The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวข้อสอบวิชาเอกสังคม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maruding.pe, 2021-03-18 04:30:18

แนวข้อสอบวิชาเอกสังคม

แนวข้อสอบวิชาเอกสังคม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 151

70)การกล่าวว่า มนษุ ย์ชาติกาลังยคุ หินยุคท่ี 2 หมายถงึ การพัฒนาเทคโนโลยีดา้ นวสั ดุประเภทใด
ก.พลาสติก
ข.เซรามกิ
ค.แกผ้ ลกึ
ง.ยางสังเคราะห์

71)องคก์ ารคา้ โลก (WTO)ตง้ั ข้นึ เพื่อแกไ้ ขปญั หาการคา้ ระดับนานาชาติในเรอื่ งใด
ก.การคา้ ที่ไม่ยุติธรรม
ข.การกีดกันทางการคา้
ค.การอุดหนนุ ทางการคา้
ง.การทุ่มตลาดทางการค้า

72)ประเทศใดท่พี ยามหลกี เลยี่ งการเกดิ สงครามโลกครงั้ ท่ี 2 ด้วยการผ่อนปรนกับกลุ่มประเทศ
อกั ษะ

ก.สหภาพโซเวยี ต
ข.ออสเตรเลีย
ค.องั กฤษ
ง.สหรฐั อเมรกิ า
73)ข้อใดเป็นการเปลยี่ นแปลงประชากรของประเทศ
ก.อตั ราการเกิดลด อัตราการตายลด ประชากรวัยแรงงานเพ่ิม
ข.อตั ราเพิ่มลดประชากร วัยแรงงานลด ประชากรวัยสูงอายุเพ่ิม
ค.อตั ราเพ่ิมคงท่ี ประชากรวัยเด็กเพิ่ม ประชากรวยั สงู อายลุ ด
ง.อัตราเกิดเพิม่ อัตราตายลด อายขุ ัยเฉลี่ยยาวขึน้
74)เหตุการณใ์ ดเกิดจากลทั ธกิ อ่ การร้าย
ก.นาซสี ั่งฆา่ ชาวยวิ ในเยอรมนี
ข.เขมรแดงสงั หารหมู่ประชาชนชาวเขมร
ค.เวยี ดกงลอบโจมตีทหารอเมริกันในดานัง
ง.ชาวอาหรบั หัวรนุ แรงลอบสงั หารประธานาธิบดอี ียปิ ต์ที่ไคโร
75)ความขดั แย้งระหว่างประเทศในข้อใดเป็นความขัดแย้งของอุดมการณท์ างการเมือง
ก.อาหรับ อิสราเอล
ข.อินเดีย ปากีสถาน
ค.อริ กั อิหรา่ น
ง.เกาหลีเหนือ เกาหลใี ต้

ภาค ข (วชิ าความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

152 คมู่ อื เตรยี มสอบ

76)ลทั ธิบชู าตัวบุคคลนาไปส่กู ารเกดิ ระบอบการเมืองใด
ก.สังคมนยิ ม
ข.ประชาธิปไตย
ค.คอมมิวนิสต์
ง.เผด็จการเบ็ดเสร็จนิยม

77)เหตุการณใ์ ดไมใ่ ช่ปจั จยั ทน่ี าไปสกู่ ารสนิ้ สดุ สงครามเยน็
ก.การเดินทางหลบหนีของพลเมืองในเยอรมนีตะวนั ออกสู่เยอรมนตี ะวนั ตก
ข.การประกาศรวมเยอรมนตี ะวนั ตกและตะวันออกให้เป็นอันหนึ่งอนั เดียวกนั
ค.การประกาศใชน้ โยบายสนอสต์และเปเรสทรอยของมฮิ าอิลกอร์บาชอฟ
ง.การเปลี่ยนผปู้ กครองของสหภาพโซเวยี ตจากมิฮาอลิ กอร์บาชอฟ เป็น บอรสิ เยลตซ์ นิ

ภาค ข (วิชาความรูค้ วามสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 153

ขอ้ สอบชดุ ที่ 12

1)ข้อใดเป็นลักษณะพิเศษของมนษุ ย์ตา่ งจากสัตวช์ น้ั สูงอื่นๆ
ก.เปน็ สัตว์เลอื ดอ่นุ ท่ีมีมือและเท้าใชป้ ระโยชน์
ข.ฉลาดทีจ่ ะเอาตัวรอดเพราะสมองใหญ่
ค.สามารถออกเสียงเลียนแบบได้หลากหลาย
ง.ตดิ ตอ่ สัมพันธ์กันดว้ ยระบบสญั ลักษณ์

2)ข้อใดแสดงถึงความสัมพนั ธ์ของมนุษยก์ ับวัฒนธรรม
ก.วฒั นธรรมที่มนษุ ย์สรา้ งขึ้นมีทัง้ คุณและโทษ
ข.วฒั นธรรมยุคใดเปน็ สมบตั ิเฉพาะของยุคนัน้
ค.วัฒนธรรมเปน็ เคร่อื งชว่ ยในการปรบั ตวั ของมนุษย์
ง.วัฒนธรรมท่ไี มส่ ามารถตอบสนองความต้องการของมนุษย์

3)กลุ่มในข้อใดเปน็ กลุ่มปฐมภมู ิ
ก.พรรคการเมือง
ข.สมาคมวิชาชีพ
ค.ครอบครวั และเครือญาติ
ง.มลู นิธิเพอื่ คนพิการ

4)ปัจจุบันสถาบนั สังคมใดหนา้ ท่ีเกยี่ วข้องโยตรงในการถ่ายทอดเร่อื งราวทางประวัตศิ าสตร์และ
วฒั นธรรมมากทสี่ ุด

ก.สถาบันศาสนา
ข.สถาบันครอบครัว
ค.สถาบนั การศึกษา
ง. สถาบนั การเมืองการปกครอง
5)ข้อใดตอ่ ไปน้ีไมใ่ ช่สถาบนั ทางสงั คม
ก.นายกรฐั มนตรี
ข. พรรคการเมอื ง
ค.สภากาชาดไทย
ง.ธนาคารแหง่ ประเทศไทย
6)การทน่ี ายกรัฐมนตรีไปเป็นประธานเปดิ การประชมุ เอเปก อธบิ ายถงึ พฤติกรรมใด
ก.นายกรัฐมนตรีจดั ระเบยี บสงั คม
ข.นายกรัฐมนตรกี าลงั เสนอโครงสร้างทางสังคม
ค.นายกรฐั มนตรกี าลงั สร้างบรรทัดฐานทางสงั คม
ง.นายกรัฐมนตรีกาลงั ทาหน้าท่ตี ามสถานภาพของตน

ภาค ข (วชิ าความรู้ความสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

154 คมู่ อื เตรยี มสอบ

7)ข้อใดเป็นบรรทดั ฐานของสังคมไทย
ก.การแตง่ กายดว้ ยผ้าไหม
ข.การบวชทดแทนคุณบดิ ามารดา
ค.การแยกไปอยู่เปน็ อิสระของหน่มุ สาว
ง.กาสรสมรสโดยบิดามารดาไม่รู้

8)พิธีแห่นางแมว เปน็ กจิ กรรมทีเ่ กย่ี วข้องกับสังคมไทยในเรือ่ งใด
ก.ศาสนา
ข.เกษตรกรรม
ค.นนั ทนาการ
ง.สาธารณสุข

9)ปัจจุบนั สถาบันทางศาสนาในสังคมไทยทาหน้าที่อะไรน้อยทส่ี ุด
ก.สบื ทอดประเพณแี ละวัฒนธรรม
ข.ถา่ ยทอดวชิ าชีพและวทิ ยาการตา่ งๆ
ค.สรา้ งเสรมิ ความม่ันคงทางจิตใจ
ง.สรา้ งความเปน็ อันหน่งึ อนั เดียวกันของคนในสงั คม

10)องคก์ รทางศาสนาควรจะปรับเปลีย่ นบทบาทอย่างไร เพ่อื ให้คนในสังคมเกิดการพ่งึ พาตนเอง
ก.จดั ทอดผ้าปา่ สามคั คีเพื่อสรา้ งเมรุใหว้ ัดในชนบท
ข.รณรงค์ใหค้ นทาบุญสรา้ งถาวรวัตถุทีใ่ หญโ่ ตเพ่ือสะสมใหต้ ัวเอง
ค.ปลูกฝังใหค้ นในสงั คมมีความขยนั หมน่ั เพียรในการประกอบอาชีพแทนการรอโชคลาภ
ง.เร่ียไรเงินจากธารณชนเพ่อื นาไปชว่ ยเหลอื ผ้เู ดอื ดร้อนและดอ้ ยโอกาสในสงั คม

11)ข้อใดจดั เป็นปัญหาท่ีส่งผลกระทบสืบเนื่องกัน
ก.เพศสาพันธใ์ นวยั เรียน การต้ังครรภ์ก่อนวัยอนั ควร ปญั หาการทาแทง้
ข.การดม่ื เคร่ืองด่ืมมนึ เมา การขายบริการทางเพศ ปัญหาหนสี้ ิน
ค.การติดการพนนั การติดโรคจากเพศสมั พันธ์ การก่ออาชญากรรม
ง.หารเที่ยวกลางคนื การตดิ ยาเสพตดิ การเปน็ โรคพษิ สุราเรอื้ รัง

12)ความเช่ือของคนไทยในเรื่องใดท่ไี ม่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณ์ – ฮนิ ดู
ก.การถือฤกษง์ ามยามดี การถือสี ถือวนั
ข.ความขลงั และศักดส์ิ ิทธ์เิ วทมนต์คาถา
ค.ความเปน็ สริ มิ งคลข้นึ อยู่กบั ผกู้ ระทา
ง.การโคจรดวงดาวมีอิทธิพลต่อชีวิตมนษุ ย์

ภาค ข (วิชาความรู้ความสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 155

13)การประชุมประท้วงโดยสงบ ตรงกับหลักธรรมในศาสนาฮนิ ดูในขอ้ ใด
ก.หลักอาศรม 4
ข.หลกั วรรณะ 4
ค.หลกั อหิงสา
ง.หลักชญานโยคะ

14)การฝึกฝนตนเพื่อให้เกดิ ปญั ญา ตามคาสอนของพระพุทธศาสนา มีความหมายตรงกับข้อใด
ก.การฝึกจติ ใหเ้ รียบร้อยเป็นปกติ
การฝึกจติ ให้หนักแน่นในการดารงชวี ติ
ค.การฝึกจิตให้ต้ังมนั่ ไม่หวั่นไหวในการประกอบอาชพี
ง.การฝกึ จติ ใจฉลาด สามารถรู้เท่าทันความจรงิ ของโลกและชีวิต

15)ศาสนาพทุ ธ ครสิ ต์ อสิ ลาม ฮินดู มีจุดหมายในการสอนท่สี อดคล้องกนั มากที่สุดในข้อใด
ก.สอนใหเ้ ปน็ ซ่ือสตั ย์
ข.สอนใหเ้ ป็นเสียสละ
ค.สอนใหม้ ีความรักต่อกนั
ง.สอนให้ร้จู กั ให้อภัย

16)ความคิดท่ีวา่ มนุษย์เป็นสัตวก์ รเมอื ง เป็นที่มาของความรูท้ างการเมืองว่าดว้ ยเรื่องอะไร
ก.ระเบียบการปกครอง
ข.รัฐ
ค.รฐั ธรรมนญู
ง.รูปแบบรฐั

17)บทบัญญตั ิใดในรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2540 ท่ีสะทอ้ นใหเ้ ห็นถงึ
แนวความคดิ วา่ ด้วยประชาธปิ ไตยทางตรง

ก.การกาหนดให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชรี ายช่ือ
ข.การตัง้ องค์กรอิสระเพ่ือตรวจสอบการทางานของภาครฐั
ค.การสทิ ธิแก่ประชาชนในการเข้าช่ือเพ่ือเสนอรา่ งกกหมาย
ง.การกาหนดวธิ ีการแกไ้ ขรัฐธรรมนญู

ภาค ข (วชิ าความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

156 คมู่ อื เตรยี มสอบ

18)การรับสมัครรบั เลอื กตั้งเปน็ สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรของไทย บุคคลใดตอ่ ไปนี้ท่ีถือว่าขัดต่อ
หลักเกณฑ์ ว่าดว้ ยคุณสมบัติของผู้สมคั รแบบแข่งเขตเลอื กต้ังโยไมจ่ าเป็นตอ้ งพิจารณาคณุ สมบตั ิ
ขอ้ อนื่

ก.นายวเิ ชียร อดตี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ลงสมคั รเลอื กต้ังในนามพรรคการเมอื งหนงึ่
ไมไ่ ด้จบการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี
ข.นายทรงพล อดีตสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร ลงสมัครรับเลือกตัง้ ในนามของพรรคการเมือง
หนงึ่ หลังจากยา้ ยพรรคมาได้ 60 วนั
ค.นายสมหมาย ลงสมัครรับเลือกตั้งในนามของพรรคการเมอื งหนง่ึ ในจงั หวัดท่ีไม่ใชบ่ ้านเกิด
แตเ่ ปน็ จงั หวดั ท่ตี นยา้ ยทะเบียนบ้านไปอยเู่ ป็นเวลา 1 ปี 3เดือน
ง.นางสภุ าพ ลงสมัครรบั เลอื กต้ังในนามของพรรคการเมืองหน่ึง ในอดตี เคยรบั ราชการครูใน
จงั หวัดทีส่ มัครรบั เลอื กตั้งเปน็ เวลา 5ปี
19. องค์กรใดในระบบการปกครองของไทยไม่มีหน้าท่อี อกกฎหมาย
ก. วฒุ ิสภา
ข. สภาเทศบาล
ค. คณะรฐั มนตรี
ง. ศาลรฐั ธรรมนญู
20. รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยบญั ญัตใิ ห้ข้อใดเป็นสิทธขิ องชนชาวไทย
ก.ความเป็นส่วนตวั เกียรตยิ ศ ช่อื เสยี ง
ข.การเลอื กถนิ่ ทีอยภู่ ายในประเทศ
ค. การแสดงความคิดเห็น การพดู การเขยี น
ง. การรวมกนั จัดตัง้ ของพรรคการเมือง
21. ข้อใดไม่ใชล่ ักษณะการปกครองสมัยอยุธยา
ก. ศกั ดินา
ข. สมมตุ เิ ทพ
ค. อเนกนกิ รของสมติ
ง. สมบูรณาญาสทิ ธิราชย์
22.คาสงั่ นายกรัฐมนตรี เลขท่ี 66/2523 ประกาศข้นึ เพื่อใช้เปน็ แนวทางในการแก้ไขปัญหาใด
ก. ความแห้งแล้งในภาคอีสาน
ข. ความขดั แยง้ ในพืน้ ที่ 4 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้
ค. ความขดั แยง้ ในกองทัพ
ง. ความขัดแย้งทางการเมืองกับพรรคคอมมิวนิสตแ์ ห่งประเทศไทย

ภาค ข (วิชาความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 157

23. องค์กรใดมีหน้าท่ีควบคุมและการดาเนินการจดั การใหม้ ีการออกเสียงประชามติท่ีกาหนดไว้
ในรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาราจกั รไทย

ก. ศาลรฐั ธรรมนญู
ข. ศาลปกครอง
ค. กระทรวงมหาดไทย
ง. คณะกรรมารการเลือกตั้ง
24. ถา้ มีกฎหมายที่ไม่เป็นธรรม ประชาชนควรทาอย่างไร
ก. ปฏิบัตติ าม และหาทางเรยี กรอ้ งให้มีการแก้ไข
ข. ไมป่ ฏบิ ัติตามเพรากฎหมายไมเ่ ป็นธรรม
ค. เคารพและปฏิบตั ติ ามกฎหมายน้นั
ง. ไมน่ ากฎหมายน้นั มาใช้ และถือเสมือนวา่ ไมม่ ีกฎหมาย
25. ระบบกฎหมายทใี่ ช้อยใู่ นประเทศไทย คือข้อใด
ก. ระบบกฎหมายมหาชน
ข. ระบบประมวลกฎหมาย
ค. ระบบกาหมายจารีตประเพรี
ง. ระบบกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์
26. นายพเิ รนมีอาชพี รบั จา้ งตดั ตอ่ ภาพยนตรส์ ัญญาตดั ต่อภาพใหแ้ กบรษิ ัทถา่ ยทาภาพยนตร์
ต่อมาไดล้ กั ลอบนาภาพเปลือยของนกั แสดงในภาพยนตรด์ ังกล่าวออกมาเผยแพร่ทาง
อินเตอรเ์ น็ต อกี ทั้งไดบ้ ันทึกภาพลงแผ่นซดี จี าหนา่ ยในราคาแผน่ ละ 200 บาท ดงั น้ีนายพเิ รนตอ้ ง
รับผดิ ชอบหรอื ไม่
ก. ต้องรบั ผิดชอบทางแพ่งฐานละเมดิ บรษิ ัทภาพยนตร์และนกั แสดง
ข. ไม่ต้องรบั ผดิ ทางแพง่ ฐานผิดสญั ญาจ้างกบั บริษทั ภาพยนตร์
ค. ตอ้ งรบั ผิดทางอาญาฐานค้ากาไรเกนิ ควร
ง. ไมต่ อ้ งรบั ผดิ ทางอาญาฐานทาให้ผูอ้ น่ื เสื่อมเสียช่ือสยี ง
27. นานโอภาสได้ลักลอบนาแผ่นซีดเี พลงและภาพยนตร์มาผลติ ออกจาหน่าย ขณะน้ันกฎหมาย
ไดม้ ีโทษปรับไม่เกิน 5 หม่ืนบาท ตอ่ มานายโอภาสถูกจบั กมุ และถูกดาเนนิ คดใี นศาลอาญา
ขณะทคี่ ดีอยรู่ ะหว่างการพจิ ารณา กฎหมายฉบบั ใหม่ไดเ้ พิ่มโทษปรบั เปน็ เงินไมเ่ กิน 1 แสนบาท
คดนี ศ้ี าลจะพิพากษาลงโทษปรบั นายโอภาส 7 หมื่นบาท หรอื ไม่
ก. ไมไ่ ด้ เพราะกฎหมายอาญาต้องไม่มผี ลยอ้ นหลงั
ข. ไม่ได้ เพราะกฎหมายอาญาต้องตีความอย่าเคร่งครดั
ค. ได้ เพราะกฎหมายอาญาถือหลักการวา่ การทาความผดิ ต้องถูกลงโทษ
ง. ได้ เพราะศาลพิพากษาคดีขณะท่ีกฎหมายใหม่บังคบั ใชเ้ รว็

