

โครงการ พัฒนาการจัดการเรียนการสอน

แผนงาน การจดั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน / งานวิชาการ

สนองกลยทุ ธ์ที่ กลยทุ ธท์ ่ี 1 ด้านการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น

กลยุ ุทธ์ท่ี 3 ด้านการสง่ เสริมกระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรยี น

เป็นสำคัญ

ลักษณะโครงการ โครงการตอ่ เนื่อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ นายภูรภิ ัทร หยงสตาร์ ,นางอารนิ อภัยพงค์ , นางสาวพยอง ตดู้ ำ

งบประมาณ 164,530 บาท

ระยะเวลาดำเนนิ การ พฤษภาคม 2564 – 30 เมษายน 2565

1. หลกั การและเหตุผล

ตามมาตรฐานการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผู้เรยี น มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหาร

และการจัดการ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เนื่องจากการ

บริหารงานในสถานศึกษา เปน็ ปจั จัยสำคญั อยา่ งหน่ึงทีต่ ้องคำนงึ ถึงงาน โดยเฉพาะงานวชิ าการโรงเรียน ซ่ึงถือ

เป็นหวั ใจหลกั ของโรงเรยี น

เพื่อต้องการให้การทำงานตามแนวทางการดำเนินงาน ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็นไป

ตามกำหนดและแบบแผน ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญอย่างยิ่งทางโรงเรียนจึงได้จัดสรรงบประมาณ เพื่อจัดซื้อวัสดุ

อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ เพือ่ ใช้ในการดำเนนิ งานในการสอนใหล้ ุล่วงเป็นผลสำเร็จและเกิดประสิทธผิ ลไปดว้ ยดี

2. วตั ถปุ ระสงค์

2.1 เพ่อื สนองนโยบายตามมาตรฐานการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มาตรฐานที่ 1,2 และ 3

2.2 เพื่อพัฒนาระบบการบริหารงานให้เกดิ ความคล่องตวั ในการปฏบิ ตั ิงาน

2.3 เพ่อื ปรบั ปรุงระบบงานการดำเนินงานตามมาตรฐานท่ี 1,2 และ 3

3. เป้าหมาย

3.1 ดา้ นปริมาณ

3.1.1 สถานศกึ ษามีความคล่องตวั ในการดำเนนิ งานร้อยละ 95

3.2 ดา้ นคณุ ภาพ

3.2.1 สถานศกึ ษามีระบบการบรหิ ารงานตามมาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานอย่างมคี ณุ ภาพ

3.2.2 ระบบงานเปน็ ระบบระเบียบงา่ ยตอ่ การปฏบิ ตั ิงาน

4. กจิ กรรมดำเนนิ การ

4.1 ภารกจิ ตามโครงการ

4.1.1 รวบรวมข้อมูล

4.1.2 วางงบประมาณตามแผนงาน

65

4.2 กิจกรรมดำเนินการ ระยะเวลาดำเนนิ การ ผ้รู บั ผิดชอบ
ที่ กจิ กรรม พฤษภาคม 2564 ภูรภิ ัทร,อารนิ ,พยอง
1. เขียนเสนอ โครงการ พฤษภาคม 2564 ภูริภทั ร,อารนิ ,พยอง
2. ประชุมชีแ้ จงเขยี นโครงการ พฤษภาคม 2564 ภูริภัทร,อาริน,พยอง

3. ขออนมุ ตั งิ บประมาณ / โครงการ 1 มิ.ย. 2564 – ธ.ค. 2565 ภูรภิ ัทร,อาริน,พยอง

4. ดำเนินงานตามโครงการ เมษายน 2565 ภรู ิภทั ร,อารนิ ,พยอง
- กจิ กรรมแข่งขันทักษะวิชาการ
- พัฒนาระบบข้อมลู สารสนเทศ
- พฒั นาการเกบ็ ขอ้ มลู ทางการศึกษา
- จดั ทำ/ซ้อื แบบพิมพ์ธรุ การชั้นเรยี น
- จัดซือ้ วัสดทุ ใี่ ช้ในช้นั เรยี น
- จดั ซอ้ื วัสดุผลติ ส่ือ

5. สรปุ ผล/รายงานผล

5. รายละเอยี ดการใช้งบประมาณ งบ จำแนกตามหมวดรายจา่ ย
ท่ี รายการกจิ กรรม / คำชี้แจง ประมาณ คา่ ตอบ ค่าใช้ ค่าวสั ดุ ระยะเวลา
ในการใช้งบประมาณ แทน สอย
107,500
1. คา่ ใช้จา่ ยในการดำเนินงาน - - 107,500 พ.ค.64-เม.ย.65
หอ้ งธรุ การ/งานธรุ การช้ันเรยี น 25074
10756 - - 25,074 พ.ค.64-เม.ย.65
2. วสั ดุ อุปกรณ์ห้องเรยี น/หอ้ งพเิ ศษ 20,000 - - 10,756 พ.ค.64-เม.ย.65
3. วสั ดผุ ลิตสอ่ื - 20,000 -
4. คา่ จา้ งซ่อมเครื่องถ่ายเอกสาร/ 1,200
164,530 - 1,200 -
คอมพิวเตอร์สำนักงาน/เครอื่ งพิมพ์ - 21,200 143,330
5. คา่ จ้างเข้าเล่มเอกสาร

รวม

6. การประเมนิ ผล วิธวี ดั / ประเมนิ ผล เคร่อื งมอื ที่ใช้วดั
ตัวช้ีวดั ความสำเรจ็ 1. การสงั เกต 1. แบบบนั ทกึ การปฏิบตั งิ าน

1. ผลงาน 2. สำรวจความพึงพอใจ 2. แบบสำรวจความพงึ พอใจ
2. ความคลอ่ งตัวในการทำงาน
3. ความพอใจของบุคลากร

66

7. ผลทคี่ าดทีจ่ ะไดร้ บั
7.1 บคุ ลากรท่รี ่วมกันทำงาน ทำงานอย่างมคี วามสุข และคลอ่ งตัวในการทำงานปฏิบัตงิ านตาม

มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างมปี ระสิทธิภาพ

ลงชื่อ......................................ผเู้ สนอโครงการ ลงชื่อ.....................................ผ้เู ห็นชอบโครงการ
( นายภรู ภิ ทั ร หยงสตาร์ ) (นางสาวชนัญธิดา ใจสมุทร)
ครูโรงเรียนบ้านทงุ่ ยาว
รองผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นทงุ่ ยาว

ลงชอื่ ........................................ผู้อนุมตั โิ ครงการ
(นางสาวพิมพ์ประกาย ศรีไตรรัตน์)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านทงุ่ ยาว

67

โครงการ นักเรยี นพิเศษเรียนรวม

แผนงาน การจดั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน / งานวชิ าการ

สนองกลยุทธท์ ่ี กลยุทธท์ ่ี 1 ด้านการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น

กลยุ ุทธ์ท่ี 3 ด้านการสง่ เสริมกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรียน

เป็นสำคญั

ผรู้ ับผิดชอบโครงการ 1. นางสาวปรียาดา สธุ รี พงศ์

2. นางสมญา เกา้ เอ้ียน

3. นางสาวทพิ ย์วรรณ ไชยจกั ร

ลกั ษณะโครงการ โครงการต่อเน่ือง

งบประมาณ 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินการ พฤษภาคม 2564 – มนี าคม 2565

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

1. หลักการและเหตผุ ล

การจัดการศึกษาต้องเป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไข

เพม่ิ เติม กล่าวถงึ หลักการวา่ ดว้ ยพฒั นาคนใหเ้ ปน็ มนษุ ย์ที่สมบรู ณ์ท้ังร่างกาย จติ ใจสติปัญญา การจัดการศึกษา

สำหรับบคุ คลซ่งึ บกพร่อง เชน่ เดียวกัน ต้องจัดด้วยรูปแบบท่เี หมาะสมโดยคำนึงถงึ ความ สามารถของบคุ คลน้ัน

เปน็ สำคญั และต้องพัฒนาให้เต็มตามศักยภาพ คณะครูผ้รู บั ผิดชอบเด็กกลุ่มท่ีมีความบกพร่องการเรียนรู้จึงได้

พัฒนาหลกั สตู รและแผนการเรียนร่วมสำหรบั เด็กพิเศษเป็นรายบคุ คล

ดังนั้น โรงเรยี นบา้ นท่งุ ยาว ถือเป็นหน้าที่ท่ตี ้องจัดกิจกรรมใหผ้ ู้เรียนได้คน้ หาและพัฒนาศักยภาพของ

คนใหส้ ูงข้ึน รวมทัง้ ผู้ทีม่ คี วามสามารถพเิ ศษ เพอื่ ท่ีจะไดร้ ับการส่งเสริมและพัฒนาให้ถงึ ขดี ความสามารถสงู สุด

2. วัตถุประสงค์

2.1. เพอื่ ใหน้ กั เรียนพิเศษเรียนรว่ มไดพ้ ฒั นาการเรียนรู้ตามพัฒนาการ

2.2. เพ่อื ใหน้ ักเรยี นพิเศษเรียนรว่ มสามารถปรับตัว มีปฏิสัมพนั ธเ์ ข้ากบั สงั คมในโรงเรยี น และสามารถ

