คำนำ
คมู่ ือประกอบการสมั มนาวชิ าการฉบบั นี้ เปน็ ส่วนหน่ึงของรายวิชา 428-481 การสัมมนาในการพฒั นา
สังคม (Seminar in Social Development) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นเวทีในการเผยแพร่ผลงานวิชาการ
ของนักศึกษาสาขาวิชาพัฒนาสังคม และเพื่อเรียนรู้เสริมประสบการณ์ที่ได้รับจากการศึกษาในรายวิชาการ
สัมมนาและรายวิชาการศึกษาอิสระ ทำให้เกิดพื้นที่ทางวิชาการในการพัฒนาตนเอง และเพื่อพัฒนาศักยภาพ
ของนักศึกษา สาขาวิชาพัฒนาสังคม ให้มีความรู้ความสามารถด้านการจัดสัมมนาวิชาการการพัฒนาสังคมได้
อย่างมีมาตรฐานกระบวนการดำเนินงาน ดังนี้ (1) ประชุมและวางแผนการจัดโครงการ ซึ่งการทำงานในกลุ่ม
จะมีการประชุมและวางแผนโดยมีการแบ่งหน้าที่ที่ชัดเจนตามฝ่ายท่ีได้รับผิดชอบ เพื่อให้การทำงานดำเนินไป
ในทศิ ทางที่กำหนดตามเป้าหมายที่ตง้ั ไว้ (2) ประสานงานและเตรียมงานซึ่งกลุ่มหลักๆท่ีรับผิดชอบจะเป็นฝ่าย
ประสานงานโดยเราจะมีการทำใบเชิญ เพื่อประสานไปยังผู้ทรงคุณวุฒิและคณาจารย์ ส่วนการประสานงาน
อื่นๆ เพื่อให้คนเข้าร่วมนั้นทางกลุ่มจะประสานงานผ่านการทำโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ นอกจากนี้การเตรียม
งานในการจัดงานสัมมนาก็จะมีการเตรียมอุปกรณ์ทั้งหมด เช่น การเตรียมสถานที่ อาหารว่างสำหรับ
ผู้ทรงคุณวุฒิ คณาจารย์ และผู้เข้าร่วม เป็นต้น (3) การดำเนินโครงการ ซึ่งการดำเนินโครงการการจัดขึ้น วัน
ศุกร์ ท่ี 20 สิงหาคม 2564เวลา 08.30น. - 16.00 น. สถานท่ีผ่านระบบ Zoom ออนไลน์ (4) สรปุ โครงการจัด
สัมมนา (5) ประเมนิ ผลแบบ AAR
ทั้งนี้การจัดสัมมนาวิชาการ ทำขึ้นเพื่อให้นักศึกษาได้เรยี นรู้เกี่ยวกับวิธีการจัดสัมมนา ขั้นตอนการจัด
สัมมนา การเขียนรายงานการสัมมนา และการจัดการเรียนการสอนด้วยการสัมมนา นอกจากนี้ เป็นการ
รบั ทราบผลการดำเนนิ โครงการ ตลอดจนขอ้ เสนอแนะตา่ ง ๆ ท่เี ป็นประโยชน์ เพือ่ นำไปปรบั ปรุงพฒั นาในการ
จัดโครงการสัมมนาให้มีประสิทธภิ าพย่งิ ขน้ึ ตอ่ ไป
การจัดสัมมนาวิชาการครั้งนี้ จะสำเร็จลุล่วงไปด้วยเพราะได้รับคำแนะนำคำปรึกษาจากอาจารย์ท่ี
ปรึกษา อาจารย์อับดุลคอลิก อัรรอฮีมีย์ ดร.อลิสา หะสาเมาะ และดร.จิรัชยา เจียวก๊กยังได้รับความร่วมมือ
จากคณะกรรมการและนักศึกษาที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย คณะทำงานทุกคนขอขอบคุณทุกท่านที่ให้ความร่วม
สนบั สนนุ การดำเนินโครงการสมั มนาและการประเมนิ ผลการจัดสัมมนาในครั้งนจ้ี นสำเร็จลลุ ว่ งไปด้วยดี
คณะผู้จดั ทำ
20/08/2564
~ก~
-
สารบัญ
หน้า
คำนำ……………………………………………………………………………………………………………….………………………..ก
สารบญั ……………………………………………………………………………………………….………..……………………….….ข
สารบญั ตาราง………………………………………………………………………………………………….…………………………ค
สารบัญรูปภาพ……………………………………………………………………………………………………..…………………….ฅ
บทที่ 1 เกย่ี วกบั การจัดสัมมนาเชงิ วิชาการใบงานพฒั นาสงั คม……………………………………..…………………..1
ความรู้เบ้อื งตน้ เก่ียวกบั การจัดสัมมนา…………………………………………………………..…………………..……..1
ความรูท้ วั่ ไปเก่ียวกบั การสัมมนา…………………………………………………………..……………………………..…..2
ความหมายของการสัมมนา……………………………………………………………..………………………………………2
ความสำคญั ของการสัมมนา……………………………………………………………………………………………………..3
ประโยชน์ของการสมั มนา……………………………………………………………………………..…………………………3
วัตถุประสงค์ของการสมั มนา…………………………………………………………………………..……………………….7
องคป์ ระกอบของการสมั มนา…………………………………………………………………………..……………………….9
รูปแบบการจัดสมั มนา……………………………………………………………………………………..……………………13
ลกั ษณะของการสัมมนาที่ดี………………………………………………………………………………..………………….15
บทท่ี 2 ความรใู้ นการการเขียนโครงการในการจดั สัมมนา…………………………………………..………………….16
บทความวิชาการการศกึ ษาอิสระ……………………………………………………………………………………………16
การเขยี นโครงการในการจดั สัมมนาโครงรา่ งการศึกษาอสิ ระ……………………………………………………..17
ลักษณะของโครงการทีด่ ี……………………………………………………………………………………………………….17
ข้นั ตอนการเขียนโครงการโครงรา่ งการศึกษาอิสระ…………………………………………………………………..18
ชอ่ื โครงการ…………………………………………………………………………………………………………………………20
ประเภทโครงการ……………………………………………………………………………………………….…………………20
หลักการและเหตผุ ล……………………………………………………………………………………………………………..20
วตั ถปุ ระสงค์…………………………………………………………………………………………………….………………….20
ผรู้ ับผิดชอบโครงการ………………………………………………………………………………………….………………...20
กล่มุ เปา้ หมายของโครงการ……………………………………..…………………………………………..………………..21
ความสอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์……………………………………………………..………………………………………..21
สอดคล้องกับการดำเนินงานตามแนวทางการประกบั คุณภาพ…………………….……………………………..22
ข
สารบญั (ต่อ)
หน้า
สถานทีจ่ ัดโครงการ………………………………………………………………………………………………………………22
ระยะเวลาการดำเนนิ การ………………………………………………………………………………………………………22
ลกั ษณะการดำเนนิ โครงการ……………………………………………………………………………………………….….22
แผนปฏบิ ตั กิ ารโครงการ / วงจรการบริหารงานคุณภาพ (PDCA) ………………………………………….…..23
ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะได้รับ………………………………………………………………………………………………….…23
การประเมนิ โครงการ…………………………………………………………………………………………………….……...23
กำหนดการโครงการสัมมนาโครงรา่ งการศกึ ษาอิสระ…………………………………………………………….….25
บทท่ี 3 โครงสร้างและหน้าที่ของแต่ละฝ่ายในการจดั สมั มนา…………………………………………………………..27
บทความวชิ าการการศึกษาอิสระ…………………………………………………………………………………..…….…27
ความรู้ในการปฏบิ ัตงิ านของประธาน………………………………………………………………………………..…….28
ความรเู้ กีย่ วกบั การดำเนินงาน.……………………………………………………………………………………….….....28
ลกั ษณะของประธาน…………………………………………………………………………………………………………….29
บทบาทหนา้ ที่และภาระงาน………………………………………………………………………………………………….29
การเตรยี มตัวของฝา่ ยประธาน……………………………………………………………………………………………….31
ความรใู้ นการปฏบิ ัติงานของรองประธาน………………………………………………………………………………..32
ความรเู้ กี่ยวกับการดำเนินงาน…………………….…………………………………………………………………………32
บทบาทหนา้ ที่และภาระงาน………………………………………………………………………………………………….32
ลักษณะและคุณสมบัตขิ องรองประธาน…………………………………………………………………………………..33
บุคลิกภาพของรองประธาน……………………………………………………………………………………………………34
ความรู้ในการปฏิบตั ิงานของเลขานุการ…………………………………………………………………………..………37
ความรเู้ กยี่ วกบั การดำเนินงาน…………………….…………………………………………………………………………37
บทบาทหน้าท่ีและภาระงาน………………………………………………………………………………………………….37
ลักษณะของเลขานุการ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..38
คุณสมบัตเิ ด่นของเลขานุการ………………………………………………………………………………………………….38
บุคลิกภาพของการเป็นเลขานุการ…………………………………………………………………………………………..38
~ค~
-
สารบัญ(ต่อ)
หนา้
ความรู้ในการปฏิบัติงานของฝ่ายทะเบียนและวชิ าการ………………………………………………………………40
ความรู้เก่ียวกบั การดำเนนิ งาน………….……………………………………………………………………………………40
บทบาทหน้าที่และภาระงาน……………………………………………………………………………………………………………………………………40
คุณสมบัติของผู้ปฏิบัตงิ านทะเบียนและวชิ าการ……………………………………………………………………….40
ความรู้ในการปฏิบตั งิ านของประสานงานและพิธีการ………………………………………………………………..43
ความร้เู กย่ี วการดำเนินงาน…………………………………………….……………………….…………………………….43
วัตถปุ ระสงค์ของการปฏบิ ตั ิงานฝ่ายประสานงานและพธิ ีการ……………………………………………………..44
ความรู้ในการปฏบิ ตั ิงานของเหรญั ญกิ …………………………………………………………….………………………46
ความรู้เกยี่ วกบั การดำเนนิ งาน………………………………………………….…..……………………………………….46
บทบาทหน้าของฝ่ายเหรญั ญิก………………………………………………………………………………………………………………………………..46
คณุ สมบตั ิของผู้ปฏิบัตงิ านฝา่ ยเหรญั ญิก………………………………………………………………………………….47
ความรู้ในการปฏิบัตงิ านของโสตทัศนูปกรณ์และการประชาสมั พนั ธ์………………………………………..….49
ความรู้เกย่ี วกบั การดำเนนิ งาน………………………….……………………………………………………………..…….49
บทบาทหน้าที่และภาระงาน………………………………………………………………………………………………….50
บทบาทหนา้ ท่ีและการปฏบิ ตั ิงานของฝา่ ยพธิ ีกร……………………………………………………………………….52
ความรเู้ กย่ี วกบั การดำเนินงาน………………………………………….………………………………….......…………..52
บทบาทหน้าที่และภาระงาน…………………………………………………………………………………………….……52
บคุ ลิกภาพของการเปน็ พธิ กี ร………………………………………………………………………………………..……….55
การเตรียมตวั ในการรับหนา้ ที่พธิ กี ร………………………………………………………………………………………..55
เทคนิคการใชภ้ าษา………………………………………………………………………………………………………………56
เทคนคิ การใชส้ ายตา……………………………………………………………………………………………………………..56
เทคนิคการแก้ปญั หาเฉพาะหนา้ …………………………………………………………………………………………….56
เทคนคิ ในการกลา่ วแนะนำวิทยากร………………………………………………………………………………………..57
ตัวอย่างคำกล่าวของพธิ กี รงานสัมมนา……………………………………………………………………………………58
ง
สารบญั (ต่อ)
หน้า
บทบาทหน้าที่และการปฏิบัติงานของฝา่ ยประเมินผล……………..………………………………………………..60
ความรเู้ บ้อื งตน้ เกี่ยวกบั การประเมนิ โครงการ………………….……………………………………………………....60
ภาระงาน…………………………………………………………………………………………………………………………….61
ความสำคัญของการประเบนิ โครงการ…………………………………………………………………………………..…61
ประโยชนข์ องการประเมนิ โครงการ……………………………………………………………………………………..…61
ขั้นตอนการประเมนิ โครงการการประเมนิ ……………………………………………………………………………….62
ประเภทของประเมนิ …………………………………………………………………………………………………………….62
บทที่ 4 การประเมินการจัดสัมมนาบทความวชิ าการการศกึ ษาอสิ ระ………………………………………………..64
ความรูเ้ บ้อื งตน้ เกีย่ วกบั การประเมนิ โครงการ……………………………………………….………………………….65
ความหมายของการประเมินโครงการ……………………………………………………………………………………..65
จดุ มุ่งหมายของการประเมนิ ผลโครงการ………………………………………………………………………………….66
รปู แบบการประเมนิ ผลแบบ CIPP………………………………………………………………………………………….67
ประเดน็ การประเมินตามรูปแบบ CIPP Model……………………………………………………………………….67
รปู แบบของการประเมินโครงการ…………………………………………………………………………………………..69
ขนั้ ตอการประเมนิ โครงการ……………………………………………………………………………………………………70
การทบทวนหลงั ทำงาน หรือหลงั ปฏบิ ตั ิ หรอื หลงั กจิ กรรม (After Action Review-AAR)…………………74
ความหมายของ After Action Review หรือ AAR…………………………………………………………………..74
ความเปน็ มาของ AAR…………………………………………………………………………………………………………..74
พ้ืนฐานของ AAR……………………………………………………………………………………….…………………………75
เปา้ หมายของ AAR……………………………………………………………………………………………………………….75
ประโยชนข์ อง AAR………………………………………………………………………………………………………………76
ขัน้ ตอนของการทำ AAR………………………………………………………………………………………………………..76
ภาคผนวก ก: เอกสารประกอบการดำเนนิ งานการจัดสัมมนา…………………………………………………………..96
ภาคผนวก ข: แบบสอบถามสำหรับการประเมินการจัดสัมมนา……………………………………………………..110
ภาคผนวก ค : รปู ภาพท่ีเกี่ยวข้อง……………………………………………………………………………………………..107
บรรณานกุ รม………………………………………………………………………………………………………………………….112
~จ~
-
สารบัญตาราง
หน้า
ตารางที่ 1 แผนปฏิบตั กิ ารโครงการ : วงจรการบริหารงานคุณภาพ (PDCA)……………….……………………………22
ตารางท่ี 2 กำหนดการโครงการสัมมนาโครงรา่ งการศึกษาอสิ ระ…………………………………………………….………25
ตารางที่ 3 เคร่ืองมือในการติดตามงานของประธาน…………………………………………………………………….………..30
ตารางที่ 4 เคร่ืองมือในการติดตามงานของรองประธาน………………………………………………………………………..35
ตารางที่ 5 เครื่องมือในการติดตามงานของเลขานุการ…………………………………………………………………….…….39
ตารางที่ 6 เครื่องมือในการติดตามงานของทะเบยี นและวชิ าการ……………………………………………….……………42
ตารางที่ 7 เคร่ืองมือในการติดตามงานของประสานงาน……………………………………………………………….……….45
ตารางที่ 8 เคร่ืองมือในการติดตามงานของเหรญั ญิก…………………………………………………………………………….48
ตารางที่ 9 เครื่องมือในการติดตามงานของโสตทัศนูปกรณ์…………………………………………………………………….51
ตารางท่ี 10 เครื่องมือในการตดิ ตามงานของพิธกี ร……………………………………………………………………….……….60
ตารางท่ี 11 เคร่ืองมอื ในการติดตามงานของประเมนิ …………………………………………………………….………………63
ฉ
สารบญั รปู ภาพ
หน้า
