The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wichuda1345, 2022-03-26 01:59:44

การพัฒนาการอ่านออกเสียงเน้นหนักในค าศัพท์ภาษาอังกฤษ (Word Stress) โดยใช้ชุดค าศัพท์จากบทเรียน ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

ครูซิลมี

รายงานวจิ ัยในชั้นเรียน

การพฒั นาการอา่ นออกเสียงเน้นหนักในคาศพั ทภ์ าษาอังกฤษ (Word Stress)
โดยใชช้ ุดคาศพั ทจ์ ากบทเรียน สาหรับนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4

นางสาวซลิ มยี ์ ลาลี

ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ
โรงเรยี นกาแพงวิทยา อาเภอละงู จงั หวดั สตลู
สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาสงขลา สตลู



ชื่อเรื่อง การพัฒนาการอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ (Word Stress) โดยใช้ชุด
คาศพั ทจ์ ากบทเรียน สาหรับนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4
ผู้วิจัย นางสาวซิลมีย์ ลาลี
กลุ่มสาระฯ ภาษาตา่ งประเทศ
ปีการศกึ ษา 2564

บทคดั ยอ่

การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์ ดังน้ี 1. เพ่ือพัฒนาการอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ
(Word Stress) โดยใช้ชุดคาศัพท์จากบทเรียน สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 2. เพ่ือเปรียบเทียบ
ผลสัมฤทธิ์การอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ (Word Stress) โดยใช้ชุดคาศัพท์จากบทเรียน
สาหรับนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4

กล่มุ ตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจยั ครั้งน้ี เปน็ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนกาแพงวิทยา อาเภอละ
งู จังหวัดสตูล ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 1 ห้องเรียน ได้แก่ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4/6
จานวน 30 คน โดยสุ่มแบบเจาะจง ใชเ้ วลาทดลองท้ังสน้ิ 10 คาบ คาบละ 50 นาที โดยใชแ้ ผนการวจิ ัยพฒั นา
เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) ชุดคาศัพท์จากบทเรียน 3) แบบทดสอบ
ผลสมั ฤทธกิ์ ่อนและหลงั เรยี น

ผลการวจิ ยั พบว่า
ตามวัตถุประสงค์ ข้อท่ี 1. เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ (Word

Stress) โดยใช้ชดุ คาศพั ท์จากบทเรยี น สาหรบั นักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 ผลท่ีได้ คือ
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีทักษะอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ (Word

stress) ที่ดีข้ึนเป็นส่วนใหญ่ จากที่ยังอ่านไม่ค่อยได้เลย ซ่ึงมีนักเรียนท่ีสามารถอ่านออกเสียงเน้นหนักใน
คาศัพท์ภาษาอังกฤษได้ดีข้ึนจากคร้ังแรกจานวน 27 คน และในจานวนนักเรียนที่มีทักษะการอ่านท่ีดขี ้ึนนั้นมี
หลายระดับ จึงจาเป็นต้องมีการฝึกทักษะการอ่านออกเสียงเน้นหนักอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้นักเรียนได้
พฒั นาการอา่ นออกเสยี งคาศัพทใ์ ห้ดยี ิง่ ข้นึ ไปอกี

ตามวัตถุประสงค์ ข้อท่ี 2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์
ภาษาอังกฤษ (Word Stress) โดยใช้ชดุ คาศัพทจ์ ากบทเรยี น สาหรับนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ผลที่ได้ คือ

1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 มีผลสัมฤทธ์ิหลังเรียนที่ดีข้ึนตามลาดับ หลังจากการใช้ชุดคาศัพท์
จากบทเรียนในการพัฒนาการอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ ซ่ึงมีนักเรียนจานวน 27 คน ที่
สามารถทดสอบได้ผ่านเกณฑ์ และมีนักเรียน 3 คนที่ทดสอบไม่ผ่านเกณฑ์ แต่มีการพัฒนาข้ึนจากเดิม ซ่ึงมี
คะแนนเฉลย่ี หลงั เรียน เทา่ กบั 24.67 และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน เท่ากบั 8.72

2. นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้ความสนใจในการทากิจกรรมการสอนเป็นอย่างดี และเมื่อมีการ
ทดสอบนักเรียนสว่ นใหญส่ ามารถอา่ นออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษไดด้ ีขึน้



สารบญั

หนา้

บทคดั ยอ่ ………………………………………………………………………………………………………………………………………. ก
สารบญั ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข
สารบญั ตาราง…………………………………………………………………………………………………….………………………… ค
บทที่ 1 บทนา……………………………………………………………….…………………………………………….………………… 1

ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา…………….…………………………………………………………………….. 1
วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย…………………………………..…………………………………………………………………… 2
สมมติฐานของงานวจิ ยั ………………………………………..……………………………………………….………………… 2
ขอบเขตของการวิจยั ……………………………………………..………………………………………………………………. 3
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกีย่ วขอ้ ง……………….………………………………………………………………………… 4
เอกสารเก่ียวขอ้ ง…………………………………………………………………………………………………………………… 4
งานวิจัยทีเ่ ก่ียวข้อง………………………………………………………………………………………………………………… 15
บทที่ 3 วิธดี าเนนิ การวจิ ยั ………………………….………………………………………………………..………………………… 16
ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง…………………………………………………………………………………………………….. 16
เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู …………………………………………………………………………………….. 16
ขัน้ ตอนการสร้างและพัฒนาเคร่ืองมือ………………………………………………………………………………………. 19
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล……………………………………………………………………………………………………………. 19
การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ………………………………………………………………………………………………………………… 21
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล………………………………………………………….……………………………………………. 22
ผลการวิเคราะห์ข้อมลู …………………………………………………………………………………………………………….. 22
บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ……………………..…………………………………………….……………….. 24
สรปุ ผลการวิจัย……………………………………………………………………………………………………………………… 24
อภปิ รายผล…………………………………………………………………………………………………………………………… 24
ขอ้ เสนอแนะ…………………………………………………………………………………………………………………………. 25
บรรณานกุ รม……………………………………………………………………………………………………………………………….. 26
ภาคผนวก……………………………………………………………………………….…………………………………………….……… 28
ภาคผนวก ก แผนการจดั การเรียนร.ู้ ..................................……………………………..………………………….. 28
ภาคผนวก ข ผลการวิเคราะห์ข้อมูล………………………………………………………………………………………… 102

สารบญั ตาราง ค

ตารางท่ี หน้า
22
1 ผลการวเิ คราะหก์ ารออกเสียงเน้นหนักในคาศพั ท์ภาษาอังกฤษ จานวน 10 ครัง้ 23
2 ผลสัมฤทธกิ์ ่อนเรยี นและหลงั เรยี น

1

บทท่ี 1
บทนา

ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา
ปัจจุบันภาษาอังกฤษได้เข้ามามีบทบาทในสังคมโลกโดยเป็นสื่อกลางในการสื่อสารท่ีสาคัญมากและ

รัฐบาลไดเ้ ลง็ เห็นถึงความสาคัญของภาษาอังกฤษจึงได้จัดให้กลุ่มสาระภาษาตา่ งประเทศเป็นหนึง่ ในแปดกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เเละการท่ีประเทศไทยเป็น
หนึ่งในประชาคมอาเซียน ซึ่งจากกฎบัตรอาเซียนข้อ 34 บัญญัติว่า “The working language of ASEAN
shall be English” หรือ “ภาษาที่ใช้ในการทางานของอาเซียน คือ ภาษาอังกฤษ ” (Association of
Southeast Asian Nations, ม.ป.ป.) ทาให้ประเทศไทยต้องพัฒนาศักยภาพในด้านภาษาอังกฤษของคนใน
ประเทศให้ดขี ึน้ โดยเฉพาะในด้านการสื่อสาร ซึ่งมีความสาคัญเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นในด้านการศกึ ษาต่อ
ในต่างประเทศ ด้านธุรกิจ ด้านการท่องเท่ียว ด้านอุตสาหกรรม ด้านการประกอบอาชีพ หรือเเม้เเต่ในด้าน
การซอ้ื -ขาย เป็นตน้ โดยมจี ุดมุง่ หมายเพื่อใหน้ ักเรียนมีความสามารถในการใชภ้ าษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารได้
อยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม ทั้งทักษะการฟงั การพดู การอ่าน และการเขียน (จฑุ าภรณ์ ปุณะตุง, 2555)

จากความสาคัญดังกล่าว ภาษาอังกฤษจึงถูกบรรจุไว้ในหลักสูตรต้ังแต่ระดับประถมศึกษาและ
มัธยมศึกษา ซึ่งทักษะการอ่านเป็นทักษะหน่ึงท่ีจาเป็นและสาคัญมากที่สุด อีกท้ังยังเป็นทักษะท่ีคงอยู่กับ
ผู้เรียนนานที่สุดและมีโอกาสใช้มากหลังจบการศึกษาแล้ว หรืออาจจะอยู่กับผู้เรียนไปตลอดชีวิต ไม่อาจ
หลีกเล่ียงการอ่านได้เลย ดังนั้นการอ่านจึงเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับความสาเร็จในชีวิต ในยุคข้อมูลข่าวสารของ
โลกปัจจุบันซึ่งเป็นท่ียอมรับกันแล้วว่าไม่มีทักษะใดที่จะสาคัญมากไปกว่าทักษะทางการอ่าน การอ่านจึงเป็น
เคร่ืองมืออย่างหน่ึงของมนุษย์ท่ีจะช่วยให้เกิดความรู้ ความคิดเห็นเท่าทันความเป็นไปในสังคม และ
ความสามารถในการเลือกรับข่าวสารที่เป็นประโยชน์มากท่ีสุดในยุคปัจจุบันท่ีประกอบด้วยข้อมูลข่าวสารท่ี
ผา่ นส่อื ต่าง ๆ มากมายและหลากหลาย ดว้ ยเหตุน้ี การอ่านจงึ มคี วามจาเปน็ ในการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ
ทม่ี ุ่งฝกึ ฝนใหผ้ ูเ้ รียนมที กั ษะที่มปี ระสิทธิภาพ (ศริ ิพันธ์ ศรวี ันยงค์, 2552)

จากการสอนและศึกษาผู้เรียน พบว่า นักเรียนอ่านออกเสียงคาศัพท์ผิดพลาด และอาจทาให้ผู้ฟังไม่
สามารถเข้าใจในส่ิงที่จะส่ือความได้ ดังท่ี พ.อ.หญิงปัณฑิตา อัจฉริยาการุณ (2563) ได้กล่าวไว้ว่า
ภาษาองั กฤษจะเป็นเเบบ stress-timed language คือ จะออกเสียงเนน้ หนกั เฉพาะบางพยางค์ในคา (WORD
STRESS) หรือคาท่ีต้องการเน้นในประโยค (SENTENCE STRESS) ส่วนพยางค์หรือคาท่ีไม่เน้นเสียงหนักจะมี
การลดเสียงสระและพูดรวบรัดเหมือนพูดอยู่ในลาคอ เเต่ในขณะเดียวกัน ภาษาไทยน้ันจัดว่าเป็น syllable-
timed language คือเป็นภาษาท่ีออกเสียงเน้นหนักเท่ากันทุกพยางค์ในคา และทุกคาในประโยค ทาให้คน
ไทยส่วนใหญ่ใช้หลักการเดียวกันน้ีในการออกเสียงภาษาอังกฤษ ดังน้ันคนไทยควรให้ความสาคัญกับการเนน้
เสียงหนักในคาที่มีต้ังแต่สองพยางค์ข้ึนไป เเละการออกเสียงภาษาอังกฤษน้ันจะต้องรู้วิธีการออกเสียง
พยัญชนะให้ถูกต้องด้วย จึงส่งผลให้นักเรียนสื่อสารไม่ถูกต้อง และไม่กล้าเปล่งเสียงออกมาขณะที่มีกิจกรรม
การเรยี นการสอน ผวู้ ิจัยตระหนกั ถึงความสาคัญของการพัฒนาการอ่านออกเสยี งเน้นหนกั (Word Stress )ได้
ตามมาตรฐานการเรียนรู้ จึงได้วิเคราะห์สภาพการณ์ของการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในระดับช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนกาแพงวิทยา พบว่าปัญหาในการอ่านออกเสียงเน้นหนัก (Word Stress )ใน
คาศพั ทภ์ าษาองั กฤษไม่ไดห้ รือไม่ถูกต้องน้ันมีหลายสาเหตุ สาเหตุทีเ่ ปน็ ปัญหาเกยี่ วข้องหลายฝ่ายคือ นักเรียน
ขาดการเตรียมความพร้อมในระดับช้ันก่อนๆ และการจาคาศัพท์มาแบบผิดๆ ครูผู้สอนใช้สื่อการสอนน้อย
เกินไป จดั กิจกรรมการเรียนรู้ไมห่ ลากหลาย ไมเ่ นน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั

2

จากปัญหาและอุปสรรคดังกล่าวทาให้การอ่านออกเสียงเน้นหนัก (Word Stress) ในคาศัพท์
ภาษาอังกฤษอยู่ในขั้นท่ีต้องฝึกฝนอย่างมาก ผู้วิจัยจึงเห็นว่า มีความจาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องมีการพัฒนาการ
อา่ นออกเสียงเนน้ หนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษให้นักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 โดยใชช้ ุดคาศัพทจ์ ากบทเรียน
ซ่ึงเป็นการสร้างบรรยากาศในการเรียนการสอนที่สร้างความสนใจได้เป็นอย่างดีและมีประโยชน์ เพื่อพัฒนา
ผ้เู รยี นใหเ้ กิดคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ และเน้นทางดา้ นสติปัญญาหรือการคิดใหแ้ ก่ผู้เรียนครบทุกด้านท้ังทาง
รา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรูผ้ ่านกิจกรรมทเ่ี หมาะสมสอดคล้องกับวยั โดยจะชว่ ยสง่ เสริม
ให้มีทักษะการอ่านท่ีดีขึ้น ทาให้เกิดความเพลิดเพลินในการเรียน และได้รับประสบการณ์ตรงที่ผู้เรียนเต็มใจ
รับด้วยความสนุก ซึ่งจะช่วยใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรยี นรู้ได้ดีทีส่ ุด

ผู้วิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะพัฒนาการอ่านออกเสียงเนน้ หนัก (Word stress) ในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ
สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาชั้นปีท่ี 4 โดยมุ่งให้ผู้เรียนได้ฝึกกระบวนการเรียนรู้ทักษะกระบวนการทาง
ภาษาอังกฤษ เกิดการพัฒนาการเรียนรู้สร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง และสามารถนาความรู้ที่ได้ไป
ประยุกต์ใชใ้ นการเรยี นวชิ าภาษาองั กฤษอยา่ งมคี ุณภาพและประสิทธิภาพ

วตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย
1. เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ (Word Stress) โดยใช้ชุดคาศัพท์

จากบทเรียน สาหรับนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4
2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิการอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ (Word Stress)

โดยใชช้ ดุ คาศัพทจ์ ากบทเรียน สาหรับนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4

สมมติฐานของงานวิจัย
1. นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ท่ีได้รับการพัฒนาการอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์

ภาษาอังกฤษ (Word Stress) ใช้ชดุ คาศัพท์จากบทเรยี น มที ักษะการอ่านท่ีดีข้ึน
2. นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ท่ีได้รับการพัฒนาการอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์

ภาษาอังกฤษ (Word Stress) ใช้ชุดคาศัพทจ์ ากบทเรยี น มีผลสมั ฤทธ์ิหลงั เรยี นสูงกวา่ ก่อนเรียน

ขอบเขตของการวจิ ยั
ประชากร
ประชากรท่ใี ช้ในการวิจยั คร้ังนี้เป็นนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรียนกาแพงวทิ ยา

อาเภอละงู จังหวดั สตูล จานวน 3 หอ้ งเรียน รวมทัง้ ส้นิ 106 คน

กลมุ่ ตวั อยา่ ง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีเป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนกาแพงวิทยา

อาเภอละงู จังหวัดสตูล ปีการศึกษา 2564 จานวน 30 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random
Sampling) โดยวิธกี ารจบั ฉลาก

เนอื้ หาท่ีใชใ้ นการวจิ ยั
ชุดคาศัพท์ที่ใช้ในการพัฒนาในครั้งน้ี ได้แก่ คาศัพท์ท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรการศึกษาขั้น

พืน้ ฐาน 2551 และได้คดั เลือกจากหนงั สอื New Frontier 5 Unit 1-5 จานวน 50 คา

3

ระยะเวลาท่ีใช้
ในการวจิ ยั คร้งั นีด้ าเนินการในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 โดยใชเ้ วลาในการพฒั นา 20

คาบ คาบละ 50 นาที เปน็ เวลา 10 สปั ดาห์
ตัวแปรที่ศกึ ษา
ตวั แปรตน้ ได้แก่ การใช้ชุดคาศัพทจ์ ากบทเรยี น
ตัวแปรตาม ได้แก่
1. ความรดู้ ้านคาศัพทภ์ าษาอังกฤษ
2. ทักษะการอา่ นออกเสยี งเน้นหนัก (Word Stress)

4

บทที่ 2
เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

การพัฒนาการอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ (Word Stress) โดยใช้ชุดคาศัพท์จาก
บทเรียน สาหรบั นกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 ผู้วิจยั ไดศ้ กึ ษาคน้ ควา้ เอกสารและงานวจิ ัยตา่ ง ๆ ดังนี้

1. เอกสารที่เก่ียวขอ้ งกบั ชุดคาศัพทภ์ าษาอังกฤษ
1.1 คาศพั ทภ์ าษาอังกฤษ
- ความหมายของคาศพั ท์
- ความสาคญั ของคาศพั ท์
- ประเภทของคาศัพท์
- องคป์ ระกอบของคาศพั ท์
1.2 การเรยี นการสอนคาศพั ทภ์ าษาอังกฤษ
- หลักการเลือกคาศพั ทเ์ พ่อื นามาสอน
- วธิ ีการสอนคาศพั ท์
- การทดสอบความรดู้ า้ นคาศพั ท์

2. การออกเสียงคาศัพทภ์ าษาอังกฤษ
2.1 ความสาคัญของการออกเสยี งภาษาอังกฤษ
2.2 ปญั หาในการออกเสียงภาษาองั กฤษของคนไทย
2.3 สทั ศาสตร์กับการออกเสยี งภาษาอังกฤษ
2.4 เสียงพยญั ชนะ (Consonant Sounds)
2.5 เสียงสระภาษาอังกฤษ (Vowel Sounds)
2.6 ประโยชนใ์ นการออกเสียงภาษาองั กฤษท่ถี ูกต้อง

3. การออกเสยี งเนน้ หนัก (stress)
3.1 การออกเสียงเน้นหนักในคา
3.2 ระดับการลงเสยี งหนักเบาคา (Degrees of force in word stress)

4. วจิ ัยท่ีเกยี่ วข้อง
4.1 งานวิจัยในประเทศ
4.2 วจิ ัยตา่ งประเทศ

5

1. เอกสารที่เก่ยี วขอ้ งกับชดุ คาศัพทภ์ าษาองั กฤษ
1.1 คาศพั ท์ภาษาอังกฤษ
ความหมายของคาศพั ท์
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2530:853) ได้