ภาค ข (วชิ าความรูค้ วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

158 คมู่ อื เตรยี มสอบ

28. ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนูญของไทยประกอบด้วยบุคคลใด
ก. ผ้พู พิ ากษาศาลฎกี า ตุลการศาลปกครองสงู สุด ผทู้ รงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร์ และ
ผู้ทรงคณุ วฒุ สิ าขารฐั ศาสตร์
ข. ตลุ าการศาลปกครองสูงสดุ ผ้ทู รงคุณวุฒสิ าขานติ ิศาสตร์ ผทู้ รงคุณวฒุ ิสาขารฐั ศาสตร์
และราษฎรอาวุโสท่ีเปน็ ประธานรัฐสภาเสนอ
ค. พพิ ากษาศาลฎีกา ผู้ทรงคุณวฒุ ิสาขานิตศิ าสตร์ ผทู้ รงคุณวุฒิสาขารฐั ศาสตร์ และตุลา
การศาลทหาร
ง. ผู้พพิ ากษาศาลฎกี า ตลุ การศาลปกครองสูงสุด อัยการสงู สดุ และผู้ทรงคุณวุฒิสาขา
นติ ิศาสตร์

29. พื้นทีล่ ุ่มนา้ เชน่ บงึ บอระเพ็ด หนองหาน ทะเลสาบสงขลา ควรจดั ใหเ้ ปน็ พนื้ ท่ีท่ีมีคุณค่า
ทางดา้ นใดมากทสี่ ุด

ก. เป็นแหล่งทอ่ งเท่ียวเชิงนิเวศ
ข. เป็นแหล่งอาหารโปรตีน จากสตั ว์นา้
ค. เปน็ แหลง่ ระบบนเิ วศทสี่ าคญั
ง. เป็นแหลง่ นา้ เพื่อการเกษตรอุตสาหกรรม
30. หากทา่ นมีความประสงค์จะเสาะหาดินเหนียวมาใช้ประโยชน์เพ่อื การอุตสาหกรรมควรไปหา
บริเวณใด
ก. ตน้ น้าบรเิ วณใกล้เชิงเขา
ข. ช่วงกลางของลาน้าที่มนี ้าล้นฝงั่ บอ่ ยครัง้
ค.ช่วงปลายทางน้าท่ีไหลลงสู่ท่รี าบหรอื ทะเล
ง.ไมแ่ นน่ อน เพราะขึน้ อยกู่ ับวตั ถุกาเนนิ ดินในแต่ละพ้ืนท่ี
31. ข้อใดเป็นปัจจัยสาคญั ท่ีสดุ ทท่ี าให้อตุ สาหกรรมสบั ปะรดกระปอ๋ งตงั้ อยู่ทจ่ี ังหวดั เพชรบรุ แี ละ
ประจวบคีรีขันธ์
ก. อย่ใู กล้แหลง่ วตั ถุดิบ
ข. มีแรงงานเพียงพอและราคาถกู
ค. มีท่าเรือขนาดใหญต่ ้ังอยู่ท่ีจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ง. ได้รบั การส่งเสรมิ การลงทนุ จากรัฐบาล
32. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยมีลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน็ แบบใด
ก. เปน็ ท่ีราบลูกคล่นื หรอื ที่ราบลกู ระนาด( Rolling Plain )
ข.เปน็ ทีร่ าบสูงซ้ึงมีความสงู ต้ังแต่ 500-2000 ฟตุ ลาดเอียงจากเหนือไปใต้
ค. เปน็ ที่ราบดนิ ตะกอนแต่ถูกยกตัวสงู ขึ้นมาอกี ครงั้ หน่งึ จากแรงดันภายในโลก
ง. เป็นที่ราบซ่งึ มลี กั ษณะคล้ายท่ีราบสงู เนื่องจากมผี าชันหรอื ผาตง้ั ทางตะวันตกและใต้ (
Escarpment)และลาดเอียงไปทางตะวนั ออก

ภาค ข (วิชาความรูค้ วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 159

33. เหตุใดจงั หวะสระบุรีจึงเปน็ แหลง่ อุตสาหกรรมปนู ซีเมนต์ทา่ สาคญั ของประเทศไทย
ก. มแี หลง่ หินปูนมากและห่างไกลชมุ ชน
ข. มีแหลง่ หนิ ปนู มากและต้งั อยู่ไมไ่ กลจากตลาดผู้ใช้
ค. ตง้ั อยู่ใกล้กับตลาดผใู้ ชแ้ ละทาการขนส่งทางถนนไดด้ ี
ง.มโี รงงานโมห่ นิ หลายแหง่ และต้งั อยูไ่ ม่ไกลจากตลาดผูใ้ ช้

34.ข้อใดเปน็ วัตถตุ ้นกาเนดิ ดนิ ทท่ี าใหด้ ินมีความสมบูรณ์มากทีส่ ดุ
ก. หินปนู
ข. หนิ บะซอลต์
ค.หนิ ทราย
ง.หนิ แกรนิต

35.ปา่ ไมป้ ระเภทใดทที่ าใหเ้ กดิ ความหลากหลายทางชีวภาพมากทีส่ ดุ
ก. ป่าสนเขา
ข. ปา่ ดงดบิ
ค. ปา่ แดง
ง. ป่าเบญจพรรณ

36.ข้อใดเป็นสาเหตสุ าคัญที่สุดทท่ี าให้ประเทศไทยประสบปัญหาการเส่ือมโทรมของทรัพยากรดิน
ก. การเล้ียงกงุ้ กลุ าดาในพืน้ ที่นา้ จดื
ข. การทาเหมืองแร่และการทาอุตสาหกรรมเกลือ
ค. การตดั ไม้ทาลายปา่ ทาให้หน้าดนิ เปดิ เกดิ การชะล้างง่าย
ง. การปลุกพืชติดต่อกนั โดยไมไ่ ดม้ ีการปรบั ปรุงดนิ เทา่ ที่ควร

37. อัตราการเกดิ และอัตราการตายของประชากรไทยปจั จุบันมีลกั ษณะอย่างไร
ก. อตั ราการเกิดสูง อตั ราการตายตา่
ข. อัตราการเกิดสูง อตั ราการตายสงู
ค.อตั ราการเกดิ ลดลง อัตราการตายลดลง
ง.อัตราการเกิดและอัตราการตายสมดุลกัน

38. กิจกรรมดา้ นใดก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนเิ วศชายฝ่งั ทะเลไทยในปจั จุบันมากทส่ี ุด
ก. ใช้อวนตาถีจ่ ับปลา
ข. ล้างแรบ่ รเิ วณชายฝง่ั ทะเล
ค. ใชพ้ ้ืนท่ีปา่ ชายเลนทานากงุ้
ง. จับปลาในระยะ 20 ไมลจ์ ากฝ่งั ชายทะเล

ภาค ข (วชิ าความรูค้ วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

160 คมู่ อื เตรยี มสอบ

39. ข้อใดไมเ่ กีย่ วข้องกบั การใช้ภูมปญั ญาไทยเพือ่ แกไ้ ขปญั ญาไทยเพ่ีอแกไ้ ขปญั หาสิ่งแวดล้อม
ก. การเลย้ี งไก่บนบอ่ ปลา
ข. ชาวบ้านใชต้ ะไครห้ อมไล่ยุง
ค. การปลูกหญา้ แฝกบนท่ลี าดชัน
ง.เกษตรกรใชน้ า้ สะเดาลาดแมลง

40. การลดนา้ ต้นไมใ้ นเวลาใดจงึ จะเกิดประโยชน์และเหมาะสมสูงสดุ
ก. 9.00-10.00
ข. 12.00-13.00
ค. 16.00-17.00
ง. 18.00-19.00

41. วธิ ีใดมปี ระสิทธผิ ลและใช้ต้นทุนต่าท่สี ุดในการเพ่มิ เนือ้ ท่ีในป่าไมใ้ นพน้ื ท่ถี ูกแผ้วถาง
ก. ปลกู ไมโ้ ตเรว็ เช่น กระถิ่นยกั ษ์ และยูคาลิปตัส
ข. ปลูกไม้มีค่าทางเศรษฐกจิ เพ่อื ขายในอนาคต
ค. ปลูกไม้มลคลและไมศ้ ักดส์ิ ิทธเ์ิ พือ่ ป้องกนั การลกั ลอบตดั
ง.ปลอ่ ยพน้ื ท่ใี หเ้ ปน็ ป่าวิวัฒนาการเองโดยไมม่ นุษยไ์ มเ่ ขา้ ไปรบกวน

42. ข้อใดคอื สาเหตทุ ่ีทาใหเ้ กดิ ปญั หาพื้นฐานทางเศรษฐกิจในแตล่ ะประเทศ
ก. การเพิ่มข้ึนของประชากร
ข. ความจากดั ของทรพั ยากร
ค.ความหลากหลายของสนิ ค้าและบริการ
ง.ความแตกตา่ งของประเภทของระบบเศรษฐกจิ

43. ข้อใดต่อไปนเี้ ป็นลักษณะท่ถี ูกต้องมากท่ีสดุ ของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนยิ ม
ก. เปน็ ระบบทีม่ ีการใชเ้ งนิ เป็นสอ่ื กลางในการแลกเปลยี่ น
ข. เปน็ ระบบทใี่ หน้ ายทุนเปน็ ผู้ตดั สินใจทางเศรษฐกจิ
ค. เปน็ ระบบที่ภาคเอกชนมบี ทบาทอย่างเสรใี นการผลติ สินคา้ และการบริการ
ง.เป็นระบบทกี่ ลไกตลาดมีบทบาทตอ่ มนุษย์ในการตดั สินใจทางเศรษฐกิจ

44. สนิ ค้าใดเป็น ส้ินค้าขนั้ สดุ ท้าย
ก.อะไหล่รถยนต์ท่ีนาย ก ซ้ือไปใช้
ข.อะไหลร่ ถยนตท์ ่ีบริษทั รถยนต์ผลิตออกมาขาย
ค.อะไหลร่ ถยนต์ท่ีอูซ่ ่อมรถยนต์ของนาย ก ซือ้ ไปใช้
ง.อะไหลร่ ถยนตท์ โ่ี รงงานประกอบรถยนต์ซอื้ ไปใช้

ภาค ข (วิชาความรูค้ วามสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 161

45.กลไกราคาไมส่ ามารถใช้ได้อยา่ งสมบูรณก์ ับสนิ ค้าและบริการประเภทใด
ก.เครอ่ื งไฟฟา้ มีตาหนิ
ข. การบริการของรถไฟฟ้าไทย
ค. สถานะทางการค้าระหวา่ งประเทศ
ง. ความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจของประเทศ

47.ข้อใดคอื สงิ่ นิยมใช้ในการวดั ภาวะเงินเฟ้อ
ก.ดัชนรี าคาผ้บู ริโภค
ข.ปรมิ าณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ
ค.อัตราการหมนุ เวียนของเงนิ ในระบบเศรษฐกจิ
ง.อตั ราการแลกเปลย่ี นเงินตราระหว่างประเทศและดุลการชาระเงิน

48. การทีป่ ระเทศกาลังพัฒนาส่วนใหญ่มีดุลการคา้ ขาดดุล อาจอธบิ ายได้วา่ มาจากสาเหตุใด
ต่อไปนี้

ก.ประเทศกาลงั พฒั นาส่วนใหญส่ ่งสน้ิ ค้าทางการเกษตรซง่ึ มีราคาต่า
ข.ราคาสิ้นคา้ ทนุ และเทคโนโลยกี ารผลติ มีราคาสูง ขณะท่รี าคาสิน้ ค้าเกษตรส่งออกมรี าคาตา่
ค.ประเทศกาลงั พัฒนามีความตอ้ งการซือ้ สนิ้ ค้าและเทคโนโลยีในการผลติ เป็นจานวนมาก
ง.มลู ค่าของสินค้าทุนและเทคโนโลยกี ารผลิตท่ีประเทศกาลงั พัฒนาเขา้ สูงกว่ามลู คา่ สินค้า
เกษตรท่ีส่งออก
49.โรงงานอุตสาหกรรมท่ีควรตั้งในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ควรเป็นอตุ สาหกรรมประเภทใด
ก. สิ่งทอ
ข.รถยนต์
ค.ปโิ ตรเคมี
ง.แปรรปู สนิ คา้ เกษตร
50.ข้อใดไมใ่ ชก้ ารดาเนินกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ที่มสี ่วนช่วยใหเ้ กิดการพัฒนาเศรษฐกิจและการ
กระจาย
ก.การขยายกาลงั การผลติ
ข.การมุ่งหวงั หาไรสงู สดุ
ค.การขยายสาขาการบริการสู่ภูม๓ิ ค
ง.การเพม่ิ ขดี ความสามารถของแรงงาน
51. วัตถุประสงคข์ องการพัฒนาเศรษฐกจิ ในด้านที่ไมเ่ คยปรากฏในแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สงั คมแหง่ ชาตขิ องประเทศไทยตงั้ แต่สมยั ท่ี 1-8
ก. การรกั ษาเสถยี รภาพของระบบเศรษฐกจิ
ข. การมุงใหเ้ กดิ การกระจายรายไดข้ องประชาชนในประเทศ
ค. การสรา้ งความเจรญิ เติบโตใหเ้ ศรษฐกจิ ของประเทศ
ง. การสรา้ งละรักษาเศรษฐกิจพอเพยี งของประเทศ

ภาค ข (วชิ าความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

162 คมู่ อื เตรยี มสอบ

52. ข้อใดไม่ใชล่ ักษณะของความร่วมมือทางเศรษฐกจิ ของประเทศตา่ งๆ
ก. ลูกค้ารว่ ม
ข.เขตการคา้ เสรี
ค.สหภาพศุลกากร
ง.สหภาพภาพทางเศรษฐกิจ

53.ตง้ั แต่ปี พ.ศ 2546 รัฐบาลไทยมแี นวในการกระตุ้นให้ภาคเอกชนใชจ้ า่ ยเพมิ่ ขนึ้ อย่างไร
ก.ยกเว้นภาษมี ูลค่าเพม่ิ
ข. ยกเว้นภาษเี งินให้นิตบิ ุคคล
ค.เพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงนิ ฝาก
ง.เพม่ิ ระดับรายได้สุทธิขนั้ ตา่ ทต่ี ้องนามาคดิ ภาษี

54. มาตรการใดท่ไี ม่ชว่ ยแก้ไขปัญหาการขาดดลุ บัญชีสะพัดของประเทศไทย
ก. การสง่ เสรมิ การส่งออก
ข.การสนบั สนนุ ใหค้ นไทยใช้สนิ ค้าไทย
ค.การใช้จ่ายของรัฐเพื่อเป็นสวสั ดิการสาหรับ(มีรายได้น้อย
ง.การส่งเสรมิ ใหน้ กั ท่องเท่ยี วชาวตา่ งชาตเิ ดนิ ทางเขา้ มาประเทศไทย

55. ผลโดยตรงทเ่ี กดิ ขึ้นทันทีเมอ่ื การยกระบบไพรใ่ นรชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าฯคอื
ข้อใด

ก.เกิดแรงงานเสรี
ข.เกดิ การลดทอนอานาจขุนนาง
ค.ได้เพ่ิมผลผลติ ทางการค้า
ง.เกิดระบบทหารอาชีพ
56.ปัจจัยสาคัญทสี่ ุดทส่ี ง่ เสริมให้กรงุ อยุธยาเปน็ เมืองทา่ ท่ีเปน็ ศนู ย์กลางการค้านานาชาติ คือข้อ
ใด
ก. ตั้งอยู่บรเิ วณที่ราบลุ่มกว้างใหญ่และอดุ มสมบูรณ์
ข.ตงั้ อยูบ่ รเิ วณแม่น้าสามสายมาบรรจบกนั
ค.ตัง้ อยู่ไม่ไกลจากปากอ่าว เรอื สินคา้ เข้าอีกสะดวก
ง.เป็นทรี่ วมสินคา้ ของป่าหวั เมืองทย่ี ู่ภายใน
57.การกาหนดแผนพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศไทย เริ่มตน้ ขน้ เมอื่ ใด
ก.เมอื่ มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
ข.เม่ือสิน้ สดุ สงครามโลกครงั้ ท่ี 2
ค.เมื่อมีการเสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจของ นายปรดี ี พนมยงค์
ง.เมอื่ จอมพลสฤษด์ธิ นะรัชต์ ดารงตาแหนง่ นายกรัฐมนตรี

ภาค ข (วิชาความร้คู วามสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 163

58. ข้อใดมิใช่ผลท่ีเกิดจาการรวมดนิ แดนสุโขทัยเข้ากบั อาณาจกั รอยุธยา
ก. ราชวงศพ์ ระรว่ งยตุ ิบทบาทในการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
ข.สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถทรงจดั ระเบยี บการปกครองอาณาเขตเสยี ใหม่
ค.สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงตราพระอัยการตาแหนง่ นายทหาร นายพลเรอื น
ง.การเกดิ สงครามระหวา่ งอยุธยากับล้านนาในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

59.ข้อใดมิใช่มลู เหตุของการทาความสงครามระหว่างไทยกับพมา่ ในสมัยอยุธยาตอนกลาง
ก.กษัตรยิ ์พมา่ ต้องการเป็นจักรพรรดริ าช
ข.พมา่ ต้องการยดึ ครองดนิ แดนมอญท้ังหมด
ค.พมา่ ต้องการกาลังคนไปเพ่ิมอาณาจักรของตน
ง.พมา่ ต้องการควบคมุ เส้นทางการคา้ ในบริเวณน้ี

60.ญปี่ ุ่นเปล่ียนปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธปิ ไตยเตม็ รูปแบบต้ังแตเ่ ม่ือใด
ก.หลงั การเข้าสู่สมยั เมจิ
ข.หลงั ไดร้ ับชนะในสงครามญี่ปนุ่ รสั เซีย
ค.หลังการขยายอทิ ธิพลเข้ายึดครองเกาหลี
ง.หลังการพ่ายแพ้ในสงครามโลกคร้ังท่ีสอง

61.ข้อใดมิใช่การเปลี่ยนแปลงในสงั คมจนี หลังการปฏิวัติใน ค.ศ. 1911
ก.เกษตรกรสามารถมีทด่ี ินทากินเปน้ ของตัวเอง
ข.จีนเปิดประเทศและรับวิทยาการจากโลกภายนอก
ค.ราชวงศแ์ มนจดุ ารงอยู่ แต่ไมม่ ีอิทธพิ ลทางการปกครอง
ง.รัฐบาลกลางไม่สามารถควบคุมมณฑลต่างๆทีอ่ ยู่ใต้อานาจขุนศึก

62. เหตกุ ารณใ์ ดเป็นอุปสรรคตอ่ การก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตร์ในคริสตศ์ ตวรรษที่ 16 มากทีส่ ุด
ก.การขดั ขวางของฝ่ายศาสนจักรในยโุ รป
ข.ความไมส่ งบจากสงครามศาสนาในยุโรป
ค.ชนชน้ั สงู สนบั สนุนการคา้ ทางทะเลมากกวา่
ง.ปัญญาชนสนใจศกึ ษาทางศิลปะและวรรณคดีมากกว่า