ภาพที่ 1 การปฏบิ ัตงิ านของประธานงานสมั มนา………………………………….………………………………………………30
ภาพท่ี 2 การประชุมวางแผนของประธาน……………………………………….………………………………………………….30
ภาพที่ 3 บทบาทหนา้ ที่ของฝ่ายรองประธาน……………………………………,…………………………………………………33
ภาพที่ 4 บรรยากาศการลงทะเบยี นผา่ น Google Form ของฝ่ายทะเบยี น…….……………………………………….41
ภาพท่ี 5 การจับเวลาในการนำเสนอ……………………………………………………………………………………………………41
ภาพที่ 6 บทบาทของฝ่ายประสานงาน……………………………………………………………………………………………….44
ภาพที่ 7 การปฏิบัติงานฝา่ ยประสานงานทสี่ ำคัญ…………………………………………………………………………………45
ภาพที่ 8 การดูแลในเรือ่ งงบประมาณงานสัมมนา…………………………………………………………………………………47
ภาพท่ี 9การทำบญั ชรี ายรบั -รายจา่ ย…………………………………………………………………………………………………..47
ภาพท่ี 10 บทบาทหน้าท่ีของฝ่ายโสตทศั นูปกรณ์และประชาสัมพันธ์………………………………………………….....50
ภาพท่ี 11 บทบาทหน้าท่ีของฝ่ายโสตทัศนปู กรณ์และประชาสมั พนั ธ์……………………………………………………..50
ภาพที่ 12 เป็นผดู้ ำเนินรายการวันงานสัมมนา……………………………………………………………………………………..54
ภาพที่ 13 บุคลิกภาพของการเปน็ พิธีกร……………………………………………………………………………………………..55
~ช~
บทท่ี 1
__________________________________________________
ความรเู้ บอื้ งต้นเกย่ี วกับการจัดสมั มนาเชงิ วิชาการในการพัฒนาสังคม
~1~
-
ความรทู้ วั่ ไปเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสัมมนา เป็นพื้นฐานเบื้องต้นในการเรียนรู้วิธีการสัมมนา ซึ่งจะก่อให้เกิด
ความเขา้ ใจ การรว่ มคิดรว่ มวิเคราะห์ ปรกึ ษาและเปลย่ี นเรียนรรู้ ะหว่างกลุ่ม เพือ่ หาทางออกของปญั หาร่วมกัน
สรา้ งปฏิสมั พันธร์ ะหว่างกนั ด้วยกนั สอื่ สารซึ่งเปน็ ที่มาของคำวา่ “สัมมนา”
ความหมายของการสมั มนา
เทคนิคการหล่อหลอมแนวความคิดในรปู ของการประชมุ กลุ่ม รว่ มคิดหาแนวทางจากการหารือและ
แนวคดิ ตามหลักการมีสว่ นรว่ มในการวิเคราะห์ปัญหา ซึง่ ได้มีนกั วิชาการไดใ้ ห้ความหมาย ดงั ตอ่ ไปน้ี
สมคิด แก้วสนธิ และสุนันท์ ปัทมาคม (2545, น. 45) กล่าวว่า การสัมมนาเป็นการจัดในลักษณะ
อภปิ รายและแลกเปลยี่ นความคิดเห็นประสบการณ์ หรอื เป็นการระดมความคิดเร่ืองใดเรื่องหน่ึงเหมาะสำหรับ
กรณีทผ่ี เู้ ข้ารว่ มสมั มนามีประสบการณ์ผเู้ ขา้ รว่ มประชุมทุกคนมีความเท่าเทียมกันในการแสดงความคิดเห็นไม่มี
วิทยากรมีแต่ผู้ประสานงานหรือผู้จัดดำเนินการคอยอำนวยความสะดวก และให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาจะเลือกผ้นู ำ
กลุ่มการสัมมนาจากผู้เข้าร่วมสัมมนาด้วยกัน เพื่อเป็นตัวแทนในการรายงานการอภิปรายและดำเนินการ
สัมมนาไปตามตารางที่กำหนดไว้ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2546, น. 1170) การสัมมนาเป็นการประชุมรูปแบบ
หนึ่งที่มีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปล่ียนความรู้ ความคิด และหาข้อสรุป หรือข้อเสนอแนะในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ผลสรปุ ทไี่ ด้ถือว่าเปน็ เพยี งข้อเสนอแนะ สว่ นผู้ทเี่ กี่ยวข้องจะนำไปปฏิบตั ิตามหรอื ไมก่ ็ได้
ราชบัณฑิตยสถาน (2546, น. 1170) การสัมมนาเป็นการประชุมรูปแบบหนึ่งที่มีวัตถุประสงค์เพ่ือ
แลกเปลี่ยนความรู้ความคิด และหาข้อสรุปหรือข้อเสนอแนะในเรื่องใดเรื่องหนึ่งผลสรุปที่ได้ถือว่าเป็นเพียง
ข้อเสนอแนะ ส่วนผูเ้ ก่ยี วขอ้ งจะนำไปปฏบิ ัตติ ามหรือไมก่ ็ได้
ไพพรรณ เกยี รติโชตชิ ัย (2548, น. 7) การสมั มนา คอื การทกี่ ลุ่มบุคคลได้รว่ มใจพยายามเสาะแสวงหา
ความรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง แล้วพยายามแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดที่แต่ละคนศึกษามาเพื่อหาแนวทาง หา
ข้อสรุปในเรื่องนั้นๆทำให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาสามารถใช้ความรู้จากการสัมมนา ไปปฏิบัติหน้าที่ของตนอย่างมี
ประสทิ ธิภาพและเกิดประโยชน์ตอ่ ส่วนรวมให้มากที่สุด
ผล ยาวิชัย (2553, น. 3) การสัมมนา คือ สถานการณ์การประชุมกลุ่มบุคคลที่มีพื้นความรู้
ความสามารถความสนใจ ประสบการณ์ในงานสาขาวิชาชีพเดียวกัน มีเงื่อนไขจุดมุ่งหมาย หรือวัตถุประสงค์
เดียวกัน เพื่อการศึกษาค้นคว้าเรื่องใดเรื่องหนึ่งร่วมกัน สำรวจ เรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
วิเคราะห์ปัญหาและหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่ประสบอยู่อย่างเป็นระบบ โดยคำนึงถึงบทบาทของการมีส่วน
รว่ มจากทุกสว่ นตามหลักการประชาธปิ ไตยภายใตเ้ วลาที่เหมาะสม
ไพโรจน์ เนียมนาค (2554, น. 2) การสัมมนา “Seminar” หมายถึง การประชุมเพื่อแลกเปลี่ยน
ความรู้ และความคิดเห็นเพือ่ หาข้อสรุปในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ผลของการสัมมนาถือว่าเปน็ เพียงข้อเสนอแนะผ้ทู ่ี
เกี่ยวข้องจะนำไปปฏิบัติตามหรือไม่ก็ได้ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่ออบรมฝึกฝนชี้แจงแนะนำสั่งสอนปลูกฝังทัศนะ
2
คติและให้คำปรึกษา ในเรื่องที่เกี่ยวข้องหรือแสวงหาข้อตกลงด้วยวิธีการอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
อย่างเสรี ซักถาม ถกเถียง ปรึกษาหารือภายในหัวข้อที่กำหนด ซึ่งผลจากการสัมมนา จะช่วยให้ระบบและ
วิธีการทำงานมีประสทิ ธิภาพสูงขนึ้
ความหมายข้างต้นสรุปได้ว่า การสัมมนา หมายถึง การประชุมเพื่อแสวงหาความรู้แลกเปลี่ยนเรียนรู้
และความคิดเห็น โดยมีวัตถุประสงค์หรือการศึกษาในเรื่องเดียวกัน รวมทั้งร่วมวิเคราะห์ปัญหา หาแนวทาง
แก้ไขและหาข้อสรุปร่วมกันเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมร่วมกัน ดังนั้น การสอนวิชาสัมมนา เป็น
กระบวนการหนึ่งของกิจกรรมการเรียนรู้ ศึกษา ค้นคว้า โดยวิธีการต่างๆ เป็นการฝึกทักษะการคิดอย่างเป็น
ระบบ การวิเคราะห์ปัญหา และการเสนอแนวทางแก้ไขการแสดงออกโดยการพูด การสนทนา การอภิปรายท่ี
เกี่ยวกบั เน้ือหาของเรือ่ งนนั้ ๆเพือ่ ให้ได้ข้อสรุปของแนวทางทม่ี ีความเป็นไปได้ โดยวิธีการปรึกษาหารือร่วมกัน
ความสำคัญของการสัมมนา
กระบวนการดำเนินงานทีด่ ีควรจะมีการวางแผนก่อนการปฏิบัติงาน และการตัดสินใจทีเ่ หมาะสมโดย
การคิดร่วมกันเพื่อหาข้อสรุปที่ดีที่สุด แต่ละเรื่องอาจใช้วิธีการประชุม การสนับสนุน จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
และผู้ทเี่ ก่ยี วข้องจึงถือวา่ การประชุมมคี วามสำคัญ มผี ูใ้ หค้ วามหมายไว้หลายทัศนะ ดังนี้
เกษกานดา สภุ าพจน์ (2549, น. 1) กล่าวว่า การประชุมสมั มนาเปน็ เทคนคิ ของการให้ได้มาซึ่งแนวคดิ
และประสบการณ์เพ่อื เปน็ แนวทางของการหาข้อสรปุ และนำไปใช้แกไ้ ขหรอื พฒั นาใหม้ ปี ระสิทธภิ าพย่ิงข้นึ
ปาน กิมปี และกรรณิการ์ แย้มเกสร (2545, น. 586) กล่าวว่า การประชุมมีความสำคัญเป็นการ
แสวงหาแนวทางในการปฏิบัติงานเสนอแนวคิดการตัดสินใจและการแก้ปัญหา ในการประกอบกิจกรรมต่างๆ
นนั้ จะตอ้ งมกี ารปรึกษาหารือเปน็ หมู่คณะเพื่อให้ได้ข้อสรปุ หรือแนวทางท่เี ปน็ ทยี่ อมรบั ของบุคคลโดยส่วนรวม
หรือเป็นความเห็นชอบของคนส่วนใหญ่ในกลุ่ม จึงเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะทำให้คนในองค์กรมีความเข้าใจ
ตรงกัน และลดความขัดแยง้
สมคิด บางโม (2551, น. 159) กล่าวว่า การทำงานเป็นกลุ่มหรือเป็นคณะบุคคลจำเป็นต้องมีการ
ประชุมปรกึ ษาหารอื กัน มีความเข้าใจตรงกนั จงึ จะทำให้งานสำเรจ็ ตามเป้าหมาย
สมิตร สัชฌุกร (2552, น.16) กล่าวว่า ความสำคัญของการประชุมเป็นกลไกสำคัญของทุกองค์กร ใน
ระดบั ท้องถน่ิ ระดับประเทศ และระดับโลก เปน็ ศนู ย์รวมของความคิดการตัดสนิ ใจการกำหนดนโยบาย การลง
มติ การริเริ่มสร้างสรรค์ การวิเคราะห์ การวิจัย และการแก้ไขปัญหาต่างๆด้วยเหตุที่การประชุมมีความสำคญั
เราจึงต้องใช้การประชุมให้เกิดประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่สำคัญผิดว่าเมื่อมีการประชุมก็เป็นการ
เพียงพอแลว้ จากแนวคิดที่กล่าวมาข้างตน้ สรุปใหเ้ หน็ ไดว้ า่ ความสำคญั ของการประชมุ สมั มนามดี ังน้ี
1. เป็นการตดิ ต่อส่ือสารทร่ี วดเรว็ เม่อื บุคลากรได้มาพบปะพูดคยุ แบบเผชญิ หน้า ประชุมโต้ตอบกันใน
ทันทที นั ใด ทำความเขา้ ใจกนั ได้ในเวลาอันสัน้ ไม่ต้องเสยี เวลาในการสอื่ สารมาก
~3~
-
2. เป็นการระดมความคิดเห็นแลกเปลี่ยนประสบการณ์ หาข้อสรุปหรือแนวทางในการตัดสินใจให้
บรรลุตามวัตถุประสงค์ทีต่ ั้งไว้เป็นอย่างดี
3. เป็นสื่อกลางในการพบปะแลกเปลี่ยนข่าวสาร ความรู้ ฯลฯ ซึ่งผู้เกี่ยวข้องจะมีโอกาสชี้แจงข้อ
ซักถามข้อสงสัยได้ ก่อให้เกิดความรู้สึกร่วมแรงร่วมใจ มีความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยงานนั้นๆ ทำให้เกิด
การเรียนรู้ถึงวิธีการปรับตนเองให้เข้ากับผู้อื่นและทราบข่าวสารเรื่องราวความเคลื่อนไหวในกิจการต่างๆ ใน
สังคมทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
4. เปน็ เทคนคิ ของการให้ได้มาซง่ึ ความรู้ แนวคดิ และประสบการณเ์ พ่ือเปน็ แนวทางของการหาข้อสรุป
และนำไปใชแ้ กไ้ ขหรือพฒั นาใหม้ ีประสทิ ธภิ าพย่ิงขึ้น
5. เป็นเครื่องมือสำคัญในการปฏิบัติหน้าที่ เอื้ออำนวยในการปฏิบัติงานและการถ่ายทอดความรู้หรอื
ข่าวสารต่าง ๆ เชน่ การประชุมชแ้ี จงเก่ยี วกบั นโยบายตา่ งๆ ของหน่วยงาน หรือการประชมุ ทางวิชาการ
ผลยา วิชัย (2553, น. 4) กล่าวว่า การปฏิบัติงานในชีวิตประจำวัน ปัจจุบันต้องมีการปรับตัวอยู่
ตลอดเวลาเพื่อให้เกิดความสัมพันธ์กับการ เปลี่ยนแปลง มีการแข่งขันด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสูง การ
แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ การบริหารจัดการองค์กรตลอดเวลา มีความจำเป็นต่อ
การประกอบอาชีพของบุคคลทั่วไป มีบทบาทอย่างยิ่งต่อการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม การเมือง และเทคโนโลยี
ของประเทศ การดำเนินชีวิต การประกอบอาชีพจำเป็นที่จะต้องมีการแข่งขันในทุกๆ ด้าน โดยมุ่งหวังที่จะให้
อาชีพที่ตนยึดถือปฏิบัติมีความเจริญรุ่งเรือง เป็นที่นิยมชมชอบของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง สิ่งที่ตามมาก็คือ
ความสำเร็จจากการดำเนินงานนั่นเอง อันหมายถึงการอยู่ดีกินดีบรรลุผลสำเร็จในกิจการที่ปฏิบัติเป็นอย่างดี
สงั คมปจั จบุ นั จึงให้ความสำคญั ในข้อมูลขา่ วสาร (Information Society) เป็นอย่างมาก ซึ่งโลกปัจจุบันต้องยึด
ขอ้ มลู ทีเ่ ป็นจริงและทนั สมัยอยเู่ สมอ ทง้ั นี้ เพราะเทคโนโลยีการตดิ ต่อส่ือสารมีความทนั สมัยก้าวหน้า สามารถ
ติดต่อสื่อสารได้อย่างรวดเร็วมีความคล่องตัวสูง กิจการใดที่มีข้อมูลข่าวสารที่เป็นปัจจุบันมากเท่าใด กิจกรรม
หรือกิจการนั้นๆ ย่อมมีโอกาสที่จะพัฒนาตัวเองให้เจริญก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น สถานประกอบการหรือองค์กร
ธุรกิจต่างๆ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องขวนขวายเสาะแสวงหาข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัยเพื่อส่งผลต่อการพัฒนา
บุคลากรและพัฒนาทรัพยากรต่างๆ ของหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพมีคุณภาพในการบริหารจัดการมากที่สุด
เท่าที่จะมากได้ การสัมมนาหรือการประชุมสัมมนา จึงเป็นรูปแบบหนึ่งหรือเทคนิคของการให้ได้มาซึ่งความรู้
แนวคดิ และประสบการณ์โดยอาศัยการประชมุ พบปะพูดคยุ บรรยาย ซกั ถามอภิปราย ระดมความคิดเห็นทั้งผู้
นำเสนอวทิ ยากรหรือผู้เชีย่ วชาญ รวมทั้งผฟู้ ังตา่ งมโี อกาสได้และเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ซ่ึงกันและกัน เพ่ือ
เป็นหนทางของการหาข้อสรุป และนำข้อมูลที่ได้จากการสัมมนาไปปรับปรุงแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาบุคลากร
และทรัพยากรอื่นๆ ให้มีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้นต่อไป นำมาซึ่งความสำเร็จมาสู่เจ้าของกิจการสถาน
ประกอบการและองคก์ รตา่ งๆ
4
สรุปได้ว่า การสัมมนา มีความสำคัญต่อการพัฒนาองค์กร และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการทำงาน โดยการจัดกระบวนการสัมมนาเป็นส่วนสำคัญที่จะเสริมสร้างประสิทธิภาพด้านการ
บริหารจัดการให้เกิดรูปแบบการพัฒนาอย่างสร้างสรรค์ให้เกิดความรู้แนวคิด ประสบการณ์โดยการพูดคุย
บรรยาย ซักถามอภิปรายระดมความคิดเห็นภายในกลุ่ม และวทิ ยากรผู้ทรงคุณวุฒิท้ังประสบการณ์และความรู้
ตอ่ องคก์ รและบุคลากรต่อไป
ประโยชน์ของการสมั มนา
ผลของการจดั สัมมนา หรือการจัดการเรียนการสอนสมั มนา กอ่ ใหเ้ กดิ ความเจรญิ ก้าวหนา้ ทางวิชาการ
อันเป็นผลมาจากการศึกษา ค้นคว้า เพื่อเสนอบทความทางวิชาการและการประมวลข้อเท็จจริงๆทางวิชาการ