ให้ความหมายของคาศัพท์ไว้ว่า คาศัพท์ หมายถึง กลุ่มเสียง เสียงพูด หรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์
ข้ึน เพ่ือแสดงความคิดเป็นคาหรือคายากท่ีต้องแปล มอร์ริส (Morris. 1979: 143) ได้ให้ความหมายของ
คาศัพท์ไว้ว่า คาศัพท์ หมายถึง คาทุก คาในภาษาที่ถูกใช้และเป็นที่เข้าใจในเฉพาะบุคคล วงสังคม วงการ
อาชีพ เช้ือชาติ หรือรายการคา หรือวลีท่ีถูกจัดเรียงตามระบบการเรียงอักษร พร้อมกับมีการอธิบาย
ความหมาย แปล หรือยกตัวอย่างประกอบ

ศิธร แสงธนู และ คิด พงษ์ทัต (2541: 35) ได้ใหค้ วามหมายของคาศัพท์ไว้ว่า คาศัพท์ หมายถงึ กลมุ่
เสียงกลุ่มหนึง่ ซงึ่ มที ั้งความหมายให้รู้วา่ เปน็ คน ส่ิงของ อาการหรือลักษณะอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง

จากความหมายของคาศัพท์ท่ีกล่าวมาแล้วนั้น สรุปได้ว่า คาศัพท์ คือ คา วลี หรือกลุ่มเสียงกลุ่มหน่งึ
ในภาษา ซ่งึ มีความหมายท่ีมนุษย์ในสงั คมใช้เป็นเครื่องมือสื่อความหมาย สอ่ื ความรคู้ วามคิดระหว่างบุคคลใน
สงั คมหรือชนชาติ

ความสาคัญของคาศัพท์
ในการเรียนภาษาอังกฤษนั้น สิ่งท่ีเป็นพื้นฐานท่ีสาคัญของผู้เรียนก็คือการเรียนรู้คาศัพท์มีนัก
การศกึ ษาและผู้เชยี่ วชาญไดก้ ลา่ วถึงความสาคญั ของคาศัพท์ภาษาองั กฤษไวด้ งั ต่อไปน้ี
สตีวิค (Stewick. 1972: 2) กล่าวว่า ในการเรียนภาษาน้ันการเรียนรู้คาศัพท์ของภาษาใหม่ ถือว่า
เป็นเรื่องท่สี าคัญมาก ความสาเรจ็ ในการเรียนภาษาต่างประเทศสวนหน่ึงน้นั ขนึ้ อยกู่ ับความสามารถในการใช้
องค์ประกอบของภาษาซึ่งประกอบด้วย เสียง โครงสรา้ งและคาศัพท์ ซ่งึ องคป์ ระกอบทั้งสามประการนีจ้ ะช่วย
ให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจเร่ืองที่ผู้อื่นพูด และสามารถพูดให้ผู้อ่ืนเข้าใจได้ คาศัพท์จึงนับเป็นหัวใจสาคัญอย่าง
หนึ่งในการเรียนภาษา โดยถอื ว่าผ้เู รยี นได้เรียนรู้ภาษาต่างประเทศกต็ อ่ เมอื่
1. ได้เรยี นรูร้ ะบบเสียง คือ สามารถพูดได้ดีและสามารถเข้าใจได้
2. ไดเ้ รียนร้แู ละสามารถใช้โครงสร้างของภาษานนั้ ๆ ได้
3. ได้เรยี นรูค้ าศัพท์จานวนมากพอสมควร และสามารถนามาใช้ได้
กาเดสซี่ (Ghadessy. 1998: 24) กล่าวว่า คาศัพท์มีความสาคัญยิ่งกว่าโครงสร้างทางไวยากรณ์
เพราะคาศัพท์เป็นพ้ืนฐานของการเรียนภาษา หากผู้เรียนมีความรู้เก่ียวกับคาศัพท์จะสามารถนาคาศัพท์มา
สร้างเป็นหน่วยท่ีใหญ่ขึ้น เช่น วลี ประโยค เรียงความ แต่หากไม่เข้าใจคาศัพท์ก็ไม่สามารถเข้าใจหน่วยทาง
ภาษาที่ใหญก่ วา่ ไดเ้ ลย ดงั นน้ั ในบรรดาองค์ประกอบทั้งหลายของภาษา "คา" เป็นสิง่ ทเ่ี รารู้จกั มากท่สี ุด ภาษา
ก็คือการนาคามารวมกัน (A language is a collection of words)
พิตรวัลย์ โกวิทวที (2540: 17) กล่าวว่า คาศัพท์มีความสาคัญและเป็นพื้นฐานในการที่จะนาไปใช้
ประโยชน์ในการสอ่ื สารทางภาษาทกุ ๆ ด้านโดยเฉพาะการสอนภาษาเพ่ือสื่อความหมาย
จากการศึกษาดังกล่าวข้างต้น พอสรุปได้ว่า คาศัพท์เป็นปัจจัยพ้ืนฐานในการเรียนภาษาทุกภาษา
เพราะการรู้คาศัพทช์ ่วยใหส้ ื่อความหมายได้ดี และการที่จาคาศัพท์ได้มากจะทาให้สามารถส่ือความหมายได้มี
ประสิทธภิ าพยิ่งขน้ึ

6

ประเภทของคาศพั ท์
นักภาษาศาสตร์ได้แบ่งประเภทของคาศัพท์ไว้หลายรูปแบบ ดังเช่น ฟินอคซิอาโร (Finocchiaro,
1983:136) ไดจ้ าแนกคาศพั ท์ออกเป็น 2 ประเภท ตามลักษณะของการใช้ ดังนี้
1. Active vocabulary คือ คาศัพท์ท่ีผู้เรียนไนระดับน้ัน ๆ ได้พบเห็นบ่อย ๆ ท้ังในการฟัง พูด อ่าน
และเขียน ควรจะใช้ให้เป็นและใช้ได้อย่างถูกต้อง ฉะนั้น คาศัพท์ประเภทน้ีครูจะต้องฝึกฝนบ่อย ๆ ซ้า ๆ จน
สามารถใช้คาในประโยคได้ ทั้งในการพูด (Speaking) และการเขียน (Writing) ซึ่งถือว่าเป็นทักษะข้ัน
Production คาศัพท์ประเภทน้ีได้แก่ คาศัพท์ที่เก่ียวกับบ้าน เวลา วัน เดือน ปี ฤดูกาลอากาศ อาหาร ส่วน
ต่างๆ ของร่างกาย เครื่องนุ่งห่ม ตลอดจนคาซ่ึงบรรยายลักษณะทางกายภาพ (Physical characteristics)
ไดแ้ ก่ รปู ร่าง สี น้าหนัก และรส
2. Passive vocabulary คือ คาศัพท์ที่ผู้เรียนในระดับนั้น ๆ พบเห็นและนาไปใช้น้อยการสอน
คาศัพท์ประเภทนี้มุ่งเพียงสอนให้รู้ความหมาย ไม่จาเป็นต้องฝึกเหมือน Active vocabulary ทั้งนี้เนื่องจาก
ผู้เรียนในระดับน้ันยังไม่จาเป็นต้องใช้ แต่คาศัพท์เหล่าน้ีอาจกลายเป็น Active vocabulary เมื่อผู้เรียนนั้น
เรียนรู้ในระดับสูงขึ้น ขณะเดียวกัน เดลและคณะ (Dale and others. 1999:37-38) ได้จาแนกคาศัพท์
ออกเปน็ 2ประเภท คอื
1. Content Words คือ คาศัพท์ประเภทที่เราบอกความหมายไดโ้ ดยไม่ต้องข้ึนอยู่กับโครงสร้างของ
ประโยค เป็นคาศัพท์ที่มคี วามหมายตามพจนานุกรม หรือเปลย่ี นความหมายไป เมื่ออยใู่ นตาแหน่งท่ีตา่ งกันใน
ประโยค ไดแ้ ก่ คานาม คากรยิ า คาคณุ ศัพท์ และคาวิเศษณ์
2. Function Words คอื คาทมี่ คี วามหมายในตวั เองน้อยมาก หรือไม่อาจกาหนดความหมายใหไ้ ดเ้ มื่ออยู่โดด
ๆ แต่เม่ือคาเหล่าน้ีปรากฏในประโยคแล้วจะทาให้ประโยคน้ันได้ใจความถูกต้องตามโครงสร้างของภาษา
ไดแ้ ก่ คาสรรพนาม และคาบพุ บท
กล่าวโดยสรุปได้ว่า ประเภทของคาศัพท์นั้นแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทตามลักษณะการแบ่งของ
นักภาษาศาสตร์แต่ละคน นักภาษาศาสตร์คนแรกจาแนกได้ว่า คาศัพท์มีทั้งคาที่ผู้เรียนในแต่ละระดับได้พบ
เห็นในชีวิตประจาวันและคาศัพท์ท่ีพบเห็นน้อยคร้ัง นักภาษาศาสตร์อีกท่านหนึ่งจาแนกออกเป็น คาศัพท์ท่ี
บอกความหมายได้โดยไม่ต้องข้ึนอยู่กับโครงสร้างของประโยคและคาศัพท์ท่ีมีความหมายในตัวเองน้อยมาก
แตเ่ ม่อื อยู่ในประโยคแลว้ ทาให้ได้ใจความถูกต้องตามโครงสร้างทางภาษา ซึง่ แตล่ ะประเภทจะต้องใช้วิธีสอนท่ี
แตกต่างกนั โดยคานงึ ถงึ ความสามารถท่จี ะนาไปใชใ้ นการส่อื สารให้เหมาะสม

องคป์ ระกอบของคาศัพท์
ชมทิ (Schmitt. 2000: 35) กล่าวถงึ องคป์ ระกอบหลกั ท่สี าคัญของคาศัพทภ์ าษาอังกฤษไว้
1. รูปคา (Form) คือ รูปรา่ งหรอื การสะกดตวั ของคานั้นๆ แบง่ ออกได้เป็น

1.1 รูปคาในการเขียน (Written Form หรอื Orthographical)
1.2 รูปคาในการพูด (Spoken Form หรือ Phonological)
2. ความหมาย (Meaning) คือ ความหมายของคาศัพท์น้ันๆ ซึ่งจะเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่าง
คาศพั ท์น้นั กับสงิ่ ทอ่ี ้างถงึ หรอื สิ่งท่เี กี่ยวขอ้ งดว้ ย
กล่าวโดยสรุป องค์ประกอบหลกั ของคาศพั ทภ์ าษาอังกฤษมี 2 ประการ คอื รปู คาและความหมาย

7

1.2 การเรียนการสอนคาศพั ทภ์ าษาอังกฤษ
หลักการเลือกคาศพั ท์เพื่อนามาสอน
แม็ควอร์เทอร์ ( McWhorter. 1990:52 ) กล่าวว่า ในการเลือกคาศัพท์ ผู้สอนควรเลือกคาศัพท์ท่ีมี
ประโยชน์และใช้มากกับตัวผู้เรียน แต่กข็ นึ้ อยู่กับองค์ประกอบที่ต่างกันไป สงิ่ ท่สี าคัญที่ต้องพิจารณา คือ ต้อง
เป็นคาศัพท์ที่สอดคลอ้ งกับเป้าหมายในการเรยี นหรอื แผนงานท่สี ามารถนาไปใชห้ รอื มสี วนเกีย่ วข้องมากที่สุด
แมค็ คีย์ (Mackey. 1997: 176-177) กล่าวว่า หลักการในการเลือกคาศัพทม์ าสอนนกั เรยี นมี ดงั น้ี
1. คาศัพท์ท่ีผู้เรียนอ่านหรือได้ยินโดยนับคาที่ปรากฎบ่อยท่ีสุดหรือมีความถ่ีในการใช้มากแล้วจึง
คดั เลือกคาศัพทน์ นั้ มาสอนเพื่อให้นักเรยี นรู้จกั และนามาใช้อย่างถกู ตอ้ ง
2. คาศัพท์ที่ปรากฏนั้นควรจะมาจากหนังสือหรือตาราหลายๆ เล่ม หลายๆ สถานการณ์เพราะคาที่
จะหาไดจ้ ากหลายแหล่งย่อมมคี วามสาคญั มากกว่าคาท่ีจะพบเฉพาะในหนงั สือเล่มใดเล่มหน่งึ อย่างเดยี ว
3. คาศัพท์ท่ีมีความจาเป็นสาหรับสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง ควรจะนามาสอนถึงแม้จะไม่
ปรากฏบ่อย เช่น คาว่า blackboard เป็นคาศัพท์ที่เกี่ยวกับห้องเรียนท่ีครูและนักเรียนจาเปน็ ต้องใช้คานี้ แม้
จะไม่ปรากฏบอ่ ยในสถานการณ์อ่นื ก็ตาม
4. คาศพั ท์คาหนึง่ อาจครอบคลมุ ได้หลายความหมายหรอื สามารถใช้คาอื่นแทนได้ ควรพิจารณาเลือก
นามาสอนเพื่อใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจยงิ่ ขนึ้
5. คาศพั ท์ทเ่ี ลอื กมาสอนควรคานึงถึงคาท่ีเรียนรู้ได้งา่ ย ซึ่งมีองค์ประกอบท่ีเกย่ี วขอ้ งคือ

5.1 คาศัพทบ์ างคาที่เลอื กนามาสอนเพราะมีความคลา้ ยคลึงกบั ภาษาเดมิ ของผูเ้ รียน
5.2 คาศัพท์บางคามีความหมายชดั เจน ทาให้นักเรียนเขา้ ใจงา่ ย
5.3 คาศัพท์ทส่ี ัน้ ออกเสียงไดง้ ่าย ทาให้นกั เรียนสามารถจดจาไดร้ วดเรว็
5.4 คาศัพท์ที่ผู้เรียนเคยเรียนผ่านมาแล้ว เม่ือนามาผสมเป็นคาศัพท์ใหม่ทาให้ง่ายต่อการ
เข้าใจและการจา
หลักการดังกล่าวสอดคล้องกับ ลาโด (Lado. 1986: 119-120) เป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นบางข้อท่ีลาโด
ได้เสนอเพ่ิมเติมเกยี่ วกบั หลกั การเลอื กคาศัพทเ์ พอื่ นามาสอนไว้ ดงั นี้
1. ควรเป็นคาศพั ทท์ ่ีมีความสมั พันธก์ ับประสบการณ์และความสนใจของผู้เรียน
2. ควรมีปริมาณของตัวอักษรในคาศัพท์เหมาะสมกับระดับอายุ และสติปัญญาของผู้เรียน เช่น
ในระดบั ประถมศกึ ษาตอนต้น ก็ควรนาคาศพั ทส์ ้ันๆ มาสอน
3. ควรมีคาศัพท์ไม่มากเกนิ ไปหรอื น้อยเกินไปในบทเรยี นหนงึ่ ๆ แตค่ วรเหมาะสมกับระดับของผู้เรียน
4. ควรเป็นคาศัพท์ที่ผู้เรียนมีโอกาสนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น นาไปพูดสนทนาหรือพบเห็น
คาศพั ท์นัน้ ๆ ตามป้ายโฆษณา เปน็ ตน้
สรุปได้ว่า การเลือกคาศัพท์สาหรับการสอน ควรพิจารณาเลือกคาศัพท์ที่ปรากฎบ่อยใน
ชีวิตประจาวัน โดยคานึงถึงความหมายของคาศัพท์ที่เหมาะสมกับรูปประโยคท่ีจะสอน และเป็นคาศัพท์ท่ีมี
ประโยชน์และใช้มากกบั ตวั ผู้เรียน เป้าหมายในการเรยี น โดยเฉพาะการเลอื กสรรคาศัพท์จะตอ้ งคานงึ ถึงความ
เหมาะสมกบั ระดับอายุ วฒุ ิภาวะ และการนาไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ

วิธีการสอนคาศัพท์
นักการศกึ ษาหลายท่านได้กล่าวถึงวธิ ีการสอนคาศัพท์ ดงั นี้
อรพนิ พจนานนท์ (2537: 43-45) ได้กลา่ ววา่ ในการสอนคาศพั ท์ ครูควรจะต้องตระหนักอยเู่ สมอว่า
มใิ ช่การสอนเพียงใหเ้ ดก็ เขียนไดเ้ ทา่ น้นั การสอนคาศัพทม์ ีขั้นตอนการสอนดังนี้ คือ

8

1. สอนให้ร้คู วามหมายของศัพท์
วิธีการ : ครูพูดคาศัพท์ พร้อมทั้งใช้ภาพและของจรงิ ประกอบการพูดทุกครั้ง ในข้ันน้ีเด็กได้ฝึกทักษะ
การฟงั และได้ความหมายของคาศัพท์จากของจรงิ
2. สอนใหน้ ักเรยี นออกเสยี งคาศพั ท์
วิธีการ : ครูชภาพให้นักเรียนดู นักเรียนออกเสียงคาศัพท์ตามภาพ ถ้านักเรียนพูดไม่ถูก ครูพูดนาให้
นักเรยี นพูดตาม
3. สอนใหน้ ักเรยี นอา่ นคาศพั ท์
วิธีการ : เมื่อนักเรียนพูดคาจากภาพได้แล้ว ครูนาบัตรคามาให้นักเรียนดู ครูอ่านนาให้นักเรียนอ่าน
ตามจนคล่อง แล้วฝกึ ใหเ้ ดก็ สะกดคาโดยใชเ้ ทคนคิ หลากหลายไมใ่ หเ้ ดก็ เบอ่ื เชน่

3.1 เขียนคาศพั ท์บนกระดานให้สะกดพร้อมกัน แลว้ ลบอักษรทีละตวั ตอ่ จากนัน้ ให้พดู ซ้า ๆ
จนสามารถจาไดโ้ ดยไม่ต้องมีอักษรใหด้ ู

3.2 ใหน้ ักเรียนในช้นั พูดอักษรคนละตวั เรียงกันไปอยา่ งรวดเรว็ เชน่
คนท่ี 1 = m, คนท่ี 2 = i, คนที่ 3 = เ, คนที่ 4 = k จนครบได้คาว่า milk และให้เด็กพูดจนครบทุก
คนและสรปุ ตอนท้ายโดยให้สะกดพรอ้ มกนั ทุกคน

