The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านทุ่งยาว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thungyao.49, 2021-11-03 02:25:08

แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2564

แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านทุ่งยาว

Keywords: แผน

95

2.2 เพอื่ ให้ผูเ้ รียนมสี ุขนสิ ัย สุขภาพกายและสุขภาพจติ ที่ดี
2.3 เพ่อื ให้ผเู้ รียนได้รับวคั ซีนตามที่กำหนด
2.4 เพ่อื ส่งเสรมิ และกระต้นุ ใหผ้ ู้เรียนเห็นความสำคญั ในการออกกำลงั กาย
2.5 เพ่ือพฒั นาพฤติกรรมสขุ ภาพของผ้เู รียน ใหเ้ ป็นไปตามสขุ บัญญตั แิ หง่ ชาติ
2.6 เพือ่ ให้ผเู้ รยี นมภี าวะโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐาน
2.7 เพ่อื ให้ผเู้ รียนมีทักษะการตรวจสอบ เฝ้าระวงั ป้องกนั ปรบั ปรุง และแก้ปญั หาด้านการสุขาภิบาล
อาหารในโรงเรียน
2.8 เพอ่ื ให้ผ้เู รยี นความรู้ในการเลือกรับประทานอาหารทมี่ ีคุณค่า ถูกหลักโภชนาการ และความ
ปลอดภยั
2.9 เพอ่ื ให้ผเู้ รียนมคี วามรู้ ทักษะและปรบั เปลยี่ นพฤติกรรม รูเ้ ทา่ ทันโรคไข้เลือดออกและโรคตา่ งๆ
3.เป้าหมาย(เชิงปริมาณ/เชงิ คณุ ภาพ)
3.1 ดา้ นเชงิ ปริมาณ

1. ผเู้ รียนรอ้ ยละ 90 มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ได้มาตรฐานของกรมอนามัยอยใู่ นระดับดี
2. ผู้เรียนร้อยละ 90 สามารถดูแลตนเองให้มีสขุ ภาพกาย สุขภาพจิตทดี่ ีในระดับดี
3. ผูเ้ รยี นร้อยละ 90 มคี วามรู้และทกั ษะในการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรค
ไข้เลอื ดออกและโรคอ่ืนๆได้
3.2. ดา้ นเชิงคณุ ภาพ
นกั เรียนในโรงเรยี นบ้านทุ่งยาว มีสขุ ภาพดีตามเกณฑม์ าตรฐาน
4. กิจกรรมทด่ี ำเนนิ การ

กจิ กรรม ระยะเวลาดำเนนิ งาน งบประมาณ ผรู้ บั ผดิ ชอบ

1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน พ.ค. 64 - นางสาวปราณี

2. ประชุมช้ีแจงคณะกรรมการดำเนนิ งาน พ.ค. 64 - นางสาวปราณี

3. ดำเนินโครงการ/กจิ กรรม/งาน 9,000 นางสาวปราณี
3.1 กจิ กรรมบรกิ ารอนามยั โรงเรยี น นางสาวพุชนาฏ
นางสาวจุรีรตั น์
- ชง่ั น้ำหนัก วัดส่วนสงู นกั เรียนทุกคน และครปู ระจำชนั้
- ตรวจสุขภาพภาวะปากและฟนั
นักเรียน
- คดั กรองนักเรียนท่ีมีภาวะโลหิตจาง
- ตรวจสขุ ภาพนักเรียน
- ตรวจสายตานักเรียน
- เคลือบหลมุ รอ่ งฟนั นกั เรียน

96

กจิ กรรม ระยะเวลาดำเนนิ งาน งบประมาณ ผ้รู ับผดิ ชอบ

- ตรวจสขุ ภาพประจำปีของบุคลากรใน - นางสาวพุชนาฎ
โรงเรยี น และครูประจำชน้ั

- จัดซอื้ เวชภณั ฑ์และวัสดอุ ปุ กรณห์ ้อง 1,000 นางสาวจรุ ีรตั น์
พยาบาล นางสาวปราณี
นางงามตา
3.2 กจิ กรรมสขุ ภาพดชี วี มี สี ุข พ.ค. 64 –31 ม.ี ค 65 นางสาวพุชนาฏ
- แปรงฟันหลงั รบั ประทานอาหารกลางวนั ทกุ
นางสาวปราณี
วนั นางสาวพชุ นาฏ
- การออกกำลังกายตอนเช้า นางสาวเบญจวรรณ
- การกฬี า – กรฑี านักเรยี น
- กนิ ธาตเุ หล็กทุกวนั สำหรบั นกั เรียนท่มี ีผล นางสาวปราณี

เม็ดเลอื ดแดงต่ำ และนกั เรยี นปกตกิ ินสปั ดาหล์ ะ
ครั้ง

- กำจดั เหา

3.3 กจิ กรรมโภชนาการและความ พ.ค. 64 –31 มี.ค 65
ปลอดภัยดา้ นอาหาร(อย.น้อย)/อุบัติเหตุ

- อาหารกลางวนั
- ประกันชวี ติ นกั เรยี น
- ระบบชว่ ยเหลอื ดแู ลนกั เรียน
- วนั งดสูบบุหรี่
- วนั ตอ่ ตา้ นยาเสพติด

3.4 กิจกรรมปลอดยุงลายปอ้ งกัน 17 พ.ค. 64 –31 ม.ี ค. 65
ไข้เลอื ดออกและการควบคมุ โรคต่างๆ

- กิจกรรมควบคมุ และปอ้ งกันโรค
ไข้เลอื ดออก

- กิจกรรมควบคมุ และปอ้ งกันโรคมอื เทา้
ปาก

- กจิ กรรมควบคุมและปอ้ งกันโรคตาม
ฤดกู าล

4.ประเมินผล สรปุ ผล รายงานโครงการ มนี าคม 2565

5. รายละเอียดการใชง้ บประมาณ เงนิ งบประมาณ วสั ดุ เงนิ นอก 97
ตอบแทน ใช้สอย งบประมาณ
ท่ี กิจกรรม รวม
6,000 6,000
1 เวชภัณฑ์ 2,000
2 วสั ดอุ ุปกรณ์ห้องพยาบาล 2,000
3 คา่ ตรวจสขุ ภาพของแมค่ รวั 500
4 คา่ กระดาษ 1,000 500
5 ค่าวสั ดุในการทำกิจกรรม
500

500

รวม 1,000 9,000 12,000
6. การประเมนิ ผล

ตวั ชี้วดั ความสำเร็จ วิธกี ารประเมิน เคร่อื งมอื ท่ใี ช้

1. ผเู้ รยี นทุกระดบั ชัน้ มสี ุขนิสยั สขุ ภาพกาย และ - สอบถาม - แบบสอบถาม
- แบบบันทกึ
สขุ ภาพจิตทด่ี ี - ประเมนิ สมรรถภาพ - แบบประเมนิ

2. ผเู้ รยี นได้รับวคั ซีนตามท่ีกำหนด - แบบบันทึกสขุ ภาพ - แบบบันทึก

3. ผู้เรียนมนี ้ำหนกั ส่วนสงู และสมรรถภาพทางกาย - ตรวจวดั น้ำหนัก สว่ นสูง - แบบบนั ทกึ

ตามเกณฑ์ รวมทงั้ รู้จักดูแลตนเองใหม้ ีความ การตรวจสขุ ภาพนักเรียน

ปลอดภัย

4. ผเู้ รียนมสี ่วนรว่ มในการออกกำลังกายภายใน - สงั เกตการออกกำลงั กาย - แบบประเมิน

โรงเรยี น - แบบสอบถาม

5. ผูเ้ รยี นมีความรคู้ วามเข้าใจและปฏิบตั ิตามหลกั - ตรวจสอบการแปรงฟัน - แบบสอบถาม

สขุ บัญญัตไิ ด้อย่างถูกต้องและมปี ระสทิ ธิภาพ - การรกั ษาสขุ ภาพของนกั เรยี น - แบบบันทกึ

- สอบถาม - แบบประเมนิ

- บันทกึ หลังสอน

6. ผเู้ รยี นมภี าวะโภชนาการตามเกณฑม์ าตรฐาน - ตรวจสอบ - แบบสอบถาม
- สอบถาม - แบบบันทกึ

98

ตัวช้วี ดั ความสำเร็จ วิธีการประเมนิ เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้
- แบบประเมิน
- ตรวจวดั น้ำหนกั ส่วนสูง
การตรวจสขุ ภาพนักเรยี น - แบบสอบถาม
- แบบบนั ทึก
7. ผู้เรยี นมีทักษะการตรวจสอบเฝา้ ระวังป้องกัน - ตรวจสอบ -แบบประเมนิ
ปรบั ปรงุ และแก้ปัญหา ด้านการสุขาภิบาลอาหารใน - สอบถาม
โรงเรยี นเพือ่ ให้มีประโยชน์ต่อผบู้ ริโภคอยา่ งมี - แบบสอบถาม
ประสิทธิภาพ - แบบบันทึก
- แบบประเมนิ
8. ผู้เรียนมีความรู้ในการเลือกรบั ประทานอาหารท่ีมี - ตรวจสอบ - บนั ทึกหลังสอน
คุณคา่ ถกู หลักโภชนาการและความปลอดภัย - สอบถาม - แบบสอบถาม
- แบบบนั ทกึ
9. ผูเ้ รียนรจู้ ักเฝา้ ระวงั อนั ตรายจากผลติ ภัณฑ์ต่าง ๆ - ตรวจสอบ - แบบประเมนิ
- สอบถาม - แบบสอบถาม
- แบบบันทึก
10. ผู้เรียนมคี วามร้คู วามเขา้ ใจ รู้จกั ควบคมุ และ - ตรวจสอบ - แบบประเมนิ
ป้องกนั ตนเองใหม้ ีความปลอดภยั จากโรค - สอบถาม - บันทึกหลังสอน
ไขเ้ ลอื ดออกและการปอ้ งกนั โรคต่าง ๆ

7. ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ
7.1 ชว่ ยลดปริมาณการขาดเรียนของผเู้ รียนได้
7.2.ส่งผลให้การเรียนของผเู้ รียนมปี ระสทิ ธิภาพมากยิง่ ข้นึ
7.3 ผู้เรยี นมีความมน่ั ใจในตนเองและกล้าแสดงออกมากยงิ่ ขน้ึ
7.4 ผ้เู รียนสามารถนำความรคู้ วามเข้าใจที่ได้รบั ไปถ่ายทอดให้กบั บุคคลรอบขา้ งได้
7.5 ผู้เรยี นสามารถนำความรไู้ ปปรบั ใชใ้ นครอบครัวและชุมชนของตนเองได้
7.6 อตั ราการเกิดโรคในโรงเรียนลดลงและสามารถควบคมุ โรคไดใ้ นเวลาอันส้ัน
7.7 ผเู้ รียนเกดิ พฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธย์ุ ุงลายอย่างต่อเน่อื งและสมำ่ เสมอ
7.8 โรงเรยี นและผู้เรยี นสามารถเสรมิ สร้างความรว่ มมอื ระหว่างองค์กรภายนอกได้

99

ลงช่ือ...................................ผูเ้ สนอโครงการ ลงช่อื ...............................................ผู้เหน็ ชอบโครงการ
(นางสาวปราณี วิกจิ รตั นพิพัฒน์) (นางสาวชนญั ธิดา ใจสมทุ ร)

ครูโรงเรยี นบ้านทุ่งยาว รองผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นทุ่งยาว

ลงช่อื ........................................ผู้อนมุ ตั โิ ครงการ
(นางสาวพิมพป์ ระกาย ศรไี ตรรัตน์)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านทุง่ ยาว

100

โครงการ กิจกรรมสภานักเรียน

แผนงาน การจดั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน / งานบรหิ ารทั่วไป

สนองกลยทุ ธท์ ี่ กลยทุ ธ์ท่ี 1 ด้านการพัฒนาคุณภาพผ้เู รียน

กลุยทุ ธท์ ่ี 3 ด้านการสง่ เสรมิ กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่

เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั

ลักษณะโครงการ โครงการตอ่ เนื่อง

ผู้รบั ผิดชอบโครงการ นางงามตา สจุ รติ ธุรการ

นายชาญกิจ ชตุ เิ ดโช

งบประมาณ 2,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินการ พฤษภาคม 2564 – เมษายน 2565

1. หลักการและเหตุผล

ระบบการปกครองของประเทศไทยมีการปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย โรงเรียนเปน็ สงั คมแรกท่ี
ผู้เรียนได้มีโอกาสใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่โรงเรียนต้องฝึกให้ผู้เรียนรู้จักประชาธิปไตย ตาม

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม หมวด 1 บททั่วไป มาตรา 7 บัญญัติไว้ว่า

ในกระบวนการเรยี นรตู้ อ้ งม่งุ สร้างจติ สำนึกทีถ่ กู ต้องเก่ียวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมี

พระมหากษัตริย์เป็นประมุข มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมของ

ประเทศชาติ หมวด 4 มาตรา 23 (1) ความรู้เกี่ยวกับตนเองและความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม ได้แก่

ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลก รวมถึงความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของสังคมไทยเพ่ือ

ปลูกฝังให้เด็กเป็นบุคคลที่ดีของการเป็นประชาธิปไตยอยู่ในจิตใจ นอกจากนี้หลักสูตร พ.ศ.2551 ส่งเสริมให้

นกั เรยี นเปน็ คนดีในสังคมตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประการ และท้ังค่านยิ ม 12 ประการ โรงเรยี นบา้ น

ทุ่งยาว จึงตระหนักเห็นความสำคัญนี้ และได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้

เกี่ยวกับประชาธิปไตยที่ถูกต้องและนำวิถีประชาธิปไตยมาใช้ในชีวิตประจำวัน การใช้ชีวิตในสังคม

ประชาธิปไตย ทุกคนจะต้องมีส่วนร่วมในการปกครองมีความคิดเหน็ เปน็ อิสระ คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น มีความ

สำนึกในบทบาทหน้าที่ของตนเองเป็นสิ่งสำคัญ การที่นักเรียนจะเป็นบุคคลในระบอบนี้ได้อย่างสมบูรณ์

บุคคลนั้นต้องผ่านการอบรมเข้าร่วมกิจกรรม จึงจะทำให้นักเรียนมีประชาธิปไตยในจิตใจ มีระเบียบวินัยใน

ตนเอง ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของสถานศึกษา ฝึกให้นักเรียนมีวินัยที่ดแี ละติดตวั เป็นผู้ใหญ่ที่ดีของการปกครอง

ในระบอบประชาธปิ ไตยในอนาคต

2. วัตถุประสงค์
2.1. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนเป็นผู้จิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบ

ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข รู้จักรักษาส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย
ความเสมอภาค และศกั ด์ศิ รคี วามเปน็ มนุษย์

101

2.2 เพ่อื สง่ เสริมใหน้ ักเรียนคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น และมีความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง สังคม
ประเทศชาติ

2.3 เพือ่ ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นเป็นผนู้ ำและผตู้ ามที่ดีในสงั คมประชาธิปไตย
2.4 เพ่ือแก้ปัญหาด้านการเรยี นการสอน ซึ่งช่วยใหผ้ ลสัมฤทธิท์ างการเรียนรูส้ งู ข้ึน นักเรียนมีระเบียบ
วินยั
3. เปา้ หมาย
3.1 ด้านปริมาณ

3.1.1 นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 เข้าร่วมโครงการร้อยละ 100
3.2 ดา้ นคุณภาพ

