The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน”

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by irus.pc, 2022-07-14 04:19:51

คู่มือการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน” เล่มที่ 2

คู่มือการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน”

๑๔๘

เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น

การอ่านจบั ใจความ ชุด “เดนิ ตามรอยพ่อสอน” ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖
เร่ือง ความพอเพียง

ข้อที่ คาตอบ
๑. ค
๒. ข
๓. ก
๔. ค
๕. ง
๖. ก
๗. ค
๘. ข
๙. ข
๑๐. ง

๑๔๙

แบบบันทกึ คะแนนการทาแบบทดสอบ

การอ่านจบั ใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน”
ชดุ ที่ ๕ เร่อื ง ความพอเพียง

นกั เรียน คะแนนเต็ม คดิ เป็นรอ้ ยละ
(คนที)่ (๑๐ คะแนน) (เกณฑ์ผา่ นรอ้ ยละ ๘๐)

๑ ๘ ๘๐.๐๐
๒ ๘ ๘๐.๐๐
๓ ๘ ๘๐.๐๐
๔ ๙ ๙๐.๐๐
๕ ๙ ๙๐.๐๐
๖ ๘ ๘๐.๐๐
๗ ๘ ๘๐.๐๐
๘ ๙ ๙๐.๐๐
๙ ๘ ๘๐.๐๐
๑๐ ๙ ๙๐.๐๐
๑๑ ๙ ๙๐.๐๐
๑๒ ๘ ๘๐.๐๐
๑๓ ๘ ๘๐.๐๐
๑๔ ๙ ๙๐.๐๐
๑๕ ๘ ๘๐.๐๐
๑๖ ๙ ๙๐.๐๐
๑๗ ๙ ๙๐.๐๐
๑๘ ๘ ๘๐.๐๐
๑๙ ๘ ๘๐.๐๐
๒๐ ๙ ๙๐.๐๐

๑๕๐

นกั เรยี น คะแนนเตม็ คิดเป็นรอ้ ยละ
(คนท่ี) (๑๐ คะแนน) (เกณฑ์ผ่านรอ้ ยละ ๘๐)

๒๑ ๘ ๘๐.๐๐
๒๒ ๙ ๙๐.๐๐
๒๓ ๙ ๙๐.๐๐
๒๔ ๘ ๘๐.๐๐
๒๕ ๘ ๘๐.๐๐
๒๖ ๙ ๙๐.๐๐
๒๗ ๙ ๙๐.๐๐
๒๘ ๙ ๙๐.๐๐
๒๙ ๙ ๙๐.๐๐
๓๐ ๙ ๙๐.๐๐
๓๑ ๘ ๘๐.๐๐
๓๒ ๘ ๘๐.๐๐
๓๓ ๘ ๘๐.๐๐
๓๔ ๙ ๙๐.๐๐
๓๕ ๗ ๗๐.๐๐
๓๖ ๙ ๙๐.๐๐
๓๗ ๙ ๙๐.๐๐
๓๘ ๘ ๘๐.๐๐

๑๕๑

แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุม่

การอ่านจบั ใจความ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เร่อื ง ความพอเพียง ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖

คาชแ้ี จง ครูทาการสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่มของนกั เรียน โดยทาเครอื่ งหมาย  ลงในระดับ

คะแนนที่ตรงกับความเป็นจริง

รายการประเมนิ /ระดับคะแนน

คนที่ ความร่วมมือ มีความสนใจ มีความมุง่ มนั่ มีความ รวม ผลการ
ในการทางาน ในการทา ในการทา
กิจกรรม กจิ กรรม รับผิดชอบ ประเมิน

๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒

๑ –  –  – –  – –  – – ๑๑ ดี

๒  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๓  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๔  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๕  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๖  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๗  – – – –   – – –  – ๙ ปานกลาง

๘  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๙  – – – –   – – –  – ๙ ปานกลาง

๑๐  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๑๑  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๑๒ –  –  – –  – –  – – ๑๑ ดี

๑๓  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๑๔  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๑๕  – – –  –  – –  – – ๑๑ ดี

๑๖  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๑๗  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๑๘  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๑๕๒

รายการประเมนิ /ระดบั คะแนน

คนท่ี ความรว่ มมือ มีความสนใจ มคี วามมุ่งมนั่ ความรับผิดชอบ รวม ผลการ
ในการทา ในการทา ในการทา ในการทา ประเมิน
กิจกรรม กิจกรรม กจิ กรรม กจิ กรรม

๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒

๑๙  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๒๐  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๒๑ –  –  – –  – –  – – ๑๑ ดี

๒๒  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๒๓  – – –  –  – –  – – ๑๑ ดี

๒๔  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๒๕  – – – –   – – –  – ๙ ปานกลาง

๒๖  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๒๗  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๒๘ –  –  – –  – –  – – ๑๑ ดี