3.3 ถา้ คาศพั ทน์ ้นั มีมากกว่า 1 พยางค์ ใหแ้ บ่งพยางค์และสะกดเป็นจงั หวะ เชน่
Carpenter: car - pen -ter
วธิ ีสะกด c-a-r ตบมอื 2 ครั้ง

p-e-n ตบมอื 2 ครงั้
t-e-r ตบมือ 2 ครง้ั
วิธีการสะกดคาดังกล่าวนี้อาจดัดแปลงใหห้ ลากหลายได้ เช่น เปลี่ยนแปลงให้สะกดในใจ ให้พูดโดยมี
ท่าทางการพูดตามปกติ แตไ่ ม่ใหอ้ อกเสียงหรืออาจจะใชส้ อื่ การสอนต่างๆ เชน่ ในกิจกรรม
3.1 ครอู าจใชบ้ ัตรตัวอักษรใสใ่ นกระเปา้ ผนงั แล้วดงึ ออกทีละตัว หรอื ใชบ้ ตั รอักษรท่ีพบั ไปดา้ นหลังได้
เมือ่ ให้เด็กสะกดก็พบั ไปด้านหลังทีละตัว เป็นตน้
4. สอนใหเ้ ด็กเขยี นศัพท์
วิธีการ : ในข้ันนเ้ี ดก็ ทุกคนสามารถสะกดคาได้แล้ว ฝกึ ใหเ้ ดก็ ได้นาคาท่สี ะกดได้ไปใช้ในประโยค โดย
ครูอาจมีแถบประโยคหรือบทสนทนาท่ีเว้นคาบางคาไว้ แล้วให้เด็กได้นาคาศัพท์ท่ีได้ฝึกฟัง พูด อ่าน แล้วไป
เขียนในประโยคใหถ้ กู ตอ้ ง
ศิธร แสงธนู และ คิด พงศทัต (254 1:39-40) มีความเห็นว่าในการสอน คาศัพท์นั้นผู้สอนควรมี
จุดมุ่งหมายของตนเองว่าเม่ือสอนผู้เรียนควรจะมีความรู้อย่างไร ซ่ึงจุดมุ่งหมายของผู้สอนแต่ละคนอาจจะไม่
เหมือนกนั ก็ได้ แต่จดุ มงุ่ หมายใหญ่ ๆ มอี ยู่ 3 ประการ คือ
1. สอนให้ผู้เรียนรู้ความหมายของคาศัพท์ คือสามารถจาและบอกความหมายได้ทันทีท่ีอ่าน เขียน
หรือได้ยินคาศัพท์นั้น ๆ การที่จะสอนให้ผู้เรียนรู้ความหมายของคาศัพท์น้ันมีกลวิธีหลายประการ เช่น การ
แสดงประกอบ การใชร้ ูปภาพ ใชข้ องจรงิ ใชข้ ้อความ เป็นตน้
2. สอนให้ผู้เรยี นออกเสยี งคาศัพท์ได้ถูกต้อง การท่จี ะให้ผู้เรียนออกเสียงได้ถูกต้อง ครูจะตอ้ งสอนให้
ผู้เรียนออกเสียงทีละคา เพราะคาในภาษาอังกฤษส่วนใหญ่ไม่ได้ออกเสียงตามตัวสะกดเสมอไป การสอนให้
ออกเสียงไดถ้ กู ตอ้ งนนั้ เป็นการเพมิ่ ทักษะในการฟัง การพดู การอา่ น และการเขียนได้อกี ดว้ ย

9

3. สอนให้ผู้เรียนสามารถใช้คาศัพท์น้ันในประโยคต่าง ๆ ได้โดยให้มีความสัมพันธ์กับโครงสร้างและ
ไวยากรณ์ของภาษาได้อย่างคล่องแคล่วและถูกต้อง ท้ังด้านภาษาเขียน ภาษาอ่านและภาษาพูด ตามความ
นิยมของเจา้ ของภาษาด้วย

กล่าวโดยสรปุ ได้ว่า วิธีในการสอนคาศัพท์น้ันมีหลกั สาคัญดังน้ีคือเรม่ิ สอนให้ผูเ้ รียนรู้ความหมายเป็น
อันดับแรก โดยใช้เทคนิคต่างๆ เช่น ใช้ของจริง รูปภาพ เป็นต้น หลังจากนั้นสอนให้ผู้เรียนออกเสียงคาศัพท์
นั้นๆ ให้ถูกต้อง ลาดับสุดท้ายจึงสอนให้ผู้เรียนรู้ถึงรูปของคาศัพท์หรือเขียนคาศัพท์เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ
นาไปใช้ในประโยคหรือนาไปใชใ้ นการฟงั พดู อ่าน และเขียนได้

การทดสอบความรู้ด้านคาศพั ท์
เม่ือผู้เรียนได้เรียนรู้คาศัพท์ไปแล้ว ครูควรมีการวัดประเมินผลการเรียน เพื่อให้ทราบว่าผู้เรียนมีการ
เพิ่มพูนความรู้มากเพียงใดโดยทาการทดสอบความรู้ด้านคาศัพท์ มีนักการศึกษาหลายท่านได้ กล่าวถึงการ
ทดสอบความรู้ด้านคาศัพท์ ไว้ดงั นี้
รีด (Read . 2000 : 28) กลา่ ววา่ องคป์ ระกอบในการวัดความสามารถด้านคาศพั ท์สามารถดูได้จาก
1. การใช้คาศพั ท์ในบริบท คือ การนาคาศพั ทไ์ ปใช้ใหถ้ ูกความหมายในประโยคตามสถานการณ์นน้ั ๆ
2. การมีความรู้และกระบวนการพ้ืนฐานท่ีสาคัญของคาศัพท์ คือ ความรู้เก่ียวกับปริมาณและ
ประเภทของคาศัพท์ ตลอดจนกระบวนการใช้คาท่รี วดเรว็ และเป็นอัตโนมัติ
3. วิธีการใช้คาศัพท์ในการสื่อสาร ส่วนมากวัดได้จากการพูดและการเขียนระวิวรรณ ศรีคร้ามครัน
(2539: 160-164) กล่าวถึง แบบทดสอบสาหรับวัดความสามารถของผู้เรียนในด้านคาศัพท์ว่า ควรจะเน้นให้
ผู้เรียนได้เข้าใจความหมายของคาศัพท์ในรูปของประโยคที่ถูกต้อง และไม่ควรใช้รูปประโยคหรือใช้ไวยากรณ์
ในโครงสรา้ งของประโยคซง่ึ ทาใหย้ ุ่งยากซบั ซ้อนและยากต่อความเข้าใจ ในทานองเดียวกันการทดสอบในด้าน
ไวยากรณ์ไม่ควรใช้คาศัพท์ที่ยากเกินความสามารถของผู้เรียนด้วย แบบทดสอบคาศัพท์ของผู้เรียนนั้นมีอยู่
หลายประเภทซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็นแบบทดสอบแบบปรนัย (Objective tests) ซึ่งแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ
ดังนี้
1. แบบให้เลือกตอบ (Mutiple choices) แบบทดสอบแบบน้ีเป็นที่นิยมใช้กันมาก โดยการสร้าง
แบบทดสอบคาศัพท์อาจจะทดสอบความหมายของคาศัพท์เป็นคาโดดหรือในรูปประโยคก็ได้ แบบทดสอบ
ประเภทนมี้ อี ยู่ 2 รปู แบบ คอื
1.1 ให้เลือกคาที่มีความหมายใกล้เคียงกับคาที่กาหนดให้ในประโยค แบบทดสอบชนิดน้ีจะเปน็ แบบ
Recognition item ซ่งึ อาจจะสรา้ งแบบทดสอบชนดิ นี้ไดห้ ลายรูปแบบ คอื

1.1.1 ใชร้ ปู ภาพเป็นคาถามหรือตัวต้ัง (stem) และใหน้ ักเรียนเลือกคาตอบที่เหมาะสมที่สุด
สอดคล้องกับรูปภาพที่กาหนดให้ ซ่งึ แบบทดสอบนจ้ี ะเหมาะสมกับนักเรียนในระดบั ต้น

1.1.2 กาหนดใหต้ วั ต้งั เป็นคาอธบิ าย สาหรับตวั เลือกจะเปน็ คาจากัดความ
1.1.3 ใหน้ กั เรยี นเลือกคาศัพทท์ ี่มคี วามหมายใกล้เคียงกับคาที่กาหนดให้
1.1.4 กาหนดให้ตัวตั้ง เป็นประโยค ซึ่งนักเรียนจะต้องเลือกจากตัวเลือกอาจจะเป็นคาหรือ
วลีก็ได้ให้ได้ความหมายใกล้เคียงกับคาที่กาหนดให้ในประโยค โดยให้ความหมายน้ันสอดคล้องกับ
ใจความของประโยคในลักษณะเดิมด้วย ข้อสอบชนิดน้ีจะสามารถทดสอบความรู้ในด้านคาศัพท์ของ
ผเู้ รียนได้เปน็ อย่างดี เน่ืองจาก คาศพั ทจ์ ะมคี วามหมายเปลยี่ นแปลงไปเมื่ออยใู่ นบรบิ ทท่แี ตกตา่ งกนั
1.2 ให้เลือกคาตอบจากตัวเลือกเพ่ือใส่ลงในช่องว่างของประโยคท่ีกาหนดให้ เพื่อให้ได้ประโยคที่มี
ใจความสมบูรณ์และถูกต้อง แบบทดสอบชนิดนี้จะยากกว่าแบบทดสอบชนิดแรก ซ่ึงผู้เรียนจะต้องเข้าใจ

10

ความหมายของข้อความท้ังประโยค (Contex) จึงจะสามารถเลือกคาตอบให้ได้ความหมายสอดคล้องกับ
ประโยคตามท่ีต้องการรวมท้งั ความหมายของคาศัพท์และความถูกตอ้ งในดา้ นไวยากรณด์ ว้ ย

2. ให้เลือกตอบคาที่มีความสัมพันธ์กัน (Associated words)ลักษณะของแบบทดสอบประเภทนี้ให้
นักเรียนได้รู้จักเลือกคาที่คิดว่ามีความสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องกันมากท่ีสุด โดยนาคาท่ีอยู่ในกลุ่มเดียวกัน พวก
เดยี วกันหรอื คาที่เก่ียวข้องสมั พนั ธ์กันมาเลือกตอบ แบง่ ออกเป็น 2 ชนิด คือ

2.1 Recognition ให้เลือกคาท่ีมีความหมายเกี่ยวข้องกับคาที่กาหนดให้จากกลุ่มคาที่
กาหนดให้ในแตล่ ะกลมุ่

2.2 Production ให้ผู้เรียนระบุประเภทหรือชนิดของกลุ่มคาท่ีกาหนดให้ ซ่ึงมีส่วนสัมพันธ์
หรอื เกย่ี วขอ้ งกนั
3. การจับคู่ (Matching) แบบทดสอบประเภทนี้ เป็นการทดสอบความหมายของคาศัพท์ในประโยค
ท่ีต้องการ หรือเป็นการทดสอบการใช้คา Idiom และ Function word ต่าง ๆ ให้ได้ความหมายท่ีถูกต้องใน
ประโยค เช่น

3.1 กาหนดกลุ่มคา และให้ผู้เรียนเลือกคาเติมลงในช่องว่างของประโยคหรือข้อความให้
ถูกตอ้ งไดใ้ จความ

3.2 กาหนดกลุ่มคาและให้ผู้เรียนเลือกกลุ่มคาท่ีถูกต้องเหมาะสม เติมในประโยคให้ได้
ใจความสมบรู ณ์

3.3 กาหนดคาและกลุ่มคา เพ่ือให้ผู้เรียนเลือกกลุ่มคาท่ีมีความหมายใกล้เคียงกับคาที่
กาหนดให้

3.4 กาหนดคาให้ 2 กล่มุ โดยใหจ้ บั คู่คาทมี่ ีความหมายเกี่ยวขอ้ งกับคาท่ีตอ้ งการจากกลุ่มคา
ท่ีกาหนดให้
4. การเติมคา (Completion) แบบทดสอบชนิดนี้ สามารถใช้ทดสอบความหมายของคาศัพท์ใน
ลักษณะของคาหรือในรปู ประโยคได้ ซึ่งมอี ยู่หลายรปู แบบ เช่น
4.1 ใหเ้ ติม prefix หรือ Suffix ลงในช่องว่าง
4.2 ให้เติมคาลงในชอ่ งวา่ ง โดยกาหนดตัวอักษรให้บางตัวในแต่ละคา
5. รปู แบบอนื่ ๆ นอกเหนือจากรปู แบบทดสอบดงั กลา่ วแลว้ ครูยังสามารถสร้างขอ้ สอบได้อีกหลายลักษณะ ใน
แบบของขอ้ สอบแบบปรนยั (Objective tests) คือ
5.1 ให้ผู้เรียนเปล่ียนคา (word formation) ให้สอดคล้องกับลักษณะของคาท่ีใช้ในประโยคให้
ถกู ต้องทั้งความหมาย และลักษณะของไวยากรณ์
5.2 ให้ผู้เรียนเขียนคาที่มีความหมายตรงตามคาท่ีกาหนดให้ ทางด้านซ้ายมือและอ่านออกเสียงคาท่ี
อยูข่ วามือ
5.3 ให้ผู้เรียนเขียนคาที่มีความหมายเช่นเดียวกับคาท่ีกาหนดให้ในประโยค ซึ่งข้อทดสอบแบบนี้
ผู้เรียนจะตอ้ งมีความรู้ความสามารถ เข้าใจความหมายและรู้จักคาศัพทเ์ ป็นจานวนมากพอสมควร
สรุปได้ว่า การทดสอบความรู้คาศัพทแ์ บง่ ออกไดต้ ามชนดิ ของแบบทดสอบ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ในการ
วัดความรู้คาศัพท์แตกต่างกันไป ได้แก่ แบบทดสอบวัดความสามารถทางด้านคาศัพท์ ใช้วัดความสามารถ
ทางด้านคาศัพท์โดยรวมของผู้เรียน แบบทดสอบที่ใช้วัดเกี่ยวกับการเรียนรคู้ าศัพท์ใช้วดั ความสามารถในการ
จาและการระลึกได้ของคาศัพท์ท่ีผู้เรียนได้เรียนไปแล้ว และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนร้คู าศัพท์
ใช้ประเมินความรูใ้ นด้านคาศพั ทข์ องผเู้ รียนในกระบวนวิชาการสอนภาษา

11

2. การออกเสียงคาศพั ทภ์ าษาองั กฤษ

2.1 ความสาคัญของการออกเสยี งภาษาอังกฤษ

ความสาคญั ของการออกเสียงภาษาอังกฤษ การออกเสยี งมีอิทธิพลอย่างย่ิงต่อประสิทธิภาพในการใช้

ภาษาในการส่ือสารของมนุษย์จึงเป็นสิ่งสาคัญท่ีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองหรือภาษาต่างประเทศ

จะต้องมคี วามเข้าใจในระบบเสยี งของภาษา ฮวิ วงิ ส์ (Hewings, 2004) ไดใ้ ห้ความเห็นว่าการออกเสียงเป็นสิ่ง

ท่ีสาคัญต่อการพูดและการฟังในการสื่อสาร สาหรับความสาคัญต่อการพูดนั้น ผู้พูดจาเป็นต้องออกเสียงให้

ชัดเจนและถูกต้อง สาหรับการฟัง ผู้ฟังจะต้องสามารถวิเคราะห์คาพูดท่ีได้ยินตามหน่วยเสียงในระบบเสียง

เพื่อตีความตามความหมายได้อย่างถูกต้อง ดังน้ันการออกเสียงพยัญชนะและสระในภาษาอังกฤษจึงเป็น

องคป์ ระกอบท่ีสาคญั ในการเรียนภาษา

การออกเสียงมีความสาคัญและเป็นทักษะที่จาเป็นในการเรียนรู้เพราะหากผู้เรียนไม่สามารถอ่าน
ออกเสียงได้ก็จะทาให้การเรียนแต่ละคร้ังพบปัญหาและอุปสรรคมากมาย นักวิชาการไทยพบว่ามีเสียง
พยัญชนะภาษาอังกฤษอยู่หลายเสียงท่ีไม่มีในภาษาไทยและมีเสียงจานวนหนึ่งที่คล้ายกับเสียงภาษาไทย คน
ไทยจงึ ใชเ้ สียงของภาษาไทยแทนเสยี งภาษาอังกฤษซึ่งไม่ถูกต้อง การใช้เสียงภาษาไทยแทนมักทาใหเ้ กิดความ
ไม่เข้าใจหรือบางครั้งความหมายของคาก็เปลี่ยนไปเลย ดังนั้นจึงจาเป็นต้องออกเสียงภาษาอังกฤษให้ถูกต้อง
(พลเรอื เอกชุมศักด์ิ มัธยมจนั ทร์, 2547) การออกเสยี งภาษาอังกฤษน้นั จะต้องรวู้ ธิ ีการออกเสียงพยัญชนะและ
สระในภาษาอังกฤษให้ถูกต้องด้วย เช่น เสียง / f / เวลาออกเสียงจะใช้ฟันบนสัมผัสริมฝีปากล่างแล้วเปล่ง
เสียงใหล้ มมันเสยี ดแทรกออกมา โดยมีการสนั่ ทเ่ี สน้ เสยี งดว้ ย ฟงั ดคู ล้ายๆเสยี ง / ฟ / สรุปไดว้ ่า การออกเสยี ง
ภาษาอังกฤษเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษ ในด้าน
การอ่านออกเสียงคาศัพท์ใหม่ๆ และช่วยให้ผู้อ่านเกิดความมั่นใจมากย่ิงขึ้น การออกเสียงที่ถูกต้องสาคัญต่อ
การพูดและการฟังในการสื่อสารและยังช่วยสื่อความหมาย ซ่ึงช่วยให้เกิดประสิทธิภาพและเป็นผลดีต่อการ
ดาเนนิ ชวี ติ ในทุกสาขาอาชพี

2.2 ปญั หาในการออกเสียงภาษาอังกฤษของคนไทย
ปัญหาและอุปสรรค์ในการศึกษาภาษาอังกฤษในประเทศไทยมีหลายประการ การออกเสียงที่ถูกต้อง
ตามเจา้ ของภาษาและการออกเสยี งภาษาองั กฤษบางคาก็ยงั คงเปน็ ปัญหาสาคญั สาหรบั คนไทย
ถิรวัฒน์ ตันทนิส (2555) พบว่า นักศึกษาชาวไทยมีปัญหาในการออกเสียงเรียงลาดับจากมากท่ีสุด
ไปน้อย ดังน้ี ตาแหน่งพยัญชนะต้น คือ /θ/,/ð/, /v/, /r/, /z/, /ʃ /, /ʒ/, /ʧ/ ตาแหน่งพยัญชนะท้าย คือ
/ʒ/, /ʤ/, /ʃ /, /θ/, /ð/,/z/, /ʧ/, /ɡ/, /l/ และเสียงสระ คือ /ə/,/ɒ/, /ɑ/, /ɒɪ/, /ʊə/ ซึ่งสาเหตุ
เกิดจากไม่มีเสียงเหล่านี้ในระบบเสียงภาษาไทย นักศึกษาจึงใช้เสียงภาษาไทยแทนถือเป็นอิทธิพลจากการ
แทรกแซงของภาษาแม่และเปน็ กระบวนการทาให้การออกเสยี งง่ายขึน้
แอเวอร์รี่และเอิร์ลลิช (Avery & Ehrlich, 1992) ได้ศึกษาปัญหาในการออกเสียงภาษาอังกฤษ และ
พบว่าเสียงพยัญชนะในตาแหน่งท้ายคาประเภทเสียงกักท่ีเป็นเสียงโฆษะ (voicing of final stop
consonants) ได้แก่ /b, d, g/ เป็นปัญหาในการออกเสียงสาหรับผู้ท่ีเรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองหรือ
ภาษาต่างประเทศ เพราะผู้เรียนจะแทนที่เสียงเหล่านี้ด้วยเสียงพยัญชนะกักประเภทอโฆษะ (voiceless
stop) /p, t, k/ ส่วนเว่ยโหยวและเจ้าหยาลุน (Wei You Fu & Zhou Ya Lun, 1999) พบว่าปัญหาในการ
ออกเสียงภาษาอังกฤษเกิดจากการกลมกลืนเสียงภาษาไทยเข้ากับเสียงภาษาอังกฤษ แม้ว่าคนไทยเรียน
ภาษาอังกฤษ คนไทยส่วนใหญ่ไม่ได้ถูกสอนให้เข้าใจถึงระบบเสียงภาษาอังกฤษอย่างละเอียด ผู้เรียน