63.ชนวนสาคญั ท่ีก่อให้เกดิ การปฏวิ ตั ฝิ รัง่ เศส ค.ศ. 1789 คอื ขอ้ ใด
ก. การคลงั ของประเทศอยใู่ นขั้นวกิ ฤติ
ข.การประกาศอสิ รภาพของสหรัฐอเมรกิ า
ค.การโจมตคี กุ บาสตลิ ของฝูงชนในกรุงปารีส
ง.อิทธิพลจากแนวความคิดประชาธปิ ไตยของนักปรัชญาฝรั่งเศส

ภาค ข (วชิ าความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

164 คมู่ อื เตรยี มสอบ

64.ข้อใดมใิ ช่ผลจากการพฒั นาทางการเมอื งการปกครองเพ่อื ความเปน็ ประชาธิปไตยของอังกฤษ
ก.ระบอบกษัตรยิ ์ภายใตร้ ัฐธรรมนญู
ข.ระบบคณะรัฐมนตรแี ละพรรคการเมือง
ค.แนวความคิด กษตั ริยท์ รงภูมธิ รรม
ง.ระบบตรวจสอบและถ่วงดุลอานาจระหวา่ งสถาบนั ทางการเมือง

65.ข้อใดมิใชส่ าเหตุปัญหาความขัดแย้งระหวา่ งประเทศในโลกปจั จุบัน
ก.ความแตกตา่ งเร่ืองชาติพนั ธุ์
ข.ความต้องการครอบครองของชาตมิ หาอานาจ
ค.การเข้าแทรกแซงประเทศอ่ืนเพื่อผลประโยชนท์ างเศรษฐกิจ
ง.ความขดั แย้งอันเน่ืองมาจากความแตกตา่ งด้านศาสนา

66.ข้อใดคือองค์การเอกชนระหวา่ งประเทศ(Non-Government Organization)
ก.กล่มุ กรนี พซี
ข.มลู นิธริ างวลั แมกไซไซ
ค.บรษิ ัทเงินทุนระหวา่ งประเทศ
ง.กลมุ่ ประเทศผ้คู า้ นา้ มนั เป็นสินค้าออก

67.ข้อใดเปน้ กระบวนการที่ใชเ้ ทคโนโลยชี วี ภาพ
ก.การตรวจ DNA เพื่อพิสูจน์ศพของสถาบันนิติวิทยาศาสตร์
ข.การพิสจู นห์ าสารปรอทในน้าจากเหมืองคลิต้ี จังวัดกาญจนบุรี
ค.การพสิ จู น์หาสารแคดเม่ียมจากขา้ วที่แม่ตาว จงหวัดตาก
ง.การตรวจหาสารจากฟอร์มอลินจากอาหารทะเลที่ขายในตลาด

68. ปัจจุบนั ยังไม่มีการมอบรางวัลโนเบลให้กบั สาขาใด
ก.วรรณกรรม
ข.เศรษฐศาสตร์
ค.การแพทย์
ง.การอนุรักษส์ ่ิงแวดล้อม

69.พธิ ีการโตเกยี วมุ่งแกไ้ ขปัญหาใดต่อไปนี้
ก.การแพรร่ ะบาดของโรคเอดส์
ข.การทาลายสงิ่ แวดล้อมของโลก
ค.การจากัดอาวุธร้ายแรง
ง.การกอ่ การร้ายระหวา่ งประเทศ

ภาค ข (วิชาความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 165

70.การพฒั นาการเกษตรของไทยในปจั จุบนั ควรมุ่งเน้นการพัฒนาดา้ นใด เพ่อื ให้ผลผลติ มี
มูลคา่ เพมิ่ ข้ึนสูงสดุ

ก.การผลิตใหไ้ ดผ้ ลผลิตเพิ่มมากขน้ึ
ข.การประหยัดทุนการผลิตทางการเกษตร
ค.การพฒั นาผลผลติ ทางการเกษตรที่มุง่ เฉพาะดา้ น
ง.การแปรรูปวตั ถุดิบทางการเกษตรให้เปน็ สินค้าสาเรจ็ รปู
71.ข้อใดไม่ใชจ่ ุดอ่อนการพัฒนาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีของสงั คมไทย
ก.ความเชอ่ื เรื่องไสยศาสตร์
ข.ความลา้ หลงั ของการศกึ ษาไทย
ค.ความนิยมผู้บริโภคของเทคโนโลยีจากต่างประเทศ
ง.ความนิยมลอกเลี่ยนแบบมากกว่าสรา้ งสรรค์ดว้ ยตนเอง
72.วกิ ฤตกิ ารณใ์ ดไมใ่ ชค่ วามขัดแยง้ อันเกิดมาจากความแตกต่างดา้ นอดุ มการณท์ างการเมอื ง
ก.สงครามเกาหลี
ข.สงครามในบอสเนยี
ค.วิกฤตกิ ารณค์ ิวบา
ง.การปดิ ลอ้ มกรงุ เบอร์ลนิ
73.สภาพแวดล้อมทางธรรมชาตปิ ระเภทใดถูกใช้เปน็ เครื่องมือทางการเมอื งระหว่างประเทศใน
ครงึ่ หลงั ของคริสต์วรรษที่ 20 มากที่สดุ
ก.ป่าไม้
ข.นา้ มนั
ค.ถา่ นหิน
ง.ยูเรเนยี ม
74.ข้อใดคอื วัตถุประสงค์หลักของประเทศไทยในการกู้เงินจากกองทุนเงินระหวา่ งประเทศใน
พ.ศ.2540
ก.ชดใช้หน้ีสาธารณะ
ข.กระต้นุ การสง่ ออก
ค.กระตุ้นการใชจ้ า่ ยภายในประเทศ
ง.การบรโิ ภคอาหารเสริมสุขภาพในกลุ่มผสู้ งู อายุ
75.ข้อใดไมแ่ สดงถึงการเปล่ียนแปลงความเชอ่ื หรอื ค่านยิ มในสังคมไทยปัจจุบัน
ก.ความนิยมการนวดแผนไทย
ข.ความนิยมการด่ืมชาเขียวในวยั รุ่น
ค.การบริโภคผักและผลไมป้ ลอดภัยสารพิษ
ง.การบรโิ ภคอาหารเสริมสขุ ภาพในกลุ่มผสู้ ูงอายุ

ภาค ข (วชิ าความร้คู วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

166 คมู่ อื เตรยี มสอบ

76.การดาเนนิ การในขอ้ ใดไมม่ เี ร่อื งความขดั แย้งทางสังคมเกย่ี วข้อง
ก.รัฐบาลไทยอนุมัตงิ บประมาณก่อสร้างอนสุ าวรยี ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
ข.รัฐบาลอังกฤษและฝรัง่ เศสอนุมตั งิ บประมาณก่อสร้างอโุ มงคค์ ลอดช่องแคบอังกฤษ
ค.รัฐบาลอินโดนเี ซยี จา่ ยเงนิ ช่วยเหลอื ผ้บู าดเจบ็ การถูกระเบดิ ท่ีเกาะบาหลเี ม่ือ พ.ศ. 2545
ง.เทศบาลนครนิวยอร์กอนุมัติช่วยเหลือเจ้าหนา้ ทด่ี ับเพลิงที่เสียชีวติ เมอ่ื วนั ที่ 11 กนั ยายน
พ.ศ. 2544

77. เหตกุ ารณใ์ ดสะท้อนการแก้ปญั หาความขดั แย้งโดยสันติวิธี
ก.กรณจี ลาจลของพวกเชสเนยี ในรัสเซยี
ข.กรณีพิพาทไทย –กัมพูชาในคดีเขาพระวหิ าร
ค.กรณีอิสราเอลสร้างกาแพงล้อมรอบฉนวนกาซา
ง.กรณกี ารใช้ระเบิดนิวเคลยี ร์ถล่มญี่ปนุ่ เพ่ือยตุ ิสงคราม

78.การศึกษาภาคบังคบั สามารถนาไปใช้แก้ปัญหาใดเหมาะสมที่สุด
ก.การว่างงาน
ข.เด็กเรร่ ่อน
ค.อาชญากรรม
ง.การคา้ ยาเสพตดิ

ภาค ข (วิชาความร้คู วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 167

 รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

 ตราไว้ ณ วันที่ 6 เมษายน พทุ ธศักราช 2560 เปน็ ปีท่ี 2 ในรัชกาลปจั จุบนั
 ประกาศ วันท่ี 6 เมษายน พุทธศักราช 2560
 ผู้รบั สนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา (นายกรัฐมนตรี)
 มีผลบงั คับใช้วันประกาศในราชกิจจานเุ บกษา
 มี 16 หมวด กบั 1 บทเฉพาะกาล จานวนทั้งสิน้ 279 มาตรา

หมวดท่ี 1 บททัว่ ไป

หมวดท่ี 2 พระมหากษตั ริย์

หมวดที่ 3 สทิ ธิและเสรภี าพของปวงชนชาวไทย
หมวดที่ 4 หน้าทข่ี องปวงชนชาวไทย

หมวดท่ี 5 หนา้ ที่ของรัฐ

หมวดที่ 6 แนวนโยบายแหง่ รฐั
หมวดที่ 7 รฐั สภา

หมวดท่ี 8 คณะรัฐมนตรี

หมวดท่ี 9 การขัดกันแหง่ ผลประโยชน์
หมวดท่ี 10 ศาล

หมวดที่ 11 ศาลรฐั ธรรมนญู

หมวดท่ี 12 องค์กรอสิ ระ
หมวดท่ี 13 องคก์ รอัยการ

หมวดท่ี 14 การปกครองส่วนท้องถิ่น

หมวดท่ี 15 การแกไ้ ขเพ่มิ เตมิ รัฐธรรมนูญ
หมวดที่ 16 การปฏิรูปประเทศ

บทเฉพาะกาล

ภาค ข (วชิ าความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

168 คมู่ อื เตรยี มสอบ

หมวด 1 บทท่วั ไป

 มาตรา 1 ประเทศไทยเป็นราชอาณาจกั รอันหนึ่งอนั เดียว จะแบ่งแยกมิได้
 มาตรา 2 ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเปน็ ประมุข
 มาตรา 3 อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตรยิ ์ผทู้ รงเป็น ประมุขทรงใช้
อานาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ รัฐสภา
คณะรัฐมนตรี ศาล องค์กรอิสระ และหน่วยงานของรัฐ ต้องปฏิบัติหน้าที่ ให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ
กฎหมาย และหลักนิติธรรม เพ่ือประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติ และความผาสุกของประชาชน
โดยรวม
 มาตรา 4 ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคล ย่อมได้รับ
ความคมุ้ ครอง ปวงชนชาวไทยย่อมไดร้ ับความคมุ้ ครองตามรัฐธรรมนูญเสมอกนั
 มาตรา 5 รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย
กฎหรือข้อบังคับ หรือการกระทาใด ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติหรือการกระทาน้ันเป็น
อันใช้บังคับ มิได้ เมื่อไมม่ ีบทบญั ญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด ให้กระทาการนั้นหรอื วินิจฉัย
กรณีน้ัน ไปตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุข

หมวด 2 พระมหากษตั ริย์

 มาตรา 6 องคพ์ ระมหากษัตริย์ทรงดารงอย่ใู นฐานะอันเป็นท่ีเคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิด

มิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟอ้ งร้องพระมหากษัตริยใ์ นทางใด ๆ มิได้
 มาตรา 7 พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ และทรงเป็นอคั รศาสนปู ถมั ภก
 มาตรา 8 พระมหากษตั รยิ ์ทรงดารงตาแหน่งจอมทพั ไทย
 มาตรา 9 พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซ่ึงพระราชอานาจท่ีจะสถาปนาและถอดถอน ฐานันดร

ศักดแ์ิ ละพระราชทานและเรียกคืนเคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณ์
 มาตรา 10 พระมหากษัตริย์ทรงเลือกและทรงแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธานองคมนตรี

คนหนึง่ และองคมนตรีอื่นอีกไมเ่ กนิ สบิ แปดคนประกอบเป็นคณะองคมนตรี

คณะองคมนตรีมีหน้าที่ถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราชกรณีย กิจ ทั้งปวงท่ี

พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา และมหี น้าทีอ่ นื่ ตามทบ่ี ัญญัตไิ ว้ในรัฐธรรมนูญ

ภาค ข (วิชาความร้คู วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 169

 มาตรา 11 การเลือกและแตง่ ตง้ั องคมนตรหี รอื การให้องคมนตรีพน้ จากตาแหนง่ ใหเ้ ป็นไป

ตามพระราชอธั ยาศัยให้ประธานรัฐสภาเป็นผลู้ งนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตัง้ ประธาน
องคมนตรีหรอื ให้ประธานองคมนตรีพ้นจากตาแหน่ง ให้ประธานองคมนตรเี ป็นผู้ลงนามรับสนอง

พระบรมราชโองการแตง่ ตัง้ องคมนตรอี ื่น หรอื ใหอ้ งคมนตรีอืน่ พน้ จากตาแหน่ง
 มาตรา 16 ในเม่ือพระมหากษตั ริยจ์ ะไม่ประทบั อยู่ในราชอาณาจักร หรือจะทรงบริหาร

พระราชภาระไม่ได้ดว้ ยเหตุใดก็ตาม จะได้ทรงแต่งตั้งผใู้ ดผู้หนึง่ เปน็ ผ้สู าเรจ็ ราชการแทน พระองค์

และให้ประธานรัฐสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ

หมวด 3 สิทธแิ ละเสรภี าพของปวงชนชาวไทย

 มาตรา 25 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย นอกจากที่บัญญัติคุ้มครองไว้เป็น
การเฉพาะ ในรัฐธรรมนูญแล้ว การใดที่มิได้ห้ามหรือจากัดไว้ในรัฐธรรมนูญหรือในกฎหมายอื่น
บุคคลย่อมมีสิทธิ และเสรีภาพท่ีจะทาการน้ันได้และได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ
ตราบเท่าที่การใช้สิทธิหรือเสรีภาพ เช่นว่านั้นไม่กระทบกระเทือนหรือเป็นอันตรายต่อความม่ันคง
ของรัฐ ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี ของประชาชน และไม่ละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพของ
บุคคลอื่นสิทธิหรือเสรีภาพใดท่ีรัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามท่ีกฎหมายบัญญัติ หรือให้เป็นไปตาม
หลักเกณฑ์ และวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ แม้ยังไม่มีการตรากฎหมายน้ันขึ้นใช้บังคับ บุคคลหรือ
ชุมชนย่อมสามารถ ใช้สิทธิหรือเสรีภาพน้ันได้ตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ บุคคลซึ่งถูกละเมิด
สิทธิหรือเสรีภาพที่ได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ สามารถยกบทบัญญัติ แห่งรัฐธรรมนูญ
เพื่อใช้สิทธิทางศาลหรือยกข้ึนเป็นข้อต่อสู้คดีในศาลได้ บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการถูก
ละเมิดสทิ ธหิ รอื เสรภี าพหรือจากการกระทาความผดิ อาญา ของบคุ คลอ่ืน ยอ่ มมีสทิ ธทิ จ่ี ะได้รบั
การเยียวยาหรอื ชว่ ยเหลอื จากรัฐตามท่ีกฎหมายบัญญตั ิ

 มาตรา 27 บคุ คลยอ่ มเสมอกันในกฎหมาย มสี ิทธิและเสรภี าพและได้รบั ความคมุ้ ครอง
ตามกฎหมายเท่าเทียมกัน ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม
ตอ่ บคุ คล ไมว่ า่ ด้วยเหตคุ วามแตกต่างในเรือ่ งถิน่ กาเนิด เชือ้ ชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพกิ าร
สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเช่ือทางศาสนา
การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือเหตุ
อืน่ ใด จะกระทามิได้ มาตรการท่ีรฐั กาหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคลสามารถใช้สิทธิ
หรือเสรีภาพ ได้เช่นเดียวกับบุคคลอื่น หรือเพื่อคุ้มครองหรืออานวยความสะดวกให้แก่เด็ก สตรี
ผู้สูงอายุ คนพิการ หรือผู้ด้อยโอกาส ย่อมไม่ถอื ว่าเป็นการเลอื กปฏบิ ัติโดยไม่เป็นธรรมตามวรรคสาม
บุคคลผู้เป็นทหาร ตารวจ ข้าราชการ เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ และพนักงานหรือลูกจ้างขององค์กร
ของรัฐย่อมมีสิทธิและเสรีภาพเช่นเดียวกับบุคคลท่ัวไป เว้นแต่ที่จากัดไว้ในกฎหมายเฉพาะในส่วนที่
เกี่ยวกบั การเมือง สมรรถภาพ วินยั หรือจริยธรรม

ภาค ข (วชิ าความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

170 คมู่ อื เตรยี มสอบ

 มาตรา 33 บุคคลย่อมมีเสรีภาพในเคหสถาน การเข้าไปในเคหสถานโดยปราศจาก
ความยินยอมของผู้ครอบครอง หรือการค้นเคหสถาน หรือท่ีรโหฐานจะกระทามิได้ เว้นแต่มีคาส่ัง
หรือหมายของศาลหรอื มีเหตุอยา่ งอื่นตามทีก่ ฎหมายบัญญัติ

 มาตรา 34 บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ์
การโฆษณา และการส่ือความหมายโดยวิธีอื่น การจากัดเสรีภาพดังกล่าวจะกระทามิได้ เว้นแต่
โดยอาศยั อานาจ ตามบทบัญญตั แิ ห่งกฎหมายท่ตี ราขน้ึ เฉพาะเพ่ือรกั ษาความมน่ั คงของรัฐ
เพอ่ื คมุ้ ครองสิทธหิ รือเสรีภาพของ บคุ คลอน่ื เพ่ือรกั ษาความสงบเรยี บร้อยหรอื ศลี ธรรมอนั ดี
ของประชาชน หรือเพ่ือป้องกนั สุขภาพของ ประชาชน เสรีภาพทางวชิ าการยอ่ มได้รับ
ความคมุ้ ครอง แตก่ ารใช้เสรภี าพนัน้ ตอ้ งไมข่ ัดตอ่ หนา้ ท่ีของ ปวงชนชาวไทยหรอื ศลี ธรรมอันดี
ของประชาชน และต้องเคารพและไมป่ ดิ กัน้ ความเหน็ ตา่ งของบุคคลอน่ื

 มาตรา 39 การเนรเทศบุคคลสัญชาติไทยออกนอกราชอาณาจักร หรือห้ามมิให้ผู้มีสัญชาติ
ไทย เข้ามาในราชอาณาจักร จะกระทามิได้ การถอนสัญชาติของบุคคลซึ่งมีสัญชาติไทยโดย
การเกดิ จะกระทามไิ ด้

 มาตรา 40 บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการประกอบอาชีพ การจากัดเสรีภาพตามวรรคหน่ึง
จะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ท่ีตราข้ึนเพ่ือรักษาความม่ันคง
หรอื เศรษฐกิจของประเทศ การแข่งขนั อยา่ งเป็นธรรม การป้องกนั หรอื ขจัดการกีดกนั หรอื
การผูกขาด การคุ้มครองผู้บริโภค การจัดระเบียบการประกอบอาชีพเพียงเท่าท่ีจาเป็น หรือเพื่อ
ประโยชน์สาธารณะอยา่ งอ่ืน การตรากฎหมายเพอ่ื จัดระเบยี บการประกอบอาชพี ตามวรรคสอง
ตอ้ งไมม่ ีลักษณะเป็นการเลอื กปฏิบัติ หรือก้าวกา่ ยการจัดการศึกษาของสถาบนั การศึกษา

