The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน”

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by irus.pc, 2022-07-14 04:19:51

คู่มือการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน” เล่มที่ 2

คู่มือการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน”

๔๘

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๑๒ ๑๗ ชัว่ โมง

กลุ่มสาระฯ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๖
จานวน ๓ ชั่วโมง
เรื่อง อา่ นจับใจความจากนทิ าน เวลา ๑ ช่ัวโมง
วนั ทีส่ อน .๑..๔......พ...ฤ..ษ...ภ..า..ค...ม.....๒...๕..๖...๒...................

มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชีว้ ัด

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ
แก้ปญั หาในการดาเนนิ ชีวติ และมีนสิ ยั รักการอ่าน

มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๑ อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองได้ถูกต้อง
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๒ อธบิ ายความหมายของคา ประโยคและข้อความที่เปน็ โวหาร
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๔ แยกขอ้ เทจ็ จริงและขอ้ คดิ เหน็ จากเรอื่ งท่ีอา่ น
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๕ อธิบายการนาความรู้และความคิดจากเร่ืองที่อ่านไปตัดสินใจแก้ปัญหา

ในการดาเนนิ ชีวิต
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๘ อา่ นหนงั สือตามความสนใจ และอธบิ ายคณุ คา่ ที่ได้รับ
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๙ มมี ารยาทในการอา่ น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความและเขียนเรื่องราว

ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษา
คน้ ควา้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ
มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๒ เขียนสือ่ สารโดยใช้ถอ้ ยคาถกู ต้อง ชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย
มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๖ เขยี นแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกับสาระจากสอ่ื ทไี่ ดร้ ับ
มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๙ มมี ารยาทในการเขยี น

๔๙

สาระสาคัญ
สามัคคี คือ ความพร้อมเพรียงกัน ความกลมเกลียวกัน ความปรองดองกัน ร่วมใจกัน

ปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามท่ีต้องการ เกิดงานการอย่างสร้างสรรค์ ปราศจากการทะเลาะวิวาท ไม่เอารัด
เอาเปรียบกัน เป็นการยอมรับความมีเหตุผล ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางความคิด ความ
หลากหลายในเรื่องเช้อื ชาติ ความกลมเกลยี วกนั ในลกั ษณะเชน่ นี้ เรยี กอกี อยา่ งว่า ความสมานฉนั ท์

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

เมื่อนกั เรยี นเรียนจบในเน้อื หานี้แลว้ นักเรยี นสามารถ
๑. อา่ นจับใจความสาคัญ ในเรือ่ ง ความรกั สามัคคี ได้ (K)
๒. แสดงความคิดเห็น ระบุประเด็นสาคัญ และอธิบายความแตกต่าง ความสัมพันธ์เชิง
เหตุผลจากเรอื่ งทอี่ า่ นได้ (P)
๓. มีความร่วมมือ สนใจ มุ่งมั่น มีความรับผิดชอบ มีมารยาทในการอ่าน และการเขียน
ในระหว่างทากจิ กรรม (A)

สาระการเรยี นรู้

การอ่านจับใจความจากนิทาน

กิจกรรมการเรียนรู้

ขนั้ นา
๑. นักเรียนและครูร่วมกันทบทวนเน้ือหา เร่ือง ความรักสามัคคี ที่ได้เรียนมาในชั่วโมงที่
ผา่ นมา
๒. ครูนาตัวอย่างพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี ๙) ให้นักเรียน
อ่าน เพือ่ วิเคราะห์วา่ พระราชดารัสดังกลา่ วมเี น้อื หาใจความอยา่ งไร

“...เมืองไทยน้ีอยู่ได้ด้วยความสามัคคี ด้วยความเข้ม แข็ง ด้วยความ
เสียสละ อาศัยความเห็นอกเห็นใจ ซ่ึงกันและกัน และถ้ารักษาความ เห็นอก
เห็นใจนี้แล้ว ประเทศชาติของเราก็จะ เป็นท่ีอาศัยที่อุดมสมบูรณ์และน่า
สบายต่อไปชวั่ กลานาน...”

พระราชดารัสของ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวฯ (รชั กาลท่ี ๙)
พระราชทานในพธิ พี ระราชทาน ธงประจารุน่ ลูกเสือชาวบา้ นจงั หวดั ขอนแกน่

ณ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น

๕๐

๓. ครตู ั้งคาถามนา เพ่อื ใหน้ ักเรียนตอบ เช่น
- สาระสาคัญของพระราชดารัสท่ีนักเรียนอ่าน คอื อะไร (ความสามัคคี ความเสียสละ)
- ถ้านักเรียนปฏิบัติตามพระราชดารัส จะส่งผลต่อนักเรียนในเร่ืองอะไร (ทาให้เรา

เปน็ คนที่มคี ุณค่า และอยใู่ นสงั คมได้อยา่ งมีความสุข)
(ครูฟงั ความคดิ เหน็ ของนกั เรียน โดยครูยังไมเ่ ฉลย)

๔. ครูอธิบายเพิ่มเก่ียวกับเรื่อง การสรา้ งความเข้มแข็งให้เกิดขึ้นท้ังกายและใจของเรา โดยเน้น
ให้นกั เรยี นเห็นวา่ ถ้าเรามคี วามเขม้ แข็งทัง้ กายและใจ จะทาให้เราดารงชวิ ติ อยา่ งไมย่ ่อทอ้ อดทน

ขั้นสอน
๕. ครใู หน้ ักเรียนประจากลุ่มเดิม
๖. ประธานกลุม่ /รองประธานกลุ่ม ออกมารับแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ชดุ “เดิน
ตามรอยพอ่ สอน” ชุดท่ี ๔ เรื่อง ความรักสามัคคี เพ่อื นาไปแจกใหก้ บั สมาชกิ ในกลุม่
๗. เมื่อแต่ละกลุ่มได้รับแบบฝึกทักษะฯ แล้ว ให้เร่ิมศึกษาเนื้อหาจากแบบฝึกทักษะ โดย
เร่ิมตั้งแต่การศึกษามาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ รวมถึง
บทบาทของตนเอง เพ่ือทาความเข้าใจ
๘. แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาเน้ือหาจากใบความรู้ท่ี ๒ เรื่อง อ่านจับใจความจากนิทาน โดย
สมาชิกในกลุ่มร่วมกันศึกษา เรียนรู้ ให้คาแนะนา รวมถึงการสรุป และอภิปรายเน้ือหาท่ีศึกษา
ร่วมกนั
๙. เมื่อทาการศึกษาเนื้อหาจากใบความรทู้ ่ี ๒ จนเข้าใจแลว้ ใหส้ มาชิกแตล่ ะคนทาแบบฝึก
ทกั ษะท่ี ๓ และ ๔ (ทาเปน็ รายบคุ คล)
๑๐. เม่ือนักเรียนแต่ละคนทาแบบฝึกทักษะท่ี ๓ และ ๔ เสร็จแล้ว ให้จับคู่กับเพื่อนในกลุ่ม
เพื่อส่งแบบฝึกทักษะท่ีทาเสร็จแล้วให้เพ่ือนตรวจ ในกรณีท่ีคะแนนยังไม่ผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ ๘๐)
ให้นักเรียนกลับไปทบทวนเน้ือหาเพ่ือทาความเข้าใจอีกคร้ัง จากน้ันกลับมาทาแบบฝึกใหม่ จนกว่า
คะแนนจะผา่ นเกณฑ์

๕๑

ข้ันสรปุ (Summarizing)
๑๑. ครูและนกั เรียนรว่ มกันสรุปในเรื่อง ความรกั สามคั คี จนได้ข้อสรปุ วา่
“สามัคคี คอื ความพร้อมเพรียงกัน ความกลมเกลียวกัน ความปรองดองกัน ร่วมใจกัน

ปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามที่ต้องการ เกิดงานการอย่างสร้างสรรค์ ปราศจากการทะเลาะวิวาท ไม่เอารัด
เอาเปรียบกัน เป็นการยอมรับความมีเหตุผล ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางความคิด ความ
หลากหลายในเรือ่ งเชื้อชาติ ความกลมเกลียวกันในลกั ษณะเชน่ น้ี เรยี กอกี อย่างวา่ ความสมานฉันท์”

๑๒. ครูแจง้ ให้นักเรยี นมาศึกษาเน้ือหาในเรอ่ื งการอ่านจับใจความ โดยใช้แบบฝึกทักษะการ
อา่ นจบั ใจความ ชุด “เดินตามรอยพอ่ สอน” ชดุ ท่ี ๔ เรือ่ ง ความรักสามัคคี ในชวั่ โมงต่อไป

สอ่ื /แหล่งเรียนรู้
๑. ตวั อย่างบทความ
๒. แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน” ชุดท่ี ๔ เร่ือง ความรัก

สามัคคี
๓. ใบความรูท้ ่ี ๒ เร่อื ง อ่านจับใจความจากนิทาน
๔. แบบฝกึ ทักษะท่ี ๓ และ ๔

การวัดผลประเมนิ ผล

สงิ่ ทีต่ ้องการวดั วิธีวดั ผล เครอื่ งมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
อา่ นจับใจความสาคญั ในเร่ือง ตรวจแบบฝึก แบบฝกึ ทกั ษะท่ี ทาแบบฝึกทักษะ
ความรกั สามัคคี ได้ ทักษะ ถกู ต้องผา่ นเกณฑ์
๓ และ ๔ ร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป
แสดงความคดิ เห็น ระบุประเด็น ตรวจแบบฝกึ ทาแบบฝกึ ทักษะ
สาคญั และอธิบายความแตกต่าง ทักษะ แบบฝึกทักษะที่ ถกู ต้องผา่ นเกณฑ์
ความสัมพนั ธเ์ ชิงเหตุผลจากเร่อื งที่ รอ้ ยละ ๘๐ ข้นึ ไป
อ่านได้ ๓ และ ๔
ให้ความรว่ มมือ สนใจ มุ่งมั่น มคี วาม ประเมิน มพี ฤติกรรมการ
รบั ผิดชอบ มมี ารยาทในการอ่าน พฤติกรรมการ - แบบประเมนิ ทางานกลุ่มผ่าน
และการเขยี น ในระหว่างทากิจกรรม ทางานกลุม่ พฤติกรรมการ เกณฑ์อยู่ในระดบั ดี
ทางานกลุ่ม

๕๒

บันทกึ ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้

ผลการจดั การเรียนการสอนตามตวั ชีว้ ดั
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ปญั หา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชือ่ ………………………………………………………… ลงชอ่ื ………………………………………………………
(นางวนั ดี เหล่าสุวรรณ) (นางสาวพชั ราภรณ์ เรืองศรี)

ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ ตาแหน่ง หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้

ลงช่ือ ………………………………………………………… ลงช่อื ………………………………………………………
(นางปรดี า ชว่ ยสขุ ) (นายธานนิ ทร์ แกว้ จุรตั น์)

ตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ฝ่ายวชิ าการ ตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศึกษา
โรงเรียนเทศบาล ๒ (บา้ นหาดใหญ่) โรงเรียนเทศบาล ๒ (บา้ นหาดใหญ)่