12

ภาษาอังกฤษส่วนใหญ่จะเลียนแบบการออกเสียงภาษาอังกฤษจากรูปแบบการออกเสียงในแบบของครูชาว
ไทย

พ.อ.หญิงปัณฑิตา อัจฉริยาการุณ, 2563 ได้กล่าวไว้ว่า ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาทักษะการ
พูดภาษาอังกฤษของคนไทยส่วนหนึ่งน้ันมาจากการออกออกเสียงผิด ภาษาไทยจัดว่าเป็น syllable-timed
language คือเป็นภาษาท่ีออกเสียงเน้นหนักเท่ากันทุกพยางค์ในคา และทุกคาในประโยค ทาให้คนไทยส่วน
ใหญใ่ ช้หลักการเดียวกันน้ีในการออกเสียงภาษาอังกฤษ ซง่ึ ยังไมค่ ่อยถูกต้องนัก เชน่ คาวา่ tiger หลายคนคุ้น
กับการออกเสียงว่า ไท เก้อร จะเน้นหนักทั้งสองพยางค์ จริงๆแล้วคาน้ีเจ้าของภาษาจะออกเสียงว่า TI-ger
(ไท้ - เกอะ) จะเน้นเสียงหนักพยางค์แรก ส่วนพยางค์ท่ีสองจะออกเสียงเบาๆท่ีเป็นเช่นนี้เน่ืองจาก
ภาษาอังกฤษจัดได้ว่าเป็น stress-timed language คือ จะออกเสียงเน้นหนักเฉพาะบางพยางค์ในคา
(WORD STRESS) หรือคาที่ต้องการเน้นในประโยค (SENTENCE STRESS) ส่วนพยางค์หรือคาที่ไม่เน้นเสียง
หนักจะมีการลดเสียงสระและพูดรวบรัดเหมือนพูดอยู่ในลาคอ ดังนั้นคนไทยควรให้ความสาคัญกับการเน้น
เสยี งหนักในคาท่ีมีตง้ั แต่สองพยางค์ขึน้ ไปนั่นคือ การเนน้ เสยี งหนักเฉพาะพยางค์ในคา (Stress)

เออร์(Ur, 2000) อธิบายถึงสาเหตุของข้อผิดพลาดในการออกเสียงภาษาอังกฤษว่าแบ่งออกเป็น 3
ประเดน็ คือ

1. เสียงบางเสียงในภาษาอังกฤษไม่มีอยู่ในภาษาแม่ ทาให้ผู้เรียนไม่คุ้นเคยกับการออกเสียงเหล่านน้ั
จึงแทนท่เี สียงเหลา่ นั้นโดยเสียงท่ใี กล้เคยี ง

2. เสยี งบางเสียงเป็นเสียงที่มีอยู่ในภาษาแม่ แต่ไมไ่ ด้ถือเปน็ หน่วยเสียงที่แยกออกมาอย่างชัดเจน จึง
ทาให้ผู้เรยี นไมส่ ามารถเรียนรู้เสียงดังกล่าววา่ สามารถทาให้เกิดความแตกตา่ งทางความหมายได้

3. บางครงั้ ผเู้ รยี นออกเสียงถูกตอ้ ง แตผ่ ู้เรยี นไม่ได้เรยี นร้ถู งึ การลงเสียงหนกั (stress) ในระดับคาหรือ
บางครัง้ ผู้เรยี นใชท้ านองเสียง (intonation) ของภาษาแม่มาใช้ในภาษาอังกฤษ จึงสง่ ผลให้เกดิ ความเขา้ ใจผิด
ในการส่อื ความหมายได้

2.3 สัทศาสตรก์ บั การออกเสียงภาษาอังกฤษ
สัทศาสตร์ (Phonetics) จาเป็นและสาคัญสาหรับการส่ือสาร มันช่วยอธิบายการออกเสียง
ภาษาองั กฤษโดยใชส้ ัญลักษณ์ของ International Phonetic Alphabet (IPA) ทาให้การออกเสียงชัดมากขึ้น
และผู้ฟังเข้าใจได้ถูกต้องมากขึ้น หลักสัทศาสตร์( Phonetics) คือส่วนหนึ่งของภาษาศาสตร์ที่เก่ียวกับการ
เรียนรู้อวัยวะภายในปากที่ใช้ในการออกเสียง จาแนกเสียงแต่ละเสียง ธรรมชาติของการออกเสียง การเปล่ง
เสยี ง รวมถึงลักษณะทางกายภาพตา่ งๆ ของเสยี งพูดดว้ ย (Minerva, 2020)

ภาพที่ 1 อวัยวะภายในปากท่ีใช้ในการออกเสยี ง (Minerva, 2020)

13

สัทอักษรสากล หรือ International Phonetic Alphabet (IPA)ได้รับการพัฒนาขึ้นโดยสมาคม
สัทศาสตร์สากล เพ่ือใช้เป็นการเขียนมาตรฐานสาหรับการแทนเสียงพูดในทุกภาษา นักภาษาศาสตร์ ใช้สัท
อักษรสากลเพ่อื แทนหน่วยเสียงตา่ ง ๆ ท่ีอวยั วะออกเสียงของมนุษยส์ ามารถเปล่งเสียงได้ โดยแทนหนว่ ยเสยี ง
แตล่ ะหนว่ ยเสียงดว้ ยสญั ลักษณเ์ ฉพาะท่ไี ม่ซา้ กัน ซึง่ ประกอบไปดว้ ยเสียงสระ พยญั ชนะ (Minerva, 2020)

2.4 เสยี งพยัญชนะ (Consonant Sounds)
ปรารมภ์รัตน์ โชติเสถียร (2550: 60) กล่าวว่า เสียงพยัญชนะ (consonant sounds) ได้แก่ เสียงที่
เปล่งออกมาโดยอาศยั อวัยวะภายในปากหน่ึงคู่ ซ่ึงรวมเรยี กว่า ฐานกรณ์ (articulator) กลา่ วคอื อวยั วะส่วนท่ี
ไมเ่ คลื่อนไหวจะทาหน้าท่เี ปน็ ฐาน (passive articulator) หรือจุดท่เี กิดเสียง และอวยั วะส่วนที่เคล่ือนท่ีได้จะ
ทาหน้าท่ีเป็นกรณ์ (active articulator) เคล่ือนท่ีไปยงั ฐาน

ภาพที่ 2 International Phonetic Alphabet ( Consonants) (ปรารมภ์รตั น์ โชตเิ สถียร, 2550:60)
2.5 เสยี งสระภาษาองั กฤษ (Vowel Sounds)

ปรารมภ์รัตน์ โชติเสถียร (2550: 17) กล่าวว่า เสียงสระ (Vowel sounds) เป็นเสียงท่ีเปล่ง
ออกมาโดยไมม่ ีการกักของกระแสลมหรือการเสียดสีภายในช่องปาก (oral cavity) เช่น ในการออก เสยี งสระ
/a/ กระแสลมทอ่ี อกมาจากปอดจะผ่านช่องคอเขา้ ไปในช่องปาก และผา่ นออกมาโดยปราศจากการกดี กั้นใดๆ
เสียงสระทกุ ตวั เปน็ เสยี งก้อง (voiced sounds) เพราะในการออกเสยี งสระทกุ ตวั เสน้ เสียงส่นั

ภาพที่ 3 English vowels chart ( ปรารมภ์ โชตเิ สถยี ร, 2550: 60)

14

2.6 ประโยชนใ์ นการออกเสียงภาษาองั กฤษท่ถี ูกต้อง
พิชญา นุเสน (2554: 15-16) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของการออกเสียงภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้องว่า
มปี ระโยชนอ์ ย่างยง่ิ ต่อการสื่อสารโดยใช้ภาษาอังกฤษ ทง้ั ยังช่วยสง่ เสรมิ การอ่านออกเสียง การอ่านในใจ การ
อ่านตีความ และการแปลทับศัพท์ โดยมีใจความและรายละเอียดที่เกี่ยวกับประโยชน์ในการออกเสียง
ภาษาอังกฤษ กลา่ วคือ
1.เ ป็ น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ก า ร ติ ด ต่ อ สื่ อ ส า ร ร ะ ห ว่ า ง ผู้ ใ ช้ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ เ ป็ น ไ ป ต า ม
วตั ถปุ ระสงคใ์ ห้มากทส่ี ดุ เพราะถา้ หากออกเสียงไม่ถูกต้อง ทาใหส้ อื่ ความหมายผิดได้
2.เป็นการส่งเสริมให้มีการอ่านท้ังการออกเสียง การอ่านในใจ และการตีความหมายของ
ภาษาอังกฤษซง่ึ เป็นภาษาตน้ ฉบบั ได้ดยี ง่ิ ข้ึน
3. เป็นการช่วยใหก้ ารแปลโดยเฉพาะอย่างย่ิงในการแปลทับศัพท์ (transliteration) เช่น ชื่อสถานท่ี
ชื่อตัวละคร และสิ่งอ้างอิงต่างๆทางประวัติศาสตร์ ทาได้ใกล้เคียงกับการออกเสียงทั้งภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษมากย่ิงขน้ึ
4. เพ่ือชว่ ยให้การปรับบทแปลมีความถูกต้อง ชดั เจนยง่ิ ขนึ้ เพราะนอกจากผู้แปลได้ใชส้ ายตาอ่านบท
แปลแล้ว ยงั ได้ใชห้ ูฟงั เมอื่ อ่านออกเสียงบทแปลอกี ด้วย

บารุง โตรัตน์ (2544) กล่าวว่า ผู้ท่ีสามารถพูดภาษาอังกฤษได้ดีน้ันคือผู้ท่ีสามารถออกเสียง
ในภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้องและสามารถออกเสยี งได้ใกล้เคียงกับเจ้าของภาษา มีความถูกต้องของการออก
เสยี งสูง ต่าชัดเจน เจ้าของภาษาจงึ จะสามารถเขา้ ใจผู้พูดได้ ดงั น้นั การออกเสียงที่ถูกต้องจงึ มีประโยชน์หลาย
ประการ นอกจากเจ้าของภาษาจะสามารถเข้าใจผู้พูดได้แล้ว ช่วยให้สื่อสารกันได้เข้าใจ ถูกต้อง ยังช่วย
สง่ เสรมิ การอา่ นออกเสยี ง การอา่ นในใจ การอ่านตีความ และการแปลทับศัพทด์ งั ทอ่ี ธิบายไวแ้ ลว้ ข้างตน้

2.4 การออกเสยี งเน้นหนกั (stress)
การออกเสียงเน้นหนักในภาษาอังกฤษเป็นส่ิงที่จาเป็นเเละสาคัญมากในการออกเสียงภาษาอังกฤษ
โดยการท่ีเราจะสามารถออกเสียงเน้นหนกั ได้อยา่ งถูกต้องนั้นจาเป็นต้องผ่านประสบการณ์การฝึกฝน ไมว่ า่ จะ
เป็นการเรียนในห้องเรยี น การสนทนากับเจ้าของภาษา การเลียนเเบบเจ้าของภาษา เเละอ่ืนๆ การท่ีเราออก
เสียงผิดสามารถทาให้ความหมายของคาน้ันๆคลาดเคลื่อนได้ เเละผู้ฟังอาจจะเข้าใจผิดได้ ดังที่ นันทนา รณ
เกยี รติ (2548,7) ไดก้ ล่าวไวว้ ่า การเรยี นการออกเสยี งภาษาอังกฤษนั้นผเู้ รียนจาเปน็ ต้องได้รับการฝึกฝนเร่ือง
การเน้นเสียง (stress) เเละเรื่องทานองเสียง (intonation) เเละ กริฟฟิธส์ (Griffiths, n.d.: 1) ได้กล่าวไว้ว่า
การเน้นเสียงพยางค์ในคา (word stress) เเละการเน้นเสียงคาในประโยค (sentence stress) ท่ีไม่ถูกต้อง
นาไปสู่การส่อื สารท่ผี ิดพลาดได้

3. การออกเสยี งเน้นหนัก (stress)
3.1 การออกเสยี งเน้นหนกั ในคา
การลงเสียงหนัก (stress) หมายถึงการออกเสียงพยางค์ใดพยางค์หนึ่ง หรือคาใคคาหน่ึงให้หนักกว่า

พยางค์หรือคาที่อยู่ข้างเคียง การลงเสียงหนักในภาษาอังกฤษจึงนับว่าสาคัญมากพอๆกับการลงวรรณยุกต์
เอก โท ตรี จัตวาในภาษาไทย ปรารมภร์ ัตน์ โชติเสถยี ร (2537: 99) การเน้นเสียงหนักเบาในคาภาษาอังกฤษ
(word stress) คือการปล่อยกระเเสลมจากปอดตกลงพยางค์ใดพยางค์หน่ึงมากกว่าพยางค์อื่น ๆ เป็นผลให้
พยางค์ดังกลา่ วมีความดังเดน่ ชัดมากกว่าพยางค์อืน่ ๆ

15

3.1 ระดับการลงเสยี งหนักเบาคา (Degrees of force in word stress)
การลงเสียงหนักเเบ่งเป็น 3 ระดับคือ การลงเสียงหนักมาก (primary stress) การลงเสียงหนักรอง
(secondary stress) และการไมล่ งเสียงหนกั (weak stress)
1.การลงเสียงหนักมาก (Primary stress) คาในภาษาอังกฤษทุกคาไม่ว่าจะกี่พยางค์ก็ตาม จะมี
พยางค์หนึ่งได้รับ primary stress ผู้พูดจะออกเสียงพยางค์นี้หนักกว่าพยางค์อื่นๆ เช่นในคาว่า action
พยางคท์ ไี่ ดร้ บั primary stress คือพยางค์พยางค์แรก (stressed in the first syllable)
2.การลงเสียงหนักรอง (secondary stress) จะเบากว่าหรือจะลงเสียงหนักน้อยกว่า พยางค์ท่ีได้รับ
primary stress คาในภาษาอังกฤษบางคาเท่านั้นท่ีมี secondary stress และส่วน ใหญ่แล้วคาจะมี 3
พยางค์ขน้ึ ไป
3.การไมล่ งเสียงหนัก (weak stress) จะเปน็ พยางคท์ อี่ อกเสยี งเบาทีส่ ุด
การออกเสียงเพื่อให้พยางค์ใดพยางค์หน่ึง ได้รับการลงเสียงหนักน้ัน ไม่มีกฎตายตัว แต่พอสังเกตได้
ดงั น้ี
“พยางค์ใดได้รับเสียงหนัก พยางค์นั้นจะมีเสียงดังกว่าและนานกว่าพยางค์อ่ืนในคาเดียวกัน เช่น important
“por” ได้รับเสียงหนักมากกว่า จึงเรียกการลงเสียงหนักชนิดนีว้ ่า “primary stress” ส่วน “im” ได้รับเสียง
หนักน้อยกว่าเรียกว่า “secondary stress” สาหรับ “ant” // จะออกเสียงเบามากและรวดเร็วเรียกว่า
weak stress หรือ unstressed”
stress syllable คือ การทเ่ี ราเนน้ หนักทีพ่ ยางคใ์ ดพยางคห์ นงึ่ โดยท่ีพยางคจ์ ะต้องออกเสียง ดัง กวา่
ยาวกว่า เเละชัดกว่าพยางค์อื่นๆ unstress syllable คือ การที่เราไม่เน้นหนักที่พยางค์ใดพยางค์หน่ึง โดยท่ี
พยางค์นั้นจะออกเสียง สัน้ กวา่ เเละเบากวา่ พยางค์อืน่ ๆ การเนน้ เสยี งหนักเบาในภาษาองั กฤษมีท้งั ในประโยค
เเละคา ซง่ึ จะมกี ฎทต่ี ่างกนั ออกไป วจิ ัยเล่มนี้ผ้วู จิ ัยจะพูดถงึ การเนน้ เสยี งหนกั เบาในคา (word stressed)
การเน้นเสียงในภาษาอังกฤษ (Stress) น้ัน มีความคล้ายคลึงกับระบบวรรณยุกต์ของภาษาไทย
เนื่องจากมีเสียงสูง และเสียงต่า แต่ระบบวรรณยุกต์ของภาษาไทยมีความคงที่และมีสัญลักษณ์กากับเพื่อการ
ออกเสียงที่ถูกต้องและถูกความหมาย แต่การเน้นเสียงในภาษาอังกฤษไม่มี เครื่องหมายกากับท่ีแน่นอน การ
เนน้ เสียงจะเปลีย่ นแปลงตามนา้ หนกั พยางค์ การประสมคาเพือ่ สรา้ งคาใหมต่ ามโครงสรา้ งหน่วยคา ตามหลกั
ไวยากรณ์ และหนา้ ท่ขี องคาในภาษาองั กฤษ

4. วจิ ยั ที่เกยี่ วขอ้ ง
4.1 งานวจิ ยั ในประเทศ
ณีรวัลย์ ป้ันทอง เเละ ดร.อภิลักษณ์ ธรรมทวีธิกุล ( 2558 ) ได้ศึกษาเกี่ยวกับการพูดออกเสียงการ

เน้นพยางค์และการลดรูปสระในพยางค์ไม่เน้นในภาษาอังกฤษของนักเรียนโรงเรียนสองภาษาใน
กรงุ เทพมหานครโดยใช้ระเบยี บวธิ ีวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงสถิติ เก็บขอ้ มูลจากการสัมภาษณ์นักเรียนโรงเรียน
สองภาษาระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ระดับช้ัน
ละ 4 คนรวมทั้งหมด 12 คน โดยศกึ ษาตวั แปรทางสังคมได้แก่ เพศระดับช้ันการศึกษา และวจั นลีลาแบบเป็น
กันเองในลักษณะการสัมภาษณ์ โดยให้นักเรียนแนะนาตัวเองด้วยวิธีการทางสัทศาสตร์และการวิเคราะห์เชิง
สถิติ

ผลการศึกษาพบว่าตัวแปรทางสังคมด้านเพศและระดับช้ันการศึกษาไม่มีผลต่อการออกเสียงใน
ภาพรวมนักเรียนกลุ่มตัวอย่างมีจานวนการออกเสียงคาและวลีผิดมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าร้อยละ 50 ซ่ึงสามารถ
อธิบายจากสถิติการออกเสียงผิดได้ว่า เกิดจากการแทรกแซงของภาษาแม่ของผู้เรียน ผลการศึกษาช้ีแนะถึง