 มาตรา 41 บคุ คลและชุมชนย่อมมีสิทธิ
(1) ได้รับทราบและเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะในครอบครองของหน่วยงานของรัฐ
ตามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ
(2) เสนอเรือ่ งราวรอ้ งทกุ ขต์ อ่ หนว่ ยงานของรัฐและได้รับแจ้งผลการพิจารณาโดยรวดเรว็
(3) ฟ้องหน่วยงานของรัฐให้รับผิดเน่ืองจากการกระทาหรือการละเว้นการกระทาของ
ขา้ ราชการ พนกั งาน หรอื ลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ
 มาตรา 42 บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการรวมกันเป็นสมาคม สหกรณ์ สหภาพ องค์กร
ชุมชน หรือหมู่คณะอื่น การจากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจ
ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ที่ตราข้ึนเพื่อคุ้มครองประโยชน์สาธารณะ เพ่ือรักษาความสงบ
เรียบรอ้ ย หรือศีลธรรมอนั ดขี องประชาชน หรือเพือ่ การปอ้ งกนั หรอื ขจดั การกดี กันหรือการผกู ขาด
 มาตรา 44 บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ การจากัด
เสรีภาพตามวรรคหน่ึงจะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ที่ตราขึ้น
เพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยสาธารณะ ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี
ของประชาชน หรือเพ่ือคมุ้ ครองสทิ ธหิ รือเสรีภาพของบุคคลอ่ืน

ภาค ข (วิชาความรู้ความสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 171

 มาตรา 47 บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขของรัฐ บุคคลผู้ยากไร้ย่อมมีสิทธิ

ได้รับบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายตามท่ีกฎหมายบัญญัติ บุคคลย่อมมีสทิ ธไิ ด้รับ
การปอ้ งกันและขจดั โรคติดตอ่ อันตรายจากรฐั โดยไมเ่ สยี ค่าใช้จ่าย

 มาตรา 48 สิทธิของมารดาในช่วงระหว่างก่อนและหลังการคลอดบุตรย่อมได้รับ
ความคุ้มครอง และช่วยเหลือตามที่กฎหมายบัญญัติ บุคคลซ่ึงมีอายุเกินหกสิบปีและไม่มีรายได้

เพียงพอแก่การยังชีพ และบุคคลผู้ยากไร้ย่อมมสี ิทธิ ได้รับความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐตามที่

กฎหมายบัญญตั ิ
 มาตรา 49 บุคคลจะใช้สิทธิหรือเสรีภาพเพ่ือล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตย

อนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุขมิได้ ผ้ใู ดทราบว่ามีการกระทาตามวรรคหนงึ่ ย่อมมสี ทิ ธิรอ้ งต่อ

อัยการสูงสุดเพ่ือร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยสั่งการให้เลิกการกระทาดังกล่าวได้ ในกรณี

ท่ีอัยการสูงสุดมีคาสั่งไม่รับดาเนินการตามที่ร้องขอ หรือไม่ดาเนินการภายในสิบห้าวัน นับแต่วันท่ี
ได้รับคาร้องขอ ผู้ร้องขอจะยื่นคาร้องโดยตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญก็ได้ การดาเนินการตามมาตราน้ี

ไมก่ ระทบตอ่ การดาเนนิ คดีอาญาต่อผูก้ ระทาการตามวรรคหน่งึ

หมวด 4 หน้าทข่ี องปวงชนชาวไทย

 มาตรา 50 บุคคลมหี น้าท่ี ดังตอ่ ไปนี้
(1) พิทกั ษร์ กั ษาไวซ้ ึง่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข
(2) ป้องกนั ประเทศ พทิ ักษร์ ักษาเกียรตภิ มู ิ ผลประโยชน์ของชาติ และสาธารณสมบัติของ
แผ่นดนิ รวมทั้งใหค้ วามร่วมมือในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(3) ปฏบิ ัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด
(4) เข้ารับการศึกษาอบรมในการศึกษาภาคบังคบั
(5) รบั ราชการทหารตามที่กฎหมายบญั ญัติ
(6) เคารพและไมล่ ะเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอืน่ และไม่กระทาการใดทอี่ าจก่อให้เกิด
ความแตกแยกหรือเกลียดชังในสังคม
(7) ไปใชส้ ิทธิเลือกต้ังหรือลงประชามติอย่างอสิ ระโดยคานึงถงึ ประโยชนส์ ว่ นรวมของประเทศ
เป็นสาคัญ
(8) ร่วมมือและสนบั สนุนการอนรุ กั ษ์และคุ้มครองส่งิ แวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ
ความหลากหลาย ทางชวี ภาพ รวมทงั้ มรดกทางวัฒนธรรม
(9) เสียภาษอี ากรตามทีก่ ฎหมายบัญญัติ
(10) ไมร่ ว่ มมือหรอื สนับสนุนการทุจริตและประพฤติมชิ อบทกุ รูปแบบ

ภาค ข (วชิ าความร้คู วามสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

172 คมู่ อื เตรยี มสอบ

หมวดที่ 5 หนา้ ท่ีของรฐั

 มาตรา 54 รัฐต้องดาเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่
ก่อนวยั เรียนจนจบการศึกษาภาคบงั คับอยา่ งมคี ณุ ภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จา่ ย
รัฐต้องดาเนิ นการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพั ฒ นาก่อนเข้ารับการศึกษา ตามวรรคหน่ึ ง
เพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและ
สนบั สนุน ใหอ้ งคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ และภาคเอกชนเขา้ มีสว่ นร่วมในการดาเนนิ การดว้ ย
รัฐต้องดาเนินการให้ประชาชนไดร้ บั การศกึ ษาตามความตอ้ งการในระบบตา่ งๆ รวมทงั้ สง่ เสรมิ
ให้มกี ารเรียนรู้ตลอดชีวติ และจัดใหม้ ีการรว่ มมือกันระหวา่ งรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และภาคเอกชน ในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าท่ีดาเนินการ กากับ ส่งเสริม
และสนับสนนุ ใหก้ ารจัดการศกึ ษา ดังกล่าวมคี ณุ ภาพและไดม้ าตรฐานสากล ทัง้ น้ี ตามกฎหมาย
ว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติซึ่งอย่างน้อย ต้องมีบทบัญญัติเก่ียวกับการจัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ
และการดาเนินการและตรวจสอบการดาเนินการ ให้เป็นไปตามแผนการศึกษาแหง่ ชาติด้วย
การศกึ ษาทั้งปวงตอ้ งมุ่งพัฒนาผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ คนดี มวี ินยั ภมู ิใจในชาติ สามารถเช่ยี วชาญได้
ตามความถนัดของตน และมีความรบั ผดิ ชอบต่อครอบครวั ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ
ในการดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง หรือให้ประชาชนได้รับ
การศึกษาตามวรรคสาม รัฐต้องดาเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย
ในการศึกษา ตามความถนัดของตน ให้จัดตั้งกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุน
ทรัพย์ เพื่อลดความเหลอื่ มล้าในการศกึ ษา และเพอ่ื เสรมิ สรา้ งและพัฒนาคณุ ภาพ
และประสทิ ธภิ าพครู โดยให้รัฐจดั สรรงบประมาณใหแ้ กก่ องทนุ หรอื ใช้มาตรการหรอื กลไก
ทางภาษีรวมทง้ั การให้ผู้บรจิ าคทรพั ย์สินเข้ากองทนุ ได้รบั ประโยชน์ในการลดหย่อน
ภาษีด้วย ท้ังน้ี ตามท่ีกฎหมายบัญญัติ ซึ่งกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องกาหนดให้การบริหาร
จดั การกองทนุ เปน็ อิสระและกาหนดใหม้ กี ารใชจ้ า่ ยเงินกองทุนเพ่ือบรรลุวัตถปุ ระสงค์ดงั กลา่ ว

 มาตรา 55 รัฐต้องดาเนินการให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพ
อย่างท่ัวถึง เสริมสร้างให้ประชาชนมีความรู้พ้ืนฐานเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
และสง่ เสริม และสนบั สนุนให้มีการพฒั นาภมู ิปัญญาด้านแพทยแ์ ผนไทยใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสดุ
บริการสาธารณสุขตามวรรคหน่ึง ต้องครอบคลุมการส่งเสริมสุขภาพ การควบคุม และป้องกันโรค
การรกั ษาพยาบาล และการฟืน้ ฟูสขุ ภาพดว้ ย รัฐต้องพัฒนาการบริการสาธารณสุขให้มคี ุณภาพ
และมมี าตรฐานสูงข้ึนอยา่ งต่อเนอื่ ง

 มาตรา 56 รัฐต้องจัดหรือดาเนินการให้มีสาธารณูปโภคขั้นพ้ืนฐานท่ีจาเป็นต่อการ
ดารงชีวิต ของประชาชนอย่างทั่วถึงตามหลักการพัฒนาอย่างย่ังยืน โครงสร้างหรือโครงข่ายข้ัน
พื้นฐานของกิจการสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานของรัฐอันจาเป็นต่อ การดารงชีวิตของประชาชนหรือ
เพื่อความม่ันคงของรัฐ รัฐจะกระทาด้วยประการใดให้ตกเป็นกรรมสิทธิ์ ของเอกชนหรือทาให้รัฐ

ภาค ข (วิชาความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 173

เป็นเจ้าของน้อยกว่าร้อยละห้าสิบเอ็ดมิได้ การจัดหรือดาเนินการให้มีสาธารณูปโภคตามวรรคหนึ่ง
หรือวรรคสอง รัฐต้องดแู ลมิให้มกี ารเรียกเก็บ ค่าบรกิ ารจนเปน็ ภาระแก่ประชาชนเกินสมควร การนา
สาธารณูปโภคของรฐั ไปให้เอกชนดาเนินการทางธุรกิจไม่วา่ ด้วยประการใดๆ รฐั ต้องได้รับ ประโยชน์
ตอบแทนอย่างเป็นธรรม โดยคานึงถึงการลงทุนของรัฐ ประโยชน์ท่ีรัฐและเอกชนจะได้รับ และ
ค่าบรกิ ารทจ่ี ะเรยี กเกบ็ จากประชาชนประกอบกัน

หมวดท่ี 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ

 มาตรา 65 รฐั พึงจัดใหม้ ียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอยา่ งยง่ั ยนื
ตามหลักธรรมภิบาลเพ่ือใช้เป็นกรอบในการจัดทาแผนต่างๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกันเพ่ือให้
เกิดเป็น พลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมายดังกล่าว การจัดทา การกาหนดเป้าหมาย ระยะเวลาท่ีจะ
บรรลุเป้าหมาย และสาระท่ีพึงมีในยุทธศาสตร์ชาติ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมาย
บัญญัติ ทั้งน้ี กฎหมายดังกล่าวต้องมีบทบัญญัติเก่ียวกับ การมีส่วนร่วมและการรับฟังความคิดเห็น
ของประชาชนทุกภาคส่วนอย่างท่ัวถึงด้วย ยุทธศาสตร์ชาติ เม่ือได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
แลว้ ใหใ้ ชบ้ ังคับได้

 มาตรา 67 รัฐพึงอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่น ในการอุปถัมภ์และ
คมุ้ ครองพระพุทธศาสนาอันเป็นศาสนาที่ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่นบั ถือ มาช้านาน รฐั พึงส่งเสริม
และสนับสนุนการศึกษาและการเผยแผ่หลักธรรมของพระพุทธศาสนาเถรวาท เพื่อให้เกิดการ
พัฒนาจิตใจและปัญญา และต้องมีมาตรการและกลไกในการป้องกันมิให้มีการบ่อนทาลาย
พระพุทธศาสนาไม่ว่าในรูปแบบใด และพึงส่งเสริมให้พุทธศาสนิกชนมีส่วนร่วมในการดาเนิน
มาตรการ หรือกลไกดงั กลา่ วดว้ ย

 มาตรา 69 รฐั พงึ จัดใหม้ ีและส่งเสริมการวิจยั และพฒั นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และศิลปวิทยาการแขนงต่างๆ ให้เกิดความรู้ การพัฒนา และนวัตกรรม เพ่ือความเข้มแข็งของสังคม
และเสริมสร้างความสามารถของคนในชาติ

หมวดที่ 7 รฐั สภา

 มาตรา 79 รัฐสภาประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา รัฐสภาจะประชุมร่วมกัน
หรือแยกกัน ย่อมเป็นไปตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ บุคคลจะเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

และสมาชกิ วฒุ สิ ภาในขณะเดยี วกันมิได้
 มาตรา 80 ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภาเป็นรอง

ประธาน รฐั สภาในกรณที ่ีไม่มปี ระธานสภาผู้แทนราษฎร หรอื ประธานสภาผแู้ ทนราษฎรไม่อยู่หรือไม่

สามารถ ปฏบิ ตั หิ น้าท่ปี ระธานรัฐสภาได้ ให้ประธานวุฒสิ ภาทาหนา้ ท่ีประธานรัฐสภาแทน ในระหว่าง

ภาค ข (วชิ าความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

174 คมู่ อื เตรยี มสอบ

ทปี่ ระธานวุฒิสภาตอ้ งทาหน้าที่ประธานรฐั สภาตามวรรคสอง แตไ่ ม่มีประธานวุฒิสภา และเป็นกรณี
ที่เกิดข้ึนในระหว่างไม่มีสภาผู้แทนราษฎร ให้รองประธานวุฒิสภาทาหน้าที่ประธานรัฐสภา ถ้าไม่มี
รองประธานวุฒิสภา ใหส้ มาชิกวุฒิสภาซ่ึงมีอายุมากทีส่ ุดในขณะนนั้ ทาหน้าท่ีประธานรัฐสภา และให้
ดาเนินการเลือกประธานวุฒิสภาโดยเร็ว ประธานรัฐสภามีหน้าที่และอานาจตามรัฐธรรมนูญ
และดาเนินกิจการของรัฐสภา ในกรณี ประชุมร่วมกันให้เป็นไปตามข้อบังคับ ประธานรัฐสภาและ
ผูท้ าหน้าท่ีแทนประธานรัฐสภาต้องวางตนเป็นกลางในการปฏิบัติหน้าท่ี รองประธานรัฐสภามีหน้าที่
และอานาจตามรัฐธรรมนญู และตามท่ปี ระธานรัฐสภามอบหมาย

 มาตรา 81 ร่างพระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนูญและร่างพระราชบัญญตั ิ จะตราขน้ึ เป็น
กฎหมายไดก้ ็แต่โดยคาแนะนาและยินยอมของรัฐสภา ภายใต้บงั คับมาตรา 145 รา่ งพระราชบญั ญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญและร่างพระราชบัญญัติ ที่ได้รับความเห็นชอบของรัฐสภาแล้ว ให้
นายกรัฐมนตรนี าข้ึนทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเพือ่ พระมหากษัตริย์ ทรงลงพระปรมาภิไธย
และเมอ่ื ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแล้ว ให้ใชบ้ ังคบั เป็นกฎหมายได้

 มาตรา 83 สภาผ้แู ทนราษฎรประกอบด้วยสมาชกิ จานวนหา้ รอ้ ยคน ดงั นี้
(1) สมาชิกซ่ึงมาจากการเลือกตง้ั แบบแบ่งเขตเลอื กตัง้ จานวนสามร้อยห้าสิบคน
(2) สมาชกิ ซง่ึ มาจากบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองจานวนหนึ่งรอ้ ยห้าสิบคน
ในกรณีที่ตาแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรว่างลงไม่ว่าด้วยเหตุใด และยังไม่มีการเลือกตั้ง
หรือประกาศชื่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรข้ึนแทนตาแหน่งท่ีว่าง ให้สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วย
สมาชิก สภาผู้แทนราษฎรเท่าที่มีอยู่ ในกรณีมีเหตุใดๆ ที่ทาให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชี
รายช่ือมีจานวนไม่ถึงหนึ่งร้อยห้าสิบคน ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายช่ือประกอบด้วย
สมาชกิ เทา่ ที่มีอยู่
 มาตรา 95 บุคคลผูม้ คี ณุ สมบัตดิ งั ตอ่ ไปนี้ เป็นผ้มู ีสิทธิเลือกตั้ง
(1) มีสัญชาติไทย แต่บุคคลผู้มีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ ต้องได้สัญชาติไทยมาแล้ว
ไม่นอ้ ยกวา่ หา้ ปี
(2) มอี ายุไมต่ า่ กวา่ สิบแปดปีในวันเลือกตงั้
(3) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับถึงวัน
เลือกต้ัง ผู้มีสิทธิเลือกตั้งซ่ึงอยู่นอกเขตเลือกตั้งท่ีตนมีช่ืออยู่ในทะเบียนบ้าน หรือมีชื่ออยู่ในทะเบียน
บ้าน ในเขตเลือกตั้งเป็นเวลาน้อยกว่าเก้าสิบวันนับถึงวันเลือกตั้ง หรือมีถิ่นที่อยู่นอกราชอาณาจักร
จะขอลงทะเบียน เพื่อออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งนอกเขตเลือกตั้ง ณ สถานที่ และตามวันเวลา
วิธีการ และเง่ือนไข ที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้ง
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรก็ได้ ผู้มีสิทธิเลือกต้ังซึ่งไม่ไปใช้สิทธิเลือกตั้งโดยมิได้แจ้งเหตุอันสมควรตาม
พระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตง้ั สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร อาจถูกจากัดสิทธิ
บางประการตามทกี่ ฎหมายบัญญตั ิ
 มาตรา 96 บุคคลผู้มีลักษณะดังต่อไปนี้ในวันเลือกตั้ง เป็นบุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิ
เลอื กตัง้