ใหม่ๆ เพื่อนำเสนอในรปู ของเอกสารประกอบการสัมมนาสามารถนำไปเป็นแนวทางในการปรับปรุง แก้ปัญหา
หรอื สรา้ งสรรค์ การทำงาน ดังได้มีนดั วิชาการกลา่ วถงึ ประโยชน์ของการสัมมนาดงั ต่อไปน้ี
เกษกานดา สภุ าพจน์ (2549, น. 3) ไดก้ ล่าวถงึ ประโยชนข์ องการสมั มนาดังนี้
1. ผจู้ ดั สมั มนาหรือผู้เรยี นสามารถจดั สัมมนาได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
2. ผู้เขา้ รว่ มสัมมนา ได้รบั ความรู้ แนวคดิ จากการสัมมนา สามารถนำไปปรับใช้ในการทำงานและชีวิต
สว่ นตัวได้
3. ผลจากการที่ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้รับความรู้และความสามารถมากขึ้นจากการสัมมนา ช่วยท ำให้
ระบบและวธิ ีการทำงานมีประสทิ ธิภาพสูงขน้ึ
4. การจัดสัมมนาจะช่วยแบ่งเบาภาระการปฏิบตั ิงานของผูบ้ ังคับบัญชา เพราะผู้ได้บังคับบัญชาได้รับ
การสัมมนา ทำให้เข้าใจถึงวิธีการปฏิบัติงานตลอดจนปัญหาต่างๆและวิธีการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนางานให้
ไดผ้ ลดี
5. เป็นการพัฒนาผู้ปฏิบัติงานให้พร้อมอยู่เสมอ ที่จะก้าวไปรับตำแหน่งที่สูงกว่าเดิมหรืองานที่
จำเป็นต้องอาศัยความรู้ทางด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ ซึ่งผู้ปฏิบัติงานจะไม่รู้สึกลำบากในการปรับตัว เพราะได้รับ
ความรูใ้ หม่ๆตลอดเวลา
6. เป็นการส่งเสริมความก้าวหน้าของผู้ปฏิบตั ิงาน เพราะโดยปกติแล้วการพิจารณาเลื่อนตำแหน่งผู้ที่
ได้รับการสัมมนาย่อมมีโอกาสได้รบั การพิจารณาก่อน
7. เกิดความคิดรเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ เป็นผลให้เกิดแรงบันดาลใจมงุ่ กระทำกจิ กรรมอนั ดงี ามใหส้ งั คม
8. สามารถสร้างความเขา้ ใจอันดีงามต่อเพอ่ื นร่วมงาน มมี นุษย์สมั พนั ธ์ เกิดความรว่ มมอื รว่ มใจในการ
ทำงาน สามารถทำงานเปน็ ทมี ไดเ้ ป็นอยา่ งดี
9. เกิดความกระตือรือร้น กล้าคิด กล้าทำ กล้าตัดสินใจ มีความรับผิดชอบ รู้จักยอมรับความคิดเห็น
ของผ้อู น่ื รจู้ กั ใชด้ ลุ ยพนิ จิ วิเคราะห์ปัญหา สามารถแก้ปัญหาในการทา้ งานและเกดิ ภาวะผู้นำ
~5~
-
ผล ยาวิชัย (2553, หนา้ 5) ไดก้ ลา่ วถึงประโยชนข์ องการสมั มนาไว้ดังน้ี
1. เป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารระหว่างผู้เข้าสัมมนา ทำให้มีความเข้าใจข้อเท็จจริงต่างๆดีข้ึน
ซ่งึ จะทำให้เกดิ ความรว่ มมือเพือ่ ความสำเร็จต่อไป
2. เป็นการร่วมกันแก้ปัญหาโดยผนึกความคิด ความรู้และประสบการณ์ของคนหลายคนเข้าด้วยกัน
ซ่งึ ยอ่ มไดผ้ ลดีกวา่ คนๆเดยี ว และเป็นการชกั จงู ให้หลายคนเขา้ มามีส่วนรว่ มในการรบั ผิดชอบ
3. ก่อให้เกิดความรู้สึกร่วมแรงร่วมใจ มีความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมนั้นๆเพราะได้รับทราบ
เรอ่ื งราว และมีส่วนเปน็ ผู้กำหนดเกี่ยวกับความเคลือ่ นไหวเหล่านน้ั อย่ดู ้วย
4.เป็นการช่วยผ่อนผันหรือทุเลาปัญหาที่ยังไม่สามารถแก้ไขได้ เพราะผู้เข้าสัมมนาที่มีปัญหาได้มี
โอกาสระบายความอดั อัน้ ตนั ใจบา้ งแล้ว
5. เป็นการชว่ ยให้ผเู้ ข้าสมั มนาได้ฟังความคดิ เห็นของผอู้ ่ืน ซง่ึ จะทำใหม้ ที ศั นะทกี่ วา้ งขวางขึน้ และเกดิ
แนวคดิ ของตนเอง
6. ชว่ ยในการประสานงานได้ดี ถ้าผู้เขา้ สัมมนาจากสถานทหี่ ลายแห่งดว้ ยกนั ความสัมพนั ธท์ ่ีเกิดขึน้ ใน
ระหว่างประชุมกลมุ่ ย่อยจะชว่ ยให้มีความเขา้ อกเข้าใจเหน็ อกเหน็ ใจกนั ย่ิงขนึ้
ไพโรจน์ เนยี มนาค (2554, น. 3) ไดก้ ลา่ วไวว้ ่า การสัมมนาและการฝกึ อบรมเปน็ กจิ กรรมทีส่ ำคญั ยิ่งใน
ที่ทำงานร่วมกัน ซึ่งต้องอาศัยความคิดร่วมกันด้วย ผลที่ได้จากการสัมมนาและฝึกอบรมทุกคนจะได้รับ
เชน่ เดียวกนั ไมอ่ ยา่ งใดกอ็ ย่างหน่ึง ซงึ่ สามารถสรุปประโยชน์ของการสมั มนาและฝกึ อบรมทัว่ ไป มดี ังนี้
1. เปิดโอกาสให้สมาชกิ มกี ารรับผิดชอบรว่ มกันในการดำเนินงานเพราะถ้าผหู้ นึ่งผูใ้ ดตัดสนิ ใจตาม
ลำพังและเกิดผดิ พลาดขึน้ ผนู้ ั้นจะตอ้ งรับผดิ ชอบทัง้ หมด แต่ถา้ เป็นมติของที่ประชมุ ทกุ คนจะตอ้ งรบั ผิดชอบ
ร่วมกัน
2. เป็นเครื่องสำคัญในการกระจายข่าวสารต่างๆ ไปได้ทุกทิศทาง โดยแจ้งให้ผู้เข้าประชุมทราบแล้ว
นำไปถา่ ยทอดต่อไป นับวา่ เป็นการประชาสัมพันธข์ า่ วสารทด่ี ีอีกวิธหี นงึ่
3. ช่วยให้การตัดสินใจรอบคอบยิ่งขึ้น เพราะการวินิจฉัยคนเดียวอาจทำให้เกิดความผิดพลาด
เนอ่ื งจากข้อจำกดั ทางความรู้ ความคดิ ประสบการณ์และอ่ืนๆ
4. ผู้เข้าสัมมนาหรือฝึกอบรมได้มี โอกาสรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ทำให้ตนเองงมีทัศนะท่ี
กว้างขวางขน้ึ
5. เป็นโอกาสดีที่ผู้เข้าร่วมการสัมมนาและฝึกอบรมจะได้พบปะสังสรรค์ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นใน
เรื่องต่างๆ ทั้งเรื่องส่วนตัวและเรื่องหน้าที่การงาน จะก่อให้เกิดความรู้สึกร่วมแรงร่วมใจ สร้างความรู้สึกเป็น
สว่ นหน่งึ ของหน่วยงานและช่วยเกิดการประสานงานทีด่ ใี นโอกาสตอ่ ไป
6. ชว่ ยเพม่ิ ผลผลิตท้งั ปริมาณและคุณภาพ
7. ชว่ ยแกป้ ญั หาในการปฏิบัตงิ าน ลดภาระในการควบคุม รวมถึงชว่ ยลดอุบัติเหตุ
6
8. ช่วยสง่ เสริมทัศนคตติ อ่ องคก์ าร
9. ชว่ ยลดการสิ้นเปลอื งต่างๆ ลดต้นทุน
10. ชว่ ยพนกั งานมีขวญั และกำลงั ใจดีขึน้
11. ช่วยพัฒนาบคุ ลากรให้มคี ุณภาพสงู ขน้ึ
นอกจากประโยชน์ที่ได้จากการสัมมนาและการฝึกอบรมดังกล่าวข้างต้นซึ่ง ล้วนแต่เป็น
กระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้มีคุณภาพ อันจะนำไปสู่การทำงานที่มีประสิทธิภาพองค์การ
เจรญิ ก้าวหนา้ สามารถจะแบง่ ตามภารกิจของประโยชนแ์ ต่ละด้าน แบ่งไดด้ งั นี้
1. ประโยชน์ตอ่ ตนเอง ได้แก่
1.1 ช่วยเพ่ิมทักษะ ความรู้ความสามารถ นำไปสู่การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการปฏิบัตงิ าน
1.2 ช่วยให้สามารถปรับตัวให้ทันกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี และการ
เปลีย่ นแปลงอื่นๆ
1.3 ชว่ ยพฒั นาบคุ ลกิ ภาพของตนเองและปรับปรุงวิธีการปฏิบัตงิ านให้เหมาะสมกบั งานทีป่ ฏิบตั ิ
1.4 ชว่ ยให้มคี วามเช่ือมัน่ ในตนเอง พร้อมท่ีจะทำงาน กล้าเผชญิ ปัญหา
1.5 ชว่ ยใหเ้ ปน็ ผรู้ ูจ้ ักศึกษาเรยี นรตู้ ลอดชีวติ เปน็ ทรพั ยากรบคุ คลท่ีมคี ่าขององค์กรและประเทศชาติ
1.6 ช่วยให้รู้จักบุคคลหรือมิตรมากขึ้น อันจะเป็นประโยชน์ต่อการประสานการทำงานให้พัฒนา
กา้ วหนา้ ต่อไปได้
2. ประโยชนต์ อ่ องค์กร ได้แก่
2.1 ช่วยเสริมสร้างทัศนคติ ที่ถูกต้องในการปฏิบัติงานของบุคลากรและเป็นที่พึ่งประสงค์ของ
หนว่ ยงาน
2.2 ชว่ ยเสรมิ สร้างขวัญกำลงั ใจในการทำงานแก่ผู้ปฏบิ ตั งิ าน
2.3 ช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนผู้ปฏิบตั ิงาน โดยการเพิ่มคุณภาพ ของผู้ปฏิบัติงานท่ีมีอยูจ่ ำกัดแทน
การเพม่ิ งบประมาณ หรอื เพ่มิ จำนวนผปู้ ฏิบัติงาน
2.4 ช่วยยกระดับความสามารถของบุคลากรในการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามทิศทางเป้าหมายและ
นโยบายขององคก์ าร
2.5 ชว่ ยเสริมสร้างความรคู้ วามเข้าใจ เพอ่ื หลกี เล่ียงปัญหาที่เกดิ ข้นึ ได้
2.6 ช่วยประหยัดงบประมาณรายจ่าย
2.7 ช่วยใหบ้ ุคลากรเกิดการเรยี นรู้ และมปี ระสบการณ์โดยมผี ลกระทบตอ่ งานทป่ี ฏบิ ัติ
2.8 ทำให้เกิดความสามัคคีในหน่วยงาน การสัมมนา และการฝึกอบรมจะทำไห้บุคลากรมีโอกาสได้
แลกเปล่ียนประสบการณ์ซ่ึงกนั ละกนั ชว่ ยไห้เกดิ ความเขา้ ใจกนั มากย่ิงขน้ึ
2.9 ชว่ ยเพ่มิ ผลผลติ ในการบรหิ ารจัดการ
~7~
-
สรุปได้ว่า ประโยชน์ที่ได้รับจากการสัมมนาและการฝึกอบรมนั้น จะมีความครอบคลุมทั้งในส่วน
ผู้บริหาร เจ้าหน้าท่ีในการดำเนินการจัดการฝึกอบรม และแม้แต่ผู้เข้าการฝึกอบรม เพื่อไห้ทราบว่าควรจะต้อง
จัดเตรียมสิ่งใดก่อนเข้าอบรมสัมมนา และรวมถึงผลประโยชน์ที่ทุกฝ่ายควรจะได้รับภายหลังที่สิ้นสุดสัมมนา
และการฝึกอบรม เป็นต้น นอกจากประโยชน์ดังกล่าว แล้วผลของการจัดสัมมนาหรือการจะจัดการเรียนการ
สอนสัมมนา ยังก่อไห้เกิดความเจริญก้าวหน้าทางวิชาการ อันเป็นผลมาจากการศึกษาค้นคว้า เพื่อเสนอ
บทความทางวิชชาการและการประมวลข้อเท็จจริงทางวิชาการใหม่ๆ เพื่อนำเสนอในรูปของเอกสาร
ประกอบการสัมมนา รวมท้ังสรุปผลรายงานสัมมนาทไ่ี ดห้ ลงั จากการสัมมนาเสร็จส้ิน สามารถนำไปเป็นแนว ใน
การปรับปรุงแก้ปัญหา หรือสร้างสรรค์การทำงาน นอกจากที่ยังเป็นหนทางให้บรรลุข้อตกลง เกิดการ
ประนีประนอมกันในระหว่างหน่วยงานเดียวกัน หรือต่างหน่วยงาน และเกิดการพัฒนาตน พัฒนาคน พัฒนา
งาน และสังคมโดยส่วนรวม
วัตถปุ ระสงค์ของการสัมมนา
วัตถุประสงค์หรือความมุ่งหมายในการสัมมนา นอกจากจะได้เพิ่มทักษะ ความรู้ให้แกผ่ ู้เขา้ รบั สัมมนา
แลว้ ยังมีวัตถปุ ระสงค์ที่สำคัญหลายประการ ดงั นกั วิชาการได้กลา่ วไวด้ งั น้ี
สุทธนคู รีไสย์ (2544, น. 5 ) ไดก้ ลา่ วถึง วตั ถุประสงค์ของสมั มนาไดด้ งั นี้
1. เพื่อการศึกษาและเรยี นรู้ประเด็นตา่ งๆ ของปัญหาเพอ่ื นำไปสู่การแก้ปัญหา
2. เพ่อื คน้ คว้าหาค้าตอบ ข้อเสนอแนะหรอื หาขอ้ ยตุ ทิ ่ีจะใช้แกป้ ญั หารว่ มกนั
3. เพื่อนำผลของการสมั มนาเป็นเคร่ืองมอื ในการตัดสนิ ใจหรือกำหนดนโยบาย
4. เพื่อการพัฒนาและการปฏิบัติงานให้บรรลุตามเป้าประสงค์
สมจติ ร เกดิ ปรางค์ และนุตประวณี ์ เลศิ กาญจนวัต (2545, น. 73 ) ไดก้ ล่าวว่า การสมั มนาโดยทัว่ ไปมี
วตั ถปุ ระสงค์ทสี่ ำคญั ดงั น้ี คือ
1. เพ่อื เพม่ิ พูนความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์แก่ผเู้ ข้ารว่ มสัมมนา
2. เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ระหว่างผู้เข้าสัมมนาด้วยกัน และผู้เข้าสัมมนากับ
วทิ ยากร
3. เพอ่ื คน้ หาวิธีการแกป้ ัญหาหรือแนวทางปฏบิ ัตริ ่วมกนั
4. เพอ่ื ให้ได้แนวทางประกอบการตดั สนิ ใจหรอื กำหนดนโยบายบางประการ
5. เพอ่ื กระตุ้นใหผ้ ู้ร่วมเข้าสัมมนานำหลักวิธีการท่ีไดเ้ รียนรไู้ ปใชใ้ ห้เปน็ ประโยชนก์ ารสัมมนาแตล่ ะครง้ั
จะบรรลุวัตถุประสงค์มากน้อยเพียงใดนอกเหนือจากกระบวนการจัดสัมมนาและวิทยาการแล้วสมาชิก
ผ้เู ข้าร่วมสมั มนา มคี วามสำคัญมากเชน่ เดยี วกันเพราะเปา้ หมายทีเด่นชดั ของการสมั มนา ก็คือผู้เขา้ ร่วมสัมมนา
ทุกคนต้องทำหน้าที่เป็นทั้งผู้ให้และผู้รับ คือเป็นผู้ฟังความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมสัมมนาด้วยกัน และใน
8
ขณะเดียวกันก็เปน็ ผู้เสนอความคดิ เหน็ ให้แก่กลุ่มด้วย ดังนั้นหัวใจของการสัมมนาจึงอยู่ท่ีว่าสมาชิกทุกคนได้มี
ส่วนรว่ ม ได้แสดงความคิดเห็น และไดเ้ สนอแนวคิดให้แกก่ ลุม่ เป็นประการสำคัญ
ไพพรรณ เกียรติโชติชยั (2548, น. 56) ไดก้ ลา่ ว การสัมมนา มวี ตั ถุประสงค์เพ่อื ยกระดบั ประสิทธิภาพ
ที่มีลักษณะเด่นอย่างหนึ่ง หรือมากกว่าหนึ่งขึ้นไป เพื่อให้เกิดผลสำเร็จ ทั้งความรู้ใหม่และข้อมูลที่ใช้ในการ
ปฏิบัตงิ าน โดยการสอนทกั ษะใหม่ให้หรือโดยการสรา้ งให้แตล่ ะคนมีเจตคติใหม่ ค่านิยม มีแรงจูงใจพร้อมทัง้ มี
คุณสมบัติของบุคลิกภาพที่ดีการสัมมนาโดยทั่วไป มักจะจัดเป็นหลักสูตรเฉพาะสำหรับกลุ่มงานหรือกลุ่ม
บริหารมีความมุ่งหมายเพื่อเป็นการพัฒนาบทบาทพฤติกรรมและให้มีความเข้าใจในการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิด
ประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ิงานของทกุ คนการใช้โอกาสในการสัมมนาเพอื่ ฝึกอบรมหรือพัฒนาให้มปี ระสิทธิภาพ
และใหม้ ผี ลสัมฤทธใิ์ นการทำงาน
นริ นั ดร์ จุลทรพั ย์ (2550, น. 270) ได้กล่าววา่ การสัมมนาโดยทวั่ ไปมวี ตั ถปุ ระสงคท์ สี่ ำคัญ ดงั น้ี
1. เพื่อเพิ่มพูนและเติมเต็มความรู้ความสามารถทักษะประสบการณ์ทั้งด้านวชิ าการหรือ ด้านวิชาชพี
แกผ่ ู้เข้ารว่ มสมั มนาโดยตรง
2. เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ ระหวา่ งกันและกันของผูเ้ ข้าร่วมสัมมนากับวิทยากร หรือ ผู้เชี่ยวชาญ
ในเร่ืองหรอื สาขาวชิ าเฉพาะทางนน้ั
3. เพ่อื คน้ หาค้าตอบวิธีการแก้ปัญหาหรอื แนวทางการแก้ปญั หาในทางปฏบิ ัตริ ว่ มกนั
4. เพื่อให้ได้แนวทางสรุปประกอบการตัดสินใจหรือหาแนวทางการแก้ปัญหา หรือ กำหนดนโยบาย
ของหนว่ ยงาน องค์กรบางประการ
5. เพื่อสร้างความตระหนักหรือกระตุ้นให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา นำหลักการวิธีการเรียนรู้หรือแนวทาง
ปฏบิ ตั ิไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ต่อหนา้ ท่แี ละภาระงานทปี่ ฏบิ ัติหรือรับผิดชอบต่อไป
จากความหมายข้างต้นสรุปได้ว่า วัตถุประสงค์ของการสัมมนา การคือ การเพิ่มพูนความรู้ทักษะและ
ประสบการณ์ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้เข้าร่วมสัมมนาค้นหาแนวทางวิธี ในการ ปฏิบัติร่วมกันเพื่อ