16

ความสาคัญของการออกเสียงภาษาอังกฤษในเชิงสัทศาสตร์ เพื่อพัฒนาศักยภาพการออกเสียงพูด
ภาษาองั กฤษของนักเรียนให้ดียิง่ ขนึ้

ปรารถนา ผดุงพจน์ ( 2560 ) ได้ศึกษาเก่ียวกับเร่ืองการพัฒนาการออกเสียงพยางค์ไม่เน้นในคา
ภาษาอังกฤษ โดยการใช้กจิ กรรมค่ายภาษาอังกฤษในรายวิชาสัทศาสตรภ์ าษาองั กฤษ เเละมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อ
1) พัฒนาความสามารถในการออกเสยี งพยางค์ไม่เน้นในคาภาษาอังกฤษของนักศึกษาท่ีได้รับการจดั กิจกรรม
การเรียนการสอนโดยใช้กิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษ 2) เพอื่ ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการทางาน
กลุ่มในการสร้างกิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษที่ส่งเสริมทักษะการออกเสียงคาภาษาอังกฤษ กลุ่มตัวอย่าง คือ
นักศกึ ษาช้นั ปีท่ี 1 สาขาวชิ าภาษาองั กฤษที่ลงทะเบยี นเรยี นรายวิชาสทั ศาสตรภ์ าษาอังกฤษ มหาวิทยาลยั ราช
ภฏั พระนคร ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2559 จานวน 30 คน โดยใชว้ ิธีการสมุ่ อย่างง่าย เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการ
วจิ ยั คือ แผนการสอน แบบทดสอบการออกเสียงพยางค์ที่ไมเ่ น้นในคาภาษาอังกฤษท้งั ก่อนเรียนและหลงั เรียน
แบบบันทึกการสังเกตออกเสียง แบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีต่อกิจกรรมพัฒนาการออกเสียงด้วยการใช้
กิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าเฉลี่ย ค่าคะแนนความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนออกเสียงพยางค์ไม่เน้นในคาภาษาอังกฤษของนักศึกษาโดยการใช้
กิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษก่อนและหลังทดลองโดยใช้ t-test for dependent samples ขนั้ ตอนการทดลอง
คอื การทดสอบทกั ษะการออกเสียงภาษาองั กฤษของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้แบบทดสอบกอ่ นเรียนในสัปดาหท่ี 1
และมอบหมายงานกลุ่มสร้างกิจกรรมทสี่ ่งเสริมทักษะการออกเสียงคาศัพท์ภาษาอังกฤษเพ่ือนาเสนอกิจกรรม
ในหอ้ งเรยี นในสัปดาหที่ 4 และนาไปจัดกิจกรรมคา่ ยในโรงเรยี นและทดสอบหลงั เรียน

ผลการวจิ ัยพบว่า นักศกึ ษามีพฒั นาการในการออกเสียงพยางค์ไม่เน้นในคาภาษาองั กฤษที่มมี ากกว่า
1 พยางค์หลังการใช้กิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษดีกว่าก่อนการใช้กิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษอย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .05 และในภาพรวมนักศึกษากลุ่มทดลองมีความพึงพอใจในระดับมากต่อการทางานกลุ่มใน
การสรา้ งกจิ กรรมคา่ ยภาษาท่ีส่งเสริมทักษะการออกเสยี งคาศัพท์ภาษาองั กฤษ

ปิยนาถ อินทร์เจริญ (2562) ได้ศึกษาเก่ียวกับความผิดพลาดการเน้นเสียงพยางค์ระดับคา และ
สาเหตุความผิดพลาดการเน้นเสียงในระดับคาของนักเรียนท่ีเรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศและ
ครูผู้สอนภาษาอังกฤษ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4- 6 จานวน 77 คน และครูผู้สอนนักเรียนดังกล่าว 3 คน
โรงเรียนแห่งหนงึ่ ในจังหวดั ชลบุรี โดยศึกษาจากหมวดหมู่การเน้นเสียงพยางคใ์ นระดับคา 4 ปัจจัย ของ Carr
(2013) ได้แก่ 1. การเนน้ เสยี งตามนา้ หนกั พยางค์ในภาษาองั กฤษ (Syllable weight) 2. การเน้นเสียงของคา
ประสมในภาษาอังกฤษ (Compound words) 3. การเน้นเสียงตามโครงสร้างหน่วยคาในภาษาอังกฤษ
(Morphology structure) และ4. การเน้นเสียงตามหน้าท่ีของคาในภาษาอังกฤษ (Syntactic category)
โดยนาแบบทดสอบการอ่านชุดคาศัพท์ทั้งหมด 40 คา จากผลการวิเคราะห์นักเรียนออกเสียงเน้นพยางค์ใน
ระดับคาไม่ถูกต้องเนื่องจากไม่เข้าใจเรื่องหน้าท่ีของคาในภาษาอังกฤษท่ีมีผลกระทบต่อการเน้นเสียงโดยผล
การเฉล่ยี คาที่เน้น เสียงพยางคผ์ ดิ คดิ เป็นร้อยละ 41.30 และผลการวเิ คราะห์ครูผูส้ อนออกเสียงเนน้ พยางค์ใน
ระดบั คาได้ถกู ต้องในระดบั ดีมาก โดยคิดผลเฉล่ียคาท่ีเน้นเสยี งพยางคผ์ ิดเพียงร้อยละ 5

ผลการศึกษาสรุปได้ว่า นักเรียนที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศมีความผิดพลาดในการ
เน้นเสียงพยางค์ระดับคา เน่ืองจากไม่เข้าใจเรื่องหน้าที่ของคาในภาษาอังกฤษและน้าหนักพยางค์ที่มีผลต่อ
การเนน้ เสียง พยางค์ระดบั คาในภาษาอังกฤษ นอกจากน้นั อิทธิพลของภาษาไทยซ่ึงเป็นภาษาแม่ของผู้เรียนมี
ผลทาให้นักเรียนเกิดความผิดพลาด เน่ืองจากนักเรียนไม่ออกเสียงพยัญชนะท้ายคาและเสียงพยัญชนะที่ไม่มี
ในภาษาไทย

17

วรินทร เเดนดี (2561) บทความน้ีต้องการอธิบายข้อผิดพลาดการออกเสียงภาษาอังกฤษในระดับคา
ของพนักงานระดับปฏิบัติการนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี โดยการนาชุดคาศัพท์พื้นฐานท่ี
เก่ียวข้องกับการปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรม จานวน 158 คา มาทดสอบกับพนักงานผู้ซึ่งเป็น
อาสาสมัครท่ีให้ความร่วมมือในการทดสอบการออกเสียงคาภาษาอังกฤษจานวน 90 คนจากโรงงาน 3 แห่ง
การออกเสียงภาษาอังกฤษที่ถูกต้องจะนาไปตรวจสอบกบั เจ้าของภาษา

ผลการทดสอบแบ่งออกเป็นความผดิ พลาดในการออกเสียงระดับคาในด้านพยัญชนะสระและการลง
เสียงเน้นหนกั โดยพบวา่ การออกเสียงพยัญชนะมีข้อผิดพลาดมากท่ีสุดคือการออกเสียงพยญั ชนะในตาแหนง่
หน่ึงท้ายคารองลงมาเป็นข้อผิดพลาดในการลงเสียงเน้นหนักและข้อผิดพลาดการออกเสียงสระพบน้อยที่สุด
การท่ีพนักงานออกเสียงพยัญชนะท้ายผิดพลาดมากที่สุดพบในพยัญชนะท้ายที่ไม่มีเสียงน้ันในภาษาไทย จึง
สง่ ผลให้เกดิ การออกเสยี งเหมือนเสยี งพยญั ชนะท้ายในภาษาไทยทใี่ กล้เคยี งกัน สว่ นขอ้ ผดิ พลาดในด้านการลง
เสียงเน้นหนักส่วนใหญ่เกิดความไม่รู้หลักในการลงเสียงเน้นหนักในภาษาอังกฤษด้านข้อผิดพลาดการออก
เสียงสระพบวา่ มีการออกเสยี ผิดพลาดในเสียงสระทไี่ ม่มีในภาษาไทย

4.2 งานวจิ ัยในต่างประเทศ
เมดี้ ยูฮา อัลกิฟฟารี (Meidy Yuhar Algifari, 2017) ได้ทาวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์การออกเสียง
เน้นหนักในคาของนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหกรรม (IET 7) มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์
ANALYZING STUDENTS’ PRONUNCIATION OF WORD STRESS OF IET 7 STUDENTS OF
CAMBRIDGE ENGLISH COLLEGE (CEC) MAKASSARโดย มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทักษะการออกเสียง
และเพื่อหาความเข้าใจของการออกเสียงเน้นหนักในคาของนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหกรรม
(IET 7) มหาวทิ ยาลยั เคมบริดจ์
บทวจิ ยั คร้งั น้ีได้พบวา่ นักศึกษาได้มีการออกเสียงเน้นหนักผดิ ตาแหน่ง ในคาทมี่ ี 2, 3 และ 4 พยางค์
และนักศึกษาส่วนมากจะออกเสียงเน้นหนักผิดพลาดในตาแหน่งที่เหมือนกัน แม้แต่คาศัพท์ง่ายๆก็ยังมีการ
ออกเสยี งเน้นหนกั ผิดตาแหน่ง
ข้อสรุปได้ว่านักศึกษาสาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหกรรม (IET 7) มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ยังคง
ประสบปัญหาเกี่ยวกับการออกเสียงโดยเฉพาะในการออกเสียงเน้นหนักในคา ซ่ึงปัญหาเกิดจากสาเนียงของ
ภาษาอนิ โดนเี ซยี ถงึ แม้ว่านกั ศึกษาได้มีการเขา้ ฝึกอบรมการพูดให้เหมือนเจ้าของภาษามาอย่างดีแลว้ กย็ ังเป็น
เรอ่ื งยากท่ีจะออกเสยี งเน้นหนกั ได้อย่างถูกต้อง
ฮัรยานี จอส อี และฮัซตีนี (Haryani, Jos E. Ohoiwutun, Hastini, 2016) ได้ทาวิจัยเรื่อง การ
วิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการออกเสียงเน้นหนักผิดตาแหน่งของนักเรียน THE ANALYSIS OF STUDENTS’
ERRORS IN STRESS PLACENT IN ENGLISH PRONUNCIATON และงานวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ
วิเคราะห์ข้อผิดพลาดและการระบุตาแหน่งการเน้นเสียงในการออกเสียงภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้น 11
โรงเรียน SMA Negeri 5 Palu ซ่ึงกลุ่มตัวอย่างคือนักเรียน 29 คน คัดเลือกโดยใช้เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง
แบบเจาะจง เทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบทดสอบ แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์ ในการวิเคราะห์
ข้อมูล ผ้วู จิ ัยใช้วิธกี ารวิเคราะห์สถติ อิ ย่างงา่ ย
จากผลการทดสอบผู้วจิ ัยพบว่านกั เรียนมีขอ้ ผิดพลาดโดยรวม (overgeneralization error) ซงึ่ จัดอยู่
ในประเภทข้อผิดพลาดระหว่างภาษาแม่และข้อผิดพลาดในภาษาอังกฤษ ข้อผิดพลาดเกิดขึ้นเน่ืองจาก
ผลกระทบของภาษาแม่ของนักเรียนและความเข้าใจเก่ียวกับภาษาเป้าหมายได้ไม่ค่อยดี ซ่ึงเปอร์เซ็นต์
ขอ้ ผิดพลาดทงั้ หมดทัง้ จากการทดสอบปากเปล่าและการทดสอบข้อเขียนคือ 74.75% ซ่งึ จัดอยู่ในประเภทท่ีมี

18

ข้อผิดพลาดสูง หมายความว่าความสามารถของนักเรียนช้ัน 11 ในการระบุตาแหน่งการเน้นเสียงในคา
ภาษาองั กฤษโดยเฉพาะในคานามและกริยาน้นั มีข้อผิดพลาดสูง

ทราน ที ธาน ดิว (Tran Thi Than Dieu, 2017) ได้ทาวิจัยเร่ือง ข้อผิดพลาดเเละวิธีการเเก้ปัญหา
การออกเสียงเน้นหนักในภาษาอังกฤษของนักศึกษาเวียดนามSome English Stress Mistakes and
Solutions - A Phonetic Experimental Research on Vietnamese Studentsเเละได้กล่าว ว่า การ
ผสมผสานระหวา่ งความรู้เกย่ี วกับการออกเสียง จังหวะ เเละกฏของการเนน้ เสยี งภาษาองั กฤษ เปน็ อกี หน่งึ ใน
วิธีการแก้ปัญหาการเน้นเสียงในภาษาอังกฤษท่ีนักศึกษาเวียดนามต้องเผชิญ จากการทดสอบการออกเสียง
ค้นพบว่ามีรูปแบบข้อผิดพลาดที่ทาให้นักศึกษาเวียดนามมีปัญหาในการออกเสียงเน้นหนัก สมมติฐานก็คือ
รูปแบบจังหวะในภาษาอังกฤษ เเละกฏการเน้นเสียงภาษาอังกฤษจะช่วยแก้ปัญหาการเน้นเสยี งของนักศึกษา
อย่างไรก็ตาม กฏการเน้นเสียงในภาษาอังกฤษมีความซับซ้อนอย่างมาก ดังน้ัน จะขึ้นอยู่กับรูปแบบหลักของ
จังหวะ ซึ่งเป็นกุญเเจสาคัญที่จะทาให้กฏการเน้นเสียงมีเเนวทางในการจาเเนกพยางค์ให้มีความชัดเจนมาก
ยิ่งข้ึน เปา้ หมายสุดท้าย คือ การชว่ ยให้นกั ศกึ ษาเวียดนามจาเเนกคาศัพทภ์ าษาอังกฤษในทางที่เเตกต่างกันได้
เพื่อเพิ่มความสามารถในการออกเสียงของนักศึกษาเวียดนาม เช่นเดียวกันกับการจับเเนวคิดหลักในการ
สนทนาเพื่อพัฒนาทกั ษะในการส่อื สารภาษาอังกฤษของนกั ศึกษาเวยี ดนาม

คลาร่า เฮอลีน่า การ์โจ (Klara Herrina Karjo,2016) ได้ทาวิจัยเร่ือง การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดใน
การออกเสียงเน้นหนักผิดตาแหน่งในคาภาษาอังกฤษของผู้เรียนที่ศึกษาภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง
ACCOUNTING FOR L2 LEARNERS’ ERRORS IN WORD STRESS PLACEMENT ผู้วิจัยได้กล่าวว่า ตา
เเหน่งการเน้นหนักในคาภาษาอังกฤษอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ที่ซับซ้อน ดังน้ันการท่ีจะออกเสียงเน้นหนักให้ถูกท่ี
ของคนท่ีเรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองจึงเป็นสิ่งที่ท้าทาย โดยเฉพาะผู้เรียนชาวอินโดนีเซียที่ภาษาเเม่ไม่
มีการออกเสียงเน้นหนักในคา วิจัยนี้ได้สารวจคาศัพท์ภาษาอังกฤษกับนักศึกษาจานวน 30 คน โดยใช้
เครอื่ งมือการพดู ซ้าในทันทท่ี ี่ได้ฟังเสียง (พูดตามในทันที) เเละให้นักศึกษาระบุพยางค์ทีต่ ้องเน้นหนักในคา 80
คา ฟังเเละพูดตามในทันทีด้วยตาเเหน่งที่ถูกต้อง จุดประสงค์ของงานวิจัยชิ้นนี้คือ เพื่อหาว่าการออกเสียง
เน้นหนักเป็นปัญหากับผู้ท่ีใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาท่ีสองหรือไม่ เเละเพ่ือสารวจปัจจัยการออกเสียงที่เป็น
สาเหตุของปัญหาเหล่านี้ วิจัยนี้เผยให้เห็นว่า ผู้เรียนท่ีใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองมีความสามารถในการ
ออกเสียงเนน้ หนกั ท่ีเเตกเเตง่ กัน เเตค่ าทมี่ สี ามพยางคจ์ ะมปี ัญหามากกวา่ คาทีม่ ีสองพยางค์ นอกจากน้ี ปัญหา
น้เี กดิ จากการเนน้ หนักผิดตาเเหนง่ เเละเกดิ จากอิทธิพลของสระเสยี งสน้ั เเละยาว

19

บทท่ี 3
วิธดี าเนินการวจิ ยั

การพัฒนาการอ่านออกเสยี งเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ (Word Stress) โดยใช้ชุดคาศัพท์จาก
บทเรยี น สาหรบั นักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ผู้วิจยั ได้ศกึ ษาคน้ คว้าเอกสารและงานวิจัยต่าง ๆ ดงั น้ี

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2. เครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล
3. ขนั้ ตอนการสร้างและพฒั นาเครอ่ื งมอื
4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
5. การวิเคราะห์ข้อมลู

1. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง
ประชากร
ประชากรท่ีใชใ้ นการวิจัยคร้ังนี้เปน็ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรียนกาแพงวทิ ยา อาเภอละงู

จังหวัดสตูล จานวน 3 ห้องเรียน รวมทง้ั สน้ิ 106 คน
กลุม่ ตวั อย่าง
กลมุ่ ตวั อยา่ งทใี่ ช้ในการวจิ ัยครง้ั นีเ้ ป็นนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรยี นกาแพงวทิ ยา อาเภอละงู

จังหวัดสตูล ปีการศึกษา 2564 จานวน 30 คน ซง่ึ ได้มาจากการสมุ่ อยา่ งงา่ ย (Simple Random Sampling)
โดยวธิ ีการจบั ฉลาก

2. เคร่ืองมอื ทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
2.1 แผนการจดั การเรียนรู้
2.2 ชุดคาศัพท์จากบทเรียน
2.3 แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น

3. ขั้นตอนการสร้างเครือ่ งมอื
การสรา้ งและการหาคุณภาพเครื่องมือ
3.1 การสรา้ งและการหาคณุ ภาพแผนการจดั การเรียนรู้ท่ีใช้ในการทดลอง ผู้วิจยั ดาเนินการ ดังนี้
1.1 ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 และหลักสูตรสถานศึกษา โดย
ศึกษาขอบข่ายของเน้ือหารายวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้ของกลุ่มสาระกา รเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศในระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4
1.2 ศึกษาทฤษฎี หลักการ งานวิจัยและแนวคิดที่เก่ียวข้องกับการจดั การเรียนการสอนดว้ ย
การใชช้ ดุ คาศัพทจ์ ากบทเรยี น สาหรับนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4
1.3 ศกึ ษาคาศพั ท์ทีจ่ ะใช้สอน เพ่อื คดั เลือกคาศัพทท์ ่ีจะใช้สอนจานวน 60 คา
1.4 นาชุดคาศพั ทจ์ ากบทเรยี น ไปใหผ้ ูเ้ ช่ียวชาญด้านการสอนภาษาอังกฤษ ซ่ึงเปน็ ครูผู้สอน
ภาษาอังกฤษในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ของโรงเรียนกาแพงวิทยา ตรวจดูว่าคาศัพท์นั้นมีความ
ยากง่าย สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายและผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวังของทางโรงเรยี นเพยี งใด
1.5 สร้างแผนการจัดการเรียนรู้เก่ียวกับเพื่อพัฒนาการอ่านเน้นเสียงหนัก ในคาศัพท์
ภาษาอังกฤษ จานวน 12 แผน ขัน้ ตอนในแผนการจัดการเรียนรู้มดี งั นี้