ดำรงชวี ิตอยู่ในสงั คมได้อย่างมีความสุข

2.3. เพอ่ื สง่ เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมให้กบั นกั เรียนปกติ ปลกู ฝงั ความมีนำ้ ใจต่อเพ่ือนร่วมชนั้ เรียน

3. เปา้ หมาย

3.1 เป้าหมายเชงิ ปรมิ าณ

3.1.1. นักเรียนพเิ ศษเรียนรว่ มได้รบั การพฒั นาการเรียนรตู้ ามพฒั นาการร้อยละ 80
3.1.2. สถานศึกษาจัดการเรียนรู้ใหน้ ักเรียนพเิ ศษเรียนรว่ มทีต่ อบสนองความแตกต่างระหว่าง
บุคคลและพฒั นาการสติปัญญา รอ้ ยละ 80
3.2. เป้าหมายเชงิ คณุ ภาพ
3.2.1. นกั เรียนพิเศษเรียนรวมมีพัฒนาการการเรียนรเู้ ปน็ ไปตามเกณฑ์
3.2.2. นักเรยี นมีคณุ ธรรม จริยธรรม และมนี ำ้ ใจตอ่ เพอื่ นนักเรยี นพิเศษเรยี นรวม

68

4. กจิ กรรมการดำเนนิ การงาน ระยะเวลาดำเนนิ การ งบประมาณ ผรู้ ับผิดชอบ
กิจกรรม พฤษภาคม 2564
- ผอู้ ำนวยการ/คณะครู
4.1 ประชมุ ชแ้ี จง สรา้ งความตระหนกั แก่ พฤษภาคม 2564
บคุ ลากรในโรงเรียน มถิ นุ ายน 2564 - ผู้อำนวยการ/คณะครู
4.2. ประชุมจดั ทำโครงการเพ่ือขออนุมตั ิ - นางสาวปรียาดา
4.3. วางแผนดำเนินการและจัดทำเครื่องคดั มิถุนายน 2564
กรองตามแบบของสำนักงานคณะกรรมการ สุธีรพงศ์ /ครู
การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ผู้รบั ผิดชอบ
4.4 ประชมุ คณะกรรมการเพ่ือมอบมายงาน - นางสาวปรยี าดา
สธุ รี พงศ์ /ครู
4.5 จดั ทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล กรกฎาคม 2564 ผู้รบั ผิดชอบ
(IEP) 1,000 ครูประจำชั้น/ครู
4.6 จดั ทำแบบฝึกหดั /จดั หาส่ือการเรยี น กรกฎาคม 2564- ประจำวชิ า
การสอนสำหรับนกั เรียนพเิ ศษเรียนร่วม กมุ ภาพนั ธ์ 2565 6,000 ครูประจำชน้ั /ครู
4.7 วัดและประเมินผลพฒั นาการทางการ มีนาคม 2565 ประจำวิชา
เรยี นและตัดสินผลการเรียน - ครูประจำชั้น/ครู
4.8 สรปุ ผลและรายงานผลการดำเนนิ งาน มีนาคม 2565 ประจำวชิ า
- นางสาวปรียาดา
สธุ ีรพงศ์ /ครู
ผูร้ บั ผดิ ชอบ

5. รายละเอียดการใช้งบประมาณ

ท่ี กิจกรรม งบประมาณ เงนิ นอก รวม
ใชส้ อย วสั ดุ รวม งบประมาณ
ตอบแทน - --
--
1. ประชุมช้แี จง สร้างความ -
--
ตระหนักแก่บคุ ลากรใน
--
โรงเรยี น

2. ประชุมจดั ทำโครงการเพือ่ - - --
- --
ขออนมุ ตั ิ

3. วางแผนดำเนินการและ -

จดั ทำเคร่ืองคดั กรองตาม

แบบของสำนักงาน

ที่ กิจกรรม ตอบแทน งบประมาณ 69
- ใชส้ อย วัสดุ เงินนอก รวม
คณะกรรมการการศึกษา - รวม งบประมาณ
ข้ันพ้ืนฐาน - -- - --
4. ประชมุ คณะกรรมการเพื่อ -- - --
มอบหมายงาน - - 1,000 - 6,000 7,000
5. จดั ทำแผนการศึกษา
เฉพาะบคุ คล - -- - --
(IEP)
6. จดั ทำแบบฝกึ หัด/จัดหา - 1,000 - 6,000 7,000
สือ่ การเรยี น
การสอนสำหรบั นกั เรยี น
พเิ ศษเรียนรว่ ม
7. วัดและประเมนิ ผล
พฒั นาการทางการเรียน
และตัดสนิ ผลการเรียน
8. สรุปผลและรายงานผลการ
ดำเนินงาน

รวม

6. การประเมนิ ผล วิธปี ระเมิน เครอื่ งมือ
ตวั ชี้ความสำเร็จ ตรวจแบบบันทกึ แบบบันทกึ
ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบสอบ
1. นักเรียนพิเศษเรยี นร่วมได้พัฒนาการเรยี นรู้ บนั ทึกการสัมภาษณ์ แบบสัมภาษณ์
ตามพัฒนาการตามเกณฑ์ท่ีกำหนด

7. ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ บั
7.1. นักเรียนพิเศษเรียนร่วมได้รบั การพัฒนาการเรียนรู้ตามพัฒนาการรอ้ ยละ 80
7.2. สถานศกึ ษาจัดการเรียนร้ใู ห้นกั เรยี นพเิ ศษเรียนรว่ มทต่ี อบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและ

พฒั นาการสติปัญญา รอ้ ยละ 80

70

ลงช่อื ........................................... ผ้เู สนอโครงการ ลงชอื่ .........................................ผ้เู หน็ ชอบโครงการ
(นางสาวปรียาดา สุธีรพงศ์) (นางสาวชนญั ธดิ า ใจสมทุ ร)
ครูโรงเรยี นบ้านท่งุ ยาว
รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านทุ่งยาว

ลงชอ่ื ........................................ผอู้ นมุ ัตโิ ครงการ
(นางสาวพิมพ์ประกาย ศรีไตรรัตน์)

ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งยาว

71

โครงการ ปจั ฉมิ นิเทศ
แผนงาน จัดการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน / งานวชิ าการ
สนองกลยทุ ธ์ิท่ี กลยทุ ธ์ที่ 2 ด้านการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพกระบวนการบริหารและ
การจัดการ
ลักษณะโครงการ โครงการตอ่ เน่ือง
ผ้รู ับผิดชอบโครงการ 1. นางสาวปรยี าดา สธุ รี พงศ์
2. นางสาวปราณี วิกจิ รตั นพิพัฒน์
งบประมาณ 3. นางสาวจรุ ีรัตน์ พากเพยี ร
ระยะเวลาดำเนนิ การ 4. นางงามตา สจุ ริตธรุ ะการ
14,000 บาท
พฤษภาคม 2564 - มีนาคม 2565

1. หลกั การและเหตุผล
เมื่อสิ้นสุดปีการศึกษาของทุกปีจะมีนักเรียนสำเร็จการศึกษา เพื่อออกไป ศึกษาต่อสถาบันใน

อุดมศึกษา ซึ่งจะต้องทำงานและเรียนรู้ร่วมกับคนอื่น ๆ ในสังคม การมีความพร้อมทางด้านความรู้และจิตใจ
ก่อนที่จะออกไปศึกษาต่อจึงมีความสำคัญยิ่งในสภาวะการเปลี่ยนแปลงและปฏิรูปการศึก ษาซึ่งความพร้อม
ทางดา้ นจติ ใจมคี วามสำคัญเปน็ พเิ ศษ

ดังนั้นเพื่อให้แนวคิดแก่นักเรียนจะสำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2564 ก่อนที่จะสำเร็จการศึกษา
จากโรงเรียน ทางแผนกกิจกรรมจึงจัดโครงการปัจฉิมนิเทศขึ้นเพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักเห็นถึงคุณค่าตนเอง
และสถาบัน นอกจากนี้ยังเป็นการเตรียมความพรอ้ มนักเรียนทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจก่อนที่จะจบการศึกษา
และมแี นวทางในการดำเนินชวี ิต ในการเรียนรู้ในระดับอดุ มศึกษาต่อไป
2. วัตถปุ ระสงค์

2.1 เพ่อื สรา้ งความสมั พันธ์ท่ีดีระหว่างครู ผ้ปู กครองและนักเรียนที่จบการศึกษา
2.2 เพ่ือปลูกฝังใหน้ กั เรยี นเกิดความตระหนักและรักภูมิใจในสถาบนั ทตี่ นเองศึกษาอยู่
2.3 เพือ่ แนะแนวทางการศึกษาต่อ การประกอบอาชพี แก่นกั เรยี นท่จี บการศึกษา
3. เป้าหมาย
3.1 เป้าหมายเชิงปรมิ าณ

3.1.1 นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 ทุกคน เข้าร่วมกจิ กรรมการปจั ฉิมนเิ ทศ
3.2 เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ

3.2.1 นกั เรียนเกิดความสมั พันธ์อนั ดรี ะหว่างคณะครูและนกั เรยี นท่ีจบการศึกษา และมคี วาม
ตระหนัก รักโรงเรยี นในสถาบันที่ตนเองศึกษาอยู่