แก้ไขปัญหา หรือกำหนดนโยบายบางประการ และเพื่อให้ฝึกอบรมหรือพัฒนาให้ผู้เข้าร่วม แค่มีประสิทธิภาพ
ในการปฏบิ ัติงาน ทส่ี ูงขึน้ ท้งั น้ี ย่อมข้ึนอยู่กับ กระบวนการจดั การสัมมนาทีค่ วบคู่กนั ไปดว้ ย
องค์ประกอบของการสัมมนา
การสมั มนาเป็นวิธีการประชมุ และการสอนรปู แบบหนึ่ง ทีม่ ีกลมุ่ บุคคลมาร่วมแสดงความคิดเห็นโดยใช้
หลักการ เหตุผล ประสบการณ์ และความรู้ต่าง ๆ นำมาเสนอแนะแลกเปลี่ยนเพิ่มพูนหาประโยชน์ร่วมกันใน
การแก้ปัญหานั้น ๆ ให้สำเร็จลุล่วงด้วยดี หรือนำแนวทางที่ได้รับจากการสัมมนาไปปรับปรุงแก้ไขพัฒนาการ
ดำเนินการ สัมมนาแต่ละครั้งมีองค์ประกอบสำคัญ 5 ด้าน (เกษกานดา สุภาพพจน์.2549 ,น. 22-41, ผล ยา
วิชยั 2553, น. 7-12)
~9~
-
1. องค์ประกอบด้านเนื้อหา องค์ประกอบด้านเนื้อหาของการสัมมนาไดแ้ ก่สาระของเรื่องราวทีน่ ำมา
จดั ลำดบั กอ่ นหลังอยา่ งเปน็ ระบบประกอบด้วยรายละเอยี ด ดังนี้
1.1 ชือ่ เรอ่ื ง หรอื ชอ่ื โครงการทน่ี ำมาจัดสัมมนานบั ว่าเป็นปจั จยั สำคัญอย่างหน่ึงท่ีผู้จัดสัมมนาควรจะ
ได้พิจารณาว่าจะเลือกเรื่องอะไร ที่จะนำมาจัดสัมมนาจึงจะได้รับประโยชน์คุ้มค่าสิ่งที่ควรคำนึงถึงในการ
พิจารณา เกี่ยวกบั ชือ่ เรอื่ ง ในการจดั สัมมนา ไดแ้ ก่
1.1.1 ควรเป็นเรื่องที่ต้องการศกึ ษาปัญหา หาแนวทางแก้ไขที่เกี่ยวข้องกับงานหรือเรือ่ งที่กำลังศึกษา
อยแู่ ละเป็นเรื่องที่ตนเองถนัด รู้แจ้ง ร้ลู ึกซง้ึ เปน็ อย่างดี
1.1.2 มคี วามทนั สมยั สอดคล้องกับสภาการณ์ปจั จบุ นั
1.1.3 สามารถกำหนดปญั หา หาแนวทางการแกไ้ ขปญั หาไดอ้ ย่างเปน็ ระบบ
1.1.4 เป็นเรื่องที่ไม่กว้าง ไม่แคบจนเกินไป ควรเป็นเรื่องที่มีขอบเขตเฉพาะเรื่องสามารถกำหนด
ปัญหา และแนวทางการดำเนนิ การจดั สัมมนาได้ชดั เจน
1.2 จุดมุ่งหมายของการจัดสัมมนา โดยปกติแล้วการจัดสัมมนาก็เพื่อเป็นการฝึกผู้เข้าร่วมสัมมนา
หรือ นักศึกษาที่นอกจากเพื่อให้ได้เกิดการเรียนรู้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นแล้วยังทำให้เกิดการเพิ่มพูนความรู้
ประสบการณ์ได้รับแนวความคิดใหม่ๆ สามารถน้าไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาตนเอง หน่วยงานท่ีรับผิดชอบ
เป็นการสร้างสรรค์ต่อส่วนรวมและสังคมอย่างไรก็ตามในการสัมมนาจำเป็นที่จะต้องมี หรือเขียนจุดมุ่งหมาย
ของการสัมมนาไว้ให้ชัดเจน เพื่อคณะกรรมการผู้ดำเนินการจัดสัมมนา ผู้เข้าร่วมสัมมนา วิทยากรและบุคคล
อืน่ ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งจะไดเ้ ขา้ ใจ และดำเนินการสมั มนาให้เปน็ ไปตามจดุ มงุ่ หมายทตี่ ้ังไวก้ ารเขียนจดุ มุ่งหมายมักจะ
กำหนดเพอื่ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย หรือไดร้ ับสาระตามตอ้ งการอยา่ งใดอย่างหนงึ่ ไดแ้ ก่
1.2.1 เพือ่ ศกึ ษาและสำรวจปญั หาเรื่องใดเร่อื งหน่งึ ที่อยู่ในความสนใจ
1.2.2 เพือ่ ใหไ้ ดว้ ธิ ีการหรือแนวทางในการแก้ปญั หาเรอื่ งใดเรื่องหน่ึง
1.2.3 เพอ่ื ศึกษาค้นคว้าวิจยั ในเร่ืองท่ีมคี วามจำเป็นเร่งด่วน
1.2.4 เพอ่ื เรียนรู้ และมีการแลกเปลี่ยนผลของการศกึ ษาคน้ คว้าวจิ ัยระหว่างผ้เู รียนทเ่ี รยี นรว่ มกัน
1.2.5 เพอ่ื ร่วมพจิ ารณาหาข้อสรปุ ผลรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าในเร่ืองทส่ี นใจ
1.3 กำหนดการสัมมนา นับว่าเป็นเรือ่ งที่จำเป็นประการหนึ่งที่ผู้จัดสัมมนาควรจะต้องมีการวางแผน
กำหนด และจัดทำเพราะจะทำให้ทราบช่วงเวลาของการดำเนินการแต่ละรายการของการสัมมนา ซึ่ง
กำหนดการ สมั มนาควรระบสุ ิ่งต่อไปน้ี
1.3.1 ช่ือกล่มุ สาระวิชา กลมุ่ บุคคลผู้ดำเนนิ การ หรือผรู้ ับผิดชอบจดั สัมมนา
1.3.2 ช่ือเร่อื งสัมมนา
1.3.3 วัน เดือน ปี ท่ีจัดสัมมนา
1.3.4 สถานท่ีจัดสัมมนา
10
1.4 ผลที่ได้จากการสัมมนา เป็นสิ่งที่ผู้จัดสัมมนาได้คาดหวังว่าการจัดสัมมนาจะทำให้ผู้เข้าร่วม
สัมมนา ได้รับผลประโยชน์ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ จึงเป็นเร่ืองที่ผู้จัดสมั มนาจะต้องมีการกำหนดผลที่คาด
วา่ จะได้รบั จากการสมั มนาไวด้ ้วย ตวั อยา่ งเช่น ผลท่ีได้จากการสัมมนา ผเู้ ข้าร่วมสมั มนา จำนวน 90 คน ได้รับ
ความร้แู ละสามารถนำเอาความรู้ท่ไี ดจ้ ากการสมั มนาไปพฒั นางานที่ตนปฏบิ ัติอยู่ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
2. องค์ประกอบด้านบุคลากร องค์ประกอบด้านบุคลากร หมายถึง บุคคลที่เกี่ยวข้องในการจัดสัมมนาแต่ละ
ครงั้ จะประกอบไปด้วยบุคลากร ดงั นี้
2.1 บุคลากรฝ่ายจัดสัมมนา หรือคณะกรรมการจัดสัมมนาให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
คณะกรรมการ อาจแบง่ ออกเปน็ ฝา่ ยตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ประธาน รองประธาน เลขานกุ าร ฝ่ายทะเบยี น ฝา่ ยเอกสาร
ฝ่ายเหรัญญิก ฝ่ายพิธีการ ฝ่ายอาคารสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ สื่อทัศนูปกรณ์ฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม ฝ่าย
ประชาสัมพันธ์ ฝา่ ยปฏิคม และ ฝ่ายประเมินผล คณะกรรมการแต่ละฝ่ายท่ีกำหนดขึ้น อาจจะมกี ารผนวกรวม
กับบางฝา่ ยงานเข้าด้วยกัน สว่ นจำนวนบุคลากรที่จัดใหร้ ับผิดชอบแต่ละฝ่ายอาจมีจำนวนที่ไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับ
ความจำเป็นความสามารถของบคุ คล เพราะว่า บางงานบางฝ่ายบุคลากรมีความสามารถหลายด้าน ก็สามารถ
ปฏิบตั งิ านได้หลายอยา่ งในเวลาเดียวกัน แตอ่ ย่างไรกต็ ามการออกคำสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการต้องลงนามคำสั่ง
แตง่ ตั้งโดยผบู้ ังคบั บัญชาสงู สดุ ของหน่วยงาน หรือองคก์ รน้นั ๆ
2.2 วิทยากร คือบุคคลที่ทำหน้าที่เป็นผู้บรรยาย ผู้น้าอภิปราย และเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้
ประสบการณ์โดยนำเสนอ ผ่านสื่อต่าง ๆ นำเสนอให้กับผู้เข้าร่วมสัมมนาด้วยความมุ่งหวังที่จะให้ผู้เข้าร่วม
สัมมนาได้รับความรู้และ ประสบการณ์อย่างเต็มที่ ดังนั้นวิทยากรจึงเป็นบุคคลที่มีความรู้ มีความสามารถ มี
ประสบการณ์ มีความเชี่ยวชาญ เฉพาะทางด้านใดด้านหนึ่งหรือเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงเป็นที่มีความรู้
ความสามารถเก่ียวขอ้ งกบั หัวข้อเร่อื งทีใ่ ชใ้ นการ สมั มนานั้น ๆ
2.3 ผู้เข้าร่วมสัมมนา ได้แก่บุคคลที่มีความสนใจใฝ่รู้ในปัญหา หรือประสบปัญหาต้องการแสวงหา
แนวความคิดใหม่ๆ หรือมีความมุ่งหมาย ต้องการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันผู้เข้าร่วมส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มี
พน้ื ฐานความรู้และมปี ญั หาทีส่ นใจจะศึกษาคล้ายคลงึ กัน
3. องคป์ ระกอบดา้ นสถานทสี่ ถานที่ เครอ่ื งมอื และอปุ กรณต์ ่าง ๆ ทใ่ี ชส้ ัมมนาควรมีดังน้ี
3.1 ห้องประชุมใหญ่ หมายถึง ห้องประชุมขนาดใหญ่ที่ใช้ในการสัมมนา กำหนดที่นั่งสามารถบรรจุ
ผ้เู ขา้ รว่ มสมั มนาได้จำนวนมาก ควรระบุสถานทีต่ ัง้ และการเดินทางเข้าถึงสถานท่ีจัดสมั มนา
3.2 ห้องประชุมขนาดกลางหรือขนาดเล็ก อาจต้องมีมากกว่าหนึ่งห้อง ควรอยู่ในพื้นที่ใกล้กัน หรือ
บริเวณ เดียวกันกับห้องประชุมใหญ่ ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการร่วมกิจกรรมหรือประสานงานหากมีปัญหา
และเพ่อื ความ สะดวกในการเดินทางมายงั ห้องประชมุ ใหญ่
~ 11 ~
-
3.3 ห้องรับรอง เป็นห้องที่ใช้สำหรับรับรองวิทยากร แขกพิเศษ เพื่อให้พักผ่อนหรือเตรียมตัวก่อน
การสัมมนา แตถ่ ้าสถานที่มีพืน้ ท่จี ำกัด อาจใชส้ ว่ นหนา้ ของห้องประชุมจัดวางโตะ๊ รับแขก สามารถใช้ประโยชน์
บนพื้นทดี่ งั กล่าวได้
3.4 ห้องรับประทานอาหารว่างมุมพักผอ่ นนอกห้อง หรือหน้าห้องประชุม เป็นพื้นที่จัดไว้สำหรับให้
ผ้เู ขา้ รว่ มสัมมนา ได้มาพักรวมทงั้ เป็นจดุ พักรับประทานอาหารวา่ ง
3.5 อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ ได้แก่ ชุดไมโครโฟนชนิดตั้งโต๊ะไมโครโฟนชนิดตั้งพื้นไมโครโฟนไร้สาย
ไมโครโฟนชนิดเล็กใช้หนีบตดิ ปกคอเสื้อ เครอ่ื งขยายเสียง เครอ่ื งฉาย โปรเจกเตอร์ โน้ตบ๊คุ และอุปกรณ์ไฟฟ้า
เกี่ยวกับ เคร่อื งเสียง สี แสง และอื่น ๆ
3.6 ห้องรับประทานอาหาร เป็นห้องที่อำนวยความสะดวก จัดไว้สำหรับใหผ้ ู้เข้าร่วมสัมมนาได้รว่ ม
รบั ประทานอาหารอาจเปน็ ทัง้ หอ้ งรับประทานอาหารเช้า กลางวนั และหารเยน็ ในพนื้ ทเ่ี ดียวกัน
3.7 อุปกรณ์เครื่องมือ ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องปริ้นเตอร์ และวัสดุอื่น ๆที่จำเป็นในการ
จัดทำเอกสารประกอบ คำบรรยายเอกสารสรุปการจัดสัมมนา ตลอดจนเอกสารและแบบฟอร์มอื่น ๆ ที่ใช้ใน
การสัมมนา
3.8 อุปกรณ์ดา้ นเครื่องเขียนเครื่องใช้สำนกั งานท่ีมีความจ้าเป็นมีไวใ้ ช้ ไดแ้ ก่ดนิ สอ ปากกา ปากกา
สำหรับเขียนกระดานไวท์บอร์ด น้ำยาลบค้าผิด กระดาษถ่ายเอกสารกระดาษใช้พิมพ์งาน เครื่องเขียนไม้
บรรทัด คลปิ เสยี บป้ายชอ่ื ตดิ หนา้ อกผู้เขา้ ร่วมสมั มนา คณะกรรมการแตล่ ะฝ่าย ฯลฯ อปุ กรณ์เหล่าน้ีควรติดไว้
ให้พรอ้ มทีจ่ ะใช้งาน ได้ทันทที ตี่ อ้ งการ
4. องค์ประกอบด้านเวลา การกำหนดเวลาสำหรับการสัมมนา เป็นองค์ประกอบที่สำคัญประการหนึ่ง
ผู้จัดการสมั มนาควรวางแผนให้ดวี ่าควรจะใชว้ ันใดเวลาใด ดำเนนิ การจัดการสัมมนาจงึ จะเหมาะสมเพ่ือให้เกิด
ความสะดวกแก่ทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นผู้จัดสัมมนา จะได้มีเวลาสำหรับการเตรียมการ วิทยากร และผู้เข้าร่วม
สัมมนาสะดวกท่ีจะมาสัมมนาจึงควรคำนึงถงึ ในเรือ่ ง ดังต่อไปนี้
4.1 ระยะเวลาสำหรบั การเตรียมการ ผู้จัดสมั มนาควรวางแผนปฏิบตั ิงานให้ชัดเจนว่างานแต่ละอย่าง
แต่ละประเภทที่ต้องทำนั้นจะใช้เวลานานเท่าใดจึงจะแล้วเสร็จ จนถึงวันที่จะต้องจัดสัมมนาเพราะงาน
บางอย่างต้องทำล่วงหน้าก่อน เช่น การประชุมวางแผนจัดทำโครงการ การวางแผนศึกษาดูงานนอกสถานที่
ประกอบการสัมมนา วางแผนเกี่ยวกับวิทยากร การจัดสถานที่ งบประมาณ และการวางแผนการประเมินผล
เป็นต้น ระยะเวลาสำหรับการดำเนินการบางเรื่องอาจใช้เวลามาก บางเรื่องอาจใช้เวลาน้อย บางเรื่องต้องทำ
อย่างต่อเนื่อง ผู้จัดทำสัมมนาจึงควรท่ีจะได้วางแผนไว้อย่างรอบคอบ มีการคาดคะเนสถานการณ์ให้ดีจะ
สามารถเตรยี มการให้ทนั ตามกำหนดได้
4.2 การเชิญวทิ ยากร เป็นเร่อื งสำคัญอีกเรือ่ งหน่ึง ที่ผ้จู ัดสัมมนา ควรจะวางแผนใหด้ ี เพราะวิทยากร
บาง ทา่ นเป็นผ้ทู ี่มชี ื่อเสียงมากมักจะไมว่ า่ งบางท่านต้องติดต่อลว่ งหนา้ ในบางคร้ังถึงกับต้องเล่ือนวันจัดสัมมนา
12
ออกไป เพื่อจะให้ตรงกับวันที่วิทยากรว่าง เพราะหวังว่าจะได้วิทยากรที่มีคุณภาพมาบรรยาย กรณีเช่นนี้ เกิด
น้อยครั้งมาก เพราะไม่จำเป็นจริง ๆ ก็จะไม่เปลี่ยนวัน เวลา ที่กำหนดจัดสัมมนาไว้ หากได้ออกหนังสือเชิญ
ผเู้ ขา้ รว่ มสมั มนาไดท้ ราบวัน เวลาแล้ว เพราะเป็นการยุ่งยากสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย รวมทัง้ ยังเสียเวลาในการแจ้ง
ให้ผู้ร่วมสัมมนาไดท้ ราบวันเวลาใหม่ หากวิทยากรที่ได้เชิญไปไม่มา ควรเปลี่ยนวิทยากรที่มคี ุณสมบัตใิ กล้เคยี ง
แทน
4.3 วัน เวลา ที่ใช้ในการสัมมนาจะใช้กี่วัน ขึ้นอยู่กับเรื่องที่สัมมนาว่ามีขอบเขตกว้างมาน้อยเพียงใด
อาจเพียงวันเดียว บางเรื่องใช้เวลาสามวัน บางเรื่องใช้เวลาถึงห้าวันหรืออาจมากกว่านั้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความ
น่าสนใจ ความจำเป็นของเรื่องที่ต้องการรู้ หรือขึ้นอยู่กับปัญหางานที่ประสบอยู่พอดี บางเรื่องอาจต้องมี
กิจกรรมเสริม เช่น การศึกษาดูงานประกอบการสมั มนาในเร่ืองที่เก่ียวข้อง ข้อควรสังเกตในการใช้เวลาเพือ่ จดั
สัมมนา หากใช้เวลาน้อยเกินไปอาจส่งผลทำให้การอภิปรายการแสดงความคิดเหน็ ไม่กว้างขวางแต่ถ้าหากใช้
เวลามากเกินไปอาจส่งผลทำให้บรรยากาศของการสัมมนาน่าเบื่อ ที่เป็นประโยชน์น้อย หรือ อาจต้องใช้
งบประมาณเพิ่มขึ้นโดยใช่เหตุ ดังนั้นในการกำหนดวันเวลาที่ใช้ในการสัมมนา จึงควรกำหนดให้ทันต่อการ
เตรียมการในทุก ๆ เรื่อง จัดวันเวลาให้พอดีกับหัวข้อเรื่องที่ใชใ้ นการสัมมนา และสามารถปรับยืดหยุ่นได้บ้าง
ตาม ความเหมาะสม
5. องค์ประกอบด้านงบประมาณ การดำเนินงานจัดสัมมนาย่อยมีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการดำเนินงาน
ค่อนข้างมาก คณะผู้ดำเนนิ งานจัดทำสมั มนาต้องวางแผนงานด้านคา่ ใชจ้ ่ายให้ดดี ว้ ยความรอบคอบ เพ่ือให้การ
ประมาณค่าใช้จ่ายอยู่ในภาวะเพียงพอไม่ขาด หรือติดขัดในค่าใช้จ่ายฉุกเฉินซึ่งอาจเกิดภายหลังได้ ข้อควร
คำนึงถงึ การจัดทำงบประมาณค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานจดั สัมมนาท่ีเรียกวา่ การจดั ทำงบประมาณ ได้แก่