20

ข้นั ท่ี 1 ขัน้ เรา้ ความสนใจ Warm-up activity)
ขนั้ ท่ี 2 ขนั้ นา เสนอเนื้อหา (Presentation)
ขัน้ ที่ 3 ขัน้ การฝกึ ทักษะ (Practice)
ขั้นท่ี 4 ขั้นการนา ไปใช้ (Production)
1.6 นาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสร้างข้ึนไปให้ผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนภาษาอังกฤษ
ตรวจสอบความถูกต้องของการใช้ภาษา ความเหมาะสมของเน้ือหา การจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนและวิธีการวัดประเมินผล เพื่อหาค่าความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหา (Content Validity) เพ่ือนามา
ปรบั ปรงุ แกไ้ ขให้เหมาะสมย่งิ ขน้ึ
1.7 นาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีได้รับการปรับปรุง และตรวจสอบแล้วไปทดลองสอนกับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนกาแพงวิทยา จานวน 1 ห้องเรียน ซึ่งไม่ใช่นักเรียนกลุ่ม
ตัวอย่าง
1.8 นาแผนการจดั การเรยี นรู้ทผ่ี า่ นการทดลองสอนแล้ว ไปใชก้ บั นกั เรยี นกล่มุ ตัวอย่าง
3.2 การสร้างและการหาคุณภาพชดุ คาศพั ทจ์ ากบทเรียน ผวู้ จิ ัยดาเนินการ ดงั น้ี
2.1 ศึกษารายละเอยี ดของการสร้างชุดคาศัพท์ และการนาไปใชใ้ นชั้นเรียน
2.2 กาหนดบทเรียน และออกแบบกิจกรรมของการใช้ชุดคาศัพท์ สาหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปที ่ี 4
2.3 เสนอชดุ คาศัพทท์ ีจ่ ะนาไปใช้ เพ่ือให้ผ้เู ชี่ยวชาญตรวจสอบความเหมาะสม
2.4 นาผลการตรวจจากผู้เช่ียวชาญท่ีเสนอแนะมาปรับปรุงตามคาแนะนา เพ่ือให้เกิดความ
ถกู ต้องของเน้อื หา
3.3 การสร้างและการหาคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีเรียนโดยใช้ชุดคาศัพท์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โดยมีข้ันตอน
การสร้างดังน้ี
3.1 ศึกษารายละเอียดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตร
สถานศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาอังกฤษ หนงั สือ เอกสาร และงานวิจัยท่ีเก่ยี วขอ้ ง
3.2 วเิ คราะหแ์ บบทดสอบที่จะนาไปทดสอบกับนกั เรียน
3.3 นาเสนอแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 เพ่ือตรวจสอบความ
เหมาะสมของเน้อื หาและความถูกต้องของแบบทดสอบ
3.4 นาผลการตรวจทีเ่ สนอแนะมาปรบั ปรุงตามคาแนะนา เพ่ือใหเ้ กดิ ความถูกตอ้ งของเน้ือหา

4. การเก็บรวบรวมข้อมลู
การวิจัยคร้งั น้ีเป็นระเบียบวธิ วี ิจัย“เชิงพฒั นา” โดยมขี นั้ ตอนการทาวจิ ยั ดังนี้
4.1 ศึกษาปญั หาทจี่ ะทาการวิจยั แล้วนาเสนอหัวขอ้ วิจัย
4.2 ศึกษารายละเอียดของเน้ือหาที่จะใช้ในการพัฒนาการอ่านเน้นเสียงหนัก (Word stress) ใน

คาศัพทภ์ าษาอังกฤษ โดยใชช้ ดุ คาศพั ทจ์ ากบทเรยี น
4.3 ออกแบบกจิ กรรมการสอน เพื่อนาไปใช้สอนนักเรยี น
4.4 นาเคร่อื งมอื ไปใชก้ ับกลมุ่ เป้าหมาย
4.5 สรปุ ผลการทาวิจยั

21

5. การวิเคราะหข์ อ้ มูล
ผู้วิจัยได้หาค่าสถิติพื้นฐาน และค่าสถิติท่ีใช้เสนอในลักษณะท่ัวไปเป็นสถิติเชิงพรรณนา โดยการหา

ค่าเฉลย่ี (Mean) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ดังนี้
1. คา่ เฉลี่ย (Mean) สามารถคานวณไดจ้ ากสูตร ดังนี้

=

เมือ่ คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
คอื ผลบวกของขอ้ มูลทุกค่า
คอื จานวนขอ้ มูลทัง้ หมด

2. สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) สามารถคานวณไดจ้ ากสตู ร ดังนี้

เม่อื S.D. คอื สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน
X คอื คะแนนแต่ละตวั
n คือ จานวนข้อมลู ทง้ั หมด
∑x คือ ผลรวมคะแนนท้ังหมด

22

บทท่ี 4
ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู

การพัฒนาการอ่านออกเสยี งเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ (Word Stress) โดยใช้ชดุ คาศัพทจ์ าก
บทเรยี น สาหรับนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 การวิจยั ครัง้ นมี้ ีวตั ถุประสงค์ ดังน้ี

1. เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ (Word Stress) โดยใช้ชุดคาศัพท์
จากบทเรียน สาหรับนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4

2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิการอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ (Word Stress)
โดยใชช้ ุดคาศัพทจ์ ากบทเรียน สาหรบั นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4
ซึ่งผวู้ ิจัยนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ดังต่อไปนี้

ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู
วัตถุประสงค์ ข้อท่ี 1. เพ่ือพัฒนาการอ่านออกเสยี งเน้นหนกั ในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ (Word Stress)

โดยใช้ชุดคาศพั ท์จากบทเรียน สาหรับนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4
ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะหก์ ารออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ จานวน 10 ครง้ั ของกลุ่ม

ตวั อยา่ ง

คร้งั ที่ อา่ นได้ถูกต้อง รวม (คน) หมายเหตุ

1. 10 10
2. 13 13
3. 14 14
4. 16 16
5. 18 18
6. 20 20
7. 21 21
8. 22 22
9. 25 25
10 27 27
รวม 186
ค่าเฉลย่ี 33.81
ค่า S.D. 5.42

จากตารางที่ 1 พบว่า จานวนนักเรียนท่ีสามารถอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ
(Word stress) เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ โดยใช้ชุดคาศัพท์จากบทเรยี น
สาหรับนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 ในการทดลองครั้งท่ี 1 มนี กั เรียนจานวน 10 คน ทีอ่ า่ นคาศัพท์ได้ถูกต้อง
และมีนักเรยี นทอี่ า่ นได้ถูกต้องเพิม่ ข้ึนในครงั้ ถัดไป จนถงึ ครั้งสุดทา้ ยมีนักเรยี นจานวน 27 คนทีส่ ามารถอ่านได้
ถูกตอ้ ง และนักเรยี นจานวน 3 คนท่ยี งั อา่ นไมไ่ ด้

23

วัตถปุ ระสงค์ ข้อท่ี 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิการอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพทภ์ าษาอังกฤษ
(Word Stress) โดยใช้ชุดคาศพั ท์จากบทเรียน สาหรับนักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4

ตารางที่ 2 ผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียนและหลังเรียนจากการทดสอบการอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศพั ท์
ภาษาอังกฤษ (Word stress) โดยใช้ชุดคาศพั ท์จากบทเรยี น มผี ลดงั น้ี

ผลการ จานวนนกั เรยี น จานวน จานวน หมายเหตุ
เรียนรู้ ทง้ั หมด นกั เรียน นักเรียนที่
ทอี่ ่านได้ อ่านไม่ได้
ก่อนเรยี น 30
10 20
หลงั เรยี น 30
27 3
รวม 37 23
24.67 15.30
คา่ เฉลย่ี 8.72 5.40

ค่า S.D.

จากตารางที่ 2 พบว่า 2 ผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนจากการทดสอบการอ่านออกเสียง
เนน้ หนักในคาศัพทภ์ าษาอังกฤษ (Word stress) โดยใชช้ ุดคาศพั ท์จากบทเรียน เพื่อพฒั นาการอ่านออกเสียง
เน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ โดยใช้ชุดคาศัพท์จากบทเรียน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ในการ
ทดสอบก่อนเรียน มีนักเรียนจานวน 10 คน ท่ีอ่านคาศัพท์ได้ถูกต้อง และนักเรียนจานวน 20 คน อ่านไม่
ถูกต้อง และการทดสอบหลังเรียนมีนักเรียนท่ีอ่านคาศัพท์ได้ถูกต้องจานวน 27 คน และนักเรียนท่ีอ่านไม่
ถูกต้องจานวน 3 คน

จากแผนภูมิที่ 1 พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ซึ่งก่อนเรียนมีนักเรียนที่
ทดสอบอ่านได้ถูกต้องจานวน 10 คน และหลังเรียนมีนักเรยี นที่ทดสอบอ่านได้ถูกต้องจานวน 27 คน สรุปได้
ว่า นักเรยี นมีการพัฒนาการอ่านออกเสยี งเน้นคาในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ (Word stress) ที่ดีขึน้

24

บทที่ 5
สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

การวิจัยเรื่อง การพัฒนาการอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ (Word Stress) โดยใช้
ชดุ คาศพั ท์จากบทเรียน สาหรบั นักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 การวิจยั ครัง้ น้มี ีวัตถปุ ระสงค์ ดงั นี้

1. เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ (Word Stress) โดยใช้ชุดคาศัพท์
จากบทเรยี น สาหรบั นักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4

2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิการอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ (Word Stress)
โดยใชช้ ดุ คาศพั ทจ์ ากบทเรยี น สาหรบั นกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 ซง่ึ สามารถสรุปผลการวจิ ยั ได้ ดงั นี้

สรุปผลการวิจัย
ตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. เพ่ือพัฒนาการอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ (Word

Stress) โดยใช้ชุดคาศัพทจ์ ากบทเรียน สาหรับนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ผลทไี่ ด้ คอื
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 มีทักษะอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ (Word

stress) ท่ีดีข้ึนเป็นส่วนใหญ่ จากท่ียังอ่านไม่ค่อยได้เลย ซ่ึงมีนักเรียนที่สามารถอ่านออกเสียงเน้นหนักใน
คาศัพท์ภาษาอังกฤษได้ดีขึ้นจากครัง้ แรกจานวน 27 คน และในจานวนนกั เรียนที่มีทักษะการอ่านที่ดีข้ึนนั้นมี
หลายระดับ จึงจาเป็นต้องมีการฝึกทักษะการอ่านออกเสียงเน้นหนักอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้นักเรียนได้
พฒั นาการอ่านออกเสียงคาศัพทใ์ ห้ดยี ่ิงข้นึ ไปอกี

ตามวัตถุประสงค์ ข้อท่ี 2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิการอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์
ภาษาอังกฤษ (Word Stress) โดยใช้ชุดคาศัพท์จากบทเรยี น สาหรบั นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ผลท่ีได้ คือ

1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีผลสัมฤทธ์ิหลังเรียนที่ดีขึ้นตามลาดับ หลังจากการใช้ชุดคาศัพท์
จากบทเรียนในการพัฒนาการอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ ซ่ึงมีนักเรียนจานวน 27 คน ท่ี
สามารถทดสอบได้ผ่านเกณฑ์ และมีนักเรียน 3 คนท่ีทดสอบไม่ผ่านเกณฑ์ แต่มีการพัฒนาขึ้นจากเดิม ซ่ึงมี
คะแนนเฉล่ียหลังเรียน เท่ากบั 24.67 และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน เท่ากบั 8.72

2. นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ให้ความสนใจในการทากิจกรรมการสอนเป็นอย่างดี และเมื่อมีการ
ทดสอบนักเรียนส่วนใหญ่สามารถอา่ นออกเสยี งเนน้ หนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษไดด้ ีขึน้

อภปิ รายผล
จากผลการดาเนินงานพบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนกาแพงวิทยา มีทักษะการอ่าน

ออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษท่ีดีขึ้น ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะนักเรียนให้ความสนใจกับเรียนรู้ โดยใช้
ชุดคาศัพท์จากบทเรียนเป็นอย่างดี ซึ่งนักเรียนส่วนใหญ่มีความพยายามในการฝึกอ่าน จึงทาให้นักเรียนเกิด
การพัฒนาและสามารถฝึกฝนตนเองให้มีทักษะการอ่านออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษที่ดีข้ึนได้
และผลการวิจัยน้ีสอดคล้องกับ ปราถนา ผดุงพจน์ ( 2560 ), กล่าวว่า นักศึกษามีพัฒนาการในการออกเสียง
พยางค์ไม่เน้นในคาภาษาอังกฤษที่มีมากกว่า 1 พยางค์หลังการใช้กิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษดีกว่าก่อนการใช้
กิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษการทดสอบทักษะการออกเสียงภาษาอังกฤษของกลุ่มตัวอย่างโดยใ ช้แบบทดสอบ
ก่อนเรียนในสัปดาหที่ 1 และมอบหมายงานกลุ่มสร้างกิจกรรมท่ีส่งเสริมทักษะการออกเสียงคาศัพท์
ภาษาอังกฤษเพ่ือนาเสนอกิจกรรมในห้องเรียนในสัปดาหท่ี 4 และนาไปจัดกิจกรรมค่ายในโรงเรียนและ
ทดสอบหลังเรียน เพราะนักศึกษาได้เรียนรู้เเละฝึกซ้อมหลายครั้งจนเกิดความเคยชินจนสามารถออกเสียงดี
เเละได้ถูกต้องกว่าก่อนทากิจกรรมค่าย และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ ปิยนาถ อินทร์เจริญ (2562) ได้

25

ศึกษาเกี่ยวกับความผิดพลาดการเน้นเสยี งพยางคร์ ะดับคา และสาเหตคุ วามผิดพลาดการเนน้ เสยี งในระดับคา
ของนักเรียนท่ีเรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศและครูผู้สอนภาษาอังกฤษ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4- 6
จานวน 77 คน และครูผู้สอนนักเรียนดังกล่าว 3 คน โรงเรียนแห่งหน่ึงในจังหวัดชลบุรี โดยศึกษาจาก
หมวดหมู่การเน้นเสียงพยางค์ในระดับคา 4 ปัจจัย ของ Carr (2013) ได้แก่ 1. การเน้นเสียงตามน้าหนัก
พยางค์ในภาษาอังกฤษ (Syllable weight) 2. การเน้นเสียงของคาประสมในภาษาอังกฤษ (Compound
words) 3. การเน้นเสียงตามโครงสร้างหน่วยคาในภาษาอังกฤษ (Morphology structure) และ4. การเน้น
เสยี งตามหน้าที่ของคาในภาษาอังกฤษ (Syntactic category) โดยนาแบบทดสอบการอา่ นชดุ คาศัพทท์ ้ังหมด
40 คา จากผลการวิเคราะห์นักเรียนออกเสียงเน้นพยางค์ในระดับคาไม่ถูกต้องเนื่องจากไม่เข้าใจเรื่องหน้าท่ี
ของคาในภาษาอังกฤษท่ีมีผลกระทบต่อการเน้นเสียงโดยผลการเฉล่ียคาที่เน้น เสียงพยางค์ผิดคิดเป็นร้อยละ
41.30 และผลการวเิ คราะห์ครผู ้สู อนออกเสียงเนน้ พยางคใ์ นระดับคาได้ถูกต้องในระดับดีมาก โดยคดิ ผลเฉลี่ย
คาที่เนน้ เสยี งพยางค์ผดิ เพยี งร้อยละ 5

ผลการศึกษาสรุปได้ว่า นักเรียนท่ีเรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศมีความผิดพลาดในการ
เน้นเสียงพยางค์ระดับคา เน่ืองจากไม่เข้าใจเรื่องหน้าท่ีของคาในภาษาอังกฤษและน้าหนักพยางค์ท่ีมีผลต่อ
การเนน้ เสียง พยางคร์ ะดบั คาในภาษาอังกฤษ นอกจากน้นั อิทธิพลของภาษาไทยซึ่งเป็นภาษาแมข่ องผู้เรียนมี
ผลทาให้นักเรียนเกิดความผิดพลาด เนื่องจากนักเรียนไม่ออกเสียงพยัญชนะท้ายคาและเสียงพยัญชนะที่ไม่มี
ในภาษาไทย

ข้อเสนอแนะ
จากผลการวจิ ยั ครง้ั นี้ ผู้วจิ ยั มีข้อเสนอแนะ ดงั ต่อไปน้ี
1. ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจยั ไปใช้
นักเรียนสามารถฝึกการออกเสียงเน้นหนักในคาศัพท์ภาษาอังกฤษของตนเองด้วยการดูหนัง ดูซีร่ีย์

ฟังเพลง หรืออ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาษาอังกฤษในส่ิงที่นักศึกษาสนใจ นอกจากจะได้ศึกษาการออกเสียง
คาศัพท์ภาษาอังกฤษแล้วยงั ไดท้ ักษะอ่นื ๆ ไปดว้ ย เชน่ การออกเสียงเนน้ หนกั ในประโยค

2. ข้อเสนอแนะในการทาวจิ ยั ครง้ั ต่อไป
จากการทาวิจัยครั้งน้ี พบว่า นักเรียนบางคนมีพฤติกรรมท่ีไม่สนใจในการฝึกอ่าน จึงจาเป็นต้องมีส่ิง
กระตุ้นความสนใจท่ีหลากหลายมากขึ้น โดยการนาสอื่ อ่ืน ๆ มาใช้ในการเรียนการสอน เพ่ือดึงดูดความสนใจ
ของผู้เรียนในการทากจิ กรรม เก่ียวกบั การอา่ นออกเสยี งเนน้ หนกั ในคาศัพทภ์ าษาอังกฤษทผี่ วู้ จิ ัยได้จัดทาข้นึ

26

บรรณานุกรม

กาญจนาพร รุจิโฉม. (2561). การสอ่ื สารภาษาอังกฤษของคนไทยกบั การดาเนินชีวติ ในศตวรรษท่ี21.
วารสารศลิ ปการจดั การ, 2(3), 201-202.