3.2.1 นกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 – 6 มีความรู้ความข้าใจและเลือกประธานได้ ร้อยละ 100

4. กิจกรรมดำเนินการ

ที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนนิ การ งบประมาณ ผรู้ ับผดิ ชอบ
1. เขยี น - เสนอโครงการ
2. ประชุมช้ีแจงโครงการ พฤษภาคม 2564 - งามตา
3. เสนอโครงการเพื่อขออนมุ ัติ
4. ดำเนินการตามแผน พฤษภาคม 2564 - งามตา

- จดั ซื้อวัสดตุ ามงบประมาณรายจา่ ยท่ี พฤษภาคม 2564 - งามตา
ไดร้ บั จัดสรรและส่งมอบวัสด/ุ เบิกจ่าย/รบั มอบ
พฤษภาคม 64 – งามตา
- ประชุมบุคลากร / ประชุมนักเรียน /
แบง่ งาน / รบั มอบหมายงาน มีนาคม 65 ชาญกิจ

- ตัง้ คณะทำงาน แจง้ แนวปฏบิ ตั ิ มถิ นุ ายน 2564 2,000 ชาญกจิ
- ประชมุ สภานกั เรียน
- เลอื กประธานสภานกั เรียน มถิ ุนายน 2564 - ชาญกจิ , งามตา

มิถุนายน 64 - ชาญกิจ , งามตา
มิถุนายน 64 – - ชาญกจิ , งามตา
กมุ ภาพันธ์ 65 - ชาญกจิ , งามตา

5. สรา้ งแบบประเมิน เก็บข้อมูล วเิ คราะห์ข้อมูล กนั ยายน 64 - งามตา
ประเมินผล - สรุปผล – รายงาน

102

5. รายละเอียดการใช้งบประมาณ

รายการกจิ กรรม / คำชแี้ จงในการใช้ จำแนกตามหมวดรายจา่ ย เงินนอก
งบประมาณ งบประมาณ
ท่ี ตอบ ใช้สอย วสั ดุ รวม รวม
แทน -
- -
1. กจิ กรรมเลือกตั้งประธานสภานักเรียน - - -- - 2,000
2. ปลอกแขนสำหรบั สภานักเรยี น 2,000
- - 2,000 2,000
รวม
- - 2,000 2,000

6. การประเมินผล วธิ วี ดั / ประเมินผล เครอ่ื งมือที่ใช้วัด
ตวั ชว้ี ัดความสำเรจ็ สงั เกต , สอบถาม แบบสอบถาม
สังเกต , สอบถาม แบบสอบถาม
1. นกั เรียนร้อยละ 100 มาใช้สิทธิ
2. นกั เรียนร้รู ะเบียบและวธิ ีการใช้

สิทธิ รอ้ ยละ 100

7. ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ
7.1 นกั เรียนทคี่ วามรู้ความเข้าใจหนา้ ท่ี และบทบาทสามารถปฏิบตั ิงานได้
7.2 นักเรียนมีระเบียบวนิ ัยและสามารถปฏบิ ตั ิไดต้ ามกฎเกณฑ์
7.3 ผลสมั ฤทธข์ิ องการเรยี นของนักเรยี นจะสงู ขึ้น

ลงชอ่ื .....................................ผ้เู สนอโครงการ ลงชอ่ื ......................................ผเู้ หน็ ชอบโครงการ
( นางงามตา สุจริตธรุ ะการ ) (นางสาวชนญั ธิดา ใจสมทุ ร)

ครโู รงเรยี นบา้ นทุง่ ยาว รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านทงุ่ ยาว

ลงชอื่ ........................................ผอู้ นุมัติโครงการ
(นางสาวพิมพป์ ระกาย ศรีไตรรตั น์)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นทงุ่ ยาว

โครงการ 103
แผนงาน
สนองกลยุทธ์ พฒั นาสภาพแวดล้อมโรงเรยี น
ลักษณะโครงการ การจัดการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน / งานบริหารทัว่ ไป
ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ กลยทุ ธ์ที่ 2 ด้านการเพม่ิ ประสิทธภิ าพกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
โครงการต่อเนื่อง
งบประมาณ นายชาญกิจ ชุติเดโช ,นางสาวพุชนาฏ รตั นแกว้
ระยะเวลาดำเนินงาน นายภูรภิ ัทร หยงสตาร์ ,ว่าทร่ี ้อยตรหี ญงิ สุชาดา พลหลา
วา่ ทีร่ อ้ ยตรีธนากร ฉาวเกยี รติ , นายศภุ ชัย ชว่ ยสง
52,470 บาท
17 พฤษภาคม 64 – 31 มนี าคม 2565

1. หลักการและเหตุผล
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พทุ ธศักราช 2542 และทแ่ี ก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 2 การจัดการ

ศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเ้ ป็นมนุษย์ทีส่ มบูรณท์ ้ังร่างกาย จติ ใจ สตปิ ญั ญา ความรู้ และคุณธรรมมี
จริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่กับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ดังนั้น เพื่อให้การจัดการศึกษา
สนองเจตนารมณ์ดังกล่าวโรงเรียนจะต้องพัฒนา ปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนทั้งในห้องเรียน ห้อง
ประกอบและบริเวณทั่วไป ให้ปลอดภัย สวยงาม สะอาด เรียบร้อย มีระเบียบ ร่มรื่น และมีวัสดุ อุปกรณ์ป้าย
นิเทศต่าง ๆ ส่วนหย่อม ที่นั่งพักผ่อน ที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จากที่กล่าวมาถือว่าอาคาร
เรียน อาคารประกอบและบริเวณเปรียบเสมือนหน้าตาของโรงเรียนที่จะทำให้นักเรียนเรียนอย่างมีความสุข
และชมุ ชนอยากเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม

ทางโรงเรียนเห็นถงึ ความสำคัญในเรื่องนี้ จึงได้ทำโครงการพฒั นาสภาพแวดล้อมในโรงเรียนขึน้ มา
เพ่ือให้บรรลตุ ามมาตรฐานการศึกษา นโยบายตา่ ง ๆ ที่ได้วางไว้
2. วตั ถปุ ระสงค์

2.1. เพื่อพัฒนาบรเิ วณอาคารให้ร่มรนื่ สวยงามและปลอดภัย
2.2 จดั ตกแตง่ อาคารเรยี น อาคารประกอบ ป้ายต่าง ๆ
2.3 ปลูกไม้ดอก ไมป้ ระดับ
2.4 จัดทำป้ายคำขวัญต่าง ๆ ป้ายการใชป้ ระโยชน์อาคาร
2.5 ปรบั ปรุงภูมทิ ศั นห์ ลังอาคารเรยี น
2.6 ปรบั ปรุงหอ้ งน้ำหอ้ งสว้ ม
3. เป้าหมาย
3.1 ดา้ นปริมาณ

3.1.2 ปรับปรงุ ห้องเรียน ห้องประกอบ ปา้ ยนิเทศ ทกุ ห้อง / ทุกป้ายร้อยละ 100
3.1.3 ปลกู ไม้ดอกไมป้ ระดับ สวนหย่อม พชื ผกั สวนครัว รอ้ ยละ 80
3.1.4 จัดทำป้ายคำขวัญต่าง ๆ 20 ปา้ ย / ป้ายบอกประโยชนก์ ารใช้อาคารรอ้ ยละ75

104

3.1.5 จดั ทำทีน่ ัง่ พักผ่อน 3 ที่ร้อยละ 80

3.2 ดา้ นคณุ ภาพ

3.2.1 โรงเรียนมสี ภาพแวดลอ้ ม สวยงาม ปลอดภัย อาคารต่าง ๆ สวยงามเอ้ือต่อ

เรียนการสอน

3.2.2 นักเรยี น บุคลากร และผู้เกีย่ วข้องมีความพึงพอใจ

3.2.3 นักเรียน บคุ ลากรในโรงเรยี นมคี วามสะดวก คลอ่ งตัวตอ่ การเรยี น และปฏิบตั ิงาน

4. กจิ กรรม / ระยะเวลา / ผู้รบั ผิดชอบ

ที่ กจิ กรรม ระยะเวลา ผ้รู ับผดิ ชอบ

1. ประชมุ ชแี้ จงโครงการ 17-21 พ.ค.64 ชาญกจิ

2. ปรบั ปรุง/ซอ่ มแซมอาคารเรียนอาคาร 17 พ.ค.64 - 31 มี.ค.65 ชาญกิจ

ประกอบ

3. ปลูกไม้ดอก ไมป้ ระดบั สวนหย่อม 28 พ.ค.64 – 30 ก.ย.64 ชาญกจิ

4. จัดทำปา้ ยคำขวัญ ป้ายบอกประโยชน์ 21 พ.ค.64 - 30 ก.ย. 64 ชาญกจิ

การใช้อาคาร ปา้ ยสัญญาลักษณ์

5. ซื้อนำ้ มันเชื้อเพลงิ 17 พ.ค. 64 – 31 มี.ค. 65 ชาญกจิ

6. สรุปรายงาน 31 มี.ค. 65 ชาญกจิ

5. รายละเอียดการใช้งบประมาณ งบประมาณ ค่าใชจ้ ่าย ว.ด.ป

ที่ รายละเอียดกจิ กรรมท่ใี ช้งบประมาณ ค่าตอบแทน คา่ ใชส้ อย คา่ วสั ดุ ท่ตี ิดตาม

1. ค่าจา้ ง 20,000 - 20,000 - ม.ี ค. 65
2. ค่าวัสดอุ ุปกรณ์
32,470 - - 32,470 ม.ี ค. 65
รวมทัง้ สิน้
52,470 - - -

6. รายละเอียดการใช้วัสดุ /กิจกรรม หน่วยละ จำนวนหนว่ ย งบประมาณ
ที่ รายละเอียด - - 7,000
1. ค่าวสั ดุทจี่ ดั ทำทป่ี สั สาวะนักเรียนชาย – ค่าจา้ ง - - 3,000
2. ค่าน้ำมนั เชอื้ เพลงิ - - 8,000
3. คา่ วสั ดุไฟฟา้ -คา่ จ้าง - - 10,470
4. ค่าวัสดุซอ่ มแซมอาคาร-คา่ จา้ ง - - 5,000
5. คา่ พันธุ์ไมจ้ ัดสวนหยอ่ ม - - 1,000
6. ปลูกต้นบานบุรีขา้ งถนนหน้าอาคารเรยี น 3 ตลอด

แนว

105

ท่ี รายละเอียด หน่วยละ จำนวนหนว่ ย งบประมาณ

7. คา่ อปุ กรณท์ ำความสะอาดบริเวณโรงเรียนเขต - - 10,000

บริการ

8. ทล่ี า้ งจาน /อ่างล้างมอื ของนักเรียนระดับปฐมวัย - - 4,500

10. ดิน1รถใช้ในการเพาะเมลด็ พันธุพชื /ไมด้ อก/ไม้ - - 1,500

ประดับ/พชื ผกั สวนครวั

11. กระถางพลาสติก -- 2,000

รวม -- 52,470

7. รายการประเมิน

ท่ี ตัวชว้ี ัดความสำเรจ็ วิธกี ารประเมนิ เคร่ืองมือท่ีใช้

1. ครู นักเรยี น และผู้เกย่ี วข้องมีความพอใจ สงั เกต / สอบถาม แบบบนั ทึก /

แบบสอบถาม

2. บรเิ วณร่มรน่ื สวยงาม ปลอดภัย สะอาด สังเกต / สอบถาม แบบบนั ทกึ /

แบบสอบถาม

3. การใชป้ ระโยชน์จากห้องตา่ ง ๆ สังเกต / สัมภาษณ์ แบบบันทึก / แบบ

สมั ภาษณ์

4. ความพงึ พอใจของนกั เรียน บุคลากร สอบถาม แบบสอบถาม

8. ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ

8.1 อาคารเรยี น อาคารประกอบ สวยงาม ปลอดภัย

8.2 บรเิ วณรอบ ๆ โรงเรยี นรม่ ร่ืน สวยงาม

8.3 นกั เรยี น บุคลากร มีท่ีนง่ั พักผอ่ น

8.4 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นสูงขน้ึ

ลงชอ่ื ……………………….. ผู้เสนอโครงการ ลงช่ือ………………………… ผู้เหน็ ชอบโครงการ
(นายชาญกิจ ชตุ ิเดโช) (นางสาวชนญั ธิดา ใจสมทุ ร)
ครู โรงเรยี นบ้านทงุ่ ยาว รองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งยาว

ลงชอื่ ........................................ผอู้ นมุ ตั โิ ครงการ
(นางสาวพมิ พ์ประกาย ศรีไตรรตั น์)
ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นทุ่งยาว

106

โครงการ โครงการสาธารณูปโภค

แผนงาน การจดั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน / งานบริหารทว่ั ไป

สนองกลยุทธท์ ี่ กลยุทธ์ที่ 2 ดา้ นการเพมิ่ ประสิทธิภาพกระบวนการบริหารและการจดั การ

ลกั ษณะโครงการ โครงการต่อเน่ือง

ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ 1. นางสาวจารุพัตร ครชาตรี

2. นางสาวพยอง ตูด้ ำ

3. นายภรู ภิ ัทร หยงสตาร์

4. นางสาวพชุ นาฏ รตั นแกว้

งบประมาณ 150,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินการ พฤษภาคม 2564 – เมษายน 2565

......................................................................................................................................................................................................