ภาค ข (วิชาความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 175

(1) เปน็ ภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช
(2) อยูใ่ นระหว่างถูกเพิกถอนสทิ ธเิ ลือกตัง้ ไม่วา่ คดีนน้ั จะถึงที่สุดแล้วหรอื ไม่
(3) ต้องคุมขังอย่โู ดยหมายของศาลหรอื โดยคาสั่งท่ีชอบด้วยกฎหมาย
(4) วิกลจริตหรอื จติ ฟ่ันเฟือนไมส่ มประกอบ
 มาตรา 97 บุคคลผู้มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ เป็นผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกต้ังเป็นสมาชิก
สภาผู้แทนราษฎร
(1) มสี ัญชาติไทยโดยการเกดิ
(2) มอี ายุไม่ต่ากว่ายีส่ ิบห้าปีนบั ถึงวนั เลือกตั้ง
(3) เป็นสมาชิกพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหน่ึงแต่เพียงพรรคการเมืองเดียวเป็นเวลา
ติดต่อกันไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับถึงวันเลือกตั้ง เว้นแต่ในกรณีท่ีมีการเลือกต้ังทั่วไปเพราะเหตุ
ยบุ สภา ระยะเวลาเก้าสบิ วนั ดังกล่าวให้ลดลงเหลือสามสิบวัน
(4) ผู้สมัครรบั เลอื กตงั้ แบบแบง่ เขตเลอื กต้งั ต้องมลี ักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปน้ดี ้วย
(ก) มชี ่อื อยู่ในทะเบยี นบ้านในจงั หวัดที่สมคั รรับเลอื กต้งั มาแล้วเป็นเวลาตดิ ตอ่ กนั
ไมน่ อ้ ยกวา่ ห้าปีนับถึงวันสมคั รรบั เลือกตงั้
(ข) เป็นบคุ คลซ่งึ เกดิ ในจงั หวดั ทสี่ มัครรบั เลือกตั้ง
(ค) เคยศึกษาในสถานศึกษาท่ีต้ังอยู่ในจังหวัดที่สมัครรับเลือกต้ังเป็นเวลาติดต่อกัน
ไม่น้อยกวา่ ห้าปีการศกึ ษา
(ง) เคยรับราชการหรือปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐ หรือเคยมีช่ืออยู่ในทะเบียนบ้าน
ในจังหวดั ท่ีสมัครรับเลอื กตั้ง แลว้ แต่กรณี เปน็ เวลาตดิ ตอ่ กันไมน่ อ้ ยกว่าห้าปี
 มาตรา 98 บุคคลผู้มีลักษณะดังต่อไปนี้ เป็นบุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิสมัครรับเลือกต้ัง
เปน็ สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร
(1) ติดยาเสพตดิ ให้โทษ
(2) เปน็ บุคคลลม้ ละลายหรอื เคยเป็นบุคคลลม้ ละลายทุจริต
(3) เปน็ เจา้ ของหรอื ผถู้ ือหุ้นในกจิ การหนังสอื พมิ พ์หรอื สือ่ มวลชนใด ๆ
(4) เปน็ บุคคลผู้มีลักษณะต้องหา้ มมิให้ใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตั้งตามมาตรา 96 (1) (2) หรือ (4)
(5) อยู่ระหว่างถูกระงับการใช้สทิ ธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นการชั่วคราวหรือถูกเพิกถอนสิทธิสมัคร
รบั เลอื กต้ัง
(6) ตอ้ งคาพิพากษาใหจ้ าคกุ และถกู คุมขังอยู่โดยหมายของศาล
(7) เคยได้รับโทษจาคุกโดยได้พ้นโทษมายังไม่ถึงสิบปีนับถึงวันเลือกต้ัง เว้นแต่ในความผิด
อันได้กระทาโดยประมาทหรอื ความผดิ ลหุโทษ
(8) เคยถกู ส่งั ให้พน้ จากราชการ หนว่ ยงานของรัฐ หรอื รฐั วิสาหกจิ เพราะทจุ รติ ตอ่ หนา้ ท่ี
หรอื ถอื วา่ กระทาการทุจรติ หรอื ประพฤติมชิ อบในวงราชการ

ภาค ข (วชิ าความรู้ความสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

176 คมู่ อื เตรยี มสอบ

(9) เคยต้องคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลอันถึงที่สุดให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน
เพราะร่ารวยผิดปกติ หรือเคยต้องคาพิพากษาอันถึงท่ีสุดให้ลงโทษจาคุกเพราะกระทาความผิดตาม
กฎหมาย วา่ ดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต

(10) เคยต้องคาพิพากษาอันถึงที่สุดว่ากระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าท่ีราชการ หรือต่อ
ตาแหนง่ หนา้ ทใี่ นการยุตธิ รรม หรือกระทาความผิดตามกฎหมายว่าด้วยความผดิ ของพนักงาน
ในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ หรือความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ที่กระทาโดยทุจริตตามประมวล
กฎหมายอาญา ความผดิ ตามกฎหมายว่าดว้ ยการกยู้ มื เงนิ ท่เี ปน็ การฉอ้ โกงประชาชน กฎหมายว่าด้วย
ยาเสพติดในความผิด ฐานเป็นผู้ผลิต นาเข้า ส่งออก หรือผู้ค้า กฎหมายว่าด้วยการพนันในความผิด
ฐานเป็นเจ้ามือหรือเจา้ สานัก กฎหมายว่าดว้ ยการปอ้ งกันและปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ หรือกฎหมาย
วา่ ด้วยการป้องกนั และปราบปราม การฟอกเงินในความผิดฐานฟอกเงนิ

(11) เคยต้องคาพพิ ากษาอนั ถึงทส่ี ดุ ว่ากระทาการอนั เปน็ การทจุ รติ ในการเลือกต้งั
(12) เปน็ ขา้ ราชการซึ่งมีตาแหนง่ หรอื เงินเดือนประจานอกจากข้าราชการการเมือง
(13) เปน็ สมาชิกสภาทอ้ งถนิ่ หรือผู้บริหารท้องถ่ิน
(14) เปน็ สมาชกิ วุฒิสภาหรือเคยเปน็ สมาชิกวุฒิสภาและสมาชกิ ภาพส้นิ สุดลงยังไมเ่ กินสองปี
(15) เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือ
เปน็ เจ้าหน้าที่อ่นื ของรฐั
(16) เปน็ ตลุ าการศาลรัฐธรรมนูญ หรอื ผ้ดู ารงตาแหนง่ ในองคก์ รอสิ ระ
(17) อยูใ่ นระหว่างต้องห้ามมิให้ดารงตาแหนง่ ทางการเมอื ง
(18) เคยพ้นจากตาแหนง่ เพราะเหตุตามมาตรา 144 หรอื มาตรา 235 วรรคสาม
 มาตรา 99 อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกาหนดคราวละส่ีปีนับแต่วันเลือกต้งั ในระหว่าง
อายขุ องสภาผู้แทนราษฎร จะมีการควบรวมพรรคการเมืองที่มีสมาชิกเป็นสมาชิก สภาผู้แทนราษฎร
มไิ ด้
 มาตรา 100 สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรเรมิ่ ตัง้ แตว่ นั เลือกตง้ั
 มาตรา 102 เม่ืออายุของสภาผู้แทนราษฎรส้ินสุดลง พระมหากษัตริย์จะได้ทรงตรา
พระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่ เป็นการเลือกตั้งทั่วไปภายในสี่สิบ
ห้าวัน นับแต่วันท่ีสภาผู้แทนราษฎรส้ินอายุ การเลือกตั้งตามวรรคหนึ่ง ต้องเป็นวันเดียวกันทั่ว
ราชอาณาจกั รตามท่คี ณะกรรมการการเลือกต้ัง ประกาศกาหนดในราชกิจจานเุ บกษา
 มาตรา 103 พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอานาจที่จะยุบสภาผู้แทนราษฎรเพื่อให้มี
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่เป็นการเลือกตั้งท่ัวไป การยุบสภาผู้แทนราษฎรให้
กระทาโดยพระราชกฤษฎกี า และใหก้ ระทาไดเ้ พยี งครั้งเดยี ว ในเหตกุ ารณ์เดยี วกัน
ภายในห้าวันนับแต่วันท่ีพระราชกฤษฎีกาตามวรรคหน่ึงใช้บังคับ ให้คณะกรรมการการเลือกต้ัง
ประกาศกาหนดวนั เลือกตั้งทั่วไปในราชกิจจานุเบกษา ซ่ึงต้องไม่น้อยกว่าสี่สิบห้าวันแต่ไม่เกินหกสิบ
วัน นับแต่วันท่ีพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวใช้บังคับ วันเลือกตั้งน้ันต้องกาหนดเป็นวันเดียวกัน
ทัว่ ราชอาณาจกั ร

ภาค ข (วิชาความรู้ความสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 177

 มาตรา 107 วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจานวนสองร้อยคน ซึ่งมาจากการเลือกกันเอง
ของบุคคลซึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ อาชีพ ลักษณะ หรือประโยชน์ร่วมกัน
หรือทางาน หรือเคยทางานด้านต่างๆ ที่หลากหลายของสังคม โดยในการแบ่งกลุ่มต้องแบ่งใน
ลักษณะทีท่ าใหป้ ระชาชน ซึ่งมสี ิทธิสมคั รรับเลอื กทุกคนสามารถอยู่ในกลุม่ ใดกลุม่ หน่ึงได้

 มาตรา 108 สมาชิกวุฒิสภาต้องมคี ุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดงั ต่อไปนี้
ก. คุณสมบัติ

(1) มีสัญชาตไิ ทยโดยการเกิด
(2) มอี ายไุ ม่ตา่ กว่าสสี่ บิ ปีในวนั สมคั รรับเลอื ก

(3) มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ หรือทางานในด้านที่สมัครไม่น้อยกว่าสิบปี
หรือเป็นผู้มีลักษณะตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
วา่ ด้วยการได้มาซ่ึงสมาชิกวุฒิสภา

(4) เกิด มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ทางาน หรือมีความเกี่ยวพันกับพื้นที่ที่สมัครตามหลักเกณฑ์
และเงอ่ื นไขทบ่ี ญั ญัตไิ วใ้ นพระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญว่าดว้ ยการไดม้ าซงึ่ สมาชกิ วฒุ ิสภา

 มาตรา 109 อายุของวฒุ ิสภามีกาหนดคราวละห้าปีนบั แต่วนั ประกาศผลการเลือก สมาชิก
ภาพของสมาชิกวุฒิสภาเร่ิมตั้งแต่วันท่ีคณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศผลการเลือก เม่ืออายุ
ของวุฒิสภาส้ินสุดลง ให้สมาชิกวุฒิสภาอยู่ในตาแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าท่ีต่อไปจนกว่าจะมี สมาชิก
วฒุ สิ ภาข้ึนใหม่

 มาตรา 130 ให้มพี ระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญ ดงั ตอ่ ไปนี้
(1) พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยการเลือกต้ังสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร
(2) พระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วา่ ดว้ ยการได้มาซง่ึ สมาชกิ วฒุ ิสภา
(3) พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยคณะกรรมการการเลือกตั้ง
(4) พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยพรรคการเมือง
(5) พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวา่ ด้วยผตู้ รวจการแผ่นดิน
(6) พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ
(7) พระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่าดว้ ยการตรวจเงินแผน่ ดิน
(8) พระราชบญั ญัติประกอบรัฐธรรมนญู ว่าด้วยวิธีพจิ ารณาของศาลรัฐธรรมนญู
(9) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดารงตาแหน่ง
ทางการเมอื ง
(10) พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ด้วยคณะกรรมการสิทธมิ นุษยชนแหง่ ชาติ

ภาค ข (วชิ าความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

178 คมู่ อื เตรยี มสอบ

หมวดที่ 8 คณะรฐั มนตรี

 มาตรา 158 พระมหากษัตริย์ทรงแต่งต้ังนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีอ่ืนอีกไม่เกินสามสิบ
หา้ คน ประกอบเป็นคณะรัฐมนตรี มหี น้าทบ่ี ริหารราชการแผน่ ดินตามหลัก ความรบั ผิดชอบรว่ มกนั
นายกรฐั มนตรีต้องแตง่ ตัง้ จากบคุ คลซง่ึ สภาผแู้ ทนราษฎรใหค้ วามเหน็ ชอบตาม มาตรา 159
ใหป้ ระธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผลู้ งนามรับสนองพระบรมราชโองการแตง่ ตงั้ นายกรฐั มนตรี
นายกรัฐมนตรีจะดารงตาแหน่งรวมกันแล้วเกินแปดปีมิได้ ทั้งน้ี ไม่ว่าจะเป็นการดารงตาแหน่ง
ติดตอ่ กนั หรือไม่แต่มิใหน้ บั รวมระยะเวลาในระหว่างที่อยปู่ ฏิบตั หิ น้าที่ต่อไปหลังพ้นจากตาแหน่ง

 มาตรา 160 รัฐมนตรตี ้อง
(1) มีสญั ชาติไทยโดยการเกดิ
(2) มอี ายุไมต่ ่ากว่าสามสิบห้าปี
(3) สาเร็จการศึกษาไมต่ า่ กวา่ ปริญญาตรหี รือเทียบเทา่
(4) มีความซ่อื สัตย์สจุ ริตเป็นทปี่ ระจักษ์
(5) ไม่มีพฤติกรรมอนั เปน็ การฝ่าฝืนหรอื ไมป่ ฏบิ ัติตามมาตรฐานทางจรยิ ธรรมอย่างรา้ ยแรง
(6) ไมม่ ีลักษณะต้องหา้ มตามมาตรา 98
(7) ไม่เป็นผู้ต้องคาพิพากษาให้จาคุก แม้คดีน้ันจะยังไม่ถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษ
เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทาโดยประมาท ความผดิ ลหโุ ทษ หรอื ความผิดฐานหม่ินประมาท
(8) ไม่เป็นผู้เคยพ้นจากตาแหน่งเพราะเหตุกระทาการอันเป็นการต้องห้าม ตามมาตรา 186
หรือมาตรา 187 มาแลว้ ยังไมถ่ ึงสองปนี ับถงึ วันแตง่ ต้งั
 มาตรา 162 คณะรัฐมนตรีท่ีจะเข้าบริหารราชการแผ่นดินต้องแถลงนโยบายต่อรัฐสภา
ซ่ึงต้องสอดคล้องกับหน้าที่ของรัฐ แนวนโยบายแห่งรัฐ และยุทธศาสตร์ชาติ และต้องชี้แจง
แหล่งท่ีมาของรายได้ท่ีจะนามาใช้จ่ายในการดาเนินนโยบาย โดยไม่มีการลงมติความไว้วางใจ
ทั้งนี้ ภายในสบิ หา้ วนั นบั แตว่ ันเข้ารบั หน้าท่ี ก่อนแถลงนโยบายต่อรฐั สภาตามวรรคหน่ึง หากมีกรณี
ที่สาคัญและจาเป็นเร่งด่วน ซึ่งหากปล่อยให้เน่ินช้าไปจะกระทบต่อประโยชน์สาคัญของแผ่นดิน
คณะรฐั มนตรที ี่เขา้ รับหนา้ ที่ จะดาเนินการไปพลางกอ่ นเพียงเทา่ ทจี่ าเป็นก็ได้
 มาตรา 180 พระมหากษัตริย์ทรงแต่งต้ังข้าราชการฝ่ายทหารและฝ่ายพลเรือน ตาแหน่ง
ปลัดกระทรวง อธิบดีและเทียบเท่า และทรงให้พ้นจากตาแหน่ง เว้นแต่กรณีท่ีพ้นจากตาแหน่ง
เพราะความตาย เกษียณอายุ หรือพน้ จากราชการเพราะถูกลงโทษ
 มาตรา 183 เงินประจาตาแหน่งและประโยชน์ตอบแทนอย่างอ่ืน ขององคมนตรี
ประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานและรองประธานวุฒิสภา ผู้นาฝ่ายค้านในสภา
ผู้แทนราษฎร สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร และสมาชกิ วฒุ สิ ภา ให้กาหนดโดยพระราชกฤษฎกี า
บาเหน็จบานาญหรือประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นขององคมนตรีซ่ึงพ้นจากตาแหน่ง ให้กาหนดโดย
พระราชกฤษฎกี า

ภาค ข (วิชาความรู้ความสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 179

หมวดท่ี 9 การขดั กันแหง่ ผลประโยชน์

 มาตรา 184 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชกิ วุฒสิ ภาตอ้ ง
(1) ไม่ดารงตาแหน่งหรือหน้าท่ีใดในหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ
หรือตาแหนง่ สมาชกิ สภาท้องถน่ิ หรือผูบ้ รหิ ารทอ้ งถนิ่
(2) ไม่รับหรือแทรกแซงหรือก้าวก่ายการเข้ารับสัมปทานจากรัฐ หน่วยราชการ หน่วยงาน
ของรัฐ หรือรัฐวิสาหกจิ หรือเข้าเป็นคู่สัญญากับรฐั หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ
อันมีลักษณะ เป็นการผูกขาดตัดตอน หรือเป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทที่รับ
สมั ปทานหรอื เขา้ เป็น คูส่ ญั ญาในลักษณะดงั กล่าว ทัง้ น้ี ไมว่ าโดยทางตรงหรือทางออ้ ม
(3) ไม่รับเงินหรือประโยชน์ใดๆ จากหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ
เป็นพิเศษ นอกเหนือไปจากที่หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจปฏิบัติต่อบุคคลอ่ืนๆ
ในธุรกิจ การงานปกติ
(4) ไม่กระทาการใด ๆ ไม่วา่ โดยทางตรงหรือทางอ้อม อันเป็นการขัดขวางหรือแทรกแซง
การใช้สิทธิหรือเสรีภาพของหนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชนโดยมิชอบ มาตราน้ีมิให้ใช้บังคับในกรณีที่
สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรหรอื สมาชิกวุฒิสภารับเบ้ียหวัด บาเหน็จ บานาญ เงนิ ปีพระบรมวงศานุวงศ์
หรือเงินอื่นใดในลักษณะเดียวกัน และมิให้ใช้บังคับในกรณีท่ีสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิก
วฒุ สิ ภารับหรอื ดารงตาแหนง่ กรรมาธิการของรัฐสภา สภาผ้แู ทนราษฎร

หมวดที่ 10 ศาล

 มาตรา 188 การพิจารณาพิพากษาอรรถคดีเป็นอานาจของศาล ซึ่งต้องดาเนินการให้
เป็นไป ตามกฎหมาย และในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ ผู้พิพากษาและตุลาการย่อมมีอิสระ
ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีตามรัฐธรรมนูญและกฎหมาย ให้เป็นไปโดยรวดเร็ว เป็นธรรม
และปราศจากอคตทิ ้งั ปวง

 มาตรา 194 ศาลยุติธรรมมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง เว้นแต่คดีท่ีรัฐธรรมนูญ
หรือกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอานาจของศาลอ่ืน การจัดตั้ง วิธีพิจารณาคดี และการดาเนินงาน
ของศาลยตุ ิธรรมให้เป็นไปตามกฎหมายวา่ ด้วยการนัน้

 มาตรา 197 ศาลปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีปกครองอันเนื่องมาจากการใช้
อานาจ ทางปกครองตามกฎหมายหรือเนื่องมาจากการดาเนินกิจการทางปกครอง ท้ังน้ี ตามที่
กฎหมายบัญญัติ ให้มีศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองช้ันต้น อานาจศาลปกครองตามวรรคหนึ่ง
ไม่รวมถึงการวินิจฉัยช้ขี าดขององค์กรอิสระซงึ่ เป็นการใช้อานาจ โดยตรงตามรัฐธรรมนูญขององค์กร
อสิ ระนนั้ ๆ การจดั ตัง้ วิธพี จิ ารณาคดี และการดาเนินงานของศาลปกครองให้เป็นไปตามกฎหมาย
ว่าดว้ ยการนน้ั