๕๓

อา่ นจบั ใจความจากนทิ าน

นิทาน คอื อะไร
นทิ าน คือ เร่ืองราวที่เล่าต่อๆ กันมาเป็นเวลานานมาแล้ว แต่ไม่ทราบ แน่ชัดว่าเร่ิมต้นเล่า

กนั มาต้ังแตเ่ มอ่ื ใด การเลา่ นิทานมีจุดหมายก็เพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน และให้ความร้เู พื่อสอน
ให้เปน็ คนดีอยู่ในสังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ และบางครั้งก็สอดแทรกคตเิ พอ่ื เปน็ ขอ้ คิดและนาไปปฏิบัติ

ประเภทของนทิ าน
การแบ่งประเภทของนิทานตามรูปแบบ ของนิทาน และตามเนื้อหา สาระที่เป็นเร่ืองราว

ของนิทาน แบงออกเปน็ ประเภทตา่ งๆ ๘ ประเภท คือ
๑. เทพนยิ ายหรือเรอ่ื งราวปรัมปรา เป็นนิทานหรอื นยิ ายท่ีเกนิ เลยความเปน็ จริงของมนุษย์

สวนใหญเ่ ป็นเรอื่ งรวมทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั อภินิหาร
๒. นิทานประจาท้องถิ่นหรือนิทานพื้นบ้าน มักเป็นนิทานท่ีถูกเล่าขานตกทอดต่อเน่ืองกัน

มาเปน็ เรื่องราวเกีย่ วขอ้ งกบั ตานานพ้นื บา้ น ประวัตคิ วามเปน็ มาของทอ้ งถ่ิน ภูเขา ทะเล เป็นต้น

๕๔

๓. นิทานคติสอนใจ เป็นนิทานที่เรียบเรียงเชิงเปรียบเทียบกับชีวิตและความเป็นอยู่
ร่วมกันในสังคมให้บังเกิดผลในการดารงชีวิตและความเป็นอยู่ร่วมกัน ให้ช่วยเหลือหรือเมตตา และ
อยูร่ ว่ มกนั อยา่ งมีความสุข

๔. นทิ านวรี บรุ ุษ เปน็ นิทานท่กี ล่าวอ้างบคุ คลทม่ี คี วามสามารถองอาจ กลา้ หาญ
๕. นิทานอธบิ ายเหตุ เป็นเรื่องราวของเหตทุ ่ีเกดิ ส่งิ หน่งึ สงิ่ ใดและอธบิ ายพร้อมตอบคาถาม
เรอื่ งราวน้ันๆ ดว้ ย
๖. เทพปกรณัม เป็นนิทานท่ีเก่ียวกบความเชื่อโดยเฉพาะตัวบุคคลที่มีอภินิหารเหนือความ
เปน็ จรงิ ลึกลบั
๗. นทิ านท่ีมีตัวสัตว์เป็นตัวเอก เปรียบเทียบเร่ืองราว ท่ีอยู่รว่ มกันในสังคม สอนจริยธรรม
แฝงแงค่ ดิ และแนวทางแกไข เป็นเรื่องบันเทงิ คดีที่สนกุ สนาน
๘. นิทานตลกขบขัน เป็นเร่ืองเปรียบเทียบชีวิตความเป็นอยู่แต่มีมุขที่ตลก ขบขัน
สนุกสนาน ทาให้เกดิ ความรสู้ กึ เป็นสขุ

หลกั การอ่านจบั ใจความสาคญั จากนทิ าน

การอ่านจับใจความสาคัญจากนทิ านอาจใช้หลักการอา่ นจบั ใจความสาคัญ เหมือนการอา่ น
เรื่องยาวๆ ทั่วไป คือเน้นการสรุปสาระสาคัญของเร่ืองในลักษณะการย่อความซ่ึงมีข้ันตอนการอ่าน
ดงั น้ี

๑. ตงั้ ใจอา่ น มสี มาธิในการอ่าน
๒. อา่ นเร่อื งราวนนั้ ๆ ตั้งแต่ต้นจนจบเรือ่ ง
๓. สรุปหรือจับใจความสาคัญ ว่าเป็นเรื่องอะไร มีใคร ทาอะไร กับใครท่ีไหน เม่ือไร
ทาอยา่ งไร
๔. ทบทวนความบางตอน หรือสาระบางเรือ่ งท่ียังเขา้ ใจ ไม่ชดั เจน ให้เขา้ ใจ
๕. สงั เกตดวู ่าผลสดุ ท้ายของเรือ่ งน้ันๆ อะไรเกิดขน้ึ บ้าง
๖. พิจารณาว่าเร่ืองมีสาระหรือความสาคัญอยู่ที่ใดมีแง่คิดคติธรรม หรือคาสอน แก่ผู้อ่าน
อยา่ งไรบ้าง
๗. สรุปความคิด ทาบันทึกช่วยจา ย่อความ ตอบคาถาม หรือทากิจกรรมต่างๆ ตาม
วตั ถปุ ระสงค์

๕๕



คาสัง่ ใหน้ ักเรยี นจับใจความสาคัญ จากเร่อื ง “นกกระเรยี น ห่าน และเหยย่ี ว” โดยจบั
ใจความสาคญั ของแต่ละตอนใหถ้ กู ต้อง พรอ้ มสรุปใจความสาคญั จากเรื่องทีอ่ ่าน
(๑๐ คะแนน)

นกกระเรยี น หา่ น และเหยี่ยว

(ตอนที่ ๑) นกกระเรียนตัวหนึ่งบินมาถึงสระแห่งหน่ึง เห็นห่านดาผุดดาว่ายอยู่ในสระ
(ตอนที่ ๒) จึงถามว่ากาลังทาอะไร ห่านจึงอธิบายให้ฟังว่า “น่ีเป็นวิธีหาอาหารในน้าของ
(ตอนที่ ๓) พวกเรา และเมอื่ มีภยั อันตรายเราก็สามารถดานา้ หนีได้”
“ขอเพียงเจ้ามาเป็นเพื่อนของเราเท่าน้ัน ต่อไปก็ไม่ต้องมัวดาผุดดาว่าย
ให้เสยี เวลา” นกกระเรียนให้คาแนะนา “ข้ึนมาหาอาหารบนบกสบายกว่า ส่วน
ภัยอันตรายน้ัน ด้วยร่างกายที่แข็งแรงของเราขอรับรองว่าจะคอยคุ้มครองให้
เจา้ เอง”
ห่านหลงเชื่อที่นกกระเรียนกล่าว จึงขึ้นมาหาอาหารบนบกกับนกกระเรียน อยู่
ต่อมาไม่นานเหยี่ยวตัวหนึ่งออกหาเหยื่อเห็นห่านหากินอยู่บนบก จึงโฉบลงมา
จับตัวได้โดยง่าย ห่านตะโกนส่งเสียงร้องเรียกนกกระเรียนช่วย แต่ปรากฏว่าน
กกระเรยี นบินเตลิดหนไี ปนานแล้ว

๕๖

ใจความสาคัญตอนที่ ๑ (๒ คะแนน)
ใจความสาคัญตอนท่ี ๒ (๒ คะแนน)
ใจความสาคญั ตอนที่ ๓ (๒ คะแนน)

สรปุ ใจความสาคญั
(๔ คะแนน)

............................................................................................................................. ...............
............................................................................................................................. ...............
................................................................................................................... .........................
............................................................................................................................. ...............
......................................................................................... ...................................................
............................................................................................................................. ...............
............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............
............................................................................................................................................

๕๗



คาสั่ง ให้นักเรยี นอา่ นนทิ านและตอบคาถามตอ่ ไปน้ี (๑๐ คะแนน)

ก่องขา้ วน้อยฆา่ แม่

กาลคร้ังหน่ึงนานมาแล้วที่บ้านตาดทอง จังหวัดยโสธรในฤดูฝน มีการเตรียมปักดา
ข้าว ทุกครอบครัวจะออกไปไถนาเตรียมการเพาะปลูก ครอบครัวของชายหนุ่มคนหนึ่ง ชื่อ
ทอง กาพรา้ พ่อ ก็ออกไปปฏบิ ัติภารกิจเชน่ เดยี วกัน

วนั หน่งึ เขาไถนาอยู่จนสาย ตะวนั สูงข้ึนแล้วรสู้ ึกเหนด็ เหน่ือย ออ่ นเพลียมากกว่าปกติ
และหิวข้าวมากกว่าทุกวัน ปกติแล้วแม่ผู้ชราจะมาส่งข้าวกล่องให้ทุกวัน แต่วันนี้กลับมาช้า
ผิดปกติ เขาจึงหยุดไถนา เข้าพกั ผ่อนอยู่ใต้ต้นไม้ ปล่อยเจ้าทุยไปกนิ หญ้า สายตาเหมอ่ มองไป
ทางบ้าน รอคอยแม่ที่จะมาส่งข้าวตามเวลาท่ีควรจะมา ด้วยความรู้สึกกระวนกระวายใจยิ่ง
สายตะวนั ข้ึนสงู แดดย่ิงร้อน ความหวิ กระหายก็ยงิ่ ทวคี ณู ขึ้น

๕๘

ทันใดน้ันเขามองเห็นแม่เดินเลียบตามคันนาพร้อมกล่องข้าวน้อยๆ ห้อยต่องแต่งอยู่
บนเสาแหรกคาน เขารู้สึกไม่พอใจท่ีแม่เอากล่องข้าวน้อยน้ันมาช้ามาก ด้วยความหิวกระหาย
จนตาลายอารมณ์พลุ่งพล่าน เขาคิดว่า ข้าวในกล่องน้อยนั้นคงกินไม่อ่ิมแน่ จึงเอ่ยต่อว่าแม่
ของตนว่า

“อีแก่ ไปทาอะไรอย่จู ึงมาสง่ ขา้ วให้กชู า้ นัก กอ่ งขา้ วก็เอามาแตก่ อ่ งน้อยๆ กจู ะกินอ่มิ
หรอื ”

ผู้เป็นแม่เอ่ยปากตอบลูกว่า “ถึงก่องข้าวจะน้อยก็น้อยต้อนแต้นแน่นในดอกลูกเอ๋ย…
ลองกนิ เบ่งิ กอ่ น”

ความหิว ความเหน็ดเหน่ือย ความโมโห หูอ้ือตาลาย ไม่ยอมฟังเสียงใดๆ เกิดความ
โมโหหิว คว้าไม้แอกน้อยเข้าตีแม่ทแ่ี กช่ ราจนลม้ ลง แล้วก็เดินไปกินข้าว กินขา้ วจนอ่ิมแลว้ แต่
ขา้ วยังไม่หมดกลอ่ ง จึงรู้สึกผดิ ชอบชัว่ ดี รบี วง่ิ ไปดอู าการแม่ และเข้าสวมกอดแม่…อนจิ จา แม่
สิ้นใจไปเสียแลว้ !