5.1 จัดประมาณการค่าใช้จ่าย แต่ละฝ่ายที่ทำหน้าที่รับผิดชอบงาน จัดประมาณการค่าใช้จ่ายท่ีตอ้ ง
ใช้จ่ายทั้งหมดของฝ่ายตนเองออกมาในรูปของบัญชีค่าใช้จ่าย นำเสนอฝ่ายเหรัญญิกและที่ประชุม เพื่อ
พิจารณาถึงความเหมาะสมสำหรับค่าใช้จา่ ยแต่ละรายการของแต่ละฝ่ายก่อนโดยให้มีรายละเอียดใหม้ ากที่สุด
อย่าให้ต้องตกหลน่ ในรายการใดรายการหนึ่งไป
5.2 คา่ ใช้จา่ ยตา่ ง ๆ ทเี่ ก่ียวข้องกบั วสั ดุอุปกรณ์ที่จำเป็นตอ้ งจดั ซื้อ ควรมีรายการราคาตามทอ้ งตลาด
หรืออาจใช้วิธีสบื ราคาวัสดอุ ุปกรณ์เหล่านั้นกอ่ น เพื่อการประมาณคา่ ใช้จ่ายจะไมเ่ กิดข้อผิดพลาดการวางแผน
ค่าใช้จ่ายจึงควรคำนงึ ถงึ คา่ ใช้จ่ายท่ีคาดวา่ จะเพ่มิ ข้ึนได้โดยอาจนำไปใส่ในค่าใช้จา่ ยอ่ืน ๆ
5.3 จัดทำงบประมาณรวม การวางแผนเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายของแต่ละฝ่ายเห็นชอบจากที่ประชุม แล้ว
จงึ จัดทำงบประมาณรวมทั้งโครงการ แลว้ เสนอผูร้ ับผดิ ชอบหรือเสนอฝา่ ยบรหิ ารอนุมตั ิกรณที ี่เป็นการสัมมนา
เพื่อพัฒนาองค์กร ข้อสังเกตในการวางแผนงบประมาณค่าใช้จ่ายของการจดั สมั มนาควรดำเนินการ ดังน้ี
5.3.1 จัดประชุมแต่ละฝ่ายที่รับผิดชอบ มอบหมายงานในหน้าที่ต่าง ๆ จัดทำแผนงบประมาณ
ค่าใช้จ่ายของฝา่ ยตนขนึ้ มา นำเสนอตอ่ ทปี่ ระชุมเพ่ือพจิ ารณารว่ มกนั
~ 13 ~
-
5.3.2 เมื่องบประมาณแต่ละฝ่ายได้รับการเห็นชอบแล้วต้องนำงบค่าใช้จ่ายของแต่ละฝ่ายมาลงใน
โครงการ โดยแยกคา่ ใชจ้ า่ ยทีต่ ้องใช้จา่ ยท่ตี ้องจ่ายจรงิ เป็นเงนิ เทา่ ใด
5.3.3 อาจแนบรายละเอียดค่าใช้จ่ายของแต่ละฝ่ายไปพร้อมโครงการเพื่อให้ฝ่ายบริหารหรือ
ผู้บังคับบัญชาพิจารณาอนุมัติ ในกรณีที่แต่ละฝ่ายต้องการเบิกเงินจากเหรัญญิก เพื่อนำไปใช้จ่ายในฝ่ายของ
ตน เหรญั ญกิ ตอ้ งจัดทำบญั ชรี ายรบั รายจ่ายรวมท้ังมีเอกสารการเบกิ จ่ายเงิน และลายเซ็นของผู้รับเงินด้วยท้ังนี้
เพื่อเป็นหลักฐานในการปฏิบัติหน้าที่ที่ที่รับผิดชอบ สรุปได้ว่า องค์ประกอบของการสัมมนามี 5 ด้าน
ประกอบดว้ ย องคป์ ระกอบดา้ นเนอื้ หา องค์ประกอบดา้ นบุคลากร องคป์ ระกอบดา้ นสถานท่ี องคป์ ระกอบด้าน
เวลา และองค์ประกอบด้านงบประมาณ ล้วนเป็นสิ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะไม่ว่าจะเป็น
องค์ประกอบด้านเนื้อหา องค์ประกอบด้านบุคลากร องค์ประกอบด้านสถานที่ เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ
องค์ประกอบด้านเวลา และองค์ประกอบด้านงบประมาณ ใช้ประกอบในการจัดสัมมนาเพื่อเป็นกรอบแนวคิด
ในการดำเนนิ การจดั สมั มนาให้สมบูรณ์แบบ และตอ่ เนอ่ื งจนบรรลุตามวัตถุประสงค์
รปู แบบการจัดสัมมนา
ความหมายของรปู แบบ
คำว่า “รปู แบบ” หรือ Model เป็นคำทีใ่ ช้เพอ่ื ส่ือความหมายหลายอย่าง ซ่ึงโดยทว่ั ไปแล้วรปู แบบจะ
หมายถึงสิ่งหรือวิธีการดำเนินงานที่เป็นต้นแบบอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น แบบจำลองสิ่งก่อสร้างรูปแบบในการ
พฒั นาชนบท เป็นต้น พจนานกุ รม Contemporary English ของ Longman (1981, p. 668) ใหค้ วามหมาย
ไว้ 5 ความหมาย แตโ่ ดยสรปุ แล้วจะมี 3 ลักษณะ คือ
1. Model หมายถงึ สิ่งซึ่งเป็นแบบย่อส่วนของของจรงิ ซง่ึ เทา่ กับ แบบจำลอง
2. Model ท่ีหมายถงึ สง่ิ ของหรอื คนท่นี า้ มาใชเ้ ปน็ แบบอยา่ งในการดำเนินการบางอยา่ งเชน่ ครตู ้นแบบ
3. Model หมายถงึ รุน่ ของผลติ ภณั ฑ์ตา่ ง ๆ
เยาวดี วบิ ลู ยศ์ รี ( 2536, น. 25) รูปแบบ คือ วิธีท่ีบุคคลใดบุคคลหนึ่งได้ถา่ ยทอดความคดิ ความเขา้ ใจ
ตลอดจนจิตนาการของคนที่มีต่อปรากฏการณ์ หรือเรื่องราวใดๆ ให้ปรากฏในลักษณะของการสื่อสารใน
ลักษณะใดลกั ษณะหนง่ึ รปู แบบจงึ เปน็ แบบจำลองในลักษณะเลียนแบบหรอื เป็นตัวแบบทใี่ ชเ้ ป็นแบบอย่างเปน็
แผนผังหรอื แบบแผนของการดำเนนิ การอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ต่อเน่อื งด้วยความสัมพนั ธเ์ ชิงระบบ
สวัสดิ์ สุคนธรังสี ( 2520, น. 206) ให้ความหมายรูปแบบ หมายถึง ตัวแทนที่สร้างขึ้นเพื่ออธิบาย
พฤตกิ รรมของลักษณะบางประการของส่งิ ที่เป็นจริงอย่างหนง่ึ หรือเปน็ เครือ่ งมือทางความคดิ ที่บุคคลใช้ในการ
หาความรู้ความเขา้ ใจปรากฏการณ์
สุบรรณ์ พันธ์วิศวาส และชัยวัฒน์ ปัญจพงษ์ ( 2522, น. 22-23) ใช้คำว่า แบบจำลอง (Model)
เท่ากับการย่อหรือเลียนแบบความสัมพันธ์ที่ปรากฏอยู่ในโลกแห่งความเป็นจริงของปรากฏการณ์ใด
14
ปรากฏการณ์หนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยในการจัดระบบความคิดในเรื่องนั้นให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นและเป็น
ระเบียบ
อาจกล่าวได้ว่า รูปแบบหมายถึงแบบจำลองอย่างง่ายหรือย่อส่วนของปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่ผู้เสนอ
รูปแบบดังกล่าวได้ศึกษาและพัฒนาขึ้นมาเพื่อแสดงหรืออธิบายปรากฏการณ์ให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น หรือใ นบาง
กรณีอาจจะใช้ประโยชน์ในการทำนายปรากฏการณ์ทีจ่ ะเกิดขึ้นตลอดจนอาจใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการ
อยา่ งใดอยา่ งหน่งึ ต่อไป
จากความหมายทั้งหมดสามารถสรุปได้ว่า รูปแบบ หมายถึง สิ่งที่สร้างหรือพัฒนาขึ้นจากแนวคิด
ทฤษฎีที่ได้ศึกษามาของผู้สร้างเองเพื่อถ่ายทอดความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ โดยใช้สื่อที่ทำให้เข้าใจได้ง่าย
และกระชับถูกต้อง และสามารถตรวจสอบเปรียบเทียบกับปรากฏการณ์จริงได้เพื่อช่วยให้ตนเองและคนอ่ืน
สามารถเขา้ ใจไดช้ ัดเจนขึ้น
รปู แบบของสมั มนา
การสัมมนาแต่ละครั้งมีกิจกรรมที่ใช้ในขณะสัมมนาหลายกิจกรรม เช่น การอภิปรายการประชุมกลุ่ม
ย่อย และเทคนิคการประชุมแบบต่างๆ สามารถเลือกใช้เป็นแนวทางในการสัมมนาตามความเหมาะสมของ
รปู แบบและสถานการณ์น้ันๆ เทคนิคและวธิ กี ารต่างๆ ในการสัมมนามดี ังนี้
พจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถาน (พ.ศ. 2525 น. 979) การอภิปรายตามความหมายในพจนานุกรม
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้ความหมายไว้ว่า "การอภิปราย หมายถึง การพูดจาหรือการ
ปรกึ ษาหารือกนั "
สมพงศ์ เกษมสิน (2519, น. 5) การอภปิ ราย หมายถึง การที่บุคคลกลมุ่ หนึ่งมีเจตนาจะพิจารณาเรื่อง
ใดเรื่องหนึ่งปรึกษาหารือกัน ออกความคิดเห็นเพื่อแก้ปัญหาที่มีอยู่ หรือเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ความ
คิดเห็น ถ่ายทอดประสบการณ์ที่ได้รับให้ได้ทราบซึ่งในที่สุดกม็ ีการตัดสนิ ตกลงใจร่วมกนั รูปแบบการจัดสัมมนา
โดยใชเ้ ทคนิคอื่นๆ
1. การบรรยาย ( Lecture of Speech) เป็นวิธีการที่เกา่ แกแ่ ต่ยงั คงเปน็ ท่ีนิยมใชก้ ันอยู่มาก เพราะว่า
จัดได้รวดเร็วใช้ผู้ทรงคุณวุฒเิ พียงรายเดียวต่อผู้ฟังจำนวนมาก แต่ก็เป็นเทคนิคทีน่ ่าเบื่อท่ีสุดสำหรับผู้ฟังหรือผู้
ที่เข้าอบรม เพราะเป็นการพูดในทิศทางเดียวผู้ฟังไม่มีโอกาสได้ร่วมในการบรรยาย ซึ่งจุดอ่อนที่จริงไม่ได้อยู่ที่
วิธีการแต่จะอยู่ที่ตัวผู้บรรยายซึ่งจะต้องรู้จริงในเรื่องนั้นๆ จึงจะสามารถถ่ายทอดออกมาได้เร้าใจและสร้าง
ความสนใจแกผ่ ู้ฟัง
2. การอบรมระยะส้นั ( Short Courses) เป็นการฝึกอบรมหรือการเรียนบางวิชาอย่างเร่งรดั ภายใน
ระยะเวลาอนั สัน้ อาจะเป็นตง้ั แต่ 1 วนั ถึง 2 สปั ดาหก์ ารเรยี นเป็นแบบงา่ ยๆ และเข้มขน้ น้อย การเรยี นระยะ
สนั้ มักจะเปน็ การเรยี นรเู้ พิ่มเติมในวิชาเฉพาะสาขาของคนบางกลมุ่ ซ่งึ ทำงานในสาขาน้ันๆ เปน็ ประจำตัวอย่าง
ของ short courses เช่น เร่ืองการธนาคารของนายธนาคาร
~ 15 ~
-
3. การปฐมนิเทศ ( Orientation Training) เป็นการให้ความรู้แก่สมาชิกใหม่ เกี่ยวกับเรื่องราวของ
หน่วยงานเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน อาจจะเป็นนโยบาย วัตถุประสงค์สภาพแวดล้อม หรือระเบียบ
ข้อบังคับของหน่วยงาน ลักษณะการจัดก็คล้ายกับการสัมมนาอบรมคือ มีวิทยากรบรรยายแนะน้าให้ความรู้
ต่างๆ ตามทกี่ ำหนดไว้ข้อดขี องการปฐมนิเทศคือ ทำให้สมาชิกมคี วามค้นุ เคยและรู้จกั หนว่ ยงานดีย่งิ ขึ้น แต่การ
ปฐมนเิ ทศมีเวลาจำกัด บางครัง้ สมาชิกก็ไดร้ บั ข้อมลู นอ้ ยเกนิ ไป
4. การสาธิต ( Demonstration) เป็นการแสดงหรือการน้าของจริงมาแสดงวิธีการให้ได้เห็นการ
ปฏิบัติจริงเหมาะกับงานกลุ่มเล็กๆ นิยมใช้กับหัวข้อวิชาที่มีการปฏิบัตเิ ช่น การอบรมเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือ
หรืออุปกรณต์ า่ งๆ
5. สถานการณ์จำลอง ( Simulation) เป็นการจำลองสถานการณ์ในชีวิตจริง โดยจัดสถานการณ์ขึ้น
แล้วกำหนดบทบาทของสมาชิกให้ท้าตามบทที่ได้รับมอบหมาย โดยสมาชิกทั้งกลุ่มตอ้ งร่วมกันเล่นหรืออาจจะ
แบ่งเป็นกลุ่มเล็กหลายๆกลุ่ม หลังจากนั้นกม็ ีการอภิปรายสถานการณ์และเหตกุ ารณ์เพื่อนา้ ผลไปใช้ประโยชน์
ข้อดีของการประชุมแบบนี้ คือ เป็นการให้สมาชิกได้แสดงออกและร่วมกิจกรรมกันช่วยให้สมาชิกได้รู้จักคิด
อย่างมีเหตุผลและมีจุดมุ่งหมาย ข้อเสียคือต้องมีการเตรียมตัวทำให้เสียเวลาและประเมินผลสมาชิกแต่ละคน
ไมไ่ ด้
6. การแบ่งกลุ่มเล็ก (Knee Group) เป็นการอภิปรายกลุ่มย่อยตั้งแต่ 3 - 5 คน ในเรื่องใดๆ ท่ี
กำหนดให้หรือเรือ่ งทส่ี นใจรว่ มกนั เพื่อสรปุ ผลแนวทางการแก้ปัญหา แสวงหาข้อยตุ ภิ ายใตก้ ารนำของประธาน
กลมุ่ มีเลขาเปน็ ผบู้ นั ทึกและสรปุ ขอ้ เสนอแนะ
ลักษณะการสัมมนาท่ดี ี
1. ผเู้ ขา้ ร่วมสัมมนาทราบวตั ถุประสงค์ของการสัมมนา
2. จัดให้มีกจิ กรรมในการแกป้ ัญหาร่วมกนั
3. จัดให้มีกิจกรรมในการเรียนร้รู ว่ มกัน
4. จัดใหม้ ีเวทแี ลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคดิ เหน็ และขอ้ เท็จจริงร่วมกนั
5. ผเู้ ขา้ รว่ มสมั มนามีทัศนคติท่ดี ีตอ่ ปญั หา ข้อเทจ็ จรงิ ผู้เข้ารว่ มสมั มนา และตนเอง
6. ผเู้ ขา้ ร่วมสัมมนาต้องใช้ความคดิ รว่ มกนั ในการแกป้ ัญหา
7. มีผู้นำท่ีดี
8. ผู้เขา้ รว่ มสัมมนาเป็นผฟู้ งั ที่ดี
9. ผ้เู ขา้ ร่วมสมั มนาเปน็ ผพู้ ูดทดี่ ี
10. ผเู้ ข้าร่วมสัมมนาทุกคนเป็นผูม้ ีส่วนได้สว่ นเสียในการดำเนินการประชมุ สัมมนา เพ่ือให้งานสมั มนา
บรรลเุ ป้าหมา
16
สรปุ
การสัมมนา หมายถงึ การท่คี ณะบคุ คล ซง่ึ มคี วามสนใจร่วมกนั มาร่วมแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยน
ความรู้ ประสบการณ์โดยอาศยั การคน้ คว้าเปน็ หลักฐานเพื่อหาข้อสรปุ ในเร่อื งใดเรอื่ งหน่ึง อันจะนำผลของการ
สัมมนาไปใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจ แก้ไขปัญหา ตลอดจนการกำหนดนโยบาย ทั้งนี้การดำเนินการ
สัมมนามีองค์ประกอบในด้านเนื้อหา ด้านบุคลากร ด้านสถานที่ เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่างๆ ด้านเวลา และ
ด้านงบประมาณ รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องกับการสัมมนาควรจะต้องยึดถือและปฏิบัติตามหลักโดยการบริหาร
จัดการสมั มนาทม่ี ีประสิทธิภาพจะชว่ ยให้ระบบและวิธกี ารทำงานมปี ระสิทธิภาพสงู ข้ึน
~ 17 ~
-
บทท่ี 2
ความรใู้ นการเขยี นโครงการในการจัดสมั มนาบทความวิชาการการศกึ ษาอิสระ
18
การเขียนโครงการในการจดั สัมมนาโครงรา่ งการศกึ ษาอิสระ
โครงการ หมายถึง การวางแผนล่วงหน้าที่จัดทำขึ้นอย่างมีระบบประกอบด้วยกิจกรรมย่อยหลาย
กิจกรรมที่ต้องใช้ทรัพยากรในการดำเนินงานและคาดหวังที่จะได้ผลตอบแทนอย่างคุ้มค่าแต่ละโครงการมี
เป้าหมายเพื่อการผลิตหรือการให้บริการเพื่อเพิ่มพูนสมรรถภาพของแผนงานการเขียนโครงการจึงเป็นส่วน
สำคญั สว่ นหน่งึ ของการวางแผนทจ่ี ะทำให้องค์กรบรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย
ลักษณะของโครงการทด่ี ี
1. สามารถแกป้ ญั หาขององค์กรหรือหน่วยงานน้นั ๆได้
2. มรี ายละเอยี ดวัตถุประสงคเ์ ปา้ หมายต่างๆชัดเจน สามารถดำเนินงานได้
3. รายละเอยี ดของโครงการต่อเนอื่ งสอดคล้องสมั พันธก์ ัน
4. ตอบสนองความตอ้ งการของกลุ่มชนสังคมและประเทศชาติ
5. ปฏบิ ตั ิแล้วสอดคล้องกับแผนงานหลกั ขององค์กร
6. กำหนดขึ้นอย่างมีขอ้ มูลความจรงิ และเป็นข้อมลู ทไ่ี ดร้ ับการวเิ คราะห์อย่างรอบคอบ
7. ไดร้ บั การสนับสนนุ จากผู้บริหารทกุ ดา้ น โดยเฉพาะด้านทรพั ยากรทีจ่ ำเปน็
8. มรี ะยะเวลาในการดำเนินงานแน่นอน ระบุวนั เวลาเรม่ิ ต้นและสิน้ สุด
9. สามารถติดตามประเมินผลได้
ลักษณะสำคัญของโครงการ
การเขียนโครงการมีลักษณะการเขียนแตกต่างไปจากการเขียนประเภทอื่นๆ โครงการที่ดีควรมี
ลกั ษณะดังตอ่ ไปน้ี
1.ต้องมีระบบ โครงการต้องประกอบด้วยส่วนต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์เก่ียวข้องเป็นกระบวนการ ถ้า
ส่วนใดเปลย่ี นแปลงไป จะเกดิ การเปลี่ยนแปลงในส่วนอ่นื ๆตามไปดว้ ย