๒๙  – – – –   – – –  – ๙ ปานกลาง

๓๐  – – –  –  – –  – – ๑๑ ดี

๓๑  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๓๒  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๓๓  – – –  –  – –  – – ๑๑ ดี

๓๔  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๓๕  – – – –   – – –  – ๙ ปานกลาง

๓๖  – –  – – –  –  – – ๑๑ ดี

๓๗  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๓๘  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

เกณฑร์ ะดับคุณภาพ มีพฤติกรรมการทางานกลุม่ อยใู่ นระดับดี
ระดบั คะแนน ๙ – ๑๒ หมายถึง มีพฤติกรรมการทางานกลุ่มอยู่ในระดับปานกลาง
ระดบั คะแนน ๕ – ๘ หมายถงึ มพี ฤติกรรมการทางานกลมุ่ อยูใ่ นระดบั ควรปรับปรุง
ระดับคะแนน ๑ – ๔ หมายถงึ

๑๕๓

รายละเอียดเกณฑก์ ารให้คะแนนแบบประเมนิ การทางานกลมุ่

ประเดน็ การประเมนิ เกณฑ์การให้คะแนน
๓๒๑

ความรว่ มมอื ในการทา ใหค้ วามร่วมมือในการ ใหค้ วามร่วมมือในการ ไมใ่ ห้ให้ความรว่ มมือ

กิจกรรม ทากิจกรรมดว้ ยความ ทากจิ กรรมในบางครั้ง ในการทากิจกรรม

เต็มใจ สมาชิกในกลุ่มต้อง

คอยกระตุ้นอย่เู สมอ

ความสนใจในการทากิจกรรม ใหค้ วามสนใจในการ ใหค้ วามสนใจในการ สนใจในการทา

ทากจิ กรรมทกุ ครงั้ ทากจิ กรรมในบางครงั้ กจิ กรรมในบางครงั้

หรอื ไม่ใหค้ วามสนใจ

ในการทากจิ กรรมเลย

ความมงุ่ ม่นั ในการทากิจกรรม มคี วามมุ่งมนั่ ในการทา มีความมุ่งมนั่ ในการทา ไมม่ ีความมงุ่ มั่นในการ

กจิ กรรม และตงั้ ใจทา กจิ กรรม และตงั้ ใจทา ทากิจกรรมและตั้งใจ

กจิ กรรมอย่างเต็มท่ี กจิ กรรมในบางคร้ัง ทากิจกรรมเลย

ความรับผดิ ชอบในการทา มคี วามรบั ผิดชอบใน มคี วามรับผดิ ชอบ ไมม่ ีความรบั ผิดชอบ

กจิ กรรม การทากิจกรรม ในการทากิจกรรม ในการทากจิ กรรม

ทางานที่ได้รบั ทางานท่ีไดร้ บั ทางานที่ได้รบั

มอบหมายเสร็จตาม มอบหมายเสรจ็ มอบหมายไมเ่ คย

กาหนด แตล่ า่ ชา้ ไมต่ รงเวลา สาเร็จตรงตามเวลา

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๑๗ ๑๕๔

๑๗ ช่วั โมง

กลุ่มสาระฯ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๖
เรือ่ ง สรปุ ผลกดารจดั การเรียนการสอน
จานวน ๑ ชัว่ โมง
(ทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนหลังเรียน) เวลา ๑ ชั่วโมง
วนั ทส่ี อน .๑..๗......ม..ถิ...นุ ..า..ย...น.....๒...๕...๖..๒......................

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ
แก้ปัญหาในการดาเนินชวี ิต และมนี ิสยั รกั การอา่ น

มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๑ อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๒ อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความท่เี ปน็ โวหาร
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๔ แยกขอ้ เทจ็ จรงิ และขอ้ คิดเหน็ จากเรื่องท่ีอา่ น
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๕ อธิบายการนาความรู้และความคิดจากเร่ืองที่อ่านไปตัดสินใจแก้ปัญหา

ในการดาเนินชวี ิต
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๘ อ่านหนงั สือตามความสนใจ และอธิบายคณุ คา่ ทีไ่ ดร้ ับ
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๙ มมี ารยาทในการอา่ น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความและเขียนเรื่องราว

ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษา
คน้ คว้าอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๒ เขียนส่ือสารโดยใชถ้ อ้ ยคาถูกตอ้ ง ชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย
มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๖ เขียนแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกับสาระจากสือ่ ท่ไี ด้รบั
มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๙ มีมารยาทในการเขยี น

๑๕๕

สาระสาคญั
การอ่านจับใจความ คือการอ่านที่มุ่งค้นหาสาระของเรื่องหรือของหนังสือแต่ละเล่มที่เป็น