72

4. กจิ กรรมการดำเนนิ การงาน ระยะเวลาดำเนนิ การ งบประมาณ ผรู้ บั ผดิ ชอบ
กิจกรรม พฤษภาคม 2564
ผู้อำนวยการ/คณะครู
4.1 ประชมุ คณะครูศกึ ษาสภาพปญั หาและ พฤษภาคม 2564
ความต้องการ นางสาวปรียาดา
4.2. จดั ทำโครงการและเสนอขออนุมตั ิ สธุ ีรพงศ์
ผู้อำนวยการ/คณะครู
4.3. ประชมุ ครใู นโรงเรยี น ช้แี จง มอบหมาย มถิ นุ ายน 2564
แตง่ ตั้งผูร้ บั ผิดชอบ กมุ ภาพันธ์ 2565 คณะครทู ุกคน
4.4 ดำเนนิ การตามโครงการ มีนาคม 2565
นางสาวปรยี าดา
4.5 ติดตาม กำกบั แกป้ ัญหา เพอ่ื ใหก้ าร มนี าคม 2565 สุธีรพงศ์ และ
ปฏิบตั งิ านเปน็ ไปด้วยความเรียบรอ้ ย ประสบ ผู้รับผิดชอบ
ผลสำเร็จตามวัตถปุ ระสงค์และนโยบาย นางสาวปรยี าดา
4.6 สรปุ รายงานผลการปฏิบตั ิงานต่อ สุธรี พงศ์
ผูอ้ ำนวยการ ตามลำดบั

5. รายละเอียดการใช้งบประมาณ

ท่ี กจิ กรรม งบประมาณ เงินนอก รวม
ใชส้ อย วสั ดุ รวม งบประมาณ
ตอบแทน
-- - --
1. ประชุมคณะครูศึกษา --
--
สภาพปญั หาและความ - -- -
- 14,000
ตอ้ งการ -- - --

2. จัดทำโครงการและเสนอ - - - 14,000

ขออนมุ ตั ิ - --

3. ประชมุ ครูในโรงเรียน

ช้ีแจง มอบหมาย แต่งตั้ง -

ผู้รับผิดชอบ

4. ดำเนินการตามโครงการ -

5. ติดตาม กำกับ แกป้ ัญหา

เพ่อื ใหก้ ารปฏิบัติงาน -

เปน็ ไปด้วยความเรยี บร้อย

ประสบผลสำเร็จตาม

วัตถุประสงค์และนโยบาย

ที่ กจิ กรรม ตอบแทน งบประมาณ 73
- ใชส้ อย วสั ดุ เงินนอก รวม
6. สรปุ รายงานผลการ - รวม งบประมาณ
ปฏิบัติงานต่อผอู้ ำนวยการ --
ตามลำดบั - --
รวม - 14,000
- - 14,000

6. การประเมินผล วธิ ปี ระเมนิ เครือ่ งมอื
ตวั ช้ีความสำเร็จ 1.การสอบถาม 1.แบบบันทกึ
2.การสังเกต 2. แบบสมั ภาษณ์
1. นักเรียน คณะครู ผูป้ กครอง มคี วามสัมพันธ์ 3.การสมั ภาษณ์ 3. แบบสอบถาม
ที่ดตี ่อกนั
2. นักเรยี นมีความรกั ภมู ิใจในสถาบันทีต่ นเอง
ศึกษาอยู่
3.นักเรยี นมีแนวทางในการศึกษาต่อ และการ
ประกอบอาชีพ

7. ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั
7.1 นักเรียน ผูป้ กครอง และคณะครู มคี วามสัมพันธ์ที่ดตี อ่ กัน
7.2 นกั เรียนเกิดความตระหนัก รกั ภมู ิใจในสถาบนั ทตี่ นเองศกึ ษาอยู่
7.3 นักเรยี นมแี นวทางในการศึกษาต่อ และการประกอบอาชพี

ลงชอ่ื ........................................... ผู้เสนอโครงการ ลงชอื่ .........................................ผู้เหน็ ชอบโครงการ
(นางสาวปรียาดา สธุ ีรพงศ์) (นางสาวชนญั ธดิ า ใจสมุทร)
ครโู รงเรียนบา้ นทุ่งยาว
รองผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นทุ่งยาว

ลงช่ือ........................................ผูอ้ นุมัตโิ ครงการ
(นางสาวพิมพป์ ระกาย ศรีไตรรัตน)์
ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบา้ นทงุ่ ยาว

74

โครงการ เรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

แผนงาน จัดการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน /งานวชิ าการ

สนองกลยุทธท์ ี่ กลยทุ ธท์ ่ี 1 ด้านการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน

กลุยุทธท์ ี่ 3 ด้านการสง่ เสรมิ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผู้เรยี น

เปน็ สำคญั

ลักษณะโครงการ โครงการตอ่ เน่ือง

ผูร้ บั ผิดชอบโครงการ นายชาญกิจ ชตุ ิเดโช นายภรู ภิ ทั ร หยงสตาร์

ว่าที่ ร.ต.ธนากร ฉาวเกียรติ นายศภุ ชยั ชว่ ยสงค์

งบประมาณ 7,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินการ 15 พฤษภาคม 2564 – 31 มนี าคม 2565

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

1.หลักการและเหตุผล

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงมีพระราชดำรัสแก่พสกนิกรชาวไทย

เกี่ยวกับการดำเนินชีวิตโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นปรัชญาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทาง

สายกลางและความไม่ประมาท โดยคำนึงการรู้จกั พึ่งตนเอง ความพอประมาณ พอมพี อกิน พอมีพอใช้ ความมี

เหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบและคุณธรรมประกอบการวางแผน

ตัดสินใจและกระทำในสิ่งท่ีควรจะเป็น เพื่อใหส้ ามารถดำรงชีวิตอย่างยัง่ ยืนภายใตก้ ระแสโลกาภวิ ัฒนแ์ ละความ

เปลย่ี นแปลงตา่ ง ๆ การวางรากฐานการดำเนนิ ชวี ิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีความจำเป็นอย่าง

ย่ิงท่ีจะต้องปลูกฝังให้เกดิ ขึ้นกับทุกคนในสังคมไทย โดยเฉพาะอย่างยง่ิ เด็กเยาวชนที่จะเปน็ อนาคตของชาติ ซ่ึง

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กำหนดกลยุทธ์การปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็น

ชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งนโยบาย ซึ่งมุ่งเน้นการจัดกระบวนการ

เรยี นการสอนและการบรหิ ารจดั การตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และเพอ่ื ให้นักเรยี นมคี วามรู้ ความ

เขา้ ใจสามารถปฏิบตั ิตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได้อย่างถูกต้อง เป็นผ้มู ีคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียน ครู/บุคลากรทางการศึกษา

ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานอื่น จากหลักการดังกล่าว ทางโรงเรียนจึงได้จัดทำ “โครงการเรียนรู้ตามหลกั

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ขนึ้

2. วัตถปุ ระสงค์

2.1 เพ่อื ใหน้ ักเรยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได้อยา่ งถกู ต้อง

2.2 เพอ่ื ใหน้ ักเรียนสามารถปฏบิ ัตติ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได้อย่างถูกต้อง

2.3 เพ่อื ให้นักเรียนเป็นผมู้ ีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2.4 เพอื่ เปน็ แหล่งเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งให้กบั นักเรียน ครู/บุคลากรทางการ

ศกึ ษา ผปู้ กครอง ชมุ ชน

3. เปา้ หมาย

75

3.1 เชิงปรมิ าณ

3.1.1 นกั เรียน ร้อยละ 80 มีความรู้ ความเขา้ ใจหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได้อยา่ ง

ถูกต้อง

3.1.2 นกั เรยี น ร้อยละ 80 สามารถปฏิบัตติ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได้อยา่ ง

ถกู ต้อง

3.1.3 นกั เรียนร้อยละ 80 มคี ุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ “อยอู่ ย่างพอเพียง” ในระดับดีข้ึนไป

3.1.4 นกั เรยี น ครู/บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง รอ้ ยละ 70 ใชศ้ นู ย์การเรียนรูต้ ามหลกั

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านทุ่งยาว สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา ตรงั

เขต 1เปน็ แหลง่ เรียนรู้

3.2 เชงิ คุณภาพ

3.2.1 นักเรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจและสามารถปฏบิ ตั ติ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงได้อยา่ งถูกต้อง

3.2.2 นกั เรยี นเปน็ ผมู้ คี ุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ “อยู่อยา่ งพอเพยี ง” ตามหลกั ปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง

3.3.3 นักเรียน ครู/บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และหนว่ ยงานอน่ื ใชศ้ นู ยก์ ารเรียนรู้

ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งโรงเรยี นบา้ นดอนยี่กรอก สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา

ประถมศึกษาเพชรบรุ ี เขต 1 เป็นแหล่งเรียนรู้

4. กิจกรรมและการดำเนนิ งาน

ท่ี กจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ ับผดิ ชอบ

ดำเนินงาน

1 ขออนมุ ัตโิ ครงการ พ.ค.64 - ครูชาญกจิ

2 ประชมุ คณะครูวางแผนการปฏิบัตงิ าน พ.ค.64 - ผอ.