กิตตพิ ฒั น์ ทาวงศ์ษา. (2558). ภาษาอังกฤษกับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน. วารสารศรีล้านชา้ งปรทิ รรศน์,
จินตนา ไชยฤกษ์. (2556, 18 กนั ยายน). ภาษาอังกฤษสาคัญอย่างไร. เขา้ ถึงจาก

https://www.gotoknow.org/posts/548608
ณีรวัลย์ ปัน้ ทอง. (2558). การเน้นพยางค์และการลดรูปสระในพยางคไ์ ม่เนน้ ในภาษาองั กฤษของนักเรยี น

โรงเรียนสองภาษา. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา, 23(41),
139.
ถิรวัฒน์ ตนั ทนสิ . (2555). การศึกษาปญั หาการออกเสียงภาษาอังกฤษและกลวิธกี ารเรยี นการออกเสยี ง

ภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาสหวิทยาการช้ันปีที่ 3 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. Language and
Linguistics, 31(1), 81-102.
ปัณฑิตา อัจฉริยาการุณ. (2563, 15 มกราคม). กา รออกเสียงภ า ษา อั งก ฤษ เข้าถึงจาก
http://tmac.rtarf.mi.th/

ปิยนาถ อนิ ทร์เจริญ. (สงิ หาคม 2562). การศกึ ษาข้อผิดพลาดของการเน้นเสยี งพยางค์

ในระดบั คำภาษาอังกฤษของนักเรยี นและครผู ู้สอนภาษาอังกฤษ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4-6

ที่ใชภ้ าษาอังกฤษเปน็ ภาษาตา่ งประเทศ.เข้าถงึ จาก

digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/55920332.pdf

วรนิ ทร แดนดี. (2561). การออกเสียงคาภาษาอังกฤษผิดพลาดของพนกั งานระดับปฏิบัติการในโรงงาน

อุตสาหกรรมเขตอมตะ นครจงั หวดั ชลบรุ ี. Humanities and Social Sciences, 35(1), 68-91.

หลกั สตู รเเกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 เขา้ ถงึ จาก

http://www.cvk.ac.th/download

Algifari, M. Y. (2562). Analyzing Students’ Pronunciation Of Word Stress Of Iet 7

Students Of Cambridge English College (Cec) Makassar (Doctoral dissertation,

Universitas Islam Negeri Alauddin Makassar).

Dieu, T. T. T. (2562). Some English Stress Mistakes and Solutions-A Phonetic
Experimental Research on Vietnamese Students. Journal of Language and
Linguistics, 5(2), 39-49.

27

บรรณานกุ รม (ต่อ)
Haryani, H. (2559). THE ANALYSIS OF STUDENTS ERRORS IN STRESS PLACEMENT IN

ENGLISH PRONUNCIATION. e-Journal of ELTS (English Language Teaching Society),
Karjo, C. H. (2559). Accounting for L2 learners’ errors in word stress placement.

Indonesian Journal of Applied Linguistics, 5(2), 199-208.
Minerva. (2563, กรกฎาคม 17). เรยี นรูก้ ารออกเสยี งใหถ้ ูกตอ้ งกับหลกั Phonetics และตวั อกั ษร IPA

เบ้ืองต้น. เขา้ ถงึ จาก https://www.scholarship.in.th/
Noppon Soonthornkrachang และ Jirayu Prayoonkham (2563,30 มถิ ุนายน). หลักการ stress

(ลงเสียงหนัก) ในภาษาอังกฤษ. เขา้ ถงึ จาก https://www.engnow.in.th
Padungpote, P. (2560).การพฒั นาการออกเสียงพยางคไ์ ม่เน้นในคาภาษาอังกฤษโดยการใช้กจิ กรรมค่าย

ภาษาอังกฤษใน รายวิชาสทั ศาสตร์ ภาษาอังกฤษสาหรบั นักศกึ ษา สาขาวชิ า ภาษาองั กฤษ
มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนคร. JOURNAL OF
Peter Roach. (2552). English Phonetics and Phonology. (4th ed.). A Practical
Course.Cambridge University Press.

28

ภาคผนวก ก
แผนการจดั การเรยี นรู้

29

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1

กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ รหสั วิชา อ31102 รายวชิ าภาษาอังกฤษ
ปีการศกึ ษา 2564
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 2 ชว่ั โมง

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง That’s me

ชื่อครผู สู้ อน นางสาวซิลมีย์ ลาลี

1. มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก และความ

คิดเห็น อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอขอ้ มลู ข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคดิ เหน็ ในเร่ืองต่าง ๆ โดยการพดู และ

การเขยี น

มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใช้ได้อย่าง

เหมาะสม กับกาลเทศะ

มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับ

ภาษา

และวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถกู ต้องและเหมาะสม

มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐาน

ในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน

มาตรฐาน ต 4.1 ใชภ้ าษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทัง้ ในสถานศกึ ษา ชมุ ชน และสังคม

มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ

และการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้กับสงั คมโลก

ตัวชว้ี ัด

ต 1.1 ม 4-6/1 ปฏิบัติตามคาแนะนาในคู่มือการใช้งานต่าง ๆ คาช้ีแจง คาอธิบาย และคาบรรยายที่ฟัง

และอ่าน

ต 1.1 ม 4-6/4 จับใจความสาคัญ วิเคราะห์ความ สรุปความ ตีความ และแสดงความคิดเห็นจากการฟัง

และอ่าน เร่ืองที่เป็นสารคดี และบันเทิงคดี พร้อมท้ังให้เหตุผลและยกตัวอย่าง

ประกอบ

ต 1.2 ม 4-6/1 สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เร่ืองต่าง ๆ ใกล้ตัว ประสบการณ์

ส ถ า น ก า ร ณ์

ข่าว/เหตกุ ารณ์ ประเดน็ ท่อี ยู่ในความสนใจของสังคม และสื่อสารอยา่ งตอ่ เนือ่ งและ

เหมาะสม

ต 1.2 ม 4-6/2 เลือกและใชค้ าขอรอ้ ง ใหค้ าแนะนา คาชแ้ี จง คาอธบิ ายอยา่ งคลอ่ งแคล่ว

30

ต 1.2 ม 4-6/4 พูดและเขียนเพ่ือขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็น
เก่ยี วกับ เร่อื ง/ประเด็น/ข่าว/เหตุการณท์ ่ีฟงั และอา่ นอยา่ งเหมาะสม

ต 1.2 ม 4-6/5 พูดและเขียนบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ
กจิ กรรม ประสบการณ์ และข่าว/เหตุการณอ์ ยา่ งมีเหตผุ ล
ต 1.3 ม 4-6/1 พูดและเขียนนาเสนอข้อมูลเก่ียวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ เร่ือง และ
ประเดน็ ต่าง ๆ ทอ่ี ยู่ในความสนใจของสงั คม
ต 2.1 ม 4-6/3 เขา้ รว่ ม แนะนา และจดั กิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมอย่างเหมาะสม
ต 2.2 ม 4-6/1 อธิบาย/เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สานวน คาพังเพย

สุภาษติ และบทกลอนของภาษาตา่ งประเทศและภาษาไทย
ต 4.1 ม 4-6/1 ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จาลอง ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา
ชุมชน และสงั คม
ต 4.2 ม 4-6/1 ใช้ภาษาต่างประเทศ ในการสืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปความรู้/ข้อมูลต่าง


จากส่อื และแหล่งการเรียนร้ตู ่าง ๆ ในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชีพ

2. สาระสาคัญ
การฝึกทักษะการ ฟัง พูด อ่าน เขียน การใช้คาศัพท์ สานวน เกี่ยวกับตนเองและเร่ืองต่าง ๆ ใกล้ตัว
ประสบการณ์ ปฏิบัติตามคาชี้แจง จับใจความสาคัญ วิเคราะห์ความ สรุปความ ตีความ และแสดงความ
คิดเห็นจากการฟังและอ่านอธิบาย/เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างโครงสร้างของภาษาต่างประเทศและ
ภาษาไทย วเิ คราะห์/อภปิ ราย เข้ารว่ ม แนะนา และจดั กิจกรรมทางภาษา ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/
ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปความรู้/ข้อมูลต่าง ๆ ได้ถูกต้องตามหลักของเจ้าของภาษา โดยใช้
กระบวนการเรียนภาษา กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการแก้ปญั หา กระบวนการกลมุ่ กระบวนการคิดอย่างมี
วจิ ารณญาณ

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ (K/P/A)
1. นักเรยี นสามารถบอกข้อมลู ทีเ่ กยี่ วกบั ตนเองได้
2. นกั เรยี นพดู และเขียนนาเสนอขอ้ มูลเกีย่ วกับตนเองได้
3. นักเรยี นมีวนิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ และมคี วามมุ่งม่นั ในการทางาน

3. สาระการเรียนรู้
Vocabulary – Hobbies / Pastimes

4. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น
4.1 ความสามารถในการสอื่ สาร

4.2 ความสามารถในการคิด
4.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
4.4 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
4.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

31

5. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
5.1 ซ่อื สตั ยส์ ุจรติ
5.2 มวี นิ ัย
5.3 ใฝ่เรียนรู้
5.4 มุ่งมนั่ ในการทางาน

6. ช้นิ งาน /ภาระงาน
Writing – Conversation Script

7. กจิ กรรมการเรียนรู้ : วธิ ีสอนแบบ 3P
1. ขนั้ นาเขา้ สู่บทเรยี น (Warm up)

ครูถามคาถาม ดังน้ี
What are your favorite hobbies? หรอื How do you describe your hobbies?

2. ครูอธิบายคาศัพท์ hobbies แปลว่างานอดิเรก และมีคาศัพท์อีกคาท่ีมีความหมายใกล้เคียงกัน
คอื pastimes

2. ข้ันนาเสนอ (Presentation)
1. นกั เรียนอา่ นคาถามหน้า 7 และจบั กลุ่มเพือ่ ถามหาคาตอบ

What are the people in the picture doing?
What kinds of things do you like to do with your friends?
How important is your phone to you?
Why do you think people enjoy social media?

2. ครเู รยี กนักเรยี นออกมาพดู คาตอบตวั อยา่ งทีละกลุม่
3. ครถู ามนักเรยี นเกยี่ วกบั กจิ กรรมท่ีทาในเวลาว่าง เชน่
Do you prefer spending your free time alone or with friends? Why?
Do you prefer free-time activities you can do alone or with other people? Why?
What is your favorite social media? Why?
What are the benefits / detriments of social media? Why?

3. ขั้นฝกึ (Practice)
1. ครูเขียนคาวา่ hobbies and pastimes บนกระดาน นกั เรยี นชว่ ยบอกคาศพั ทท์ ีเ่ กี่ยวข้อง

Possible Answers
reading (books / comic books), traveling, fishing, hunting, camping, hiking,
crafting, making models, playing video games, writing, making art, playing music, collecting
things, gardening, cooking, playing sports, etc.

32

นกั เรียนฟงั Track 1-01 หน้า 8 แลว้ พดู ตาม
Track 1-01
Narrator: Number 1
W1: Hey! You can’t just put all your recycling in the bin. You need to sort it

by category.
M1: Oh! I see. Separate paper, plastic, and metal. No problem.
Narrator: Number 2
W1: What’s your favorite pastime?
M1: I like to relax and play video games.
Narrator: Number 3
M1: What are your plans while you’re abroad?
W1: I like exploration, so I’m just going to look around.
Narrator: Number 4
W1: Oh, wow. Look at what I found!
M1: Neat. It looks like you found a little cache of money.
Narrator: Number 5
M1: I love the outdoors. Let’s go on a little outdoor adventure!
W1: Sounds great!
Narrator: Number 6
M1: Do you all want to see the photos from my recent trip to Argentina?
W1: Sure, I’d love to.
Narrator: Number 7
M1: How can I help with the volunteer food drive this year?
W1: You can contribute by helping us collect canned foods.
Narrator: Number 8
W1: The closer you get to the center of the target, the more points you'll

receive.
M1: I see. The center is worth 10 points, right?

3. นักเรยี นฟงั Track 1-01 หนา้ 8 และใส่หมายเลข

33

Answer Key

From left to right, top to bottom

6. recent

1. category

5. outdoor

2. pastime

3. exploration

8. target

7. contribute

4. นักเรยี นฟงั 4.Tcarcahcek 1-01 อกี คร้ัง ฝกึ ออกเสยี งให้ถกู ตอ้ ง
5. นกั เรียนอา่ นคาศัพทแ์ ละความหมายในกิจกรรมท่ี 2
6. นักเรยี นจับคู่คาศัพทแ์ ละความหมายในกิจกรรมท่ี 2
7. ครตู รวจคาตอบของนักเรียน

34

4. ขนั้ นาไปใช้ (Production)
1. นักเรยี นดคู ลปิ และพดู ตาม https://www.youtube.com/watch?v=Wcjx6xReC7U
2. นักเรียนจบั กลุ่ม กลมุ่ ละ 3 คน เขยี นบทสนทนา โดยเปลย่ี นเป็นข้อมลู ของนกั เรยี นเอง

Example

What do you like doing?

What kind of hobbies do you have?

What do you do in your free time?

In my free time, I…
When I have some spare time, I…
When I get the time, I…
I relax by watching TV / listening to music, etc.
My hobby is bird-watching / cooking, etc.

3. นักเรียนฝกึ พดู ตามบททเ่ี ขียน

5. ข้ันสรปุ (Wrap up)
1. นักเรียนออกมาพดู หนา้ ชน้ั เรยี น เพอ่ื นและครชู ่วยกันให้ feedback

8. ส่ือการเรยี นรู้ /แหล่งเรยี นรู้
1. หนงั สือเรยี น New Frontiers 5

2. แบบฝกึ หัด New Frontiers 5
3. โปรเจกเตอร์
4. คอมพวิ เตอร์
5. YouTube
6. smartphone / ipad

35

9. การวดั ผลและการประเมินผลการเรียนรู้ (รปู แบบปรับเปล่ยี นได้)

เป้าหมายการเรียนรู้ ช้นิ งาน/การแสดงออก วธิ ปี ระเมิน/เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ
ของผู้เรียน

1. นักเรยี นสามารถบอก สังเกตการมสี ว่ นรว่ มใน แบบประเมนิ พฤติกรรม นักเรียนต้องไดร้ ะดับ

ขอ้ มลู ที่เกยี่ วกบั ตนเอง ชนั้ เรียน รายบุคคล คุณภาพ “ระดบั ดี”

ได้ ขน้ึ ไป

2. นักเรยี นพดู และเขยี น ประเมนิ การเขียน แบบประเมินการเขยี น นกั เรียนตอ้ งไดร้ ะดบั

นาเสนอข้อมูลเก่ยี วกับ คณุ ภาพ “ระดบั ดี”

ตนเองได้ ขึน้ ไป

3. นักเรยี นมวี นิ ัย ใฝ่ สังเกตพฤตกิ รรม แบบประเมิน นกั เรียนต้องไดร้ ะดับ

เรยี นรู้ และมีความ คุณลกั ษณะอนั พงึ คุณภาพ “ดี” ข้นึ ไป

มุง่ มั่นในการทางาน ประสงค์

36

10. ความเหน็ ของหัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้
 อนุญาตให้ใชจ้ ัดการเรียนการสอนได้
 ควรปรับปรงุ คอื ................................................................................................................

ลงช่ือ………………………………………..
(นางปาลติ า อาดุลเบบ)

หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

11. ความคิดเหน็ รองผู้อานวยการกลุม่ บรหิ ารวิชาการ
 องค์ประกอบของแผนการจดั การเรียนรู้.............................................................................
 มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้ีวดั /ผลการเรียนรสู้ อดคลอ้ ง.......................................................
 สาระสาคญั ครอบคลมุ ชดั เจน.............................................................................................
 สาระการเรยี นรู้มคี วามถูกต้องตามหลักวิชาการ................................................................
 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้มีความชดั เจนครอบคลุม (K/P/A).....................................................
 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน................................................................................................
 คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค.์ ................................................................................................
 ระบุภาระงาน/ชนิ้ งาน........................................................................................................
 กจิ กรรมการเรยี นร้เู น้นผู้เรียนเป็นสาคญั ...........................................................................
 ส่อื และอปุ กรณ์การเรยี นร.ู้ ................................................................................................
 การวัดและการประเมินผลตามจดุ ประสงค์การเรยี นร.ู้ ..........................................................
 เสนอสง่ แผนการจดั การเรยี นรู้ตามข้ันตอนระบบงาน........................................................
 บนั ทกึ หลังสอน.................................................................................................................

( นายอับดลรอศักด์ิ มณีโส๊ะ)
รองผูอ้ านวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

12. ความคดิ เหน็ ผอู้ านวยการโรงเรยี น

 อนญุ าตให้ใช้จดั การเรียนการสอนได้
 ควรปรบั ปรุง คือ................................................................................................................