ชายหนุ่มร้องไห้โฮ สานึกผิดที่ฆ่าแม่ของตนเองด้วยอารมณ์เพียงช่ัววูบไม่รู้จะทา
ประการใดดี จึงเข้ากราบนมัสการสมภารวดั เล่าเร่อื งใหท้ า่ นฟงั โดยละเอยี ด สมภารสอนว่า

“การฆ่าบิดามารดาผู้บังเกิดเกล้าของตนเองน้ันเป็นบาปหนัก เป็นมาตุฆาต ต้องตก
นรกอเวจีตายแล้วไม่ได้ผุดไม่ได้เกิดเป็นคนอีก มีทางเดียวจะให้บาปเบาลงได้ก็ด้วยการสร้าง
ธาตุก่อกวมกระดกู แมไ่ ว้ ให้สงู เท่านกเขาเหิน จะได้เป็นการไถบ่ าปหนักให้เป็นเบาลงได้”

เม่ือชายหนุ่มปลงศพแม่แล้ว ขอร้องชักชวนญาติมิตรชาวบ้านมาช่วยกันป้ันอิฐก่อน
เจดีย์บรรจอุ ฐั แิ มไ่ ว้ จงึ ใหช้ ื่อว่า “ธาตกุ ่องข้างนอ้ ยฆ่าแม่” ตราบจนทุกวนั น้ี

๕๙

๑ ใจความสาคญั ของนิทานเรื่องนก้ี ล่าวถงึ เรอ่ื งใด

……………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………..

๒ นทิ านเรอื่ งนี้กลา่ วถึงใครบ้าง

……………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………..

๓ ถ้านักเรยี นเป็นชายหนุ่ม นักเรยี นจะทาอยา่ งไร

……………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………..

๔ นิทานเรอื่ งนี้เปน็ นิทานประเภทใด

……………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………..

๕ นักเรยี นได้ขอ้ คดิ อะไรจากนทิ านที่อา่ น

……………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………..

๖๐



ใจความสาคญั ตอนที่ ๑ (๒ คะแนน)

นกกระเรียนเหน็ ห่านดาผดุ ดาวา่ ยอยู่ในสระ

ใจความสาคัญตอนท่ี ๒ (๒ คะแนน)

นกกระเรียนชวนหา่ นใหข้ ้ึนมาหาอาหารบนบก

ใจความสาคัญตอนท่ี ๓ (๒ คะแนน)

หา่ นหลงเช่อื ขนึ้ มาหากินบนบก จงึ ถกู เหยย่ี วจบั กินส่วนนกกระเรียนบนิ หนไี ป

สรปุ ใจความสาคัญ
(๔ คะแนน)

น...ก..ก...ร..ะ..เ.ร..ีย...น..เ.ห...น็...ห..่า..น...ด..า..ผ...ุด..ด...า..ว..่า..ย..อ..ย...ใู่ .น...ส..ร..ะ..จ...ึง.ช...ว..น..ห...า่..น...ใ.ห...ข้ ..ึ้น...ม..า..ห...า..ก..นิ...บ..น...บ...ก...ห...่า.น...ห...ล..ง..เ.ช..อ่ื.
.ข..ึน้ ..ม...า..ห..า..ก...นิ ..บ...น...บ..ก....จ..งึ..ถ...ูก..เ.ห...ย..่ีย..ว..จ...ับ..ก...ิน..ส...ว่ ..น..น...ก..ก...ร..ะ..เ.ร..ยี..น...บ...นิ ..ห...น...ีไ.ป.........................................
............................................................................................................................. ...............
............................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............
............................................................................................................................. ...............
.......................................................................................................... ..................................
............................................................................................................................. ...............
............................................................................................................................................

๖๑



๑ ใจความสาคญั ของนทิ านเร่ืองน้กี ลา่ วถงึ เร่ืองใด

ห…น…ุ่ม…ช…าว…น…า…ชื่อ…ท…อ…ง…ท…อ…งอ…อ…ก…ไป…ท…า…น…าต…ง้ั …แต…่เ…ช…า้ จ…น…ส…าย……แต…่แ…ม…่ก…็ยัง…ไม…่ม…า…ส…่งข…า้ …วส…กั …ท…ี ..
ท…อ…ง…ห…ิวข…้า…วจ…น…ต…า…ลา…ย…ด…้วย…อ…า…รม…ณ…ช์ …ั่ว…วบู…ท…า…ให…เ้ …ขา…ก…ร…ะท…า…ก…าร…ม…า…ตุฆ…า…ต…ม…าร…ด…า…ด…้วย……..
ส…า…เห…ต…ุเพ…ยี…ง…แ…คว่…่า…ก…่อ…งข…า้ …ว…ที่แ…ม…่เอ…า…ม…าส…่ง…น…้นั …ดูเ…ห…ม…ือน…จ…ะ…น…้อย…ไ…ป…ไ…มน่…่า…จ…ะพ…อ…ก…ิน…แ…ต…่ ..
เ…ม…ือ่ ท…อ…ง…ก…ินข…้า…ว…อิ่ม…แ…ล…ว้ …ข…้าว…ย…ัง…ไม…่ห…ม…ดท…อ…ง…จึง…ไ…ด้ส…ต…สิ …าน…ึก…ผ…ดิ …ท…่ีฆ…า่ แ…ม…่ต…น…เอ…ง…จ…ึงส…ร…้าง…..
ธ…า…ต…กุ ่อ…ง…ข…้าว…น…้อ…ยข…น้ึ …ม…า…เพ…่ือ…เ…ป…น็ ก…า…ร…อุท…ศิ …ส…ว่ …นก…ศุ …ล…ข…ออ…โ…ห…สิก…ร…ร…มแ…ล…ะ…ล…้าง…บ…าป…ท…่ตี …น…..
ก…ร…ะ…ท…า …………………………………………………………………………………………………………..

๒ นิทานเร่ืองน้ีกล่าวถงึ ใครบา้ ง

ห…น…ุ่ม…ช…าว…น…า…ชอ่ื…ท…อ…ง…แ…ม…่ขอ…ง…ท…อ…ง …แล…ะ…ส…ม…ภา…ร…ว…ดั …………………………………………………..

๓ ถา้ นักเรยี นเปน็ ชายหนมุ่ นักเรียนจะทาอยา่ งไร

ต…้อ…ง…เป…น็ …ค…น…มีส…ต…ิ ……………………………………………………………………………………………..

๔ นทิ านเร่ืองนีเ้ ปน็ นิทานประเภทใด

น…ทิ …า…น…พ…ืน้ …บ้า…น…………………………………………………………………………………………………..

๕ นกั เรียนได้ข้อคิดอะไรจากนิทานทอี่ ่าน

ก…า…ร…มสี…ต…ิ แ…ล…ะ…ค…วา…ม…ก…ตัญ…ญ……ูต่อ…บ…ิด…า…มา…ร…ด…า …แล…ะ…ค…วา…ม…โก…ร…ธ…จน…ข…า…ด…สต…ิท…นี่ …า…พ…าส…ู่ ………..
ห…า…ย…น…ะอ…ัน…ใ…หญ…่ห…ล…ว…ง………………………………………………………………………………………..

๖๒

แบบบันทกึ การทากิจกรรม

แบบฝึกทักษะการอา่ นจบั ใจความ ชดุ “เดนิ ตามรอยพอ่ สอน”
ชดุ ท่ี ๔ เรอ่ื ง ความรักสามัคคี

นกั เรยี น ๑ กิจกรรมฝกึ ทกั ษะที/่ (คะแนน) ๖ รวม
(คนท่)ี (๑๐) ๒๓๔๕ (๑๕) (๖๕)
(๑๐) (๑๕) (๑๐) (๑๐)

๒ ๘๘๗๙–– –

๔ ๗๙๗๙–– –

๖ ๘๘๗๘–– –

๘ ๘๘๗๙–– –

๑๐ ๗๙๗๙–– –
๑๑
๑๒ ๗๙๗๗–– –
๑๓
๑๔ ๗๘๗๙–– –
๑๕
๑๖ ๗๙๘๙–– –
๑๗
๑๘ ๗๙๘๗–– –
๑๙
๒๐ ๗๙๘๙–– –

๗๙๘๘–– –

๘๙๙๘–– –

๗๙๘๗–– –

๗๙๙๗–– –

๗๗๙๙–– –

๙๙๘๙–– –

๘๙๙๗–– –

๘๗๗๙–– –

๘๙๗๙–– –

๘๘๗๗–– –

๖๓

นักเรยี น ๑ กจิ กรรมฝึกทกั ษะที่/(คะแนน) ๖ รวม
(คนท)ี่ (๑๐) ๒๓๔๕ (๑๕) (๖๕)
(๑๐) (๑๕) (๑๐) (๑๐)
๒๑
๒๒ ๙๘๙๙–– –
๒๓
๒๔ ๙๘๘๙–– –
๒๕
๒๖ ๙๙๘๗–– –
๒๗
๒๘ ๙๗๘๙–– –
๒๙
๓๐ ๘๗๘๘–– –
๓๑
๓๒ ๘๗๙๘–– –
๓๓
๓๔ ๘๘๙๘–– –
๓๕
๓๖ ๗๙๙๙–– –
๓๗
๓๘ ๗๙๙๗–– –

๑๐ ๘ ๑๐ ๙ – – –

๑๐ ๙ ๘ ๙ – – –

๑๐ ๙ ๗ ๗ – – –

๑๐ ๘ ๑๐ ๙ – – –

๑๐ ๙ ๘ ๙ – – –

๑๐ ๙ ๑๐ ๗ – – –

๑๐ ๙ ๑๐ ๙ – – –

๙ ๘ ๑๐ ๘ – – –

๑๐ ๘ ๑๐ ๙ – – –

๖๔

แบบประเมนิ พฤติกรรมการทางานกลุ่ม

การอ่านจบั ใจความ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
เร่ือง อา่ นจบั ใจความจากนทิ าน ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖

คาช้ีแจง ครูทาการสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ ของนักเรียน โดยทาเครอ่ื งหมาย  ลงในระดบั

คะแนนท่ีตรงกบั ความเป็นจริง

รายการประเมนิ /ระดบั คะแนน

คนท่ี ความร่วมมือ มคี วามสนใจ มคี วามมุ่งมั่น มคี วาม รวม ผลการ
ในการทางาน ในการทา ในการทา
กจิ กรรม กิจกรรม รับผิดชอบ ประเมนิ

๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒

๑ –  –  – –  – –  – – ๑๑ ดี

๒  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๓  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๔  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๕  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๖  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๗  – – – –   – – –  – ๙ ปานกลาง

๘  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๙  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๑๐ –  –  – –  – –  – – ๑๑ ดี

๑๑  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๑๒  – – –  –  – –  – – ๑๑ ดี

๑๓  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๑๔  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๑๕  – – –  –  – –  – – ๑๑ ดี

๑๖  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๑๗  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๑๘  – – –  – – –   – – ๙ ปานกลาง

๖๕

รายการประเมนิ /ระดบั คะแนน

คนที่ ความร่วมมือ มีความสนใจ มีความมงุ่ มั่น ความรับผิดชอบ รวม ผลการ
ในการทา ในการทา ในการทา ในการทา ประเมิน
กจิ กรรม กิจกรรม กจิ กรรม กิจกรรม

๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒

๑๙  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๒๐  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๒๑ –  –  – –  – –  – – ๑๑ ดี

๒๒  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๒๓  – – –  –  – –  – – ๑๑ ดี

๒๔  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๒๕  – – – –   – – –  – ๙ ปานกลาง

๒๖  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๒๗  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๒๘ –  –  – –  – –  – – ๑๑ ดี

๒๙  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๓๐  – – –  –  – –  – – ๑๑ ดี

๓๑  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๓๒  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๓๓  – – –  –  – –  – – ๑๑ ดี

๓๔  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๓๕  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๓๖  – –  – – –  –  – – ๑๑ ดี

๓๗  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๓๘  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

เกณฑร์ ะดับคุณภาพ มีพฤติกรรมการทางานกลุม่ อยใู่ นระดบั ดี
ระดบั คะแนน ๙ – ๑๒ หมายถงึ มีพฤติกรรมการทางานกลุม่ อยใู่ นระดับปานกลาง
ระดับคะแนน ๕ – ๘ หมายถงึ มีพฤติกรรมการทางานกลุ่มอย่ใู นระดับควรปรบั ปรุง
ระดับคะแนน ๑ – ๔ หมายถงึ

๖๖

รายละเอียดเกณฑก์ ารให้คะแนนแบบประเมินการทางานกล่มุ

ประเดน็ การประเมนิ เกณฑ์การใหค้ ะแนน
๓๒๑

ความรว่ มมอื ในการทา ให้ความร่วมมือในการ ใหค้ วามร่วมมือในการ ไมใ่ ห้ให้ความร่วมมือ

กิจกรรม ทากจิ กรรมด้วยความ ทากิจกรรมในบางครั้ง ในการทากิจกรรม

เตม็ ใจ สมาชกิ ในกล่มุ ต้อง

คอยกระตุ้นอยเู่ สมอ

ความสนใจในการทากจิ กรรม ใหค้ วามสนใจในการ ให้ความสนใจในการ สนใจในการทา

ทากจิ กรรมทกุ ครัง้ ทากิจกรรมในบางครัง้ กิจกรรมในบางคร้งั

หรอื ไม่ให้ความสนใจ

ในการทากจิ กรรมเลย

ความมงุ่ มัน่ ในการทากิจกรรม มคี วามมงุ่ มั่นในการทา มีความมงุ่ มั่นในการทา ไม่มีความมุ่งม่นั ในการ

กจิ กรรม และตง้ั ใจทา กจิ กรรม และตง้ั ใจทา ทากิจกรรมและต้ังใจ

กจิ กรรมอยา่ งเต็มที่ กจิ กรรมในบางครงั้ ทากิจกรรมเลย

ความรับผดิ ชอบในการทา มคี วามรับผดิ ชอบใน มคี วามรับผดิ ชอบ ไม่มีความรบั ผดิ ชอบ

กจิ กรรม การทากิจกรรม ในการทากจิ กรรม ในการทากจิ กรรม

ทางานท่ีไดร้ บั ทางานท่ีไดร้ ับ ทางานที่ได้รบั

มอบหมายเสรจ็ ตาม มอบหมายเสรจ็ มอบหมายไม่เคย

กาหนด แต่ล่าช้าไมต่ รงเวลา สาเร็จตรงตามเวลา

๖๗

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๑๓ ๑๗ ช่วั โมง

กลมุ่ สาระฯ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖
จานวน ๓ ชวั่ โมง
เร่อื ง นิทาน เรือ่ ง กระรอกเจาะมะพรา้ ว เวลา ๑ ชั่วโมง
วันท่ีสอน .๕.....ม...ิถ..นุ...า.ย...น.....๒...๕...๖...๒........................

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ัด

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ
แกป้ ญั หาในการดาเนนิ ชีวิต และมีนิสยั รกั การอา่ น

มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๑ อ่านออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๒ อธบิ ายความหมายของคา ประโยคและข้อความท่ีเป็นโวหาร
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๔ แยกขอ้ เทจ็ จรงิ และข้อคิดเหน็ จากเรอื่ งท่ีอ่าน
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๕ อธิบายการนาความรู้และความคิดจากเรื่องที่อ่านไปตัดสินใจแก้ปัญหา

ในการดาเนินชวี ติ
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๘ อา่ นหนังสือตามความสนใจ และอธบิ ายคณุ ค่าที่ไดร้ ับ
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๙ มีมารยาทในการอ่าน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความและเขียนเรื่องราว

ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษา
คน้ ควา้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ
มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๒ เขยี นสือ่ สารโดยใชถ้ ้อยคาถกู ตอ้ ง ชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย
มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๖ เขยี นแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกับสาระจากส่ือทไ่ี ด้รบั
มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๙ มีมารยาทในการเขยี น

๖๘

สาระสาคญั
สามัคคี คือ ความพร้อมเพรียงกัน ความกลมเกลียวกัน ความปรองดองกัน ร่วมใจกัน

ปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามท่ีต้องการ เกิดงานการอย่างสร้างสรรค์ ปราศจากการทะเลาะวิวาท ไม่เอารัด
เอาเปรียบกัน เป็นการยอมรับความมีเหตุผล ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางความคิด ความ
หลากหลายในเรื่องเชือ้ ชาติ ความกลมเกลยี วกันในลกั ษณะเช่นน้ี เรยี กอกี อย่างว่า ความสมานฉันท์

จุดประสงค์การเรียนรู้

เมื่อนักเรียนเรยี นจบในเนอื้ หานี้แล้ว นกั เรยี นสามารถ
๑. อา่ นจับใจความสาคัญ ในเรือ่ ง ความรักสามัคคี ได้ (K)
๒. แสดงความคิดเห็น ระบุประเด็นสาคัญ และอธิบายความแตกต่าง ความสัมพันธ์เชิง
เหตผุ ลจากเร่ืองท่ีอา่ นได้ (P)
๓. มีความร่วมมือ สนใจ มุ่งมั่น มีความรับผิดชอบ มีมารยาทในการอ่าน และการเขียน
ในระหวา่ งทากจิ กรรม (A)

สาระการเรียนรู้

ความรักสามัคคี

กจิ กรรมการเรยี นรู้

ขนั้ นา
๑. นักเรยี นและครูรว่ มกนั สนทนาในเร่อื ง ความรกั สามคั คี
๒. ครสู นทนากับนักเรียนเก่ียวกับการอ่านจับใจความ จดุ มงุ่ หมายของการอ่าน หลักการอา่ น
จับใจความสาคัญ การสงั เกตข้อความท่ีเป็นใจความสาคัญและพลความ และตาแหน่งของใจความสาคัญ
๓. ครูสร้างประสบการณ์เก่ียวกับการอ่าน โดยสุ่มนักเรียน จานวน 1 คน ให้ออกมาอ่าน
นทิ านให้เพ่ือนๆ ฟัง เมื่อนักเรียนอา่ นจบ ครูต้งั คาถามให้นักเรยี นทกุ คนช่วยกันตอบ เช่น

- นทิ านเรอื่ งนมี้ ีตัวละครกีต่ ัว
- เปน็ คน หรอื สัตว์
- เหตกุ ารณเ์ กดิ ทีใ่ ด เวลาใด
- นิทานเรอ่ื งนใี้ ห้ข้อคดิ เรือ่ งอะไร
นกั เรยี นและครชู ว่ ยกันสรุปจากเรอ่ื งทีอ่ า่ นอีกครัง้

๖๙

ขั้นสอน
๕. ครูใหน้ กั เรยี นประจากล่มุ เดิม
๖. ประธานกล่มุ /รองประธานกลุ่ม ออกมารับแบบฝกึ ทกั ษะการอ่านจบั ใจความ ชดุ “เดิน
ตามรอยพอ่ สอน” ชดุ ที่ ๔ เรอื่ ง ความรกั สามัคคี เพ่ือนาไปแจกให้กับสมาชิกในกล่มุ
๗. เมื่อแต่ละกลุ่มได้รับแบบฝึกทักษะฯ แล้ว ให้เริ่มศึกษาเนื้อหาจากแบบฝึกทักษะ โดย
เร่ิมตั้งแต่การศึกษามาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ รวมถึง
บทบาทของตนเอง เพือ่ ทาความเขา้ ใจ
๘. แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาเนื้อหาจากใบความรูท้ ่ี ๓ นิทาน เรอื่ ง กระรอกเจาะมะพรา้ ว โดย
สมาชิกในกลมุ่ ร่วมกนั ศกึ ษา เรียนรู้ ให้คาแนะนา รวมถึงการสรปุ และอภปิ รายเนอื้ หาท่ศี กึ ษาร่วมกัน
๙. เมื่อทาการศึกษาเนื้อหาจากใบความรู้ท่ี ๓ จนเข้าใจแลว้ ให้สมาชิกแต่ละคนทาแบบฝึก
ทักษะที่ ๕ และ ๖ (ทาเปน็ รายบุคคล)
๑๐. เม่ือนักเรียนแต่ละคนทาแบบฝึกทักษะท่ี ๕ และ ๖ เสร็จแล้ว ให้จับคู่กับเพื่อนในกลุ่ม
เพ่ือส่งแบบฝึกทักษะท่ีทาเสร็จแล้วให้เพื่อนตรวจ ในกรณีที่คะแนนยังไม่ผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ ๘๐)
ให้นักเรียนกลับไปทบทวนเน้ือหาเพ่ือทาความเข้าใจอีกครั้ง จากนั้นกลับมาทาแบบฝึกใหม่ จนกว่า
คะแนนจะผ่านเกณฑ์

ขั้นสรุป (Summarizing)
๑๑.ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ในเรือ่ ง ความรกั สามคั คี จนได้ข้อสรปุ วา่

“สามัคคี คือ ความพร้อมเพรียงกัน ความกลมเกลียวกัน ความปรองดองกัน ร่วมใจกัน
ปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามท่ีต้องการ เกิดงานการอย่างสร้างสรรค์ ปราศจากการทะเลาะวิวาท ไม่เอารัด
เอาเปรียบกัน เป็นการยอมรับความมีเหตุผล ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางความคิด ความ
หลากหลายในเร่ืองเช้ือชาติ ความกลมเกลยี วกนั ในลักษณะเช่นนี้ เรยี กอีกอย่างว่า ความสมานฉนั ท์”

๑๒.นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน ๑๐ ข้อ เพ่ือเป็นการประเมินผลการเรียนของ
นักเรียน

๑๓. ครูแจ้งให้นักเรียนมาศึกษาเน้ือหาในเรื่องการอ่านจับใจความ โดยใช้แบบฝึกทักษะการ
อา่ นจับใจความ ชดุ “เดนิ ตามรอยพ่อสอน” ชุดท่ี ๕ เรอ่ื ง ความพอเพยี ง ในช่วั โมงตอ่ ไป

๗๐

ส่อื /แหลง่ เรยี นรู้
๑. ตวั อยา่ งบทความ
๒. แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน” ชุดท่ี ๔ เรื่อง ความรัก