3 ประชุมนกั เรียนเพอ่ื แจ้งวัตถปุ ระสงค์ พ.ค.64 - ครชู าญกจิ

4 ทำแปลงผัก ม.ิ ย.64 - ครูชาญกิจ ครภู รู ภิ ทั ร

5 ทำโรงปุ๋ยหมกั ม.ิ ย. 64 - นายศุภชยั

6 การปลูกผักต่างๆ มิ.ย.64- ม.ี ค.65 - ครูประจำชน้ั ทกุ คน

7 ทำโรงเรือนเพาะชำผักต่างๆ ม.ิ ย. 64 นายศุภชัย ครูชาญกจิ
ครภู รู ภิ ทั ร

8 การทำปยุ๋ ชีวภาพ ก.ค.64 - มี.ค.65 ครูภูรภิ ทั ร นกั เรยี น

9 การทำนำ้ ยาล้างจาน ส.ค.64 -ม.ี ค.65 ครูประจำชั้น, นกั เรียน

10 ประเมินโครงการ มี.ค.65 - ครชู าญกิจ

11 การสรปุ /รายงาน ม.ี ค.65 - ครูชาญกจิ

76

5.รายละเอียดการใชง้ บประมาณ

ที่ รายละเอยี ดกจิ กรรม และการใช้ เงนิ งบประมาณ เงินนอก รวม

งบประมาณ ตอบ ใช้ วสั ดุ รวม งบประมาณ งบประมาณ

แทน สอย

1 อิฐบล็อคทำแปลงผกั 3,000 3,000 3,000

2 ทำโรงเรอื นป๋ยุ หมัก 2,000 2,000 2,000

3 การปลกู ผักต่างๆ 1,000 1,000 1,000

4 ทำโรงเรอื นเพาะชำผกั ต่างๆ

5 การทำปุ๋ยชีวภาพ

6 การทำนำ้ ยาลา้ งจาน 1,000 1,000 1,000

รวม - - 7,000 7,000 7,000

6.การประเมนิ ผล

ตัวชวี้ ัดความสำเร็จ วธิ ีการประเมิน เครือ่ งมือที่ใช้

1.นกั เรยี น ร้อยละ 80 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ การทดสอบความรคู้ วามเขา้ ใจ - แบบทดสอบ

และสามารถปฏบิ ัติตามหลักปรัชญาของ เก่ียวกบั หลกั ปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี งได้อย่างถูกต้อง เศรษฐกจิ พอเพยี ง

2.นกั เรยี น ร้อยละ 80 สามารถปฏบิ ตั ิตาม การประเมนิ การปฏบิ ตั ติ าม -แบบประเมนิ

หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได้อยา่ ง หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ

ถกู ต้อง พอเพยี ง

3. นกั เรียนรอ้ ยละ 80 มคี ุณลักษณะอนั พึง -การประเมนิ คุณลักษณะอนั พึง -แบบประเมินคณุ ลักษณะ

ประสงค์ “อย่อู ย่างพอเพยี ง” ในระดับดีข้นึ ประสงคต์ ามหลกั ปรชั ญาของ อันพงึ ประสงค์ “อยู่อย่าง

ไป เศรษฐกิจพอเพียง พอเพียง”

4. นกั เรียน คร/ู บุคลากรทางการศึกษา -การบนั ทกึ การใชแ้ หล่งเรียนรู้ -แบบบันทึกการใช้แหล่ง

ผปู้ กครอง ร้อยละ 80 ใชศ้ นู ย์การเรยี นรู้ -ความพึงพอใจในการใช้แหลง่ เรียนรู้
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เรียนรู้
โรงเรียนบ้านทงุ่ ยาว สานกั งานเขตพ้ืนที่ -แบบสอบถามความพงึ
การศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 เป็น พอใจ

แหล่งเรียนรู้

7. ผลทค่ี าดว่าจะได้รับ

7.1 นักเรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจและสามารถปฏิบัตติ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได้อย่าง

ถูกตอ้ ง

77

7.2 นักเรียนเป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “อยู่อย่างพอเพียง” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง

7.3 นักเรียน ครู/บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และหน่วยงานอื่น ใช้ศูนย์การเรียนรู้ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โรงเรยี นบา้ นทุง่ ยาว สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 เป็น
แหลง่ เรียนรู้

ลงช่อื ........................................... ผ้เู สนอโครงการ ลงชอ่ื .........................................ผ้เู ห็นชอบโครงการ
(นายชาญกิจ ชุตเิ ดโช) (นางสาวชนญั ธดิ า ใจสมุทร)
ครโู รงเรยี นบา้ นทุ่งยาว
รองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งยาว

ลงชอ่ื ........................................ผอู้ นมุ ตั ิโครงการ
(นางสาวพิมพป์ ระกาย ศรีไตรรัตน)์
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านท่งุ ยา

78

โครงการ พัฒนาทกั ษะทางด้านดนตรีและนาฏศลิ ป์
แผนงาน การจดั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน /งานวิชาการ
สนองกลยทุ ธท์ ี่ กลยทุ ธ์ท่ี 1 ด้านการพฒั นาคุณภาพผู้เรียน
กลุยทุ ธ์ท่ี 3 ด้านการส่งเสริมกระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผูเ้ รยี น
ลักษณะโครงการ เปน็ สำคญั
ผู้รับผิดชอบโครงการ โครงการต่อเน่ือง
งบประมาณ นางงามตา สุจรติ ธรุ การ ,ว่าที่ ร.ต.ธนากร ฉาวเกยี รติ
ระยะเวลาดำเนนิ การ 60,000 บาท
พฤษภาคม 2564 - เมษายน 2565

1. หลกั การและเหตุผล
การจัดการศึกษาเป็นการพัฒนาให้มนุษย์มีความเจริญทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา ปัจจุบัน

ความกา้ วหน้าทางการแพทย์ทำให้คน้ พบวา่ ดนตรีมีผลตอ่ การพฒั นาสมองของมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในวัย
เด็ก ซึ่งการเรียนดนตรีมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เด็กได้ทำกิจกรรมทางดนตรีสร้างอุปนิสัยที่ดี ตลอดจนการใช้เวลา
ว่างให้เกิดประโยชน์ โดยดนตรีสามารถช่วยสรา้ งสรรค์สังคมที่ดีได้ จากการใช้ประโยชน์ของดนตรีที่เหมาะสม
เด็กทุกคนมีศักยภาพในการเรียนรู้อย่างมากมาย แต่ละคนมีศักยภาพด้านต่าง ๆ ในตัวเองไม่เท่ากันและเด็ก
บางคนอาจมีลกั ษณะของความสามารถบางด้านสงู กว่าคนอนื่ ๆ และจำนวนไมน่ ้อยทม่ี ีความสามารถพิเศษบาง
ประการที่โดดเด่นกว่าเด็กอื่น ๆ การจัดการศึกษาความเป็นเลิศของเด็กไม่อาจเกิดขึ้นได้โดยปราศจากความ
ช่วยเหลือที่เหมาะสม ผู้ที่มคี วามสามารถพเิ ศษตอ้ งการปัจจัยที่สง่ เสริมการเรียนรู้ ซ่งึ รวมไปถึงวัสดุอุปกรณ์ทาง
การศึกษา การจัดสภาพการณ์ที่ท้าทายและการกระตุ้นที่เร่งเร้าให้เด็กพัฒนาสู้เป้าหมายสูงสุดของตนเองได้
ศิลปะดนตรีสากลแสดงให้เห็นถึงความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการและสุนทรียภาพและทุกครั้งที่ทางเทศ บาล
ตำบลทุ่งยาวหรือหน่วยงานที่ใกล้เคียงจัดกิจกรรมประเพณีวัฒนธรรมและการรณรงค์กิจกรรมต่างๆ เช่น การ
รณรงค์เพื่อไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง การรณรงค์เกี่ยวกับยาเสพติด การแข่งขันกีฬา–กรีฑา และอื่น ๆ จะขอความ
อนุเคราะห์วงดรุ ยิ างคข์ องโรงเรยี นร่วมเดินขบวนดว้ ยทุกครงั้ ดงั น้ันทางโรงเรียนบา้ นทุ่งยาว จงึ ใหก้ ารสนบั สนุน
ให้นกั เรียนกลา้ แสดงออกทางด้านดนตรีสากลและเตรยี มความพร้อมในวงดุรยิ างค์ของโรงเรียนจึงได้ดำเนินการ
จัดทำโครงการน้ขี ้ึน

2. วตั ถุประสงค์
2.1 เพือ่ พัฒนาศักยภาพผูเ้ รยี นตามความถนัด ความสนใจและความสามารถ
2.2 เพ่ือพัฒนาผูเ้ รยี นให้มีสุนทรยี ภาพและลักษณะนิสัยด้านดนตรี
2.3 เพื่อนำนักเรียนแสดงดนตรีในกจิ กรรมต่างๆ ของโรงเรยี น
2.4 เพ่ือนำนักเรยี นแสดงดนตรีในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน เชน่ วนั ไหวพ้ ระจนั ทร์ งานลอยกระทง

งานประเพณีท้องถ่นิ กจิ กรรมเดนิ รณรงค์ตา่ งๆ
2.5 เพ่อื ฝึกใหน้ กั เรยี นมีระเบียบวินยั มสี มาธิในการเรยี น

79

3. เป้าหมาย
3.1 ด้านปริมาณ
3.1.1 นกั เรยี นโรงเรียนบ้านทุ่งยาวร้อยละ 85 ที่ถนดั และสนใจดา้ นดนตรี
3.2 ด้านคุณภาพ
3.2.1 นกั เรียนเข้าใจบทบาทและสามารถปฏิบัติกจิ กรรมได้
3.2.2 โรงเรียนเป็นทย่ี อมรบั ของชุมชนและผู้ปกครอง
3.2.3 นักเรียนสามารถเขา้ แข่งขันทักษะทางดา้ นดนตรี
3.2.4 นกั เรยี นสามารถศึกษาตอ่ ดา้ นดนตรีในระดับทีส่ ูงข้ึนได้
3.2.5 เพอื่ เปน็ พ้ืนฐานใหน้ ักเรียนประกอบอาชีพในอนาคต
3.2.6 เพ่อื ให้นักเรียนมีทัศนคตทิ ี่ดีในการเป็นนกั ดนตรี