ภาค ข (วชิ าความรูค้ วามสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

180 คมู่ อื เตรยี มสอบ

 มาตรา 199 ศาลทหารมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาที่ผู้กระทาความผิดเป็น
บคุ คล ซึ่งอยู่ในอานาจศาลทหารและคดีอื่น ทั้งน้ี ตามที่กฎหมายบัญญัติ การจัดต้ัง วิธีพจิ ารณาคดี
และการดาเนินงานของศาลทหาร ตลอดจนการแต่งตั้งและการให้ตุลาการ ศาลทหารพ้นจาก
ตาแหนง่ ให้เปน็ ไปตามท่ีกฎหมายบญั ญตั ิ

หมวดที่ 11 ศาลรฐั ธรรมนญู

 มาตรา 200 ศาลรัฐธรรมนูญประกอบด้วยตุลาการศาลรัฐธรรมนูญจานวนเก้าคน
ซ่ึงพระมหากษัตริย์ทรงแต่งต้งั จากบุคคล

(1) ผู้พิพากษาในศาลฎีกาซึ่งดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าผ้พู ิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกามาแล้ว
ไมน่ ้อยกวา่ สามปี ซ่ึงได้รับคดั เลือกโดยท่ปี ระชุมใหญศ่ าลฎีกา จานวนสามคน

(2) ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดซึ่งดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าตลุ าการศาลปกครองสูงสดุ มาแล้ว
ไมน่ ้อยกว่าห้าปี ซ่ึงได้รับคดั เลอื กโดยทปี่ ระชมุ ใหญต่ ลุ าการในศาลปกครองสูงสุด จานวนสองคน

(3) ผู้ทรงคุณวุฒสิ าขานติ ิศาสตร์ซึ่งได้รับการสรรหาจากผ้ดู ารงตาแหนง่ หรอื เคยดารงตาแหน่ง
ศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทยมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่าห้าปี และยังมีผลงาน
ทางวชิ าการ เปน็ ท่ปี ระจักษ์ จานวนหน่งึ คน

(4) ผู้ทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตร์หรือรัฐประศาสนศาสตร์ซึ่งได้รับการสรรหาจากผู้ดารง
ตาแหน่งหรอื เคยดารงตาแหน่งศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทยมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อย
กวา่ ห้าปี และยงั มีผลงานทางวิชาการเปน็ ท่ีประจักษ์ จานวนหนง่ึ คน

(5) ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับการสรรหาจากผู้รับหรือเคยรับราชการในตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิบดี
หรือหัวหน้าส่วนราชการท่ีเทียบเท่า หรือตาแหน่งไม่ต่ากว่ารองอัยการสูงสุดมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี
จานวนสองคน ในกรณีไม่อาจเลอื กผพู้ ิพากษาหวั หน้าคณะในศาลฎกี าตาม

(6) ทป่ี ระชมุ ใหญ่ศาลฎีกาจะเลือกบุคคล จากผซู้ ึ่งเคยดารงตาแหน่งไม่ต่ากวา่ ผู้พิพากษาในศาล
ฎีกามาแล้วไม่น้อยกว่าสามปีก็ได้ การนับระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง ให้นับถึงวันที่ได้รับการคัดเลือก
หรอื วันสมัครเขา้ รับการสรรหา แลว้ แต่กรณี ในกรณจี าเป็นอันไม่อาจหลกี เลย่ี งได้ คณะกรรมการสรร
หาจะประกาศลดระยะเวลา ตามวรรคหนึง่ หรือวรรคสองลงก็ได้ แต่จะลดลงเหลือน้อยกว่าสองปมี ไิ ด้

ภาค ข (วิชาความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 181

หมวดที่ 12 องค์กรอิสระ

 มาตรา 222 คณ ะกรรมการการเลือกต้ังประกอบด้วยกรรมการจานวนเจ็ดคน
ซง่ึ พระมหากษตั รยิ ์ ทรงแตง่ ตัง้ ตามคาแนะนาของวฒุ ิสภาจากบุคคลดงั ต่อไปน้ี

(1) ผู้มีความรคู้ วามเชี่ยวชาญในสาขาวชิ าการต่างๆ ที่จะยังประโยชน์แก่การบรหิ ารและจัดการ
การเลือกต้ังให้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม และมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นท่ีประจักษ์ ซ่ึงได้รับ
การสรรหา จากคณะกรรมการสรรหา จานวนหา้ คน

(2) ผู้มีความรู้ ความเช่ียวชาญ และประสบการณ์ด้านกฎหมาย มีความซ่ือสัตย์สุจริตเป็นท่ี
ประจักษ์ และเคยดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิบดีผู้พิพากษา หรือตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิบดีอัยการ
มาแล้วเป็นเวลา ไม่น้อยกว่าห้าปี ซึ่งได้รับการคัดเลือกจากที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา จานวนสองคน
ผู้ซ่ึงจะได้รับการสรรหาเป็นกรรมการการเลือกตั้งตาม (1) ต้องมีคุณสมบัติตามมาตรา 232 (2) (3)
(4) (5) (6) หรือ (7) หรอื เป็นผู้ทางานหรอื เคยทางานในภาคประชาสังคมมาแลว้ เป็นเวลา ไม่น้อยกว่า
ยสี่ ิบปี ทง้ั น้ี ตามที่คณะกรรมการสรรหาประกาศกาหนด

 มาตรา 223 กรรมการการเลือกตั้งมีวาระการดารงตาแหน่งเจ็ดปี นับแต่วันที่
พระมหากษตั รยิ ์ ทรงแตง่ ต้งั และให้ดารงตาแหนง่ ไดเ้ พียงวาระเดียว

 มาตรา 228 ผู้ตรวจการแผ่นดินมีจานวนสามคนซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งต้ังตาม
คาแนะนา ของวุฒสิ ภา จากผ้ซู ่ึงได้รับการสรรหาโดยคณะกรรมการสรรหา ผู้ซ่งึ ไดร้ ับการสรรหาต้อง
เป็นผู้มีความซ่ือสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ และมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์เก่ียวกับ
การบริหารราชการแผ่นดินไม่ต่ากว่าอธิบดีหรือหัวหน้าส่วนราชการที่เทียบเท่า หรือหัวหน้า
หนว่ ยงานของรัฐทเี่ ทียบไดไ้ มต่ า่ กว่ากรมตามท่ีคณะกรรมการสรรหาประกาศกาหนด โดยต้อง
ดารงตาแหนง่ ดงั กล่าวเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหา้ ปี จานวนสองคน และเปน็ ผ้มู ปี ระสบการณ์
ในการดาเนนิ กจิ การ อนั เป็นสาธารณะมาแล้วไม่นอ้ ยกว่ายีส่ ิบปี จานวนหนง่ึ คน

 มาตรา 229 ผู้ตรวจการแผ่นดินมีวาระการดารงตาแหน่งเจ็ดปี นับแต่วันที่
พระมหากษตั รยิ ์ ทรงแต่งตงั้ และให้ดารงตาแหน่งไดเ้ พยี งวาระเดียว

 มาตรา 232 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติประกอบด้วย
กรรมการจานวนเก้าคน ซ่ึงพระมหากษัตริย์ทรงแต่งต้ังตามคาแนะนาของวุฒิสภาจากผู้ซึ่งได้รับ
การสรรหา โดยคณะกรรมการสรรหา ผู้ซึ่งได้รับการสรรหาต้องเป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นท่ี
ประจักษ์ มคี วามรู้ ความเช่ียวชาญ และประสบการณ์ด้านกฎหมาย บัญชี เศรษฐศาสตร์ การบริหาร
ราชการแผ่นดิน หรือการอื่นใดอันเป็น ประโยชนต์ ่อการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ และต้องมี
คุณสมบัติอยา่ งหนึ่งอยา่ งใด ดังต่อไปน้ีด้วย

(1) รับราชการหรือเคยรับราชการในตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิบดีผู้พิพากษา อธิบดีศาลปกครอง
ชัน้ ตน้ ตุลาการพระธรรมนูญหัวหน้าศาลทหารกลาง หรอื อธบิ ดีอยั การมาแลว้ ไมน่ ้อยกวา่ ห้าปี

ภาค ข (วชิ าความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

182 คมู่ อื เตรยี มสอบ

(2) รับราชการหรือเคยรับราชการในตาแหน่งไม่ต่ากว่าอธิบดีหรือหัวหน้าส่วนราชการ
ท่ีเทียบเท่า มาแล้วไมน่ อ้ ยกวา่ ห้าปี

(3) เป็นหรือเคยเป็นผู้ดารงตาแหน่งผู้บริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ
ทีไ่ ม่เปน็ ส่วนราชการหรอื รัฐวสิ าหกิจมาแล้วไมน่ อ้ ยกว่าห้าปี

(4) ดารงตาแหน่งหรือเคยดารงตาแหน่งศาสตราจารย์ของมหาวทิ ยาลยั ในประเทศไทยมาแล้ว
ไม่น้อยกวา่ ห้าปี และยงั มีผลงานทางวชิ าการเปน็ ท่ีประจกั ษ์

(5) เป็นหรือเคยเป็นผู้ประกอบวิชาชีพท่ีมีกฎหมายรับรองการประกอบวิชาชีพโดยประกอบ
วิชาชีพ อย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องมาเป็นเวลาไม่น้อยกว่ายี่สิบปีนับถึงวันที่ได้รับการเสนอช่ือ
และได้รับการรบั รอง การประกอบวิชาชีพจากองค์กรวิชาชีพนนั้

(6) เป็นผู้มคี วามรูค้ วามชานาญและประสบการณ์ทางดา้ นการบรหิ าร การเงิน การคลงั
การบัญชี หรือการบรหิ ารกิจการวิสาหกจิ ในระดับไม่ต่ากวา่ ผบู้ รหิ ารระดับสูงของบริษทั มหาชนจากัด
มาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่าสิบปี

(7) เคยเป็นผู้ดารงตาแหน่งตาม (1) (2) (3) (4) หรือ (6) รวมกันไม่น้อยกว่าสิบปี การนับ
ระยะเวลาตามวรรคสอง ใหน้ ับถงึ วนั ทไี่ ด้รับการเสนอชื่อหรือวันสมัครเขา้ รับการสรรหา แลว้ แต่กรณี

 มาตรา 233 กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติมีวาระการดารงตาแหน่ง
เจ็ดปี นับแต่วันท่ีพระมหากษัตริย์ทรงแต่งต้ัง และให้ดารงตาแหน่งได้เพียงวาระเดียว ในระหว่างท่ี
กรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติพ้นจากตาแหน่งกอ่ นวาระ และยงั ไมม่ ีการแต่งตั้ง
กรรมการแทนตาแหน่งที่ว่าง ให้กรรมการเท่าที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าท่ีต่อไปได้ เว้นแต่จะมีกรรมการ
เหลืออย่ไู มถ่ ึงหา้ คน

 มาตรา 238 คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินประกอบด้วยกรรมการจานวนเจ็ดคน
ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งต้ังตามคาแนะนาของวุฒิสภา จากผู้ซึ่งได้รับการสรรหาโดย
คณะกรรมการสรรหา

 มาตรา 239 กรรมการตรวจเงินแผ่นดินมีวาระการดารงตาแหน่งเจ็ดปีนับแต่วันที่
พระมหากษัตรยิ ์ ทรงแตง่ ต้ัง และให้ดารงตาแหนง่ ได้เพียงวาระเดยี ว

 มาตรา 246 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติประกอบด้วยกรรมการจานวนเจ็ดคน
ซ่ึงพระมหากษัตริย์ทรงแต่งต้ังตามคาแนะนาของวุฒิสภาจากผู้ซ่ึงได้รับการสรรหา กรรมการสิทธิ
มนุษยชนแห่งชาติมีวาระการดารงตาแหน่งเจ็ดปีนับแต่วันท่ีพระมหากษัตริย์ ทรงแต่งตั้ง และให้
ดารงตาแหน่งได้เพยี งวาระเดียว

หมวดที่ 13 องค์กรอัยการ

 มาตรา 248 องค์กรอัยการมหี นา้ ทีแ่ ละอานาจตามที่บัญญัติไวใ้ นรัฐธรรมนูญและกฎหมาย
พนกั งานอัยการมีอิสระในการพิจารณาสั่งคดีและการปฏบิ ตั ิหน้าทใี่ หเ้ ป็นไปโดยรวดเร็ว เทย่ี งธรรม
และปราศจากอคตทิ งั้ ปวง และไม่ใหถ้ ือวา่ เป็นคาส่งั ทางปกครอง

ภาค ข (วิชาความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 183

หมวดท่ี 14 การปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น

 มาตรา 249 ภายใต้บังคับมาตรา 1 ให้มีการจัดการปกครองส่วนท้องถ่ินตามหลักแห่ง
การปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถ่ิน ทั้งนี้ ตามวิธีการและรูปแบบองค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ินท่กี ฎหมายบัญญัติ การจัดต้ังองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นในรูปแบบใดใหค้ านึงถึง
เจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถน่ิ และความสามารถในการปกครองตนเองในดา้ นรายได้
จานวนและความหนาแนน่ ของประชากร และพน้ื ท่ี ท่ตี ้องรบั ผดิ ชอบ ประกอบกัน

 มาตรา 250 องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินมีหน้าที่และอานาจดแู ลและจดั ทาบริการสาธารณะ
และกจิ กรรมสาธารณะเพอื่ ประโยชน์ของประชาชนในท้องถนิ่ ตามหลักการพัฒนาอย่างย่ังยนื
รวมท้ังส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษาให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น ท้ังน้ี ตามท่ีกฎหมาย
บัญญตั ิ

 มาตรา 252 สมาชิกสภาท้องถิ่นต้องมาจากการเลือกต้ัง ผู้บริหารท้องถิ่นให้มาจากการ
เลือกต้ังหรือมาจากความเห็นชอบของสภาท้องถ่ินหรือในกรณี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบ
พิเศษ จะให้มาโดยวธิ ีอ่ืนก็ได้ แต่ตอ้ งคานึงถึงการมสี ่วนร่วม ของประชาชนด้วย ท้ังนี้ ตามท่ีกฎหมาย
บัญญัติ คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้งและผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง และหลักเกณฑ์และวิธีการ
เลือกตั้ง สมาชิกสภาท้องถ่ินและผู้บริหารท้องถิ่น ให้เป็นไปตามท่ีกฎหมายบัญญัติ ซ่ึงต้องคานึงถึง
เจตนารมณ์ ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตตามแนวทางท่บี ัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญด้วย

หมวดที่ 15 การแก้ไขเพมิ่ เตมิ รัฐธรรมนญู

 มาตรา 255 การแก้ไขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญที่เป็นการเปล่ียนแปลงการปกครองระบอบ

ประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ หรอื เปลี่ยนแปลงรูปแบบของรัฐ จะกระทามิได
 มาตรา 256 ภายใต้บังคับมาตรา 255 การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ให้กระทาได้

ตามหลักเกณฑ์และวิธกี าร ดงั ตอ่ ไปน้ี

หมวดที่ 16 การปฏิรูปประเทศ

 มาตรา 257 การปฏิรูปประเทศตามหมวดนตี้ ้องดาเนนิ การเพอื่ บรรลุเป้าหมาย ดังต่อไปน้ี
(1) ประเทศชาติมีความสงบเรียบร้อย มีความสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุกับการพัฒนา
ดา้ นจิตใจ
(2) สงั คมมีความสงบสขุ เป็นธรรม และมีโอกาสอนั ทดั เทียมกันเพื่อขจัดความเหล่ือมล้า

ภาค ข (วชิ าความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

184 คมู่ อื เตรยี มสอบ

(3) ประชาชนมีความสุข มีคุณ ภาพชีวิตท่ีดี และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ
และการปกครอง ในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ มาตรา 258
ใหด้ าเนินการปฏิรปู ประเทศอย่างนอ้ ยในดา้ นตา่ ง ๆ ใหเ้ กิดผล ดังต่อไปนี้

ก. ดา้ นการเมือง
(1) ให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรมทางการเมืองรวมตลอดทั้ง
การตรวจสอบ การใช้อานาจรฐั รู้จักยอมรบั ในความเห็นทางการเมอื งโดยสุจริตทีแ่ ตกต่างกัน
และให้ประชาชนใช้สิทธิเลือกต้ัง และออกเสียงประชามติโดยอิสระปราศจากการครอบงาไม่ว่าด้วย
ทางใด
(2) ให้การดาเนินกิจกรรมของพรรคการเมืองเป็นไปโดยเปิดเผยและตรวจสอบได้ เพ่ือให้
พรรคการเมืองพฒั นาเป็นสถาบนั ทางการเมืองของประชาชนซง่ึ มีอดุ มการณท์ างการเมอื งร่วมกนั
มีกระบวนการ ให้สมาชิกพรรคการเมืองมีส่วนร่วมและมีความรับผิดชอบอย่างแท้จริงในการดาเนิน
กิจกรรมทางการเมือง และการคัดเลือกผู้มีความรู้ความสามารถ ซื่อสัตย์สุจริต และมีคุณธรรม
จริยธรรม เข้ามาเป็นผดู้ ารงตาแหน่ง ทางการเมอื งที่ชัดเจนและเปน็ รปู ธรรม
(3) มกี ลไกท่กี าหนดความรบั ผิดชอบของพรรคการเมืองในการประกาศโฆษณานโยบาย
ทม่ี ิไดว้ ิเคราะห์ผลกระทบ ความคุ้มค่า และความเสยี่ งอย่างรอบดา้ น
(4) มีกลไกท่ีกาหนดให้ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต
และรับผดิ ชอบตอ่ ประชาชนในการปฏบิ ัติหนา้ ที่ของตน
(5) มีกลไกแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองโดยสันติวิธีภายใต้การปกครอง ระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ข. ด้านการบริหารราชการแผ่นดนิ
(1) ให้มีการนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน
และการจัดทาบริการสาธารณะ เพื่อประโยชน์ในการบริหารราชการแผ่นดิน และเพื่ออานวยความ
สะดวก ให้แกป่ ระชาชน
(2) ให้มีการบูรณาการฐานข้อมูลของหน่วยงานของรัฐทุกหน่วยงานเข้าด้วยกัน เพ่ือให้เป็น
ระบบข้อมลู เพื่อการบริหารราชการแผ่นดนิ และการบริการประชาชน
(3) ให้มีการปรับปรุงและพัฒนาโครงสรา้ งและระบบการบริหารงานของรัฐและแผนกาลังคน
ภาครัฐให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและความท้าทายใหม่ๆ โดยต้องดาเนินการให้เหมาะสมกับภารกิจ
ของ หน่วยงานของรฐั แตล่ ะหน่วยงานท่ีแตกต่างกนั
(4) ให้มีการปรับปรุงและพัฒนาการบริหารงานบุคคลภาครัฐเพ่ือจูงใจให้ผู้มีความรู้
ความสามารถอย่างแท้จริงเข้ามาทางานในหน่วยงานของรัฐ และสามารถเจริญก้าวหน้าได้ตาม
ความสามารถ และผลสัมฤทธ์ิของงานของแตล่ ะบคุ คล มีความซื่อสตั ย์สุจรติ กล้าตัดสนิ ใจและกระทา
ในสิ่งที่ถูกต้อง โดยคิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว มีความคิดสร้างสรรค์และ
คิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ เพ่ือให้การปฏิบัติราชการและการบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมี

ภาค ข (วิชาความรูค้ วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 185

ประสิทธิภาพ และมีมาตรการ คุม้ ครองป้องกันบุคลากรภาครัฐจากการใชอ้ านาจโดยไม่เปน็ ธรรมของ
ผ้บู ังคับบญั ชา

(5) ให้มีการปรับปรุงระบบการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐให้มีความคล่องตัว เปิดเผย ตรวจสอบได้
และมีกลไกในการปอ้ งกันการทุจรติ ทุกขน้ั ตอน

ค. ดา้ นกฎหมาย
(1) มกี ลไกให้ดาเนินการปรบั ปรงุ กฎหมาย กฎ ระเบยี บ หรือขอ้ บังคบั ต่างๆ ท่ใี ชบ้ งั คบั
อยู่ก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญน้ีให้สอดคล้องกับหลักการตามมาตรา 77 และพัฒนาให้สอดคล้อง
กับหลักสากล โดยให้มีการใช้ระบบอนุญาตและระบบการดาเนินการโดยคณะกรรมการเพียงเท่าท่ี
จาเป็น เพื่อให้การทางานเกิดความคล่องตัว โดยมีผู้รับผิดชอบท่ีชัดเจน และไม่สร้างภาระแก่
ประชาชน เกินความจาเป็น เพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และป้องกันการทุจริตและ
ประพฤตมิ ชิ อบ
(2) ปฏิรปู ระบบการเรยี นการสอนและการศกึ ษาอบรมวชิ ากฎหมายเพ่อื พฒั นา
ผู้ประกอบ วิชาชีพกฎหมายให้เป็นผู้มีความรอบรู้ มีนิติทัศนะ และยึดม่ันในคุณธรรมและจริยธรรม
ของนักกฎหมาย
(3) พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลกฎหมายของรฐั โดยใช้เทคโนโลยีตา่ ง ๆ เพื่อใหป้ ระชาชน
เข้าถงึ ขอ้ มลู กฎหมายไดส้ ะดวก และสามารถเขา้ ใจเน้อื หาสาระของกฎหมายได้งา่ ย
(4) จัดให้มีกลไกช่วยเหลอื ประชาชนในการจัดทาและเสนอร่างกฎหมาย
ง. ดา้ นกระบวนการยตุ ธิ รรม
(1) ให้มีการกาหนดระยะเวลาดาเนินงานในทุกข้ันตอนของกระบวนการยุติธรรมที่ชัดเจน
เพื่อให้ประชาชนได้รับความยุติธรรมโดยไม่ล่าช้า และมีกลไกช่วยเหลือประชาชนผู้ขาดแคลนทุน
ทรัพย์ ให้เข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้ รวมตลอดท้ังการสร้างกลไกเพ่ือให้มีการบังคับการตาม
กฎหมาย อยา่ งเคร่งครัดเพ่ือลดความเหลือ่ มลา้ และความไมเ่ ป็นธรรมในสงั คม
(2) ปรับปรุงระบบการสอบสวนคดีอาญาให้มีการตรวจสอบและถ่วงดุลระหว่างพนักงาน
สอบสวน กบั พนกั งานอัยการอย่างเหมาะสม กาหนดระยะเวลาในการปฏบิ ัตหิ น้าที่ของเจา้ หน้าท่ี
ท่ีเกยี่ วข้องทกุ ฝ่าย ใหช้ ัดเจนเพือ่ มใิ หค้ ดขี าดอายคุ วาม และสร้างความเชอื่ มน่ั ในการปฏบิ ตั ิหน้าท่ี
ของพนักงานสอบสวน และพนักงานอยั การในการสอบสวนคดีอาญา รวมท้ังกาหนดให้การสอบสวน
ต้องใช้ประโยชน์จาก นิติวิทยาศาสตร์ และจัดให้มีบริการทางด้านนิติวิทยาศาสตร์มากกว่าหนึ่ง
หนว่ ยงานทีม่ ีอิสระจากกัน เพ่ือใหป้ ระชาชนได้รบั บรกิ ารในการพสิ จู น์ข้อเทจ็ จรงิ อย่างมีทางเลือก
(3) เสริมสร้างและพัฒนาวัฒนธรรมองค์กรขององค์กรต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องในกระบวนการ
ยุติธรรม ใหม้ งุ่ อานวยความยุติธรรมแก่ประชาชนโดยสะดวกและรวดเร็ว
(4) ดาเนินการบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ โดยแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเก่ียวกับ
หนา้ ท่ี อานาจ และภารกิจของตารวจใหเ้ หมาะสม และแกไ้ ขปรับปรุงกฎหมายเก่ียวกับ

ภาค ข (วชิ าความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

186 คมู่ อื เตรยี มสอบ

การบริหารงานบุคคล ของข้าราชการตารวจให้เกิดประสิทธิภาพ มีหลักประกันว่าข้าราชการตารวจ
จะได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสม ได้รับความเป็นธรรมในการแต่งตั้ง และโยกย้าย และการพิจารณา
บาเหน็จความชอบตามระบบคุณธรรม ทีช่ ัดเจน ซงึ่ ในการพจิ ารณาแตง่ ตัง้ และโยกย้ายต้องคานึง
ถึงอาวุโสและความรคู้ วามสามารถประกอบกัน เพ่ือให้ข้าราชการตารวจสามารถปฏิบัติหนา้ ทไ่ี ด้อย่าง
มีอิสระ ไมต่ กอยใู่ ตอ้ าณัติของบคุ คลใด มปี ระสทิ ธิภาพ และภาคภูมใิ จในการปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ของตน

จ. ดา้ นการศกึ ษา
(1) ให้สามารถเรม่ิ ดาเนินการใหเ้ ดก็ เล็กได้รบั การดูแลและพัฒนากอ่ นเข้ารับการศกึ ษา
ตามมาตรา 54 วรรคสอง เพือ่ ใหเ้ ดก็ เลก็ ไดร้ บั การพฒั นารา่ งกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม
และสติปญั ญาให้สมกับวัยโดยไม่เก็บค่าใชจ้ ่าย
(2) ให้ดาเนินการตรากฎหมายเพื่อจัดต้ังกองทุนตามมาตรา 54 วรรคหก ให้แล้วเสร็จ
ภายในหนึง่ ปีนบั แต่วันประกาศใชร้ ัฐธรรมนูญนี้
(3) ใหม้ ีกลไกและระบบการผลติ คดั กรองและพฒั นาผ้ปู ระกอบวชิ าชีพครแู ละอาจารย์
ให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับค่าตอบแทนที่
เหมาะสมกับ ความสามารถและประสิทธภิ าพในการสอน รวมทง้ั มีกลไกสร้างระบบคุณธรรม
ในการบรหิ ารงานบคุ คลของ ผู้ประกอบวิชาชพี ครู
(4) ปรบั ปรุงการจัดการเรียนการสอนทกุ ระดับเพอื่ ให้ผูเ้ รยี นสามารถเรียนไดต้ าม
ความถนดั และปรบั ปรุงโครงสร้างของหนว่ ยงานท่เี กย่ี วข้องเพื่อบรรลุเปา้ หมายดังกลา่ ว
โดยสอดคล้องกันทง้ั ในระดับชาติ และระดบั พืน้ ท่ี
ฉ. ดา้ นเศรษฐกิจ
(1) ขจัดอุปสรรคและเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศเพื่อให้ประเทศชาติ
และประชาชนไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการเข้าร่วมกลุม่ เศรษฐกิจต่างๆ อย่างย่งั ยืน โดยมีภมู คิ ุ้มกนั ที่ดี
(2) สร้างกลไกเพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนการนาความคิดสร้างสรรค์และเทคโนโลยี ท่ีทันสมัย
มาใช้ในการพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศ
(3) ปรับปรุงระบบภาษีอากรให้มีความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้า เพิ่มพูนรายได้ของรัฐ
ด้านต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ และปรับปรุงระบบการจัดทาและการใช้จ่ายงบประมาณให้มี
ประสทิ ธภิ าพ และสัมฤทธิผล
(4) สรา้ งกลไกเพื่อสง่ เสริมสหกรณ์และผ้ปู ระกอบการแต่ละขนาดให้มคี วามสามารถ
ในการแข่งขันอย่างเหมาะสม และส่งเสริมการประกอบวิสาหกิจเพ่ือสังคมและวิสาหกิจที่เป็นมิตร
ตอ่ สง่ิ แวดล้อม รวมทง้ั สรา้ งกลไกเพิ่มโอกาสในการทางานและการประกอบอาชพี ของประชาชน
ช. ดา้ นอน่ื ๆ
(1) ให้มีระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้าที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรมและย่ังยืน โดยคานึงถึง
ความต้องการใช้น้าในทุกมิติ รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศ
ประกอบกนั
(2) จัดให้มกี ารกระจายการถือครองทด่ี ินอย่างเป็นธรรม รวมท้งั การตรวจสอบกรรมสิทธิ์

ภาค ข (วิชาความรูค้ วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 187

และการถือครองท่ีดนิ ทง้ั ประเทศเพ่ือแก้ไขปญั หากรรมสทิ ธิแ์ ละสทิ ธิ ครอบครองท่ีดินอย่างเปน็ ระบบ
(3) จัดให้มีระบบจัดการและกาจัดขยะมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และ

สามารถนาไปใช้ให้เกดิ ประโยชนด์ า้ นอ่ืนๆ ได้
(4) ปรับระบบหลักประกันสุขภาพให้ประชาชนได้รับสิทธิและประโยชน์จากการบริหาร

จัดการ และการเข้าถงึ บรกิ ารทมี่ คี ณุ ภาพและสะดวกทัดเทยี มกนั
(5) ใหม้ ีระบบการแพทย์ปฐมภูมิท่ีมแี พทย์เวชศาสตร์ครอบครวั ดูแลประชาชนในสดั ส่วน

ท่ีเหมาะสม มาตรา 259 ภายใต้บังคับมาตรา 260 และมาตรา 261 การปฏิรูปประเทศตามหมวดน้ี
ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยแผนและข้ันตอนการดาเนินการปฏิรูปประเทศซึ่งอย่างน้อยต้องมี
วิธีการ จัดทาแผน การมีส่วนร่วมของประชาชนและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ข้ันตอนในการดาเนินการ
ปฏิรูปประเทศ การวัดผลการดาเนินการ และระยะเวลาดาเนินการปฏิรูปประเทศทุกด้าน ซึ่งต้อง
กาหนดให้เริ่มดาเนินการปฏิรูป ในแต่ละด้านภายในหนึ่งปีนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญน้ีรวม
ตลอดทั้งผลสมั ฤทธท์ิ ี่คาดหวงั วา่ จะบรรลุ ในระยะเวลาห้าปี

บทเฉพาะกาล

 บทเฉพาะกาล มาตรา 262 ใหค้ ณะองคมนตรซี ง่ึ ดารงตาแหนง่ อย่ใู นวันก่อน
วันประกาศใชร้ ฐั ธรรมนูญนี้ เป็นคณะองคมนตรีตามบทบญั ญัตแิ หง่ รฐั ธรรมนูญน้ี

 มาตรา 263 ในระหว่างทย่ี งั ไมม่ ีสภาผแู้ ทนราษฎรและวุฒิสภาตามรฐั ธรรมนญู นี้
ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติท่ีต้ังข้ึนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)
พุทธศักราช 2557 ยังคงทาหน้าที่รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาต่อไป และให้สมาชิก
สภานิตบิ ญั ญตั ิแห่งชาติ ซงึ่ ดารงตาแหนง่ อยูใ่ นวันก่อนวันประกาศใช้รฐั ธรรมนูญน้ี ทาหนา้ ที่
เปน็ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร

กลอนรัฐธรรมนญู ปี 2560

6 เม.ษา ปี 60 รัฐธรรมนูญ ฉบบั ใหม่
ฉบบั ท่ี 20 ควรจาขน้ึ ใจ ทา่ นประยทุ ธ์ให้ รับสนองพระบรมฯ
16 หมวด 279 มาตรา องคมนตรีต้งั มา 18 สุขสม
รัฐมนตรี อ่ืน ไม่เกิน 35 ตราตม เพิ่มนายกฯ อกี 1 ภริ มณ์ ที่นัง่
สส. มี 500 มาดตู ่อ 350 สานกอ่ จากการเลอื กตั้ง
แบบบัญชี 150 ไมช่ ิงชัง รวมครบคลงั เทา่ กับ 500 พอดี
สว. มีทงั้ หมด จบ 200 เลือกคอ่ ยๆเลอื กกนั เองเปน็ ม่ิงศรี
จาให้แม่นวุฒิสภาถอ้ ยวจี ตอ้ งเปรมปรรี วมกนั ได้ 700 ที่รฐั สภา
มาตรา 54 ครูไทยนค้ี วรรู้ รฐั ช่วยชู เรอื่ งการศกึ ษา
เดก็ ทกุ คน ควรได้รบั การพฒั นา เป็นเวลา 12 ปี ดีจังเลย

ภาค ข (วชิ าความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

188 คมู่ อื เตรยี มสอบ

ขอ้ สอบรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560

1. รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย 2560 เป็นรฐั ธรรมนูญฉบบั ทเี่ ทา่ ใด

ก. 17 ข. 18

ค. 19 ง. 20

2. รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย 2560 มีผลบังคับตัง้ แต่วันที่เทา่ ใดเป็นต้นไป

ก. 4 เมษายน พ.ศ. 2560 ข. 5 เมษายน พ.ศ. 2560

ข. 6 เมษายน พ.ศ. 2560 ง. 7 เมษายน พ.ศ. 2560

3. ในรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย 2560 มที ้ังหมด

ก. 15 หมวด 279 มาตรา ข. 16 หมวด 289 มาตรา

ค. 16 หมวด 279 มาตรา ง. 15 หมวด 289 มาตรา

4. ตามรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย 2560 ระบุวา่ อานาจอธปิ ไตยเปน็ ของใคร

ก. พระมหากษัตริย์ ข. รฐั สภา

ค. ปวงชนชาวไทย ง. ศาลรัฐธรรมนญู

5. พระมหากษัตริย์ ผู้ทรงใช้อานาจผา่ นทางใดบา้ ง

ก. รฐั สภา ข. คณะรัฐมนตรี

ค. ศาล ง. ถูกทกุ ขอ้

6. ใหม้ ีประธานองคมนตรี 1 คน และองคมนตรอี ่นื อกี ไมเ่ กินกค่ี น

ก. 18 คน ข. ไมเ่ กิน 18 คน

ค. 20 คน ง. ไม่เกนิ 20 คน

7. บคุ คลใดเปน็ ผรู้ ับสนองพระบรมราชโองการแตง่ ตงั้ ประธานองคมนตรี

ก. ประธานรฐั สภา ข. พระมหากษตั ริย์

ค. ประธานสภาผูแ้ ทนราษฎร ง. นายกรฐั มนตรี

8. บคุ คลใดเป็นผรู้ บั สนองพระบรมราชโองการแตง่ ตงั้ องคมนตรี

ก. ประธานรฐั สภา ข. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ

ค. ประธานสภาผ้แู ทนราษฎร ง. ประธานองคมนตรี

9. ชายและหญงิ มีสิทธแิ ละเสรีภาพตามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรข้อใดถูกต้อง

ก. ชายมีสิทธแิ ละเสรีภาพมากหญิง

ข. หญิงมีสทิ ธิและเสรภี าพมากชาย

ค. ชายและหญงิ มีสิทธแิ ละเสรภี าพมากกวา่ คนพกิ าร

ง. ชายและหญิงมีสทิ ธิเทา่ เทยี มกัน

10. รฐั ตอ้ งดาเนินการให้เดก็ ทกุ คนได้รับการศึกษาเปน็ เวลาก่ีปี

ก. 10 ปี ข. 12 ปี

ค. 15 ปี ง. 18 ปี

ภาค ข (วิชาความรู้ความสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 189

11.รัฐต้องดาเนินการใหเ้ ดก็ ทกุ คนไดร้ บั การศกึ ษาเปน็ เวลาสิบสองปี ตั้งแตก่ อ่ นวัยเรียนจนจบ

การศกึ ษาภาคบงั คับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บคา่ ใช้จา่ ย ระบุไวใ้ นมาตราใด

ก. มาตรา 45 ข.มาตรา 54

ค. มาตรา 56 ง. มาตรา 65

12. บคุ คลซึง่ มีอายตุ ้ังแตก่ ่ปี ีเปน็ ตน้ ไปและไมม่ ีรายไดเ้ พยี งพอแกก่ ารยังชพี และบุคคลผยู้ ากไร้

ยอ่ มมสี ิทธิได้รบั ความช่วยเหลือทเี่ หมาะสมจากรัฐ

ก. 60 ปี ข. 70 ปี

ค. 75 ปขี น้ึ ไป ง. 55 ปี

13.หน้าทข่ี องปวงชนชาวไทยมาตรา 50 บุคคลมีหน้าท่ี ระบมุ ีก่ีขอ้

ก. 8 ขอ้ ข. 9 ข้อ

ค. 10 ขอ้ ง. 11ขอ้

14.รฐั ตอ้ งดาเนนิ การใหเ้ ด็กเลก็ ได้รบั การดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารบั การศกึ ษาตามวรรคหน่ึง ใคร

มีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา

ก.องค์กรบริหารสง่ จังหวดั ข.องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นและภาคเอกชน

ค.ชุมชน ง.ถกู ทุกข้อ

15.ตามกฎหมายวา่ ด้วยการศึกษาแหง่ ชาตซิ ึ่งอย่างนอ้ ยต้องมีบทบญั ญัติเก่ียวกับเร่อื งใด

ก.การจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ

ข.การจดั ทาแผนการศึกษาแห่งชาติ

ค.การจดั ทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจสงั คมแห่งชาติ

ง.การจัดทาแผนงบประมาณประจาปีของการศกึ ษา

16.การศกึ ษาท้งั ปวงต้องมุ่งพัฒนาผ้เู รยี น ข้อใดไม่ถูกตอ้ ง

ก.เป็นคนดี ข.มวี ินัย

ค.สามารถเช่ยี วชาญได้ตามความถนัดของตน ง.ตลอดจนการศึกษาต่อ

17.ให้จัดตั้งกองทุนเพ่ือใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทนุ ทรัพย์ มีวัตถุประสงคเ์ พื่ออะไร

ก.เพ่อื ลดความเหลอ่ื มล้าในการศึกษา

ข.เพือ่ เสริมสรา้ งและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู

ค.เพ่ือเสริมสรา้ งและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพนักเรียน

ง.ถูก ขอ้ ก กบั ข

18.มาตรา 79 รัฐสภาประกอบด้วยสภาผแู้ ทนราษฎรและวฒุ ิสภา ขอ้ ใดกลา่ วถกู ต้อง

ก.บคุ คลจะเปน็ สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาในขณะเดียวกนั ดว้ ยก็ได้

ข.บคุ คลจะเป็นสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาในขณะเดียวกนั กย็ ่อมได้

ค.บคุ คลจะเปน็ สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรและสมาชิกวุฒสิ ภาในขณะเดียวกันมิได้

ง.บุคคลจะเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒสิ ภาในขณะเดยี วกันไม่ได้

ภาค ข (วชิ าความรูค้ วามสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

190 คมู่ อื เตรยี มสอบ

19.มาตรา 80 ข้อใดกล่าวถูกตอ้ ง

ก.ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นรองประธานรฐั สภา ประธานวุฒสิ ภาเปน็ ประธานรฐั สภา

ข.ประธานสภาผ้แู ทนราษฎรเป็นประธานรฐั สภา ประธานวฒุ สิ ภาเปน็ ประธานรัฐสภา

ค.ประธานสภาผแู้ ทนราษฎรเป็นประธานรฐั สภา ประธานวุฒิสภาเปน็ รองประธานรัฐสภา

ง.ถูกทุกขอ้

20. มาตรา 83 สภาผแู้ ทนราษฎรประกอบด้วยสมาชกิ จานวนกค่ี น

ก. 450 คน

ข. 500 คน

ค. 550 คน

ง. 600 คน

21.ผ้แู ทนราษฎรสมาชกิ ซึ่งมาจากการเลอื กตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตง้ั มีจานวนเท่าใด

ก. 250 คน

ข. 350 คน

ค. 450 คน

ง. 550 คน

22.ผู้แทนราษฎร สมาชกิ ซึ่งมาจากบญั ชรี ายชอ่ื ของพรรคการเมอื งจานวนเทา่ ใด

ก. 150 คน

ข. 250 คน

ค. 350 คน

ง. 450 คน

23.ข้อใดกล่าวถกู ต้อง มาตรา 95 บุคคลผู้มคี ุณสมบตั ิดังต่อไปน้ี เปน็ ผูม้ สี ิทธเิ ลือกต้ัง

ก.มีสญั ชาติไทย แต่บคุ คลผู้มีสัญชาติไทยโดยการแปลงสญั ชาติ ตอ้ งไดส้ ญั ชาติไทย มาแล้วไม่

น้อยกวา่ ห้าปี

ข.มีอายุไม่ตา่ กว่าสิบแปดปใี นวันเลือกตั้ง

ค.มชี อื่ อยู่ในทะเบียนบา้ นในเขตเลือกตง้ั มาแล้วเป็นเวลาไม่นอ้ ยกว่าเก้าสิบวันนบั ถงึ วนั เลอื กตง้ั

ง. ถกู ทกุ ข้อ

24.มาตรา 96 บุคคลผู้มีลกั ษณะดงั ต่อไปนใ้ี นวนั เลือกต้งั เป็นบุคคลต้องหา้ มมใิ ห้ใช้สิทธเิ ลอื กตง้ั

ก.เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนกั บวช

ข.อยู่ในระหวา่ งถูกเพิกถอนสิทธเิ ลือกต้ังไม่วา่ คดีน้นั จะถึงท่ีสุดแล้วหรือไม่

ค.ต้องคุมขงั อยูโ่ ดยหมายของศาลหรอื โดยคาส่ังที่ชอบด้วยกฎหมาย

ง.ถกู ทกุ ข้อ

25.ข้อใดเปน็ คณุ สมบัติของผู้ที่จะสมัครรับเลอื กตั้งเป็นสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร

ก. มีสัญชาตไิ ทยโดยกาเนิด ข. อายุไม่ต่ากว่า 25 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกต้ัง

ค. เปน็ สมาชิกพรรคการเมอื ง 2 พรรค ง. เปน็ สมาชกิ พรรคไม่น้อยกว่า 60 วนั

ภาค ข (วิชาความรู้ความสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 191

26.ขอ้ ใดเป็นท่มี าของสมาชิกวฒุ ิสภาท่ีถกู ต้อง

ก. มาจากการเลือกต้ัง ข. มาจากการสรรหา

ค. มาจากการเลือกต้ัง และ มาจากการสรรหา ง. ซึ่งมาจากการเลือกกันเอง

27.ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย 2560 ให้มีสมาชิกวุฒิสภาก่คี น

ก. 150 คน ข. 160 คน

ค. 180 คน ง. 200 คน

28.สมาชกิ วุฒสิ ภาตอ้ งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม

ก.มสี ัญชาติไทยโดยการเกิด

ข.มีอายุไม่ต่ากวา่ ส่ีสบิ ปีในวนั สมคั รรับเลือก

ค.มีความรู้ ความเชยี่ วชาญ และประสบการณ์ หรอื ทางานในดา้ นทีส่ มัครไม่น้อยกว่าสบิ ปี

ง.ถกู ทุกขอ้

29. สมาชกิ วุฒสิ ภามีวาระในการดารงตาแหน่งคราวละกป่ี ี

ก. 4 ปี ข. 4 ปีไม่เกิน 2 วาระ

ค. 5 ปีนับแตว่ นั ประกาศผลการเลอื ก ง. 6 ปี วาระเดียว

30. พระมหากษตั รยิ ์ทรงแต่งตัง้ นายกรัฐมนตรแี ละรัฐมนตรอี ่นื อกี จานวนเทา่ ไหร่เป็น

คณะรฐั มนตรี

ก.ไมเ่ กนิ 35 คนประกอบเปน็ คณะรัฐมนตรี

ข.ไมเ่ กิน 36 คนประกอบเปน็ คณะรฐั มนตรี

ค.ไมเ่ กิน 37 คนประกอบเปน็ คณะรัฐมนตรี

ง.ไมเ่ กิน 38 คนประกอบเป็นคณะรัฐมนตรี

31.บุคคลใดเป็นผูร้ ับสนองพระบรมราชโองการแตง่ ตงั้ นายกรฐั มนตรี

ก. ประธานรฐั สภา ข. พระมหากษตั ริย์

ค. ประธานสภาผู้แทนราษฎร ง. นายกรัฐมนตรี

32.มาตรา 160 รัฐมนตรตี ้องมคี ุณสมบตั ติ ามข้อใด

ก.มสี ญั ชาติไทยโดยการเกิด

ข.มอี ายุไมต่ า่ กวา่ สามสิบห้าปี

ค.สาเร็จการศกึ ษาไมต่ า่ กวา่ ปริญญาตรีหรอื เทียบเทา่

ง.ถกู ทุกข้อ

ภาค ข (วชิ าความรู้ความสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

192 คมู่ อื เตรยี มสอบ

เฉลยขอ้ สอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560

1. ง. 20
2. ข. 6 เมษายน พ.ศ. 2560
3. ค. 16 หมวด 279 มาตรา
4. ค. ปวงชนชาวไทย
5. ง. ถูกทุกข้อ
6. ข. ไมเ่ กิน 18 คน
7. ก. ประธานรัฐสภา
8. ง. ประธานองคมนตรี
9. ง. ชายและหญิงมสี ทิ ธิเทา่ เทยี มกนั
10. ข. 12 ปี
11. ข.มาตรา 54
12. ก. 60 ปี
13. ค. 10 ขอ้
14. ข.องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและภาคเอกชน
15. ข.การจดั ทาแผนการศึกษาแหง่ ชาติ
16. ง.ตลอดจนการศึกษาต่อ
17. ง.ถูก ข้อ ก กบั ข
18. ค.บคุ คลจะเป็นสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรและสมาชกิ วุฒสิ ภาในขณะเดียวกนั มิได้
19. ค.ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรฐั สภา ประธานวฒุ สิ ภาเป็นรองประธานรฐั สภา
20. ข. 500 คน
21. ข. 350 คน
22. ก. 150 คน
23. ง. ถกู ทกุ ขอ้
24. ง.ถูกทกุ ข้อ
25. ข. อายุไม่ต่ากว่า 25 ปีบรบิ ูรณใ์ นวันเลอื กตั้ง
26. ง. ซึง่ มาจากการเลอื กกันเอง
27. ง. 200 คน
28. ง.ถกู ทุกข้อ
29. ค. 5 ปีนับแตว่ ันประกาศผลการเลือก
30. ก.ไมเ่ กิน 35 คนประกอบเป็นคณะรัฐมนตรี
31. ค. ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร
32. ง.ถูกทกุ ขอ้

ภาค ข (วิชาความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 193

1. ง 2. ค เฉลย ชดุ ที่ 1 5. ข
6. ง 7. ข 10. ค
11. ง 12. ค 3. ก 4. ก 15. ก
16. ก 17. ข 8. ค 9. ง 20. ง
21. ข 22. ข 13. ง 14. ง 25. ง
26. ง 27. ก 18. ก 19. ข 30. ง
31. ง 32. ข 23. ง 24. ข 35. ค
36. ก 37. ง 28. ข 29. ค 40. ค
41. ง 42. ก 33. ง 34. ก 45. ข
46. ง 47. ค 38. ง 39. ก 50. ก
51. ง 52. ค 43. ง 44. ค 55. ง
56. ค 57. ข 48. ข 49. ก
53. ง 54. ข
58. ก 59. ค

เฉลย ชุดท่ี 2

1. ข 2. ง 3. ข 4. ก 5. ง
6. ก 7. ก 8. ข 9. ข 10. ง
11. ข 12. ค 13. ง 14. ข 15. ค
16. ก 17. ก 18. ค 19. ข 20. ก
21. ง 22. ค 23. ง 24. ข 25. ก
26. ก 27. ก 28. ข 29. ข 30. ค
31. ค 32. ค 33. ข 34. ง 35. ก
36. ข 37. ค 38. ข 39. ก 40. ง
41. ข 42. ข 43. ค 44. ง 45. ข
46. ก 47. ก 48. ข 49. ค 50. ค
51. ข 52. ก 53. ง 54. ค 55. ค
56. ง 57. ข 58. ข 59. ค

ภาค ข (วชิ าความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

194 คมู่ อื เตรยี มสอบ เฉลย ชุดท่ี 3 5. ง
10. ง
1. ง 2. ก 3. ก 4. ก 15. ค
6. ก 7. ง 8. ข 9. ค 20. ข
11. ง 12. ก 13. ง 14. ค 25. ข
16. ก 17. ข 18. ก 19. ง 30. ก
21. ก 22. ก 23. ค 24. ก 35. ข
26. ง 27. ง 28. ง 29. ก 40. ง
31. ค 32. ง 33. ก 34. ข 45. ค
36. ง 37. ข 38. ค 39. ก 50. ข
41. ค 42. ง 43. ค 44. ง 55. ค
46. ข 47. ก 48. ค 49. ข 60. ง
51. ค 52. ง 53. ค 54. ง 65. ค
56. ข 57. ค 58. ข 59. ง 70. ข
61. ก 62. ง 63. ค 64. ข 75. ก
6.6 ก 67. ก 68. ก 69. ค 80. ข
71. ค 72. ข 73. ข 74. ง 85. ค
76. ข 77. ก 78. ง 79. ค 90. ค
81. ก 82. ง 83. ค 84. ข 95. ก
86. ก 87. ค 88. ก 89. ก 100. ก
91. ค 92. ข 93. ก 94. ค
96. ค 97. ง 98. ก 99. ก

ภาค ข (วิชาความร้คู วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 195

1. ข 2. ข เฉลย ชดุ ท่ี 4 5. ค
6. ข 7. ค 10. ค
11. ข 12. ก 3. ข 4. ก 15. ค
16. ก 17. ค 8. ค 9. ง 20. ข
21. ก 22. ง 13. ข 14. ค 25. ค
26. ก 27. ค 18. ค 19. ข 30. ข
31. ง 32. ข 23. ก 24. ค 35. ข
36. ง 37. ง 28. ค 29. ก 40. ก
41. ข 42. ค 33. ง 34. ค 45. ง
46. ข 47. ข 38. ข 39. ง 50. ค
51. ค 52. ข 43. ง 44. ง 55. ข
56. ง 57. ก 48. ง 49. ข 60. ก
61. ค 62. ก 53. ง 54. ก 65. ข
6.6 ง 67. ข 58. ง 59. ง 70. ค
71. ข 72. ข 63. ข 64. ง 75. ก
76. ง 77. ก 68. ข 69. ข 80. ค
73. ค 74. ง
78. ง 79. ก

ภาค ข (วชิ าความร้คู วามสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

196 คมู่ อื เตรยี มสอบ เฉลย ชดุ ท่ี 5 5. ข
10. ค
1. ค 2. ค 3. ก 4. ข 15. ค
6. ง 7. ข 8. ก 9. ค 20. ง
11. ก 12. ก 13. ง 14. ข 25. ข
16. ก 17. ข 18. ง 19. ก 30. ค
21. ข 22. ง 23. ก 24. ง 35. ข
26. ค 27. ข 28. ง 29. ก 40. ค
31. ค 32. ง 33. ค 34. ก 45. ง
36. ข 37. ง 38. ง 39. ง 50. ง
41. ค 42. ก 43. ง 44. ง 55. ง
46. ก 47. ข 48. ค 49. ง 60. ข
51. ก 52. ค 53. ง 54. ค 65. ง
56. ข 57. ง 58. ข 59. ค 70. ข
61. ข 62. ข 63. ง 64. ง 75. ง
6.6 ข 67. ค 68. ก 69. ค 80. ก
71. ก 72. ค 73. ก 74. ก 85. ง
76. ง 77. ก 78. ค 79. ข 90. ข
81. ค 82. ก 83. ข 84. ข 95. ง
86. ข 87. ง 88. ก 89. ง
91. ง 92. ง 93. ข 94. ก
96. ง 97. ก 98. ง 99. ข

ภาค ข (วิชาความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 197

1. ค 2. ง เฉลย ชดุ ที่ 6 5. ก
6. ข 7. ก 10. ข
11. ค 12. ก 3. ข 4. ง 15. ง
16. ก 17. ง 8. ง 9. ง 20. ง
21. ข 22. ข 13. ก 14. ง 25. ค
26. ข 27. ข 18. ง 19. ค 30. ค
31. ค 32. ข 23. ค 24. ข 35. ง
36. ง 37. ก 28. ค 29. ง 40. ข
41. ง 42. ง 33. ก 34. ก 45. ง
46. ข 47. ข 38. ง 39. ก 50. ก
51. ง 52. ค 43. ก 44. ข 55. ง
56. ก 57. ข 48. ค 49. ค 60. ข
61. ข 62. ค 53. ก 54. ข 65. ง
66. ง 67. ค 58. ข 59. ก 70. ง
71. ค 72. ก 63. ง 64. ง 75. ก
76. ข 77. ก 68. ก 69. ง 80. ง
73. ง 74. ก
78. ข 79. ง

ภาค ข (วชิ าความร้คู วามสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

198 คมู่ อื เตรยี มสอบ เฉลย ชดุ ท่ี 7 5. ก
10. ข
1. ง 2. ค 3. ข 4. ก 15. ก
6. ง 7. ค 8. ค 9. ค 20. ข
11. ค 12. ค 13. ข 14. ข 25. ง
16. ก 17. ค 18. ง 19. ค 30. ง
21. ง 22. ค 23. ง 24. ค 35. ก
26. ก 27. ข 28. ง 29. ก 40. ค
31. ก 32. ง 33. ค 34. ก 45. ข
36. ค 37. ข 38. ข 39. ข 50. ข
41. ข 42. ข 43. ค 44. ก 55. ค
46. ค 47. ค 48. ข 49. ข 60. ค
51. ง 52. ข 53. ง 54. ค 65. ค
56. ข 57. ก 58. ข 59. ข 70. ข
61. ข 62. ค 63. ข 64. ง 75. ค
66. ค 67. ก 68. ข 69. ข 80. ค
71. ง 72. ง 73. ก 74. ข
76. ก 77. ข 78. ก 79. ง

ภาค ข (วิชาความรู้ความสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

คมู่ อื เตรยี มสอบ 199

1. ง 2. ก เฉลย ชดุ ท่ี 8 5. ข
6. ข 7. ก 10. ก
11. ก 12. ง 3. ง 4. ข 15. ก
16. ค 17. ค 8. ง 9. ค 20. ค
21. ก 22. ข 13. ค 14. ข 25. ง
26. ง 27. ง 18. ง 19. ก 30. ง
31. ข 32. ข 23. ง 24. ก 35. ค
36. ค 37. ข 28. ก 29. ง 40. ก
41. ก 42. ก 33. ข 34. ก 45. ข
46. ข 47. ข 38. ง 39. ก 50. ง
51. ง 52. ข 43. ก 44. ค 55. ค
56. ง 57. ก 48. ข 49. ก 60. ง
61. ข 62. ก 53. ค 54. ง 65. ง
66. ง 67. ข 58. ข 59. ข 70. ค
71. ก 72. ข 63. ก 64. ข 75. ค
76. ข 77. ง 68. ง 69. ข 80. ง
73. ก 74. ข
1. ข 2. ข 78. ข 79. ก 5. ข
6. ข 7. ก 10. ข
11. ก 12. ค เฉลย ชดุ ท่ี 9 15. ข
16. ง 17. ง 20. ข
21. ก 22. ข 3. ง 4. ง 25. ง
26. ก 27. ง 8. ง 9. ง 30. ค
31. ก 32. ก 13. ค 14. ง 35. ข
36. ข 37. ง 18. ง 19. ง 40. ก
41. ง 42. ง 23. ก 24. ข
28. ข 29. ข
33. ข 34. ง
38. ข 39. ก

ภาค ข (วชิ าความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

200 คมู่ อื เตรยี มสอบ เฉลย ชุดที่ 10 5. ง
10. ง
1. ก 2. ก 3. ข 4. ก 15. ง
6. ค 7. ง 8. ง 9. ก 20. ง
11. ง 12. ก 13. ก 14. ก 25. ข
16. ข 17. ก 18. ค 19. ค 30. ข
21. ง 22. ง 23. ง 24. ข 35. ก
26. ข 27. - 28. ก 29. ข 40. ก
31. ข 32. ก 33. ข 34. ข 45. ก
36. ข 37. ก 38. ค 39. ค 50. ก
41. ง 42. ข 43. ค 44. ค 55. ง
46. ข 47. ข 48. ก 49. ค 60. ก
51. ข 52. ง 53. ก 54. ค 65. ข
56. ง 57. ง 58. ค 59. ค 70. ง
61. ค 62. ค 63. ง 64. ง 75. ง
66. ข 67. ค 68. ค 69. ก
71. ง 72. ข 73. ข 74. ง
76. ข 77. ง 78. ก 79. ก

ภาค ข (วิชาความรู้ความสามารถเฉพาะตาแหนง่ ) วชิ าเอก สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม


Click to View FlipBook Version