สามคั คี
๓. ใบความรูท้ ี่ ๓ นทิ าน เร่อื ง กระรอกเจาะมะพรา้ ว
๔. แบบฝกึ ทกั ษะท่ี ๕ และ ๖
๕. แบบทดสอบหลงั เรยี น

การวดั ผลประเมนิ ผล

ส่ิงที่ต้องการวัด วธิ วี ัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑก์ ารประเมินผล
อ่านจบั ใจความสาคญั ในเร่ือง - ตรวจแบบ - แบบฝึกทกั ษะท่ี ทาแบบฝกึ ทักษะ
ความรกั สามัคคี ได้
ฝึกทักษะ ๕ และ ๖ ถกู ต้องผ่านเกณฑ์
ร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป
- การทดสอบ
- แบบทดสอบ ทาแบบทดสอบผา่ น
แสดงความคดิ เห็น ระบุประเด็น - ตรวจแบบ หลงั เรยี น เกณฑร์ ้อยละ ๘๐
สาคัญ และอธบิ ายความแตกต่าง ฝึกทกั ษะ ขนึ้ ไป
ความสัมพนั ธ์เชิงเหตุผลจากเรอื่ งท่ี
อ่านได้ - การทดสอบ - แบบฝึกทักษะที่ ทาแบบฝึกทักษะ
๕ และ ๖ ถกู ต้องผา่ นเกณฑ์
ให้ความร่วมมือ สนใจ มงุ่ มั่น มคี วาม ประเมิน รอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป
รับผดิ ชอบ มีมารยาทในการอ่าน พฤติกรรมการ
และการเขียน ในระหว่างทากิจกรรม ทางานกลุ่ม - แบบทดสอบ ทาแบบทดสอบผา่ น
หลังเรียน เกณฑร์ ้อยละ ๘๐
ขน้ึ ไป

- แบบประเมนิ มีพฤติกรรมการ
พฤติกรรมการ ทางานกลุ่มผา่ น
ทางานกลุ่ม เกณฑ์อย่ใู นระดบั ดี

๗๑

บนั ทึกผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้

ผลการจัดการเรียนการสอนตามตวั ชีว้ ดั
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงช่ือ ………………………………………………………… ลงชอ่ื ………………………………………………………
(นางวันดี เหล่าสุวรรณ) (นางสาวพัชราภรณ์ เรืองศรี)

ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ ตาแหนง่ หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้

ลงชอ่ื ………………………………………………………… ลงช่ือ ………………………………………………………
(นางปรดี า ช่วยสขุ ) (นายธานนิ ทร์ แกว้ จุรตั น์)

ตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ฝา่ ยวชิ าการ ตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา
โรงเรียนเทศบาล ๒ (บ้านหาดใหญ)่ โรงเรยี นเทศบาล ๒ (บา้ นหาดใหญ)่

๗๒

นทิ าน เรอื่ ง กระรอกเจาะมะพรา้ ว

มีหมู่บ้านเล็กๆ อยู่แห่งหน่ึง หมู่บ้านน้ีมีต้นมะพร้าวข้ึนอยู่ริมฝ่ังคลองเป็นจานวนมาก
บรเิ วณนั้นเป็นอันมาก ไม่มีบ้านผู้คน มีแต่สัตว์เล็กสัตว์น้อยอาศัยอยู่ เช่น พวกกระรอก กระแต เป็น
ตน้

วนั หน่ึงมีมะพร้าวต้นหนึ่งท่ีข้ึนอยู่ริมคลองฝ่ังนี้ เกิดมีลูกดกมาก ลาต้นของมันทานน้าหนัก
ลกู ไม่ไหวก็เลยค่อยๆ เอนไป จนยอดมะพรา้ วไปจดคลองฝั่งโน้น กระรอกฝูงหน่ึงเห็นมะพร้าวเอนลง
มายงั ฝั่งของตนหวั หนา้ กระรอกจึงพูดข้นึ วา่

โ“อ้โฮ ! วนั นพ้ี วกเราช่างโชคดีเหลือเกิน ลาภปากแทๆ้ เลย“
โ“ชคดีอย่างไรล่ะทา่ นหัวหน้า ช่วยบอกหนอ่ ยซิ“บรวิ ารกระรอกถาม
ก“ ็โนน่ ไงเหน็ มยั้ มะพรา้ วลกู ดกเอนมาทางฝั่งเรา“หวั หน้ากระรอกพดู พลางชี้ให้ดู
“อย่างนั้นพวกเราก็ไปกนิ มะพรา้ วกนั ไดน้ ะซที า่ นหัวหนา้ “
ไ“ด้เลย ไปชวนกันมากินเยอะๆ นานๆ จะมีอาหารอันโอชะมาถึงท่ีอย่างสักที“หัวหน้า
อนญุ าต

๗๓

ว่าแล้วบรรดากระรอกท้ังหลายก็ชวนกันปีนขึ้นไปเจาะกินน้ามะพร้าว กินกันอย่าง
เพลิดเพลนิ อยู่หลายวัน วนั ละลูกสองลูก โดยไมไ่ ด้ลงมาจากต้นมะพร้าวเลย และไม่ได้สงั เกตถึงความ
ผิดปรกตขิ องตน้ มะพรา้ วด้วย กินกนั จนหมดตน้ เมือ่ ไรไมร่ ู้ตัว

เม่ือน้ามะพร้าวแห้งหมดทุกลูกแล้ว ต้นมะพร้าวก็เอนกลับไปยังที่เดิม พวกกระรอก
ทัง้ หลายก็ติดอยู่บนต้นมะพร้าวน้ัน ไม่สามารถกลับไปยังฝ่ังเดิมของตนเองได้ คร้ันจะว่ายน้าข้ามไปก็
ว่ายไม่เปน็ กระรอกท้งั หลายต่างเศรา้ โศกเสียใจ นัง่ รอ้ งไห้กันอย่บู นตน้ มะพร้าวนั้น

หวั หน้ากระรอกเหน็ ดังน้ันก็ไม่สบายใจ จึงเรียกบริวารกระรอกมาประชุม ปรึกษาหารือกัน
ว่าจะทาอย่างไรกันดี จึงจะกลับไปยังฝั่งของตนได้ ต่างแสดงความคิดเห็นกันหลากหลายวิธี แต่ก็
ติดขดั ตรงท่ที าตามทีค่ ดิ ไมไ่ ด้

ในท่ีสุดมีกระรอกตัวหนึ่งเสนอความคิดว่า พ“ วกเราน่าจะช่วยกันลงไปอมน้าในแม่น้า แล้ว
นามากรอกใส่ในลูกมะพร้าวทุกลูก เมื่อมะพร้าวมีน้าเต็มทุกลูก ต้นมะพร้าวก็จะเอนไปยังฝั่งของเรา
ดังเดิม“ความคิดน้ีกระรอกทุกตัวต่างเห็นด้วยว่าน่าจะทดลองทาดู เพราะทาไม่ยาก เพียงแต่กระรอก
ทกุ ตัวต้องชว่ ยกนั อย่างเตม็ ท่เี ท่านน้ั

และแล้วการลาเลียงน้าของกระรอกทุกตัวโดยการอมน้าจากแม่น้าไปกรอกลงในลูก
มะพร้าวก็เริ่มข้ึน ในไม่ช้าน้าในลูกมะพร้าวก็ค่อยๆ เพิ่มขึ้นๆ ทีละน้อย ทาให้ต้นมะพร้าวค่อยๆ โน้ม
เอนลงไปทลี ะน้อยเชน่ เดียวกนั พวกกระรอกทกุ ตัวตา่ งไมล่ ดละความพยายาม

จนในท่ีสุดผลของความเพียรพยายามและความสามัคคีก็มาถึง เมื่อกระรอกช่วยกันอมน้า
ไปกรอกในลูกมะพร้าวจนเต็มทุกลูก ต้นมะพร้าวก็โน้มเอนลงไปยังฝ่ังท่ีอยู่ของกระรอกตามเดิม
กระรอกทุกตวั ตา่ งกด็ ีใจท่ีได้กลบั มายงั ฝง่ั ของตนเองได้อย่างปลอดภัย

๗๔



คาส่งั ให้นักเรียนจบั ใจความสาคญั และวิเคราะหน์ ทิ าน เรอ่ื ง “กระรอกเจาะมะพร้าว”
และตอบคาถามตอ่ ไปน้ีใหถ้ ูกต้อง (๑๐ คะแนน)

๑ ใจความสาคญั ของนทิ านเรื่องน้ีกล่าวถึงเรื่องใด

……………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………..

๒ นทิ านเรอ่ื งนี้กล่าวถงึ ใครบ้าง

……………………………………………………………………………………………………………………..

๓ ถ้านักเรยี นเป็นกระรอก นักเรียนจะทาอย่างไร

……………………………………………………………………………………………………………………..

๔ นทิ านเร่ืองนเ้ี ปน็ นิทานประเภทใด

……………………………………………………………………………………………………………………..

๕ นกั เรียนได้ข้อคดิ อะไรจากนิทานทอี่ า่ น

……………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………..

๗๕



คาส่ัง ใหน้ กั เรียนสรุปความคดิ เก่ยี วกบั เรื่อง ความสามคั คี ที่ไดเ้ รยี นมา โดยเขียนเป็น
แผนผงั ความคดิ (๑๕ คะแนน)

๗๖



๑ ใจความสาคัญของนทิ านเรื่องนก้ี ลา่ วถึงเรอ่ื งใด

ฝ…ูง…ก…ระ…ร…อก…ฝ…ูง…ห…นึ่ง……ท่ีอ…า…ศ…ยั …อย…ู่ใ…นห…ม…บู่ …า้ …น…เล…ก็ …ๆ…แ…ห…่งห…น…ง่ึ …ว…นั …ห…นงึ่…พ…ว…กก…ร…ะ…อก…เ…ห…็นต…้น…..
ม…ะ…พ…ร…า้ ว…เอ…น…ล…งม…า…ด…ว้ …ย…เพ…ร…าะ…ม…ลี …กู …มะ…พ…ร…้าว…เ…ยอ…ะ…พ…ว…ก…ก…ระ…ร…อก…จ…งึ …พ…าก…นั …ไป…ก…นิ …จ…น……..
ล…ืม…ค…า…นงึ…ถ…งึ น…้า…ห…น…กั ข…อ…ง…ลู…กม…ะ…พ…ร้า…ว…เ…ม…อ่ื ก…ิน…ม…ะ…พ…รา้ …ว…จน…ห…ม…ด…ท…า…ให…้ต…น้ …ม…ะพ…ร…้า…ว………..
ก…ล…ับ…ไป…ย…นื …ล…าต…น้ …ต…ร…ง …พ…วก…ก…ร…ะร…อ…ก…ไม…่ส…าม…า…ร…ถก…ล…ับ…ไป…อ…ีก…ฝ…่งั ไ…ด…้ จ…น…ต…้อง…ช…ว่ ย…ก…นั …เอ…า…น…้า..
จ…า…ก…ใน…แ…ม…่น้า…ม…า…ใส…ใ่ น…ล…ูก…ม…ะ…พร…้า…ว…จ…น…ต้น…ม…ะ…พ…รา้…ว…เอ…น…ล…งม…า…เห…ม…ือ…น…เด…ิม…ท…า…ให…ฝ้ …งู ………..
ก…ร…ะ…รอ…ก…ก…ลับ…ไ…ป…ย…งั อ…ีก…ฝ…ง่ั ไ…ด…้ ……………………………………………………………………………..