ส่วน ใจความสาคัญ และส่วนขยายใจความสาคัญของเร่ือง ใจความสาคัญของเรื่อง คือ ข้อความท่ีมี
สาระคลุมข้อความอ่ืนๆ ในยอ่ หน้านนั้ หรอื เร่ืองนั้นท้งั หมด ขอ้ ความอื่นๆ เป็นเพียงส่วนขยายใจความ
สาคัญเท่านั้น ข้อความหนงึ่ หรอื ตอนหน่ึงจะมีใจความสาคญั ท่ีสดุ

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

เม่อื นกั เรียนเรยี นจบในเน้อื หาน้ีแล้ว นกั เรียนสามารถ
๑. อ่านจบั ใจความสาคญั จากเรื่องทีอ่ ่านได้ (K)
๒. แสดงความคิดเห็น ระบุประเด็นสาคัญ และอธิบายความแตกต่าง ความสัมพันธ์เชิง
เหตุผลจากเรอ่ื งที่อ่านได้ (P)
๓. มีความร่วมมือ สนใจ มุ่งม่ัน มีความรับผิดชอบ มีมารยาทในการอ่าน และการเขียน
ในระหว่างทากิจกรรม (A)

สาระการเรยี นรู้

การอา่ นจับใจความ

กิจกรรมการเรยี นรู้

ข้ันนา
๑. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการเรียนรู้ในเรื่อง การอ่านจับใจความ โดยใช้
แบบฝกึ ทักษะการอ่านจบั ใจความ ชุด “เดนิ ตามรอยพ่อสอน”
๒. ครูแจ้งให้นักเรียนทราบเก่ียวกับการทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียน เป็น
การทดสอบเพ่ือวัดพ้ืนฐานความรู้หลงั จากที่นักเรียนได้เรียนในเรื่อง การอ่านจับใจความ โดยใช้แบบ
ฝึกทกั ษะการอา่ นจบั ใจความ ชุด “เดินตามรอยพอ่ สอน”จบมาแล้ว

ขนั้ สอน
๓. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียน (๓๐ ข้อ) เพ่ือเป็น
การประเมินความรู้พื้นฐานในเรอ่ื ง การอ่านคดิ วิเคราะห์ ของนักเรียน
๔. ก่อนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียน ครูสอดแทรกความรู้ด้าน
คุณธรรม จริยธรรม โดยย้าให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมด้วยความซ่ือสัตย์ ไม่เปิดดูเฉลยคาตอบก่อน
เพื่อให้นักเรียนมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ เป็นการปลูกฝังคุณลักษณะด้านความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์
ตอ่ ตนเอง และผูอ้ ่นื

๑๕๖

๕. นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน (๓๐ ข้อ) เพ่ือเป็นการ
ประเมินความรพู้ นื้ ฐานในเรือ่ ง การอ่านคดิ วเิ คราะห์ ของนักเรยี น

ขน้ั สรปุ
๖. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรปุ ในเร่ือง การอ่านจับใจความ จนได้ขอ้ สรปุ วา่

“การอ่านจับใจความ คือการอ่านท่ีมุ่งค้นหาสาระของเร่ืองหรือของหนังสือแต่ละเล่มที่
เป็นส่วน ใจความสาคัญ และส่วนขยายใจความสาคัญของเรื่อง ใจความสาคญั ของเรื่อง คือ ขอ้ ความ
ท่ีมีสาระคลุมข้อความอื่นๆ ในย่อหน้านั้นหรือเรื่องน้ันท้ังหมด ข้อความอ่ืนๆ เป็นเพียงส่วนขยาย
ใจความสาคัญเทา่ น้นั ข้อความหนง่ึ หรอื ตอนหนึ่งจะมใี จความสาคัญทสี่ ุด”

สือ่ /แหล่งเรยี นรู้
๑. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นหลงั เรยี น (๓๐ ขอ้ )

การวัดผลประเมินผล

สง่ิ ท่ตี ้องการวดั วธิ ีวดั ผล เครื่องมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมินผล
อา่ นจบั ใจความสาคญั จากเรอ่ื งท่ี ตรวจ แบบทดสอบวัด ทาแบบทดสอบ
อ่านได้ แบบทดสอบ ผลสมั ฤทธิ์ทางการ วดั ผลสัมฤทธ์ิ
เรียนหลงั เรียน ทางการเรียนหลงั
แสดงความคดิ เหน็ ระบปุ ระเด็น ประเมิน
สาคัญ และอธิบายความแตกตา่ ง พฤติกรรม เรยี นถูกต้องผา่ น
ความสมั พันธ์เชิงเหตุผลจากเรอื่ งท่ี การเรยี นรู้ เกณฑ์ร้อยละ ๘๐
อา่ นได้ ข้ึนไป
ให้ความร่วมมือ สนใจ มุง่ มนั่ มีความ ประเมนิ - แบบประเมิน มพี ฤติกรรม
รับผิดชอบ มมี ารยาทในการอ่าน พฤติกรรม พฤติกรรม การเรียนรู้ผ่านเกณฑ์
และการเขยี น ในระหวา่ งทากิจกรรม การเรยี นรู้ การเรียนรู้ อยใู่ นระดบั ดี