1. หลกั การและเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม หมวด 1 บททั่วไป มาตรา 6

ได้กำหนด การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายจิตใจ สติปัญญา

ความรู้ และคุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสขุ หาก

สถานศกึ ษาใดมีระบบการบริหารจัดการท่ีได้มาตรฐานมีคณุ ภาพตามเกณฑ์ตัวบ่งช้ีก็จะส่งผลให้สถานศึกษานั้น

รู้ทิศทางการดำเนินงานมีความคล่องตัวในการบริหารและสร้างความเข้มแข็งในการปฏิบัติงานบริหาร การ

จัดการอย่างมีคุณภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้ที่มีส่วนร่วมกับการจัดการศึกษา และตามมาตรฐาน

การศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ข้อที่ 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทาง

กายภาพ และสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้กระบวนการจัด

การศึกษาของโรงเรียนประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงคแ์ ละเป้าหมายที่ต้ังไว้ ซงึ่ จะสง่ ผลใหก้ ารบริหารจัดการ

มคี ณุ ภาพและผลสัมฤทธขิ์ องนักเรยี นดีขึ้น

โรงเรียนบ้านทุง่ ยาว ได้รับจัดสรรงบประมาณแผนงานจดั การศึกษาข้ันพื้นฐาน งบเงินอดุ หนุนเพื่อเป็น

ปัจจัยส่งเสริมสนับสนุนการจัดการดำเนินงานในด้านการใช้จ่ายเกี่ยวกับกระแสไฟฟ้า ค่าประปา ดังนั้นทาง

โรงเรยี นบ้านทงุ่ ยาว ไดด้ ำเนนิ การจดั ทำโครงการน้ขี ึ้น

2. วัตถปุ ระสงค์
2.1 ผลผลิต
2.1.1 เพ่ือช่วยในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนอย่างมีประสทิ ธภิ าพ
2.1.2 เพือ่ ใชจ้ ่ายในการสาธารณูปโภค ค่ากระแสไฟฟา้ คา่ นำ้ ประปา ค่าโทรศัพท์
2.2.1 เพื่อใช้หนคี้ ่ากระแสไฟฟ้า ค่านำ้ ประปา คา่ โทรศัพท์ได้ตามกำหนด
2.2.2 เพอ่ื ให้นักเรียนมีกระแสไฟฟา้ และน้ำใชใ้ นกิจกรรมการเรียน

3. เป้าหมาย

107

3.1 ดา้ นปริมาณ
- โรงเรียนบ้านทุง่ ยาวสามารถจา่ ยคา่ กระแสไฟฟ้า ค่าน้ำประปาได้ครบทุกเดือน ร้อยละ100

3.2 ด้านคุณภาพ
- นกั เรียนและบคุ ลากรโรงเรยี นบา้ นทุ่งยาวมไี ฟฟา้ มนี ำ้ ใช้ตลอดปีงบประมาณ

4. กิจกรรมและดำเนินการ

ที่ กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รบั ผิดชอบ
1 ขออนุมัตโิ ครงการ พ.ค.2564 (บาท)
150,000 พยอง/
จารุพตั ร/ภูริภัทร/
2 แต่งต้ังคณะกรรมการดำเนนิ งาน พ.ค. 2564
3 วางแผนจัดทำประมาณการ พ.ค. 2564 พุชนาฏ
ผู้บริหาร
4 ดำเนินการจดั ทำหลักฐานการเบิกเงิน พ.ค. 2564 – เม.ย. 2565 พยอง/
จารพุ ตั ร/ภูริภทั ร/
ค่ากระแสไฟฟา้ คา่ ประปา/ค่า พชุ นาฏ
พยอง/
โทรศัพท์ จารพุ ัตร/ภรู ภิ ัทร/
พชุ นาฏ
5 ดำเนินการจ่ายค่ากระแสไฟฟ้า/ พ.ค. 2564 – เม.ย. 2565 พยอง

ค่าประปา/ค่าโทรศัพท์ ทกุ วนั ที่ 30 ของเดือน พยอง/
จารุพัตร/ภรู ภิ ัทร/
6 รายงานคา่ สาธารณปู โภค ทกุ ไตรมาส พ.ค. 2564 – เม.ย. 2565
พุชนาฏ
สพป.ตรังเขต 1 พยอง/
จารุพตั ร/ภูรภิ ัทร/
7 สรุปผล/ประเมนิ ผล เม.ย. 2565 พชุ นาฏ
พยอง/
8 รายงานผลการดำเนนิ งาน เม.ย. 2565 จารพุ ัตร/ภูรภิ ทั ร/
พชุ นาฏ
5. รายละเอียดการใช้งบประมาณ หน่วยละ จำนวนหน่วย
ท่ี รายละเอยี ดการใชจ้ ่าย 12,200 12 งบประมาณ
1 คา่ กระแสไฟฟา้ 200 12 146,400
2 ค่านำ้ ประปา 2,400

ท่ี รายละเอยี ดการใช้จ่าย หนว่ ยละ จำนวนหนว่ ย 108
3 ค่าโทรศพั ท์ 110 12
งบประมาณ
รวม 1,200
150,000

6.การประเมนิ ผล วิธกี ารประเมนิ เครอ่ื งมือ
ท่ี ตวั ช้วี ดั ความสำเรจ็ ตรวจสอบ แบบสอบถาม/สมั ภาษณ์
1 มกี ระแสไฟฟา้ ใช/้ ไม่เปน็ หน้ีค่ากระแสไฟฟา้

2 มนี ้ำประปาใช้/ไม่เปน็ หนี้ค่าน้ำประปา ตรวจสอบ แบบสอบถาม/สมั ภาษณ์
3 มกี ารบรกิ ารโทรศัพท/์ ไม่เปน็ หน้ีค่าโทรศพั ท์ ตรวจสอบ แบบสอบถาม/สัมภาษณ์

7. ผลที่คาดว่าจะไดร้ บั
7.1 โรงเรียนมีกระแสไฟฟา้ ใช้ เพื่อสนับสนุนกิจกรรมนักเรียน ไมถ่ ูกตัดกระแสไฟฟา้
7.2 โรงเรยี นมีนำ้ ประปาใช้เพ่ือสนับสนนุ งานกจิ กรรมนักเรียนไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพไม่ถกู ตัดนำ้ ใช้

7.3 โรงเรียนบา้ นทุ่งยาวมีกระแสไฟฟา้ นำ้ ประปา โทรศัพทแ์ ละอนิ เตอร์เน็ตใช้เพอ่ื สนบั สนุน
งานกจิ กรรมนกั เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ลงชอ่ื ...........................................ผเู้ สนอโครงการ ลงชอ่ื ........................................ผู้เห็นชอบโครงการ
( นางสาวจารพุ ัตร ครชาตร)ี (นางสาวชนญั ธิดา ใจสมุทร)
ครโู รงเรียนบ้านท่งุ ยาว
รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านทงุ่ ยาว

ลงชอ่ื ........................................ผู้อนุมตั ิโครงการ
(นางสาวพมิ พป์ ระกาย ศรีไตรรตั น์)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นทุ่งยาว

โครงการ 109
แผนงาน
สนองกลยุทธ์ที่ สหกรณโ์ รงเรยี น
การจดั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน (งานบริหารทวั่ ไป)
ลักษณะโครงการ กลยทุ ธ์ท่ี 1 ดา้ นการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน
ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ กลยทุ ธท์ ี่ 2 ดา้ นการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
โครงการใหม่
งบประมาณ นางสาวทพิ ยว์ รรณ ไชยจกั ร , นางแสงดาว ไพบูลย์,
ระยะเวลาดำเนนิ การ นางสาวปราณี วกิ จิ รตั นพิพฒั น์ , นางสาวอัษฎาภรณ์ ไชยการ
ว่าทรี่ ้อยตรธี นากร ฉาวเกยี รติ
2,000 บาท
พฤษภาคม 2564 - เมษายน 2565

1. หลกั การและเหตผุ ล

ตามแนวคิดในการพัฒนาประเทศได้อาศัยหลักการสำคัญ 3 ประการคือ มุ่งให้ประชาชนพึ่งตนเอง
มีส่วนรว่ มในการพฒั นา และใชเ้ ทคโนโลยที ่เี หมาะสม การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ให้มีคุณภาพ มีคุณลักษณะที่
เอื้อต่อการพัฒนาประเทศดังกล่าว จะต้องได้รับการปลูกฝังตั้งแต่ยังเยาว์วัยจึงจะประสบผลสำเร็จ และตาม
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน ข้อที่ 6 ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจต
คติทดี่ ีต่ออาชีพและมาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ข้อท่ี 2.2 มีระบบบริหารการจดั คุณภาพ
ของสถานศึกษา

กิจกรรมสหกรณ์หรืออุดมการณ์สหกรณ์เป็นความร่วมมือกันของสมาชิก ในอันที่จะพัฒนาชีวิตและ
กลุ่มให้มีความเข็มแข็งเศรษฐกิจ พึ่งพาตนเองได้ และดำรงชีวิตอยู่อย่างมีความสุข จึงได้มีการจัดกิจกรรม
ดังกลา่ วนใ้ี นสถานศกึ ษา มกี ิจกรรมสำคัญอยู่ 3 ประการ คือ กจิ กรรมออมทรัพย์ กจิ กรรมรา้ นคา้ กิจกรรมการ
ผลิต การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสหกรณ์โดยการปฏิบัติจริง นอกจากจะเป็นการฝึกทักษะการเรียนรู้
ระบบสหกรณ์แล้ว ยังส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย และฐานะทางเศรษฐกิจอีกทางหนึ่งด้วย
เพื่อให้ผู้เรียนได้มีความรับผิดชอบ มีนิสัยไม่ฟุ่มเฟือยรู้จักการประหยัดตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนบา้ นทงุ่ ยาวจึงไดจ้ ัดทำโครงการนขี้ น้ึ

2. วัตถุประสงค์

2.1 เพอื่ ปลูกฝังความรู้พ้นื ฐานเรอ่ื งสหกรณ์และฝกึ ใหน้ ักเรียนไดป้ ฏิบตั จิ รงิ
2.2 เพอ่ื ปลูกฝงั ให้นักเรียนมีการวางแผนในการใชจ้ า่ ย และการลงทนุ
2.3 เพ่อื ปลูกฝงั ให้นักเรียนมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ี ที่ได้รบั มอบหมาย
2.4 เพื่อปลูกฝงั นิสัยรักการประหยดั อดออม

110

3. เป้าหมาย

3.1 เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ

3.1.1 นักเรียนร้อยละ 80 มคี วามรู้พนื้ ฐานเรือ่ งสหกรณแ์ ละฝกึ ใหน้ ักเรยี นได้ปฏิบตั จิ ริง

3.1.2 นกั เรียนรอ้ ยละ 80 มีการวางแผนในการใช้จ่ายและการลงทนุ

3.1.3 นักเรยี นรอ้ ยละ 80 มคี วามรับผิดชอบตอ่ หนา้ ทท่ี ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย

3.1.4 นกั เรยี นร้อยละ 80 นิสัยรกั การประหยัดอดออม

3.2 เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ

นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเรื่องสหกรณ์มีการวางแผนในการใช้จ่าย ประหยัดอดออม

มีความรับผิดชอบและสามารถนำความรู้เกี่ยวกับหลักการสหกรณ์ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่าง

เหมาะสม

4. กจิ กรรมและการดำเนนิ การ

กจิ กรรม ระยะเวลาดำเนินงาน งบประมาณ ผ้รู ับผดิ ชอบ

1. ขออนุมัติโครงการ

1.1 แตง่ ต้งั พ.ค. 2564 - ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ

คณะทำงาน

1.2 ประชุมวางแผน

2. ดำเนินงานตาม

โครงการ พ.ค. 2564-เม.ย. 2565 - ผู้รับผิดชอบโครงการ

- สหกรณอ์ อมทรพั ย์ และครูประจำชั้น

- สหกรณร์ ้านคา้

3. นิเทศ ตดิ ตาม และ มี.ค. 2565 - ผบู้ รหิ าร

ประเมนิ ผลการ

ดำเนนิ งาน

4. สรปุ /รายงานผลการ เม.ย. 2565 - ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ

ดำเนินโครงการ

5. รายละเอียดการใช้งบประมาณ

เงินงบประมาณ

ท่ี กิจกรรม ตอบแทน ใช้สอย วสั ดุ รวม เงินนอก รวม

งบประมาณ

5.1 กิจกรรมปรับภูมิทัศน์ สหกรณ์ - - 2,000 2,000 - -

โรงเรยี น

รวม - - 2,000 2,000 - -

111

6. การประเมนิ ผล

ตัวช้วี ัดความสำเรจ็ วิธกี ารประเมนิ เครอ่ื งมือที่ใช้
1. บัญชรี ายชอ่ื สมาชกิ
6.1 นกั เรยี นร้อยละ 80 มีความรู้พื้นฐาน 1.สังเกต 2. แบบสอบถาม
3. ภาพกจิ กรรม
เรือ่ งสหกรณ์และฝกึ ใหน้ กั เรียนไดป้ ฏิบัตจิ ริง 2.สอบถาม

6.2 นกั เรียนรอ้ ยละ 80 มีการวางแผนใน

การใช้จา่ ยและการลงทนุ

6.3 นักเรยี นร้อยละ 80 มีความรบั ผดิ ชอบ

ต่อหน้าท่ี ที่ได้รับมอบหมาย

6.4 นักเรยี นร้อยละ 80 นสิ ยั รักการ

ประหยัดอดออม

7. ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ
7.1 โรงเรยี นมรี า้ นค้าสวัสดิการบรกิ ารแก่ครูและนักเรยี น
7.2 ครแู ละนักเรยี นเขา้ ใจหลักพื้นฐานทางเศรษฐศาสตรเ์ บ้ืองตน้
7.3 โรงเรียนนำผลการดำเนินงานไปพัฒนาการศึกษา

ลงช่อื ...........................................ผ้เู สนอโครงการ ลงชื่อ........................................ผู้เหน็ ชอบโครงการ
( นางสาวจารพุ ัตร ครชาตรี) (นางสาวชนัญธิดา ใจสมทุ ร)
ครูโรงเรยี นบ้านทงุ่ ยาว
รองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านทงุ่ ยาว

ลงชื่อ........................................ผู้อนุมตั ิโครงการ
(นางสาวพิมพป์ ระกาย ศรีไตรรัตน์)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นทุ่งยาว

โครงการ 112
แผนงาน
สนองกลยทุ ธท์ ่ี โรงเรียนวิถพี ทุ ธ
การจัดการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน / งานบรหิ ารทว่ั ไป
ลกั ษณะโครงการ กลยทุ ธ์ที่ 1 ดา้ นการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน
ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ กลุยุทธ์ที่ 3 ด้านการส่งเสรมิ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ี
เน้นผเู้ รียนเป็นสำคญั
งบประมาณ โครงการใหม่
ระยะเวลาดำเนินงาน นางงามตา สจุ ริตธรุ ะการ นางแสงดาว ไพบลู ย์
นางสาวนาถยา แสงเงิน
10,000 บาท
พฤษภาคม 2564 – เมษายน 2565

1. หลักการและเหตุผล
การเปลี่ยนแปลงที่น่าจะมีส่วนสำคัญให้การศึกษาห่างวัดและพระ เมื่อมีการกระจายโรงเรียนไปท่ัว

ราชอาณาจักรและผู้สอนเปลี่ยนเป็น“ครู”ในปี พ.ศ.2454 แล้วสภาพการเรียนรู้ของคนไทยที่ยิ่งห่างไกล
พระพุทธศาสนาตลอดมา จนรัชกาลที่ 7 ทรงมีพระราชดำริว่าการศึกษาไม่ควรแยกไปจากวดั จึงโปรดเกล้าให้
เปลี่ยนชื่อจากกระทรวงศึกษาธิการเป็นกระทรวงธรรมการแทน โดยให้มีหน้าที่ดูแลทั้งการจัดการศึกษาและ
การศาสนา แต่สภาพปัญหามาปรากฏชัดในเหตผุ ลของการเกิดโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ในปี พ.ศ.2501
ที่ระบุว่า รัฐเน้นพุทธิศึกษาถึง 90% แต่ให้ความสำคัญกับจริยศึกษาเพียง 5% อีก 5% ที่หายไปน่าจะเป็น
สัดส่วนของหัตถศึกษา ซึ่งสะท้อนว่าการจัดการศึกษาเน้นเนื้อหาวิชาการเพิ่มขึ้น ๆ และให้เรื่องคุณธรรม
จริยธรรมหรือคุณลักษณะที่พึงประสงค์ต่าง ๆ สอดแทรกและบูรณาการอยู่ในการเรียนเน้ือหาวิชาการ ซึ่งก็
ข้ึนอยู่กับระดบั ความใส่ใจและการมงุ่ เน้นของโรงเรียนเปน็ สำคญั แต่ด้วยสภาพปัญหาและวิกฤตการณ์คุณธรรม
ของคนในสังคมไทย จึงมีข้อเสนอให้นำหลักธรรมคำสอนในพุทธศาสนามาใช้อย่างจริงจังในโรงเรียน ก่อเกิด
เป็นโครงการโรงเรียนวิถีพุทธในปลายปี พ.ศ.2545 และมุ่งมั่นดำเนินการต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน การปลูกฝัง
อบรม ฝึกฝนนักเรียน ตามวิธีการของพระพุทธศาสนา โดยเน้นบูรณาการตามหลักไตรสิกขา อันมี ศีล สมาธิ
ปัญญา เรียนรู้ผ่านการพัฒนา “การกิน อยู่ ดู ฟังเป็น” มีปัญญารู้เข้าใจในคุณค่า และการปลูกฝัง การฝึกฝน
ใหผ้ เู้ รียนได้นำหลักธรรมคำส่ังสอนขององค์พระสัมมาสมั พุทธเจ้าไปประพฤติปฏบิ ัติในชีวติ ประจำวัน จะทำให้
นักเรียนมีคุณธรรมนำความรู้ พัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพเป็นคนดี คนเก่งของสังคม ดำรงชีวิตตามหลัก
เศรษฐกิจพอเพียง มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข โรงเรียนจึงได้
ดำเนนิ การจดั ทำโครงการนี้ข้ึน
2. วัตถุประสงค์