4. กจิ กรรมดำเนินการ

ท่ี กจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผ้รู ับผิดชอบ

ดำเนินการ - งามตา, ธนากร
- งามตา, ธนากร
1. เขยี น – เสนอโครงการ พฤษภาคม 2564 - งามตา, ธนากร
งามตา, ธนากร
2. ประชมุ ชี้แจงโครงการ พฤษภาคม 2564 - งามตา, ธนากร
- งามตา, ธนากร
3. ขออนุมตั ิงบประมาณ / โครงการ พฤษภาคม 2564 10,000 งามตา, ธนากร
30,000 งามตา, ธนากร
4. ดำเนินการตามโครงการ - งามตา, ธนากร

- ประชุมนักเรยี น มิถนุ ายน 2564 - งามตา, ธนากร
- งามตา, ธนากร
- รับสมคั รนักเรียนท่สี นใจ 60 คน มิถุนายน 2564

- จดั ซ้ืออปุ กรณ์เพิ่มเติม พฤษภาคม 2564

- ซอ่ มแซมวสั ดุ พฤษภาคม 2564

- ดำเนนิ การฝึกซ้อม พฤษภาคม 2564-

มีนาคม 2565

- สร้างแบบประเมนิ เกบ็ ข้อมูล มีนาคม 2565

5. ประเมนิ ผล – สรปุ ผล – รายงาน มีนาคม 2565

5. รายละเอยี ดการใชง้ บประมาณ

ท่ี รายการกิจกรรม / คำชแ้ี จง จำแนกตามหมวดรายจา่ ย เงนิ นอก รวม
ในการใช้งบประมาณ ตอบแทน ใชส้ อย วสั ดุ รวม งบประมาณ 30,000

1. ซอ่ มบำรงุ เครื่องดนตรี - 30,000 - 30,000 -

80

ที่ รายการกิจกรรม / คำชี้แจง จำแนกตามหมวดรายจ่าย รวม เงนิ นอก รวม
ในการใชง้ บประมาณ ตอบแทน ใช้สอย วสั ดุ งบประมาณ 8,000

2. ลน้ิ แซกโซโฟน(โซปราโน/อัล - - 8,000 8,000 - 2,000
20,000
โต/เทรนเนอร์/ครารเิ น็ต) - 60,000
-
3. สายกตี า้ ร์ไฟฟ้า - - 2,000 2,000 -

4. ชุดจินตลลี าประกอบเพลง - - 20,000 20,000

รวม 30,000 30,000 60,000

6. การประเมนิ ผล

ตัวชว้ี ดั ความสำเร็จ วิธวี ดั / ประเมินผล เครื่องมือท่ีใช้วดั
1. นักเรยี นรอ้ ยละ 100 ของนกั เรียนทเ่ี ข้า ประเมนิ แบบประเมนิ
รว่ มกิจกรรมได้รับการพัฒนาศกั ยภาพ
ความถนัด ความสนใจและความสามารถ ประเมนิ แบบประเมิน
2. นกั เรียนร้อยละ 100 ของนักเรียนท่เี ขา้
รว่ มกจิ กรรมท่สี นุ ทรียภาพและลักษณะ
นิสัยด้านดนตรใี นระดับดี

7. ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ
7.1 นกั เรยี นเรียนรู้อย่างมีความสขุ ส่งผลใหผ้ ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นและระดับคุณภาพตามมาตรฐาน

การศึกษาสงู ขึ้น
7.2 นกั เรยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจหน้าทแ่ี ละบทบาทสามารถปฏิบตั ิกจิ กรรมได้
7.3 โรงเรยี นไดร้ ่วมกิจกรรมกับชุมชน

ลงชอื่ ...........................................ผูเ้ สนอโครงการ ลงช่ือ...........................................ผ้เู หน็ ชอบโครงการ
(นางงามตา สจุ รติ ธุระการ) (นางสาวชนัญธดิ า ใจสมุทร)
ครโู รงเรยี นบา้ นทงุ่ ยาว
รองผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นทุ่งยาว

ลงชอื่ ........................................ผูอ้ นุมัตโิ ครงการ
(นางสาวพิมพ์ประกาย ศรีไตรรตั น)์
ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านทุ่งยาว

81

การบริหารงบประมาณ

82

โครงการ สนบั สนุนคณุ ภาพการศึกษาโดยไม่เสียคา่ ใชจ้ ่าย 15 ปี

แผนงาน การจัดการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน งานบริหารงานงบประมาณ

สนองกลยุทธ์ที่ กลยทุ ธท์ ่ี 1 ด้านการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน

กลยุทธ์ที่ 2 ดา้ นการเพ่มิ ประสิทธิภาพกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

กลยทุ ธท์ ี่ 3 ดา้ นการสง่ เสรมิ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รยี น

เป็นสำคัญ

ลักษณะโครงการ โครงการตอ่ เนื่อง

ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ นางสาวพยอง ตดู้ ำ

นางสาวจารุพตั ร ครชาตรี

งบประมาณ 546,225 บาท

ระยะเวลาดำเนินการ พฤษภาคม 2564 – เมษายน 2565

............................................................................................................................. .................................................

1. หลกั การและเหตุผล

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้บัญญัติสาระสำคัญในหมวด 5 หน้าที่ ของ

รฐั ดา้ นการศึกษา โดยมาตรา 54 รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปีต้ังแต่ ก่อน

วัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และบัญญัติเกี่ยวกับการสนับสนุน

ค่าใช้จ่ายว่า ในการดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนา หรือให้ประชาชนได้รับการศึกษา รัฐต้อง

ดำเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษาตามความถนัดของตน ในส่วน

ของบทบัญญัติของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ได้บัญญัติเกี่ยวกับสิทธิ

และหน้าที่ทางการศึกษาในลักษณะเช่นเดียวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 โดย

มาตรา 10 วรรคหนึ่งได้บัญญัติไว้ว่าการจัดการศึกษาต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและ โอกาสเสมอกันในการรับ

การศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ได้แก่

(1) ค่าจัดการเรียนการสอน (2) ค่าหนังสือเรียน (3) ค่าอุปกรณ์การเรียน (4) ค่าเครื่องแบบนักเรียน (5) ค่า

กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น และ (6) คา่ ใช้จ่ายอ่นื ตามทีค่ ณะรัฐมนตรี เห็นชอบ

ดังนั้นทางโรงเรียนได้ดำเนินการตามวัตถุประสงค์ในการจัดการจัดการศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนได้รับ

โอกาสทางการศึกษา เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม ใน

รายการ พื้นฐาน ได้แก่ ค่าหนังสือเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน และค่าเครื่องแบบนักเรียน ให้นักเรียนทุกคนมี

ความพร้อมที่จะได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน โดยการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เป็น

การจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้ เกิดความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม พัฒนาคุณภาพการศึกษา เกิด

คุณคา่ ต่อตนเองและสงั คม

2. วัตถุประสงค์
2.1 นกั เรยี นไดร้ ับโอกาสทางการศกึ ษาอย่างเสมอภาคและเปน็ ธรรม ไดแ้ ก่ ค่าหนังสอื เรียน ค่าอุปกรณ์

การเรยี น และค่าเคร่ืองแบบนักเรียน

83

3. เป้าหมาย
3.1 เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ
3.1.1 นักเรียนทกุ คนได้รับหนังสอื เรยี นฟรีตลอดปกี ารศกึ ษา ร้อยละ 100
3.1.2 นกั เรียนทุกคนได้รบั เงินอปุ กรณก์ ารเรยี น ภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนท่ี 2 ร้อยละ 100
3.1.3 นกั เรยี นทกุ คนไดร้ ับเงนิ คา่ เครอ่ื งแบบนักเรียน คนละ 1 ครง้ั ร้อยละ 100
3.2 เปา้ หมายเชงิ คุณภาพ
3.2.1 นกั เรียนทุกคนไดร้ บั การศกึ ษาโดยไม่เสียคา่ ใชจ้ ่าย สำหรบั รายการหนงั สือเรยี น อุปกรณ์การ

เรยี น เครื่องแบบนักเรียน ที่ภาครฐั ใหก้ ารสนบั สนุน

4. กจิ กรรมและการดำเนินการ ระยะเวลาดำเนินงาน งบประมาณ ผรู้ บั ผดิ ชอบ
กิจกรรม พ.ค. 2564 ครพู ยอง
พ.ค. 2564 ครูพยอง
1. เขียน/เสนอโครงการ/ประชมุ ชี้แจง
2. ขออนมุ ัติโครงการ/งบประมาณ ก.พ.64 –ม.ี 64 ครูจารุพัตร/ครูทกุ คน
3.ดำเนินการตามโครงการ เม.ย.64 ครภู รู ภิ ทั ร
พ.ค.64 ครูพยอง/ครูทุกคน
3.1 สำรวจหนังสือเรยี น
3.2 จัดซอ้ื หนงั สอื เรยี น พ.ค. 64 ครพู ยอง/ครทู ุกคน
3.3 เบิกจ่ายเงนิ คา่ เคร่อื งแบบให้ผู้ปกครอง
นกั เรยี น พ.ค. 64 –มิ.ย.64 ครูพยอง/ครทู ุกคน
3.4 เบิกจา่ ยเงนิ ค่าอุปกรณก์ ารเรียนให้
ผู้ปกครองนักเรยี น
3.5 จัดทำเอกสารการจา่ ยเงินและเก็บ
ใบเสร็จรบั เงิน