- แบบประเมิน มพี ฤติกรรม
พฤติกรรม การเรยี นรู้ผา่ นเกณฑ์
การเรียนรู้ อยู่ในระดบั ดี

๑๕๗

บันทึกผลการใช้แผนการจดั การเรียนรู้

ผลการจดั การเรียนการสอนตามตัวช้วี ดั
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ปญั หา / อปุ สรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ ………………………………………………………… ลงชือ่ ………………………………………………………
(นางวันดี เหล่าสวุ รรณ) (นางสาวพัชราภรณ์ เรืองศรี)

ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ ตาแหนง่ หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้

ลงชื่อ ………………………………………………………… ลงช่ือ ………………………………………………………
(นางปรดี า ชว่ ยสขุ ) (นายธานินทร์ แก้วจรุ ตั น์)

ตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ฝา่ ยวชิ าการ ตาแหน่ง ผู้อานวยการสถานศึกษา
โรงเรียนเทศบาล ๒ (บ้านหาดใหญ)่ โรงเรียนเทศบาล ๒ (บ้านหาดใหญ)่

๑๕๘

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน (กอ่ นเรยี น)

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๖
เร่ือง การอ่านจับใจความ เวลา ๕๐ นาที

คาชี้แจง ๑. ขอ้ สอบมจี านวนท้ังหมด ๓๐ ข้อ คะแนน ๓๐ คะแนน
๒. ใหน้ ักเรียนเลอื กคาตอบที่ถูกทีส่ ุดเพยี งขอ้ เดยี ว โดย  ลงบน ก. ข. ค. หรอื ง.

๑. การอ่านจบั ใจความหมายถงึ ขอ้ ใด
ก. การอา่ นเพือ่ หาสาระสาคญั ของเรอื่ ง
ข. การอา่ นเพ่ือให้เกิดความรอบรใู้ นเรือ่ งตา่ งๆ
ค. การอา่ นเพอื่ ใหเ้ พ่มิ พูนความรปู้ ระสบการณ์
ง. การอ่านเพ่อื ให้ทราบข้อมูลพื้นฐานของหนังสือน้ันๆ

๒. ข้อใดเปน็ ขน้ั ตอนแรกของการอา่ นจับใจความ
ก. อา่ นซ้าตอนท่ไี ม่เขา้ ใจ
ข. เรยี บเรยี งใจความสาคัญของเรื่อง
ค. อ่านผ่านๆ โดยตลอดเพือ่ ให้รู้เรื่อง
ง. อ่านใหล้ ะเอยี ดเพื่อทาความเขา้ ใจ

๓. การอา่ นจบั ใจความสาคัญ ผอู้ ่านต้องปฏบิ ัตอิ ยา่ งไร
ก. แยกเรอ่ื งออกเป็นตอนๆ
ข. อา่ นใหร้ วดเรว็ อย่างสมา่ เสมอ
ค. แยกใจความสาคญั จากสว่ นขยายใจความสาคัญ
ง. แยกประเดน็ ของเร่ืองวา่ ส่วนใดเปน็ ข้อมลู ประกอบ

๔. เพราะเหตุใดเราควรทาความเข้าใจลกั ษณะของหนงั สอื ว่าประเภทใด
ก. จะทาใหอ้ า่ นได้อยา่ งเหมาะสม
ข. จะทาใหเ้ ข้าใจเกี่ยวกับเรื่องท่อี า่ น
ค. จะทาให้อา่ นหนังสือไดอ้ ย่างรวดเร็ว
ง. จะชว่ ยใหม้ ีแนวทางในการอา่ นจับใจความสาคัญได้งา่ ย

๑๕๙

๕. ขอ้ ใดเปน็ ขน้ั ตอนสุดทา้ ยของการอ่านจบั ใจความ
ก. อา่ นซ้าตอนทไ่ี มเ่ ขา้ ใจ
ข. เรยี บเรียงใจความสาคญั ของเร่ือง
ค. อา่ นผา่ นๆโดยตลอดเพ่อื ใหร้ เู้ รื่อง
ง. อา่ นให้ละเอยี ดเพ่อื ทาความเขา้ ใจ

๖. การอา่ นจบั ใจความสาคญั ควรเริ่มต้ังแต่สว่ นใด
ก. คานา
ข. บทนา
ค. ชอื่ เรือ่ ง
ง. เน้อื เรื่อง