2.1 เพือ่ พัฒนากจิ กรรมการเรียนการสอนใหผ้ เู้ รียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เปน็ คนดขี องสงั คม
2.2 เพ่อื พัฒนานกั เรยี น เรื่อง การกนิ อยู่ ดู ฟงั ให้เปน็
2.3 เพอ่ื พฒั นานกั เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์

113

3. เป้าหมาย

3.1 ด้านปรมิ าณ

3.1.1 นักเรียนมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นสงู ขึน้ ร้อยละ ๘๐

3.1.2 นกั เรยี นพัฒนา เรอ่ื ง การกิน อยู่ ดู ฟงั เพ่มิ ข้นึ ร้อยละ ๘๐

3.1.3 นักเรียนมคี ุณลักษณะอันพึงประสงค์ ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐

3.2 ด้านคุณภาพ

3.2.1 ครจู ดั กิจกรรมการเรยี นรแู้ บบวิถพี ทุ ธ ได้อย่างมีคุณภาพ

3.2.2 นักเรียนมีคณุ ธรรม จริยธรรมในตนเอง

4. กจิ กรรมดำเนนิ การ

ที่ กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ
ดำเนนิ การ

1. เขยี น – เสนอโครงการ พฤษภาคม 64 - งามตา

2. ประชมุ ชี้แจงโครงการ พฤษภาคม 64 - งามตา , แสงดาว ,

นาถยา

3. ขออนุมตั ิงบประมาณ/โครงการ พฤษภาคม 64 - งามตา , แสงดาว ,

นาถยา

4. ดำเนินการตามโครงการ มถิ ุนายน 64 - งามตา , แสงดาว ,

- จัดซือ้ โต๊ะหมู่บชู า มนี าคม 65 5,000 นาถยา

- จัดซอ้ื โตะ๊ วางเครื่องเซน่ ไหว้ 2,000

5. ไหวพ้ ระ-ศาลพระภูมิเจา้ ท่ีทุกวันพระ พฤษภาคม 64 – 3,000 งามตา , แสงดาว ,

มนี าคม 65 นาถยา

6. ประเมิน-สรุปผล-รายงาน มนี าคม 65 - งามตา , แสงดาว ,

นาถยา

5.รายละเอียดการใชง้ บประมาณ

ท่ี รายการกิจกรรม/คำช้แี จงในการใช้ เงนิ งบประมาณ เงินนอก รวม
รวม งบประมาณ
งบประมาณ ตอบแทน ใชส้ อย วัสดุ

1. กิจกรรมปรบั ปรุงโต๊ะหมู่บูชาหน้าพระ - - 7,000 7,000 - 7,000

กระถางธปู เชงิ เทียน แจกนั ดอกไม้และ

โต๊ะสำหรบั วางของไหว้หน้าศาลพระ

ภมู ิ

2. จดั ซอื้ เครื่องเซน่ ไหว้ - - 3,000 3,000 - 3,000

รวม - - 10,000 10,000 - 10,000

6. การประเมินผล วธิ ีการวัดและ 114
ตวั ชว้ี ัดความสำเร็จ ประเมนิ ผล
เครื่องมือท่ีใช้
ผลผลติ (Output) การสังเกต
- รอ้ ยละของนกั เรยี นทีม่ คี ุณธรรม จริยธรรม การสมั ภาษณ์ แบบสงั เกต
และมีระเบยี บวินยั ในตนเอง แบบสมั ภาษณ์
ผลลพั ธ์ (Outcomes) สังเกต
- นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นสูงข้ึน สัมภาษณ์ แบบสังเกต
รอ้ ยละ ๘๐ ทดสอบ แบบสมั ภาษณ์
แบบทดสอบ

7. ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ
7.1 นักเรยี นมคี ุณธรรม และจริยธรรมในตนเอง
7.2 นกั เรียนมีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
7.3 นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสงู ขน้ึ

ลงชอ่ื …………………..............ผเู้ สนอโครงการ ลงชอ่ื ………….....…..............ผู้เห็นชอบโครงการ
(นางงามตา สุจรติ ธุระการ) (นางสาวชนญั ธดิ า ใจสมทุ ร)
ครโู รงเรียนบ้านทุง่ ยาว
รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบ้านทุ่งยาว

ลงชื่อ................ ........................ผอู้ นมุ ตั โิ ครงการ
(นางสาวพิมพป์ ระกาย ศรีไตรรัตน)์
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านทงุ่ ยาว

โครงการ 115
แผนงาน
สนองกลยทุ ธท์ ี่ ระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียน
การจัดการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน (บริหารทัว่ ไป)
ลกั ษณะโครงการ กลยุทธท์ ่ี 1 ดา้ นการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน
ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ กลยุทธท์ ่ี 2 ด้านการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพกระบวนการบริหารและการจัดการ
กลยทุ ธ์ท่ี 3 ด้านการสง่ เสริมกระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ น้นผู้เรียน
งบประมาณ เปน็ สำคญั
ระยะเวลาดำเนินการ โครงการใหม่
1.นางสาวชนัญธิดา ใจสมทุ ร
2.นางงามตา สุจริตธรุ ะการ
3.นางสาวทิพยว์ รรณ ไชยจกั ร
3.นางสาวอษั ฎาภรณ์ ไชยการ
7,000
พฤษภาคม 2564 – เมษายน 2565

1. หลกั การและเหตุผล
โรงเรียนบ้านทุ่งยาวเป็นโรงเรียนขนาดกลาง จัดการศึกษาในระดับอนุบาลถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ปีการศึกษา 2563 มีนักเรียนทั้งหมด 410 คน มีข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษารวม 22 คน จาก
สภาพสังคมปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในด้านด้านเทคโนโลยีการติดต่อสือ่ สารได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้ง
ปัญหาเศรษฐกิจได้ส่งผลกระทบต่อนักเรียนเป็นอย่างมาก ก่อให้เกิดความเครียด การปรับตัวที่ไม่เหมาะสม
โดยเฉพาะกับนกั เรียนที่ขาดความมัน่ คงด้านจิตใจ กลายเป็นปัญหาสุขภาพจิต สุขภาพกาย แต่หากวา่ นักเรยี น
ได้รับการดูแลช่วยเหลือ ส่งเสริมจากผู้ใหญ่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เป็นบุคคลที่มีความสุข ปรับตัวได้ดี มี
ความสามารถทางสติปัญญา มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ มีคุณธรรม จริยธรรม ตามความมุ่งหวังและหลักการจัด
การศึกษา ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และสอดคล้องกับ
แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ.2561-2580) แผนปฏิรปู ประเทศดา้ นการศึกษากำหนดให้มีการพัฒนา
เด็กตั้งแต่ระดับปฐมวัยให้มีสมรรถนะและคุณลักษณะที่ดี สมวัยทุกด้าน โดยการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่
ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 ตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย มีเป้าหมายให้
ผเู้ รยี นทกุ กลมุ่ วัยได้รบั การศึกษาท่ีมคี ุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะที่จำเปน็ ของโลกอนาคต สามารถแก้ปัญหา
ปรับตัว สอ่ื สาร และทำงานรว่ มกับผู้อื่นได้อย่างมีคณุ ภาพ อีกทัง้ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
มุ่งมั่นในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เป็น“การศึกษาขั้นพื้นฐานวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ”มุ่งเน้นความ
ปลอดภัยในสถานศึกษา

โรงเรียนบ้านทุ่งยาวตระหนักถึงความสำคัญของงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพราะระบบการ
ดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น เป็นกระบวนการดำเนินงานดแู ลช่วยเหลอื นักเรียนอย่างเปน็ ระบบ มีขน้ั ตอน โดยมคี รูท่ี
ปรึกษาเป็นบุคลากรหลักในการดำเนินงาน มีส่วนร่วมของบคุ ลากรทุกฝ่ายที่เก่ียวข้อง ทั้งภายในและภายนอก

116

สถานศึกษา ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง ชุมชน และครูทุกคน มีวิธีการและ

เครือ่ งมือทช่ี ัดเจน มมี าตรฐานคุณภาพและมหี ลกั ฐานการทำงานท่ตี รวจสอบได้ การดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นเป็น

การส่งเสริมพัฒนา ป้องกันและแก้ไขปัญหาให้นักเรียน เพื่อให้นักเรียนมีความปลอดภัย มีคุณลักษณะอันพึง

ประสงค์ มีภูมิคุ้มกันทางจิตใจที่เข้มแข็ง มีทักษะในการดำรงชีวิตและมีคุณภาพชีวิตทีด่ ี จึงได้จัดทำโครงการนี้

ขึ้น

2. วตั ถปุ ระสงค์

2.1 เพอื่ ขบั เคลื่อนระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียนของโรงเรียนบ้านทุ่งยาวให้เปน็ ระบบ

2.2 เพอื่ พฒั นาผ้บู รหิ าร ครู บคุ ลากรทางการศึกษา และผู้ปกครองใหม้ ีทัศนคติ วิธีคดิ และการ

ประพฤตปิ ฏิบตั ิตนเพื่อดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น

2.3 เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมอื ด้านการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนระหวา่ งโรงเรยี นและชมุ ชน

3. เป้าหมาย

3.1 เปา้ หมายเชิงปริมาณ

3.1.1 นกั เรียนโรงเรียนบ้านทงุ่ ยาว ร้อยละ 100 ได้รบั การดูแลช่วยเหลือ

3.1.2 ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครองร้อยละ 100 ได้เข้าไปดูแล

ชว่ ยเหลอื นักเรยี นทกุ คนอยา่ งทว่ั ถึง

3.1.3 โรงเรียนมเี ครอื ขา่ ยในการดแู ลช่วยเหลือนักเรียนอย่างนอ้ ย 1 เครือข่าย

3.2 เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ

3.2.1 นกั เรยี น ได้รบั การดแู ลช่วยเหลือจากผ้บู รหิ าร ครู บุคลากร และผ้ปู กครอง และเครือข่าย

ทำใหส้ ามารถอยู่อยา่ งมคี วามสขุ และมคี ณุ ภาพชีวิตทด่ี ี

4. กิจกรรมและการดำเนนิ การ

กิจกรรม ระยะเวลาดำเนนิ งาน งบประมาณ ผูร้ ับผดิ ชอบ

1. แตง่ ตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน มิถุนายน 2564 - ชนญั ธดิ า

ระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน

2. การรูจ้ ักนกั เรียนเปน็ รายบุคคล มิ.ย.64 - ก.ค.64 1,000 ผบู้ รหิ าร

2.1 การเยย่ี มบ้านนักเรยี น ครูประจำช้ัน

2.2 การประชุมผู้ปกครองนกั เรียน

2.3 การสัมภาษณ์นักเรียนเปน็

รายบุคคล

3. การคัดกรองนักเรยี น โดยใชแ้ บบ ก.ค.64 - ส.ค.64 3,000 ครูประจำชน้ั

ประเมนิ นกั เรียน (SDQ) และแบบ

ประเมนิ EQ

4. การป้องกันและแก้ไขปญั หา ส.ค.64 - มี.ค.65 2,000 ผู้บริหาร

ครูแนะแนว

117

กจิ กรรม ระยะเวลาดำเนนิ งาน งบประมาณ ผูร้ บั ผดิ ชอบ
4.1 เชญิ วิทยากรให้ความรู้ ความ ครปู ระจำชั้น
เขา้ ใจในเร่ืองพฤติกรรมต่างๆ และ ส.ค.64 - มี.ค.65 1,000
การตรวจสขุ ภาพ ผู้บรหิ าร
5. การส่งเสรมิ และพฒั นานกั เรียน ส.ค.64 - ม.ี ค.65 - คณะครู

5.1 จดั กิจกรรมให้ความรู้และ เงนิ งบประมาณ รวม ผู้บริหาร
สง่ เสริมทกั ษะให้กบั นกั เรยี น ตอบแทน ใชส้ อย วัสดุ ครูแนะแนว
ครปู ระจำชน้ั
- กิจกรรมสง่ เสริมระบอบ - - --
ประชาธปิ ไตย เงินนอก รวม
- - 1,000 1,000 งบประมาณ
- กิจกรรมยกระดบั ผลสมั ฤทธสิ์ ู่
ความเปน็ เลิศ - 3,000 3,000 --
--
- กจิ กรรมเพื่อนทป่ี รึกษา
- กจิ กรรมธรรมศึกษา --
6. การสง่ ตอ่
6.1 ส่งต่อภายใน
6.2 ส่งต่อภายนอก
5. รายละเอียดการใช้งบประมาณ

ที่ กิจกรรม

1. แต่งตงั้ คณะกรรมการดำเนนิ งาน
ระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรียน

2. การรู้จกั นักเรยี นเป็นรายบุคคล
2.1 การเยยี่ มบ้านนักเรยี น
2.2 การประชมุ ผปู้ กครอง

นกั เรียน
2.3 การสมั ภาษณ์นกั เรยี น

เปน็ รายบุคคล
3. การคดั กรองนักเรยี น โดยใช้แบบ

ประเมินนกั เรียน (SDQ) และ
แบบประเมนิ EQ

118

ท่ี กจิ กรรม ตอบแทน เงนิ งบประมาณ เงนิ นอก รวม
ใช้สอย วสั ดุ รวม งบประมาณ -
4. การปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหา 2,000 2,000 - -
- -- 1,000 -
4.1 เชิญวิทยากรให้ความรู้ - 1,000 -
- -- -
ความเขา้ ใจในเรอ่ื งพฤตกิ รรม 2,000 -- 7,000 -
- 5,000
ตา่ งๆ และการตรวจสุขภาพ

5. การส่งเสรมิ และพฒั นานักเรยี น
5.1 จดั กิจกรรมใหค้ วามรู้

และสง่ เสริมทักษะให้กบั นักเรียน
- กิจกรรมสง่ เสริมระบอบ

ประชาธปิ ไตย
- กจิ กรรมยกระดับผลสมั ฤทธิ์

สู่ความเปน็ เลศิ
- กจิ กรรมเพ่อื นทีป่ รึกษา
- กิจกรรมธรรมศกึ ษา

6. การส่งตอ่
6.1 ส่งต่อภายใน
6.2 ส่งต่อภายนอก

รวม

6. การประเมินผล วิธกี ารประเมิน เครอื่ งมือทใี่ ช้
ตัวชีว้ ดั ความสำเร็จ วเิ คราะหเ์ อกสาร - แบบบันทึกการเยย่ี มบ้าน
นกั เรยี น
1. โรงเรยี นบ้านทุ่งยาวมรี ะบบงานดแู ล - แบบประเมนิ นักเรยี น (SDQ)
ชว่ ยเหลือนกั เรียนอย่างเป็นระบบ - แบบประเมนิ EQ
- แบบบนั ทกึ การดแู ลชว่ ยเหลือ
นักเรียน
- แบบรายงานการจดั กิจกรรม