2. ต้องมีวัตถุประสงค์ชัดเจน โครงการต้องกำหนดวัตถุประสงค์สอดคล้องกับความเป็นมาของ
โครงการ มีความเปน็ ไปไดช้ ดั เจน และเปา้ หมายของโครงการตอ้ งประกอบดว้ ยเชงิ ปริมาณและเชิงคุณภาพ
3. ต้องเปน็ การดำเนนิ งานในอนาคตเนื่องจากการปฏิบัติงานทีผ่ ่านมามีข้อบกพร่อง จงึ ควรแก้ไขและ
ปรับปรงุ โครงการจงึ เปน็ การดำเนินงานเพือ่ อนาคต
~ 19 ~
-
4. เป็นการทำงานชั่วคราว โครงการเป็นการทำงานเฉพาะกิจเป็นคราวๆ เพื่อแก้ไขปรับปรุง และ
พฒั นาไม่ใชก่ ารทำงานทเี่ ปน็ การทำงานประจำ หรอื งานปกติ
5. มีกำหนดระยะเวลาที่แน่นอนโครงการต้องกำหนดระยะเวลาที่แน่นอน โดยกำหนดเวลาเริ่มต้น
และเวลาที่สิ้นสุดให้ชัดเจน ถ้าไม่กำหนดเวลา หรือปล่อยให้โครงการดำเนินไปเร่ือยๆ ย่อมไม่สามารถประเมนิ
ผลสำเรจ็ ไดซ้ ่งึ จะกลายเป็นการดำเนินงานตามปกติ
6. มีลักษณะเป็นงานที่เร่งด่วน โครงการต้องเป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อสนองนโยบายเร่งด่วนท่ี
ต้องการจะพฒั นางานใหก้ ้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ทนั ตอ่ เหตุการณ์ หรอื เปน็ งานใหม่
7. ต้องมีต้นทุนการผลิตต่ำ การดำเนินงานตามโครงการต้องมีการใช้ทรัพยากรหรืองบประมาณ
โครงการจะมีประสทิ ธภิ าพต่อเมอ่ื มีการลงทุนน้อย แตไ่ ด้รับประโยชน์สงู สุด
8. เป็นการริเริ่มหรือพัฒนางาน โครงการต้องเป็นความคิดริเริ่มที่แปลกใหม่เพื่อแก้ปัญหาและ
อปุ สรรค และพัฒนางานใหเ้ จริญกา้ วหน้า
ขั้นตอนการเขยี นโครงการโครงร่างการศึกษาอสิ ระ
1.ชอื่ โครงการ เป็นช่ือที่สัน้ กระชบั เขา้ ใจง่าย และสอื่ ได้ชัดเจนวา่ เน้ือหาสาระของสง่ิ ทจ่ี ะทำคอื อะไร
2. หลักการและเหตุผล หรือความสำคัญของโครงการ บอกสาเหตหุ รือปญั หาทท่ี ำใหเ้ กิดโครงการน้ี
ขึ้น และทสี่ ำคัญ คอื ต้องบอกได้ว่า ถ้าไดท้ ำโครงการแลว้ จะแกไ้ ขปัญหานต้ี รงไหน การเขียนอธบิ ายปัญหาที่มา
โครงการควรนำข้อมูลสถานการณ์ปัญหาจากหน่วยงานหรือพื้นที่ที่จะทำโครงการมาแจกแจงให้ผู้พิจารณา
โครงการเกิดความเขา้ ใจชดั เจนขึ้น
3. วตั ถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายของโครงการ เปน็ การบอกจุดหมายในการทำโครงการ และผลทจี่ ะ
เกิดขึน้ จากการทำโครงการ คำวา่ วตั ถปุ ระสงค์ และเปา้ หมายมีความแตกต่างกัน ดังนี้
- วตั ถุประสงค์ หมายถงึ สภาพท่จี ะทำให้เกดิ ข้ึนใหไ้ ดใ้ นชว่ งการทำโครงการ และเปน็ ข้นั ตอน
หนึ่งของการไปใหถ้ งึ เปา้ หมายทีว่ างไว้
- เป้าหมายของโครงการหมายถงึ สภาพท่อี ยากใหเ้ กิดข้ึนในอนาคตทไ่ี กลกวา่ เมื่อโครงการจบ
ลง รับปากไม่ได้ว่าจะเกิดได้ภายในระยะเวลาโครงการแต่เป็นทิศทางที่ต้องไปให้ถึง การเขียนเป้าหมายต้อง
ชัดเจน สามารถระบผุ ลทีจ่ ะเกิดข้นึ หลงั โครงการจำนวนเท่าไร กลุ่มเป้าหมายมีใครบ้าง
4. กิจกรรม และกระบวนการดำเนนิ งาน เพ่อื ใหไ้ ปสูเ่ ป้าหมายตามขอ้ 3 ใหร้ ะบวุ ่าจะทำอะไรบ้าง
แต่ละกจิ กรรมมขี ้ันตอนและกลวิธีทีจ่ ะทำให้สำเร็จสู่เป้าหมายอย่างไร รวมทง้ั กจิ กรรมท้ังหมดมีความเก่ียวข้อง
สนับสนุนกนั อย่างไร กิจกรรมท่ดี ีต้องสอดคล้องกับวิถีชีวติ และสภาพความเป็นอยู่จริงในพ้นื ท่ี โครงการควรจะ
เป็นกิจกรรมที่ไม่เลื่อนลอยสวยหรูเกินกว่าจะทำได้จริง ควรเกิดจากความคิดความร่วมแรงร่วมใจจาก
ผเู้ กี่ยวข้อง และผทู้ ีเ่ ป็นกลุม่ เป้าหมายเอง
5. กลุม่ เป้าหมาย พ้ืนที่ดำเนนิ งาน และระยะเวลาดำเนินงาน อธิบายให้ชดั เจนว่าโครงการน้ีจะ
ทำที่ไหน เริ่มต้นในช่วงเวลาใดและจบลงเมื่อไร ใครคือกลุ่มเป้าหมายของโครงการ หากกลุ่มเป้าหม ายมี
หลายกล่มุ ใหบ้ อกชัดลงไปวา่ ใครคือกลุ่มเป้าหมายหลัก ใครคอื กล่มุ เปา้ หมายรอง
20
6. ผลที่คาดวา่ จะได้รับคอื ความเปลีย่ นแปลงทจี่ ะเกดิ ข้นึ หลังจากโครงการจบลงโดยแยกใหเ้ ห็น
ชัดเจนระหว่างผลที่เกิดโดยตรงทันทีที่สิ้นสุดโครงการ และผลที่จะเกิดตามมาในระยะยาว ถ้าหากผู้เสนอ
โครงการแสดงใหเ้ ห็นไดช้ ัดเจนว่าความเปลี่ยนแปลงที่เกดิ จากโครงการน้ีไม่ได้เป็นแค่ไฟไหม้ฟาง แต่จะเป็นเชื้อ
ทน่ี ำสู่การเปลย่ี นแปลงใหเ้ กิดการสร้างสขุ ภาพต่อไปอยา่ งต่อเน่ือง
7. องค์กรร่วมดำเนินงานหรือ ภาคีดำเนินงานถ้ามีองค์กรร่วมดำเนินโครงการมากกว่าหนึ่งองค์กร
ต้องระบุชื่อให้ครบถ้วนและแจกแจงให้ชัดเจนด้วยว่าองค์กรที่ร่วมโครงการแต่ละฝ่ายจะเข้ามามีส่วนร่วม
โครงการในส่วนใดซ่งึ จะเปน็ ข้อมูลสะทอ้ นใหเ้ หน็ ว่าโครงการจะประสบผลสำเรจ็ และเกิดผลต่อเน่ือง
8. แผนปฏิบตั ิการเป็นตารางท่ีแจกแจงให้เห็นว่าผดู้ ำเนินโครงการวางแผนลงมอื ทำกจิ กรรมในชว่ ง
ดำเนนิ โครงการต้งั แตเ่ ร่ิมตน้ จนจบโครงการว่าแต่ละกิจกรรมจะเกิดขน้ึ เมื่อไรโดยเรยี งลำดบั ตามช่วงเวลา
9. งบประมาณ และแหล่งท่มี าของทุนดำเนนิ โครงการเปน็ สว่ นท่แี สดงยอดเงนิ งบประมาณ
พร้อมแจกแจงค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ หากมีแหล่งทุนหลายแห่งให้ข้อมูลที่โปร่งใสด้วยโดยระบุ
รายละเอียดอย่างชัดเจนว่ารับทุนจากแหล่ใดบ้างจำนวนเท่าไร และจากแต่ละแหล่งแบ่งสรรไปใช้กับ
งบประมาณส่วนใด
10. การบรหิ ารจัดการโครงการเปน็ การอธบิ ายให้ชัดเจนว่าโครงการมผี ู้ดำเนินการก่ีฝ่ายแตล่ ะ
ฝ่ายมีบทบาท หน้าที่ ความรบั ผดิ ชอบอย่างไร และจะประสานงานในสว่ นท่ีเก่ยี วข้องอย่างไร
11. การตดิ ตามประเมินผลโครงการหลังเร่ิมดำเนนิ โครงการควรมกี ารติดตามประเมนิ ผลวา่ แต่
ละกจิ กรรมของโครงการก่อใหเ้ กิดผลตามวตั ถุประสงคห์ รือไม่หากพบปญั หากจ็ ะสามารถแก้ไขได้ทนั เวลาดังนั้น
จึงต้องนำเสนอไว้ว่าจะติดตามประเมินด้วยวิธีใดทั้งในขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมและหลังจบโครงการแล้ว
พรอ้ มทัง้ ระบุตวั ช้วี ดั ความสำเรจ็ ทงั้ ในแงป่ รมิ าณและคุณภาพวา่ คืออะไร
12. สรุปประวัติการทำงานของคณะทำงาน หรือองคก์ รผรู้ ับผิดชอบโครงการหากท้ายเอกสาร
ได้แนบประวัติผลงานของผู้เสนอโครงการและคณะผู้ดำเนินงานประกอบจะเป็นข้อมูลสำคัญส่วนหนึ่งในการ
สร้างความน่าเชือ่ ถอื และการยอมรับ
~ 21 ~
-
โครงการไมใ่ ชง้ บประมาณเงนิ รายได้คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
…………………………………………………………………………………………………………….
ชอื่ โครงการ
สัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระ ภายใต้หัวข้อ “อัตลักษณ์และความหลากหลายกับการพัฒนา สาม
จงั หวัดชายแดนใต้”
ประเภทโครงการ
HUSO 04 โครงการพัฒนาหลกั สตู รและการเรียนการสอน
หลักการและเหตผุ ล
การจัดสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระ ภายใต้หัวขอ้ “อัตลักษณ์และความหลากหลายกับการพัฒนา
สามจังหวดั ชายแดนใต้”ประจำปี 2564 เปน็ ความรว่ มมือของนักศึกษา โดยมีคณาจารย์หลักสูตรศิลปะศาสตร์
บัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เป็นที่ปรึกษา ซึ่งในการจัด
โครงการในครั้งนี้เป็นการจัดสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระ เพื่อพัฒนาให้นักศึกษาเรียนรู้กระบวนการและ
เพิ่มศักยภาพของการจัดสัมมนา และเพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงร่างการศึกษา
อิสระ ระหว่างผูท้ รงคุณวุฒิผู้นำเสนอ และผเู้ ข้าร่วมโครงการ ซึ่งนำไปสู่องค์ความรู้โดยใช้กระบวนการวิจัยเป็น
ฐานในการเรียนรู้ที่เชือ่ มโยงทฤษฎีและการปฏิบัตภิ ายใต้การแสวงหาความรู้จากงานวจิ ัยอยา่ งต่อเนื่องและเป็น
ระบบผ่านกระบวนการจัดสัมมนาเพื่อเรียนรู้กระบวนการวางแผนการด ำเนินงานภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของเชื้อ COVID-19 อีกทั้งยังเป็นการเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้และปรับตัวท่ามกลางสถานการณ์
โลกท่ีมีการเปลีย่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลา
จากสถานการณ์ข้างตน้ นักศึกษาและคณาจารย์ หลักสตู รศิลปะศาสตร์บณั ฑิต สาขาวชิ าพัฒนาสังคม
ได้เล็งเห็นและให้ความสำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาในการจัดสัมมนาท่ามกลางสถานการณ์
Covid-19 ซึ่งมีการปรับเปล่ียนเป็นรูปแบบ Online และเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับโครง
ร่างการศกึ ษาอสิ ระ โดยผลการจัดสัมมนาครัง้ น้ีมีความคาดหวังว่าจะสามารถสรา้ งองค์ความรู้ผ่านกระบวนการ
ต่างๆ ในการช่วยเหลือและพัฒนาสังคมที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคม และสามารถสร้างสรรค์
ผลงาน และนวัตกรรมในการพัฒนาสังคม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของคนใน
สังคมตอ่ ไป
วตั ถุประสงค์
1. เพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเก่ียวกับโครงร่างการศึกษาอิสระระหว่างผู้ทรงคุณวุฒิ
ผ้นู ำเสนอ และผู้เข้าร่วมโครงการ
2. เพื่อพฒั นาศกั ยภาพของนักศกึ ษาให้มีความสามารถเกี่ยวกับการจดั สมั มนา
22
ผู้รบั ผิดชอบโครงการ
นางสาวอาราฟตั บินดเุ หลม็ ตำแหน่งประธาน สาขาวชิ าพัฒนาสงั คม
สาขาวิชาพัฒนาสังคม
นางสาวปนัดดา ลิม่ วัฒนานุรักษ์ ตำแหน่งรองประธาน สาขาวิชาพัฒนาสงั คม
สาขาวชิ าพัฒนาสังคม
นางสาวอารดิ า ทงิ้ น้ำรอบ ตำแหน่งเลขานุการ สาขาวิชาพฒั นาสงั คม
สาขาวชิ าพฒั นาสงั คม
นายมูฮำหมอั อาฟิก ยา ตำแหน่งเลขานกุ าร สาขาวิชาพัฒนาสงั คม
สาขาวิชาพัฒนาสังคม
นางสาวอาฟฟี ะห์ อาบู ตำแหนง่ เหรัญญิก สาขาวชิ าพฒั นาสงั คม
สาขาวชิ าพัฒนาสังคม
นายโดม เกตุสง่า ตำแหนง่ พธิ ีการ สาขาวิชาพัฒนาสังคม
สาขาวชิ าพัฒนาสังคม
นายอดสิ รณ์ เทศอาเส็น ตำแหนง่ โสตทศั นูปกรณ์ สาขาวิชาพัฒนาสังคม
สาขาวชิ าพัฒนาสงั คม
นางสาวซไู มยะห์ ลาเตะ๊ ตำแหน่งโสตทัศนปู กรณ์ สาขาวิชาพัฒนาสังคม
สังกดั ภาควิชาสงั คมศาสตร์
นางสาวฟาซรี า เจะเลาะ ตำแหนง่ ประสานงาน สงั กดั ภาควชิ าสังคมศาสตร์
สงั กดั ภาควิชาสงั คมศาสตร์
นางสาวอานรี า แวเด็ง ตำแหนง่ ประสานงาน
นางสาวซูลฝา เจะเลาะ ตำแหนง่ ทะเบียน/วิชาการ
นางสาวมาซือนะห์ มะสะ ตำแหน่งทะเบยี น/วชิ าการ
นางสาวฟาดีละห์ เจะหะ ตำแหนง่ ทะเบยี น/วิชาการ
นางสาวกนกวรรณ สวุ รรรส ตำแหนง่ ประเมนิ ผล
นางสาวสุฮัยณี อาหวัง ตำแหนง่ ประเมนิ ผล
ดร.จริ ัชยา เจยี วก๊ก ตำแหนง่ อาจารย์
ดร.อลสิ า หะสาเมาะ ตำแหน่งอาจารย์
อาจารย์อับดลุ คอลกิ อรั รอฮมี ยี ์ ตำแหน่งอาจารย์
เป้าหมายของโครงการ
1.เป้าหมายเชงิ ปริมาณ
- นกั ศึกษาสาขาวชิ าพฒั นาสังคม เข้ารว่ มโครงการจำนวนไมน่ ้อยกว่า 50คน
- คณาจารย์ และผ้ทู รงคุณวุฒิเขา้ รว่ มโครงการจำนวนไมน่ อ้ ยกว่า 5 คน
2.เปา้ หมายเชงิ คุณภาพ
- นกั ศกึ ษาท่ีเข้ารว่ มโครงการไดแ้ ลกเปล่ียนเรียนร้ปู ระสบการณ์ทางดา้ นวชิ าการผ่านการนำเสนอโครง
รา่ งการศึกษาอสิ ระ
- นักศกึ ษาผู้จดั งานสัมมนาได้เรียนรูก้ ระบวนการจัดสมั มนาและสามารถนำความรูท้ ี่ไดจ้ ากการเข้าร่วม
ไปใช้ในงานสมั มนาอน่ื ๆ
~ 23 ~
-
ด้านผลผลิต (output)
1. เพือ่ เปน็ เวทใี นการเผยแพร่ผลงานวิชาการในกลุ่มสาขาต่าง ๆ
2. กระตุ้นใหเ้ กดิ การแลกเปลี่ยนความรรู้ ะหว่างกลุ่ม จากประสบการณ์ทไ่ี ดร้ ับเพื่อเพิ่มประสิทธภิ าพ
งานมากขึ้น
3. เพอื่ พัฒนาศักยภาพของตนเองให้มีความรู้ความสามารถในด้านวชิ าการ
ด้านผลลพั ธ์ (outcome)
1. เปน็ การกระตุ้นใหเ้ กิดการเรียนร้ภู ายในตัว
2. ผูเ้ ข้าร่วมมคี วามรู้เกี่ยวกบั การจัดสัมมนาการนำเสนอโครงร่างการศึกษาอิสระเพิ่มขน้ึ เพื่อเป็น
แนวทางในการจัดสัมมนาครั้งต่อไป
ความสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์
การทำงานเชงิ บรู ณาการ (ด้านการเรยี นการสอน และดา้ นการบริหารจดั การองค์กร)
การพฒั นาศกั ยภาพความเปน็ มอื อาชีพของบุคลากร
HUSO Engagement การค้นคว้าองค์ความรู้และให้บริการวิชาการบนความรับผิดชอบและประโยชน์ต่อ
สงั คม
ความเปน็ นานาชาติ และเครือขา่ ยความสัมพนั ธท์ ่ีเขม้ แขง็
การบริหารจัดการเพื่อความเป็นองคก์ รทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพสูง
ความสอดคล้องตามคุณลกั ษณะนักศกึ ษา (ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวัง)
ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม
ดา้ นความรู้และทักษะทางปัญญา
ด้านทักษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความรบั ผิดชอบ
ดา้ นทักษะการวิเคราะห์เชงิ ตวั เลข การส่ือสาร ละการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
สอดคล้องกับการดำเนินงานตามแนวทางการประกันคุณภาพ
1 ระดับ/เกณฑ์ คณะ (EdPEx) ระดับหลักสูตร (CUPT QA)
หนว่ ยงานสนบั สนุน (LEAN)
2 ตวั ชี้วัด การบริหารจดั การ อาจารย์/บคุ ลากร บณั ฑิต/ศิษยเ์ ก่า
นกั ศึกษา งานวิจยั บรกิ ารวชิ าการ
ทำนบุ ำรุงศลิ ปวัฒนธรรม อ่นื ๆ..................................................