๗. ข้อใด ไมใ่ ช่ ความหมายของความซ่ือสตั ย์
ก. การตรงต่อเวลา
ข. การพูดแต่ความจริง
ค. การประหยดั อดออม
ง. การไม่เปน็ คนไม่คดโกง

๘. การกระทาของบคุ คลใดน่าช่ืนชม
ก. แดงมาโรงเรียนสายทุกวัน
ข. เดน่ ส่งงานล่าช้า โดยอ้างวา่ ยังไม่ไม่เสร็จ
ค. ดาคืนหนงั สอื หอ้ งสมุดตรงตามเวลาท่กี าหนด
ง. ส้มชอบเอาเรือ่ งของเพือ่ นๆ ไปเล่าใหค้ นอื่นฟัง

๙. เมื่อนักเรียนเหน็ เพื่อนกาลงั ลอกการบ้าน นกั เรียนควรทาอย่างไร
ก. ไปฟ้องคณุ ครู
ข. รีบเข้าไปตกั เตือนถงึ ผลเสยี
ค. รีบเขา้ ไปขอลอกการบา้ นจากเพื่อน
ง. ไมส่ นใจ เพราะเพ่ือนไมไ่ ดล้ อกการบา้ นของเรา

๑๐. เม่ือนกั เรียนพบเจอกระเป๋าเงินหลน่ อยู่ในสนามหญ้าในโรงเรียน ควรทาอยา่ งไร
ก. นาไปใหต้ รวจ
ข. นาไปให้คณุ ครู
ค. เกบ็ เงนิ ไวใ้ ช้เอง
ง. ไมส่ นใจ เพราะไมใ่ ชข่ องเรา

๑๖๐

อา่ นขอ้ ความตอ่ ไปนแี้ ล้วตอบคาถามข้อ ๑๑ – ๑๒

“คนที่ไมม่ ีความสุจรติ คนท่ีไม่มีความ มนั่ คง ชอบแต่มกั งา่ ย
ไม่มวี นั จะ สรา้ งสรรค์ประโยชนส์ ว่ นรวมที่สาคัญอนั ใดได้
ผทู้ ่ีมีความสุจริตและความมุ่งมั่นเทา่ นั้น จึงจะทางานสาคัญยิ่งใหญ่

ทเี่ ป็นคณุ เป็นประโยชนแ์ ท้จริงได้สาเร็จ”
(พระราชดารสั ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดช)

๑๑. พระราชดารสั ดงั กลา่ ว พูดถึงเรอ่ื งอะไร
ก. ความสขุ
ข. ความซือ่ สตั ย์
ค. ความมุ่งม่นั
ง. ความมานะพยายาม

๑๒. จากพระราชดารสั ดงั กล่าว ถ้าเรามคี วามซ่ือสัตย์ จะมปี ระโยชน์ต่อใครมากท่สี ุด
ก. ประโยชนต์ อ่ เพ่อื น
ข. ประโยชนต์ อ่ สว่ นรวม
ค. ประโยชน์ต่อตัวเราเอง
ง. ประโยชน์ต่อคนรอบข้าง

๑๓. คาว่า “กตญั ญกู ตเวที” อ่านว่าอย่างไร
ก. กะ – ตนั – ยู – กะ – ตะ – เว – ที
ข. กะ – ตนั – ยู – กัด – ตะ – เว – ที
ค. กะ – ตัน – ยู – กดั – ตดั – เว – ที
ง. กดั – ตัน – ยู – กะ – ตะ – เว – ที

๑๔. ขอ้ ใดเขยี นคาว่า “บุ – พะ – กา – ร”ี ได้ถกู ต้อง
ก. บภุ การี
ข. บพุ การี
ค. บปุ พการี
ง. บุบพะการี

๑๖๑

อา่ นบทกลอนต่อไปนี้ แลว้ ตอบคาถามข้อ ๑๕ – ๑๗

กตัญญู ดีเลิศ ประเสรฐิ แท้
ทดแทนคุณ พ่อแม่ ดูแลปู่
ยา่ ตายาย ท้งั หมด โปรดจงดู
ร่วมเชดิ ชู รกั ทา่ น อยา่ หวนั่ ใด

(สุนทรภู่)

๑๕. ข้อความนจ้ี ดั อยูใ่ นประเภทใด
ก. กลอนส่ี
ข. ร้อยแก้ว
ค. กลอนแปด
ง. กาพย์ยานี ๑๑

๑๖. ขอ้ ความนก้ี ล่าวในลกั ษณะใด
ก. ชแ้ี จง
ข. อบรม
ค. สั่งสอน
ง. ตกั เตอื น

๑๗. บทกลอนขา้ งตน้ เขยี นขึน้ เพือ่ ให้เรามคี วามกตัญญตู อ่ ใคร
ก. พ่อ แม่
ข. เพื่อนฝงู
ค. ญาติ พน่ี อ้ ง
ง. คนในครอบครวั