119

ตวั ช้ีวดั ความสำเร็จ วธิ ีการประเมิน เคร่ืองมอื ทีใ่ ช้
2. ผบู้ รหิ าร ครู บุคลากรทางการศึกษา สงั เกต แบบสงั เกต
และผปู้ กครองมีทศั นคติ วธิ คี ดิ และการ
ประพฤติปฏบิ ัตติ นที่ดีเพ่ือดูแลช่วยเหลอื วิเคราะห์เอกสาร แบบบันทึกข้อตกลง
นกั เรียน
3. มีเครอื ข่ายความรว่ มมือดา้ นการดแู ล
ชว่ ยเหลอื นกั เรียนระหวา่ งโรงเรยี นและ
ชุมชน

7. ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ
7.1 นักเรยี นมคี วามปลอดภัย มีคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
7.2 ครูมขี อ้ มูลสารสนเทศเก่ยี วกับนกั เรียน สามารถวางแผนในการป้องกัน การพัฒนาและสง่ เสริม

ใหก้ บั นักเรียนได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ เต็มตามศักยภาพของนกั เรียน
7.3 โรงเรียนเปน็ ทย่ี อมรบั จากสงั คม
7.4 ชุมชนมีความภาคภมู ใิ จทมี่ ีสว่ นร่วมในการจดั การศึกษา

ลงช่อื …………………..............ผ้เู สนอโครงการ ลงชอ่ื ………….....…..............ผูเ้ หน็ ชอบโครงการ
(นางสาวชนญั ธิดา ใจสมทุ ร) (นางสาวชนญั ธิดา ใจสมุทร)
รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านทงุ่ ยาว
รองผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านทงุ่ ยาว

ลงช่ือ................ ........................ผู้อนมุ ตั ิโครงการ
(นางสาวพิมพ์ประกาย ศรีไตรรัตน์)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านทุง่ ยาว

120

การบรหิ ารงานบคุ คล

121

โครงการ พฒั นาบคุ ลากร
แผนงาน จดั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน /งานบริหารบคุ คล
สนองกลยทุ ธท์ ่ี กลยุทธท์ ่ี 2 ดา้ นการเพ่มิ ประสิทธภิ าพกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
ลกั ษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง
ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ นางสาวทพิ ยว์ รรณ ไชยจกั ร , นางสาวปรียาดา สุธีรพงค์,
นางสาวจรุ ีรัตน์ พากเพยี ร , นางสาวพยอง ตูด้ ำ
งบประมาณ 18,114 บาท
ระยะเวลาดำเนินการ พฤษภาคม 2564 – เมษายน 2565

1. หลกั การและเหตุผล

จากแนวคิดหลักเรื่องการกระจายอำนาจ ตามมาตรา 39 แห่ง พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติและแก้ไข
เพิ่มเติม ฉบับที่ 2 (2545) และจากยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ (3) ยุทธศาสตรช์ าติ
ด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มเี ปา้ หมายในการพัฒนาคนทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้
เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ เป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21
ดังน้นั การพาครูและบุคลากรทางการศึกษาไปศึกษาดูงาน เพ่อื ให้เกดิ ยุทธศาสตร์ตามหลักการย่อมส่งผลให้เกิด
การพัฒนาที่ยัง่ ยืนตามหลักการ จึงต้องเตรียมบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการและวิธีการ
อยา่ งต่อเนอ่ื ง ซง่ึ ถือได้ว่าทรพั ยากรในการบริหารงานประกอบด้วย ปจั จยั 4 ปัจจยั ได้แก่ คน เงิน วสั ดุอุปกรณ์
และการจดั การในปัจจยั เหล่าน้ี คนถอื เป็นปัจจัยสำคัญที่สุดในการบริหารงาน เพราะคนเป็นตัวแปรหลัก ในกา
การพัฒนา ดังนั้นในการพัฒนาให้หน่วยงานก้าวไปข้างหน้าต้องเริ่มจากการพัฒนาคนก่อน เมื่อคนได้รับการ
พัฒนาแลว้ หน่วยงานย่อมไดร้ บั การพัฒนาตาม การพัฒนาคนสิ่งสำคญั ที่สุดคอื การใหก้ ารศึกษา วธิ ใี ห้การศกึ ษา
สามารถให้ได้หลายทาง โดยอาศัยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้ดู ได้ฟัง ได้ดมกลิ่น ได้รับรส ได้สัมผัส จับต้อง การ
เรียนรู้ จากการดูเป็นการศึกษาที่สำคัญที่สุดและเป็นประสบการณ์ที่ลืมยากที่สุดและสมบูรณ์แบบ ฉะนั้น
โรงเรียนบ้านทุ่งยาวจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อเปิดโอกาสให้บุคลากรทางการศึกษาได้รับ
การศึกษาก้าวไกลแลว้ นำผลมาปรับปรงุ ใหเ้ ขา้ ระบบของหนว่ ยงานใหม้ ากทส่ี ดุ
2. วตั ถุประสงค์

2.1 เพื่อสนองนโยบายมาตรฐานการศึกษาข้นั พื้นฐาน มฐ ที่ 2,3
2.2 เพื่อพฒั นาระบบงานบุคลากร และพฒั นาคุณภาพการศึกษาให้มีประสทิ ธิภาพ
2.3 เพอื่ ให้ครแู ละบุคลากรได้รับการพัฒนาตนเองโดยการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน แลกเปล่ยี น
เรียนรู้ ทงั้ ในและนอกสถานศึกษา
2.4 เพือ่ เสริมสรา้ งขวญั และกำลงั ใจแก่ข้าราชการครูและบุคลากร ในการปฏิบตั หิ น้าที่
3. เป้าหมาย
3.1 เป้าหมายเชิงปรมิ าณ

122

3.1.1 ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรยี น มีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาโรงเรียน

สู่มาตรฐานสากล สามารถกำหนดแนวทางเพื่อการปฏิบัติและพัฒนางานในหน้าที่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สอดคลอ้ งกับวัตถุประสงคข์ องการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี น รอ้ ยละ 80

3.1.2 ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนได้รับการพัฒนาตนเองและ ศึกษาดูงาน

อยา่ งนอ้ ยภาคเรียนละ 1 คร้งั

3.1.3 มีการจดั กจิ กรรมเสริมสร้างขวญั และกำลงั ใจอยา่ งนอ้ ย ปีละ 1 ครัง้

3.2 เปา้ หมายเชงิ คุณภาพ

3.2.1 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สามารถปฏบิ ัติหนา้ ที่ราชการได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

และเกิดประสิทธผิ ล

3.2.2 ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีขวัญและกำลังใจในการปฏิบตั หิ น้าท่ี

4. กิจกรรมและการดำเนินการ

กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผ้รู ับผิดชอบ

ดำเนนิ งาน

4.1 ประชุมชีแ้ จงวางแผน จัดทำและขอ พ.ค.64 - ผู้บริหาร

อนมุ ตั โิ ครงการ ครผู รู้ บั ผดิ ชอบโครงการ

4.2 แต่งตง้ั คณะทำงาน พ.ค.64 - ผูบ้ รหิ าร

4.3 ดำเนินงานตามโครงการ

- กจิ กรรม หลกั สตู รการอบรมออนไลน์ ม.ิ ย.64 3,114 ครูผู้รบั ผิดชอบโครงการ

“การรวมกลุม่ ชุมชนการเรยี นรู้ทาง

วิชาชพี และการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ทาง

วชิ าชพี ระดบั สถานศึกษา”

-กจิ กรรมอบรมการบันทึก วีดีทัศนแ์ ละ ก.ค.64 5,000 ครผู รู้ ับผดิ ชอบโครงการ

การตดั ต่อคลปิ วดิ ีโอ

- กิจกรรมศึกษาดงู าน ของขา้ ราชการครู พ.ค.64 -เม.ย.65 10,000 ครูผ้รู ับผิดชอบโครงการ

และบุคลากรทางการศึกษา ครูผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ

4.4 นเิ ทศ ติดตาม และ ประเมนิ ผล พ.ค.64 -เม.ย.65 - ผูบ้ รหิ าร
- ครผู รู้ ับผดิ ชอบโครงการ
4.5 สรุปผลการดำเนนิ งานตามโครงการ เม.ย.65

123

5. รายละเอียดการใช้งบประมาณ เงินงบประมาณ รวม เงนิ นอก รวม
ตอบแทน ใชส้ อย วัสดุ
ท่ี กจิ กรรม งบประมาณ
- 3,114 -
5.1 กิจกรรม หลกั สูตรการอบรม 3,114 - -
ออนไลน์ “การรวมกล่มุ ชมุ ชน
การเรียนรทู้ างวชิ าชพี และการ 2,500 - - 2,500 - -
แลกเปล่ียนเรยี นรู้ทางวชิ าชพี 1,000 - -
ระดบั สถานศึกษา” - - 1,000 1,500 - -

5.2 กิจกรรมอบรมการบันทกึ วดี ี - 1,500 - 10,000 - -
ทศั นแ์ ละการตดั ต่อคลปิ วดิ ีโอ
-ค่าตอบแทนวทิ ยากร 10,000

-ค่าเอกสารในการอบรม

-คา่ อาหารว่างและเคร่ืองด่ืม
5.3 กิจกรรมศึกษาดูงาน ของ

ข้าราชการครูและบคุ ลากร
ทางการศกึ ษา
-ค่าอาหาร/ที่พกั /ยานพาหนะ

รวม 2,500 14,614 1,000 18,114 - -

6. การประเมินผล

ตวั ช้ีวัดความสำเร็จ วธิ กี ารประเมนิ เครอ่ื งมอื ที่ใช้
- แบบประเมิน
6.1 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาได้รบั -สอบถาม สงั เกต ประเมนิ ตาม - แบบสงั เกต

การพฒั นาตนเองอย่างน้อย ภาคเรยี นละ สภาพจรงิ

1 ครัง้ และมีขวญั กำลงั ใจในการ

ปฏิบตั ิงาน

-

124

ตวั ชว้ี ดั ความสำเรจ็ วธิ ีการประเมนิ เครือ่ งมอื ทีใ่ ช้
6.2 ครูและบุคลากรทางการศึกษานำ
ความร้คู วามสามารถมาพัฒนาให้มี -การนำเสนอผลงาน ตา่ งๆของครู - แบบรายงานผล
ความก้าวหนา้ ในสายงานอาชีพ
6.3 โรงเรยี นมคี รแู ละบุคลากรทม่ี ี และบคุ ลากรทางการศึกษา - แบบประเมิน
คณุ ภาพ
- การประเมินผลการ ปฏิบตั ิงาน - แบบประเมินผล การปฏิบตั ิงาน

7. ผลทคี่ าดว่าจะได้รบั
7.1 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ไดพ้ ัฒนาเพิ่มพูนความรแู้ ละประสบการณ์
7.2 ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา มีขวัญและกำลงั ใจในการปฏิบตั ิงาน
7.3 โรงเรยี นมีระบบการบรหิ ารการศกึ ษาอย่างมีคุณภาพ

ลงช่ือ…………………..............ผเู้ สนอโครงการ ลงชอื่ ………….....…..............ผู้เหน็ ชอบโครงการ
(นางสาวทพิ ย์วรรณ ไชยจักร) (นางสาวชนัญธดิ า ใจสมทุ ร)
ครโู รงเรยี นบา้ นทุ่งยาว
รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นทุง่ ยาว

ลงชอื่ ................ ........................ผู้อนุมัตโิ ครงการ
(นางสาวพิมพ์ประกาย ศรีไตรรตั น)์
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นทุ่งยาว

125

โครงการ จัดจา้ งบคุ ลากร
แผนงาน การจัดการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน (งานบริหารบุคคล)
สนองกลยทุ ธท์ ่ี กลยุทธท์ ่ี 1 ด้านการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น
กลยุทธท์ ่ี 2 ด้านการเพิม่ ประสิทธภิ าพกระบวนการบริหารและการจดั การ
ลกั ษณะโครงการ กลยทุ ธ์ท่ี 3 ด้านการสง่ เสรมิ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รียนเป็น
ผ้รู ับผิดชอบโครงการ สำคญั
โครงการตอ่ เน่ือง
งบประมาณ 1. นางสาวปรียาดา สธุ รี พงศ์ 2. นางสาวทิพย์วรรณ ไชยจกั ร
ระยะเวลาดำเนนิ การ 3. นางสาวเบญจวรรณ สีดำ 4. นางสมญา เกา้ เอ้ยี น
5. นางสาวพยอง ตูด้ ำ
108,000
พฤษภาคม 2564 – มีนาคม 2565

1. หลักการและเหตุผล
พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพมิ่ เติม ใหม้ ีการจดั การสง่ เสรมิ พัฒนาครู

และบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานให้เหมาะสมกับการเป็นวิชาชีพอย่างต่อเนื่องและเพ่ือ
พัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพทุกด้าน ซึ่งปัจจุบันโรงเรียนได้เปิดสอนตั้งแต่ระดับอนุบาลจนถึงระดับ
ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ซ่งึ เป็นโรงเรียนขนาดกลาง และตอ้ งการครมู าช่วยจัดการการบรหิ ารงานในโรงเรยี น รวมถงึ
การจัดการเรียนการสอน เพื่อที่จะได้พัฒนาเด็กให้เต็มตามศักยภาพ ตามมาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียนและมี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามนโยบายปฏิรูปการศึกษา ซึ่งทางโรงเรียนจึงได้เขียนโครงการเพื่อจัดจ้างครู
จำนวน 2 อตั รา เพอื่ ทำหนา้ ท่ใี นการสอนและปฏบิ ัตงิ านในโรงเรยี น และจัดจา้ งนกั การภารโรง
จำนวน 1 อัตรา เพื่อมาช่วยดูแลจัดสภาพแวดล้อม และปฏิบัติงานทั่วไปในโรงเรียน โดยทางโรงเรียนได้
ดำเนินการจัดจ้างโดยใช้เงินนอกงบประมาณในการจ้างครู และใช้เงินรายได้สถานศึกษาในการจัดจ้างนักกา ร
ภารโรงของโรงเรียน
2. วตั ถุประสงค์

2.1 เพื่อพัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรียนการสอนใหม้ ีประสิทธิภาพสูงขนึ้ ตามมาตรฐานด้านคุณภาพ
ผู้เรยี นและมีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตามนโยบายปฏิรปู การศึกษา
2.2 เพ่ือจดั จา้ งครูผู้สอนสาขาที่ขาดแคลน
2.3 เพื่อให้นักเรียนได้รบั การพฒั นาเต็มศกั ยภาพ
3. เป้าหมาย

3.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ
3.1.1 โรงเรียนจะดำเนนิ การในการจ้างบคุ ลากร ดงั น้ี

- ครผู ู้สอน วิชาสงั คมศึกษา จำนวน 1 อตั รา

126

3.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ

3.2.1 สามารถจดั การเรียนการสอนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ และมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนสูงขนึ้

และผู้เรียนได้รบั การพัฒนาตนเองไดเ้ ตม็ ศกั ยภาพ

3.2.2 โรงเรยี นมบี ุคลากรเพียงพอ ทำใหเ้ กิดความคล่องตวั ในการบริหารจดั การไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ

4. กิจกรรมและการดำเนนิ การ

กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินงาน งบประมาณ ผูร้ ับผิดชอบ