๒ นิทานเรอื่ งนี้กล่าวถึงใครบ้าง

ฝ…ูง…ก…ระ…ร…อก………………………………………………………………………………………………………..

๓ ถ้านักเรียนเปน็ กระรอก นักเรียนจะทาอย่างไร

ไ…ม…่เห…น็ …แ…ก…ก่ ิน…จ…น…เก…นิ …ไป……ต…้อง…เผ…่ือ…ไ…วส้ …า…ห…รับ…เ…วล…า…ไม…่ม…ี ……………………………………………..

๔ นทิ านเร่ืองน้เี ปน็ นิทานประเภทใด

น…ิท…า…น…สต…ิส…อ…น…ใจ………………………………………………………………………………………………..

๕ นกั เรยี นได้ขอ้ คดิ อะไรจากนทิ านท่ีอ่าน

ค…ว…า…มเ…พ…ีย…รพ…ย…า…ยา…ม…แ…ละ…ค…ว…าม…ส…า…ม…ัคค…เี …ปน็…อ…ัน…ห…น…งึ่ อ…นั …เด…ยี…ว…ก…ัน…ใน…ก…า…รท…า…ส…่ิงใ…ด…ส…่ิงห…น…ง่ึ ..
จ…ะ…ท…าใ…ห…้งา…น…น…ัน้ …ส…าเ…รจ็…ส…ม…ค…วา…ม…ต…ั้งใ…จ…………………………………………………………………..

๗๗



ความกลมเกลียว ความปรองดอง
ความพร้อมเพรียง ความรว่ มมือร่วมใจ

ปัจจัยเก้อื หนุนใหเ้ กิดความสามคั คี ธรรมท่ีเสริมสร้างความสามัคคี

- ความสามคั คีกลมเกลยี ว - ทาน
- ความร่วมมือและรว่ มใจ - ปยิ วาจา
- อัตถจริยา
- สมานัตตา

(เปน็ เพยี งแนวคำตอบ อยใู่ นดลุ ยพินิจของครผู ู้สอน
โดยให้คะแนนจำกแบบกำรใหค้ ะแนนจำกเขียนแผนผงั ควำมคดิ )

๗๘

แบบบันทึกการทากิจกรรม

แบบฝกึ ทกั ษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพอ่ สอน”
ชดุ ท่ี ๔ เร่ือง ความรกั สามคั คี

นกั เรยี น ๑ กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะท/่ี (คะแนน) ๖ รวม
(คนที่) (๑๐) ๒๓๔๕ (๑๕) (๖๕)
(๑๐) (๑๕) (๑๐) (๑๐)

๒ ๘ ๘ ๗ ๙ ๘ ๑๒ ๕๒

๔ ๗ ๙ ๗ ๙ ๗ ๑๔ ๕๓

๖ ๘ ๘ ๗ ๘ ๘ ๑๔ ๕๓

๘ ๘ ๘ ๗ ๙ ๘ ๑๕ ๕๕

๑๐ ๗ ๙ ๗ ๙ ๙ ๑๕ ๕๖
๑๑
๑๒ ๗ ๙ ๗ ๗ ๙ ๑๕ ๕๔
๑๓
๑๔ ๗ ๘ ๗ ๙ ๘ ๑๕ ๕๔
๑๕
๑๖ ๗ ๙ ๘ ๙ ๙ ๑๒ ๕๔
๑๗
๑๘ ๗ ๙ ๘ ๗ ๙ ๑๒ ๕๒
๑๙
๒๐ ๗ ๙ ๘ ๙ ๙ ๑๑ ๕๓

๗ ๙ ๘ ๘ ๙ ๑๕ ๕๖

๘ ๙ ๙ ๘ ๙ ๑๕ ๕๘

๗ ๙ ๘ ๗ ๙ ๑๓ ๕๓

๗ ๙ ๙ ๗ ๗ ๑๕ ๕๔

๗ ๗ ๙ ๙ ๘ ๑๕ ๕๕

๙ ๙ ๘ ๙ ๙ ๑๕ ๕๙

๘ ๙ ๙ ๗ ๙ ๑๕ ๕๗

๘ ๗ ๗ ๙ ๘ ๑๕ ๕๔

๘ ๙ ๗ ๙ ๙ ๑๒ ๕๔

๘ ๘ ๗ ๗ ๙ ๑๒ ๕๑

๗๙

นักเรยี น ๑ กิจกรรมฝกึ ทกั ษะที่/(คะแนน) ๖ รวม
(คนท่)ี (๑๐) ๒๓๔๕ (๑๕) (๖๕)
(๑๐) (๑๕) (๑๐) (๑๐)
๒๑
๒๒ ๙ ๘ ๙ ๙ ๘ ๑๑ ๕๔
๒๓
๒๔ ๙ ๘ ๘ ๙ ๙ ๑๕ ๕๘
๒๕
๒๖ ๙ ๙ ๘ ๗ ๙ ๑๕ ๕๗
๒๗
๒๘ ๙ ๗ ๘ ๙ ๗ ๑๕ ๕๕
๒๙
๓๐ ๘ ๗ ๘ ๘ ๙ ๑๓ ๕๓
๓๑
๓๒ ๘ ๗ ๙ ๘ ๙ ๑๕ ๕๖
๓๓
๓๔ ๘ ๘ ๙ ๘ ๙ ๑๕ ๕๗
๓๕
๓๖ ๗ ๙ ๙ ๙ ๙ ๑๕ ๕๘
๓๗
๓๘ ๗ ๙ ๙ ๗ ๑๐ ๑๕ ๕๗

๑๐ ๘ ๑๐ ๙ ๘ ๑๕ ๖๐

๑๐ ๙ ๘ ๙ ๙ ๑๒ ๕๗

๑๐ ๙ ๗ ๗ ๙ ๑๕ ๕๗

๑๐ ๘ ๑๐ ๙ ๘ ๑๓ ๕๘

๑๐ ๙ ๘ ๙ ๙ ๑๒ ๕๗

๑๐ ๙ ๑๐ ๗ ๙ ๑๒ ๕๗

๑๐ ๙ ๑๐ ๙ ๙ ๑๑ ๕๘

๙ ๘ ๑๐ ๘ ๑๐ ๑๔ ๕๙

๑๐ ๘ ๑๐ ๙ ๑๐ ๑๕ ๖๒

๘๐

แบบทดสอบหลงั เรยี น

การอา่ นจบั ใจความ ชดุ “เดนิ ตามรอยพ่อสอน” ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖
เรอื่ ง ความรกั สามัคคี เวลา ๑๐ นาที

คาสง่ั ให้นกั เรยี นเลือกคาตอบท่ีถกู ที่สดุ เพียงคาตอบเดียว

๑. ข้อความใดกล่าวถงึ ความสามคั คไี ดดีที่สุด
ก. ความสามัคคี คือ การรวมตวั
ข. ความสามัคคี คอื การไมแตกแยก
ค. ความสามัคคี คือ ประตสู ูความสาเรจ็
ง. ความสามคั คี คอื การที่ทาใหส้ งั คมโดยรวมเกดิ ความเข้มแขง็

๒. เมอื่ สมาชกิ ในสังคมมีความคดิ เห็นทีแ่ ตกต่างกนั จะนาไปสู่ความแตกแยก คุณธรรมข้อใด
ทีค่ วรนามาปฏิบัตมิ ากทส่ี ุด
ก. ความอดทน ความเสยี สละ
ข. ความสามคั คี การสมานฉันท์
ค. ความซื่อสตั ย์ ความรับผดิ ชอบ
ง. ความมรี ะเบยี บวนิ ยั ความมีเหตุผล

๓. คนในสังคมเดยี วกันควรปฏิบัตติ ามขอ้ ใด
ก. ตัวใครตวั มนั
ข. สามคั คีคอื พลัง
ค. มอื ใครยาวสาวได้สาวเอา
ง. รูร้ ักษาตวั รอดเป็นยอดดี

๔. นทิ าน หมายถึง
ก. ข่าวสารเอกสารหนังสือทใี่ ห้ความรู้
ข. ข้อเท็จจริงท่มี กี ารตพี มิ พเ์ ป็นหนงั สือ
ค. งานเขียนหรือวรรณกรรมที่มขี อ้ เทจ็ จริง
ง. เร่ืองราวท่เี ล่าต่อๆ กนั มาเปน็ เวลานานมาแลว้

๘๑

๕. การอา่ นจับใจความสาคญั จากนิทานใช้หลกั การอา่ นอย่างไร
ก. ใชห้ ลกั การอา่ นทมี่ งี านวิจยั เขา้ มาสนับสนนุ
ข. ใช้หลักการอา่ นที่มีงานเขยี นหรือวรรณกรรมรองรับ
ค. ใช้หลักการอ่านจับใจความสาคญั เหมอื นการอา่ นเร่อื งท่วั ๆ ไป
ง. ใช้หลกั การอา่ นจับใจความสาคญั จากข้อเทจ็ จรงิ ทมี่ ีการตพี ิมพ์เป็นหนังสือ

๖. นทิ านประเภทใดไม่ใช่นิทานไทย
ก. ขูลู นางอว้ั
ข. เดก็ เล้ียงแกะ
ค. ขนุ ช้างขนุ แผน
ง. ก่องข้าวนอ้ ยฆ่าแม่

๗. ลักษณะของนิทานท่ดี ี ตอ้ งมลี ักษณะอย่างไร
ก. เป็นนทิ านที่มตี ัวเอก หลายๆ ตัว
ข. เป็นนิทานทม่ี สี ตั ว์ต่างๆ มากมาย
ค. เปน็ นิทานทม่ี ุง่ เนน้ ความเปน็ ธรรมในสังคม
ง. เป็นนิทานทส่ี อดแทรกคติสอนใจให้คนทาความดีและมีความสนุกสนานเพลดิ เพลนิ

ให้นักเรยี นอ่านนทิ านต่อไปนี้ แล้วตอบคาถามข้อ ๘ – ๑๐

บ้านหลังหนึ่งเลี้ยงสุนัขเอาไว้เฝ้าบ้าน สุนัขตัวนั้น ซ่ือสัตย์มากในยามกลางคืน
ขณะที่มันนอนหลับ หากได้ยินเสียงผิดปกติ มันก็จะลุกข้ึนมาเห่าเสมอเพื่อเตือนภัยแก่
เจ้าของบ้าน

คนื หน่ึง มันได้ยินเสียงฝีเท้าคนย่าใบไม้ดงั กรอบแกรบๆ แผ่วเบาที่ใกล้รั้วบ้านแม้
จะไมไ่ ด้มองเหน็ ว่าเปน็ ใครมันก็สง่ เสียงเห่าคารามขู่ไวก้ อ่ น