24
สถานที่จัดโครงการ
คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปตั ตานี
หมายเหตุ : จัดในรูปแบบออนไลน์ (Zoom)
ระยะเวลาการดำเนนิ โครงการ
วันศกุ ร์ ที่ 20 สงิ หาคม 2564
ลกั ษณะการดำเนนิ โครงการ
โครงการสัมมนาโครงร่างการศึกษาอิสระครั้งนี้ได้ จัดขึ้นในระบบออนไลน์ โดยใช้ ZOOM Meeting
ID: 999 004 3026 เป็นสื่อกลางในการประชุม โดยภายในงานจัดให้มีวิทยากรผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ
เฉพาะด้านมาให้ความรู้และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็นตามวัตถุประสงค์ของโครงการและมีกิจกรรม
นำเสนอโครงร่างการศึกษาอิสระในหัวข้อต่างๆ ระหว่างผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้นำเสนอ และผู้เข้าร่วมโครงการโดยมี
การแลกเปล่ียนองค์ความรู้ท่นี ่าสนใจในการพฒั นาสังคม ซง่ึ เปน็ สว่ นหนึ่งของการพัฒนากระบวนการเรียนการ
สอน การวิจัย และนวัตกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาสู่การเป็นนักพัฒนาสังคมในอนาคตที่มี
องคค์ วามรู้อันจะนำมาประยกุ ตใ์ ช้ในการพัฒนาสังคมต่อไป
แผนปฏิบัตกิ ารโครงการ : วงจรการบรหิ ารงานคุณภาพ (PDCA)
กจิ กรรม Wk3 Wk14 Wk15 Wk6 Wk7 Wk8 Wk9
1.ขนั้ วางแผน (plan)
ประชุมแตง่ ต้ังคณะกรรมการ/วางแผน ✓
กำหนดรปู แบบโครงการ
2.ข้นั ปฏิบตั ติ ามแผน(Do) ✓✓✓✓
เขียนโครงการและขออนุมตั โิ ครงการ/
ประสานงานเรอื่ งสถานท่ีและอาหารสำหรับ ✓
ผูเ้ ขา้ ร่วมสัมมนา/ประชาสัมพันธ์โครงการ/
ประสานงานคณาจารย์ ผทู้ รงคุณวฒุ แิ ละผู้ท่ี
เก่ียวข้อง/จัดสัมมนานำเสนอโครงรา่ ง
การศกึ ษาอสิ ระ
3.ข้ันตรวจสอบ/ประเมนิ ผล และนำผล
ประเมนิ มาวเิ คราะห(์ Check)
ตรวจสอบขน้ั ตอนของการดำเนนิ งาน และ
ประเมินผลของการดำเนนิ งาน/สรุปผลการ
จัดสมั มนา
~ 25 ~
-
กจิ กรรม Wk3 Wk14 Wk15 Wk6 Wk7 Wk8 Wk9
4.ขนั้ ปรบั ปรุงการดำเนนิ การใหเ้ หมาะสม
(Act)
ประเมินตนเองและปรบั ปรงุ แก้ไขตามความ
เหมาะสมของโครงการฯ/นำผลที่ได้จากการ ✓
จดั โครงการในครั้งนน้ี ำไปต่อยอด เพ่ือ
ดำเนินการต่อไป
ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะไดร้ บั
1. การจัดสัมมนาโครงรา่ งการศกึ ษาอิสระก่อให้เกิดประโยชน์ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเก่ียวกับ
โครงรา่ งการศึกษาอสิ ระระหวา่ งผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ผนู้ ำเสนอ และผู้เข้ารว่ มโครงการ
2. ไดเ้ ป็นส่วนหนง่ึ ในการพัฒนาและยกระดับคณุ ภาพชีวิตความเปน็ อยู่ของชุมชนต่อไป
การประเมินโครงการ
1.การสงั เกต
2.แบบประเมนิ โครงการ
ลงชือ่ ผ้รู ับผิดชอบโครงการ
(นายอาราฟัต บินดุเหล็ม)
ตำแหนง่ ประธานโครงการฯ
ลงช่ือ อาจารยท์ ่ปี รกึ ษา
(นายอบั ดุลคอลิก อรั รอฮิมยี ์)
ตำแหนง่ อาจารย์ท่ีปรกึ ษา
26
กำหนดการโครงการสัมมนาโครงร่างการศึกษาอสิ ระ
“อตั ลักษณ์และความหลากหลายกบั การพัฒนา สามจังหวัดชายแดนใต้”
สาขาวชิ าพัฒนาสงั คม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประจำปกี ารศึกษา 2564
วนั ที่ 20 เดอื น สิงหาคม ปี 2564 เวลา 08.00-16.00 น.
ณ ชอ่ งทางการเผยแพร่ผ่านแอพพลเิ คชนั่ ออนไลน์ (Zoom)
กำหนดการ กจิ กรรม
08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียนเขา้ งาน
08.30 - 08.40 น. แนะนำผู้ทรงคุณวฒุ แิ ละคณาจารย์
08.40 – 09.00 น. กล่าวรายงานการจัดสัมมนานำเสนอโครงร่างการศึกษาอิสระโดย นายอารา
ฟตั บินดุเหลม็ ประธานโครงการกล่าวเปดิ พธิ ีการจัดสัมมนานำเสนอโครงร่าง
09.00 – 09.30 น. การศึกษาอิสระโดย นายเชาวน์เลิศ ล้อมลิ้ม รักษาการแทนรองคณบดีฝ่าย
กิจการนกั ศกึ ษาและศษิ ยเ์ ก่าสมั พนั ธ์
09.30 – 10.00 น. นำเสนอกลุ่มที่ 1 หัวข้อ สปาฮาลาล : อัตลักษณ์การบริการความงามแบบ
ลังกาสุกะ เพื่อพัฒนาสังคมชายแดนใต้ นำเสนอโดย นางสาวกิ่งกมล หอย
10.00 – 10.30 น. สกุล และนางสาวอุบลรัตน์ ดวงเเกว้
นำเสนอกลุ่มที่ 2 หัวข้อ "เรือกอและ : อัตลักษณ์และความสัมพันธ์สะท้อน
10.30 – 10.45 น. วิถี" นำเสนอโดย นางสาวนูไรนี เดชดี นายอัลวา หวันชิดนาย และ
10.45 – 11.15 น. นางสาวฐณัฐฐา นม่ิ ละออ
นำเสนอกลุ่มที่ 3 หัวขอ้ การพัฒนาอัตลักษณผ์ ลิตภัณฑช์ ุมชนเเบบมีส่วนร่วม
กรณีศึกษา : วิสาหกิจชุมชนกลุ่มนาเกตุเกษตรพัฒนา หมู่ที่ 1 ตำบลนาเกตุ
อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี นำเสนอโดย นางสาวอภิรตี เเก้วคช และ
นางสาวคตี ภัทร รตั นเดช
พกั ยอ่ ย 15 นาที
นำเสนอกลุ่มที่ 4 หัวข้อ "แนวทางพัฒนาอาชีพเสริมของชุมชน กรณีศึกษา :
กลุ่มเลี้ยงนกกระทาและกลุ่มปลูกผัก (ชุมชนบ้านกลาง) หมู่ 5 ตำบลบ้าน
กลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี" นำเสนอโดย นางสาวซอฟียะห์ เลาะ
ยะผา และนางสาวอรสิ รา ยตี าเห
~ 27 ~
- นำเสนอกลุ่มที่ 5 หัวข้อ "แนวทางการพัฒนาอาชีพโดยใช้ทรัพยากรในชุมชน
กรณศี ึกษา : กลมุ่ นาร้างและกลุ่มเล้ียงปลาสลิด
11.15 – 11.45 น. ดอนนา หมู่ 5 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวดั ปตั ตานี" นำเสนอโดย
นางสาวนุรอซั ลนิ เจ๊ะแว และนางสาวนสั รียะห์ อาลมี ามะ
11.45 – 13.00 น. พกั เท่ียง
13.00 – 13.30 น. นำเสนอกลุ่มที่ 6 หัวข้อ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ไปสู่การเป็นศูนย์การเรียนรู้
ของชุมชนจะรัง กรณีศึกษา : ชุมชนจะรัง หมู่ 7 ตำบลจะรัง อำเภอยะหร่ิง
13.30 – 14.00 น. จังหวัดปัตตานี นำเสนอโดย นางสาวนูรูลฟาตีฮะห์ เจ๊ะเงาะ และนางสาวอัส
14.00 – 14.30 น. มะ สาเมาะ
14.30 – 14.45 น. นำเสนอกลุม่ ท่ี 7 หัวข้อ "แนวทางการป้องกันปัญหายาเสพติดของเยาวชนใน
14.45 – 15.15 น. สถานพนิ จิ คุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวดั ปตั ตาน"ี นำเสนอโดย นางสาวซา
รอฟะห์ มะสาแม และนางสาวสาวินี สาสูเลาะ
15.15 – 15.45 น. นำเสนอกลุม่ ที่ 8 หัวข้อ รูปแบบและแนวทางการป้องกันพฤติกรรมการรังแก
15.45 – 16.00 น. ของเด็กออทิสติก กรณีศึกษา : ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดปัตตานี
นำเสนอโดย นายฮรั ฟาน ดอื ราแม และนางสาวโซเฟีย แวกูโน
พกั ยอ่ ย 15 นาที
นำเสนอกลุ่มที่ 9 หัวข้อ "รูปแบบ ผลกระทบ และวิธีการรับมือ จากการตก
เป็นเหยื่อพฤติกรรมความรุนแรงในกลุ่ม LGBT ของนักศึกษามหาวิทยาลัย
แห่งหนึ่งในสามจังหวดั ชายแดนภาคใต้ นำเสนอโดยนายรุสมีซี เจะเฮาะ และ
นางสาวยไู รฟะห์ เราะสู
นำเสนอกลุ่มที่ 10 หัวข้อ "แนวทางการป้องกันภาวะซึมเศร้าของนักศึกษา
กรณีศึกษา : มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในสามจังหวัดชายแดนใต้ นำเสนอโดย
นางสาวโซฟียะ สาแม และนายปัณณธร รอดดำ
กล่าวปิดโครงการนำเสนอโครงร่างการศึกษาอิสระโดย นางสาวปนัดดา ล่ิม
วฒั นานรุ ักษ์ รองประธาน
*หมายเหตุ กำหนดการอาจมกี ารเปล่ียนแปลงตามความเหมาะสม
28
บทท่ี 3
โครงสรา้ งและหน้าท่ขี องแตล่ ะฝา่ ยในการจดั สมั มนาบทความวิชาการการศึกษาอิสระ
~ 29 ~
-
นายอาราฟตั บินดเุ หลม็
ประธานโครงการสัมมนาโครงร่างการศกึ ษาอิสระ
ติดตอ่ : 095-0238104
ความร้ใู นการปฏิบัติงานของประธาน
ความรู้เก่ยี วกบั การดำเนนิ งาน
ประธาน = ทำหน้าที่อำนวยการจัดสัมมนา เช่นสรรหากรรมการแต่ละฝ่ายควบคุม ติดตาม
ประสานงาน กับแต่ละฝ่ายวางแผน ดำเนินการ จัดทำโครงการร่วมกับฝ่ายต่างๆให้คำปรึกษา ช่วยเหลือ
สนับสนุนแต่ละฝ่ายวิเคราะห์ปัญหา หาแนวทางแก้ไข ตัดสินปัญหาดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการ
บทบาทหน้าทข่ี องผู้จัดสมั มนา
ลกั ษณะของประธาน
เป็นผู้นำที่ดีบุคลิกภาพทางกาย การแต่งกาย / การแสดงออกหน้าตา ยิ้มแย้มแจ่มใส พูดจาสุภาพ มี
น้ำใจ ประสานงาน กล้าคิด-ทำ-ตัดสินใจ มีอารมณ์ขัน ฯลฯบุคลิกภาพทางจิต มีความมั่นคงทางอารมณ์ สุขุม
รอบคอบ ซ่ือสตั ย์ มคี วามรบั ผดิ ชอบสงู อดทนอดกลัน้ เที่ยงธรรม และควรมี 10 ข้อดังน้ี
1. ลักษณะท่าทางหรือการวางตัวBearing คือ การสร้างความประทับใจในเรื่องท่าทาง การวางตัว
และความประพฤติให้อยู่ในระดับสูงสุดเป็นที่นิยมของผู้อื่นอยู่ตลอดเวลา มีความสุภาพนุ่มนวลหลีกเลี่ยงการ
พูดด้วยถ้อยคำหยาบคาย หรือเหยียดหยามผู้อื่น เป็นบุคคลที่มีความสง่าผ่าเผย ควบคุมตนเองได้ทั้งในการ
ปฏบิ ัติตน และอารมณ์ แต่งกายสะอาดเรยี บร้อยถกู ตอ้ งตามระเบยี บแบบแผน
2. ความกล้าหาญCourage คือ การบังคับจิตใจตนเองให้อยู่ในความสงบ ไม่เกรงกลัวว่าจะเกิดอะไร
ขนึ้ ไม่สะทกสะท้านหรืออ่อนไหว กลา้ ทำ กลา้ พดู กล้ายอมรบั ผิดหรอื คำติเตยี น เมอ่ื มคี วามผดิ พลาด หรือ
บกพรอ่ ง ยดึ มน่ั ในสงิ่ ท่ถี ูกทีค่ วร ถึงแมว้ า่ ส่ิงนน้ั จะไม่เปน็ ที่สบอารมณผ์ ้อู ืน่ กต็ าม
3. ความเด็ดขาดDecisiveness คอื ความสามารถในการตกลงใจโดยฉับพลนั และประกาศข้อตกลง
ใจอย่างเอาจริง และชดั แจง้ โดยพจิ ารณาจากข้อเท็จจริงต่างๆ รวมท้ังประสบการณข์ องตนเองและบุคคลอ่ืน
อยา่ งมีเหตุผลและมคี วามม่นั ใจ ในลกั ษณะท่รี วดเรว็ ไมพ่ ูดออ้ มค้อม ถกู ต้อง และทนั เวลา
4. ความไว้เนื้อเชื่อใจDependability คือ การได้รับความไว้วางใจในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ หรือ
งานที่มอบหมายได้ถูกต้องไม่ผิดพลาด ด้วยความคล่องแคล่ว ว่องไว เฉลียวฉลาด กระทำการอย่างเต็ม
ความสามารถและพถิ พี ถิ ัน เปน็ คนตรงตอ่ เวลา ไม่กลา่ วคำแก้ตัว มคี วามตัง้ ใจ และจรงิ ใจ
30
5. ความอดทนEndurance คือ พลังทางร่างกายและจิตใจ ซึ่งวัดได้จากขีดความสามารถในการทน
ต่อความเจบ็ ปวด ความเหน็ดเหนื่อย เมื่อยล้า ความยากลำบาก ความเคร่งเครียด งานหนัก รวมถึงความ
อดกลน้ั ต่อสถานการณ์ทีบ่ บี คนั้
6. ความกระตือรือร้นEnthusiasm คือ การแสดงออก ซึ่งความสนใจอย่างจริงจัง และมีความจดจ่อ
ต่อการปฏบิ ตั งิ านอย่างจรงิ จัง หมายถงึ การทำงานด้วยความรา่ เรงิ และคิดแต่แงด่ เี สมอ
7. ความริเริ่มInitiative คือ การเป็นผู้รู้จักใช้ความคิดในการเสาะแสวงหางานทำ และเริ่มหาหนทาง
ปฏิบัติ ถึงแม้จะไม่มีคำสั่งให้ปฏิบัติ หรือการแสวงหาแนวทางในการปฏิบัติงานใหม่ ๆ ที่ดีมีประสิทธิภาพ
มากกวา่ เดมิ และกระทำทันทโี ดยไม่รรี อหรือชักช้า
8. ความซื่อสัตย์สจุ รติ Integrity คือ ความเทย่ี งตรงแห่งอปุ นิสัยและยึดม่ันอยู่ในหลักแห่งศีลธรรมอัน
ดีงามเป็นคุณสมบัติของการรักความจริง รักษาวาจาสัตย์ตลอดเวลา คำพูดทุกคำต้องถูกต้องเป็นจริงทั้งเรือ่ ง
ราชการและสว่ นตัว ยนื หยดั ในเร่อื งที่ถกู ต้อง และสำนกึ ในหนา้ ทีก่ ารงานของตน
9. ความพินิจพิเคราะห์Judgment คือ คุณสมบัติในการใคร่ครวญ โดยใช้เหตุผลตามหลัก
ตรรกวิทยา เพือ่ ใหไ้ ด้มูลความจริงและหนทางแก้ไขท่ีนา่ จะเปน็ ไปได้นำมาใช้ในการตกลงใจได้ถูกต้อง
10. ความยุติธรรมJustice คือ การไม่ลำเอียงเข้าข้างใคร มีความเที่ยงตรง ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง มี
ความเสมอต้นเสมอปลายในการบังคับบัญชา การให้รางวัลและการลงโทษแก่ผู้ท่ีกระทำผิด การไม่มีอคติต่อ
เชื้อชาติ ศาสนา บุคคล หรือกลุ่มบุคคล มีความเทย่ี งธรรมคงเสน้ คงวาโดยไม่เหน็ แกหน้าใคร
บทบาทหน้าท่ี
ประธานต้องเตรยี มตัวในเร่อื ง
1.วางแผน วางแผนการประชุมร่วมกับเลขานุการเรื่องอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ ทำหนังสือเชิญ..จัดทำ
วาระการประชุม ส่งให้กรรมการล่วงหน้า 3 - 7 วันวางแผนในเรื่องที่จะพูด ตามวาระการประชุมจัดเตรียม
อปุ กรณ์ท่ีตอ้ งใชใ้ นการประชุมบทบาทหนา้ ท่ีของผ้จู ดั สัมมนา
2. ดำเนินการประชุม
1. เรียกประชุมคณะกรรมการ เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการ ตลอดจนมีบทบาทในการ
กำหนดระเบยี บวาระการประชุมรว่ มกับท่ีปรกึ ษา
2. มบี ทบาทในการควบคุมการประชุมให้มีประสิทธิภาพเป็นไปตามระเบียบ สนบั สนนุ และเปิดโอกาส
ให้กรรมการแสดงความเห็นอย่างเป็นอิสระ
3. สนับสนุนและส่งเสริมให้คณะกรรมการสัมมนาปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ ตามขอบเขต
อำนาจ หนา้ ท่ี ความรับผดิ ชอบ และตามหลักการกำกบั ดแู ล
4. ดูแล ติดตามการบริหารงานของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อยอื่น ๆ ให้บรรลุตาม