4.1 ประชุมวางแผนบริหารงาน พ.ค. 64 - ผู้บรหิ าร

บุคคล

4.2 จัดทำแผนกลยุทธ์การ พ.ค. 64 - ครผู ้รู บั ผิดชอบโครงการ

พัฒนาครูและบุคลากรทางการ

ศกึ ษานำเสนอเพื่อขออนุมตั ิ

โครงการ

4.3 จัดต้งั คณะทำงานจดั ทำ ก.ค.64 - ครผู ู้รบั ผดิ ชอบโครงการ

แผนงาน / โครงการ

4.4 จดั ทำประกาศรับสมัคร ก.ค.64 - ครูผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ

4.5 นิเทศ ติดตามประเมินผล ตลอดปีการศึกษา 2564 - ครูผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ

การดำเนินงาน

4.6 สรุปและรายงานโครงการ ม.ี ค.65 - ครูผรู้ บั ผิดชอบโครงการ

5. รายละเอียดการใชง้ บประมาณ

เงินงบประมาณ

ท่ี กิจกรรม ตอบแทน ใชส้ อย วสั ดุ รวม เงนิ นอก รวม

งบประมาณ

5.1 ครอู ัตราจา้ ง วชิ าสงั คมศึกษา 108,000 - - 108,000 - -

5.2 ครนู าฏศิลป์ 1 คน - - -- - -

5.3 นกั การ - - -- - -

รวม 108,000 - - 108,000 108,000 108,000

6. การประเมนิ ผล

ตัวชี้วัดความสำเร็จ วธิ ีการประเมนิ เครือ่ งมอื ท่ใี ช้

6.1 มีบุคลากรพรอ้ มในการปฏิบัติงาน สงั เกต/สมั ภาษณ์ - แบบสงั เกต

6.2 นกั เรียนไดร้ ับการพัฒนาตาม - แบบบันทกึ การปฏบิ ัตงิ าน

ศักยภาพและส่งเสริมผทู้ ี่มีความสามารถ

พเิ ศษอยา่ งตอ่ เนื่อง

127

7. ผลทคี่ าดวา่ จะได้รบั
7.1 นักเรียนมีการพัฒนาเต็มศักยภาพ ตามมาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียนและมีคุณลักษณะอันพึง

ประสงค์ ตามนโยบายปฏิรปู การศึกษา
7.2 มบี คุ ลากรเพียงพอ เกดิ ความคล่องตวั ในการบริหารจดั การ มีคณุ ภาพตามโครงการ
7.3 มคี รผู สู้ อนตรงตามความสามารถ ความถนัดทำให้การจดั การเรียนการสอน มปี ระสิทธิภาพ
และมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นสูงขน้ึ

ลงชอ่ื …………………..............ผ้เู สนอโครงการ ลงช่อื ………….....…..............ผู้เห็นชอบโครงการ
(นางสาวปรียาดา สธุ ีรพงศ์) (นางสาวชนญั ธดิ า ใจสมทุ ร)
ครโู รงเรียนบ้านทุง่ ยาว
รองผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นทงุ่ ยาว

ลงชอ่ื ................ ........................ผูอ้ นุมตั โิ ครงการ
(นางสาวพิมพ์ประกาย ศรไี ตรรัตน)์
ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งยาว

128

กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น

129

โครงการ ทัศนศึกษาแหล่งเรยี นรู้

แผนงาน การจัดการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน/กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น

สนองกลยุทธ์ท่ี กลยทุ ธท์ ่ี 1 ด้านการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น

กลยุทธท์ ่ี 3 ด้านการสง่ เสรมิ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผูเ้ รยี น

เป็นสำคัญ

ลกั ษณะโครงการ โครงการตอ่ เน่ือง

ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ นางสาวจรุ รี ตั น์ พากเพยี ร , นางสาวปราณี วกิ ิจรตั นพพิ ัฒน์,

นางสาวปรียาดา เกยี งเอีย , นางสาวเบญจวรรณ สีดำ

ว่าท่ีร้อยตรีธนากร ฉาวเกยี รติ

งบประมาณ 73,280 บาท

ระยะเวลาดำเนนิ การ ตุลาคม 2564 – เมษายน 2565

............................................................................................................................................ .................................

1. หลักการและเหตุผล

การที่จะพัฒนาการเรียนการสอนให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการ ศึกษา

แห่งชาติ พ.ศ.2542 และทแ่ี ก้ไขเพ่ิมเติมได้นั้น แหลง่ การเรียนรู้เปน็ สิ่งสำคญั ดงั ในมาตรา 25 กล่าวว่า รัฐต้อง

ส่งเสริมการดำเนินงานและการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน

พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์กีฬา

และนนั ทนาการ แหลง่ ขอ้ มลู และแหล่งการเรียนร้อู ื่นอยา่ งพอเพียงและมีประสทิ ธภิ าพ

สถานศึกษาจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะพัฒนาสถานที่ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ได้ภายในโรงเรียน เพื่อมุ่งให้

ผู้เรียนได้รับความรู้จากประสบการณ์จริง ปฏิบัติจริงและเกิดความใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง กิจกรรมทัศนศึกษาเป็น

กิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้นอกสถานที่ เพื่อให้ความรู้แก่นักเรียนเป็นอย่างดีอีกทางหนึ่ง เนื่องจากผู้เรียน

ได้รับประสบการณ์ตรง การเรียนรู้นอกสถานที่ยังได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน ทั้งยังเกิดความสามัคคีใน

หมู่คณะ โรงเรียนบ้านทุ่งยาวได้ทำโครงการพานักเรียนไปทัศนศึกษานอกสถานที่ตามนโยบายเรียนฟรี 15 ปี

ของรัฐบาล เพือ่ ให้นักเรียนไดเ้ รยี นรู้จากของจริงหรือศกึ ษาจากผูท้ ี่มคี วามรเู้ ฉพาะด้านนั้น ๆ

2. วตั ถุประสงค์

2.1 เพอ่ื ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นได้รับประสบการณ์และความรู้ใหม่ ๆ

2.2 เพ่ือเปลีย่ นบรรยากาศในการเรียนรูข้ องนักเรียน

2.3 เพือ่ สรา้ งเสรมิ ทศั นคตทิ ี่ดีต่อนักเรียนและนำไปประยุกตใ์ ชก้ ับทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้

3. เปา้ หมาย

3.1 ด้านปริมาณ

3.1.1 นกั เรียนช้ันอนบุ าล 1 ถึงช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 จำนวน 396 คน คณะครูจำนวน 16 คน

เขา้ ร่วมโครงการ

3.1.2 นกั เรียนร้อยละ 95 เข้ารว่ มกิจกรรมทศั นศึกษา

130

3.2 ดา้ นคณุ ภาพ

3.2.1 นักเรยี นเกดิ ความคิด ความสรา้ งสรรค์และสามารถแกป้ ญั หาได้

3.2.2 นักเรียนมีความสนุกสนาน ผ่อนคลายความตงึ เครียดจากการเรียนภายในห้องเรยี น

3.2.3 นักเรยี นเกิดประสบการณ์ ไดร้ บั ความรู้เพิ่มเติมจากการหาความร้นู อกสถานที่

4. กิจกรรมและการดำเนนิ การ

4.1 ภารกิจตามโครงการ

4.1.1 การเตรยี มความพรอ้ ม

4.1.2 นกั เรียนท่เี ดนิ ทางไปทัศนศกึ ษา นำความรู้ ความคิด สรุป ขยายผลตอ่ ทโ่ี รงเรียน

4.2 กิจกรรมที่ดำเนินการ

ที่ กิจกรรม ระยะเวลา ผู้รบั ผิดชอบ

1 ประชุมชีแ้ จง อนุมัตโิ ครงการ ธ.ค. 64 ผ้บู รหิ าร

2 แตง่ ตง้ั คณะทำงาน มอบหมายงาน ธ.ค. 64 ผู้บริหาร

3 ตดิ ตอ่ สถานท่ีทจี่ ะไปทัศนศึกษา ม.ค. 65 จุรรี ตั น/์ คณะครู

4 ติดตอ่ รถทอ่ งเทีย่ ว ม.ค. 65 จรุ ีรตั น/์ คณะครู

5 ขออนุญาตนำนักเรยี นไปทศั นศกึ ษานอกสถานที่ ม.ค. 65 – มี.ค. 65 จรุ ีรัตน์/คณะครู

6 ดำเนินงานตามโครงการ ม.ค. 65 – มี.ค. 645 จุรีรัตน์

7 ประเมินผลโครงการ ม.ี ค. 65 จรุ ีรัตน์

8 รายงานผลการดำเนินงานโครงการ เม.ย. 65 จรุ ีรัตน์

5. งบประมาณ (กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน)

- เงินงบประมาณ 73,280 บาท จากโครงการสนับสนนุ ค่าใช้จ่ายในการศึกษาต้ังแตร่ ะดับอนบุ าลจน

จบการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานและโครงการอาหารกลางวนั (อนบุ าล 13,200 บาท ประถม 84,00 บาท)

รายงานกิจกรรม/ จำแนกตามหมวดรายจา่ ย

ที่ คำชีแ้ จงการใช้ งบประมาณ คา่ ตอบแทน คา่ ใช้ คา่ วัสดุ ระยะเวลา
งบประมาณ สอย

1 การศกึ ษาแหล่งเรยี นรู้ 73,280 73,280 ธ.ค. 64 – ม.ี ค.65

- ค่าพาหนะ

- คา่ อาหารวา่ ง

131

6. รายละเอียดการใช้งบประมาณ จำนวน/ ราคา/หนว่ ย งบประมาณ
รายการ หนว่ ย
391 คน 40 15,640
1. คา่ อาหาร 391 คน 40 15,640
2. ค่าอาหารวา่ งและเครื่องด่ืม 6 คนั 7,000 42,000
3. คา่ จา้ งเหมารถ

รวม 73,280

7. การประเมนิ ผล วธิ วี ัด/ประเมนิ ผล เครื่องมือท่ใี ช้วดั
ตวั บ่งชค้ี วามสำเรจ็ สงั เกต หนงั สือขออนญุ าตผปู้ กครอง
สอบถาม ใบงาน
1.จำนวนนกั เรียนทีเ่ ขา้ รว่ มกจิ กรรม แบบประเมนิ ความพึงพอใจ
2.การปฏบิ ตั ติ ามใบงาน ตรวจใบงาน
3.ความพึงพอใจของนักเรยี น

8. ผลท่คี าดว่าจะไดร้ บั
8.1 นกั เรยี นมีความรู้และไดร้ ับประสบการณ์มากข้ึน
8.2 นกั เรียนมีการพัฒนาดา้ นความคดิ มีความรแู้ ละสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวัน

ลงชือ่ ....................................ผเู้ สนอโครงการ ลงช่ือ.................................. ผเู้ หน็ ชอบโครงการ
(นางสาวจุรีรตั น์ พากเพียร) (นางสาวชนญั ธิดา ใจสมทุ ร)
ครโู รงเรยี นบ้านทงุ่ ยาว
รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นทงุ่ ยาว

ลงชื่อ........................................ผูอ้ นุมัติโครงการ
(นางสาวพิมพ์ประกาย ศรไี ตรรัตน์)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านท่งุ ยาว

132

โครงการ ลูกเสอื -ยวุ กาชาด
แผนงาน การจัดการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน /กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น
สนองกลยทุ ธ์ท่ี กลยทุ ธท์ ี่ 1 ดา้ นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
กลยุทธท์ ่ี 3 ดา้ นการสง่ เสริมกระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรยี น
ลกั ษณะโครงการ เป็นสำคญั
ผู้รบั ผิดชอบโครงการ โครงการต่อเน่ือง
1.นางสาวชนัญธดิ า ใจสมุทร
งบประมาณ 2.นางงามตา สุจรติ ธุรการ
ระยะเวลาดำเนนิ การ 3.นางสาวจรุ รี ตั น์ พากเพยี ร
4.นางสาวทพิ ยว์ รรณ ไชยจกั ร
5.นางสาวปรียาดา สธุ ีรพงศ์
6.นางสาพุชนาฏ รตั นแกว้
40,000
พฤษภาคม 2564 – เมษายน 2565

1. หลกั การและเหตุผล
กิจกรรมลูกเสือ-ยุวกาชาด เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และเป็นกิจกรรมที่ถูก

พัฒนาขึ้นมาให้เหมาะกับเยาวชน โดยเป็นเครื่องมือช่วยพัฒนาความรู้และทักษะหลาย ๆ ด้าน เช่น ด้าน
ร่างกายฝึกฝน ความคล่องแคล่วว่องไว ความแข็งแรง ด้านจิตใจฝึกฝนความเมตตา กรุณา ความอดทน
นอกจากนี้ยังมีความรู้ต่าง ๆ ทั้งที่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตความสัมพันธ์ระหว่างคนกับธรรมชาติ
ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน ภายใต้กฎและคำปฏิญาณที่ลูกเสือและเนตรนารียึดถือร่วมกัน โดยอาศัย
กระบวนการของลูกเสือตามพระราชบัญญัติลูกเสือแห่งชาติ พ.ศ.2551 มาตรา 8 ความว่า “คณะลูกเสือ
แห่งชาติมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาลูกเสือทั้งทางกาย สติปัญญา จิตและศีลธรรมติ มุ่งฝึกฝนให้ลูกเสือมี
พฤติกรรมนักเรียน สร้างคุณธรรม ได้แก่ ระเบียบวินัย สามัคคี ความซื่อสัตย์ ความประหยัดอดออม ความ
อดทน ฯลฯ ดังนั้นจึงต้องมีกิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมเสริมนอกเหนือจากการเรียนการสอนภายในห้องเรียน
ตลอดจนในการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาของ สมศ.ตัวบ่งชี้พื้นฐานท่ี
2.3 กล่าวถึงการบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมของกิจกรรมลูกเสือไว้ด้วย ซึ่งแสดงให้เห็นว่ากิจกรรมลูกเสือมี
ความสำคัญต่อผู้เรียนมาก และเป็นวิถีทางหนึ่งซึ่งเหมาะสมสำหรับการเสริมสร้างคุณลักษณะนิสัยให้สัมฤทธ์ิ
ผลได้ ซง่ึ มีความจำเป็นอยา่ งยงิ่ จึงได้จดั ทำโครงการนข้ี น้ึ
2. วัตถุประสงค์

2.1 เพื่อให้ลูกเสือ-ยุวกาชาด ได้อยู่ค่ายพักแรมร่วมกันเป็นหมู่คณะ และสามารถปรับตัวให้เข้ากับ
สิ่งแวดล้อมได้

133

2.2 เพื่อให้ลูกเสือ-ยุวกาชาด มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ เกิดความอดทน และมีจิตสาธารณะ

เพื่อสว่ นรวม

2.3 เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรยี นรู้ ความคิดซึ่งกันและกัน โดยการฝึกฝนและทดสอบในสถานที่

ท่ีเหมาะสม

3. เปา้ หมาย

3.1 ดา้ นปริมาณ

3.1.1 นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 ร้อยละ 100 ได้เรียนรู้เกี่ยวกับขบวนการ

ลูกเสอื สำรองและเตรียมยุวกาชาด

3.1.2 นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ร้อยละ 100 ได้เรียนรู้เกี่ยวกับขบวนการ

ลกู เสอื สามญั และยุวกาชาด

3.2 ดา้ นคุณภาพ

3.2.1 นกั เรียนมีความรคู้ วามเข้าใจ ในกจิ กรรมของลูกเสือและยวุ กาชาด

3.2.2 นกั เรยี นได้พฒั นาตนเองตามศักยภาพและสามารถปรบั ตวั อยู่ในสังคมได้อย่างมคี วามสุข