๑๖๒

อ่านข้อความต่อไปนีแ้ ลว้ ตอบคาถามข้อ ๑๘

ขณะสมเด็จย่าเสดจ็ ไปในท่ตี ่างๆ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั มกั ทรงประคอง
เดนิ ไปตลอดทางยามทส่ี มเด็จยา่ เสด็จไปไหน แมม้ ีทหาร มีองครักษ์ มีพยาบาล
ทีค่ อยประคองสมเดจ็ ย่าอยแู่ ล้ว แตพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงตรัสเสมอวา่
“ไม่ต้อง คนน้เี ป็นแมเ่ รา เราประคองเอง ตอนเล็กๆ แมป่ ระคองเรา สอนเราเดนิ

หดั ให้เราเดนิ เพราะฉะนน้ั ตอนนี้แม่แก่แลว้ เราตอ้ งประคองแมเ่ ดนิ
เพือ่ เทดิ พระคุณทา่ น ไม่ต้องอายใคร”

๑๘. ขอ้ ความนจ้ี ัดอยู่ในประเภทใด
ก. กลอนส่ี
ข. บทความ
ค. กลอนแปด
ง. กาพยย์ านี ๑๑

๑๙. ข้อความใดกล่าวถึงความสามคั คไี ดดที ีส่ ุด
ก. ความสามัคคี คือ การรวมตัว
ข. ความสามคั คี คอื การไมแตกแยก
ค. ความสามัคคี คอื ประตูสูความสาเร็จ
ง. ความสามัคคี คือ การที่ทาใหส้ งั คมโดยรวมเกดิ ความเข้มแข็ง

๒๐. เม่อื สมาชิกในสังคมมคี วามคิดเหน็ ทแี่ ตกตา่ งกนั จะนาไปสูค่ วามแตกแยก คณุ ธรรมขอ้ ใด
ทค่ี วรนามาปฏบิ ัตมิ ากที่สุด
ก. ความอดทน ความเสียสละ
ข. ความสามัคคี การสมานฉนั ท์
ค. ความซื่อสตั ย์ ความรับผดิ ชอบ
ง. ความมรี ะเบยี บวินยั ความมเี หตุผล

๒๑. คนในสงั คมเดียวกันควรปฏบิ ัตติ ามข้อใด
ก. ตัวใครตวั มัน
ข. สามัคคีคือพลัง
ค. มือใครยาวสาวไดส้ าวเอา
ง. รรู้ กั ษาตวั รอดเปน็ ยอดดี

๑๖๓

๒๒. นิทาน หมายถึง
ก. ข่าวสารเอกสารหนังสือทีใ่ ห้ความรู้
ข. ขอ้ เทจ็ จรงิ ทมี่ กี ารตพี ิมพเ์ ป็นหนังสือ
ค. งานเขียนหรือวรรณกรรมทมี่ ีขอ้ เท็จจริง
ง. เรือ่ งราวท่เี ล่าต่อๆ กนั มาเปน็ เวลานานมาแลว้

๒๓. การอา่ นจับใจความสาคญั จากนทิ านใช้หลกั การอา่ นอย่างไร
ก. ใช้หลกั การอา่ นที่มงี านวจิ ัยเขา้ มาสนับสนนุ
ข. ใช้หลักการอา่ นทม่ี งี านเขยี นหรือวรรณกรรมรองรบั
ค. ใช้หลกั การอ่านจบั ใจความสาคัญเหมือนการอ่านเรอ่ื งทว่ั ๆ ไป
ง. ใชห้ ลักการอา่ นจบั ใจความสาคญั จากขอ้ เทจ็ จรงิ ทมี่ ีการตีพิมพ์เปน็ หนังสือ

๒๔. นทิ านประเภทใดไม่ใชน่ ทิ านไทย
ก. ขลู ู นางอั้ว
ข. เดก็ เลยี้ งแกะ
ค. ขนุ ช้างขุนแผน
ง. กอ่ งข้าวน้อยฆ่าแม่

๒๕. ข้อใด ไมใ่ ช่ หลักการของเศรษฐกจิ พอเพียง
ก. มีเหตุผล
ข. มภี มู ิคุ้มกันท่ดี ี
ค. มคี วามอย่ดู กี ินดี
ง. มีความพอประมาณ

๒๖. การปฏิบัติตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งควรเรม่ิ ต้นจากใคร
ก. พอ่ แม่
ข. ตนเอง
ค. ญาตพิ ีน่ ้อง
ง. ครอู าจารย์