ประเมนิ /สรปุ ผล / รายงานผล ครูพยอง

5. รายละเอียดการใช้งบประมาณ ตอบแทน เงนิ งบประมาณ รวม
ใชส้ อย วสั ดุ รวม เงินนอก
ท่ี กิจกรรม - 259,975
- งบประมาณ 140,880
1 คา่ หนงั สือเรียน - - 259,975 259,975 - 145,370
2 ค่าเครื่องแบบนักเรียน - - 140,880 140,880 - 546,225
3 ค่าอปุ กรณก์ ารเรยี น - 145,370 145,370 -

รวม - 546,225 546,225 -

84

6. การประเมนิ ผล

ตัวชว้ี ดั ความสำเรจ็ วธิ กี ารประเมนิ เครอ่ื งมือทีใ่ ช้
1. แบบสอบถาม
นักเรยี นทุกคนได้รับการศึกษาโดยไมเ่ สีย 1. สอบถาม สมั ภาษณ์ 2. แบบประเมินโครงการ

คา่ ใช้จ่าย สำหรบั รายการหนังสือเรยี น 2. สงั เกต

อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบนักเรยี น ท่ี

ภาครฐั ใหก้ ารสนับสนุน

7. ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ
7.1 นักเรียนได้รับการสนับสนุนรายการหนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียนและ เครื่องแบบนักเรียน

อยา่ งท่ัวถงึ และเท่าเทียม
7.2 นักเรียนมีความพร้อมที่จะเรียน เนื่องจากได้รับการสนับสนุนหนังสืออุปกรณ์การเรียน และ

เครื่องแบบนกั เรียนครบทุกคน
7.3 ผู้ปกครองนักเรียนได้รับการบรรเทาภาระค่าครองชีพ เนื่องจากลดค่าใช้จ่ายในเรื่องหนังสือ

แบบเรียน อปุ กรณก์ ารเรียน เครือ่ งแบบนกั เรยี น

ลงชือ่ ........................................... ผู้เสนอโครงการ ลงชื่อ.............. ...........................ผู้เห็นชอบโครงการ
(นางสาวพยอง ต้ดู ำ) (นางสาวชนญั ธดิ า ใจสมทุ ร)
ครโู รงเรียนบา้ นทุ่งยาว
รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นท่งุ ยาว

ลงช่อื ........................................ผ้อู นมุ ตั โิ ครงการ
(นางสาวพิมพป์ ระกาย ศรีไตรรัตน)์
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านท่งุ ยา

85

โครงการ พัฒนาระบบ งานการเงนิ บัญชี และพัสดุ

แผนงาน การบรหิ ารงานงบประมาณ

สนองกลยุทธ์ท่ี กลยทุ ธ์ที่ 2 ด้านการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพกระบวนการบริหาร

และการจดั การ

ลักษณะโครงการ โครงการตอ่ เนื่อง

ผู้รับผดิ ชอบโครงการ นางสาวพยอง ตู้ดำ นางสาวจารุพตั ร ครชาตรี

นายภรู ภิ ัทร หยงสตาร์ นางสาวพชุ นาฎ รตั นแกว้

นางแสงดาว ไพบลู ย์

งบประมาณ 21,700 บาท

ระยะเวลาดำเนนิ การ พฤษภาคม 2564 - เมษายน 2565

…………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1. หลักการและเหตุผล

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา
๑๐ กำหนดไว้ว่า การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้น
พื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ซึ่งสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีนโยบายด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ
และมีมาตรฐานและการลดความเหลื่อมล้ำ ทางการศึกษา เน้นการ สร้างโอกาสให้เด็กวัยเรียน และผู้เรียนทกุ
คนเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ ที่เป็น มาตรฐานเสมอกัน เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของ
ประเทศ โดยจัดให้มีโครงการเรียนฟรี ๑๕ ปี ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการปรับปรุงพัฒนาระบบงานการเงินและ
พัสดุ เพื่อให้สอดคล้องกับหลักธรรมาภิบาล ตลอดจนการ ใช้ทรัพยากร ขององค์กรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ป้องกันการทุจริตและความผิดพลาดท่ีจะเกิดขึ้นกับงานการเงิน และ พัสดุของโรงเรยี น จึงใช้หลกั การบริหาร
ความเสยี่ ง เป็นเคร่อื งมือช่วยในการปรับปรุงและพัฒนาระบบงานการเงนิ การบญั ชี และพัสดขุ องโรงเรียน ซ่ึง
จะช่วยในการตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงานด้านด้านการเงิน การ บัญชีและพัสดุ ตลอดจนการ
ปฏิบัติงานอื่นให้ดำเนินตามนโยบาย เป้าหมายและวัตถุประสงค์ตามแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษาและ
แผนปฏิบัติงานประจำปีของโรงเรียนท่เี กีย่ วขอ้ งอยา่ งถกู ตอ้ ง

โรงเรียนบ้านทุ่งยาว จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบงานการเงิน งานบัญชี และงานพัสดุ เพื่อ
พัฒนาระบบการทำงาน ซึ่งประกอบด้วยงานการเงิน งานบัญชี และงานพัสดุ ให้มีประสิทธิภาพเพื่อสนับสนนุ
งานของทกุ กลุ่มงาน ให้สามารถดำเนนิ ไปตามแผนอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

2. วตั ถุประสงค์
2.1 เพือ่ ใหโ้ รงเรียนบริหารงานด้านงบประมาณ งานการเงิน การบัญชีและพสั ดขุ องโรงเรียน

ดำเนนิ การอย่างถูกต้องเปน็ ปัจจบุ นั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

86

2.2 พัฒนาระบบงานการเงินและพัสดุของโรงเรยี น ใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อนกั เรียนและทางราชการมาก
ท่ีสดุ

3. เปา้ หมาย
3.1 เชิงปริมาณ
3.1.1 บคุ ลากรที่รับผดิ ชอบปฏบิ ัติหน้าทีไ่ ด้อยา่ งมีประสิทธิภาพ รอ้ ยละ ๑๐๐
3.1.2 โรงเรียนมีหลกั ฐานเอกสารเปน็ ระบบและถูกต้องชดั เจนและพอใช้ในงาน ร้อยละ ๑๐๐
3.2 ดา้ นคณุ ภาพ
3.2.1 ครูและบคุ ลากรทเี่ กย่ี วข้อง สามารถปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ เกี่ยวกบั งาน การเงิน งานบัญชี งาน
พัสดุ ได้อย่างรวดเรว็ และเป็นปัจจบุ ัน ถูกต้องตามระเบียบและเกดิ ประสทิ ธภิ าพสูงสุด

4. กิจกรรมและการดำเนินการ ระยะเวลาดำเนินงาน งบประมาณ ผ้รู ับผดิ ชอบ
กจิ กรรม พ.ค.64 21,700 บคุ ลากรทุกคน

1.ประชุมชีแ้ จงวางแผนการดำเนนิ งาน

2.ขออนุมัตงิ บประมาณโครงการ พ.ค.64 พยอง

3.ดำเนนิ การตามกิจกรรม ดังนี้ พ.ค.64 –เม.ย.65 พยอง
พชุ นาฎ
3.1 เบิกจา่ ยเงนิ ตามแผนการใช้เงนิ ตาม พ.ค.64 –เม.ย.65
ภูริภทั ร , จารุพัตร
งบประมาณที่ไดร้ บั จัดสรร พ.ค.64 –เม.ย.65 จารพุ ตั ร , แสงดาว
พ.ค.64 –เม.ย.65 ภูรภิ ัทร , จารุพัตร
3.2 การทำบญั ชีการเงนิ ในทะเบียนคุมตาม พ.ค.64 –เม.ย.65 พยอง
ประเภทของเงินอดุ หนุน/ รายงานเงินคงเหลือ ต.ค 64 , เม.ย. 65
ประจำวนั ทกุ เดือน ต่อผบู้ ริหาร และสพป.ตรงั
ทกุ ส้นิ เดือน
3.3 การจดั ซอื้ จดั จา้ ง
3.4 การลงทะเบยี นพัสดุ ครภุ ณั ฑ์
3.5 การจำหน่ายพสั ดุ ครภุ ณั ฑ์
3.6 การรายงาน การรบั – จ่าย เงินอุดหนุน
ประเภทตา่ ง ๆ ในระบบบัญชีของ สพฐ.

4. สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ พยอง

87

5. รายละเอียดการใช้งบประมาณ ตอบแทน เงนิ งบประมาณ รวม เงนิ นอก รวม
ใช้สอย วัสดุ งบประมาณ
ท่ี กิจกรรม -
- 3,000 6,000 9,000 - 9,000
1. การทำบญั ชีการเงนิ พัสดุ 3,000 5,700 8,700 - 8,700
2. การจัดซ้อื จดั จ้าง 4,000 4,000
3 การลงทะเบยี นพสั ดุ ครุภัณฑ์ 4,000

รวม - - - 21,700 - 21,700

6. การประเมินผล วิธีการประเมนิ เครื่องมอื ที่ใช้
ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1 สังเกต 1. แบบสังเกต
2.สอบถาม 2.แบบประเมนิ ความพึงพอใจ
1. มีหลกั ฐานเอกสารทางการเงนิ 3.สัมภาษณ์
ครบถ้วนและ ถกู ตอ้ งตาม
ระเบยี บของการเงนิ และพัสดุ

7. ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ ับ
โรงเรียนได้รับการพัฒนาระบบการบริหารงบประมาณ มีระบบงานการเงนิ การบัญชี และพัสดุถูกต้อง

เป็นปัจจุบันมีประสิทธิภาพ และสามารถตรวจสอบได้ ตามระเบียบของทางราชการ และสนองนโยบายของ
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ดา้ นการจัดการเรยี นการสอนอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

ลงชอ่ื ........................................... ผเู้ สนอโครงการ ลงชื่อ.............. ...........................ผู้เหน็ ชอบโครงการ
(นางสาวพยอง ตดู้ ำ) (นางสาวชนัญธิดา ใจสมุทร)
ครโู รงเรียนบ้านทุ่งยาว
รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบ้านทุ่งยาว

ลงชื่อ........................................ผอู้ นุมตั โิ ครงการ
(นางสาวพิมพ์ประกาย ศรีไตรรตั น์)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นทุ่งยาว

88

โครงการ ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา

แผนงาน การจดั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน / งานงบประมาณ

สนองกลยุทธ์ที่ กลยุทธท์ ่ี 2 ด้านการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพกระบวนการบรหิ าร

และการจัดการ

ลักษณะโครงการ โครงการใหม่

ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ นายภรู ภิ ัทร หยงสตาร์

งบประมาณ 3,000 บาท

ระยะเวลาดำเนนิ การ พฤษภาคม 2564 - 30 เมษายน 2565

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

1. หลักการและเหตุผล

ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
( ฉบับที่ ๒ ) พุทธศักราช ๒๕๔๕ มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการจัดการศึกษา ดังนั้น ผู้ปกครอง
นักเรียน ชุมชน และหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน จึงต้องมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา เพื่อให้การศึกษามี
การพัฒนาให้ทันสมัย มีนวัตกรรมที่ก้าวไกล จึงต้องประสานความร่วมมือกันทุกฝ่าย ให้การศึกษามี
ประสิทธภิ าพย่งิ ขึน้

จากการที่โรงเรียนบ้านทุ่งยาว ได้รับการจัดสรรงบประมาณในแต่ละปีไม่เพียงพอต่อการบริหาร
จดั การท่ีสอดคลอ้ งกับการพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา จึงมคี วามจำเปน็ ต้องระดมทรพั ยากรเพื่อการศึกษา
เพื่อใช้ในการพัฒนาบุคลากร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามเกณฑ์มาตรฐาน ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงได้
จดั ทำโครงการนี้ขนึ้

2. วัตถปุ ระสงค์

2.1 เพ่อื ใหโ้ รงเรยี น ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการพฒั นาสถานศกึ ษาอยา่ งมีประสิทธภิ าพ
2.2 เพ่อื ระดมทรัพยากรช่วยเหลือนักเรียนท่ีขาดแคลนและยากจน
2.3 เพ่ือพัฒนางานดา้ นตา่ งๆ ของโรงเรยี นให้ดำเนินอย่างมีประสทิ ธิ

3. เปา้ หมาย

3.1 เชงิ ปริมาณ
3.1.1 โรงเรยี น ผปู้ กครอง และชุมชนมสี ่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา ร้อยละ 85
3.1.2 นักเรยี นท่ขี าดแคลนและยากจนไดร้ บั ทนุ การศึกษา ร้อยละ 95
3.1.3 โรงเรียนได้รับการพฒั นาจากการระดมทรัพยากร ร้อยละ 70

3.2 เชิงคุณภาพ
3.2.1 นกั เรยี นท่ีขาดแคลนและยากจนไดร้ ับทนุ การศึกษาอยา่ งทั่วถึง
3.2.2 ผู้ปกครอง ชมุ ชน หน่วยงานทั้งภาครฐั และเอกชน คณะครูและนกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการจดั หา

งบประมาณสำหรับใชใ้ นการพัฒนาและปรับปรุงโรงเรยี น

89

4. วิธกี ารดำเนินงานและระยะเวลาดำเนนิ งาน

กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินงาน งบประมาณ ผูร้ บั ผิดชอบ
1,000 นายภรู ภิ ทั ร หยงสตาร์
1. จดั หาทนุ การศึกษา ม.ิ ย.64– มี.ค.65 2,000 นายภูรภิ ัทร หยงสตาร์

2. ระดมทรัพยากรจากชุมชน ม.ิ ย.64– มี.ค.65

5. รายละเอียดการใช้งบประมาณ

รายงานกิจกรรม/คำ จำแนกตามหมวดรายจ่าย

ที่ ช้ีแจงการใช้ งบประมาณ ค่าตอบแทน ค่าใช้ คา่ วสั ดุ ระยะเวลา
งบประมาณ สอย มี.ค.65

1. คา่ วสั ดุ 3,000 3,000

6. การประเมินผล วิธปี ระเมิน เครื่องมอื
สอบถาม แบบสอบถาม
ตัวช้ีความสำเรจ็
นักเรียนได้รับทุนการศึกษา/งบประมาณที่
ได้รับการสนับสนุนจาก ผู้ปกครอง ชุมชน
องคก์ รตา่ ง ๆ

7. ผลที่คาดวา่ จะได้รบั
7.1 โรงเรียนมีงบประมาณในการพัฒนางานอย่างเพียงพอ
7.2 นกั เรียนทข่ี าดแคลนได้ความช่วยเหลอื ตามความต้องการและความจำเปน็
7.3 โรงเรียนกบั ผู้ปกครองและชมุ ชนมคี วามสมั พันธ์อนั ดีต่อกัน

ลงชื่อ...........................................ผเู้ สนอโครงการ ลงช่อื ................ .........................ผเู้ ห็นชอบโครงการ
( นายภูริภัทร หยงสตาร์) (นางสาวชนัญธิดา ใจสมุทร)
ครโู รงเรยี นบ้านทุ่งยาว
รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นทุ่งยาว

ลงชอ่ื ................ ........................ผอู้ นมุ ตั ิโครงการ
(นางสาวพมิ พ์ประกาย ศรไี ตรรตั น์)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านทงุ่ ยาว

90

การบริหารทวั่ ไป

โครงการ 91
แผนงาน
สนองกลยุทธท์ ่ี อาหารกลางวนั สำหรบั นกั เรียน
ลักษณะโครงการ การจัดการศึกษาขัน้ พื้นฐาน / งานบรหิ ารทั่วไป
ผรู้ ับผิดชอบโครงการ กลยทุ ธ์ท่ี 2 ดา้ นการเพ่มิ ประสิทธิภาพกระบวนการบริหารและการจดั การ
โครงการตอ่ เน่ือง
งบประมาณ นางสาวจุรีรตั น์ พากเพยี ร , นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ ,
ระยะเวลาดำเนินการ วา่ ทรี่ อ้ ยตรีหญงิ สชุ าดา พลหลา
1,640,000 บาท
พฤษภาคม 2564 - เมษายน 2565

1. หลกั การและเหตุผล
ตามคมู่ อื การดำเนินงานกองทนุ เพ่ือโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน มีวตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ให้โรงเรียน

จัดอาหารกลางวันที่มีคุณค่าตามหลักโภชนาการและนักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดี เพื่อให้มีการดำเนินงาน
อาหารกลางวันในโรงเรยี นอยา่ งเป็นระบบและมีประสิทธภิ าพน้นั ในการนโี้ รงเรียนบ้านท่งุ ยาวได้สนองนโยบาย
ตามคู่มือดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนขึ้นเพื่อดำเนินการให้นักเรียนได้รับ
ประทานอาหารกลางวันที่ถกู หลกั โภชนาการ ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการไดก้ ำหนดไว้

“อาหาร” ตามความหมายจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 หมายถึง ของกิน,
เครื่องค้ำจุนชีวิต, เครื่องหล่อเลี้ยงชีวิต ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญ ในการดำเนินชีวิต การที่ได้รับประทานอาหาร
กลางวันครบทุกมื้อและถูกหลักอนามัยมีโภชนาการจะทำให้ร่างกายเจริญเติบโตสมกับวัย มีความต้านทานต่อ
โรคและจะทำให้อารมณ์ดี สมองแจ่มใส มีความเฉลียวฉลาดข้ึนเรียนรู้ไดด้ ี การที่นักเรียนทุกคนได้รับประทาน
อาหารมื้อกลางวัน นักเรียนย่อมตั้งใจเรียนเนื่องจากไม่มีความหิวโหยและร่างกายก็พร้อมที่จะเรียน เหตุผลท่ี
จำเป็นต้องมโี ครงการอาหารกลางวนั เน่ืองจากผู้ปกครองสว่ นใหญ่มอี าชพี กรดี ยาง ดังนัน้ จึงไม่มเี วลาดูแลเรื่อง
อาหารเช้านักเรียนเท่าที่ควร อาหารตอนกลางวันจึงเป็นอาหารมื้อที่สำคัญของนักเรียน และโครงการอาหาร
กลางวันนี้ ได้สอดคล้องกับแผน นโยบายของหน่วยเหนือ ที่ได้จัดสรรงบประมาณอาหารกลางวัน นักเรียนที่มี
ภาวะทุพโภชนาการ และนักเรียนขาดแคลนมาใหโ้ รงเรียนดำเนนิ การ
2. วัตถุประสงค์