3.2.3 นกั เรียนเกิดความอดทน มีความสามัคคีและมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์

4. กิจกรรมดำเนินการ

ท่ี กิจกรรม ระยะเวลาดำเนนิ การ ผูร้ ับผิดชอบ

1 - จัดทำหอ้ งลกู เสือ-ยวุ กาชาด พ.ค.64-เม.ย.65 ชนัญธิดา / งามตา /

พุชนาฏ

2 - ประชมุ ชี้แจง บุคลากร แบง่ งาน มอบหมายงาน พ.ค.-ก.ย.64 ผู้บริหาร / คณะครู

ประชมุ นกั เรียน เพ่ือแบง่ กอง แบง่ หมใู่ ห้มีความ

เหมาะสมและเพียงพอต่อความรบั ผิดชอบ โดยแยก

เปน็ ฝา่ ยลูกเสือสำรอง สามญั และยุวกาชาด

3 - จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนตามชว่ งชนั้ และระดบั พ.ค.64-เม.ย.65 คณะครู

ของลูกเสอื -ยุวกาชาด

4 - จัดกิจกรรมการเดินทางไกลและอยู่ค่ายแรมคืน ม.ค.-ก.พ.65 ผู้บรหิ าร /คณะครู

5 - ติดตามผล สรุป รายงานผลการดำเนินงาน มี.ค. 65 ชนัญธดิ า / งามตา /

ปรยี าดา/ พชุ นาฏ

5. รายละเอียดการใช้งบประมาณ

จำแนกตามหมวดรายจา่ ย

ที่ รายงานกจิ กรรม/คำช้แี จงในการใช้ งบประมาณ ค่าตอบแทน คา่ ใช้ คา่ วัสดุ ระยะเวลา

งบประมาณ สอย

1 จดั หอ้ งกิจกรรมลูกเสือ-ยุวกาชาด 40,000 26,735 พ.ค.64-เม.ย.65

134

จำแนกตามหมวดรายจ่าย

ที่ รายงานกิจกรรม/คำช้ีแจงในการใช้ งบประมาณ ค่าตอบแทน ค่าใช้ คา่ วสั ดุ ระยะเวลา

งบประมาณ สอย

2 จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนตามช่วงชัน้ - - 3,265 พ.ค.64-เม.ย.65

และระดบั ของลูกเสือ-ยุวกาชาด

3. จัดกจิ กรรมการเดนิ ทางไกลและอยคู่ ่าย - 10,000 - ม.ค.-ก.พ.65

แรมคนื

6. การประเมินผล วธิ วี ัด/ประเมินผล เคร่ืองมอื ที่ใช้วดั
ตัวชีว้ ดั ความสำเร็จ สังเกต แบบสงั เกตพฤติกรรม
ตรวจงาน แบบบันทกึ การปฏบิ ัตงิ าน
- นกั เรียนมคี วามรคู้ วามเข้าใจ ใน สังเกต แบบสังเกตพฤติกรรม
กจิ กรรมของลูกเสือและยุวกาชาด
- นักเรียนไดพ้ ัฒนาตนเองตามศักยภาพ สังเกต แบบสงั เกตพฤติกรรม
และสามารถปรับตัวอยใู่ นสงั คมได้อย่าง
มคี วามสขุ
- นกั เรียนเกิดความอดทน มคี วาม
สามัคคีและมคี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

7. ผลท่คี าดว่าจะได้รบั
7.1 ลกู เสือ-ยุวกาชาด โรงเรยี นบ้านทงุ่ ยาว ได้อยูค่ า่ ยแรมคนื ร่วมกันเป็นหม่คู ณะ และสามารถปรับตัว

ใหเ้ ข้ากับส่งิ แวดล้อม
7.2 ลูกเสือ-ยุวกาชาด โรงเรียนบ้านทุ่งยาว มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ เกิดความอดทน และมี

จติ สาธารณะเพอื่ สว่ นรวม
7.3 ลูกเสือ-ยุวกาชาด โรงเรียนบ้านทุ่งยาว แลกเปลี่ยนประสบการณ์เรียนรู้ ความคิดซึ่งกันและกัน

โดยการฝึกฝนและทดสอบในสถานทีท่ เ่ี หมาะสม

ลงชื่อ…………………..............ผเู้ สนอโครงการ ลงชอื่ ………….....…..............ผูเ้ หน็ ชอบโครงการ
(นางสาวชนญั ธิดา ใจสมทุ ร) (นางสาวชนัญธิดา ใจสมุทร)
รองผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งยาว
รองผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบ้านทงุ่ ยาว

ลงช่ือ................ ........................ผ้อู นมุ ตั โิ ครงการ
(นางสาวพิมพ์ประกาย ศรีไตรรตั น)์
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งยาว

135

โครงการ สง่ เสริมศกั ยภาพทกั ษะพืน้ ฐานผู้เรยี นระดับปฐมวยั

แผนงาน กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น ระดบั ปฐมวัย

สนองกลยทุ ธท์ ่ี กลยทุ ธท์ ี่ 1 ดา้ นการพฒั นาคุณภาพผู้เรียน

กลยุทธท์ ่ี 3 ด้านการส่งเสรมิ กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ี

เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั

ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง

ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ 1. นางสมญา เกา้ เอยี้ น

2. นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ

3. วา่ ท่ี ร.ต.หญงิ สชุ าดา พลหลา

งบประมาณ 20,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินการ 17 พฤษภาคม 2564 – 30 เมษายน 2565

...................................................................................................................................................................

1. หลกั การและเหตุผล

การเรยี นรตู้ ามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 จดั ทำขึ้นเพื่อผู้ทมี่ หี น้าท่ีรับผิดชอบเลี้ยง

ดู เด็กวัย 3-6 ปี ได้มีความเข้าใจการพัฒนาเด็ก ให้มีพัฒนาการทุกด้านสมดุล ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์

จิตใจ สังคม และสติปัญญาตามวัย และ ความสามารถของแต่ละบุคคล โดยผ่านกระบวนการเล่น เน้นให้เกิด

ประสบการณ์ตรง ส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม ความพร้อม เพอ่ื เปน็ พื้นฐานการเรยี นรู้ ให้เช่ือมโยงความคิดใน

ระดบั ทส่ี งู ขน้ึ ไป

เด็กวัย 4-6 ปี เป็นวัยที่สมองของเด็กกำลังเจริญเติบโต เด็กจำเป็นต้องได้รับความรัก ความเอาใจใส่

และ ดแู ลอยา่ งใกล้ชดิ เด็กวัยนีค้ วรได้รับการพัฒนาควยการเรียนรู้ โดยผ่านประสาทสัมผสั ทัง้ 5 เรียนรโู้ ดยการ

สำรวจ การ เล่น การทดลอง การวเิ คราะห์ ซึง่ เด็กสามารถค้นพบไดด้ ้วยตนเอง รจู้ กั การแกป้ ญั หา การตัดสินใจ

ใชภ้ าษาสอ่ื ความหมายให้ผู้อืน่ เขา้ ใจได้ มคี วามคดิ ริเร่มิ สร้างสรรค์ มีจินตนาการและปฏิบัติตามอยู่ร่วมกับผู้อื่น

ได้

ผู้รับผดิ ชอบจึงมหี น้าท่ีในการอบรมเลี้ยงดูและจัดประสบการณ์ให้เด็กได้แสดงออกอย่างเตม็ ศักยภาพ
ส่งเสริมให้เด็กได้สังเกตุ สำรวจ สร้างสรรค์ และเพิ่มความกระตือรือร้นของเด็กมากขึ้นเท่าใด เป็นบ่อเกิดของ
การ เรียนรู้ที่เพิ่มขึ้นตามลำดับ ผู้รับผิดชอบจึงควรส่งเสริมสนับสนุน ให้ความรัก ให้กำลังใจ และความเข้าใจ
เอาใจใส่ เด็ก วัยนี้เป็นพิเศษ เพื่อเป็นพื้นฐานที่จะช่วยเตรียมความพร้อมให้เด็กได้ประสบความสำเร็จในการ
เรยี นรแู้ ละพฒั นา ตนเองให้เปน็ คนดี คนเกง่ และคำรงชีวติ ประจำวนั ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ

โรงเรยี นบ้านทุ่งยาวจัดทำโครงการสง่ เสริมศักยภาพทกั ษะพื้นฐานผู้เรยี นระดับปฐมวัย ข้ึน
เพือ่ พัฒนานกั เรยี นในด้าน ต่างๆเพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกับหลกั สูตรปฐมวัยและสอดแทรกคุณธรรมและจรยิ ธรรม
ให้กบั นกั เรยี นเพ่ือให้นักเรียนมี พัฒนาการในดา้ นตา่ งๆ จงึ มีความจำเปน็ ในการจดั ทำโครงการนขี้ ้ึน

136

2. วตั ถปุ ระสงค์

2.1. เพอ่ื ส่งเสรมิ คณุ ธรรมจริยธรรมสร้างความมีระเบียบวินัยในหม่นู ักเรยี น โดยมุ่งเน้นศักยภาพ

ทางดา้ นร่างกาย อารมณ์-จติ ใจ สังคม และสตปิ ญั ญา

2.2. เพอ่ื ฝกึ ใหน้ ักเรียนปฐมวัยมีทักษะชีวิต คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคแ์ ละระเบียบวินัยของเด็ก
ปฐมวัย

2.3. เพื่อฝึกให้นกั เรยี นรจู้ ักการอดทน และรู้จักการกลา้ แสดงออก เหมาะสมตามวยั ของเดก็
2.4. เพ่อื เปน็ การสร้างจิตสำนกึ ใหเ้ ด็กมจี ิตสาธารณะ
2.5. เพอื่ สืบสานการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
2.6. เพือ่ ให้นักเรียนมีความรักในสถาบัน ชาติ ศาสนาและพระมหากษตั ริย์
3. เปา้ หมาย

3.1 เปา้ หมายเชิงปริมาณ
1. นกั เรียนปฐมวยั รอ้ ยละ 80 มีพัฒนาการทัง้ 4 ดา้ น อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
2. นักเรียนปฐมวัย รอ้ ยละ 80 มปี ระสบการณ์การเรยี นรูด้ ้านวนิ ยั อยา่ งมคี ุณภาพและย่ังยืน
3. นกั เรยี นปฐมวัย รอ้ ยละ 80 ปฏิบตั ิตามกฎระเบยี บของสถานศกึ ษา

3.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ
1. นักเรยี ปฐมวัย มีพัฒนาการทั้ง 4 ดา้ น อยู่ในระดบั ดี
2. นกั เรยี นปฐมวยั สามารถนำความรู้จากการฝกึ ระเบียบวนิ ยั ลกู เสอื และกจิ กรรมคา่ ย

วชิ าการ หนนู อ้ ยปฐมวยั ไปใช้ในกิจวัตรประจำวนั ได้อยา่ งถกู ต้อง และย่งั ยืน
4. กิจกรรมและการดำเนนิ การ

ที่ กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ บั ผดิ ชอบ
1 สำรวจสภาพปจั จุบัน พฤษภาคม - คณะครู

ปัญหาและความตอ้ งการ 2564 - นางสมญา เก้าเอีย้ น
2 จดั ทำโครงการเสนอต่อ พฤษภาคม นางสาวเบญจวรรณ สีดำ
ว่าที่ ร.ต.หญงิ สชุ าดา พลหลา
ผบู้ ริหาร 2564
- นางสมญา เกา้ เอ้ียน
3 ประชุมชแี้ จงโครงการเพ่ือ พฤษภาคม นางสาวเบญจวรรณ สีดำ
ขออนมุ ัติ 2564 ว่าที่ ร.ต.หญิง สุชาดา พลหลา

4 แตง่ ตง้ั คณะกรรมการ พฤษภาคม - นางสาวพิมพ์ประกาย ศรีไตรรัตน์
2564

137

ท่ี กจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ บั ผดิ ชอบ
5 วางแผนดำเนินการ พฤษภาคม
- นางสมญา เก้าเอีย้ น
6 ปฏิบัตกิ จิ กรรมตาม 2564 นางสาวเบญจวรรณ สีดำ
โครงการ ซ่งึ มีกจิ กรรม ตลอดปี วา่ ที่ ร.ต.หญิง สุชาดา พลหลา
ดังนี้ การศึกษา นางสมญา เก้าเอย้ี น
1. กิจกรรมลูกเสอื สำรอง 2564 นางสาวเบญจวรรณ สีดำ
2. กิจกรรมค่ายวิชาการ วา่ ที่ ร.ต.หญงิ สชุ าดา พลหลา
หนูน้อยปฐมวยั ม.ี ค. 2565
- นางสมญา เกา้ เอยี้ น
7 จดั ทำแบบประเมนิ มี.ค. 2565 นางสาวเบญจวรรณ สีดำ
โครงการ วา่ ที่ ร.ต.หญิง สชุ าดา พลหลา
มี.ค. 2565
8 ประเมินความพงึ พอใจ 500 นางสมญา เก้าเอี้ยน
ของผู้เกย่ี วข้อง นางสาวเบญจวรรณ สีดำ
ว่าที่ ร.ต.หญงิ สชุ าดา พลหลา
9 สรปุ ผลและรายงานผล
500 นางสมญา เกา้ เอย้ี น
นางสาวเบญจวรรณ สดี ำ
ว่าที่ ร.ต.หญิง สชุ าดา พลหลา

5. รายละเอียดการใช้งบประมาณ ตอบแทน เงนิ งบประมาณ รวม เงนิ นอก รวม
1,000 ใชส้ อย วัสดุ งบประมาณ
ท่ี กจิ กรรม
3,000 11,000 15,000
1. กจิ กรรมลกู เสือสำรอง ระดบั
ปฐมวยั

2. กิจกรรมค่ายวชิ าการ สำหรับหนู 1,000 1,000 3,000 5,000
นอ้ ยปฐมวยั
รวม 2,000 4,000 14,000 20,000

6. การประเมินผล วิธีการประเมนิ 138
ตัวช้ีวดั ความสำเร็จ สังเกต
เครอ่ื งมือทใี่ ช้
1. เดก็ ปฐมวัยรอ้ ยละ 80 มีคุณธรรมจริยธรรม สังเกต แบบสังเกต/แบบบนั ทกึ
และมีระเบียบวินัย แบบสงั เกต
2. เด็กปฐมวยั ร้อยละ 80 มที ักษะชีวติ

คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์และระเบียบวินยั

ของเด็กปฐมวัย

3. เดก็ ปฐมวยั รอ้ ยละ 80 มีจิตสาธารณะ สงั เกต แบบสงั เกต
ช่วยเหลือผ้อู นื่ และรกั ษาสงิ่ แวดลอ้ มภายใน
โรงเรียน สอบถาม แบบสอบถาม
4. ผูป้ กครองร้อยละ 80 เกดิ ความพงึ พอใจตอ่
การจัดกิจกรรมอยู่ในระดีบดีขึ้นไป

7. ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ
7.1 นกั เรียนมคี ุณธรรมจรยิ ธรรม และมีระเบียบวนิ ัย
7.2 นกั เรียนมที ักษะชีวิต คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์และระเบยี บวนิ ัยของเด็กปฐมวยั
7.3 นักเรยี นมีจติ สาธารณะ ชว่ ยเหลอื ผอู้ ืน่ และรักษาส่ิงแวดล้อมภายในโรงเรยี น
7.4 ผู้ปกครองมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมอยใู่ นระดับดีขึน้ ไป