เจ้าหัวขโมยจึงโยนชิ้นเน้ือชุบยาเบื่อช้ินหนึ่งเข้ามาในรั้ว สุนัขเฝ้าบ้านเดินเข้าไป
ดมๆ แต่ก็ไม่ได้กินชิ้นเน้ือช้ินน้ัน มันยังคงเห่าต่อไปเรื่อยๆ จนกระท่ังเจ้าของบ้าน
ออกมาดู แลว้ กช็ ว่ ยกันจับขโมยไดใ้ นทส่ี ดุ

๘๒

๘. นิทานเร่อื งน้ี ควรตงั้ ชื่อเร่อื งวา่ อยา่ งไร
ก. สุนขั ผูซ้ ่ือสตั ย์
ข. สุนัขกบั ชิน้ เนือ้
ค. สนุ ขั กบั โจรกระจอก
ง. สุนัขกบั เงาของโจรกระจอก

๙. นทิ านเร่ืองนีเ้ ปน็ นิทานประเภทใด
ก. นิทานขบขัน
ข. นิทานวรี บรุ ษุ
ค. นิทานคตสิ อนใจ
ง. นทิ านเทพนิยาย

๑๐. นิทานเร่อื งนี้มีคติสอนใจอย่างไร
ก. ช้นิ เนอื้ นอ้ ยเกินไป
ข. สุนัขไมช่ อบคนแปลกหน้า
ค. สุนขั เปน็ สัตวท์ เ่ี หมาะทจ่ี ะเลี้ยงไว้เฝา้ บา้ น
ง. การติดสนิ บนนัน้ ซอ้ื ความซ่อื สตั ยภ์ ักดไี มไ่ ด้

๘๓

เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น

การอ่านจับใจความ ชุด “เดนิ ตามรอยพ่อสอน” ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖
เรือ่ ง ความรักสามคั คี

ข้อท่ี คาตอบ
๑. ง
๒. ข
๓. ข
๔. ง
๕. ค
๖. ก
๗. ง
๘. ก
๙. ค
๑๐. ง

๘๔

แบบบันทกึ คะแนนการทาแบบทดสอบ

การอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพอ่ สอน”
ชุดท่ี ๔ เรอ่ื ง ความรกั สามคั คี

นักเรียน คะแนนเต็ม คิดเป็นรอ้ ยละ
(คนท)ี่ (๑๐ คะแนน) (เกณฑ์ผา่ นรอ้ ยละ ๘๐)

๑ ๘ ๘๐.๐๐
๒ ๘ ๘๐.๐๐
๓ ๘ ๘๐.๐๐
๔ ๙ ๙๐.๐๐
๕ ๙ ๙๐.๐๐
๖ ๘ ๘๐.๐๐
๗ ๘ ๘๐.๐๐
๘ ๙ ๙๐.๐๐
๙ ๘ ๘๐.๐๐
๑๐ ๙ ๙๐.๐๐
๑๑ ๙ ๙๐.๐๐
๑๒ ๘ ๘๐.๐๐
๑๓ ๘ ๘๐.๐๐
๑๔ ๙ ๙๐.๐๐
๑๕ ๘ ๘๐.๐๐
๑๖ ๙ ๙๐.๐๐
๑๗ ๙ ๙๐.๐๐
๑๘ ๘ ๘๐.๐๐
๑๙ ๘ ๘๐.๐๐
๒๐ ๙ ๙๐.๐๐

๘๕

นักเรียน คะแนนเต็ม คดิ เปน็ ร้อยละ
(คนที)่ (๑๐ คะแนน) (เกณฑ์ผา่ นรอ้ ยละ ๘๐)

๒๑ ๑๐ ๑๐๐.๐๐
๒๒ ๙ ๙๐.๐๐
๒๓ ๙ ๙๐.๐๐
๒๔ ๘ ๘๐.๐๐
๒๕ ๘ ๘๐.๐๐
๒๖ ๑๐ ๑๐๐.๐๐
๒๗ ๙ ๙๐.๐๐
๒๘ ๙ ๙๐.๐๐
๒๙ ๙ ๙๐.๐๐
๓๐ ๙ ๙๐.๐๐
๓๑ ๘ ๘๐.๐๐
๓๒ ๘ ๘๐.๐๐
๓๓ ๘ ๘๐.๐๐
๓๔ ๙ ๙๐.๐๐
๓๕ ๘ ๘๐.๐๐
๓๖ ๙ ๙๐.๐๐
๓๗ ๙ ๙๐.๐๐
๓๘ ๘ ๘๐.๐๐

๘๖

แบบประเมินพฤตกิ รรมการทางานกลุม่

การอ่านจับใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เรอ่ื ง นิทาน เร่ือง กระรอกเจาะมะพร้าว ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๖

คาช้ีแจง ครทู าการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ ของนกั เรยี น โดยทาเครอื่ งหมาย  ลงในระดบั

คะแนนทีต่ รงกับความเป็นจริง

รายการประเมนิ /ระดับคะแนน

คนท่ี ความรว่ มมือ มคี วามสนใจ มคี วามมุ่งมั่น มคี วาม รวม ผลการ
ในการทางาน ในการทา ในการทา
กจิ กรรม กจิ กรรม รับผดิ ชอบ ประเมนิ

๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒

๑ –  –  – –  – –  – – ๑๑ ดี

๒  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๓  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๔  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๕  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๖  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๗  – – – –   – – –  – ๙ ปานกลาง

๘  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๙  – – – –   – – –  – ๙ ปานกลาง

๑๐  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๑๑  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๑๒ –  –  – –  – –  – – ๑๑ ดี

๑๓  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๑๔  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๑๕  – – –  –  – –  – – ๑๑ ดี

๑๖  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๑๗  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๑๘  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๘๗

รายการประเมิน/ระดบั คะแนน

คนที่ ความร่วมมือ มคี วามสนใจ มีความมุ่งมน่ั ความรับผิดชอบ รวม ผลการ
ในการทา ในการทา ในการทา ในการทา ประเมิน
กจิ กรรม กิจกรรม กจิ กรรม กจิ กรรม

๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒

๑๙  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๒๐  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๒๑ –  –  – –  – –  – – ๑๑ ดี

๒๒  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๒๓  – – –  –  – –  – – ๑๑ ดี

๒๔  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๒๕  – – – –   – – –  – ๙ ปานกลาง

๒๖  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๒๗  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๒๘ –  –  – –  – –  – – ๑๑ ดี

๒๙  – – – –   – – –  – ๙ ปานกลาง

๓๐  – – –  –  – –  – – ๑๑ ดี

๓๑  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๓๒  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๓๓  – – –  –  – –  – – ๑๑ ดี

๓๔  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๓๕  – – – –   – – –  – ๙ ปานกลาง

๓๖  – –  – – –  –  – – ๑๑ ดี

๓๗  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๓๘  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

เกณฑ์ระดบั คณุ ภาพ มพี ฤติกรรมการทางานกลมุ่ อยูใ่ นระดับดี
ระดับคะแนน ๙ – ๑๒ หมายถงึ มพี ฤติกรรมการทางานกลุ่มอยู่ในระดบั ปานกลาง
ระดบั คะแนน ๕ – ๘ หมายถงึ มีพฤติกรรมการทางานกลุ่มอยู่ในระดับควรปรบั ปรุง
ระดับคะแนน ๑ – ๔ หมายถงึ

๘๘

รายละเอียดเกณฑก์ ารให้คะแนนแบบประเมินการทางานกล่มุ

ประเดน็ การประเมนิ เกณฑ์การใหค้ ะแนน
๓๒๑

ความรว่ มมอื ในการทา ให้ความร่วมมือในการ ใหค้ วามร่วมมือในการ ไมใ่ ห้ให้ความร่วมมือ

กิจกรรม ทากจิ กรรมด้วยความ ทากิจกรรมในบางครั้ง ในการทากิจกรรม

เตม็ ใจ สมาชกิ ในกล่มุ ต้อง

คอยกระตุ้นอยเู่ สมอ

ความสนใจในการทากจิ กรรม ใหค้ วามสนใจในการ ให้ความสนใจในการ สนใจในการทา

ทากจิ กรรมทกุ ครัง้ ทากิจกรรมในบางครัง้ กิจกรรมในบางคร้งั

หรอื ไม่ให้ความสนใจ

ในการทากจิ กรรมเลย

ความมงุ่ มัน่ ในการทากิจกรรม มคี วามมงุ่ มั่นในการทา มีความมงุ่ มั่นในการทา ไม่มีความมุ่งม่นั ในการ

กจิ กรรม และตง้ั ใจทา กจิ กรรม และตง้ั ใจทา ทากิจกรรมและต้ังใจ

กจิ กรรมอยา่ งเต็มที่ กจิ กรรมในบางครงั้ ทากิจกรรมเลย

ความรับผดิ ชอบในการทา มคี วามรับผดิ ชอบใน มคี วามรับผดิ ชอบ ไม่มีความรบั ผดิ ชอบ

กจิ กรรม การทากิจกรรม ในการทากจิ กรรม ในการทากจิ กรรม

ทางานท่ีไดร้ บั ทางานท่ีไดร้ ับ ทางานที่ได้รบั

มอบหมายเสรจ็ ตาม มอบหมายเสรจ็ มอบหมายไม่เคย

กาหนด แต่ล่าช้าไมต่ รงเวลา สาเร็จตรงตามเวลา

๘๙

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ๑๔ ๑๗ ชว่ั โมง

กลุ่มสาระฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖
จานวน ๓ ชัว่ โมง
เรือ่ ง ความพอเพยี ง เวลา ๑ ชัว่ โมง
วนั ทสี่ อน .๑..๐......ม..ิถ...ุน..า..ย...น.....๒...๕...๖..๒......................

มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชว้ี ดั

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจ
แกป้ ัญหาในการดาเนินชวี ติ และมนี ิสยั รกั การอา่ น

มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๑ อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองได้ถกู ต้อง
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๒ อธบิ ายความหมายของคา ประโยคและขอ้ ความทเี่ ป็นโวหาร
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๔ แยกข้อเท็จจรงิ และข้อคดิ เห็นจากเร่ืองท่ีอ่าน
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๕ อธิบายการนาความรู้และความคิดจากเรื่องที่อ่านไปตัดสินใจแก้ปัญหา

ในการดาเนินชวี ิต
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๘ อา่ นหนังสือตามความสนใจ และอธิบายคณุ คา่ ทไ่ี ด้รับ
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๙ มมี ารยาทในการอา่ น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความและเขียนเร่ืองราว

ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษา
ค้นคว้าอย่างมีประสิทธภิ าพ
มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๒ เขียนส่อื สารโดยใช้ถ้อยคาถกู ตอ้ ง ชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย
มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๖ เขียนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั สาระจากส่ือทไี่ ด้รับ
มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๙ มมี ารยาทในการเขียน

๙๐

สาระสาคญั
ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นท่ีจะต้องมี

ระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้ังภายใน
ภายนอก ท้ังน้ี จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนา
วิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้อง
เสริมสร้างพ้นื ฐานจติ ใจของคนในชาติ

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

เมอ่ื นักเรยี นเรียนจบในเนือ้ หานแ้ี ล้ว นักเรยี นสามารถ
๑. อ่านจับใจความสาคัญ ในเร่ือง ความพอเพียง ได้ (K)
๒. แสดงความคิดเห็น ระบุประเด็นสาคัญ และอธิบายความแตกต่าง ความสัมพันธ์เชิง
เหตผุ ลจากเร่ืองท่ีอ่านได้ (P)
๓. มีความร่วมมือ สนใจ มุ่งมั่น มีความรับผิดชอบ มีมารยาทในการอ่าน และการเขียน
ในระหวา่ งทากจิ กรรม (A)

สาระการเรียนรู้

ความพอเพยี ง

กิจกรรมการเรียนรู้

ข้นั นา
๑. นักเรียนและครูร่วมกันทบทวนเน้ือหาในเร่ือง “ความสามัคคี” ที่ได้เรียนมาในช่ัวโมงท่ี
ผ่านมา พร้อมให้นักเรียนยกตัวอย่างการใช้ชีวิตประจาวันของนักเรียนเม่ือได้เรียนในเรื่อง “ความ
สามัคค”ี ผ่านไป นกั เรียนได้นาเอาไปใชป้ ระโยชน์ในเรื่องอะไรบา้ ง
๒. ครูนาภาพที่เก่ียวข้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ให้นักเรียนดู โดยให้นักเรียน
วิเคราะหภ์ าพทน่ี กั เรยี นเหน็

๙๑

๓. ครูส่มุ นกั เรยี น เพอ่ื ตอบคาถามเก่ียวกับภาพท่ีนักเรียนเห็น เช่น
- ภาพที่นกั เรียนเห็น มีสาระสาคญั คือเรื่องอะไร (หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง)
- จากภาพมุง่ เนน้ ให้ประชาชนดาเนนิ ชีวติ อย่างไร (ดาเนนิ ชีวติ อย่างพอเพียง)

๔. ครูสนทนากับนักเรียนในเร่ืองของ “หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” โดยครูให้ความรู้
เบื้องต้นกับนักเรียนว่า เศรษฐกิจพอเพียง คือ ปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงชี้แนวทางการ
ดาเนินชีวิตให้แก่ปวงชนชาวไทยมาเป็นระยะเวลานาน ในช่วงตั้งแต่ก่อนการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ เพ่ือมุ่ง
ให้พสกนิกรได้ดารงชีวิตอยู่ได้อย่างยั่งยืน มั่นคง และปลอดภัย ภายใต้ความเปล่ียนแปลงต่างๆ ท่ีเกิดข้ึน
ตามกระแสโลกาภิวฒั น์

ข้ันสอน
๕. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มๆ ละ ๔ – ๕ คน โดยแต่ละกลุ่มทาการเลือกประธานกลุ่ม
และ รองประธานกลมุ่ เพอื่ รบั ผดิ ชอบดูแลสมาชิกในกลุ่ม
๖. ประธานกลมุ่ /รองประธานกลุ่ม ออกมารับแบบฝึกทกั ษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดิน
ตามรอยพ่อสอน” ชดุ ที่ ๕ เรือ่ ง ความพอเพียง เพ่ือนาไปแจกใหก้ บั สมาชิกในกลมุ่
๗. เมื่อแต่ละกลุ่มได้รับแบบฝึกทักษะฯ แล้ว ให้เร่ิมศึกษาเนื้อหาจากแบบฝึกทักษะ โดย
เริ่มตั้งแต่การศึกษามาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ รวมถึง
บทบาทของตนเอง เพอ่ื ทาความเขา้ ใจ
๘. แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาเน้ือหาจากใบความรู้ท่ี ๑ เร่ือง ความพอเพียง โดยสมาชิกใน
กลุ่มรว่ มกนั ศึกษา เรียนรู้ ใหค้ าแนะนา รวมถงึ การสรุป และอภปิ รายเนื้อหาทศ่ี ึกษารว่ มกัน

๙๒

๙. เมือ่ ทาการศึกษาเน้อื หาจากใบความรู้ที่ ๑ จนเข้าใจแลว้ ให้สมาชิกแตล่ ะคนทาแบบฝึก
ทักษะที่ ๑ และ ๒ (ทาเปน็ รายบุคคล)

๑๐. เมื่อนักเรียนแต่ละคนทาแบบฝึกทักษะท่ี ๑ และ ๒ เสร็จแล้ว ให้จับคู่กับเพื่อนในกลุ่ม
เพื่อส่งแบบฝึกทักษะท่ีทาเสร็จแล้วให้เพ่ือนตรวจ ในกรณีท่ีคะแนนยังไม่ผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ ๘๐)
ให้นักเรียนกลับไปทบทวนเนื้อหาเพ่ือทาความเข้าใจอีกคร้ัง จากนั้นกลับมาทาแบบฝึกใหม่ จนกว่า
คะแนนจะผ่านเกณฑ์

ข้นั สรุป (Summarizing)
๑๑.ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ในเร่ือง การอา่ นจับใจความ จนไดข้ อ้ สรปุ ว่า

“ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่
จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงทั้ง
ภายในภายนอก ท้ังน้ี จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการ
นาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการ ทุกข้ันตอน และขณะเดียวกัน จะต้อง
เสริมสรา้ งพน้ื ฐานจติ ใจของคนในชาติ”

๑๒. ครูแจง้ ใหน้ ักเรยี นมาศึกษาเน้ือหาในเร่อื งการอ่านจับใจความ โดยใช้แบบฝึกทักษะการ
อ่านจบั ใจความ ชุด “เดินตามรอยพอ่ สอน” ชุดที่ ๕ เรอื่ ง ความพอเพยี ง ในชัว่ โมงตอ่ ไป

ส่อื /แหล่งเรียนรู้
๑. ตวั อยา่ งบทความ
๒. แบบฝกึ ทักษะการอา่ นจบั ใจความ ชุด “เดนิ ตามรอยพ่อสอน” ชุดที่ ๕ เรอ่ื ง ความพอเพียง
๓. ใบความรู้ที่ ๑ เร่ือง ความพอเพียง
๔. แบบฝกึ ทกั ษะที่ ๑ และ ๒

๙๓

การวัดผลประเมินผล

ส่ิงที่ต้องการวัด วิธวี ัดผล เครอ่ื งมือวัดผล เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
อ่านจับใจความสาคัญ ในเรื่อง ตรวจแบบฝกึ แบบฝกึ ทกั ษะที่ ทาแบบฝึกทักษะ
ความพอเพียง ได้ ทกั ษะ ๑ และ ๒ ถูกต้องผา่ นเกณฑ์
ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป
แสดงความคดิ เห็น ระบุประเดน็ ตรวจแบบฝึก แบบฝึกทกั ษะท่ี ทาแบบฝึกทักษะ
สาคัญ และอธบิ ายความแตกต่าง ทกั ษะ ๑ และ ๒ ถกู ต้องผ่านเกณฑ์
ความสมั พนั ธ์เชงิ เหตุผลจากเร่อื งท่ี รอ้ ยละ ๘๐ ข้นึ ไป
อ่านได้ - แบบประเมิน
ให้ความร่วมมือ สนใจ มงุ่ มั่น มคี วาม ประเมนิ พฤติกรรมการ มพี ฤติกรรมการ
รบั ผิดชอบ มมี ารยาทในการอ่าน พฤติกรรมการ ทางานกลุ่ม ทางานกลมุ่ ผา่ น
และการเขียน ในระหว่างทากิจกรรม ทางานกลมุ่ เกณฑ์อยู่ในระดบั ดี

๙๔

บนั ทกึ ผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้

ผลการจัดการเรียนการสอนตามตัวช้วี ัด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ปัญหา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชอ่ื ………………………………………………………… ลงช่อื ………………………………………………………
(นางวันดี เหล่าสุวรรณ) (นางสาวพชั ราภรณ์ เรอื งศรี)

ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ ตาแหน่ง หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้

ลงชื่อ ………………………………………………………… ลงชือ่ ………………………………………………………
(นางปรีดา ชว่ ยสุข) (นายธานนิ ทร์ แก้วจุรตั น์)

ตาแหน่ง รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ฝา่ ยวิชาการ ตาแหนง่ ผ้อู านวยการสถานศกึ ษา
โรงเรียนเทศบาล ๒ (บา้ นหาดใหญ)่ โรงเรยี นเทศบาล ๒ (บา้ นหาดใหญ)่

๙๕

`

ความพอเพยี ง

เศรษฐกจิ พอเพียง คืออะไร
เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ ปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดารงชีวติ และปฏิบตั ิตนของประชาชนทุก

ระดับตั้งแต่ครอบครัว ชุมชน จนถึงระดับรัฐทั้งในการดารงชีวิตประจาวัน การพัฒนาและบริหาร
ประเทศ ให้ดาเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวหน้าต่อการ
เปล่ยี นแปลงของโลก (สเุ มธ ตันติเวชกลุ , ๒๕๕๒)

๙๖

ทางสายกลาง

พอประมาณ

มเี หตผุ ล มภี มู ิคมุ้ กัน
ในตัวที่ดี

เงื่อนไขความรู้ เงอื่ นไขคุณธรรม

 รอบรู้  ซือ่ สตั ยส์ ุจรติ  สตปิ ญั ญา
 รอบคอบ  ขยัน อดทน  แบ่งปนั
 ระมัดระวงั

นาไปสู่

ชีวิต เศรษฐกิจ สงั คมส่ิงแวดล้อม สมดุล มั่นคง และยั่งยืน

ภาพท่ี 1 หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3 ห่วง 2 เงือ่ นไข
ทม่ี า: สเุ มธ ตันติเวชกลุ (๒๕๕๒)

๙๗

หลักการดาเนินชวี ติ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

การดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสาย
กลาง และความไม่ประมาท โดยคานึงถึงหลกั การ ๓ ประการ ดังนี้ (สุเมธ ตันตเิ วชกลุ . ๒๕๕๒)

๑. ความพอประมาณ
๒. ความมีเหตุผล
๓. การสร้างภูมิคมุ้ กนั ทีด่ ีในตัว
โดยการดาเนินงานเศรษฐกิจพอเพียงท่ีดีจะต้องอยู่ภายใต้เง่ือนไข ความรู้ และคุณธรรม
ตลอดจนต้องเป็นคนดี มีความอดทน พากเพยี ร
ความพอประมาณ หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับการดารงชีวิต การดาเนินธุรกิจอย่าง
พอเพียงตามความสามารถ และศักยภาพของตนท่ีมีอยู่ และต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลที่เหมาะสม
ตลอดจนพงึ นึกถึงผลที่จะเกิดขึ้นจากการกระทาน้ันๆ
ความมีเหตุผล หมายถึง การทาสิ่งใดตอ้ งตดั สินใจ โดยใช้เหตุผล
การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว เป็นการเตรียมความพร้อม ความรู้ ท่ีจะรับผลกระทบ และการ
เปล่ียนแปลงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดข้ึน
ในอนาคตทั้งใกล้และไกล เพอ่ื ปอ้ งกนั และลดความเสย่ี งจากการเปลยี่ นแปลง


Click to View FlipBook Version