วัตถุประสงค์ทีก่ ำหนดไว้
5. เป็นผู้ลงคะแนนชข้ี าดในกรณที ่ที ป่ี ระชุมคณะกรรมการสัมมนา คะแนนเสียงทัง้ สองฝ่ายเทา่ กัน
~ 31 ~
-
ภาพที่1: การปฏบิ ัติงานของประธานงานสัมมนา
ภาพท่ี2 : การประชุมวางแผนของประธาน
32
ตารางที่ 3 : ตารางการติดตามงานแต่ละฝา่ ย (ประธาน) เหตุผล
ความคืบหน้าครง้ั ที่ 1
ฝา่ ย งานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย สำเร็จ ไม่สำเรจ็
1.รา่ งกำหนดการสัมมนา /
2.ร่างคำกลา่ วรายงาน /
3.ทำหนงั สอื เชญิ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ /
4.ทำหนังสอื เชญิ ประธานในพธิ ีเปดิ /
5.ทำหนังสือขอใช้อุปกรณ์การ /
ถา่ ยทอดสดในการสมั มนา
เลขานกุ าร 6.ทำหนังสือขออนุมัติจดั โครงการโดยไม่
ใชง้ บประมาณ
7.ทำใบโครงการจัดสัมมนา /
ทะเบียน 1.เตรียมเอกสารแบบฟอรม์ สำหรับ /
และวชิ าการ ลงทะเบียนของผู้จัดสัมมนาผู้ทรงคุณวุฒิ /
และคณาจารย์ ผู้เข้าร่วมสัมมนาและผู้
นำเสนอ
2.เตรยี มข้อมลู ของผ้เู ขา้ ร่วมสมั มนา
ท้ังหมด
3.จดั ทำคมู่ ือสัมมนา /
~ 33 ~
-
ฝ่าย งานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย ความคบื หนา้ ครง้ั ที่ 1 เหตผุ ล
สำเร็จ ไม่สำเรจ็
1.ขอรายช่อื ผูท้ รงคณุ วฒุ ิคณาจารย์ใน
สาขาผ้นู ำเสนอ /
2.ส ่ ง ห น ั ง ส ื อ เ ช ิญ ป ร ะ ธ า น ใ น พิธี /
คณาจารย์ พรอ้ มแนบใบโครงการและ /
ประสานงาน 3.ประสานงานรายละเอียดต่าง ๆ กับ /
และพิธกี าร พิธีกร
4.ประสานงานติดต่อเรื่องอุปกรณ์ต่างๆ /
ทจี่ ้าเปน็ ต้องใช้ รวมถงึ ประสานงาน
หอ้ งสัมมนาออนไลน์
5.ประสานไปยังกลุม่ ต่างๆ
34
นางสาวปนัดดา ลมิ่ วฒั นานุรกั ษ์
รองประธานโครงการ
ติดตอ่ : 098-0618580
ความรูใ้ นการปฏบิ ตั ิงานของรองประธาน
ความร้เู กี่ยวกับการดำเนนิ งาน
การดำเนินโครงการหรือกิจกรรมต่าง ๆ จำเป็นต้องมีผู้นำ ผู้ที่ริเริ่มในการดำเนินโครงการ ผู้นำในการ
ดำเนนิ การจดั การประชุม เพอื่ ใหเ้ กดิ รูปรา่ งแบบแผนในการดำเนินการเพ่ือให้บรรลุตามวตั ถปุ ระสงค์ที่ได้วางไว้
ในโครงการที่เกิดขึ้น การทำงานที่จะให้เกิดความง่ายมากขึ้นนั้น ต้องมีผู้ที่คอยให้คำปรึกษา สามารถให้ความ
ช่วยเหลือในยามที่จำเป็น และสามารถทำงานร่วมกันอย่างเข้าใจ การมีรองประธานถือเป็นการแบ่งเบา
ภาระหน้าที่ของประธานให้เพลาลงจากเดิมได้ โดยรองประธานทำหน้าที่ช่วยประธานในการอำนวยการจัด
สัมมนาที่ประธานดำเนินการอยู่และหากประธานติดธุระจำเป็น รองประธานก็จะต้องทำหน้าที่แทนประธาน
นอกจากนี้ ยังต้องทำหน้าที่ตามที่ประธานได้มอบหมายไว้ กล่าวคือจะต้องทำงานเคียงคู่กับประธานแต่อยู่ใน
ฐานะผู้ช่วย ยกเว้นแต่บางครั้งที่ประธานติดภารกิจ นอกจากนี้รองประธานยังทำหน้าที่ควบคุมการดำเนินงาน
ทัง้ เบอ้ื งหนา้ และเบื้องหลังงานสัมมนา คอยใหค้ ำแนะนำหรือแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าให้กับฝ่ายต่าง ๆ และเป็น
ตัวแทนในการติดตามความก้าวหน้าของฝ่ายต่าง ๆ แทนประธานได้ เพื่อให้โครงการสำเร็จลุล่วงไปด้วยดีใน
ขณะเดียวกนั การเปน็ รองประธานทดี่ นี ้ันจะต้องใสใ่ จในงานตา่ ง ๆ มีความเขา้ ใจงานในทกุ ๆ ฝ่ายเพื่อท่ีสามารถ
ใหค้ ำปรกึ ษา หรือแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าให้กับฝ่ายตา่ ง ๆ ได้ เพ่อื ใหโ้ ครงการสำเร็จลลุ ว่ งไปด้วยดี
บทบาทหน้าทแี่ ละภาระงาน
บทบาท คือ ภาระที่ต้องรับผิดชอบตามสถานภาพของแต่ละบุคคล หมายความว่า บุคคลใดมี
สถานภาพหรือตำแหน่งอย่างใด ก็ต้องรับผิดชอบตามสถานภาพหรือตำแหน่งของตนที่ได้มาไม่ว่าจะได้มาโดย
กำเนิดโดยการกระทำหรือโดยการแต่งตั้งใหเ้ ป็นไปตามทสี่ ังคมคาดหวัง
รองประธาน คือบุคคลที่ทำหน้าที่ชว่ ยประธาน ในการอำนวยการจดั สัมมนา ที่ประธานดำเนนิ การอยู่
และหากประธานตดิ ธุระจำเป็น รองประธานก็จะตอ้ งทำหน้าทแ่ี ทนประธาน นอกจากน้ี ยงั ต้องทำหน้าทตี่ ามที่
ประธานได้มอบหมายให้ไปทำ กลา่ วคือจะต้องทำงานเคยี งคู่กบั ประธานแต่อยูใ่ นฐานะผูช้ ว่ ย ยกเว้นแต่บางครั้ง
ทป่ี ระธานตดิ ภารกิจ
~ 35 ~
-
1.ปฏิบัติการในอำนาจหน้าที่ของประธานแทนประธานเมื่อประธานไม่อยู่หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
หรือเมื่อตำแหนง่ ประธานว่างลง
2.ปฏบิ ัติการตามทปี่ ระธานมอบหมายให้
3.เตรียมการประชุมร่วมกับประธาน ตั้งแต่การประชุมครั้งแรก เพื่อวางแผนจัดสัมมนาเป็นระยะ ๆ
จนถงึ วันสัมมนา
4.ควบคุมการดำเนินงานทั้งเบื้องหน้าและเบื้องหลังของฝ่าย โสตทัศนูปกรณ์ เหรัญญิก พิธีกร
ประเมินผล
5.ตดิ ตามและประสานงานกับฝ่าย โสตทัศนปู กรณ์ เหรัญญิก พธิ กี ร ประเมนิ ผล
6.ดำเนินการจัดประชุมภายในทีม
7.ให้คำแนะนำแกฝ่ ่ายตา่ ง ๆ เมื่อสมาชกิ ในฝา่ ยนั้น ๆ ตอ้ งการคำแนะนำ
ภาพท่ี 3: บทบาทหน้าที่ของฝ่ายรองประธาน
ลกั ษณะและคณุ สมบัตขิ องรองประธาน
คนที่เป็นผู้นำมักมีลักษณะบางอย่างที่เด่นกว่าผู้ตาม คนที่เป็นผู้นำมักเป็นคนที่มีอิทธิพลเหนือผู้อ่ืน
ผู้อ่ืนยอมทำตาม อกี ทั้งผตู้ ามยอมไดน้ ำเอาความประพฤติ ได้นำเอาแบบอย่างในการทำงาน ผตู้ ามบางคนถงึ กับ
ยอมถอดแบบผู้นำ บางคนลอกเลียนแบบอย่างของผู้นำ ในบทความฉบับนี้ เราจะมาเรียนรู้ แลกเปลี่ยนกันใน
เร่ือง คุณลักษณะของผู้นำทดี่ มี อี ะไรบ้าง
36
คนที่เป็นผู้นำมักมีลักษณะบางอย่างที่เด่นกว่าผู้ตาม คนที่เป็นผู้นำมักเป็นคนที่มีอิทธิพลเหนือผู้อ่ืน
ผูอ้ ่นื ยอมทำตาม อกี ท้ังผู้ตามยอมไดน้ ำเอาความประพฤติ ไดน้ ำเอาแบบอยา่ งในการทำงาน ผตู้ ามบางคนถงึ กับ
ยอมถอดแบบผู้นำ บางคนลอกเลียนแบบอย่างของผู้นำ ในบทความฉบับนี้ เราจะมาเรียนรู้ แลกเปลี่ยนกันใน
เร่อื ง คุณลกั ษณะของผนู้ ำในทศั นะของดิฉนั มดี ังน้ีค่ะ
1. มีเป้าหมาย ผู้ที่ต้องการเป็นผู้นำ ควรมีเป้าหมายเป็นของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นเป้าหมายชีวิต
เป้าหมายในการทำงาน เป้าหมายในการเปลย่ี นแปลงองค์กร เป้าหมายในการเปล่ียนแปลงประเทศชาติ การมี
เป้าหมายเปน็ สิ่งสำคญั ทีจ่ ะทำให้ผูน้ ำมีทิศทางในการเดินทางไปสู่เป้าหมาย ตรงกนั ขา้ มหากผู้นำไม่มีเป้าหมาย
ผนู้ ำก็จะรู้สึกสับสน เปรียบดังเรือที่ไรห้ างเสือ อกี ท้งั ไมร่ ้จู ะไปในทศิ ทางไหนเหมือนอยู่กลางมหาสมุทร
2. ความรอบรู้ ยุคปัจจุบัน เป็นยุคของข้อมูลข่าวสารเป็นยุคที่จะต้องใช้ ความคิด ความรู้ มาแข่งขัน
กัน ไมเ่ หมือนยุคในสมัยอดีตมักจะใช้กำลังในการต่อสู้หรือการทำสงครามผู้นำที่มขี ้อมูลมากกว่า ผู้นำที่มีความ
รอบรู้กวา่ ผู้นำทีม่ กี ารใช้ข้อมูลมาวเิ คราะหไ์ ด้ดีกว่า มกั เป็นทีย่ อมรบั อกี ท้ังเป็นที่เคารพเชอ่ื ถอื แก่ผู้ตาม
3. กล้าเปลีย่ นแปลงหรอื ริเริ่มส่ิงใหม่ ๆ ยุคสมัยปัจจุบันและยุคของโลกในอนาคต ผู้นำมักเป็นผูท้ ีก่ ล้า
เปลี่ยนแปลง ผนู้ ำมักกล้าทดลอง ค้นควา้ สงิ่ ใหม่ ๆ โลกยุคใหม่จงึ เปน็ ยุคสมยั ของ ผูน้ ำแห่งการเปล่ียนแปลง
4. กระตือรือร้น ผู้นำที่มีประสิทธิภาพ มักเป็นผู้นำที่มีความกระตือรือร้น กระฉับกระเฉง เดินไวกว่า
คนปกติ ตามจติ วทิ ยา หากผู้นำมีความกระตอื รือรน้ ในการทำงาน ผูต้ ามมกั จะมีความกระตือรือร้นด้วย ในทาง
กลับกนั หากว่าผนู้ ำมีความเฉยชา ผตู้ ามก็มกั จะทำงานด้วยความเฉยชา เช่นกัน
5. มีความอดทน งานของผู้นำมักเป็นงานทห่ี นักกว่าผู้ตาม เน่ืองจากต้องมีความรบั ผิดชอบต่องาน ต่อ
คนที่ทำงานและต่อองคก์ ร ย่ิงเปน็ องคก์ รขนาดใหญ่ เช่น บรษิ ัท (มหาชน) ,กระทรวง , หรือประเทศชาติ ก็ต้อง
รับภาระที่หนักหนาขึ้นหากว่าเราสังเกต ผู้นำระดับประเทศบางคนตอนขึ้นสู่ตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
ประธานาธบิ ดี มใี บหนา้ ที่หลอ่ ดูดี มีสง่า แต่เม่ือดำรงตำแหน่งไปได้ไม่นาน หน้าตาทเี่ คยสง่า ดูดี กลับการเป็น
ใบหน้าที่ดู เคร่งเครียด จริงจัง ก็สืบเนื่องมาจาก ผู้นำระดับประเทศผู้นั้น ต้องแบกรับปัญหาต่าง ๆ มากมาย
และใช้ความคดิ ในการแก้ปัญหานน้ั เอง
6. การบังคับตนเองหรือการควบคุมตนเอง คนที่ต้องการเป็นผู้นำต้องมีสติในการควบคุมตนเอง ท้ัง
ทางด้านจิตใจและร่างกาย เช่น บังคับตนเองไม่ให้แสดงออกต่อหน้าสาธารณะในการแสดงกิริยาอาการ ที่ไม่ดี
โดยเฉพาะต่อหนา้ สอ่ื มวลชน เนอ่ื งจากผนู้ ำตอ้ งเป็นเปา้ สายตาต่อลูกน้องและคนท่ัวไป
7. การใช้ดุลพินิจและกล้าตัดสินใจ ผู้นำที่ดีต้องรู้จักใช้ดุลพินิจ อีกทั้งเมื่อมีปัญหาก็ต้องกล้าตัดสินใจ
ถึงแม้จะตัดสินใจผิดพลาดไปบ้างก็ตาม แต่หากไม่กล้าตัดสินใจ ก็จะทำให้สถานการณ์นั้น ๆ แย่ลงได้ ผู้นำจึง
ต้องเป็นนักวิเคราะห์ นักคิดที่ดีในการรู้จักมองปัญหาต่าง ๆ อีกทั้งต้องมีความเด็ดขาดเมื่อต้องตัดสินใจ
เพื่อท่จี ะนำพาองคก์ ร ประเทศชาติ เดนิ หนา้ ตอ่ ไป
~ 37 ~
-
8. มีมนุษย์สัมพันธ์ ผู้นำที่ดีต้องเป็นคนมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี เนื่องจากผู้นำต้องทำงานกับคน หากผู้นำ
สามารถครองใจคนทำงานได้ ลูกน้องก็มักจะทำงานเต็มที่ การมีมนุษย์สัมพันธ์จะทำให้ผู้นำเป็นที่ เคารพรัก
ศรัทธา เชื่อถอื ของผูค้ น ทำให้มคี นอยากช่วยเหลือ มากกว่าผ้นู ำทีไ่ มม่ มี นษุ ยส์ มั พันธใ์ นการทำงาน
บุคลิกภาพที่ดขี องรองประธาน
บุคลิกภาพทางกาย : แต่งกายสุภาพ ทันสมัย เหมาะกับกาลเทศะ พูดจำฉะฉาน ชัดเจน กิริยา
น่าเชื่อถือ
บคุ ลิกภาพทางสุขภาพจิต : มั่นคงในอารมณ์ สขุ มุ รอบคอบ มคี วามรับผิดชอบ
ตารางที่ 4 : ตารางการติดตามงานแต่ละฝา่ ย (รองประธาน)
ฝ่าย งานที่ได้รบั มอบหมาย ความคืบหนา้ ครัง้ ท่ี 1 เหตุผล
สำเรจ็ ไม่สำเร็จ
โสตทัศนปู กรณ์ 1.ออกแบบโล้โก้ /
และ 2.ออกแบบโปสเตอรส์ ัมมนา /
ประชาสมั พนั ธ์ /
3.ออกแบบโปสเตอร์ผู้นำเสนอ /
4.จดั ทำสื่อประชาสมั พันธ์ /
5.จัดทำวีดีทัศน์นำเข้าสู่หัวข้อ
สมั มนา /
6.เชิญชวนการเขา้ รว่ มสมั มนา /
7.ถ่ายภาพบรรยากาศในวนั สมั มนา
8.การจัดห้องสัมมนาออนไลน์และ /
การถ่ายทอดสดบรรยากาศงาน /
สัมมนนา
1.เก็บเงินสมาชิกในกลุม่
เหรัญญิก 2.ทำบัญชีงบประมาณ รายรับ – /
รายจา่ ย /
3.ควบคุมการเบิกจ่ายของแต่ละ /
ฝ่าย
4.เก็บใบเสรจ็ จากการซอ้ื ของ
38
ฝ่าย งานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย ความคืบหน้าคร้งั ท่ี 1 เหตผุ ล
ประเมนิ ผล สำเร็จ ไม่สำเร็จ
1.ออกแบบใบประเมลิ ผล
พิธีการ 2.รวบรวมข้อมลู
3.วเิ คราะหข์ ้อมลู
4.จดั ทำใบคะแนน
5 . AAR ท บ ท ว น ห ลั ง
ปฎบิ ตั ิงาน
1.คิดบทพูดในการ
ดำเนนิ งาน
2.ฝึกซ้อมบทพูดในการเป็น
พิธกี ร
3.เป็นผู้ดำเนนิ รายการ
4.เป็นผู้ควบคุม หรือกำกับ
รายการ ภาคพิธีการตาม
กำหนดการ
~ 39 ~
-
นางสาวอารดิ า ทิง้ น้ำรอบ
ฝา่ ยเลขานกุ าร
ติดต่อ : 083-6529872
ความรู้ในการปฏิบัตงิ านของเลขานกุ าร
ความรูเ้ กย่ี วกบั การดำเนนิ งาน
“เลขานุการ” เปรียบเสมือนมือขวาของผู้บริหาร เป็นงานที่มีความสำคัญยิ่งต่อหน่วยงาน เพราะ
ความก้าวหน้าและความสำเรจ็ ของหนว่ ยงานสว่ นหนึ่งก็ขึ้นอยู่กับเลขานุการ ซ่ึงเลขานกุ ารจะเปน็ ผู้ช่วยแบ่งเบา
ภาระของผบู้ รหิ าร ทจ่ี ะช่วยอำนวยความสะดวก และชว่ ยใหง้ านสำเรจ็ ลุล่วงและรวดเร็ว
หน้าที่หลักของเลขานุการ คือ เป็นผู้ช่วยแบ่งเบาภาระให้กับผู้บริหาร ช่วยอำนวยความสะดวก ช่วย
ประสานงาน และช่วยสนบั สนุน ใหง้ านสำเร็จลุลว่ งไปไดอ้ ยา่ งราบร่นื และรวดเร็วทนั ตอ่ เวลา
ทักษะที่จำเปน็ ของเลขานกุ าร คือ การมีทักษะการจัดการได้อย่างเปน็ ระบบ และมีระเบียบในการทำงาน และ
นอกจากน้ี เลขานุการยงั เปน็ ผ้สู ร้างภาพลักษณท์ ด่ี ีใหก้ ับผูบ้ ริหารอกี ด้วย
บทบาทหนา้ ทแ่ี ละภาระงาน
“เลขานกุ าร” มหี นา้ ทใ่ี นการดแู ลและรับผิดชอบเก่ยี วกบั เอกสารตา่ ง ๆ จดบนั ทกึ และสรปุ การประชุม
และดูแลการจัดสมั มนาให้เปน็ ไปตามความเรียบร้อย โดยเลขานุการจะมีหนา้ ท่ีหลัก ๆ ดงั น้ี
1. รา่ งคำกลา่ วรายงานในการจัดโครงการสมั มนา
2. รา่ งคำกลา่ วเปิด-ปิดพธิ ใี นการจดั โครงการสัมมนา
3. รางกำหนดการโครงการสัมมนา
4. จดั ทำหนังสอื เชญิ ผ้ทู รงคณุ วุฒิ
5. จัดทำหนงั สือเชญิ ประธานในพิธีเปิด
6. จัดทำหนงั สอื เชญิ อาจารยห์ ลักสูตรสาขาพัฒนาสงั คม
7. จัดทำหนงั สือขออนุมตั จิ ดั โครงการโดยไมใ่ ชง้ บประมาณ
8. จดั ทำหนงั สือขอใชส้ ถานท่ี
9. จัดทำหนงั สอื ขอใช้ขอใช้อปุ กรณถ์ ่ายทอดสด
10. จัดทำใบโครงการสมั มนา
40