ชือ่ …………………..............ผู้เสนอโครงการ ลงชอื่ ………….....…..............ผเู้ ห็นชอบโครงการ
(นางสมญา เกา้ เอยี้ น) (นางสาวชนัญธิดา ใจสมุทร)

รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบ้านทงุ่ ยาว รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นทุ่งยาว

ลงชอื่ ................ ........................ผู้อนมุ ตั ิโครงการ
(นางสาวพิมพป์ ระกาย ศรไี ตรรตั น์)
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นทุ่งยาว

โครงการ 139
แผนงาน
สนองกลยุทธท์ ่ี คา่ ยคณุ ธรรม จริยธรรมและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องนักเรยี น
การจัดการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน / งานกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน
ลักษณะโครงการ กลยุทธ์ที่ 1 ด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น
ผรู้ ับผดิ ชอบ กลยทุ ธ์ที่ 2 ดา้ นการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
กลยทุ ธท์ ี่ 3 ด้านการสง่ เสริมกระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี น
งบประมาณ เปน็ สำคัญ
ระยะเวลาดำเนนิ งาน โครงการใหม่
นางงามตา สุจริตธุระการ
นางสาวนาถยา แสงเงนิ
นางแสงดาว ไพบูลย์
วา่ ที่ ร้อยตรีสชุ าดา พลหลา
20,000 บาท
พฤษภาคม 2564 – เมษายน 2565

1. หลกั การและเหตุผล
ปัจจุบันแนวโน้มด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ของนักเรียน อยู่ในระดับที่ต่ำลง

พบว่าเนื่องจากมีสื่อและเทคโนโลยีเข้ามาเผยแพร่และมีอิทธิพลในชีวิตประจำวันของนักเรียน ซึ่งอาจสร้าง
ปัญหาให้ครอบครัว โรงเรียน ชุมชนและสังคมได้ โดยทุกฝ่ายต้องร่วมกันจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมดา้ นวินัย ความ
รับผิดชอบ ความซื่อสัตย์สุจริต ความกตัญญูกตเวที มีความเมตตากรุณา ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ความเสียสละ
เพอื่ ส่วนรวม การใชท้ รัพยากรอยา่ งประหยัดและคมุ้ คา่ รวมทั้งมีความภาคภมู ใิ จในความเป็นไทยใหแ้ ก่นักเรียน
เพื่อให้นักเรียนปฏิบัติตนจนเป็นกิจนิสัยในชีวิตประจำวัน ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการท่ี
เน้นใหผ้ ูเ้ รียนมีคุณธรรม และนโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ึ พ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
(นโยบายที่ 2 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน) ประเด็นกลยุทธ์ที่ 3.2 พัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความรักในสถาบันหลัก
ของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติ ที่ดีต่อ
ชาติบา้ นเมอื ง มหี ลักคิดท่ีถกู ต้องเป็นพลเมอื งดีของชาติ และพลโลกทด่ี ี มีคุณธรรม จริยธรรม เพือ่ ให้นักเรียนมี
คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ โรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการค่ายคุณธรรม จริยธรรม และ
คา่ นิยมท่ีพึงประสงค์ของนกั เรยี นขึ้น
2. วตั ถุประสงค์

2.1 เพือ่ ใหน้ ักเรยี นโรงเรยี นบ้านทุ่งยาว เทิดทูนสถาบนั ร่วมกันรักษาระเบยี บวนิ ัย ใสใ่ จจติ สาธารณะ
2.2 เพือ่ ปลูกฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม ที่ดีงามแก่นกั เรยี น
2.3 เพ่อื ให้นักเรียนมีอดุ มการณร์ กั ชาติ จงรกั ภกั ดีตอ่ สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ และปฏิบัติตามรอยพระ
บาทพ่อแห่งแผ่นดนิ
2.4 เพอ่ื พฒั นานักเรียนใหม้ คี ุณลักษณะอนั พึงประสงค์ทด่ี ี

140

3. เปา้ หมาย
3.1 ด้านปริมาณ
- นักเรียนโรงเรียนบา้ นทุ่งยาวทุกคน เข้ารว่ มโครงการคา่ ยคุณธรรม จริยธรรมและ
คุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องนกั เรยี น
3.2 ด้านคณุ ภาพ
นักเรียนร้อยละ 80 มีวินัย ความรับผิดชอบ และปฏิบัติตนตามหลักธรรมเบื้องต้น มีความ
ซื่อสัตย์สุจริต มีความกตัญญูกตเวที มีความเมตตากรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละเพื่อส่วนรวม มี
ความประหยัดใช้ทรัพย์สินของส่วนตน และส่วนรวมอย่างคุ้มค่า มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย
เหน็ คณุ คา้ ภมู ปิ ญั ญาไทย และผ้ทู เ่ี ก่ยี วขอ้ งมคี วามพึงพอใจในการดำเนินงานตามโครงการของโรงเรียน

4. กิจกรรมดำเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ ับผดิ ชอบ
ดำเนนิ การ - งามตา
ท่ี กิจกรรม พฤษภาคม 64

1. ขนั้ เตรียมการ มีนาคม 65 20,000 งามตา , แสงดาว ,
- วางแผนประสานงานฝา่ ยต่าง ๆ นาถยา
- จดั ทำโครงการ
- เสนอโครงการเพอ่ื ขออนุมัติ
- แตง่ ต้งั คณะทำงาน
- ประชุมช้แี จงคระทำงาน

2. ขัน้ ดำเนนิ การ
1.กจิ กรรมอบรมพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม
และคณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องนกั เรยี น
- ระเบยี บวนิ ยั ของนักเรยี นที่ดี
- ศลี ธรรมกบั การพัฒนาชวี ติ
- พื้นฐานชีวิตลขิ ิตตนเอง
- จริยศึกษาของชาวพุทธ
- เทียนแหง่ ปญั ญา
- พิษภัยของยาเสพตดิ
- ตามรอยพระบาท พอ่ แห่งแผน่ ดิน
- การเสริมสรา้ งอุดมการณ์ความรักชาติ
- กิจกรรมครู เพื่อน พ่ี นอ้ ง โรงเรยี น

141

ท่ี กจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ ับผดิ ชอบ
ดำเนินการ - งามตา , แสงดาว
3. ขน้ั นิเทศ ติดตาม ประเมินผล เมษายน 65
- ตดิ ตาม/เสนอแนะ/ให้คำปรึกษา/
ประเมนิ ผล มิถนุ ายน 64 - 3,000 งามตา , แสงดาว ,
มีนาคม 65 1,500 นาถยา
4. ข้นั ปรบั ปรุงแก้ไข 11,000
- นำผลการประเมนิ มาวเิ คราะห์เพอ่ื
วางแผนพฒั นา

5.รายละเอียดการใชง้ บประมาณ ตอบแทน เงินงบประมาณ เงินนอก รวม
ท่ี รายการกจิ กรรม/คำชี้แจงในการใช้ รวม งบประมาณ
งบประมาณ - ใช้สอย วัสดุ 1,000
1. ปา้ ยไวนลิ - 1,000 - 8,500
2. ค่าอาหารกลางวัน - - 1,000 8,500 - 6,500
3. คา่ อาหารว่าง - - 8,500 6,500 4,00
4 ค่าวทิ ยากร - - 6,500 4,000 20,000
รวม - 4,000 20,000 -
- 20,000

6. การประเมนิ ผล วิธีการวดั และ เครือ่ งมอื ทีใ่ ช้
ตวั ช้วี ัดความสำเร็จ ประเมนิ ผล
แบบสงั เกต
ผลผลิต (Output) การสงั เกต แบบสมั ภาษณ์
- ร้อยละของนักเรยี นทม่ี ีคุณธรรม จริยธรรม การสมั ภาษณ์
และมีระเบียบวนิ ยั ในตนเอง แบบสงั เกต
ผลลัพธ์ (Outcomes) สงั เกต แบบสมั ภาษณ์
- นักเรยี นมคี ุณลักษณะอันพงึ ประสงค์สงู ข้ึน สมั ภาษณ์ แบบทดสอบ
รอ้ ยละ ๘๐ ทดสอบ

7. ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ
7.1 นกั เรยี นมีคุณธรรม และจริยธรรม ในตนเอง
7.2 นกั เรยี นมีคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ทด่ี ี
7.3 นักเรยี นมีระเบียบวินยั มจี ิตสาธารณะ

ลงชอื่ …………………..............ผู้เสนอโครงการ 142
(นางงามตา สุจรติ ธรุ ะการ)
ครโู รงเรียนบา้ นทงุ่ ยาว ลงชอื่ ………….....…..............ผเู้ ห็นชอบโครงการ
(นางสาวชนัญธดิ า ใจสมทุ ร)

รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านทงุ่ ยาว

ลงชือ่ .................. ......................ผูอ้ นุมตั โิ ครงการ
(นางสาวพิมพ์ประกาย ศรไี ตรรตั น์)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านท่งุ ยาว

โครงการ 143
แผนงาน
สนองกลยุทธท์ ี่ ค่ายอนรุ ักษ์ พิทกั ษส์ งิ่ แวดลอ้ ม
การจัดการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน / งานบรหิ ารทัว่ ไป
ลกั ษณะโครงการ กลยทุ ธท์ ่ี 1 ด้านการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น
หน่วยงานทรี่ ับผดิ ชอบ กลยทุ ธท์ ี่ 3 ดา้ นการส่งเสรมิ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ี
ผ้รู บั ผดิ ชอบ เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ
โครงการใหม่
ระยะเวลาดำเนินงาน โรงเรียนบ้านทงุ่ ยาว
งบประมาณ นายภรู ิภัทร หยงสตาร์ , นางสาวพุชนาฏ รัตนแก้ว ,
นางสาวจารุพตั ร ครชาตรี
พฤษภาคม 2564 – 30 เมษายน 2565
20,000 บาท

1. หลักการและเหตุผล
ความมุ่งหมายและหลักการของพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มุ่งเน้นพัฒนานักเรียน

ใหม้ คี วามสมบูรณ์ท้งั รา่ งกาย จติ ใจ สติปญั ญา มีความรู้ค่คู ุณธรรม มีจรยิ ธรรม และวฒั นธรรมในการดำรงชีวิต
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ปลูกฝังเยาวชนให้มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักรักษา
ผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รู้จักส่งเสริมภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาท้องถิ่น ตลอดจนอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเอง อย่างต่อเนื่องและ
ส่งเสริมให้เยาวชนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ เน้นความสำคัญทั้งความรู้
คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสม จากหลักการและความสำคัญที่กล่าวมา
แหล่งเรียนรูน้ อกห้องเรียน แหลง่ ความรใู้ นชมุ ชน ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น รวมถึงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม
จึงมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของเยาวชนที่จะเป็นพลังในการพัฒนาชุมชนแล ะ
ประเทศชาติ ดังนั้นการจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ เยาวชน มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม ในรูปแบบกิจกรรมคา่ ยนักอนุรักษร์ นุ่ เยาว์ โดยใชแ้ หล่งเรยี นรู้ในชุมชนหรือ สถานท่ีท่ีมีคุณค่า
และความสำคัญต่อการศึกษาเรียนรู้และการอนุรักษ์พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงมี
ความสำคัญและจำเป็น อย่างยิ่งที่ สถานศึกษาและหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องจะต้องดำเนินการหรือร่วมมือกันจดั
กจิ กรรมดังกล่าว เพอ่ื พฒั นาเด็กและเยาวชนอันจะเป็นกำลงั ของชาติ ในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติให้มี
ความเจรญิ ก้าวหน้า มแี หลง่ ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ีสมบูรณ์ อันจะส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
ของประเทศชาติได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
2. วัตถปุ ระสงค์

2.1 เพื่อปลูกจิตสำนึกดา้ นการอนรุ กั ษส์ ิง่ แวดลอ้ มให้กับนักเรียนที่เข้ารว่ มกิจกรรมค่ายนักอนุรกั ษ์รุ่น
เยาว์

2.2 เพอื่ ให้นักเรียนที่ร่วมกิจกรรมคา่ ยได้เรยี นรูธ้ รรมชาติของวิทยาศาสตรจ์ ากกจิ กรรมฐานการเรยี นรู้

144

ประสบการณ์ตรงท่เี ปน็ สภาพจรงิ จากแหลง่ เรยี นรใู้ นธรรมชาติ
2.3 เพ่อื ให้นักเรียนท่ีเขา้ ร่วมกจิ กรรมค่ายสามารถนำความรู้และประสบการณจ์ ากกิจกรรมคา่ ยไป
ปรบั ใช้ และขยาย ผลที่บ้านและชมุ ชนตอ่ ไป
3 กลมุ่ เป้าหมาย
3.1 ดา้ นปรมิ าณ
3.1.1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 344 คน คณะครูจำนวน 16
คน เข้ารว่ มโครงการ
3.1.2 นักเรยี นรอ้ ยละ 95 เขา้ รว่ มคา่ ยกจิ กรรมอนุรักษส์ ่งิ แวดล้อม
3.2 ดา้ นคุณภาพ
3.2.1 นกั เรียนมีลักษณะนสิ ยั ทดี่ ใี นการใช้ทรพั ยากรและร้จู ักอนุรักษส์ งิ่ แวดลอ้ ม
3.2.2 นักเรียนมจี ิตสํานกึ ท่ดี ีในการช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมของโรงเรยี นและชมุ ชนวงกวา้ ง
3.2.3 นกั เรียนได้นาํ ความรูท้ ีไ่ ดจ้ ากการเขา้ ค่ายจัดกจิ กรรมไปเผยแพร่และถ่ายทอดใหค้ นอนื่ ต่อได้
4. กจิ กรรมดำเนนิ การ

ท่ี กิจกรรม ระยะเวลา ผ้รู ับผิดชอบ
1 วิเคราะห์ข้อมลู /จัดทำโครงการ พฤษภาคม 2564 นายภูรภิ ัทร หยงสตาร์ นางสาว
พชุ นาฏ นางสาวจารพุ ตั ร
2 ขออนุมตั งิ บประมาณ พฤษภาคม 2564 นายภรู ภิ ัทร หยงสตาร์

3 จดั ประชมุ คณะทำงานเพ่ือหา พฤษภาคม 2564 ผูบ้ ริหาร และคณะครทู ุกคน

แนวทางดำเนินการ

4 แนวทางการจัดกิจกรรมต่างๆ

• จัดอบรมให้ความร้เู ร่ืองการอนุรกั ษ์ พฤษภาคม 2564- มีนาคม 65 นายภรู ิภัทร หยงสตาร์

สิ่งแวดลอ้ ม นกั เรียนกลุ่มเป้าหมาย วทิ ยากร และคณะ

5 ประสานกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพื่อ พฤษภาคม 2564- มีนาคม 65 ผบู้ รหิ าร ,นายภูริภทั ร หยง

เชญิ เข้าร่วมโครงการ สตาร์

6 ตดิ ตอ่ ประสานงานกบั วิทยากร พฤษภาคม 2564- มีนาคม 65 ผูบ้ ริหาร,นายภูริภัทร หยงสตาร์

7 ดำเนนิ การตามกิจกรรมของโครงการ พฤษภาคม 2564- มีนาคม 65 นายภูรภิ ัทร หยงสตาร์ นางสาว

พชุ นาฏ นางสาวจารพุ ัตร

8 สรปุ โครงการ เมษายน 2565 นายภรู ิภัทร หยงสตาร์

9 ประเมนิ ผล เมษายน 2565 นายภรู ิภทั ร หยงสตาร์


Click to View FlipBook Version