2.1 เพอ่ื สนองนโยบายและรองรับการประเมนิ คุณภาพการศึกษาภายใน / ภายนอก
2.2 เพอื่ ใหน้ ักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวันทุกวนั และเปน็ อาหารท่ีมีคุณคา่ ทาง
โภชนาการครบถว้ น
2.3 เพอื่ ใหน้ ักเรยี นมรี ะเบียบวินัยและมารยาทในการรบั ประทานอาหารร่วมกนั
2.4 เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนในโครงการ
3.เป้าหมาย
3.1 ดา้ นปริมาณ

3.1.1 นักเรยี นรอ้ ยละ 100 ไดร้ ับประทานอาหารกลางวัน

92

3.2 ด้านคุณภาพ

3.2.1 นกั เรียนมีระเบยี บวนิ ยั มีคณุ ธรรม และมารยาทในการรบั ประทานอาหารดีขนึ้

3.2.2 นกั เรียนมผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนเฉลีย่ รอ้ ยละ 70 ทุกกลุ่มสาระ

3.2.3 นักเรียนร้อยละ 90 มีสุขภาพท่ีแขง็ แรง มภี าวะโภชนาการที่ดี

3.2.4 นักเรียนร้อยละ 100 ไดร้ บั สารอาหารครบทุกหมู่

4. กจิ กรรมการดำเนินการ

4.1 ภารกจิ ตามโครงการ

4.1.1 คัดเลือกนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการตำ่ กวา่ เกณฑ์มาตรฐาน และนกั เรยี น ขาดแคลน

4.1.2 แบ่งหน้าทีน่ ักเรียนช่วยงาน

4.1.3 จดั คำนวณปริมาณส่วนประกอบรายการอาหารแตล่ ะวนั

4.1.4 จดั ซ้ืออาหารสด – อาหารแห้ง

4.1.5 จัดทำหลักฐาน การซ้ืออาหาร การเบิกค่าอาหารรายวนั

4.1.6 ดแู ลแม่ครัวเรื่องการปรุง - ประกอบอาหาร

4.1.7 ร่วมบริการอาหารแกน่ ักเรยี นทกุ คน

4.2 กิจกรรมดำเนินการ

ที่ กิจกรรม ระยะเวลา ผรู้ ับผิดชอบ

1. ประชมุ ช้ีแจง โครงการ พฤษภาคม 64 ผอ./จรุ รี ัตน์

2. ขออนุมตั ิงบประมาณ โครงการ พฤษภาคม 64 จรุ ีรัตน์

3. ดำเนนิ การตามแผน พฤษภาคม 64–เมษายน 65 คณะครู/ นักเรียน/ภารโรง

4. สรปุ รายงานผล เมษายน 65 จุรีรัตน์

5.งบประมาณ 1,640,000 บาท (สพฐ.จัดสรรเทศบาลตำบลทงุ่ ยาว)

ท่ี รายงานกิจกรรม/คำช้ีแจง งบประมาณ จำแนกตามหมวดรายจา่ ย ระยะเวลา
ในการใช้งบประมาณ คา่ ตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ พ.ค.64-เม.ย.65

1. จัดซ้อื วัสดุ 1,640,000 80,000 - 1,560,000

6. บญั ชรี ายละเอียดการใช้วัสดุ จำนวน/หน่วย ราคา/หนว่ ย งบประมาณ

ที่ รายการ 410 คน 20 1,640,000
1. จา่ ยนกั เรยี น 200 วนั

รวม 1,640,000

7. การประเมนิ ผล วิธปี ระเมิน 93

ตวั ชคี้ วามสำเร็จ สงั เกต เครื่องมือ
ความรบั ผดิ ชอบของครู/ นักเรยี น สอบถาม แบบบนั ทึกการสงั เกต
ความพอใจของครู/ นกั เรียน/ผู้ปกครอง/
ชุมชน แบบสอบถาม

8. ผลทค่ี าดวา่ จะได้รบั
8.1 ครู, นักเรยี นทกุ คน ได้รบั ประทานอาหารกลางวนั ที่มีคุณคา่ ทางโภชนาการ และพอใจในบริการ

เร่อื งอาหารกลางวันของโรงเรียน
8.2 นกั เรียนมีระเบียบวนิ ยั มีมารยาทในการรบั ประทานอาหาร
8.3 นักเรียนมภี าวะทางโภชนาการดขี น้ึ ท้ังน้ำหนกั และสว่ นสูง
8.4 บุคลากรในโรงเรียนทุกคน รว่ มประสานงาน ต้งั ใจทำงานเตม็ ความสามารถ
8.5 ผู้ปกครอง ลดภาระเร่ืองค่าใช้จ่ายเงนิ อาหารกลางวนั
8.6 นกั เรียนที่ช่วยปรงุ อาหาร จะไดค้ วามรูเ้ กีย่ วกบั งานบ้านเนื่องจากลงมอื ปฏบิ ัติจริงๆ
8.7 นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธิท์ างการเรยี นรอ้ ยละ 70 ขึน้ ไป ทุกกลุ่มวชิ า

ลงช่อื ...................................ผู้เสนอโครงการ ลงชื่อ...............................................ผู้เ ห็นชอบโครงการ
(นางสาวจรุ รี ตั น์ พากเพียร) (นางสาวชนัญธดิ า ใจสมทุ ร)
ครโู รงเรียนบ้านทุ่งยาว
รองผ้อู ำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งยาว

ลงชอื่ ........................................ผ้อู นุมัติโครงการ
(นางสาวพิมพป์ ระกาย ศรีไตรรัตน์)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านทงุ่ ยาว

94

ชื่อโครงการ โรงเรยี นส่งเสริมสขุ ภาพ

แผนงาน การจดั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน งานบรหิ ารงานทัว่ ไป

สนองกลยทุ ธ์ที่ กลยุทธท์ ี่ 1 ด้านการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน

กลุยทุ ธท์ ี่ 3 ดา้ นการสง่ เสรมิ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รียน

เปน็ สำคัญ

ลักษณะโครงการ โครงการต่อเน่ือง

ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ 1. นางสาวปราณี วกิ จิ รัตนพิพฒั น์

2. นางสาวพุชนาฎ รตั นแก้ว

3. นางสาวพยอง ตู้ดำ

4. นายชาญกิจ ชตุ ิเดโช

5. นางสาวเบญจวรรณ สีดำ

6. นายศภุ ชยั ชว่ ยส่ง

งบประมาณ 21,175 บาท

ระยะเวลาดำเนนิ การ 17 พฤษภาคม 2564 – 31 มีนาคม 2565

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. หลกั การและเหตุผล

ตามพระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 1 บทท่ัวไปมาตรา 6 ไดก้ ำหนด การจัดการ

ศึกษาตอ้ งเปน็ ไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ทส่ี มบูรณท์ ้ังร่างกายจิตใจ สตปิ ัญญา ความรู้ และคุณธรรม มี

จริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชวี ิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขหากสถานศึกษาใดมีระบบ

การบริหารจัดการที่ได้มาตรฐานมีคุณภาพตามเกณฑ์ตัวบ่งชี้ก็จะส่งผลให้สถานศึก ษานั้นรู้ทิศทางการ

ดำเนินงานมีความคล่องตัวในการบริหารและสร้างความเข้มแข็งในการปฏิบัติงานบริหาร การจัดการอย่างมี

คุณภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้ที่มีส่วนร่วมกับการจัดการศึกษา แต่โรงเรียนยังประสบปัญหาสุขภาพ

กายสุขภาพของนักเรียน โดยมีนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ ปัญหาสุขภาพในช่องปากของนักเรียน ปัญหา

การบริโภค และเลือกซื้ออาหารที่ไม่ถูกหลักโภชนาการและการเกิดโรคจากพาหะนำโรค เช่น ยุงลาย ทำให้

เกิดผลกระทบตอ่ การเรยี นรู้ของนกั เรียน ส่งผลถึงผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรียน

ดังนั้น ทางโรงเรียนได้จัดทำโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพขึ้น เพื่อพัฒนาให้คุณภาพของผู้เรียนดี

ยิ่งขึ้นเพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิตของผู้เรียน ตลอดจนให้ผู้เรียนรู้จักบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและเฝ้า

ระวังอนั ตรายจากผลิตภณั ฑ์และโรคต่าง ๆทำให้ผูเ้ รยี นมีสขุ ภาพดี มีภาวะโภชนาการทส่ี มสว่ น ปฏิบัตติ ามสขุ

บัญญัติอย่างถูกต้อง ส่งผลให้การเรยี นรูข้ องนักเรียนมีประสิทธภิ าพยิ่งขึ้น ทำให้โรงเรียนสามารถก้าวสู่ระดับดี

มาก

2. วัตถุประสงค์

2.1 เพ่ือให้ผู้เรียนมนี ้ำหนกั -สว่ นสูงและสมรรถภาพทางกายตามเกณฑร์ วมทั้งดูแลตนเองให้มีความ

ปลอดภยั


Click to View FlipBook Version