( นายสริ วฒุ ิ ยนุ ยุ้ )
ผอู้ านวยการโรงเรียนกาแพงวิทยา

37

13. บนั ทึกหลงั การจัดกิจกรรมการเรยี นรูแ้ ผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 1

13.1 ผลการจดั การเรียนรู้ (ตามจุดประสงค์การเรียนรู้)

ดา้ นความรู้ (K) : 1. นักเรยี นสามารถบอกข้อมลู ทเ่ี ก่ยี วกับตนเองได้

ผลจากการจดั กจิ กรรม

นักเรียนท้ังหมด 33 คน ผา่ นการประเมิน 31 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 93.94

ไมผ่ ่านการประเมนิ 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 6.06

ชั้น ม.4/5

นกั เรยี นทง้ั หมด 44 คน ผา่ นการประเมิน 38 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 86.36

ไมผ่ า่ นการประเมิน 6 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 13.64

ชัน้ ม.4/6

นกั เรียนทัง้ หมด 31 คน ผา่ นการประเมิน 28 คน คดิ เป็นร้อยละ 90.33

ไม่ผา่ นการประเมนิ 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 9.67

ด้านกระบวนการ (P) : 2. นักเรยี นพดู และเขยี นนาเสนอข้อมลู เกย่ี วกับตนเองได้

ผลจากการจัดกจิ กรรม

นกั เรยี นท้งั หมด 33 คน ผ่านการประเมิน 31 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 93.94

ไม่ผา่ นการประเมนิ 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.06

ชนั้ ม.4/5

นกั เรียนทั้งหมด 44 คน ผา่ นการประเมิน 38 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 86.36

ไมผ่ า่ นการประเมิน 6 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 13.64

ชั้น ม.4/6

นกั เรียนทั้งหมด 31 คน ผ่านการประเมิน 28 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 90.33

ไมผ่ า่ นการประเมนิ 3 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 9.67

ด้านคุณลกั ษณะ (A) : นักเรียนมีวนิ ัยในการเรยี น ใฝ่เรียนรู้ และมคี วามมงุ่ ม่ันในการทางาน

ผลจากการจัดกิจกรรม

ชั้น ม.4/2

นกั เรยี นทั้งหมด 33 คน ผา่ นการประเมิน 33 คน คดิ เป็นร้อยละ 100

ไม่ผ่านการประเมิน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ -

ชน้ั ม.4/5

นักเรยี นทง้ั หมด 44 คน ผ่านการประเมิน 44 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100

ไม่ผ่านการประเมิน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ –

ชั้น ม.4/6

นกั เรียนทงั้ หมด 31 คน ผา่ นการประเมิน 31 คน คดิ เป็นร้อยละ 100

ไมผ่ ่านการประเมนิ - คน คิดเป็นร้อยละ -

38

13.2 แนวทางแกป้ ญั หานกั เรียนที่ไม่ผา่ นตวั ชี้วัด/ผลการเรียนรูห้ รอื จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ครใู ห้นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินตามจุดประสงค์ปรบั คะแนนจนผ่านเกณฑ์การประเมิน และครูนา

ผลการประเมินมาปรับปรุง และหาแนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน เพื่อเพิ่ม
จานวนนกั เรยี นท่ผี ่านการประเมนิ ใหส้ งู ข้นึ

ลงช่อื …………………………………….…………………
(นางสาวซลิ มยี ์ ลาลี)
ครูผูส้ อน

39

เกณฑก์ ารประเมินการพูด

ระดับคะแนน 4 3 21
ประเดน็
การประเมิน ส่อื สารไดต้ รง สอ่ื สารได้ตรง สื่อสารได้ตรง สือ่ สารได้
ประเดน็ เนอ้ื หา ประเดน็ เนื้อหา ประเดน็ เปน็ เน้อื หานอ้ ย
ความถกู ต้อง ถูกต้องตามหวั ข้อที่ ถูกต้องเปน็ ส่วน บางสว่ นเนอื้ หา ออกเสียง
ดา้ นเนอื้ หา กาหนด ออกเสียง ใหญ่ออกเสยี ง และการออกเสยี ง ไม่ถูกตอ้ งเปน็
ถกู ต้องใช้คาศัพท์ ถกู ต้องเปน็ ส่วนใหญ่
ความสามารถ สานวน และ ไดถ้ ูกตอ้ ง บางส่วน
ในการพูด โครงสร้างภาษา พดู เหมือน
พูดได้ พูดได้คล่องแคล่ว ทอ่ งจา มีการ
ถกู ต้อง คลอ่ งแคลว่ พดู แต่ไม่เป็น
เป็นธรรมชาติ ประสาน
พูดได้คลอ่ งแคล่ว พดู ประสานสายตา ธรรมชาตปิ ระสาน สายตากับผฟู้ ัง
เปน็ ธรรมชาติ กับผูฟ้ งั มีการ สายตากบั ผูฟ้ ังน้อย บ้างเป็นระยะ
แสดงออกทางสี
ประสานสายตากบั หนา้ และท่าทาง
ผูฟ้ งั มีการแสดงออก บ้างเล็กนอ้ ย

ทางสีหน้าและ
ท่าทางอยา่ ง
เหมาะสม

40

เกณฑ์การประเมนิ งานเขยี น
1. ด้านเน้ือหา (Content) 4 คะแนน

ระดับ 4 มีความรู้ในเรื่องท่ีเขียนดีมาก งานเขียนสอดคล้องกับหัวข้อที่กาหนด รายละเอียดสนับสนนุ
ชดั เจน

ระดบั 3 มีความรู้ในเรื่องท่ีเขียนดีปานกลาง งานเขียนมีความสอดคล้องกับหัวข้อที่กาหนด
รายละเอยี ดสนบั สนนุ ไมค่ อ่ ยชัดเจน

ระดบั 2 มีความรู้จากัดในเร่ืองที่เขียน งานเขียนมีความสอดคล้องกับหัวข้อท่ีกาหนดน้อย ไม่มี
รายละเอียดสนบั สนุน

ระดบั 1 ไม่มีความรใู้ นเร่ืองที่เขยี น งานเขยี นไมส่ อดคล้องกับหัวข้อที่กาหนด หรอื ไม่สามารถประเมิน
ได้
2. ด้านการเรยี บเรยี ง (Organization) 4 คะแนน

ระดับ 4 ใช้ภาษาสละสลวย ถ่ายทอดความคดิ ได้ชดั เจน นาเสนอใจความสาคัญไดช้ ดั เจน
ระดบั 3 ใชภ้ าษาสละสลวยดพี อใช้ การเรียบเรียงยังไมค่ ่อยดี แตย่ ังนาเสนอใจความสาคัญได้ชัดเจน
ระดับ 2 ใชภ้ าษาไมส่ ละสลวย มีความสับสนหรอื ไมส่ ัมพันธ์กนั
ระดบั 1 ไมส่ ามารถสื่อความคดิ ได้ ขาดการเรียบเรยี บ หรอื ไม่สามารถประเมนิ ได้
3. ด้านการใช้คาศัพท์ (Vocabulary) 4 คะแนน
ระดบั 4 ใชค้ าศัพท์ได้เช่ียวชาญ เลอื กใช้คาและสานวนได้เหมาะกบั ระดับทเ่ี รียน มีความเช่ียวชาญใน
การสรา้ งคาระดบั ภาษาเหมาะสม
ระดบั 3 เลือกใช้ศัพท์ได้ในระดับดีพอสมควร มีข้อผิดพลาดในการใช้ศัพท์และสานวนบ้าง แต่พอ
เข้าใจได้
ระดบั 2 ใชค้ าศพั ท์จากดั มขี ้อผิดพลาดมาก ส่อื ความหมายสับสนหรอื ยากที่จะเขา้ ใจ
ระดับ 1 ไม่ค่อยมคี วามรเู้ กย่ี วกับศพั ท์ภาษาอังกฤษ หรือไม่สามารถประเมินได้
4. ดา้ นการใชภ้ าษา (Language use) 4 คะแนน
ระดบั 4 ใช้ประโยคข้ันสูงหรือเหมาะสมกับระดับท่ีเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ มีข้อผิดพลาดเล็กน้อย
ในเร่ืองของไวยากรณ์
ระดบั 3 ใช้ประโยคขั้นสูงหรือเหมาะสมกับระดับท่ีเรียนดีพอใช้ มีข้อผิดพลาดเล็กน้อยในเร่ืองของ
ไวยากรณ์
ระดบั 2 มีข้อผิดพลาดในการใชป้ ระโยคและไวยากรณ์มาก
ระดบั 1 ไม่มีความรู้เร่ืองการเขียนประโยค มีข้อผิดพลาดมาก สื่อสารไม่ได้ หรือไม่สามารถประเมิน
ได้
5. ดา้ นกลไกภาษา (Mechanics) 4 คะแนน
ระดับ 4 ใช้ไดแ้ ม่นยาตามกฎเกณฑ์ แทบไมม่ ีขอ้ ผิดพลาดในการสะกดคา เคร่อื งหมายวรรคตอน การ
ใชอ้ ักษรพมิ พใ์ หญ่ การย่อหน้า
ระดบั 3 มีข้อผิดพลาดไม่มากนักในเรื่องการสะกดคา เครื่องหมายวรรคตอน การใช้อักษรพิมพ์ใหญ่
การย่อหน้า แตย่ งั สื่อความหมายได้เขา้ ใจ
ระดบั 2 มีข้อผิดพลาดมากในเรื่องการสะกดคา เครื่องหมายวรรคตอน การใช้อักษรพิมพ์ใหญ่ การ
ยอ่ หน้า ลายมืออ่านไม่ออก ส่อื ความหมายได้สับสน

41

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏิบัตกิ ิจกรรม
คาชีแ้ จง ให้ทาเครอ่ื งหมาย  ในช่องทีต่ รงกบั ความเป็นจรงิ

ช่ือ-สกุล การให้ความ พฤตกิ รรมท่ีสังเกต การมสี ว่ นร่วม
รว่ มมอื ในการทา ในชัน้ เรียน
การแสดง การยอมรับ
กิจกรรม ความคิดเห็น ความคิดเหน็

เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 4 คะแนน (ดีมาก)
พฤติกรรมทปี่ ฏิบัตเิ ป็นประจา ให้ 3 คะแนน (ดี)
พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ตั ิบ่อยครงั้ ให้ 2 คะแนน (ปานกลาง)
พฤติกรรมที่ปฏบิ ตั ิบางครง้ั ให้ 1 คะแนน (ปรับปรงุ )
พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั นิ ้อยคร้งั

ระดบั คุณภาพ
19-20 ยอดเย่ียม
16-18 ดมี าก
13-15 ดี
10-12 พอใช้
ตา่ กว่า 10 ปรบั ปรงุ

42

แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

ช่อื -สกุลนักเรยี น...........................................................................ห้อง..............................เลขท.ี่ ......................
คาชแี้ จง : ใหผ้ สู้ อน สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี / ลงในช่อง
ท่ตี รงกับระดบั คะแนน

คุณลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน
อนั พงึ ประสงค์ 3 2 10
1.ซอ่ื สตั ย์สุจรติ 2.1 ปฏบิ ัตติ ามระเบียบการสอน และไม่ลอกการบ้าน
2.2 ประพฤติ ปฏบิ ตั ิ ตรงตอ่ ความเปน็ จริงตอ่ ตนเอง
2. มวี ินยั 2.3 ประพฤติ ปฏิบตั ติ รงต่อความเปน็ จรงิ ตอ่ ผู้อ่นื
3.1 เข้าเรยี นตรงเวลา
3. ใฝเ่ รยี นรู้ 3.2 แตง่ กายเรียบร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะ
3.3 ปฏบิ ัตติ ามกฎระเบยี บของหอ้ ง
4. มงุ่ ม่นั ในการ 4.1 แสวงหาขอ้ มูลจากแหล่งเรียนรตู้ ่างๆ
ทางาน 4.2 มีการจดบนั ทึกความรู้อย่างเป็นระบบ
4.3 สรปุ ความร้ไู ด้อยา่ งมเี หตุผล
รวม 6.1 มคี วามต้งั ใจ และพยายามในการทางานที่ไดร้ บั มอบหมาย
6.2มีความอดทนและไม่ท้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อให้งานสาเร็จ

เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน 29-33 คะแนน ระดับคุณภาพ ดีเย่ยี ม (3)
- พฤติกรรมที่ปฏบิ ตั ชิ ัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 2 คะแนน 23-28 คะแนน
- พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบตั ชิ ดั เจนและบ่อยครั้ง ให้ 1 คะแนน 17-22 คะแนน ระดับคุณภาพ ดี (2)
- พฤติกรรมที่ปฏบิ ตั ิบางคร้งั ให้ 0 คะแนน 11-16 คะแนน
- พฤตกิ รรมทไี่ มไ่ ดป้ ฏิบัติ ระดับคณุ ภาพ พอใช้ (1)

ระดับคุณภาพ ปรับปรงุ (0)

43

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ รหัสวิชา อ31102 รายวิชาภาษาอังกฤษ
ปีการศึกษา 2564
ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 2 ชัว่ โมง

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 เรื่อง That’s me

ช่ือครูผสู้ อน นางสาวซิลมีย์ ลาลี

1. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ต 1.2 มีทกั ษะการสอ่ื สารทางภาษาในการแลกเปลย่ี นข้อมลู ขา่ วสาร แสดงความรู้สึก และ

ความคดิ เห็น อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ โดยการ

พูดและการเขยี น

มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใช้ได้

อยา่ งเหมาะสม กับกาลเทศะ

มาตรฐาน ต 2.2 เขา้ ใจความเหมือนและความแตกต่างระหวา่ งภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของ

ภาษากับภาษา

และวัฒนธรรมไทย และนามาใชอ้ ยา่ งถูกต้องและเหมาะสม

มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาตา่ งประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรูอ้ ่นื และเป็น

พ้นื ฐาน

ในการพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทศั น์ของตน

มาตรฐาน ต 4.1 ใชภ้ าษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม

มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาตา่ งประเทศเปน็ เครอื่ งมือพนื้ ฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชพี

และการแลกเปล่ียนเรยี นร้กู บั สังคมโลก

ตวั ชี้วดั

ต 1.1 ม 4-6/1 ปฏบิ ัตติ ามคาแนะนาในคู่มือการใชง้ านตา่ ง ๆ คาชีแ้ จง คาอธิบาย และคาบรรยายท่ีฟงั และ

อา่ น

ต 1.1 ม 4-6/4 จบั ใจความสาคญั วเิ คราะหค์ วาม สรุปความ ตคี วาม และแสดงความคดิ เหน็ จากการฟงั และ

อา่ น เร่อื งทเี่ ปน็ สารคดี และบันเทิงคดี พร้อมท้งั ให้เหตผุ ลและยกตวั อย่างประกอบ

ต 1.2 ม 4-6/1 สนทนาและเขยี นโตต้ อบข้อมูลเกยี่ วกบั ตนเอง เร่ืองต่าง ๆ ใกล้ตัว ประสบการณ์

สถานการณ์

ขา่ ว/เหตกุ ารณ์ ประเด็นที่อยใู่ นความสนใจของสงั คม และสื่อสารอยา่ งตอ่ เน่ืองและเหมาะสม

ต 1.2 ม 4-6/2 เลือกและใช้คาขอรอ้ ง ใหค้ าแนะนา คาชแ้ี จง คาอธบิ ายอยา่ งคล่องแคลว่

ต 1.2 ม 4-6/4 พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็น

เกยี่ วกบั เร่อื ง/ประเดน็ /ข่าว/เหตกุ ารณ์ท่ีฟงั และอ่านอย่างเหมาะสม

44

ต 1.2 ม 4-6/5 พูดและเขียนบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ
กิจกรรม ประสบการณ์ และขา่ ว/เหตกุ ารณอ์ ยา่ งมีเหตุผล
ต 1.3 ม 4-6/1 พูดและเขียนนาเสนอข้อมูลเก่ียวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ เร่ือง และ
ประเดน็ ตา่ ง ๆ ที่อยใู่ นความสนใจของสังคม
ต 2.1 ม 4-6/3 เข้ารว่ ม แนะนา และจัดกจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรมอย่างเหมาะสม
ต 2.2 ม 4-6/1 อธิบาย/เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สานวน คาพังเพย

สุภาษิต และบทกลอนของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย
ต 4.1 ม 4-6/1 ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จาลอง ที่เกิดข้ึนในห้องเรียน สถานศึกษา
ชุมชน และสงั คม
ต 4.2 ม 4-6/1 ใช้ภาษาต่างประเทศ ในการสืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปความรู้/ข้อมูลต่าง


จากสอ่ื และแหล่งการเรียนรูต้ ่าง ๆ ในการศกึ ษาต่อและประกอบอาชีพ

2. สาระสาคัญ
การฝึกทักษะการ ฟัง พูด อ่าน เขียน การใช้คาศัพท์ สานวน เกี่ยวกับตนเองและเร่ืองต่าง ๆ ใกล้ตัว
ประสบการณ์ ปฏิบัติตามคาช้ีแจง จับใจความสาคัญ วิเคราะห์ความ สรุปความ ตีความ และแสดงความ
คิดเห็นจากการฟังและอ่านอธิบาย/เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างโครงสร้างของภาษาต่างประเทศและ
ภาษาไทย วิเคราะห์/อภปิ ราย เข้าร่วม แนะนา และจัดกิจกรรมทางภาษา ใชภ้ าษาต่างประเทศในการสืบค้น/
ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปความรู้/ข้อมูลต่าง ๆ ได้ถูกต้องตามหลักของเจ้าของภาษา โดยใช้
กระบวนการเรียนภาษา กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการกลมุ่ กระบวนการคดิ อยา่ งมี
วิจารณญาณ

จุดประสงค์การเรยี นรู้ (K/P/A)
1. นกั เรยี นสามารถบอกขอ้ มูลใกลต้ ัวได้
2. นกั เรยี นพดู และเขียนเพือ่ ขอและให้ข้อมูล และแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับเร่อื ง/ประเดน็ ต่าง ๆ ได้
3. นกั เรยี นมวี นิ ยั ใฝ่เรียนรู้ และมคี วามมงุ่ ม่นั ในการทางาน

3. สาระการเรียนรู้
Vocabulary – Hobbies / Pastimes

Grammar and Structures – Present perfect
Reading – Read about interesting hobbies and pastimes

4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร

4.2 ความสามารถในการคดิ
4.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4.4 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
4.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

45

5. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
5.1 ซือ่ สตั ยส์ ุจริต
5.2 มีวินัย
5.3 ใฝเ่ รยี นรู้
5.4 มุ่งมน่ั ในการทางาน

6. ชน้ิ งาน /ภาระงาน

Reading - Comprehension
7. กจิ กรรมการเรียนรู้ : วิธีสอนแบบ 3P

1. ขนั้ นาเข้าสู่บทเรยี น (Warm up)
1. ครจู ดั กิจกรรมเล่นทายคาจากคาศัพทท์ ี่เรียนในบททแี่ ล้ว
2. นกั เรียนออกเสียงคาศพั ท์ในกจิ กรรมท่ี 3 Pre-reading หน้า 8

2. ข้นั นาเสนอ (Presentation)
1. นักเรยี นดูภาพในหน้า 8
2. นกั เรียนจับคู่ภาพกบั hobbies

Answer Key

1. calligraphy

2. taekwondo

3. bungee jumping

4. ikebana (flower arrangement)

5. cliff diving

6. origami

3. ครแู บ่งกลุ่มนกั เรยี น จากนนั้ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มจัดอนั ดับ hobbies ในกิจกรรมท่ี 3
4. นักเรียนและครูรว่ มกันจดั อันดับจากผลของทกุ กลุม่
5. นักเรียนแต่ละกล่มุ เลอื ก hobbies ทไ่ี ม่ไดอ้ ย่ใู นหนังสือมา 1 กจิ กรรม ทช่ี อบมากท่ีสดุ
6. แตล่ ะกลุม่ ออกมานาเสนอหน้าห้อง

3. ขัน้ ฝกึ (Practice)
1. นกั เรยี นอา่ นหวั ข้อเรอ่ื งหน้า 9 อยา่ งเร็ว คาดเดาวา่ นักเรยี นจะอา่ นข้อมูลเกยี่ วกับอะไร
2. นักเรยี นขีดเส้นใต้ประโยค present perfect tense จากเน้อื เรอ่ื ง

46

3. นักเรียนอ่านเร่ืองครั้งที่ 1 ใช้ skimming technique อ่านเรื่องอย่างเร็ว เพ่ือบอก main idea ของ

Archery

และ Geocache

Track 1-02

Narrator: Unique Hobbies

W2: Archery

My name is Mina, and I’m a competitive target archer. I have competed at the

professional level for many years now, and I’ve even won a few tournaments.

Target archery is a very popular sport, and it is particularly popular in my country.

You could almost call it a national pastime for Koreans. There are even archery cafes in

Korea! This might be why South Korea is known for producing some of the

most talented archers in recent years. In fact, South Korean archers grabbed gold medals in

all four categories of archery at the 2016 Rio Olympic Games.

The rules of target archery are simple. Archers shoot at a stationary target. Indoor

competitions take place at 1 8 m. Outdoor ranges can be from 2 5 m to 9 0 m. Each match is

divided by ends which are counted as either three or six arrows. Archers shoot their arrows

at a target with ten rings drawn on it. Each ring’s value gets higher as it nears the center. After

firing all shots, archers add up their scores and the archer with the most points at the end of

the competition wins.

M2: Geocaching

Hello, I’m Andrew and I have been an active geocacher for more than ten years.

Geocaching is an activity for people who love exploration and adventure. It’s essentially a

giant game that involves using Global Positioning System (GPS) receivers to search for hidden

treasures called geocaches. There are all kinds of geocaches. Some are very simple to find,


Click to View FlipBook Version