๒๗. ในโรงเรยี น นักเรียนควรปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งอย่างไร
ก. ปิดกอ๊ กน้าใหส้ นิททกุ คร้งั เม่อื ไม่ใช้งาน
ข. นาหนังสือในห้องสมดุ ไปเก็บไวอ้ า่ นท่บี ้าน
ค. ซือ้ ขนมท่ขี ายในสหกรณ์โรงเรยี นเปน็ ประจา
ง. เปดิ ไฟฟา้ ทุกดวงในหอ้ งเรียนทิ้งไวเ้ ป็นประจา

๑๖๔

๒๘. ขอ้ ใดเป็นการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน
ก. ซือ้ สินค้าทุกชนิด
ข. ซ้ือสินค้าทอี่ ยากได้
ค. ลดการซอ้ื สินค้าท่ีไม่จาเป็น
ง. ใช้เงนิ ให้มากกวา่ เงนิ ทีไ่ ดร้ ับ

๒๙. ข้อใดเป็นการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยุกต์ใชใ้ นครอบครวั
ก. ใชส้ นิ คา้ ราคาแพงอยเู่ สมอ
ข. ผลติ พลังงานไฟฟา้ ขน้ึ ใช้เองในครอบครัว
ค. นาสินค้าทไ่ี ม่มคี ุณภาพออกจาหนา่ ยเพื่อสรา้ งรายได้
ง. ปลูกผกั สวนครัวในบรเิ วณบ้านเพอ่ื ไว้รบั ประทานเอง

“...ในการสรา้ งตัวสรา้ งฐานะนั้นจะต้องถอื หลักค่อยเป็นค่อยไป ดว้ ยความรอบคอบ ระมัดระวงั
และความพอเหมาะพอดี ไมท่ าเกินฐานะและกาลัง หรือทาด้วยความเรง่ รบี เม่ือมีพน้ื ฐานแนน่ หนา
รองรบั พร้อมแลว้ จงึ ค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญก้าวหนา้ ในระดับสงู ขน้ึ ตามต่อกนั ไปเปน็
ลาดับผลท่เี กดิ ข้นึ จงึ จะแน่นอน มหี ลักเกณฑ์ เป็นประโยชน์แท้และยั่งยืน...”

พระบรมราโชวาท ในพิธพี ระราชทานปรญิ ญาบัตรของมหาวิทยาลัยขอนแกน่
วันท่ี ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๐

๓๐. ขอ้ ความดังกลา่ วข้างตน้ พดู ถึงเรอื่ งอะไร
ก. การสร้างตวั สร้างฐานะ
ข. การสรา้ งประโยชนแ์ กส่ ังคม
ค. การสร้างความเจรญิ กา้ วหนา้
ง. การสร้างภูมคิ ุม้ กันใหก้ บั ตนเอง

๑๖๕

เฉลยแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน (หลงั เรยี น)
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๖

ขอ้ ท่ี คาตอบ ขอ้ ที่ คาตอบ
๑ก ๑๖ ค
๒ค ๑๗ ง
๓ค ๑๘ ข
๔ง ๑๙ ง
๕ข ๒๐ ข
๖ค ๒๑ ข
๗ค ๒๒ ง
๘ค ๒๓ ค
๙ข ๒๔ ก
๑๐ ข ๒๕ ค
๑๑ ข ๒๖ ข
๑๒ ข ๒๗ ก
๑๓ ก ๒๘ ค
๑๔ ข ๒๙ ง
๑๕ ค ๓๐ ก

๑๖๖

แบบบนั ทกึ คะแนนทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน
(ก่อนเรียน – หลังเรียน)
เรอื่ ง การอา่ นจบั ใจความ

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖

นักเรยี น คะแนน ร้อยละ สรปุ ผล
(คนท่ี) ผ่าน ไมผ่ า่ น
ก่อนเรียน หลงั เรยี น (เกณฑผ์ ่านรอ้ ยละ ๘๐) 
๑ 
๒ ๑๒ ๒๖ ๘๖.๖๗ 
๓ 
๔ ๑๑ ๒๗ ๙๐.๐๐
๕ 
๖ ๑๔ ๒๕ ๘๓.๓๓ 
๗ 
๘ ๑๓ ๒๔ ๘๐.๐๐ 
๙ 
๑๐ ๙ ๒๓ ๗๖.๖๗ 
๑๑ 
๑๒ ๘ ๒๒ ๗๓.๓๓ 
๑๓ 
๑๔ ๑๒ ๒๘ ๙๓.๓๓ 
๑๕ 
๑๖ ๑๐ ๒๗ ๙๐.๐๐ 
๑๗ 
๑๘ ๑๑ ๒๙ ๙๖.๖๗ 
๑๙ 
๒๐ ๑๒ ๒๗ ๙๐.๐๐ 
๒๑ 
๒๒ ๑๒ ๒๘ ๙๓.๓๓ 

๑๔ ๒๖ ๘๖.๖๗

๑๓ ๒๕ ๘๓.๓๓

๑๒ ๒๘ ๙๓.๓๓

๑๑ ๒๘ ๙๓.๓๓

๘ ๒๗ ๙๐.๐๐

๑๑ ๒๖ ๘๖.๖๗

๑๐ ๒๔ ๘๐.๐๐

๙ ๒๕ ๘๓.๓๓

๗ ๒๖ ๘๖.๖๗

๘ ๒๗ ๙๐.๐๐

๑๒ ๒๔ ๘๐.๐๐

๑๖๗

นักเรียน คะแนน ร้อยละ สรปุ ผล
(คนท่)ี ผ่าน ไมผ่ า่ น
๒๓ กอ่ นเรียน หลงั เรียน (เกณฑ์ผา่ นร้อยละ ๘๐) 
๒๔ 
๒๕ ๑๒ ๒๕ ๘๓.๓๓ 
๒๖ 
๒๗ ๑๓ ๒๗ ๙๐.๐๐ 
๒๘ 
๒๙ ๗ ๒๘ ๙๓.๓๓ 
๓๐ 
๓๑ ๘ ๒๗ ๙๐.๐๐ 
๓๒ 
๓๓ ๑๐ ๒๘ ๙๓.๓๓ 
๓๔ 
๓๕ ๘ ๒๙ ๙๖.๖๗ 
๓๖ 
๓๗ ๘ ๒๗ ๙๐.๐๐ 
๓๘ 
รวม ๗ ๒๘ ๙๓.๓๓
เฉลีย่ 
ร้อยละ ๑๐ ๒๖ ๘๖.๖๗

๑๔ ๒๗ ๙๐.๐๐

๑๓ ๒๕ ๘๓.๓๓

๑๒ ๒๔ ๘๐.๐๐

๑๑ ๒๕ ๘๓.๓๓

๘ ๒๖ ๘๖.๖๗

๑๑ ๒๘ ๙๓.๓๓

๑๐ ๒๗ ๙๐.๐๐

๔๐๑ ๙๙๙

๑๐.๕๕ ๒๖.๒๙

๓๕.๑๗ ๘๗.๖๓ ๘๗.๖๓

๑๖๘

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธกิ าร. (๒๕๕๔). หลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๔. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์
คุรุสภาลาดพรา้ ว.

สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา. (๒๕๔๗). ขอ้ เสนอยุทธศาสตรก์ ารปฏริ ูปการศึกษา. กรุงเทพฯ:
เซ็นจูร.่ี

สานักนายกรฐั มนตรี. (๒๕๔๒). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
องค์การรบั สง่ สินคา้ และพสั ดภุ ณั ฑ์ (ร.ส.พ.).

สานักผู้ตรวจราชการและติดตามประเมินผล. (๒๕๔๘). การติดตามปัญหาอุปสรรคการใช้หลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๔๔. บันทึกท่ี ศธ ๐๒๐๗/๒๖๙๒ ลงวันท่ี ๑๙ กันยายน
๒๕๔๘.

สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. (๒๕๔๖ก.). สรุปผลการประชุมวิเคราะหห์ ลักสูตรการศกึ ษา
ขนั้ พืน้ ฐาน. ๒๗ – ๒๘ ตลุ าคม ๒๕๔๖. โรงแรมตรงั กรงุ เทพฯ. (เอกสารอัดสาเนา).
. (๒๕๔๖ข.). สรุปความเห็นจากการประชุมเสวนาหลักสูตร
การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน 5 จุด. พฤศจิกายน 2546. (เอกสารอัดสาเนา).
. (๒๕๔๘ก.). รายงานการวิจัย การใช้หลักสูตรการศึกษา
ข้ันพื้นฐานตามทัศนะของผู้สอน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์
(ร.ส.พ.).
. (๒๕๔๘ข.). รายงานการวิจัยโครงการวิจัยเชิงทดลอง
กระบวนการสร้างหลักสูตรสถานศึกษาแบบอิงมาตรฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การ
รับสง่ สนิ คา้ และพสั ดภุ ัณฑ์ (ร.ส.พ.).

สุวิมล ว่องวาณิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย. (๒๕๔๗). การประเมินผลการปฎิรูปการเรียนรู้ ตาม
พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ พหุกรณศี กึ ษา. เอกสารการประชมุ ทาง
วิชาการการวิจัยเกี่ยวกับการปฏิรูปการเรียนรู้ โดยสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร วนั ที่ ๑๙ – ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๔๗.

Kittisunthorn, C., (๒ ๐ ๐ ๓ ). Standards-based curriculum: The first experience of Thai
teachers. Doctoral Dissertation, Jamia Islamia University, Delhi, India.

Nutravong, R., (๒๐๐๒). School-based curriculum decision-making: A study of the
Thailand reform experiment. Doctoral Dissertation, Indiana University,
Bloomington. U.S.A.


Click to View FlipBook Version